รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบา้ นเชยี งอาด ปกี ารศึกษา 2564
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self-Assessment Report : SAR)
ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นบา้ นเชยี งอาด
ตำบลเหลา่ ตา่ งคำ อำเภอโพนพสิ ยั จงั หวดั หนองคาย
สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาหนองคาย เขต ๒
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชยี งอาด ปกี ารศึกษา 2564
คก
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โรงเรยี นบา้ นเชียงอาด ต้ังอยู่หมูท่ ่ี 12 ตำบลเหล่าต่างคำ อำเภอโพนพสิ ัย จังหวดั หนองคาย
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 เปิดสอนระดบั ช้ันอนบุ าลปที ี่ 2 ถึง
ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีบุคลากรสายบรหิ าร จำนวน 1 คน และมบี คุ ลากรครู ครูอัตราจา้ ง
จำนวน 17 คน
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ตามมาตรฐานการศกึ ษา ดังน้ี
มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย ระดบั คณุ ภาพ
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก ดเี ลิศ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเนน้ เดก็ เปน็ สำคญั ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก
โรงเรียนจดั ประสบการณ์ส่งเสรมิ ให้เดก็ มีพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ
สร้างโอกาสให้เด็กได้รบั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั ิอยา่ งมีความสขุ โดยเข้ารว่ มโครงการบ้าน
นกั วิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 2 ตง้ั แต่ปีการศึกษา 2555 จดั บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ใช้สอ่ื แลเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับวยั และประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพ โดยมหี ลักฐานจากแบบ
บนั ทกึ พฒั นาการผูเ้ รียน แบบประเมินท่ีทางโรงเรยี นได้ดำเนินการสร้างขน้ึ มาเพื่อประเมินนักเรยี น
ตามวตั ถุประสงค์ ท่โี รงเรียนได้ตงั้ เปา้ ไวก้ ารจัดกิจกรรมต่างๆ ตามแผนการปฏิบตั ิงานโครงการที่เก่ียวข้อง
กบั ปฐมวัย
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
โรงเรยี นบ้านเชยี งอาดจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย การเตรียมความพร้อมให้เต็มรปู แบบที่ชัดเจน
ตามท่หี ลกั สตู รกำหนด ครไู ดเ้ ข้ารบั การอบรมพัฒนาตนเอง อยา่ งน้อย 2 ครงั้ ต่อปี และได้นำความรมู้ า
จดั ประสบการณ์ จดั สภาพแวดล้อม และส่ือเพื่อการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งปลอดภัย โดยใหบ้ รกิ ารส่อื เทคโนโลยี
สารสนเทศ และสือ่ การเรยี นรู้เพือ่ สนับสนนุ การจัดประสบการณส์ ำหรบั ครู มีระบบบริหารคณุ ภาพท่ีเปดิ
โอกาสให้ผู้เก่ยี วข้องทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ ม
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เด็กเป็นสำคญั
โรงเรียนจัดประสบการณส์ ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ
สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณต์ รง เล่น และปฏบิ ตั อิ ย่างมีความสุข โดยเข้ารว่ มโครงการบ้าน
นกั วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รนุ่ ที่ 2 ตง้ั แต่ปีการศึกษา 2555 จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้
ใช้สือ่ และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกับวัย และประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริง ครูมคี วามต้งั ใจ มุ่งม่ัน
ในการพฒั นาการสอน โดยการจัดกิจกรรมใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้ โดยการคดิ ได้ปฏิบตั ิจริง มีการใหว้ ิธกี าร
และแหล่งเรยี นรทู้ างโรงเรียน จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เดก็ มีพฒั นาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญาอย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพโดยความรว่ มมอื ของพ่อแม่ และครอบครัว ชมุ ชน และ
