The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการประจำปี2565 ศธจ.นธ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by zar8910, 2022-04-03 23:34:44

แผนปฏิบัติราชการประจำปี2565 ศธจ.นธ

แผนปฏิบัติราชการประจำปี2565 ศธจ.นธ

แผนปฏิบัติราชการ

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส

(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณ
ที่ได้รับจัดสรร)

จัดทำโดย
กลุ่มนโยบายและแผน
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

ต า ม ท่ี พ ร ะ ร า ช ก ฤ ษ ฎี ก า ว่ า ด้ ว ย ห ลั ก เก ณ ฑ์ แ ล ะวิ ธี ก า ร บ ริ ห า ร กิ จ ก า ร บ้ า น เมื อ ง ท่ี ดี
พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 9 (1) , (2) ได้กำหนดให้ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้เป็น
การล่วงหน้า และแผนปฏิบัติราชการดังกล่าวต้องมีรายละเอียดของข้ันตอน ระยะเวลา และงบประมาณ
ทจี่ ะต้องใชใ้ นการดำเนินการของแต่ละขั้นตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธ์ิและตัวชี้วัดความสำเร็จ
ของภารกิจหน่วยงาน และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 7 กำหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน หรือสมควร
ท่ีจะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปล่ียนแปลงการดำเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคำนึงยุทธศาสตร์ชาติ
พ.ศ. 2561-2580 (แผนระดับ 1) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ
(แผนระดับ 2) นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผนอ่ืนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกำลังเงิน
งบประมาณของประเทศความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อ่ืนประกอบกัน กอรปกับ
มติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงแผนระดับ 3
ใหส้ อดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติและแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ น้นั

ดงั น้ัน เพือ่ ให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวธิ ีการบริหารกิจการบา้ นเมือง
ที่ดี พ.ศ. 2546 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1 และ
แผนระดับ 2 รวมทั้งสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2560-2579 นโยบายการจัดการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ และเชื่อมโยงข้อมูลสู่ระบบ
ติดตาม และประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National
Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 แผนปฏิบัติ
ราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานศึกษาธิการ
จังหวัดนราธิวาส จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรับปรุง
ตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร) ขึ้น เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในการบริหารงานของผู้บริหารและกลุ่มงาน
ในสังกัดใช้เปน็ กรอบแนวทางในการปฏิบัติงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส ขอขอบคุณทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือในการจัดทำ
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณทไ่ี ดร้ บั จัดสรร) ฉบับนีส้ ำเร็จลลุ ว่ งตามวัตถปุ ระสงค์

สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นราธิวาส
กลุ่มนโยบายและแผน

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส ก

บทสรุปสำหรับผู้บรหิ าร

ต าม ที่ พ ระ ราช ก ฤ ษ ฎี ก าว่ าด้ วย ห ลั ก เก ณ ฑ์ แ ล ะวิ ธีก าร บ ริห ารกิ จ ก ารบ้ าน เมื อ งที่ ดี
พ.ศ.2546 หมวด 3 มาตรา 9 (1) , (2) ได้กำหนดใหส้ ว่ นราชการต้องจัดทำแผนปฏบิ ตั ริ าชการไว้เป็นการ
ล่วงหน้า และแผนปฏิบัติราชการดังกล่าวต้องมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลา และงบประมาณ
ท่ีจะต้องใชใ้ นการดำเนินการของแต่ละข้ันตอน เป้าหมายของภารกจิ ผลสัมฤทธ์ิและตัวช้ีวัดความสำเร็จ
ของภารกิจหน่วยงาน และพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562 มาตรา 7 กำหนดให้ส่วนราชการ จัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน โดยคำนึง
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 (แผนระดับ 1) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูป
ประเทศด้านต่าง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560-2564 นโยบาย
และแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (แผนระดับ 2) นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อ
รัฐสภา และแผนอื่นท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงกำลังเงินงบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและ
สถานการณ์อื่นประกอบกัน กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบ
ให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงแผนระดับ 3 ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้
ยทุ ธศาสตร์ชาติ น้ัน

ดังน้ัน เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 และฉบับท่ี 2 พ.ศ.2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1
และแผนระดับ 2 รวมทั้งสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2560-2579 นโยบายการจัดการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ และเชื่อมโยงข้อมูลสู่ระบบ
ติดตาม และประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National
Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 แผนปฏิบัติ
ราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานศึกษาธิการ
จังหวัดนราธิวาส จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรับปรุงตาม
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร) ข้ึน เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในการบริหารงานของผู้บริหารและกลุ่มงาน
ในสงั กัดใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยมสี าระสำคัญ ดังนี้

วิสยั ทศั น์
บริหารจัดการแบบบูรณาการ ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาในการเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพ

มที ักษะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 และตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พนั ธกิจ
1. ส่งเสริม สนับสนุน การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ทุกระดับ เพ่ือความ

มัน่ คง
2. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับทักษะท่ีจำเป็น

ในศตวรรษที่ 21 และหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาที่ส่งเสริมคุณ ภาพชีวิตที่ดีเป็นมิตร

กับสิง่ แวดลอ้ ม
4. ส่งเสริมสนับสนุนและสร้างโอกาสทางการศึกษาให้แก่ผู้เรียนทุกระดั บได้รับ

การพัฒนาการเรยี นรอู้ ย่างเสมอภาค ทว่ั ถงึ

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส ข

5. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการ ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาท้ังภาครฐั และเอกชน

เป้าประสงค์
1. สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธิวาส มีการบริหารและจดั การศึกษาแบบบรู ณาการ
2. ผู้เรียนทุกระดับได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และมีทักษะที่จำเป็น

ในศตวรรษท่ี 21 สอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. ผ้เู รยี นได้รบั โอกาสเข้าถงึ การศึกษาที่มีคณุ ภาพอยา่ งทัว่ ถึงและเสมอภาค
4. ขา้ ราชการ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทั้งภาครฐั และเอกชน มีสมรรถนะท่ีส่งผล

ต่อการพฒั นาทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21

ประเดน็ ยุทธศาสตร์
1. การจัดการศึกษาเพ่ือความมนั่ คง
2. พฒั นาขดี ความสามารถในการแข่งขัน และการวิจัย
3. พฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพคนใหม้ ีคณุ ภาพ
4. จัดการศึกษาบนความหลากหลายและเท่าเทียม
5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจดั การ

เปา้ ประสงคต์ ามประเด็นยทุ ธศาสตร์
1. ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับการเสริมสร้าง

ความมั่นคงและพหุวฒั นธรรม
2. ผู้เรียน ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะและความสามารถ

ในการแขง่ ขัน รองรบั ตลาดแรงงานและเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดนราธวิ าส
3. ผเู้ รียน มีสมรรถนะ ทักษะท่จี ำเป็นของผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21
4. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะท่ีส่งผลต่อการพัฒนาทักษะท่ีจำเป็นของ

ผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21
5. หน่วยงาน/สถานศึกษามีกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปรับเปล่ียน

พฤตกิ รรมใหเ้ ป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม
6. ผเู้ รยี นไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาอยา่ งทว่ั ถึงและเทา่ เทยี ม
7. หน่วยงานมีระบบบรหิ ารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพและมีการบูรณาการการจัด

การศกึ ษาทุกระดบั

กลยทุ ธ์ภายใต้ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจดั การศกึ ษาเพื่อความมน่ั คง
กลยุทธ์
1.1 เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา และพัฒนากระบวนการเรียนการสอน ในพื้นท่ี

จังหวดั นราธิวาสใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน
1.2 พัฒนากระบวนการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนาผู้เรียน

ในรูปแบบท่ีหลากหลาย สอดคลอ้ งกับพหุวฒั นธรรม
1.3 ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาศักยภาพหรือทักษะด้านอาชีพ

สามารถมงี านทำหรือนำไปประกอบอาชพี ได้

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส ค

1.4 สง่ เสริม และพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีคุณธรรมจริยธรรม ห่างไกลยาเสพตดิ ดว้ ยวิธกี าร
ท่หี ลากหลายและเหมาะสม

1.5. ส่งเสริม ให้สถานศึกษาทุกสังกัดจัดกิจกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ที่สะท้อน
ความรักและการธำรงรักษาสถาบันหลักของชาติและยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ

1.6 ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความเข้าใจ
สามารถน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพระบรมราโชบายในหลวงรัชกาลท่ี 10 มาใช้
ในชีวติ ประจำวนั

1.7 สง่ เสริมให้หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาจัดกจิ กรรมส่งเสริมความรัก
และการธำรงรักษาสถาบันชาติ ยดึ มน่ั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็น
ประมุข

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาขดี ความสามารถในการแข่งขนั และการวิจยั
กลยทุ ธ์
2.1 ส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้และนำความรู้

ทักษะดา้ นภาษาตา่ งประเทศ ไปใช้ในการจัดการเรยี น การสอนทเี่ หมาะสมในแต่ละระดับการศกึ ษา
2.2 ส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วยงานทางการศึกษา ครู หรือบุคลากรทางการศึกษา

ในจงั หวัดนราธวิ าส มผี ลงานวจิ ยั และนวัตกรรมด้านการพฒั นาด้านการศกึ ษา
2.3 ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะทางด้าน ภาษาและอาชีพ

ทเี่ หมาะสมในแต่ละระดบั การศกึ ษา
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 พฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มคี ุณภาพ
กลยทุ ธ์
3.1 เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เปน็ ไปตามมาตรฐาน
3.2 ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ

ผ่านประสบการณ์ตรงจากการลงมือปฏิบตั ิ
3.3 ส่งเสริม พัฒนาทักษะการเรียนรู้ท่ีสมวัย ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต ท่ีเท่าทัน

และสามารถอยรู่ ว่ มในศตวรรษท่ี 21
3.4 ส่งเสริมให้โรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษาได้รับการรับรองการประเมิน

คุณภาพภายนอก
3.5 ส่งเสริมและพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม รักความเป็นไทย ด้วยวิธีการ

ทห่ี ลากหลายและเหมาะสม
3.6 ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วยรูปแบบ

วิธีการท่หี ลากหลาย
3.7 ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

และสมรรถนะทีจ่ ำเปน็ ของครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21
3.8 ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดหลักสูตร/กิจกรรมที่เกี่ยวกับ

การสร้างความตระหนักในเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.9 ส่งเสริม ให้ผู้เรียนมีความตระหนักในเร่ืองการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อม
3.10 ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานและสถานศึกษา จัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับ

การสร้างความตระหนักในเรื่องภัยพิบัติและสถานการณ์โลก

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส ง

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 จัดการศึกษาบนความหลากหลายและเทา่ เทียม
กลยุทธ์
4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนประชากรวัยเรียนในจังหวัดนราธิวาส ให้มีโอกาสเข้าถึง

บริการทางการศกึ ษาดว้ ยทางเลือกท่หี ลากหลาย
4.2 ส่งเสริมการจดั การศกึ ษาทีเ่ ข้าถึงแหล่งเรียนรู้ท่สี อดคล้องกบั ความสนใจ และวถิ ี

ชีวิตของผ้เู รยี นทกุ กลมุ่ เป้าหมาย
4.3 ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ มีทักษะทางด้านวิชาการ และอาชีพ

ท่เี หมาะสมในแตล่ ะระดบั ชั้น
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 พัฒนาประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการ
กลยุทธ์
5.1 ส่งเสริมการพัฒนาระบบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา
5.2 ส่งเสริม สนับสนุนหน่วยงานทางการศึกษาให้มีระบบบริหารจัดการตามหลัก

ธรรมาภบิ าล
5.3 ส่งเสริมให้การบริหารงานบุคคลของสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส

มปี ระสทิ ธิภาพ
5.4 ส่งเสริมและบรู ณาการการมีสว่ นร่วมของทุกภาคสว่ นในการจดั การศึกษา
5.5 สง่ เสริม สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการศึกษาของหน่วยงานให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
5.6 เสรมิ สรา้ งขวัญ กำลงั ใจให้แก่ครู และบุคลากรทางการศึกษา
5.7 ส่งเสริมระบบฐานข้อมูล ด้านการศึกษาของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด

นราธิวาสให้ทันสมยั และเป็นปจั จุบัน
5.8 ส่งเสริมให้มีการนำดจิ ทิ ัลมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการ

สรุปงบประมาณโครงการตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณท่ไี ด้รบั จัดสรร)

งบ/งาน/ประเดน็ ยทุ ธศาสตร/์ จำนวน งบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (หนว่ ย : บาท)

กลมุ่ โครงการ โครงการ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม

ประเด็นยทุ ธศาสตรข์ องสำนกั งาน 13 115,800 448,630 539,460 424,740 1,528,630

ศกึ ษาธิการจังหวดั นราธวิ าส

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การจดั การ 2 152,950 99,000 251,950

ศึกษาเพือ่ ความม่ันคง

1.1 โครงการสร้างและส่งเสรมิ ความ 1 152,950 84,000 236,950

เปน็ พลเมืองดตี ามรอยพระยุคลบาท

ดา้ นการศกึ ษาส่กู ารปฏิบัติ

1.2 โครงการขับเคล่ือนการดำเนนิ งาน 1 15,000 15,000

สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นในโครงการ

อนรุ ักษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เนื่องมาจาก

พระราชดำรฯิ

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาขดี

ความสามารถในการแข่งขนั และการ

วิจยั

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส จ

งบ/งาน/ประเด็นยทุ ธศาสตร/์ จำนวน งบประมาณประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 (หนว่ ย : บาท)

กลมุ่ โครงการ โครงการ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 พฒั นาและ 6 23,500 123,400 98,300 55,300 300,500

เสริมสรา้ งศกั ยภาพคนใหม้ คี ุณภาพ

3.1 โครงการสง่ เสรมิ เวทแี ละประชาคม 1 39,600 16,200 16,200 72,000

เพอื่ การจดั ทำรปู แบบและแนวทางพัฒนา

หลักสตู รต่อเน่ืองเช่อื มโยงการศกึ ษาขัน้

พนื้ ฐานกับอาชวี ศกึ ษาและอุดมศกึ ษา

3.2 โครงการโครงการ Innovation 1 11,700 60,700 34,600 107,000

For Thai Education (IFTE) นวัตกรรม

การศึกษาเพอ่ื พัฒนาการศึกษา

3.3 โครงการขบั เคล่อื นการพฒั นาการ 1 32,100 11,400 4,500 48,000

จัดการศกึ ษาปฐมวัยในระดบั พนื้ ท่ี

3.4 โครงการ ศธ.จิตอาสาบำเพญ็ 1 23,500 23,500

ประโยชน์

3.5 โครงการสง่ เสรมิ การจัดงานวัน 1 40,000 40,000

คล้ายวันสถาปนายวุ กาชาดไทย

(99 ปียวุ กาชาดไทย)

3.6 โครงการนเิ ทศการจดั กิจกรรมยุว 1 10,000 10,000

กาชาดในสถานศกึ ษา

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 4 จัดการศึกษา

บนความหลากหลายและเทา่ เทยี ม

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 5 พฒั นา 5 92,300 172,280 342,160 369,440 976,180

ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการ

5.1 โครงการขบั เคล่ือนพ้ืนทีน่ วตั กรรม 1 92,300 99,680 270,160 338,540 800,680

การศึกษาจงั หวดั ตาม พรบ.พน้ื ท่ี

นวัตกรรมการศกึ ษา พ.ศ. 2562

5.2 โครงการจัดทำแผนพฒั นา 1 30,300 30,300

การศกึ ษาจังหวดั

5.3 โครงการเสรมิ สร้างศักยภาพ 1 20,000 20,000 40,000

บคุ ลากรของสำนักงานศึกษาธิการ

จงั หวดั

5.4 โครงการขบั เคลอ่ื นการยกระดบั 1 10,000 50,000 30,900 90,900

คุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพ

การศึกษาจังหวัดโดยผา่ นกลไกของ

กศจ.