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชียงอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
งข
ผเู้ กีย่ วข้อง โรงเรยี นได้ดำเนนิ การพัฒนา โดยจดั โครงการ/กิจกรรม ดงั นี้ โครงการปรับปรุงหอ้ งเรยี น
โครงการพัฒนาวิชาการ โครงการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทย โครงการศนู ยเ์ ด็กปฐมวัยตน้ แบบ โครงการ
บ้านนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย แบบประเมินพัฒนาการเด็ก บันทึกผลการจัดประสบการณ์
สมดุ รายงานประจำตัวเดก็ บันทึกน้ำหนัก ส่วนสงู ของเด็ก บันทึกตรวจสขุ ภาพนักเรียน และบนั ทึกการ
แปรงฟันของนักเรยี น สร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบัติกิจกรรม เรยี นรู้ลงมอื ทำ
และสรา้ งองคค์ วามรู้ด้วยตนเองอย่างมคี วามสุข
แผนพัฒนาคุณภาพเพือ่ ยกระดบั ใหส้ ูงขึ้น
แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 1
- การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรูต้ ามกจิ กรรมหลกั 6 กจิ กรรม โดยการจดั การเรยี นรู้
แบบบูรณาการการเรยี นรู้ แบบ Active Learning การจัดประสบการณ์การเรียนรูโ้ ดยการปฏบิ ตั ิจรงิ จาก
สถานการณ์ที่กำหนดข้ึนประกอบสื่อท่หี ลากหลาย เพอื่ สง่ เสรมิ ทกั ษะทางสมอง Executive Function
(EF) และดำเนนิ งานตามโครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย จัดบรรยากาศ และ
สภาพแวดลอ้ มในห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรยี นรูโ้ ดยเด็กมสี ว่ นร่วม ใช้ส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกบั วัย
แผนปฏิบตั งิ านท่ี 2
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงการส่งเสรมิ พฒั นาการตามวยั ดว้ ยกระบวนการเรยี นรู้
ให้ฉลาดทางปัญญาและอารมณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 โดยผ้ปู กครองและผเู้ กย่ี วข้องมีสว่ น
รว่ มนำผลการประเมินทไ่ี ด้ไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณ์และพฒั นาเดก็
มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ระดับคุณภาพ
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน ดี
1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรยี น
1.2 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผเู้ รยี น ดเี ลิศ
ดี
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ้ รียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น
โรงเรียนบ้านเชียงอาดมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย มุ่งพัฒนา
คณุ ภาพผูเ้ รียน สมรรถนะของผเู้ รียน และเพ่ือส่งเสริมคุณลกั ษณะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี ๒๑ สอดคลอ้ ง
กับตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการจัด
การเรียนรู้ทั้งรูปแบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แก้ปัญหาแบบโครงงาน การเข้าค่าย
การบูรณาการในการเรียนรู้ และการเรียนรู้ด้วยวิธีการแบบเปิด (Open Approach) มีการพัฒนา
ความสามารถการอ่าน การเขียน และการสื่อสาร ผ่านการจัดทำโครงการ/กิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรม
ภาษาอังกฤษ - ภาษาไทยวันละคำ กิจกรรมการแข่งขันทักษะภาษาอังกฤษ และกิจกรรมที่มุ่งพัฒนา
ทักษะการคิด มีการเปิดสอนห้องเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร์ ห้องเรียนพิเศษทางภาษา และห้องเรียนพิเศษ
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นบ้านเชียงอาด ปกี ารศึกษา 2564
จค
คอมพิวเตอร์ นักเรียนสามารถค้นคว้าองค์ความรู้หรือวิธีการใหม่ๆ เช่น โครงงาน/สิ่งประดิษฐ์
ทางวิทยาศาสตร์ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อประยุกต์ใช้ในการสร้างนวัตกรรม โรงเรียนบ้าน
เชยี งอาดไดม้ ีการติดตั้งระบบอินเทอร์เน็ต พรอ้ มกระจายสัญญาณอินเทอรเ์ น็ต ไร้สาย (WIFI) ครอบคลุม
พื้นที่ของโรงเรียน รวมทั้งโรงเรียนมีการจัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์,ทางการเรียน ส่งผลให้
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งโรงเรียนอยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 78.๘1 มีผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-net) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 วชิ าคณติ ศาสตร์ ภาษาไทย และวิชา
ภาษาองั กฤษ มคี ะแนนเฉลี่ยสงู กว่าคะแนนเฉลีย่ ระดบั เขตพื้นที่ และวชิ าภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3
มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT)
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 รวม 2 ด้านมีค่าเฉล่ียรอ้ ยละ 82.36 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น
ของผู้เรยี น (RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 รวม ๒ ด้านมคี ่าเฉล่ียรอ้ ยละ 80.15
1.2 คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผเู้ รียน
โรงเรียนบ้านเชียงอาดได้มีการส่งเสริม สนับสนุน สอดแทรกกิจกรรมการเรียนการสอน
ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยจัดทำโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมเข้าค่าย
คุณธรรม กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นต้น รวมทั้งปลูกฝงั พฤติกรรมนักเรียนให้สอดคลอ้ ง
กับอัตลักษณ์ของโรงเรียน “คุณธรรมนำใจ ร่วมใจสืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้าน มือประสานอนุรักษ์
สิ่งแวดลอ้ ม” สง่ เสริมสนบั สนนุ การสร้างผลงานจากการเข้ารว่ มกิจกรรมทางด้านศลิ ปะ/ดนตรี/นาฏศิลป์
แสดงออกด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่ตนเองภาคภูมิใจในท้องถิ่น เพื่อพัฒนาจิตสังคม
ของนักเรียนให้สามารถปรับตัวอยู่ร่วมกับบุคคลในสังคมได้ เห็นคุณค่าในตนเอง กล้าแสดงออกในทาง
ทเี่ หมาะสม หลกี เลย่ี งตนเองจากสภาวะท่เี สี่ยงต่อความรุนแรง ป้องกันตนเองจากสิง่ เสพติดและอบายมุข
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
โรงเรียนบ้านเชียงอาด มีการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานยึดวงจรบริหารคุณภาพ
ตามแนวคิดเชิงระบบ (PDCA) เน้นผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นสำคัญ โดยผู้บริหารมีการกระจายอำนาจ
ให้ผู้นำชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ครู ผู้ปกครอง นักเรียน เพื่อประชุมรว่ มกนั วางแผน
ระดมความคิดหาแนวทางแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมายในการจัดการศึกษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ให้ความสำคัญและเสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กร โดยนำวิสัยทัศน์ไปสู่การปฏิบัติอย่างมีระบบ
ในการดำเนินงานของโรงเรียนมีนวัตกรรมการบริหารที่มีคุณภาพทั้ง 4 กลุ่มงาน ได้แก่ กลุ่มบริหารงาน
วิชาการ มีนวัตกรรม “ 6 CLs ปัจจัยสู่ความเป็นเลิศ” มีกระบวนการพัฒนาการศึกษาอย่างสร้างสรรค์
และต่อเนื่องใน 6 ด้าน คือ 1)การพัฒนาหลักสูตร 2)การจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการแบบเปิด
Open Approach 3)การใช้แหล่งเรียนรู้ 4)สื่อการเรียนรู้ 5)กิจกรรมเสริมความรู้ และ 6)การจัดทำ
งานวิจัย เพื่อให้คุณภาพการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้มากขึ้น
กลุ่มบริหารงานงบประมาณ การระดมทรัพยากรทางการศึกษา การพัฒนาชำระเงินผ่านทางออนไลน์
กลุ่มบริหารงานบุคคล การพัฒนาบุคลากรตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา ส่งเสริมสร้าง
ขวัญกำลังใจและเชิดชูเกียรติ กลุ่มบริหารงานทั่วไป จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือ
ตอ่ การจดั การเรียนรู้และมคี วามปลอดภยั จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหารจัดการ
และการจดั การเรยี นรทู้ ่ีเหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชยี งอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
ฉง
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทำการวิเคราะห์หลกั สูตร จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการคิด
และการฝึกปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนำไป
ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน ครูมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยสรา้ งความ
ตระหนักและให้ความรู้ผ่านกระบวนการประชุมชี้แจงในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ร่วมกันสร้างแบบวัดและ
ประเมินผลให้มีมาตรฐานเพื่อให้ทราบผลการเรียนของผู้เรียนเป็นไปตามมาตรฐานของหลักสูตร ใช้สื่อ
ผลิตสอื่ และนวัตกรรม แผนการจดั การเรียนรู้ท่มี สี อื่ และเทคโนโลยีรว่ มด้วย อกี ทั้งครนู ำภูมิปัญญาท้องถิ่น
มาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน และเสริมทักษะอาชีพให้นักเรียนด้วยการลงมือปฏิบัติจริง
มกี ารวิเคราะหผ์ ้เู รียนเปน็ รายบุคคล โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เพือ่ ให้เกดิ ผลในการเรียนรู้
ผเู้ รียนมคี วามสุข ครูสร้างแรงจูงใจนักเรยี นดว้ ยวธิ ีการต่างๆ ภายใต้การสนบั สนุนของโรงเรียนและชุมชน
ผปู้ กครอง เพ่อื ให้สภาพแวดล้อมของโรงเรียนเหมาะสมแก่การเรียนรูข้ องนักเรียนทุกระดบั ช้ัน นอกจากนี้
มกี ารจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นเป็นระบบอยา่ งหลากหลาย โรงเรยี นนำเสนอสารสนเทศผ่านจดหมายข่าว
โดยผ่านเวบ็ ไชด์ของโรงเรียน เพ่ือใหท้ กุ องค์กรทราบถึงกระบวนการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งต่อเน่ือง
จดุ เด่น
โรงเรียนมรี ะบบบรหิ ารและการจัดการตามเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจของโรงเรยี นตามกำหนด
อย่างชัดเจน ทั้งในด้านงานบริหารวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบริหารบุคคลและงานบริหาร
ทั่วไป โดยผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่ดีในการบริหารงาน ครูมีความมุ่งมั่นและตั้งใจในการพัฒนาการสอน
โดยจัดกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมทักษะกระบวนการคิด ได้ลงมือปฏิบัติจริง และวิธีการ
ทห่ี ลากหลายให้นกั เรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษาอยา่ งตอ่ เน่ือง
จดุ ทคี่ วรพัฒนา
การพัฒนาบคุ ลากรครูในโรงเรยี นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การพัฒนาเคร่ืองมือ
ในการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้เป็นรูปแบบมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการใช้ความรู้
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มากขึ้น การจัดกิจกรรมวิจัยในชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง
เพื่อพัฒนาปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนมากขึ้น การพัฒนาความสามารถทางภาษาอังกฤษให้กับ
ผู้เรียนที่มีความสนใจเรียนรู้และต้องการพัฒนาตนเอง การพัฒนากระบวนการ PLC สร้างเสริม
การจัดการเรียนการสอนเพ่ือหาแนวทางเทคนิคและวิธีการแกป้ ัญหาในการพฒั นาผ้เู รียน
แผนพฒั นาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดับให้สูงขึน้
แผนงานท่ี ๑ โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน (O-Net/NT)
แผนงานที่ ๒ โครงการการบรหิ ารจัดการเกยี่ วกบั งานวิชาการ การพัฒนาหลักสูตร
และวิจยั ในช้ันเรยี น
แผนงานที่ ๓ โครงการส่งเสริมคณุ ภาพทางวชิ าการ กิจกรรมเสริมหลกั สตู รท่ีเนน้ คุณภาพ
ผเู้ รยี นรอบดา้ น
แผนงานที่ ๔ โครงการพฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
แผนงานท่ี ๕ โครงการสง่ เสริมศักยภาพครูผสู้ อนและพฒั นาการใช้ส่อื เทคโนโลยี สหู่ อ้ งเรยี น
แผนงานท่ี ๖ โครงการ/กิจกรรมสรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นรู้ PLC อยา่ งเปน็ ระบบ
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบ้านเชียงอาด ปีการศึกษา 2564
กจ
คำนำ
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา
2564 โรงเรียนบา้ นเชียงอาดฉบบั นี้ จดั ทำข้นึ เพื่อรายงานผลการจดั การศึกษาในรอบปีการศึกษาทผี่ า่ นมา
ให้หนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรือ หน่วยงานท่ีกำกับดูแล และสาธารณชนได้รบั ทราบ ตามกฎกระทรวง
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 โดยโรงเรียนบ้านเชยี งอาดได้สะท้อนผลการพัฒนาคณุ ภาพ