5.5 โครงการการตรวจสอบการ 1 12,300 2,000 14,300

ดำเนนิ งานใหค้ วามช่วยเหลือบรรเทา

ภาระคา่ ใช้จา่ ยด้านการศกึ ษาในช่วง

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติด

เชอ้ื ไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19)

หมายเหตุ :

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส ฉ

สารบัญ

หน้า

คำนำ ก

บทสรปุ ผู้บรหิ าร ข

สารบญั ช

สว่ นท่ี 1 บทนำ

➢ ความเป็นมา 1

➢ วัตถุประสงค์ 1

➢ วิธดี ำเนินงาน 2

➢ ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 2

➢ ขอ้ มูลสภาพทวั่ ไปของจงั หวัดนราธิวาสโดยสงั เขป 3

1) ด้านกายภาพ 3

2) ดา้ นการปกครองและประชากร 5

3) ดา้ นเศรษฐกจิ 6

4) ด้านสังคม ศาสนา วฒั นธรรมและประเพณี 8

5) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 11

6) ดา้ นการคมนาคม 12

➢ ข้อมูลพนื้ ฐานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษจงั หวัดนราธิวาส 14

➢ ขอ้ มูลพ้นื ฐานทางการศึกษาของจงั หวัดนราธิวาส 16

➢ สถานการณ์และแนวโน้มการจดั การศึกษาในจงั หวดั นราธิวาส 37

ส่วนที่ 2 กรอบแนวคิดและความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ

➢ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 39

➢ ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 40

➢ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ 41

➢ แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรงุ ) 44

➢ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ีสบิ สอง พ.ศ. 2560-2564 47

➢ นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ ่าด้วยความมนั่ คงแหง่ ชาติ

(พ.ศ. 2562 – 2565) 48

➢ เป้าหมายการพัฒนาที่ยัง่ ยนื (Sustainable Development Goal :SDGs) 48

➢ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 50

➢ นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี) 53

➢ นโยบายการจัดการศึกษากระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ

พ.ศ. 2564-2565 54

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส ช

สารบญั (ตอ่ )

หนา้

➢ แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ 58

➢ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งาน

ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 59

➢ แผนพัฒนาภาคใต้ชายแดน พ.ศ. 2560 – 2565 ฉบับทบทวน 60

➢ แผนพฒั นาด้านการศึกษาระดับภาคและกลุ่มจังหวดั ภาคใต้ชายแดน

(พ.ศ.2563 – 2565) 61

➢ ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาจงั หวัดนราธิวาส พ.ศ. 2561-2565

(ฉบับทบทวน พ.ศ. 2565) 62

➢ นโยบาย จดุ เนน้ และตวั ชีว้ ัดการดำเนนิ งานพัฒนาการศึกษา

จังหวัดนราธวิ าสตามนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

โดยผา่ นกลไกของคณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจังหวดั นราธิวาส

ประจำปีการศกึ ษา 2563 – 2565 63

➢ อำนาจหน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัด

นราธวิ าส 66

➢ การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม 71

สว่ นที่ 3 สาระสำคัญของแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงาน

ศึกษาธกิ ารจงั หวดั นราธิวาส

➢ วสิ ัยทัศน์ 74

➢ พันธกจิ 74

➢ คา่ นิยมรว่ มขององค์กร 74

➢ เป้าประสงค์ เ 75

➢ ประเด็นยุทธศาสตร์ 75

➢ เป้าประสงค์ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 75

➢ ตวั ช้วี ดั เปา้ ประสงคต์ ามประเด็นยทุ ธศาสตร์ ค่าเป้าหมายและกลยุทธ์ 75

ส่วนท่ี 4 โครงการ/งบประมาณ

➢ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 81

➢ งบหนา้ รายละเอียดโครงการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 85

➢ รายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรม

- โครงการสรา้ งและส่งเสรมิ ความเปน็ พลเมืองดตี ามรอยพระยุคลบาท

ดา้ นการศึกษาสู่การปฏบิ ตั ิ 87

- โครงการขับเคล่ือนการดำเนินงานสวนพฤกศาสตรโ์ รงเรยี นในโครงการ

อนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริฯ 89

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส ซ

สารบัญ (ต่อ)

หน้า

- โครงการสง่ เสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทำรปู แบบและแนวทาง 90

การพฒั นาหลักสตู รต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพนื้ ฐานกับอาชีวศกึ ษาและอดุ มศึกษา 93
- โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา 95
97
เพือ่ พัฒนาการศกึ ษา
- โครงการขับเคล่อื นการพัฒนาการจดั การศกึ ษาปฐมวัยในระดบั พน้ื ที่ 98
- โครงการโครงการ ศธ.จิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์
- โครงการส่งเสรมิ การจัดงานวันคลา้ ยวนั สถาปนายวุ กาชาดไทย

(99 ปียุวกาชาดไทย)

- โครงการนิเทศการจัดกิจกรรมยุวกาชาดในสถานศกึ ษา 99

- โครงการขับเคลื่อนพนื้ ท่นี วัตกรรมการศกึ ษาจงั หวัดตาม พรบ.พืน้ ท่ี

นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 100

- โครงการจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษาจงั หวดั 103

- โครงการเสริมสรา้ งศักยภาพบุคลากรของสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัด 105

- โครงการขบั เคล่ือนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพ

การศกึ ษาจังหวัดโดยผ่านกลไกของ กศจ. 106

- โครงการการตรวจสอบการดำเนนิ งานใหค้ วามชว่ ยเหลือบรรเทาภาระ

ค่าใชจ้ ่ายด้านการศกึ ษาในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อ ไวรัสโคโรนา่ 2019

(COVID-19) 108

สว่ นท่ี 5 การตดิ ตามและการประเมนิ ผล

➢ การนำแผนปฏิบตั ิราชการสกู่ ารปฏบิ ัติ 109

➢ การติดตามและประเมินผล 111

ภาคผนวก

➢ คำสัง่ แตง่ ต้งั คณะทำงาน

➢ หนังสืออนมุ ัติแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนกั งาน

ศกึ ษาธิการจังหวดั นราธิวาส (ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทีไ่ ดร้ ับจดั สรร)

➢ คณะผู้จัดทำ

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส ฌ

ส่วนที่ 1

บทนำ

สว่ นท่ี 1

บทนำ

ความเป็นมา

ตามที่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
หมวด 3 มาตรา 9 (1),(2) ได้กำหนดให้ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า
และแผนปฏิบัติราชการดังกล่าวต้องมีรายละเอียดของข้ันตอน ระยะเวลา และงบประมาณที่จะต้องใช้
ในการดำเนินการของแตล่ ะข้ันตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิแ์ ละตัวช้ีวัดความสำเรจ็ ของภารกิจ
หน่วยงาน และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2562 มาตรา 7 กำหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน หรือสมควรท่ีจะยกเลิก
ปรับปรุง หรือเปล่ียนแปลงการดำเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคำนึงถึง แผนระดับ 1 ยุทธศาสตร์ชาติ
(พ.ศ. 2561-2580) แผนระดับ 2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ
แผนระดับ 3 นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผนอื่นท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงกำลังเงิน
งบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่นประกอบกัน กอรปกับมติ
คณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุง ให้สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตรช์ าติและแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ นั้น

ดังน้ัน เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1
และแผนระดับ 2 รวมทั้งสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2560-2579 นโยบายการจัดการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ และเชื่อมโยงข้อมูล
สู่ระบบติดตาม และประเมินผลแห่งชาติ(Electronic Monitoring and Evaluation System of
National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ
และประเมินผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 สำนักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณทีไ่ ด้รบั จัดสรร) ขึ้น

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานศึกษาธิการ
จังหวัดนราธิวาส (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร) สำหรับใช้เป็นเคร่ืองมือในการ
บริหารงานของผู้บริหารและกลุ่มงานในสังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส ใช้เป็นกรอบ
แนวทางในการปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นราธวิ าส 1

วิธดี ำเนินงาน

1. ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์แผนระดับ 1 แผนระดับ 2 ของประเทศ และบริบทต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
(พ.ศ.2561-2580) แผนการปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี
สิบสอง พ.ศ.2560-2564 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565)
นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2562
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เป้าหมายท่ี 4 เป้าหมาย
ด้านการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ
ปี งบ ป ระมาณ พ .ศ. 2565 แผน ป ฏิ บั ติราชการป ระจำปี งบ ป ระม าณ พ .ศ.256 5 ของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนกั งานปลัดกระทรวง
ศึกษาธกิ าร

2. ทบทวนกรอบเค้าโครง แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส (ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณท่ไี ด้รบั จดั สรร)

3. ทบทวนสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.256 5 ของ
สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั นราธวิ าส (ฉบบั ปรบั ปรงุ ตามงบประมาณที่ได้รับจดั สรร)

4. จัดทำบันทึกข้อความขอข้อมูลกลุ่มงานในสังกัดจัดทำรายละเอียดงาน/โครงการท่ีจะ
ดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 ให้สอดคล้องกับสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจำปี
งบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั นราธิวาส และงบประมาณทไ่ี ดร้ ับจดั สรร

5. จัดทำร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานศึกษาธิการ
จังหวัดนราธวิ าส (ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทไี่ ด้รับจดั สรร)

6. เสนอขออนุมัติแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงาน
ศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนราธิวาส (ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทไี่ ดร้ ับจัดสรร) ตอ่ ผบู้ รหิ าร

7. เผยแพร่แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานศึกษาธิการ
จังหวัดนราธิวาส (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร) ท้ังในรูปแบบเอกสารและเว็บไซต์ของ
สำนกั งานสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส

ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส มีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) ที่ผู้บริหาร
สามารถใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการบริหารงาน และกลุ่มงานในสังกดั สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดนราธวิ าส
ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส 2

ขอ้ มูลสภาพทัว่ ไปของจังหวดั นราธิวาสโดยสังเขป

ประวัติความเป็นมาของนราธิวาส มีความเชื่อมโยงกับเร่ืองราวของเมืองปัตตานี เมืองสายบุรี
และเมืองระแงะ เดิมชื่อ "มะนารอ" มีฐานะเป็นเพียงอำเภอหนึ่ง เรียกว่า อำเภอบางนรา ขึ้นกับเมือง
สายบุรี เป็นหนึ่งในเจ็ดหัวเมืองภาคใต้ ต่อมาได้โอนไปขึ้นกับเมืองระแงะเป็นหน่ึงในเจ็ดหัวเมืองเช่นกัน
เมื่อ พ.ศ.2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จปรั ะพาสมณ ฑลปักษ์ใต้
ทรงพระราชทานพระแสงราชศัสตราประจำเมืองและทรงดำริเห็นว่าบางนรานั้น เป็นชื่อตำบลบ้าน

และควรที่จะมีชื่อเมืองไว้เป็นหลักฐานสืบไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เปลี่ยนช่ือ
เมือง “บางนรา” เป็น "เมืองนราธิวาส" หมายถึง "ท่ีอยู่อันยิ่งใหญ่ของประชาชน" เม่ือวันที่

10 มิถุนายน พ.ศ.2458 ต่อมาได้มีการปรับปรุงระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคครั้งย่ิงใหญ่ และ
ใหเ้ ปล่ียนชื่อเมืองเป็นจังหวัดเมืองนราธิวาส จงึ เปล่ยี นเป็น "จังหวัดนราธวิ าส" จากน้ันเป็นตน้ มา

1) ด้านกายภาพ
 ท่ีตงั้ และอาณาเขต

จังหวัดนราธิวาส เปน็ จังหวดั ชายแดน ต้ังอยบู่ นฝั่งทะเลด้านตะวันออกของแหลมมลายู

หา่ งจากกรุงเทพมหานคร โดยทางรถยนต์ 1,149 กิโลเมตร และทางรถไฟ 1,116 กิโลเมตร สดุ ชายแดน
ไทย – มาเลเซยี ท่ีสถานีรถไฟสไุ หงโก-ลก

• ทศิ เหนอื จดจังหวัดปัตตานีและอา่ วไทย

• ทศิ ใต้ จดอ่าวไทยและประเทศมาเลเซยี

• ทศิ ตะวันออก จดประเทศมาเลเซีย

• ทิศตะวันตก จดจงั หวัดยะลา
แนวเขตระหว่างประเทศ มีชายแดนท่ีเช่ือมกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซียทั้งทางบกและ

ทางน้ำมีเขตแดนติดต่อกันยาวประมาณ 178.60 กิโลเมตร มีพ้ืนท่ีติดต่อกับประเทศมาเลเซีย รวม

3 ดา่ น คือ

ชื่อด่านพรมแดน เขตปกครองฝ่ังไทย เขตปกครองฝั่งมาเลเซีย

1. ด่านสไุ หงโก-ลก (61 ไร่) อ.สไุ หงโก-ลก RangtauPanjang (รัฐ Kelantan)
2. ด่านตากใบ (34 ไร่) อ.ตากใบ Tumpat (รฐั Kelantan)
3. ดา่ นบูเกะ๊ ตา (49 ไร่) อ.แวง้ Bukit Bunga (รัฐ Kelantan)

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส 3

ทตี่ ้ังและอาณาเขต

 ภูมปิ ระเทศ
จงั หวัดนราธวิ าส มีพ้ืนทีร่ วมมากเปน็ ลำดบั ที่ 8 ของภาคใต้ และเป็นลำดบั ท่ี 3 ของกลุ่ม

จังหวัดภาคใต้ชายแดน คือ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 21.29 ของ
พนื้ ทก่ี ลมุ่ จงั หวัดภาคใต้ชายแดน

มีพ้ืนท่ีป่าและภูเขาประมาณ 2 ใน 3 ของพื้นท่ีท้ังหมด มีภูเขาหนาแน่นแถบ
ทิศตะวันตก เฉยี งใต้จดเทือกเขาสันกาลาคีรี ซ่ึงเป็นแนวกนั้ พรหมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะของพื้นท่ี
มีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและ
ที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำบางนรา แม่น้ำตากใบและแม่น้ำโก-ลก มีพ้ืนที่พรุ
จำนวนประมาณ 361,860 ไร่

 ภูมอิ ากาศ
เปน็ แบบมรสมุ เขตรอ้ น แบง่ ฤดูกาลออกเปน็ 2 ฤดู ไดแ้ ก่
(1) ฤดูฝน แบ่งออกเป็น 2 ช่วงได้แก่ ช่วงท่ีรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซ่ึงพัดเอา

ความร้อนชื้นจากทะเลอันดามันและมหาสมุทรอินเดียเข้ามาทำให้ฝนตกชุกในเดือนพฤษภาคมถึงเดือน
ตุลาคม อีกช่วงหน่ึง ก็คือช่วงที่รับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงพัดเอาความชื้นจากอ่าวไทยเข้ามา
ทำให้มีฝนตกชกุ ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม

(2) ฤดูร้อนอยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน เน่ืองจากได้รับลม
ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ซ่ึงเป็นลมร้อนทพี่ ัดมาจากทะเลจนี ใต้ ทำใหอ้ ากาศโดยทั่วไปร้อนและช้ืน

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส 4

2) ด้านการปกครองและประชากร
 เขตการปกครอง
จังหวัดนราธิวาสแบ่งการปกครองภูมิภาคเป็น 13 อำเภอการปกครองท้องที่ 77 ตำบล

591 หมบู่ ้าน และมีการจดั การปกครองท้องถนิ่ ดงั น้ี
1. รปู แบบองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดจำนวน 1 แห่งโดยใช้พนื้ ท่ีทั้งจังหวัด
2. รูปแบบเทศบาลใช้พ้ืนที่ตำบลท้ังตำบลแต่เทศบาลบางแห่งใช้พ้ืนที่ไม่ครบท้ังพ้ืนท่ี

ตำบลปัจจุบันมีจำนวน 16 เทศบาล แยกเป็น เทศบาลเมืองจำนวน 3 แห่ง เทศบาลตำบลจำนวน
13 แหง่

3. รูปแบบองค์การบริหารส่วนตำบลใช้พ้ืนที่ตำบลท้ังตำบลและบางแห่งรวมพ้ืนท่ีตำบลอื่นหรือ
พ้นื ทตี่ ดิ เขตเทศบาลมีจำนวน 72 แหง่

ตารางที่ 1 แสดงการแบง่ เขตการปกครอง

ลำดบั ที่ อำเภอ ตำบล หมู่บา้ น เทศบาล อบต.
5
1 อำเภอเมืองนราธวิ าส 6 63 2 7
6
2 อำเภอตากใบ 7 52 1 6
3 อำเภอบาเจาะ 6 47 2 7
9
4 อำเภอย่ีงอ 7 40 1 6
6
5 อำเภอระแงะ 6 61 2 5
6 อำเภอรือเสาะ 6 72 1 2
6
7 อำเภอศรสี าคร 7 35 1 4
3
8 อำเภอแว้ง 9 46 2 72
9 อำเภอสุคิริน 6 41 1

10 อำเภอสไุ หงโก-ลก 6 19 2
11 อำเภอสไุ หงปาดี 5 50 1
12 อำเภอจะแนะ 3 32 -

13 อำเภอเจาะไอรอ้ ง 6 33 -
รวม 77 591 16

ท่มี า : ทีท่ ำการปกครองจังหวัดนราธวิ าส และสำนักงานท้องถิน่ จงั หวัดนราธิวาส

ในพ้ืนที่จังหวัดนราธิวาส มีส่วนราชการท่ีปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส
เป็นหน่วยงานระดับสำนัก กอง และอำเภอ 13 อำเภอ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน พ.ศ. 2534 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ประกอบกับพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม
พ.ศ. 2545 คือ ราชการส่วนภูมภิ าค (ส่วนราชการประจำจังหวัดและอำเภอ) ราชการส่วนกลาง ราชการ
ส่วนท้องถิ่น องค์กรมหาชน และรูปแบบองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2550 รวมทั้งรฐั วิสาหกจิ ตามกฎหมาย ว่าดว้ ยการจดั ต้ังตา่ งๆ ดังน้ี

(1) ราชการสว่ นภมู ิภาค (ส่วนราชการประจำจังหวัด) จำนวน 33 สว่ นราชการ
(2) ราชการสว่ นภูมภิ าค (อำเภอ) จำนวน 13 อำเภอ
(3) ราชการส่วนกลาง จำนวน 13 หน่วยงาน
(4) ราชการส่วนท้องถ่ิน จำนวน 90 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด
1 แหง่ เทศบาลเมือง 4 แห่ง เทศบาลตำบล 10 แหง่ และองคก์ ารบริหารส่วนตำบล 74 แห่ง

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นราธวิ าส 5

(5) มีองค์กรมหาชน 1 หน่วยงาน และรูปแบบองค์กรอิสระ ตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 จำนวน 1 หน่วยงาน และรฐั วิสาหกจิ จำนวน 43 หนว่ ยงาน

 ประชากร
ประชากรตามหลักฐานทะเบียนราษฎร์ ณ เดอื น 31 ธนั วาคม 2563 จำนวนรวมทัง้ สิ้น

804,429 คน จำแนกเปน็ ผ้ชู าย 397,700 คน ผูห้ ญงิ 406,729 คน รายละเอียด ดงั น้ี

ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนประชากรของจังหวัดนราธิวาส จำแนกเป็นอำเภอ

ลำดบั ที่ อำเภอ จำนวนประชากร (คน) รวม
ชาย หญงิ

1 อำเภอเมืองนราธวิ าส 61,808 62,899 124,707
37,541 73,789
2 อำเภอตากใบ 36,248 28,192 55,552
23,856 47,108
3 อำเภอบาเจาะ 27,360 47,539 93,558
37,177 74,003
4 อำเภอยีง่ อ 23,252
20,386 41,389
5 อำเภอระแงะ 46,019
27,432 54,024
6 อำเภอรอื เสาะ 36,826
12,953 26,449
7 อำเภอศรสี าคร 21,003
40,943 78,412
8 อำเภอแวง้ 26,592
27,991 55,199
9 อำเภอสุคิริน 13,496 19,317 39,286

10 อำเภอสไุ หงโก-ลก 37,469 20,503 40,953

11 อำเภอสไุ หงปาดี 27,208 406,729 804,429

12 อำเภอจะแนะ 19,969

13 อำเภอเจาะไอรอ้ ง 20,450

รวม 13 อำเภอ 397,700

ทมี่ า : www.dopa.go.th : 31 ธนั วาคม 2563

3) ดา้ นเศรษฐกิจ
(1) ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวัดนราธิวาส
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดนราธิวาส (GPP) ณ ปี 2561 มีมูลค่าเท่ากับ

44,778 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจากปีท่ีผ่านมาท่ีมีมูลค่ารวม 2,041 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.78 มีขนาด
เศรษฐกิจเล็กเมื่อเทียบกับภาคใต้ คิดเป็นสัดส่วน 3.19 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคใต้ เป็นลำดับท่ี 2
ของกลุ่มภาคใตช้ ายแดน รองจากจังหวัดปัตตานี

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั นราธวิ าส 6

ตารางท่ี 3 แสดงข้อมูลและลำดับผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในกลุ่มจังหวดั ภาคใต้ชายแดน

ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวัด

ที่ จังหวดั (ล้านบาท)

ปี 2557 ปี 2558r ปี 2559r ปี 2560p ปี 2561p

1 ปัตตานี 48,994 49,241 54,561 55,738 48,549

2 ยะลา 40,054 38,041 41,927 43,369 43,006

3 นราธวิ าส 39,251 38,154 42,168 42,737 44,778

รวม 128,299 125,436 138,656 141,844 136,333

ท่ีมา : สำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หมายเหตุ : p = ตวั เลขเบื้องต้น
Note : p = Preliminary based on annual figure

(2) โครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ
โครงสรา้ งเศรษฐกิจหลักของจงั หวัดนราธวิ าสในปี 2561 ลดการพึง่ พาภาคการเกษตรที่มี

แนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ืองจากปี 2557 ภาคการเกษตรมีสัดส่วนร้อยละ 31.02 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
ลดลงอย่างต่อเนื่อง เน่ืองจากราคาสินค้าเกษตรหลักโดยเฉพาะยางพาราและปาล์มน้ำมัน ที่ปรับตัวลดลง
และเริ่มพึ่งพาภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้า และภาคการบริการและอื่นๆ มากข้ึน โดยโครงสร้างเศรษฐกิจ
ในปี 2561 ประกอบด้วย ภาคเกษตรมีมูลค่า 13,890 ล้านบาท คดิ เป็นสัดสว่ นร้อยละ 31.02 ของผลิตภัณฑ์
มวลรวมจังหวัด ภาคอุตสาหกรรม มีมูลค่า 2,721คิดเป็นร้อยละ 6.08 ภาคการค้า (การขายส่ง ขายปลีก
การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์) มีมูลค่า 4,724 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.55 และภาคการบริการ
และอื่นๆ มีมูลค่า 23,441 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 52.35 ซึ่งอาจเกิดจากความไม่ไว้วางใจในสถานการณ์
ความไม่สงบของพ้ืนทท่ี ำให้เกษตรกรไม่กล้าไปพน้ื ทแ่ี ละหันมาพึ่งพงึ ภาคบริการมากขึ้น

แผนภมู ิที่ 1 แสดงโครงสรา้ งเศรษฐกจิ

ทมี่ า : สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นราธวิ าส 7

(3) อัตราการเติบโตเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจของจังหวัดนราธิวาสในระหว่างปี 2559 – 2561 มีอัตราการเติบโตเพ่ิมขึ้น

อย่างต่อเน่ือง แต่ยังต่ำกว่าอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของภาคใต้ ส่วนหน่ึงเป็นผลจากโครงสร้าง

เศรษฐกิจของจังหวัดที่ยังพ่ึงพิงภาคเกษตร ซ่ึงมีข้อจำกัดในปริมาณผลผลิตที่ข้ึนอยู่กับฤดูกาล ประกอบกับ

คุณภาพผลผลิตยังไม่ได้มาตรฐาน รวมทั้งราคาท่ีข้ึนกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสถานการณ์อื่นๆ

ท้ังภายในและต่างประเทศ เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ลอบวางระเบิดในพื้นที่อำเภอสุไหงโก-ลก ส่งผลต่อ

การท่องเท่ียว การค้าและการลงทุน แต่อัตราการเติบโตขยายตัวในปี 2559 ร้อยละ 4.62 เนื่องจาก

โครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดลดการพ่ึงพิงภาคเกษตรและเพิ่มการพึ่งพิงภาคบริการและอื่นๆ มากข้ึน

ทำให้เศรษฐกิจของจังหวัดนราธิวาสขยายตัวในปี 2559 แต่อย่างไรก็ดี ในปี 2561 เศรษฐกิจของจังหวัด

ยังเพ่ิมข้ึนในอัตราที่ต่ำ ทั้งน้ี อาจจะมีผลมาจากสถานการณ์ความไม่สงบที่ยังคงมีอยู่อย่างต่อเน่ืองแม้ว่า

จะลดจำนวนเหตกุ ารณล์ งก็ตาม

4) ด้านสงั คม ศาสนา วัฒนธรรมและประเพณี

 ศาสนา จังหวัดนราธวิ าส มีประชากรนับถือศาสนาอิสลาม คิดเปน็ ร้อยละ 85.91 นับถือ
ศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 11.02 อีกร้อยละ 3.07 นับถือศาสนาคริสต์อ่ืน ๆ มีมัสยิด 637 แห่ง มีวัด
75 แห่ง สังกัดคณะสงฆม์ หานิกาย 71 วดั คณะสงฆ์ธรรมยุต 4 วัด สำนักสงฆ์ 22 แหง่ สังกัดคณะสงฆ์
มหานิกาย 20 แห่ง ธรรมยุต 2 แห่ง และโบสถ์คริสต์ 5 แห่ง มีพระภิกษุ สามเณร 421 รูป สังกัดคณะ
สงฆ์มหานิกาย 412 รูป เณร 9 รูป และคณะสงฆ์ธรรมยตุ 20 รูป

 วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี
ในจังหวัดนราธวิ าส มีสงั คมแบง่ ออกได้ตามภาษาและศาสนา เปน็ 3 รูปแบบ คอื
(1) สังคมชมุ ชนท่ีพดู ภาษามลายูถนิ่ และนับถอื ศาสนาอิสลาม
(2) สงั คมชุมชนท่ีพูดภาษาไทยและนับถือศาสนาพุทธ
(3) สังคมชุมชนท่ีพูดภาษาจนี และนับถือศาสนาอน่ื เช่น พุทธ และคริสต์
สังคมชุมชนที่พูดภาษามลายูถิ่นและนับถือศาสนาอิสลามนั้น มกั ตั้งบ้านเรอื นอยู่เป็น

กลุ่ม ไม่ปะปนกับชุมชนที่นับถือศาสนาอ่ืน อยู่เป็นหมู่บ้าน ประกอบอาชีพด้วยกันในชุมชนเดียวกัน
สว่ นนอ้ ยท่ีปะปนกัน ถา้ จำเป็นกอ็ ยู่ปะปนกันบ้าง การนบั ถอื ศาสนา ต่างคนตา่ งปฏิบัตศิ าสนกจิ ของตนไป
ไมเ่ บียดเบียนกัน อยู่ด้วยกนั โดยสนั ติมบี ้างท่ีไม่ลงรอยกันในเรื่องศาสนา แต่เปน็ เร่ืองเล็กน้อย ปัจจบุ ันผทู้ ่ี
พูดภาษามลายูถน่ิ กส็ ามารถพูดภาษาไทยได้เป็นสว่ นใหญ่ เพราะการศึกษาสงู ขนึ้ กว้างออกไปตามความ
เจริญของท้องถ่ิน และความจำเป็นท่ีต้องประกอบอาชีพสัมพันธ์กัน สำหรับชาวพุทธที่พูดภาษาไทยก็
สามารถพูดภาษามลายูถ่ินได้ นับเป็นวิวัฒนาการด้านวัฒนธรรม แห่งยุคโลกาภิวัฒน์ รูปแบบของชุมชน
มักเกิดขึ้นโดยถือศาสนสถานเป็นจุดศูนย์กลาง เช่น วัด มัสยิด หรือสุเหร่า เพราะต้องอาศัยคนที่รวมกัน
เขา้ เป็นชมุ ชนทสี่ นบั สนนุ ค้ำจนุ

ชาวไทยท่ีนับถือศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี มีลักษณะ
ท่ีคล้ายคลึงกันและไม่แตกต่างไปจากจังหวัดอ่ืนๆ เช่น การแต่งกาย การขึ้นบ้านใหม่ วันสงกรานต์
การบวชนาค วันออกพรรษา ประเพณีเดือนสิบ (วันสารทไทย) และประเพณีวันลอยกระทง ชาวไทย
ทน่ี ับถือศาสนาครสิ ต์ ก็จะมีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี มีลกั ษณะท่ีคล้ายคลึงกันกับจังหวัด
อ่นื ๆ สำหรบั ชาวไทยที่นบั ถอื ศาสนาอสิ ลามจะมีความแตกต่างไปบา้ ง

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส 8

 การแต่งกาย ชาวนราธิวาสในปัจจุบัน แต่งกายกันตามลัทธิศาสนาที่ตนนับถือ ผู้ท่ีนับ
ถอื ศาสนาอิสลามก็แต่งกายแบบท่นี ิยมของชาวมุสลิมโดยทั่วไป ผู้ท่ีนับถือศาสนาพุทธก็แตง่ กายตามแบบ
ของชาวไทย ท่ีนิยมโดยทั่วไป ชาวพุทธไม่ได้นิยมเครื่องแต่งกายแบบชาวฮินดูหรือชาวอินเดีย อันเป็น
แหล่งของศาสนาพุทธ ชาวพุทธ ในชนบทแต่งกายแบบไทยแท้ตามสบาย ถ้าอยู่ในเมืองแต่งกายแบบ
สากลหรือตามที่ทางราชการไทยบัญญัติ นิยมค่อนข้างไปทางยุโรป ในจังหวัดนราธิวาสมีผู้นับถือศาสนา
อืน่ ๆ เช่น คริสต์ ฮินดู ชาวชนบทท่ีกล่าวว่าแต่งกายตามสบายน้ัน เพราะภาคใต้มีอากาศแบ่งเป็น 2 ฤดู
คือ ฤดูร้อน กับฤดูฝน เท่าน้ัน ไม่มีฤดูหนาว ชาวชนบทที่เรียกว่าชาวบ้านน้ัน ส่วนมากประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม เรื่องการสวมเส้ือมีความจำเป็นนอ้ ย สิ้นเปลือง จงึ ไม่ใครส่ วมเสื้อ เว้นแต่ผหู้ ญิง ผู้ชายจะนุ่ง
โสร่งหรือกางเกงขาส้ัน โพกหัวหรือคลุมหัว ทำไร่ ทำนา ทำสวนหรือหาปลา ถ้าเข้าเมืองหรือเข้าสังคม
ก็แต่งกายเรยี บร้อย ตามความนิยมของสังคมในท้องถิน่ น้ัน สำหรับชาวมุสลิมผู้คงแก่เรยี นในทางศาสนา
มักนิยมแบบชาวอาหรับก็มีอยู่เป็นอันมาก จะเห็นอยู่ทั่วไปในยุคโลกาภิวัฒน์น้ี การแต่งกายของคน
รุ่นใหม่ มักวิวัฒนาการไปตามรูปแบบของชาวยุโรปมาก โดยเฉพาะบุคคล ที่ประกอบอาชีพรับราชการ
ธุรกจิ หรอื รฐั วสิ าหกจิ ต่างๆ

 ประเพณี
(1) ประเพณีของชาวไทยพุทธ
(1.1) ประเพณีชิงเปรต การชิงเปรตเป็นประเพณีเนื่องในเทศกาลเดือนสิบ