ของสถานศกึ ษา ซ่งึ แบง่ การประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ออกเป็น 2 ระดบั คือ ระดบั ปฐมวยั และระดบั
การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน การประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน
คือ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3
การจัดประสบการณ์ทเี่ นน้ เด็กเป็นสำคญั และการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหาร
และการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ซ่ึงได้นำเสนอ
ผลการวิเคราะห์ จดุ เดน่ จุดท่ีควรพัฒนา และแนวทางการพฒั นาสถานศึกษา อีกทัง้ รายงานการประเมนิ
ตนเองของสถานศกึ ษา ฉบับน้ีใชเ้ ปน็ ข้อมูล แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก โดยสำนักงานรบั รอง
มาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ต่อไป
เอกสารรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาฉบบั นี้ ประกอบด้วยสว่ นสำคัญ คือ
บทสรุปของผูบ้ ริหารสถานศึกษา สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สว่ นท่ี 3 สรุปผลการประเมนิ และแนวทางการพัฒนา และภาคผนวก
ขอขอบคุณคณะครู ผ้ปู กครอง นักเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน และผ้ทู มี่ ี
ส่วนเกยี่ วข้องทุกฝ่ายที่มสี ่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self –
Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564 ฉบบั นี้ และหวงั วา่ เอกสารรายงานฉบับนี้ จะเป็น
ประโยชน์ตอ่ การปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปถี ดั ไป และเปน็ ฐานข้อมูลในการกำหนด
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษาและของเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา ตลอดจน
เพ่ือประโยชนใ์ นการรองรับมาตรฐานการศึกษาในการประเมินคณุ ภาพภายนอก จากสำนักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ตอ่ ไป
( นายสรวศิ ผาทอง )
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านเชียงอาด
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรียนบา้ นเชยี งอาด ปีการศกึ ษา 2564
ขฉ
สารบัญ หน้า
เรอื่ ง ก
1
บทสรปุ ผู้บริหาร 1
สว่ นที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 5
7
ขอ้ มูลทวั่ ไป 9
ข้อมูลครูและบุคลากร 15
ข้อมูลนักเรียน 20
ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนระดบั สถานศึกษา 20
ข้อมลู ผลการทดสอบระดับชาตขิ องผูเ้ รยี น 22
ข้อมลู อาคารสถานท่ี 23
ขอ้ มลู การใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา 24
ขอ้ มูลงบประมาณ
ขอ้ มูลสภาพชุมซนโดยรวม 26
ข้อมูลหลักสตู รทีจ่ ัดการเรียนการสอน 26
ฯลฯ 38
ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 49
มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั
มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 50
สว่ นที่ 3 สรปุ ผล แนวทางการพฒั นาคุณภาพเพอื่ ยกระดับใหส้ งู ขน้ึ 51
และความต้องการการช่วยเหลือ 51
จุดเดน่ 58
จดุ ควรพัฒนา 59
แผนการพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดบั ให้สงู ขึ้น
ภาคผนวก
หลักฐานขอ้ มลู สำคญั เอกสารอ้างองิ ตา่ ง ๆ
ปกี ารศกึ ษา 2564
….. อำเภอ …... จงั หวดั หนองคาย
สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาหนองคายเขต
2สำนักงานคณะกรรมการการศึกษ
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรียนบ้านเชียงอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๑
ส่วนที่ 1
ข้อมลู พื้นฐาน
1. ข้อมูลท่ัวไป
โรงเรียนบ้านเชียงอาด ที่ตั้งบ้านเชียงอาด หมู่ ๑๒ ตำบลเหล่าต่างคำ อำเภอโพนพิสัย
จังหวัดหนองคาย สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาหนองคาย เขต ๒
โทร ๐๔๒-๔๒๘๑๑๖ โทรสาร…-….. e-mail : [email protected]
website : www.chiangardschool.com เปิดสอนระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