ของชาวไทยท่ีนับถอื ศาสนาพทุ ธ โดยจดั ในวัดทุกวัด ในวันแรม 14 ค่ำ หรือ 15 ค่ำ เดอื น 10 โดยทำร้าน
จัดสำรับอาหารคาวหวานไปวางเพ่ืออุทิศส่วนกุศลไปให้เปรตชน (ปู่ ย่า ตา ยาย และบรรพบุรุษ
ท่ลี ่วงลับไปแล้ว) ร้านที่วางอาหารเรยี กว่า ร้านเปรต สร้างไวก้ ลางวัด ยกเสาสูง 4 เสาบ้าง เสาเดียวบ้าง
และนยิ มจดั ทำร้านเปรต 2 รา้ น โดยแบง่ ออกเป็นร้านเสาสูง สำหรับคนหนุ่มทม่ี กี ำลงั วังชาในการปีนปา่ ย
อีกร้านเป็นเสาเตี้ยสูงแค่เอว สำหรับให้เด็กและผู้หญิง ได้แย่งชิงเพ่ือความสนุกสนาน บนร้านเปรตจะมี
สายสิญจน์วงล้อมไว้รอบ และต่อยาวไปจนถึงท่ีพระสงฆ์น่ังทำพิธีกรรม เม่ือทำพิธีเสร็จแลว้ จะมผี ู้ตีระฆัง
ให้สัญญาณ บรรดาผู้มาร่วมทำบุญก็จะเข้าไปรุมแย่งสิ่งของอาหารคาวหวานท่ีอยู่บนร้านเปรต
อยา่ งสนุกสนาน ซงึ่ เรียกกนั วา่ ชงิ เปรต

(1.2) ประเพณีบังสกุลบัว การบังกุลบัวคือการทำบุญระลึกถึงญาติที่ล่วงลับ
ไปแล้ว และนำกระดูกมาบรรจุไว้ในบัว (ท่ีบรรจุอัฐิ) ประจำหมู่บ้าน ในแต่ละวัดหรือบัวประจำตระกูล
มีขึ้นระหว่างเดือน 5 แรม 1 ค่ำ ของทุกปีเป็นต้นไป ถือเป็นการชุมนุมญาติของแต่ละหมู่บ้านตำบล
โดยเม่ือถึงวันบังสกุลบัว ญาติพ่ีน้องลูกหลาน ที่ไปประกอบอาชีพหรือไปอยู่ต่างถ่ิน จะพร้อมใจกันกลับ
บา้ น เพ่ือทำบุญในวนั นี้ และจะมีการทำความสะอาดตกแตง่ บัว บางที่เรียกประเพณนี ้วี ่า ทำบุญรดนำ้ บัว

(1.3) ประเพณี ลาซัง ลาซังเป็นประเพณีประจำปีของชาวไทยพุทธ
แถวอำเภอตากใบ เรยี กวา่ ลม้ ซัง กินขนมจีน ประเพณีเกดิ ข้ึนเน่ืองจากความเชอ่ื เร่ืองที่นา เรื่องแม่โพสพ
โดยเชื่อว่า ถ้าจัดทำพิธแี ล้วจะทำให้นาข้าวปีตอ่ ไปงอกงาม ให้ผลผลิตสูง เพราะชาวนารูค้ ุณเจ้าท่ีนาและ
แม่โพสพ หลังจากที่เก็บเกี่ยวข้าวเสร็จ ผู้นำชุมชนก็จะกำหนดวันล้มซัง พร้อมนิมนต์พระจากวัดใกล้ ๆ
3-5 รูป เพ่ือทำพิธี ทางศาสนาหลังเสร็จพิธีแล้ว ชาวบ้านจะนำขนมจีนมาถวายพระ เมื่อพระฉันเสร็จ
ผู้มาร่วมงานก็จะร่วมรับประทานอาหารคือ ขนมจีนร่วมกัน ในภาคบ่ายจะมีกิจกรรมการละเล่นต่างๆ
เป็นการสนุกสนาน เช่น ชักคะเย่อ แย้ชิงรู ชนวัว (ปัจจุบันไม่ค่อยจัดแล้ว) ตีไก่ เล่นไพ่ เล่นลูกกอเจาะ
(ลูกเต๋า) เล่นโป ในบางตำบล ของอำเภอตากใบ เช่น พร่อน เกาะสะท้อน โฆษิต จะจัดเป็นเทศกาล
ประจำปี มีภาพยนตร์ หนังตะลุงและการแสดงอื่นๆ ในภาคกลางคนื ดว้ ย

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั นราธวิ าส 9

(1.4) ประเพณีลากพระ ลากพระหรือชกั พระ จะทำหลังจากวันมหาปวารณา
หรือวันออกพรรษา 1 วัน คือตรงกับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 พุทธศาสนิกชนจะพร้อมใจกันอาราธนา
พระพุทธรูป ขึ้นประดิษฐานบนบุษบกที่วางอยู่เหนือรถหรือล้อเลื่อน แล้วแห่แหนชักลากไปตามถนนไป
รวมกัน ณ จุดที่นัดหมาย อาจจะเป็นวัดใดวัดหน่ึงหรือสถานท่ีที่ผู้จัดงานกำหนดไว้ รถหรือล้อเล่ือนน้ัน
ชาวบ้านมักเรยี กว่า เรือพระ ปกตจิ ะตกแต่งเป็นรปู เรือ โดยใช้คนลากเชือกเป็น 2 สาย บนเรือพระ จะมี
คนตีโพน การตีโพนนั้น เพ่ือปลุกใจให้ชาวบ้านกระตือรือร้นมาร่วมพิธีลากพระ และเรียกให้ชาวบ้าน
ที่อยู่แนวถนนได้มาร่วมพิธีเท่าที่มีเวลา อาจจะเพียงช่วงระยะทาง 10-20 เมตร และร่วมทำบุญ
ตามศรัทธาเม่ือเรือพระแต่ละลำเดินทางไป ถึงจุด นัดหมาย ก็จะมีพิธีกรรมและกิจกรรม โดยชาวบ้าน
จะนำอาหารถวายพระสงฆ์ที่มาพร้อมกับเรือพระหรือพระสงฆ์ท่ีชาวบ้านนิมนต์มาเพ่ือร่วมงานลากพระ
เมอ่ื พระฉันเสรจ็ แล้วชาวบ้านก็จะร่วมรับประทานอาหารและร่วมกจิ กรรมเพือ่ ความสนุกสนานและความ
สามัคคี กิจกรรมท่ีจัดในงานประเพณีลากพระ ได้แก่ การประกวดเรือพระ การแข่งขันตีโพนหรือ
กลองใหญ่ การแข่งขนั ซัดตม้ การแขง่ ขันกฬี าพน้ื บ้าน

(1.5) ประเพณีกินวาน หมายถึง การไหว้วานให้เพ่ือนบ้านมาช่วยกันลงแรง
ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เพ่ือให้งานหนักหรืองานเร่งด่วนสำเร็จลุล่วงทันการ โดยผู้ที่ร่วมลงแรงไม่คิด
ค่าแรง งานบางอย่างอาจผลัดเปล่ียนช่วยกันทำเป็นบ้านๆ ไป เช่นเดียวกับทางภาคกลางท่ีเรียกว่า
ลงแขก การไหว้วาน ใช้วิธีบอกกล่าวกันด้วยวาจา ผู้ไหว้วานอาจจะไปบอกด้วยตนเองหรือมอบหมาย
ให้คนอ่ืนไปบอกแทน จึงเรียกการไหว้วานน้ีว่า ออกปาก และถือเป็นประเพณีที่เจ้าภาพจะต้องเลี้ยง
อาหารผมู้ าร่วมลงแรง ผู้ท่ีไปร่วมจึงมักใช้คำวา่ ไปกินวาน ปัจจุบันประเพณีน้ี กำลังสญู หายไป เน่ืองจาก
มีเครอ่ื งจักรกลมาทำหน้าทีแ่ ทนแรงคน จึงหลงเหลืออยู่ในกลุ่มเครือญาติ เพ่ือนสนิทกลุ่มเล็กหรือในกลุ่ม
คนยากจนทไี่ มม่ ีกำลงั ท่ีจะจดั ซอื้ เคร่อื งมือกล

(2) ประเพณขี องชาวไทยมุสลิม
(2.1) มาแกปูโละ “มาแกปูโละ” เป็นภาษาท้องถิ่น แปลว่า“กินเหนียว”

ประเพณี การกินเหนียวของชาวไทยท่ีนับถือศาสนาอิสลาม จะใช้ในหลายโอกาส เช่น แต่งงานและเข้า
สุหนัต คำว่า “กินเหนียว”มิใช่ว่าเจ้าของจะบริการอาหารเฉพาะข้าวเหนียวเท่านั้น แต่เป็นการเลี้ยง
อาหารธรรมดาท่วั ไปนัน่ เอง

(2.2) การเข้าสุหนัต เป็นหลักการของศาสนาอิสลาม อันเก่ียวเนื่องกับเรื่อง
ความสะอาด คือการขลิบผวิ หนังหุ้มส่วนปลายอวัยวะเพศชาย หรือเรยี กตามภาษาท้องถิ่นว่า “มาโซะยา
วี” ซึ่งจะกระทำแก่เด็กชายท่ีมีอายุระหว่าง 2-10 ปี ส่วนการจัดเลี้ยงอาหารในวันเข้าสุหนัต ถือว่าเป็น
ประเพณีอย่างหนึ่ง

(2.3) วนั ฮารีรายอ มอี ยู่ 2 วนั คอื
1) วันอิฎิลฟิตรี หรือท่ีเรียกว่า วันฮารีรายอ เป็นวันร่ืนเริงเนื่องจาก

การสิ้นสุด การถือศีลอดในเดือนรอมฎอน เป็นการกลับเข้าสู่สภาพเดิมคือ สภาพที่ไม่ต้องอดอาหาร
ไม่ต้องอดน้ำ ฯลฯ อีกต่อไป วันอิฏิลฟิตรี ตรงกับวันท่ีหนึ่งของเดือนเซาวาล ซึ่งเป็นเดือนท่ี 10
ทางจันทรคติ และทางราชการกำหนดให้เป็นวันหยุดราชการใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ยกเว้น
สงขลา) 1 วัน

2) วันอิฎิลอัฎฮา หรือท่ีเรียกว่า วันฮารีรายอฮัจญี หมายถึงวันร่ืนเริง
เน่ืองในวันเชือดสัตว์พลีเป็นทานบริจาคอาหารแก่คนยากจนและประชาชนทั่วไป ตรงกั บวันที่ 10
ของเดือนซุลฮิจญะ เป็นเวลาเดียวกับการประกอบพิธีฮัจย์ ณ นครเมกกะของมุสลิมท่ัวโลก ดังน้ัน
ชาวไทยมุสลิมจึงนิยม เรียกวันตรุษน้ีว่า วันอีดใหญ่หรือวันรายอฮัจญีและทางราชการกำหนดให้เป็น
วนั หยุดราชการใน 4 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ (ยกเว้นสงขลา) 1 วัน

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั นราธวิ าส 10

(2.4) วันเมาลิด เมาลิด เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า เกิด ที่เกิด หรือวันเกิด
ซ่ึงหมายถึงวันสมภพ ของนบีมูฮัมหมัด(ศ็อล) ตรงกับวันที่ 12 ของเดือนรอบีอุลอาวาล หรือเดือนท่ี 3
ตามปฏิทินอาหรับ วันเมาลิด นอกจากจะเป็นวันเฉลิมฉลองเน่ืองในวันสมภพของ นบีมูฮัมหมัด (ศ็อล)
แล้วยังเป็นการรำลึกถึงวันที่ท่านล้ีภัยจากนครเมกกะไปสู่นครมาดีนะห์ และเป็นวันมรณกรรมของท่าน
อีกด้วย กิจกรรมตา่ งๆ ในวันเมาลิด ได้แก่ การอญั เชิญคัมภีร์ อัน-กุรอา่ น การแสดงปาฐกถาธรรม การแสดง
นทิ รรศการ การเลี้ยงอาหาร

(2.5) วันอาซูรอ อาซูรอ เป็นภาษาอาหรับ หมายถึง วันที่ 10 ของเดือน
มุฮัรรอน ซึ่งเป็นเดือนทางศักราชอิสลาม ในสมัย ท่านนบีนุฮ ได้เกิดน้ำท่วมใหญ่ยังความเสียหาย
แกท่ รัพย์สินไร่นา ของประชาชนทวั่ ไป ทำให้เกิดการขาดอาหารบรโิ ภค จึงประกาศให้ผู้ทม่ี สี ิ่งของที่เหลือ
พอจะรับประทานได้ ให้เอามากองรวมกัน เน่ืองจากต่างคนต่างมีของคนละอย่างไม่เหมือนกัน
ท่านนบีนุฮ ให้เอาของเหล่าน้ัน มากวนเข้าด้วยกัน สาวกของท่านก็ได้รับประทานอาหารโดยท่ัวกันและ
เหมือนกัน ในสมัยท่านนบีมูฮัมหมัด(ศ็อล) ได้เกิดเหตุการณ์ทำนองเดียวกันขณะท่ีกองทหารของท่าน
กลับจากการรบท่ี บาดัร ปรากฏว่าทหาร มีอาหาร ไม่พอกิน ท่านนบีมูฮัมหมัด(ศ็อล) จึงใช้วิธีการของ
ท่านนบีนุฮ โดยให้ทุกคนเอาข้าวของที่รับประทานได้ มากวนเข้าด้วยกัน แล้วแบ่งกันรับประทาน
ในหมู่ทหาร

5) ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
 ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
ทรัพยากรป่าไม้ : จังหวัดนราธิวาสมีพ้ืนท่ีป่า 850,216.84 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 30.28

ของพ้ืนที่จังหวัด ประกอบด้วยป่าอนุรักษ์ ซ่ึงอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า
และพันธุ์พืช จำนวน 5 ป่า เนื้อที่รวม 713,192.65 ไร่ คืด อุทยานแห่งชาติบูโด – สุไหงปาดี อุทยาน
แห่งชาติน้ำตกซีโป อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว – เขาตันหยง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกมุ ารี เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา – บาลา ป่าสงวนแห่งชาติ
นอกเขตป่าอนุรักษ์ ซ่ึงอยู่ภายใต้ การกำกับดูแลของกรมป่าไม้ จำนวน 20 ป่า เนื้อท่ีรวม
137,024.19 ไร่ สถานการณ์ป่าไม้ของจังหวัดนราธิวาส ในปัจจุบัน แม้ว่าพ้ืนท่ีป่าบางส่วนจะถูกบุกรุก
ทำลายอยู่บ้าง แต่จากข้อมูลภาพดาวเทียมไทยโชตและดาวเทียม Lansat 8 โดย สำนักจัดการที่ดินป่าไม้
กรมป่าไม้ พบว่า ปี พ.ศ.2557 จังหวัดนราธิวาสมีเน้ือท่ีป่า 738,957.59 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 26.33
ของเน้อื ทีจ่ ังหวดั

ขยะมูลฝอย : จังหวัดนราธิวาสมีขยะ จำนวน 5 ประเภท ได้แก่ ขยะมูลฝอยตกค้าง
(ปริมาณ 131.79 ตนั /วัน) ขยะมูลฝอยชุมชนใหมท่ ่ีเกดิ ขน้ึ (ปรมิ าณ 725.47 ตนั /วัน), ของเสียอันตราย
(ปริมาณ 5.49 ตัน/วัน) มูลฝอยติดเช้ือ (ปริมาณ 0.437 ตัน/วัน) และกากอุตสาหกรรมที่เป็นอันตราย
(ปริมาณ 2.03 ตัน/ปีวัน) จังหวัดนราธิวาสมีสถานท่ีกำจัดขยะ รวมทั้งส้ิน 23 แห่ง เป็นสถานที่กำจัด
ขยะแบบถูกหลักวิชาการ 2 แห่ง คือ เทศบาลเมืองนราธิวาส และเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ท่ีเหลืออีก
21 แหง่ เป็นสถานทกี่ ำจัดขยะแบบไม่ถกู หลักวิชาการ

 แหลง่ น้ำธรรมชาติ
มแี ม่น้ำสำคญั 4 สาย คือ
(๑) แม่น้ำบางนรา รับน้ำจากเทือกเขาบูโด - สุไหงปาดี ผ่านคลองสุไหงปาดี คลอง

ยะกัง และคลองตันหยงมัส ไหลผ่านท้องท่ี อำเภอตากใบ อำเภอสุไหงปาดี อำเภอระแงะ แล้วไหลลงสู่
ทะเล ที่อำเภอเมอื งนราธิวาส มคี วามยาว 60 กิโลเมตร

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 11

(2) แม่น้ำโก-ลก เป็นแม่น้ำก้ันพรมแดนระหว่างประเทศมาเลเซีย ต้นน้ำอยู่ใน
เทือกเขา ในประเทศมาเลเซยี และที่อำเภอแว้ง ไหลผ่านอำเภอสุไหงโก-ลก และไหลลงอ่าวไทยท่ีอำเภอตาก
ใบ มคี วามยาว ประมาณ 103 กิโลเมตร

(3) แม่น้ำสายบุรี ต้นน้ำเริ่มจากเทือกเขาในอำเภอสุคิริน ไหลผ่านอำเภอจะแนะ
อำเภอ ศรีสาคร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส อำเภอรามัน จังหวัดยะลา แล้วไหลลงสู่อ่าวไทย
ทอ่ี ำเภอสายบรุ ี จังหวัดปตั ตานี มคี วามยาวประมาณ 195 กิโลเมตร

(4) แม่น้ำตากใบ เป็นแม่น้ำท่ีเกิดจากการเปลี่ยนกระแสน้ำในทะเล ประกอบกับ
คล่ืน ได้ซัดทรายเข้าหาฝั่งทำให้เกิดเป็นสันทราย ส่วนภายในยังลึกเป็นแนวยาว จึงเกิดเป็นแม่น้ำยาว
ประมาณ 14 กิโลเมตร อยู่ชายฝั่งตะวันออกในพ้ืนที่ตำบลเจ๊ะเห ตำบลศาลาใหม่และไหลไปบรรจบ
แมน่ ้ำโก-ลก ทีบ่ า้ นตาบา ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ ต่อชายแดนไทย-มาเลเซยี

6) ดา้ นการคมนาคม
จังหวัดนราธิวาสมีศักยภาพด้านการขนส่งท้ังทางบก ทางเรือ และทางอากาศ ซ่ึงสามารถ

รองรับการพฒั นาพ้ืนทเี่ ขตเศรษฐกิจจงั หวดั นราธวิ าส ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี
 ทางบก
(1) เสน้ ทางถนน
จังหวัดนราธิวาสเป็นโครงข่ายการจราจรในภูมิภาคตามทางหลวงหมายเลข AH18

(ปัตตานี-นราธิวาส) เช่ือมต่อทางหลวงหมายเลข AH2 เข้าสู่กรงุ เทพมหานคร เช่ือมระเบียงทางทิศเหนือ
ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมโยงอีกเส้นทางหนึ่งท่ีเช่ือมกับประเทศมาเลเซีย
ทางด่านชายแดน 3 ด่าน คือ ด่านศุลกากรสุไหงโก-ลก ด่านศุลกากรตากใบ และด่านศุลกากรบูเก๊ะตา
ผ่านทางทิศตะวันออก ของประเทศมาเลเซีย สู่ประเทศสิงคโปร์เมืองโกตาบารู ประเทศมาเลเซีย ใช้เส้นทาง
หลวงหมายเลข 4057 เชื่อมกับหมายเลขทางหลวงที่ 3 รัฐกลันตันรัฐตรังกานู รัฐปาหัง และรฐั ยะโฮรป์ ระเทศ
มาเลเซีย ซ่ึงเป็นเส้นทางท่ีผ่านท่าเรือโต๊ะบาหลี ท่าเรือคอนตันเป็นท่าเรือท่ีใหญ่ที่สุดในประเทศมาเลเซีย
และเปน็ เสน้ ทีเ่ ชื่อมต่อไปยงั ประเทศสงิ คโปร์

(2) ทางราง
ปัจจุบันจังหวัดนราธิวาสมีโครงข่ายเส้นทางรถไฟสายใต้ จากกรุงเทพฯ มายังชุมทาง
หาดใหญ่ – ปาดังเบซาร์ – บัตเตอร์เวอร์ธ (มาเลเซีย) – สิงคโปร์และชุมทางหาดใหญ่ – สุไหงโก-ลก
(จังหวัดนราธิวาส) ซ่ึงเป็นเส้นทางท่ีผ่านเข้าตอนกลางของพื้นที่จังหวัดนราธิวาสในลักษณะแบ่งพ้ืนที่
ชายฝั่งทะเลดา้ นตะวนั ออกกับพื้นที่ภูเขาดา้ นตะวนั ตกจากกันโดยทางรถไฟตดั ผ่านอำเภอรือเสาะ อำเภอ
ระแงะ อำเภอสุไหงปาดีและสิ้นสุด ท่ีอำเภอสุไหงโก-ลก ติดเขตแดนประเทศประเทศมาเลเซียภายใน
จังหวัดนราธิวาส มีจำนวนสถานีรถไฟท้ังส้ิน จำนวน 11 แห่ง สถานีที่สำคัญคือสถานีสุไหงโก-ลก และ
สถานรี ถไฟตันหยงมัส เพราะมีปริมาณผู้โดยสารและสินค้าข้ึนลงมากที่สดุ จำนวนขบวนรถไฟทแ่ี ล่นผา่ น
จังหวดั นราธวิ าสมี 14 ขบวน ในแตล่ ะวัน

(3) สะพาน
3.1 สะพานขา้ มแมน่ ้ำโก-ลก ท่ีสไุ หงโก-ลก ถงึ เมืองลันเตาปันยัง ประเทศมาเลเซีย :
สะพานข้ามแม่น้ำโก-ลก เช่ือมอำเภอสุไหงโก-ลกกับเมืองรันเตาปันยัง รัฐกลันตันของมาเลเซีย มีการใช้
งานมาหลายสิบปี เป็นชอ่ งทางหลักของประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใตไ้ ปเยย่ี มญาตแิ ละทำงาน

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั นราธวิ าส 12

ในประเทศมาเลเซีย รวมทั้งยังเป็นชอ่ งทางรถท่องเที่ยวและรถขนส่งหลักที่มีการใช้งานมากขึ้น ส่งผลให้
เกดิ ความแออดั ซง่ึ เกดิ จากการใช้งานการจราจรของท้งั สองฝ่าย

3.2 สะพานมิตรภาพ (สะพานบูเก๊ะตา) : เป็นสะพานข้ามแม่น้ำโกลกแห่งท่ี 2 เช่ือม
ระหว่างบ้านบูเก๊ะตา ต.โละจูด อ.แว้ง จ.นราธิวาส กับบ้านบูกิตบุหงารัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
เปน็ สะพานคอนกรตี 2 ช่องจราจร ยาว 120 เมตร กว้าง 16.9 เมตร

 ทางอากาศ
จังหวดั นราธวิ าสมีทา่ อากาศยาน 1 แหง่ ต้ังอยู่ทบี่ ้านทอน ตำบลโคกเคยี น อำเภอเมือง

นราธิวาส ห่างจากตัวจังหวัดไปทางเหนือประมาณ 14 กิโลเมตร มีเที่ยวบินในประเทศจากกรุงเทพฯ

ถึงนราธิวาส ทกุ วัน วนั ละ 2 เท่ียวบนิ (ไป-กลบั ) คือ สายการบนิ ไทยแอรเ์ อเชยี (180 ท่นี ่งั ) และสายการ

บินไทยสมายล์ ให้บริการระหว่าง นราธิวาส - กรุงเทพฯ - นราธิวาส ในแต่ละปีสนามบินนราธิวาส

มีผโู้ ดยสารใช้บริการเฉลยี่ ปี 2558-2562 ประมาณปีละ 222,637 คน และยังมีผแู้ สวงบญุ ไปประกอบพธิ ี

อุมเราะห์และพิธีฮัจญ์ปีละหลายพันคน ท่าอากาศยานนราธิวาสมีขีดความสามารถในการอำนวยความ

สะดวก สามารถรองรับผโู้ ดยสารในชั่วโมงเร่งด่วนทั้งเข้าและออกได้จำนวน 316 คน และรองรับอากาศ

ยานในช่ัวโมงเร่งด่วนได้ 7 ลำ คือ เคร่ืองบินพาณิชย์แบบ A 300-600 (1 ลำ), เครื่องบินแบบ Boeing

737-400 (2 ลำ) เครื่องบินขนาด ATR 70-100 (2 ลำ) และเฮลิคอปเตอร์แบบ 212/UH-IN (2 ลำ) มีรถ

บริการหรือรถลีมูซีนจากท่าอากาศยานนราธิวาส-ตัวเมืองนราธิวาส-ขนส่งนราธิวาส-อำเภอตากใบ-

อำเภอสุไหงปาดี และอำเภอสไุ หงโก-ลก ปจั จบุ นั มีผู้โดยสารเฉลย่ี เดือนละ 19,314 คน

 ทางนำ้
(1) ทา่ เทียบเรือประมงนราธวิ าส
ปัจจุบันจังหวัดนราธิวาสได้ปรับเปลี่ยน ท่าเทียบเรือประมงเป็นท่าเทียบเรือเชิง

พาณิชย์ สำหรับการขนส่งสินค้าภายในประเทศ โดยการขนส่งสินค้าจำพวกไม้แปรรูป และยางพารา
จากจังหวัดนราธิวาสไปจำหน่ายท่วั ประเทศ รวมทั้งเป็นตัวแทนจำหน่าย โดยรับซอ้ื สินค้าจำพวกข้าวและ
น้ำตาลจากส่วนกลาง เพื่อจำหน่ายในพ้ืนที่หรือส่งต่อไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เนื่องจากการขนส่งทาง
น้ำมตี ้นทนุ ค่าขนส่งต่อหน่วยต่ำที่สุด และแมน่ ้ำบางนรามีความลึกเพียง 5 เมตร จึงไม่สามารถรองรับเรอื ท่ี
มีขนาดใหญเ่ กนิ 500 ตนั กรอสได้

(2) แพขนานยนต์ : อยู่ท่ีบ้านตาบา ตำบลเจ๊ะเห อยู่ห่างจากตัวอำเภอตากใบ
เพียง 3 กิโลเมตร การติดต่อระหว่างประเทศไทยกับเมืองตุมปัตรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย มีความ
สะดวก ระยะทางเพียง 22 กิโลเมตร การสัญจรของประชาชนท้ังสองประเทศจะใช้แพขนานยนต์เป็น
พาหนะในการขนส่งข้ามฟาก ซ่ึงประเทศไทยมีแพขนานยนต์ จำนวน 1 ลำ อยู่ภายใต้ความดูแลของ
องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนราธิวาสได้เปิดให้บรกิ ารต้ังแต่ปี 2544 ทุกวันระหว่างเวลา 06.00 -18.00
น.ปัจจุบันแพขนานยนต์ มีสภาพเก่าและทรุดโทรมเกิดการชำรุดเสียหาย จำเป็นต้องหยุดให้บริการ
เพื่อซ่อมแซมบ่อยคร้ัง ทำให้ไม่สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่องหากเปรียบเทียบมูลค่าการค้า
ท่ีเกิดจากการขนผ่านแพขนานยนต์ อาจจะมีมูลค่าน้อยกว่าการขนส่งทางถนนหรือทางอากาศ แต่สิ่งที่ได้
มากกว่ามูลค่าการค้า คือ การให้บริการทางแพขนานยนต์ เป็นการให้บริการในการสัญจรของประชาชน
ในพื้นท่ี ให้ได้รับความสะดวกในการไปมาหา สู่ระหว่างไทย-มาเลเซียและปัจจุบันองค์การบริหารส่วน
จังหวัดนราธิวาส จะใช้งบประมาณจ่ายขาดเงินสะสมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนราธิวาส
เพอื่ ดำเนินการโครงการจดั จา้ งตอ่ แพขนานยนต์ จำนวน 1 ลำ

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 13

ข้อมูลพื้นฐานเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษจงั หวดั นราธิวาส

พ้ืนที่จังหวัดนราธิวาส ถือเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่มีความสำคัญทั้งในด้านเศรษฐกิจและความ
ม่ันคง มุ่งเน้นให้เกิดการขับเคล่ือนการดำเนินงานแบบบูรณาการจากผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่หรือเรียกว่า
"ประชารัฐ" ซงึ่ เปน็ พลังสำคญั ที่จะรว่ มกนั ขบั เคลื่อนในมติ ิตา่ งๆ ให้มีความกา้ วหน้า

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ มีมติเม่ือวันท่ี 16 มีนาคม 2558 เห็นชอบกำหนด
กำหนดพ้ืนท่ีเป้าหมายเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษนราธวิ าส รวม 5 อำเภอ 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลละหาร
อำเภอยี่งอ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมือง ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสไุ หงโก-ลก ,ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตาก
ใบ และตำบลโล๊ะจูด อำเภอแว้งเน้ือที่ 146,995.625 ไร่ การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่
9 กุมภาพันธ์ 2564 เห็นชอบขยายเวลามาตรการสำหรับเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ ออกไปอีก 3 ปี เร่ิมต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม 2564 ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม 2566 จากเดิมสิ้นสุดเมื่อ
วันท่ี 31 ธนั วาคม 2563

จังหวัดนราธิวาสได้มุ่งเน้นการขับเคล่ือนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษนราธิวาส จากความ
ได้เปรียบ ด้านศกั ยภาพโดยมงุ่ เนน้ 4 ด้าน ไดแ้ ก่

(1) การเช่ือมโยง (Connectivity) : โดยการพัฒนาด่าน 3 ด่านที่มีศักยภาพอยู่แล้ว คือ
ดา่ นสุไหงโก-ลก ดา่ นตากใบ และด่านบเู ก๊ะตา

- ด่านสุไหงโก-ลก มีโครงการพฒั นาทีส่ ำคญั ได้แก่ การเปดิ เสน้ ทางรถไฟเดมิ จากสุไหง
โก-ลก ถึงปาเสมัสรัฐกลนั ตนั สะพานข้ามแม่นำ้ โก-ลกแหง่ ที่สองที่สุไหงโก-ลก ถึงเมืองรันเตาปันยงั และ
ถนนเพื่อความปลอดภัยสูง ใช้แนวเขตรถไฟซ่ึงมีความกว้าง 80 เมตร จากอำเภอหาดใหญ่-อำเภอสุไหง
โก-ลก

- ด่านตากใบ มีโครงการพัฒนาที่สำคัญ ได้แก่ โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำ
โก-ลก ทตี่ ากใบ และการจดั หาแพขนานยนต์ ขา้ มฟากไทย-มาเลเซยี

- ด่านบูเก๊ะตา เน่ืองจากปัจจุบันด่านบูเก๊ะตาใช้ตู้คอนเทรนเนอร์เป็นที่ทำการ จึงต้อง
เรง่ ดำเนินการก่อสร้างด่านท่ียังคงค้างอยู่และเวนคืนท่ีดินซ่ึงเป็นท่เี อกชนทีอ่ ยู่ระหว่างท่ดี ่านกับชายแดน
จำนวน 241 ไร่ 190 แปลง ซ่ึงนายกรัฐมนตรีได้มีข้อสั่งการเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2559 ในคราว
ประชุม แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ณ จังหวัดนราธิวาส
มอบหมายกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการคลัง โดยกรมศุลกากร รับไปดำเนินการเร่งรัดการ
ก่อสร้างโครงการฯ ระยะท่ี 3 ให้แล้วเสร็จในปี 2559 การปรับปรุงเพ่ิมเติมงานก่อสร้างด่าน ระยะที่ 2
และการจัดสรรอัตรากำลังเจ้าหน้าท่ีศุลกากรเพื่อรองรับการเปิดด่าน ภายในปี 2560 รวมทั้งการ
ปรับปรุงและขยายด่านศุลกากรบูเก๊ะตา (ระยะท่ี 4) เพ่ือเปิดด่านอย่างเต็มรูปแบบให้แล้วเสร็จในปี
2561