เนื้อที่ ๒๐ ไร่ เขตพื้นที่บริการบริการ ๕ หมู่บ้าน ได้แก่หมู่ที่ ๔ บ้านเชียงอาด หมู่ที่ ๕ บ้านสุขสำราญ หมู่ที่
๑๒ บา้ นมสี ขุ หมูท่ ี่ ๑๓ บ้านเชียงอาดเหนือ หม่ทู ่ี ๑๕ บ้านโนนภทู อง
▪ ประวตั โิ รงเรียนโดยย่อ
โรงเรียนบ้านเชียงอาด ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๔๘๔ มีชื่อวา่ โรงเรียนประชาบาล ตำบล ทุ่ง
หลวง (บ้านเชียงอาด) อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย โดยอาศัยศาลาการเปรียญวัดบ้านเชียงอาดเปน็ ที่
ดำเนินการสอนมี นายณรงค์ ไชยเขตรินทร์ ศึกษาธิการเขตอำเภอโพนพิสยั มาทำพิธเี ปิดและในการเปิดการ
เรียนการสอนวันแรกมนี กั เรียนทั้งหมด ๕๐ คน เป็นนักเรยี นชาย ๒๗ คน นักเรยี นหญิง ๒๓ คน มีครู ๒ คน
นายสงั ข์ บรุ นิ ทรน์ ิตย์ ดำรงตำแหน่งครใู หญ่
ปัจจุบันโรงเรียนบ้านเชียงอาด มีนักเรียนทั้งหมด ๒46 คน นักเรียนชาย ๑๒๖ คน นักเรียน
หญิง ๑๒๐ คน มีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๒๐ คน นายสรวิศ ผาทอง ดำรงตำแหน่ง
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
แผนผงั โรงเรยี น
หอ้ งสว้ ม อาคารดนตรี
บอ่
โรงอาหาร
ปลา สวนผกั สวน อาคาร
พทุ ธ ใหม่
้หองน้ำครู อาคาร
ศาสน์
อนุบาล ถนนหนา้ อาคารเรยี น
อาคาร อาคาร ป.๑ ฉ หอ้ งนำ้ ครู อาคาร
อเนกประสง ์ค คอมฯ
อาคาร สปช.๑๐๕/
๒๙
สหกร ์ณ
ถนนหนา้ อาคาร
ประ ูตทางเข้า
ประตูทางออก สนามตะกรอ้ สนามฟุตบอล
สวน ่ปา สนาม
บาสเกตบอล
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรียนบ้านเชยี งอาด ปีการศกึ ษา 2564
๒
วิสัยทัศน์ (VISION) : โรงเรยี นบา้ นเชียงอาด จะพฒั นาโรงเรียนให้ไดต้ ามเกณฑ์มาตรฐาน
สืบสานวัฒนธรรมประเพณี รักษส์ ่ิงแวดล้อม
พันธกจิ (MISSION)
๑. พฒั นาปรับปรุงหลกั สูตรสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐานใหม้ ีคุณภาพและสอดคล้องกบั ความต้องการ
ของทอ้ งถนิ่
๒. พฒั นาศกั ยภาพการอ่าน เขียน คดิ คำนวณ คิดวเิ คราะห์ คุณธรรมจริยธรรม และคณุ ลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์
๓. ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น NT และ O-NET
๔. พัฒนาการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ใหน้ ักเรยี น การอ่านออก เขยี นได้
๕. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคณุ ภาพและเป็นมืออาชีพ
๖. การบรหิ ารจดั การเนน้ การมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ น จดั ระบบการเงินและทรัพยากรให้เอ้ือ
ตอ่ การเรียนการสอน
๗. ปรับปรงุ ซ่อมแซมอาคารเรียนอาคารประกอบและจัดหาสิง่ อำนวยความสะดวก
๘. สบื สานวัฒนธรรมประเพณอี นั ดีงามและอนุรักษ์สิง่ แวดลอ้ ม
เปา้ ประสงค์ (Goals)
๑. มหี ลกั สูตรสถานศกึ ษาทเ่ี หมาะสมกับผ้เู รยี นและทอ้ งถ่นิ พัฒนาตามการเปลย่ี นแปลง
และความเจรญิ กา้ วหน้าทางวิทยาการต่างๆ และสอดคล้องกับการศึกษาของชาติ
๒. ผู้เรียนระดับประถมศึกษาต้องมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้
อยู่ในระดับ ๓ - ๔ ในระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษา มผี ลสมั ฤทธ์ิภาพรวมเฉลยี่ ๒.๕
๓. ผเู้ รียนสามารถใช้เทคโนโลยีเพ่อื การศึกษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
๔. ผเู้ รยี นสามารถใชภ้ าษาไทยและภาษาต่างประเทศในการส่ือสารเตรียมภาษาร้สู ู่อาเซียน
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
๕. ผู้เรยี นมีทักษะและความสามารถในการทำงานโดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๖. โรงเรยี นมกี ารบริหารจดั การตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษามีระบบประกันคณุ ภาพภายใน
ท่ีมีประสิทธภิ าพ
๗. เด็กในระดับปฐมวยั ได้พัฒนาในด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
เต็มศกั ยภาพ
๘. ผเู้ รียนประพฤตปิ ฏิบัติตนเป็นผ้ปู ฏบิ ตั ธิ รรม จรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคแ์ ละค่านิยม
ที่ดงี าม
๙. ผเู้ รียนเหน็ คุณคา่ และความภาคภูมิใจในขนบธรรมเนยี นประเพณีไทย ภมู ิปัญญาไทย
และภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ
๑๐. ผ้เู รยี นสามารถนำแนวคดิ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวัน
๑๑. ผู้เรียนเหน็ คุณคา่ และรว่ มอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตพิ ลงั งานและสิ่งแวดล้อม
๑๒. ผ้เู รยี นไดร้ ับโอกาสในการพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ
๑๓. ผ้เู รียนมีทักษะท่ีจำเป็นในการดำเนนิ ชวี ิต มสี ุขภาพ และบคุ ลิกภาพท่ีดี มีสุนทรียภาพสามารถ
อยรู่ ว่ มกบั ผู้อ่ืนได้อย่างมีความสขุ
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นบ้านเชียงอาด ปกี ารศึกษา 2564
๓
๑๔. บุคลากรมีความรูค้ วามสามารถตามมาตรฐานวิชาชีพ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีจรรยาบรรณ
และมีทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยีอย่างมปี ระสิทธิภาพ
๑๕. บคุ ลากรมีขวัญกำลงั ใจและมคี ุณภาพชวี ติ ท่ดี ี
๑๖. โรงเรียนมีการบรหิ ารจดั การศึกษาอยา่ งเป็นระบบมีคุณภาพและความสามารถตรวจสอบได้
๑๗. โรงเรียนมอี าคารสถานทแ่ี หล่งเรยี นรแู้ ละทรัพยากรทางการศกึ ษาอย่างเพียงพอและใช้ใหเ้ กิด
ประโยชน์สูงสดุ
๑๘. โรงเรยี น ผปู้ กครอง และชมุ ชนมีความสมั พันธ์ท่ดี แี ละมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาการศึกษา
ของโรงเรยี น
๑๙. คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง ชมุ ชนปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหน้าที่
อยา่ งมีประสิทธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล
คำขวญั : “ระเบียบวินยั นำหน้า วิชาการตามหลัง พรอ้ มพรั่งทรัพยากร สอนเด็กเป็นศูนยก์ ลาง
ยึดแนวทางตามพระราชดำริ ฯ”
ปรัชญาโรงเรียน : ปัญญา โลกสมิ ปัชโชโต ปญั ญาเปน็ แสงสว่างในโลก
ตราสัญลักษณ์โรงเรียน
อตั ลักษณ์ของสถานศึกษา
คุณธรรมนำใจ ร่วมใจสบื สานวัฒนธรรมพน้ื บ้าน มือประสานอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม
เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา
“นกั เรียนมรี ะเบียบวนิ ัย ใฝใ่ จศึกษา ”
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบา้ นเชียงอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๔
โครงสร้างการบรหิ าร
ข้อมูลผบู้ ริหาร
1) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น นายสรวศิ ผาทอง โทรศัพท์ ๐๙๒-๔๒๘-๔๗๓๒
e-mail phathong732@gmail วุฒิการศกึ ษาสูงสดุ ปริญญาโท สาขา บริหารการศึกษา
ดำรงตำแหน่งท่โี รงเรียนนี้ ต้งั แตว่ ันท่ี ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ จนถงึ ปัจจบุ นั เปน็ เวลา ๖ เดือน
2) รอง/ผชู้ ว่ ยผ้อู ำนวยการโรงเรียน …………-………… คน
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของโรงเรียนบา้ นเชียงอาด
โรงเรียนบา้ นเชียงอาด แบง่ โครงสรา้ งการบรหิ ารงานเปน็ ๔ งาน ได้แก่ งานบริหารวิชาการ
งานบรหิ ารงบประมาณ งานบริหารงานบุคคล งานบริหารงานท่วั ไป ผบู้ ริหารยึดหลกั การบรหิ าร/เทคนิคการ
บรหิ ารโดยขบั เคลอื่ นด้วยรปู แบบ SAWRAWICH Model และวงจรคณุ ภาพ (PDCA)
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรยี นบา้ นเชียงอาด
ผู้อำนวยการโรงเรียน
คณะกรรมการสถานศึกษา
งานบริหารวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบริหารงานบุคคล งานบรหิ ารงาน
สภานักเรียน ทวั่ ไป
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชียงอาด ปีการศกึ ษา 2564
๕
2. ขอ้ มูลบคุ ลากรของสถานศึกษา
2.1 จำนวนและวุฒกิ ารศกึ ษาของบคุ ลากร
ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบ้านเชียงอาด มีครแู ละบุลากรทางการศึกษา จำนวน ๒๐ คน
ได้แก่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา จำนวน ๑ คน ครปู ระจำการ จำนวน ๑๔ คน พนกั งานราชการ จำนวน ๑ คน
ครอู ัตราจ้าง จำนวน ๒ คน ครธู ุรการ จำนวน ๑ คน ลกู จ้างประจำ จำนวน ๑ คน
จำนวนขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรยี นบา้ นเชียงอาด
จำนวน (คน) วุฒิการศกึ ษา วทิ ยฐานะ
ตำแหนง่ บุคลากร ชาย หญงิ รวม ป.เอก ป.โท ป.ตรี ปวส. ปวช. ตำ่ กว่า ครผู ูช้ ่วย คศ.1 คศ.2 คศ.3
ปวช.