นอกจากนี้ยังมีโครงการพัฒนาเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งท้ังทางบก เช่น โครงการ
ก่อสร้างทางหลวง ตอนแยกสาย 42 (ปาลอปาต๊ะ) – บรรจบสายทาง 4136 (บ้านทอน) ทางน้ำ เช่น
โครงการขุดลอกร่องน้ำบางนรา และทางอากาศ เช่น โครงการก่อสรา้ งอาคารที่พกั ผ้โู ดยสาร

(2) การค้าและการทอ่ งเที่ยวชายแดน
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสไุ หงโก-ลก อยู่ภายใต้เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ และเมอื งต้นแบบ

“สามเหล่ียมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ซ่ึงภายใต้เมืองสุไหงโก-ลก “เมืองต้นแบบการค้าชายแดนระหว่าง
ประเทศ” จังหวัดร่วมกบั ภาคเอกชนในพื้นที่อำเภอสุไหงโก-ลก ได้รว่ มกนั จัดทำข้อเสนอการพัฒนา เมือง
สไุ หงโก-ลก รวม 6 โครงการ ในระยะเวลา 3 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 – 2562) ดงั น้ี

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส 14

1. โครงการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าและศูนย์ตลาดสินค้าเกษตร ในพ้ืนท่ีของการรถไฟ
แหง่ ประเทศไทย ซ่ึงนกั ธรุ กิจในพ้ืนท่ีพรอ้ มทจี่ ะลงทุน โดยให้ภาครฐั สนับสนนุ โครงสรา้ งพื้นฐานที่จำเป็น
และสงิ่ อำนวยความสะดวก

2. โครงการก่อสรา้ งเมืองสุไหงโก-ลกคอมเพลก็ ซ์ ในพ้นื ที่ 25 ไร่ ของการเคหะแหง่ ชาติ

3. โครงการปรับปรุงและยกระดับสถานีรถไฟสุไหงโก-ลก และส่งเสริมการจัดต้ังสถานี
ขนส่งสินค้า (คลังสินค้า) ประกอบด้วย ปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบสถานีรถไฟสุไหงโก-ลก,ก่อสร้างลาน
เกบ็ และคลงั สินคา้ และการศกึ ษาความเหมาะสมสถานีขนสง่ สนิ คา้

4. โครงการพัฒนาโครงข่ายเชื่อมโยงการคมนาคมขนสง่
5. โครงการจัดตง้ั เมอื งต้นการคา้ ปลอดภาษีอากร
6. โครงการพัฒนาพื้นท่ีสีเขียวเพื่อการนันทนาการท่องเที่ยวเมืองสุไหงโก-ลก อาทิ การ
ปรับปรุง สวนสาธารณะ
(3) การท่องเที่ยวชายแดน : ใช้ท่ีต้ังทางภูมิศาสตร์ที่เป็น GATEWAY อาเซียนทางใต้ผ่านทิศ
ตะวันออกของมาเลเซีย และติดอ่าวไทย ประกอบกับมีทุนมนุษย์และวัฒนธรรมท่ีมีอัตลักษณ์ของความเป็นมลายู
รอ้ ยละ 80 เช่ือมโยงกับมาเลเซียและอินโดนีเซีย รวมท้ังมีทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ โดยเน้น
ลูกค้ามุสลิมทางอาเซียนและจีนโดยเน้นการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม/ประวัติศาสตร์ และธรรมชาติ
เชน่ วัดชลธาราสิงเห ตลาดนำ้ ตากใบ มัสยิดตะโละ๊ มาเนาะ (390 ป)ี น้ำตกปาโจ คัมภีรอ์ ัลกรุ อ่านที่เขียน
ด้วยลายมือมีอายุกว่า 700 ปี ท่ีโรงเรียนสมานมิตร พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นขุนละหาร พิพิธภัณฑ์ย้อนรอย
ประวตั ศิ าสตร์ เขามงคลพิพิธ Harmony Street พิพิธภณั ฑ์เมืองนราธิวาส วังเจา้ เมืองระแงะ และป่าฮา
ลาบาลา เป็นตน้
(4) การค้าและการลงทนุ
การจัดต้ังนิคมอุตสาหกรรมในเนื้อที่ 1,730-0-13.9 ไร่ ตำบลละหาร อำเภอยี่งอ จังหวัด
นราธิวาส เป็นท่ีดินท่ีมีความเหมาะสม ทั้งการคมนาคมขนส่ง ความปลอดภัย มีระบบสาธารณูปโภคและ
สาธารณูปการ และส่วนสำคัญที่จะรองรับประเทศมาเลเซียผ่านโครงข่าย GATEWAY ทางตอนใต้เข้ามาใน
ประเทศไทย เพอื่ ดำเนนิ กจิ การทีภ่ าคเอกชนให้ความสนใจ ได้แก่
(1) Rubber City ซึ่งมีผลผลิตยางพาราปีละ 200,000 ตัน ใช้แปรรูปเพียง 94,000 ตัน
เพ่อื เปน็ ศูนยก์ ลางยางพาราของจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
(2) Halal Park Industry : เพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ฮาลาล เป็นศูนย์กลางผลิตภัณฑ์ฮา
ลาล ของจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ทง้ั สิ่งทีเ่ ป็นอาหาร (Food) และไม่ใช่อาหาร (Non Food)
(3) พลังงานทดแทน : แหล่งพลังงานทดแทนและแก้ปัญหาไฟฟ้าดับ เช่น โรงงานไฟฟ้า
พลั งงาน แสงอาทิ ตย์ (Solar Farm) โรงไฟฟ้ าชี วมวล โรงไฟฟ้ าพลั งงานขยะ และโรงไฟฟ้ าถ่ านหิ น
คณะกรรมการนโยบาย พลังงานแห่งชาติ(กพช.) ได้เห็นชอบมาตรการพิเศษส่งเสริมโรงไฟฟ้าชีวมวล ขยะ
และก๊าซชีวภาพ ในพ้ืนที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลา โดยให้มีการเปิดรับ
ซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก (VSPP)เชื้อเพลิงชีวมวล ขยะ และก๊าซชีวภาพ ในปริมาณกำลังผลิต
ตดิ ตงั้ ประมาณ 50 เมกะวตั ต์ ดว้ ยวธิ ี Fit Bidding (ยกเวน้ เชือ้ เพลิงขยะ) เรยี บรอ้ ยแล้ว
โดยในส่วนของกระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบหมายให้หน่วยงานในสังกัดบูรณาการดำเนินงาน
เต รียม ค วาม พ ร้อม ม าอ ย่ างต่ อเน่ื อ ง ต าม แผ น ยุท ธศ าส ต ร์อ าเซีย น ด้าน การศึก ษ าขอ ง
กระทรวงศึกษาธิการ สอดรับตามวิสัยทัศน์ของนายกรัฐมนตรีและรฐั บาล คือ "คนไทยมีศักยภาพพร้อม
อยู่ในประชาคมอาเซียนอย่างมีคุณภาพ" ด้วย 6 ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ท่ีสำคัญ พร้อมทั้งได้เน้นย้ำให้
ทุกฝ่ายพัฒนาแผนให้สอดคล้องกัน และดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ พัฒนาคุณภาพและนำสู่การ

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส 15

ปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ทั้งน้ี การจัด การศึกษาเพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษนราธิวาส
มีเป้าหมายสำคัญ คือ ความพร้อมด้านภาษา ทักษะอาชีพ ความม่ันคงและความเป็นอยู่ที่สงบสุข โดยมี
แนวทางการจัดการศึกษาท้ังในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย
อาชีวศึกษา และอุดมศึกษาใหส้ อดคล้อง กับความตอ้ งการและเป้าหมายในพน้ื ที่ ไดแ้ ก่ การจัดการศึกษา
ท่ีฝึกทักษะด้านภาษา การจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะอาชีพ การจัดการศึกษาท่ีพัฒนาด้านเทคโนโลยี
การจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะด้านอุตสาหกรรม การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้กับสถาน
ประกอบการ และการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาด้านการเกษตร นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้นให้เด็กและเยาวชน
ในพื้นท่ีมีคุณลักษณะท่ีสำคัญ ได้แก่ ความมีวินัย ความขยัน ความซ่ือสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ
ความสามารถในการทำงานเป็นทมี และการมจี ติ สาธารณะ

ข้อมลู พนื้ ฐานด้านการศกึ ษาของจงั หวัดนราธวิ าส

ตารางที่ 4 จำนวนโรงเรยี น จำนวนหอ้ งเรยี น จำนวนนกั เรียน และจำนวนบุคลากรในสถานศึกษา

ในจงั หวดั นราธวิ าส ปกี ารศึกษา 2564 จำแนกตามสังกัด ดังน้ี

ลำดับ หนว่ ยงาน/สังกดั จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน
ท่ี โรงเรียน ห้องเรยี น นกั เรียน บคุ ลากรใน
ในสงั กดั สถานศึกษา

กระทรวงศึกษาธกิ าร (ศธ.) 1,189 11,013 256,008 19,303

1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา 357 4,277 93,553 8,187

ขัน้ พนื้ ฐาน (สพฐ.)

- สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา 148 1,590 31,982 3,033

ประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 1

- สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา 117 1,320 29,080 2,561

ประถมศึกษานราธิวาส เขต 2

- สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา 75 891 19,067 1,612

ประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3

- สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา 17 476 13,424 981

มัธยมศกึ ษานราธิวาส

2 สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ 3 60 1,662 273

(สศศ.)

- ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจำจงั หวัด 1 20 709 97

นราธวิ าส

- โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 39 1 20 548 117

- โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหน์ ราธวิ าส 1 20 405 59

3. สำนกั งานคณะกรรมการอาชีวศึกษา 2 39 2,462 201

(สอศ.)

- วิทยาลัยสารพดั ชา่ งนราธิวาส 1 31 973 102

- วิทยาลยั การอาชีพสุไหงโก-ลก 1 8 1,489 99

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส 16

ลำดบั หนว่ ยงาน/สังกดั จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน
ที่ โรงเรยี น หอ้ งเรยี น นกั เรียน บคุ ลากรใน
ในสงั กัด 21,247 สถานศกึ ษา
4 สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอก -
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 13 21,247 384
(สำนกั งาน กศน.) - 0
13 - 357
- กศน จงั หวัดนราธิวาส - 137,084 27
6,637
- ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา 814 65,517 10,258
จงั หวัดนราธิวาส 2,082 64,007
98 4,351 4,929
5 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม 644 6,110 5,080
การศึกษาเอกชน (สช.) 204
70 1,450 235
- โรงเรียนเอกชนในระบบ -
2 7,267 14
- โรงเรยี นเอกชนนอกระบบประเภท 595
ศูนย์การศึกษาอสิ ลามประจำมสั ยดิ 5 1,699 1,335
(ตาดีกา) 62 5,568
1 533 3,614 58
- โรงเรยี นเอกชนนอกระบบประเภท 4 427 1,515 1,277
สถาบันศึกษาปอเนาะ 1 73 132 1,089
1 13 307 118
- โรงเรียนเอกชนนอกระบบประเภท 1 20 16
วิชาชพี 1 16,084 54
629 7,476
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั 217 304 3,398 1,509
และนวัตกรรม (อว.) 13 145 596
6 3,242 307
1 วทิ ยาลัยชุมชนนราธวิ าส 127
4 836 256
2 มหาวิทยาลัยนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ 32
3 8,608 33
- มหาวิทยาลัยนราธวิ าสราชนครินทร์ 325
204 913
- วทิ ยาลยั เทคนคิ นราธิวาส

- วทิ ยาลัยการอาชีพตากใบ

- วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี
นราธวิ าส

กระทรวงมหาดไทย (มท.)

1 องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ (อปท.)

- โรงเรียนในสังกดั เทศบาลเมือง
นราธวิ าส

- โรงเรยี นในสงั กัดเทศบาลเมืองสไุ หง
โก-ลก

- โรงเรยี นอนุบาลในสังกัดองคก์ ร
ปกครองสว่ นท้องถิ่น

2 ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ ในจังหวดั
นราธิวาส

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส 17

ลำดบั หนว่ ยงาน/สังกดั จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน
ที่ โรงเรยี น ห้องเรียน นักเรยี น บุคลากรใน
ในสงั กดั สถานศกึ ษา
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ตช.) 44 631
1 กองกำกับการตำรวจตระเวน 5 44 631 65
ชายแดนท่ี 44 5 65
- โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน
5 44 631 65
รวมทั้งส้นิ 1,416 12,281 279,990 22,212

ข้อมูล ณ วนั ท่ี 25 มิถุนายน 2564

ตารางท่ี 5 ข้อมูลจำนวนนักเรียน จำแนกตามสังกัดและระดับการศึกษา

• ระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

ลำดับ ระดบั
ท่ี
หนว่ ยงาน/สงั กัด กอ่ น ประถม มธั ยมตน้ มธั ยม รวม
ประถม ปลาย

หน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา 18,573 56,978 11,788 6,214 93,553

ขน้ั พนื้ ฐาน (สพฐ.)

- สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา 8,133 22,378 1,471 - 31,982

ประถมศึกษานราธวิ าส เขต 1

- สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา 5,778 21,661 1,641 - 29,080

ประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2

- สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา 4,662 12,939 1,466 - 19,067

ประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

- สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา - - 7,210 6,214 13,424

มธั ยมศกึ ษานราธวิ าส

2 สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ - 244 402 307 953

(สศศ.)

- โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 39 - 105 258 185 548

- โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์นราธิวาส - 139 144 122 405

4 สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ 12,184 20,289 19,168 13,876 65,517

การศึกษาเอกชน (สช.)

- สำนกั งานการศึกษาเอกชนจังหวดั 12,184 20,289 19,168 13,876 65,517

นราธิวาส

หน่วยงานสงั กัดกระทรวงมหาดไทย

1 กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถนิ่ 2,577 4,199 666 34 7,476

(อปท.)

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส 18

ลำดบั หนว่ ยงาน/สงั กัด ก่อน ประถม ระดบั มัธยม รวม
ท่ี ประถม 1,889 มัธยมตน้ ปลาย 3,398
2,145
- โรงเรียนในสงั กัดเทศบาลเมือง 1,162 165 313 34
487
นราธิวาส 82,197

- โรงเรียนในสงั กดั เทศบาลเมืองสไุ หง 744 353 - 3,242

โก-ลก

- โรงเรียนอนุบาลในสงั กัด อปท. 671 - - 836

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

1 โรงเรียนในสงั กัดกองกำกบั การ 144 - - 631

ตำรวจตระเวนชายแดนที่ 44

รวม 33,478 32,024 20,431 168,130

ขอ้ มูล ณ วันที่ 25 มถิ ุนายน 2564

• ระดบั การศึกษาอาชีวศึกษา และอดุ มศึกษา

ลำดบั ระดับ รวม
ท่ี
หน่วยงาน/สงั กดั ปวช. ปวส. อนุ ปริญญา ปรญิ ญา ป.บณั ฑติ
ปริญญา ตรี โท

หน่วยงานสงั กดั กระทรวงศึกษาธิการ

1 สำนกั งานคณะกรรมการ 2,307 2,097 - - - - 4,404

อาชวี ศกึ ษา

- วิทยาลยั สารพดั ช่างนราธิวาส 638 335 - - - - 973

- วิทยาลัยการอาชีพสไุ หงโก-ลก 582 907 - - - - 1,489

- วิทยาลัยเทคนคิ นราธิวาส 791 724 - - - - 1,515

- วิทยาลยั การอาชีพตากใบ 132 - - - - - 132

- วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี 164 131 - - - - 295

นราธิวาส

หน่วยงานสังกดั กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม

1 วทิ ยาลยั ชุมชนนราธวิ าส - - 1,699 - - - 1,699

2 มหาวทิ ยาลัยนราธวิ าสราช - - - 3,518 51 57 3,626

นครินทร์

รวม 2,307 2,097 1,699 3,518 51 57 9,729

ข้อมูล ณ วนั ท่ี 25 มถิ ุนายน 2564

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส 19

ตารางที่ 6 ข้อมูลจำนวนนักเรียนพิการ นักเรียนด้อยโอกาส และนักเรียนออกกลางคันในจังหวัด

นราธิวาส จำแนกตามสังกดั

จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน

ลำดับท่ี หนว่ ยงาน/สังกัด นักเรียน นักเรยี น นักเรียน นักเรียน
ท้งั หมด พกิ าร ดอ้ ยโอกาส ออกกลางคนั

(คน) (คน) (คน) (คน)

กระทรวงศกึ ษาธิการ 256,008 3,375 71,859 881

1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั 8,187 2,410 70,985 9

พนื้ ฐาน

- สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา 3,033 986 26,900 -

นราธิวาส เขต 1

- สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา 2,561 859 19,621 2

นราธวิ าส เขต 2

- สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา 1,612 502 16,300 7

นราธิวาส เขต 3

- สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา 981 63 8,164 -

นราธวิ าส

2 สำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ 1,662 901 874 16

3 สำนกั งานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา 2,462 3 - 114

4 สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบ 21,247 11 - -

และการศึกษาตามอัธยาศยั

5 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม 137,084 50 - 742

การศึกษาเอกชน

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ 7,267 8 205 102

นวตั กรรม

กระทรวงมหาดไทย 16,084 15 418 102

สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ 631 2 46 -

รวม 3,400 72,528 1,085

ขอ้ มูล ณ วันท่ี 25 มิถุนายน 2564

ตารางท่ี 7 ข้อมูลขนาดของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา

ขนาดของสถานศึกษา จำนวน

ขนาดเล็ก (ผ้เู รยี นตั้งแต่ 0-120 คน) 83

ขนาดกลาง (ผเู้ รียนตั้งแต่ 121-600 คน) 239

ขนาดใหญ่ (ผ้เู รยี นตั้งแต่ 601-1,500 คน) 17

ขนาดใหญ่พเิ ศษ (ผู้เรยี นตง้ั แต่ 1,500 คนขึ้นไป) 1

รวม 340

ขอ้ มลู ณ วันที่ 25 มถิ นุ ายน 2564

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส 20

ตารางที่ 8 ข้อมลู ขนาดของสถานศึกษาในสังกดั สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา

ขนาดของสถานศึกษา จำนวน

ขนาดเลก็ (ผ้เู รยี นตัง้ แต่ 0-499 คน) 8

ขนาดกลาง (ผ้เู รยี นต้ังแต่ 500-1,499 คน) 7

ขนาดใหญ่ (ผู้เรยี นต้ังแต่ 1,500-2,499 คน) 2

ขนาดใหญ่พเิ ศษ (ผู้เรยี นตง้ั แต่ 2,500 คนข้นึ ไป) -

รวม 17

ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 25 มถิ นุ ายน 2564

ตารางท่ี 9 ข้อมลู สถานศกึ ษาทจี่ ดั การศึกษาตามโครงการและนโยบายของรัฐ

ลำดับ รายการ จำนวน หมายเหตุ
ที่ (โรง)

1 โรงเรียนกองทนุ การศึกษา 4

2 โรงเรียนในโครงการพระราชดำริ 34

3 โรงเรยี นประชารฐั 34

4 โครงการประชารัฐ (จชต.) พักนอน 22

5 โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา 50

6 โรงเรียนในโครงการพระราชดำริท่ีไดร้ ับการสนับสนนุ โครงการ 24

อาหารเช้า

7 โรงเรียนมธั ยมดีสม่ี มุ เมือง 1

8 โรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน 3

9 โรงเรียน Stand Alone 4

10 ศูนยก์ ารเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ น 4

การศึกษา

11 สถานศึกษานำรอ่ งพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาจังหวดั นราธวิ าส 27

12 สถานศกึ ษาพื้นที่นวตั กรรมการศึกษาจงั หวดั นราธวิ าส 16

ตารางที่ 10 จำนวนครู/คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศกึ ษาในจังหวัดนราธวิ าส

ลำดับ หนว่ ยงาน/สงั กัด ผอู้ ำนวยการ รอง ครู บคุ ลากร รวม
ท่ี (คน) ผอู้ ำนวยการ (คน) (คน) (คน)
19,303
(คน) 8,187

กระทรวงศึกษาธกิ าร (ศธ.) 397 92 15,033 3,781 3,033

1 สำนักงานคณะกรรมการ 303 59 5,238 2,587

การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

(สพฐ.)

- สำนักงานเขตพน้ื ท่ี 148 - 1,745 1,140

การศึกษาประถมศกึ ษา

นราธิวาส เขต 1

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส 21

ลำดบั หน่วยงาน/สังกัด ผอู้ ำนวยการ รอง ครู บคุ ลากร รวม
ท่ี (คน) ผู้อำนวยการ (คน) (คน) (คน)

(คน) 781 2,561

- สำนักงานเขตพ้ืนที่ 64 16 1,700

การศกึ ษาประถมศึกษา

นราธวิ าส เขต 2

- สำนักงานเขตพนื้ ท่ี 75 20 943 574 1,612

การศึกษาประถมศึกษา

นราธวิ าส เขต 3

- สำนกั งานเขตพืน้ ที่ 16 23 850 92 981

การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา

นราธิวาส

2 สำนกั บรหิ ารงาน 3 6 169 95 273
56 97
การศกึ ษาพเิ ศษ (สศศ.) 29 117
10 59
- ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ 1 1 39 79 201
47 102
ประจำจังหวดั นราธิวาส 32 99
109 384
- โรงเรยี นราชประชานุ 1 2 85

เคราะห์ 39

- โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ 1 3 45

นราธวิ าส

3. สำนักงานคณะกรรมการ 2 5 115

อาชวี ศกึ ษา (สอศ.)

- วิทยาลยั สารพัดชา่ ง 1 3 51

นราธวิ าส

- วิทยาลัยการอาชีพสุไหง 1 2 64

โก-ลก

4 สำนักงานส่งเสรมิ 14 - 261

การศกึ ษานอกระบบและ

การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

(สำนักงาน กศน.)

- กศน จังหวัดนราธวิ าส 13 - 261 83 357
26 27
- ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อ 1 - -
911 10,258
การศกึ ษาจังหวดั นราธวิ าส
911 4,929
5 สำนกั งานคณะกรรมการ 75 22 9,250 - 5,080

ส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

(สช.)

- โรงเรยี นเอกชนในระบบ 75 22 3,921

- โรงเรียนเอกชนนอกระบบ - - 5,080

ประเภทศูนยก์ ารศกึ ษาอสิ ลาม

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส 22

ลำดบั หน่วยงาน/สงั กดั ผูอ้ ำนวยการ รอง ครู บุคลากร รวม
ที่ (คน) ผูอ้ ำนวยการ (คน) (คน) (คน)

(คน) - 235

ประจำมสั ยดิ (ตาดีกา) - 14

- โรงเรียนเอกชนนอกระบบ - - 235 495 1,319

ประเภทสถาบนั ศกึ ษา 29 58
466 1,261
ปอเนาะ
400 1,089
- โรงเรยี นเอกชนนอกระบบ - - 14
37 118
ประเภทวิชาชีพ 10 16
29 54
กระทรวงการอดุ มศึกษา 4 15 805
431 1,509
วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม 40 596

(อว.) 21 307

1 วทิ ยาลัยชุมชนนราธิวาส 1 3 25 9 256

2 มหาวิทยาลัยนราธิวาส 3 12 780 10 33

ราชนครนิ ทร์ 391 913

- มหาวทิ ยาลัยนราธวิ าส 1 4 684 20 65
20 65
ราชนครนิ ทร์
4,737 22,212
- วทิ ยาลยั เทคนิคนราธวิ าส 1 4 76

- วิทยาลยั การอาชพี ตากใบ 1 -5

- วิทยาลยั เกษตรและ 1 4 20

เทคโนโลยนี ราธิวาส

กระทรวงมหาดไทย (มท.) 210 13 855

1 องคก์ รปกครองส่วน 11 13 532

ท้องถิน่ (อปท.)

- โรงเรยี นในสงั กดั เทศบาล 5 8 273

เมอื งนราธวิ าส

- โรงเรียนในสังกดั เทศบาล 3 5 239

เมืองสุไหงโก-ลก

- โรงเรียนอนุบาลในสังกัด 3 - 20

องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ

2 ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ ใน 199 - 323
จงั หวัดนราธวิ าส

สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ (ตช.) 5 3 37

1 กองกำกับการตำรวจ 5 3 37

ตระเวนชายแดนท่ี 44

รวมทั้งสนิ้ 617 123 16,735

ขอ้ มูล ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2564

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส 23

2. ขอ้ มลู การประกันโอกาสทางการศกึ ษา

ตารางที่ 11 ขอ้ มลู การเข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษา

การเข้ารับการศกึ ษา จำนวนประชากร ผู้เรียนรวมทุกสังกดั ใน ร้อยละเข้าถึงโอกาส
ตามกลุม่ อายุ จังหวัดนราธิวาส ทางการศกึ ษา

อายุ 3-5 ปี 38,696 35,927 92.84
อายุ 6-11 ปี 82,356 78,136 94.88
อายุ 12-14 ปี 40,053 36,127 90.20
อายุ 15-17 ปี 39,410 23,068 58.53

รวม 200,515 173,258 86.41

ตารางที่ 12 ขอ้ มูลการศึกษาตอ่ ของนกั เรยี น ปกี ารศกึ ษา 2564

จำนวน

การศกึ ษาต่อ นักเรียนท่ี ศึกษาต่อ ไมศ่ กึ ษาต่อ คิดเป็นร้อยละ

เรียนจบ 13 99.90
181 97.91
ประถมศึกษาปที ่ี 6 12,612 12,599 485 91.79

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 8,662 8,481

มัธยมศึกษาปีที่ 6 5,904 5,419

ตารางที่ 13 ขอ้ มูลจำนวนผู้สำเรจ็ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน จำแนกตามสังกัด

ลำดบั จำนวน (คน)
ท่ี
หน่วยงาน/สังกัด ประถม มธั ยมตน้ มัธยม รวม
ปลาย 26,315
13,813
หนว่ ยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 12,033 8,494 5,788 3,973

1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 9,322 2,831 1,660 3,871

- สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา 3,666 307 - 2,487

นราธิวาส เขต 1 3,426

- สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา 3,492 379 - 222
132
นราธิวาส เขต 2 110
12,280
- สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา 2,060 427 -
12,280
นราธิวาส เขต 3

- สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา - 1,691 1,735

นราธิวาส

2 สำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ 50 95 77

- โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 39 12 64 56

- โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์นราธวิ าส 27 39 44

3 สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษา 2,661 5,568 4,051

เอกชน

- สำนกั งานการศึกษาเอกชนจังหวัดนราธวิ าส 2,661 5,568 4,051

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั นราธวิ าส 24

ลำดับ จำนวน (คน)
ท่ี
หน่วยงาน/สงั กัด ประถม มธั ยมต้น มัธยม รวม
ปลาย

หน่วยงานสังกัดกระทรวงมหาดไทย 650 187 18 855
1 กรมส่งเสรมิ การปกครองสว่ นท้องถ่ิน 320 101 18 439
- โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองนราธวิ าส 330 86 - 416
- โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
74 - - 74
สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ
1 โรงเรียนในสงั กดั กองกำกับการตำรวจตระเวน 12,303 8,973 6,253 27,529
ชายแดนที่ 44

รวม

ตารางท่ี 14 แสดงจำนวนผู้สำเรจ็ การศึกษา จำแนกตามระดบั การศกึ ษา จำนวน (คน)
ระดับ
12,612
ระดับประถมศึกษา 8,662
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 5,904
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 540
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 530
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสงู 371
อนปุ ริญญา 789
ปรญิ ญาตรี 52
ประกาศนียบัตรบัณฑติ
29,460
รวม

3. ขอ้ มูลคุณภาพการศึกษา/ผลการประเมิน สมศ.

ตารางท่ี 15 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ปีการศึกษา 2561-2563
ของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1

ระดับ ปีการศึกษา 2561/2562 2562/2563

ประเทศ 2561 2562 2563 (+)เพม่ิ /(-)ลด (+)เพ่มิ /(-)ลด
ศธภ.7
จังหวัด 68.72 70.66 73.02 1.94 2.36

56.91 51.94 58.66 -4.97 6.72

47.79 49.54 57.48 1.75 7.94

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 25

แผนภูมิที่ 2 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT)
ในปีการศึกษา 2561 - 2563 ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1

ตารางที่ 16 ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (NT) ปกี ารศึกษา 2561-2563
ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3

ระดับ 2561 ปกี ารศึกษา 2561/2562 2562/2563
2562 2563 (+)เพ่ิม/(-)ลด (+)เพ่มิ /(-)
ประเทศ
ศธภ.7 ลด
จงั หวัด
49.48 45.70 43.97 -3.78 -1.73

39.35 31.00 32.42 -8.35 1.42

30.64 29.08 31.00 -1.56 1.92

แผนภูมิที่ 3 แสดงคะแนนเฉล่ียผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (NT) ในปี
การศึกษา 2561 - 2563 ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั นราธวิ าส 26

ตารางท่ี 17 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561-2563
ของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

ระดับ ปีการศกึ ษา 2561/2562 2562/2563
(+)เพม่ิ /(-)ลด (+)เพ่ิม/(-)ลด
ประเทศ 2561 2562 2563
ศธภ.7 -5.15 1.23
จงั หวัด 43.14 37.99 39.22 -8.08 1.45
37.24 29.16 30.61 -3.48 1.44
31.76 28.28 29.73

แผนภูมิท่ี 4 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปี
การศึกษา 2561-2563

ตารางที่ 18 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของ
นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 จำแนกตามรายวิชา

รายวิชา ประเทศ ระดบั จงั หวัด

คณติ ศาสตร์ 29.99 ศธภ.7 23.64
ภาษาไทย 44.54 31.46
องั กฤษ 38.78 24.21 31.16
วทิ ยาศาสตร์ 43.55 32.80 32.64
39.22 31.82 29.73
เฉลย่ี 33.61
30.61

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 27

แผนภูมิที่ 5 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา 2563 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ตามรายวิชา

ตารางที่ 19 ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561-
2563 ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

ระดับ ปีการศกึ ษา 2561/2562 2562/2563
(+)เพ่ิม/(-)ลด (+)เพ่มิ /(-)ลด
ประเทศ 2561 2562 2563
ศธภ.7 -1.20 -0.29
จงั หวดั 37.50 36.30 36.01 -4.08 -0.19
34.52 30.44 30.25 -0.71 -0.04
30.61 29.90 29.86

แผนภูมิที่ 6 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปี
การศึกษา 2561-2563 ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นราธวิ าส 28

ตารางท่ี 20 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของ
นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 จำแนกตามรายวชิ า

รายวิชา ประเทศ ระดบั จังหวดั

คณิตศาสตร์ 25.46 ศธภ.7 20.49
ภาษาไทย 54.29 42.49
อังกฤษ 34.38 20.89 29.60
วิทยาศาสตร์ 29.89 43.14 26.87
36.01 30.17 29.86
เฉลย่ี 26.79
30.25

แผนภูมิที่ 7 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปี
การศกึ ษา 2563 ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

ตารางที่ 21 ขอ้ มูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561-

2563 ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

ระดบั ปีการศึกษา 2561/2562 2562/2563
2561 2562 2563 (+)เพิ่ม/(-)ลด (+)เพม่ิ /(-)ลด

ประเทศ 35.02 32.34 33.79 -2.68 1.45

ศธภ.7 31.20 25.94 26.93 -5.26 0.99

จังหวัด 27.14 25.29 26.21 -1.85 0.91

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 29

แผนภูมิท่ี 8 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปี
การศกึ ษา 2561-2563 ของนกั เรียช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6

ตารางที่ 22 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของ
นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จำแนกตามรายวชิ า

รายวชิ า ประเทศ ระดบั จังหวัด

คณติ ศาสตร์ 26.04 ศธภ.7 18.41
ภาษาไทย 44.36 32.62
อังกฤษ 29.94 19.40 23.81
วทิ ยาศาสตร์ 32.68 33.43 26.21
สังคมศึกษาฯ 35.93 24.51 29.98
33.79 26.87 26.21
เฉลยี่ 30.45
26.93

แผนภูมิที่ 9 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปี
การศึกษา 2563 ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6 จำแนกตามรายวชิ า

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 30

ตารางท่ี 23 ขอ้ มูลผลการทดสอบทางการศึกษาอสิ ลามศึกษาระดับชาติ (I-NET) ปกี ารศึกษา 2561-2563

ระดับ ปกี ารศึกษา 2561/2562 2562/2563
(+)เพิม่ /(-)ลด (+)เพมิ่ /(-)ลด
ประเทศ 2561 2562 2563
ศธภ.7 -1.84 0.25
จังหวัด ระดบั ตอนต้น -1.85 -0.86
-3.60 0.92
ประเทศ 41.30 39.46 39.71
ศธภ.7 41.13 39.28 38.42 -2.57 -3.67
จังหวดั 40.87 37.26 38.18 -3.29 -2.87
-2.70 -3.43
ประเทศ ระดับตอนกลาง
ศธภ.7 -2.17 1.43
จงั หวัด 43.43 40.87 37.20 -1.73 1.01
43.06 39.76 36.89 -2.15 1.21
41.84 39.14 35.71

ระดบั ตอนปลาย

35.95 33.77 35.20
35.70 33.97 34.98
36.60 34.45 35.66

แผนภมู ิที่ 10 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาอสิ ลามศกึ ษาระดับชาติ (I-NET)
ปกี ารศึกษา 2561-2563 ระดบั ตอนตน้

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส 31

แผนภูมทิ ่ี 11 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาอิสลามศึกษาระดบั ชาติ (I-NET)
ปกี ารศึกษา 2561-2563 ระดบั ตอนกลาง

แผนภมู ิท่ี 12 แสดงคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาอสิ ลามศึกษาระดับชาติ (I-NET)
ปีการศึกษา 2561-2563 ระดบั ตอนปลาย

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 32

ตารางที่ 24 ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศกึ ษานอกระบบ (N-NET)
ปกี ารศกึ ษา 2561-2563

ระดับ ปกี ารศึกษา 2561/2562 2562/2563
(+)เพิ่ม/(-)ลด
ประเทศ 2561 2562 2563 (+)เพ่ิม/(-)ลด
ศธภ.7 -0.57
จังหวดั ระดับประถมศกึ ษา 1.26
0.46
ประเทศ 41.67 43.45 42.88 1.78
ศธภ.7 2.17
จงั หวัด 37.70 34.95 36.21 -2.75 2.62
2.09
ประเทศ 34.89 35.34 35.80 0.45
ศธภ.7 -0.28
จงั หวัด ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ 0.9
0.46
30.95 35.86 38.03 4.91

29.86 30.62 33.24 0.76

26.06 29.45 31.54 3.39

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

35.58 34.07 33.79 -1.51

32.72 28.57 29.47 -4.15

28.32 26.88 27.34 -1.44

แผนภมู ทิ ี่ 13 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศกึ ษานอกระบบ
(N-NET) ปีการศึกษา 2561 - 2563 ตามระดับประถมศึกษา

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 33

แผนภูมทิ ี่ 14 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ
(N-NET) ปีการศกึ ษา 2561 - 2563 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

แผนภมู ทิ ี่ 15 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ
(N-NET) ปีการศึกษา 2561 - 2563 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 34

ตารางท่ี 25 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดา้ นอาชวี ศึกษา (V-NET)

ระดบั ปีการศกึ ษา 2561/2562 2562/2563
(+)เพิม่ /(-)ลด (+)เพิม่ /(-)ลด
ประเทศ 2561 2562 2563
ศธภ.7 ระดับ ปวช. -2.2 3.06
จงั หวัด -6.15 0.11
37.87 35.67 38.73 -2.23 0.54
ประเทศ 41.89 35.74 35.85
ศธภ.7 37.87 35.64 36.18 3.59 n/a
จังหวัด 0.96 n/a
ระดับ ปวส. 3.01 n/a

40.04 43.63 n/a
38.06 39.02 n/a
35.64 38.65 n/a

แผนภูมิที่ 16 แสดงคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศกึ ษานอกระบบ (N-
NET)
ปกี ารศึกษา 2561-2563 ในระดับ ปวช.

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนราธวิ าส 35

ตารางท่ี 26 ขอ้ มูลผลการประเมนิ ภายนอก

จำนวน ผลการประเมนิ
โรงเรียน
หน่วยงาน ระดบั ท่เี ข้ารบั การ ผา่ น (จำนวนโรง) ไม่ผา่ น
การศึกษา ประเมิน (จำนวนโรง)
สพป.นธ.1 ระดับ ระดบั ดี พอใช้
ปฐมวัย 149 ดมี าก
สพป.นธ.2 ขน้ั พนื้ ฐาน 149
ปฐมวยั 118 54 95 - -
สพป.นธ.3 ขนั้ พืน้ ฐาน 118
ปฐมวยั 75 2 138 9 -
สพม.15 ขั้นพ้นื ฐาน 75
อศจ.นธ. ขน้ั พ้นื ฐาน 17 32 86 - -
กศน. มัธยมปลาย 2
มนร. ขัน้ พน้ื ฐาน 6 10 86 - 22
สช.นราธวิ าส อดุ มศึกษา 1
ขั้นพ้ืนฐาน 77 30 45 - -

3 66 6 -

- 7- 10

1 1- -

1 5- -

1 -- -

26 - - 51

ตารางท่ี 27 : จำนวนปีการศึกษาเฉลย่ี ของประชากรอายุ 15-59 ปี หนว่ ย : ปี 2563
ปี พ.ศ. 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 9.39
9.47
ประเทศ 8.80 8.77 8.91 10.06 9.40 9.62 9.08 9.19 8.99
ภาคใต้ 8.87 9.04 9.24 10.20 9.30 9.41 9.25 9.33
ภาคใต้ 8.44 8.63 9.03 9.16 8.83 8.90 8.78 8.80 9.01
ชายแดน 9.60
ปัตตานี 8.45 8.90 9.10 9.86 9.00 9.20 8.88 8.68 8.36
ยะลา 8.92 8.70 9.20 9.38 9.40 9.30 9.31 9.61
นราธวิ าส 7.94 8.30 8.80 8.25 8.10 8.20 8.16 8.12

ทมี่ า : ศนู ยส์ ารสนเทศทางการศกึ ษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

แผนภูมิที่ 17 แสดงจำนวนปีการศึกษาเฉลีย่ ของประชากรอายุ 15-59 ปี (ปี 2555 – 2563)
ของจังหวัดนราธิวาส

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 36

สถานการณแ์ ละแนวโน้มการจัดการศึกษาในจงั หวัดนราธิวาส

การจัดการศึกษาในจังหวัดนราธิวาส ต้องเผชิญปัญหาและความท้าทาย ในหลายมิติ
ด้วยกัน ท้ังในส่วนที่เกิดจากกระแสความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลง
ทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม สืบเนื่องจากความร่วมมือ และการรวมตัวของกลุ่มประเทศ
ต่าง ๆ ท้ังในภูมิภาคอาเซียนและกลุ่มประเทศภายนอกอาเซียน รวมทั้ง แนวโน้มการเปล่ียนแปลง
โครงสร้างประชากร ที่เกิดจากอัตราการเกิดของประชากรและการก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ ปญั หาท่เี กิดจาก
พฤติกรรมของเยาวชน ผลกระทบท่ีเกิดจากภัยธรรมชาติ และที่สำคัญคือ ปัญหาความม่ันคง ความ
ปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน ของประชาชน ซึ่งเป็นปัญหาท่ีเป็นความท้าทายในการจัดการศึกษา
ได้แก่

1. ปัญหาสถานการณ์ความรุนแรงและเกิดความไม่สงบในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้
ถึงแม้ว่าปัญหา มีแนวโน้มลดลง แต่ยังมีผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ ซ่ึงส่วนหนึ่งเป็นปัญหาที่เกิด
จากความไม่เข้าใจความไม่ไว้วางใจกัน ระหว่างคนบางกลุม่ ท่ีมีแนวความคิดขัดแย้งกัน ต้องการแบ่งแยก
ดินแดน นำเอาเงื่อนไขใช้ความรุนแรง สร้างความหวาดกลัวและเกิดความระแวงกัน โดยใช้ความ
แตกต่างและความหลากหลายของชาติพันธ์ุ ศาสนา และวัฒนธรรม ซ่ึงเป็นอัตลักษณ์ของพื้นท่ีเป็น
เงื่อนไข สร้างความชอบธรรมในการสร้างความรุนแรง มีผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ผลกระทบทีเ่ กิดกบั นักเรยี น ครู และสถานศกึ ษา

2. ปัญหาของเด็กและเยาวชนในพ้ืนท่ีจังหวัดนราธิวาส ได้แก่ ปัญหา ยาเสพติด ซ่ึงกลุ่ม
ผู้ไม่หวังดี ยังคงใช้ยาเสพติดเป็นเคร่ืองมือในการมอมเมาเยาวชน ในการสร้างความขัดแย้งและเป็น
เป้าหมายในการค้ายาเสพติดรวมทั้งปัญหา เร่ืองการปลูกฝังคุณลักษณะอันพ่ึงประสงค์และ การรู้จัก
หน้าที่และความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสังคมของเยาวชน

3. คุณภาพการศึกษา จากผลการทดสอบทางการศึกษายังอยู่ในระดับท่ีต่ำกว่า ค่าเฉล่ีย
ระดับประเทศ ในกล่มุ สาระหลกั 5 วชิ า ได้แก่ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ วิทยาศาสตร์ และ
สังคมศึกษา ทั้งในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ซ่ึงปัญหา ส่วน
หนึ่งมีผลกระทบจากการเกดิ เหตุการณ์ทไ่ี มส่ งบในพืน้ ท่ีภาคใต้ การจัดการเรียนการสอนไมเ่ ตม็ ที่ ปัญหา
การใช้ภาษาท่ีมีความแตกต่างจากภูมิภาคอ่ืนๆ ในการใช้ภาษาถ่ินเป็นภาษาหลักที่ใช้ในการสื่อสาร
การเรียนรู้ และการใช้ภาษาไทย ยังมีปัญหาต่อการสร้างความเข้าใจในบทเรียนของผู้เรียน ปัญหาการ
อ่านออก เขียนได้ ยังคงเป็นปัญหาหลักของการศึกษา นอกจากนี้ส่ือการเรียนรู้ยังเป็นปัญหาเร่ืองความ
ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตตามหลักศาสนา การพัฒนาครูผู้สอนอย่างเข้มข้นเพื่อให้สามารถแก้ปัญหา
ดังกล่าวได้ จึงเป็นประเด็นสำคัญท่ีต้องพิจารณา และการผลิตส่ือท่ีสามารถให้ผู้เรียนได้เข้าใจได้ง่าย
เอือ้ ต่อการเรียนรูจ้ งึ เป็นส่งิ จำเป็นอย่างยงิ่

4. ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับวิถีศาสนา โดยเฉพาะศาสนาอิสลามจึงนิยมให้บุตรหลาน
เข้าเรียน ในโรงเรียนที่สอนวิชาสามัญ ควบคู่กับศาสนา จึงควรให้ความสำคัญกับการกำหนดมาตรฐาน
หลกั สูตรและสนบั สนุนส่งเสริมใหม้ ีการพฒั นาคุณภาพสถานศึกษาดังกล่าวให้ได้มาตรฐาน

5. การจัดการศึกษาเพ่อื ผลิตกำลังคนให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของสถานประกอบการ
และตลาดงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตกำลังคนรองรับ โครงการต้นแบบเมืองสามเหลี่ยม ม่ันคง
ม่ังค่ัง ย่ังยืน จึงจำเป็นต้องมีระบบแนะแนวที่เข้มแข็ง เพื่อให้นักเรียนได้เตรียมความพร้อมในการเข้ารับ
ก า ร ศึ ก ษ า ใน ส า ย วิ ช า ชี พ ได้ ต า ม ค ว า ม ถ นั ด แ ล ะ ค ว า ม ส น ใจ ข อ ง ต น เอ ง ท่ี ต ร ง กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร
ของตลาดงาน

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 37

6. การใช้และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติยังขาดความสมดุลด้วยความเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจจะต้องอาศัยปัจจัยทรัพยากรธรรมชาติ ในการผลิตและการสร้างมลพิษจากระบบการผลิต
ภาคอุตสาหกรรม ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติ ถูกทำลายและเส่ือมโทรมอย่างรวดเร็ว และส่งผลกระทบ
ต่อความสมดุลทางธรรมชาติทำให้เกิดภัยพิบตั ิ เกิดอุทกภัยและภาวะโลกร้อน การศึกษาจะตอ้ งเรง่ สร้าง
ค ว าม รู้ ค ว า ม เข้ า ใจ ใน ก า ร ใช้ แ ล ะ อ นุ รั ก ษ์ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ส า ม า ร ถ เช่ื อ ม โย งอ งค์ ค ว า ม รู้
จากสถานศึกษา สู่ชุมชน เช่น การจัดการน้ำ การบริหารจัดการขยะมูลฝอย การเพิ่มพ้ืนที่สีเขียว การ
เหน็ คุณคา่ ของการประดษิ ฐข์ องใช้จากเศษวัสดุ

7. โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ปัญหาความเล่ือมล้ำในการเข้ารับบริการ
ทางการศึกษา ยังเป็นปัญหาในเขตจังหวัดชายแดนภาคใต้ จากข้อมูลทางการศึกษายังปรากฏข้อมูล
ประชากรวัยเรียนที่ไม่ได้รับการศึกษา ในทุกช่วงอายุ และอัตราการศึกษาต่อยังอยู่ในระดับต่ำ
สถานศึกษาที่คุณภาพแตกต่างกัน การมีสถานศึกษาขนาดเล็ก ได้รับงบประมาณสนับสนุนจำกัด ทำให้
โรงเรยี นไม่มีความพรอ้ มและยังไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ซึ่งเปน็ เหตุให้ประชาชนได้รบั บรกิ ารการศึกษา
ที่ไม่เท่าเทยี มกับโรงเรยี นในเขตเมืองหรือพนื้ ท่ีอ่ืนๆ

8. การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ในพื้นท่จี งั หวดั ชายแดนภาคใต้ ยงั ขาดการมีส่วนร่วม
ในการจัดการศกึ ษาจากภาคประชาชน และชุมชนในพื้นท่ีโดยเฉพาะโรงเรยี นของรัฐ ถึงแมว้ ่าการบริหาร
จัดการศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการกระจายอำนาจสู่สถานศึกษา กำหนดให้มี
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือสร้างเง่ือนไขให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ
สถานศึกษา แต่ไม่มีการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ อย่างชัดเจน นอกจากนี้ยังมีปัญหาเร่ืองการ
บูรณาการงานด้านการศึกษา ระหว่างหน่วยงานและผู้รับผิดชอบการศึกษา ในพ้ืนที่จังหวัดชายแดน
ภาคใต้

แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดนราธวิ าส 38

ส่วนท่ี 2

กรอบแนวคิดและควำมสอดคล้อง
กับแผน 3 ระดับ


Click to View FlipBook Version