1. ผ้อู ำนวยการ ๑ - ๑ - ๑- - - - - - -๑
2. ครูประจำการ ๑ ๑๓ ๑๔ - ๙ ๕ - - - ๓ - ๑ ๑๐
๓. พนกั งานราชการ ๑ - ๑ - - ๑ - - - - - - -
๔. ครูอัตราจ้าง ๑ ๑ ๒ - -๒- - - - - - -
๕. ครูธุรการ - ๑ ๑ - -๑- - - - - - -
๖. ลูกจา้ งประจำ ๑ - ๑ - - - - ๑ - - - - -
รวม ๕ ๑๕ ๒๐ ๐ ๑๐ ๙ 0 1 ๐ ๓ ๐ ๑ ๑๑
ขอ้ มูลบคุ ลากร จำแนกตามวุฒิการศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบา้ นเชียงอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๖
2.2 สาขาวิชาทจ่ี บการศึกษาและภาระงานสอน
ท่ี ชอ่ื – ชือ่ สกุล อายุ อายุ ตำแหน่ง/วิทยฐานะ วุฒิ วิชา เอก ภาระงานสอน จำนวนครัง้ /
1 นายสรวศิ ผาทอง (ปี) ราชการ เฉลยี่ จำนวนชว่ั โมงท่ีรบั
ผ้อู ำนวยการ ป.โท การบริหาร
43 (ป)ี ชำนาญการพิเศษ การศกึ ษา ช่ัวโมง/สปั ดาห์ การพฒั นา/ปี
๑๔/๓ ครชู ำนาญการพิเศษ ป.โท
การบรหิ าร ๖ ๕ ครง้ั /๔๐ ชั่วโมง
29/3 การศึกษา
2 นางนติ ยา โพธิราช 57 ๑๒ ๓ ครง้ั /๒๔ ชั่วโมง
30/9 เทคโนโลยี
3 นางมรรยาท แยม้ บาน 59 ครชู ำนาญการพิเศษ ป.ตรี การศกึ ษา ๑๓ ๓ ครง้ั /๒๔ ชัว่ โมง
26/4
4 นางสาววไิ ล อุตตะมะบาล 59 38/8 ครชู ำนาญการพเิ ศษ ป.ตรี ประถมศึกษา ๑๔ 4 ครง้ั /3๒ ช่ัวโมง
5 นางสมควร วรโยธา 59 23/10 ๑๔ ๓ ครั้ง/๒๔ ชว่ั โมง
6 นางปิยะธิดา วงศร์ ัตน์ 47 ครชู ำนาญการพเิ ศษ ป.ตรี ประถมศึกษา 25 8 คร้งั /64 ชว่ั โมง
20/8 ครชู ำนาญการพิเศษ ป.โท การบริหาร
7 นายสาโรจน์ สดุ ชาขำ 55 การศึกษา ๑๓ ๓ ครงั้ /๒๔ ชว่ั โมง
35/4 ครชู ำนาญการพเิ ศษ ป.โท การบริหาร
การศึกษา ๑๕ 4 ครั้ง/3๒ ชัว่ โมง
8 นางพศิ พร เจริญวัฒนศักด์ิ 59 27/3 ครชู ำนาญการพิเศษ ป.ตรี
๑0/๘ วิทยาศาสตร์ ๑๓ ๓ ครั้ง/๒๔ ชั่วโมง
9 นางวงเดอื น วงษ์ชารี 59 ครชู ำนาญการพเิ ศษ ป.ตรี (ท่วั ไป) ๑๖ ๗ ครง้ั /๕๖ ชว่ั โมง
10 นางศิริรัตน์ ไชยมานันต์ 37 ๑๔/๘ ครูชำนาญการ ป.โท
12/10 ประถมศึกษา ๑๔ 9 ครัง้ /7๒ ชั่วโมง
๑๑ นางปยิ นันท์ คำพูล 41 ครชู ำนาญการพิเศษ ป.ตรี การบริหาร 25 8 ครง้ั /64 ชว่ั โมง
๑/๘ ครชู ำนาญการพเิ ศษ ป.โท การศึกษา
๑๒ นางอัมพร ดอนจนั ทรโ์ คตร 41 ๑/๘ ๑๓ 6 ครง้ั /36 ชั่วโมง
๑/๓ เคมี ๑๕ 6 ครง้ั /36 ชัว่ โมง
๑๓ นางสาวสภุ สั สร สวี นั คำ 31 ครผู ชู้ ว่ ย ป.ตรี การบรหิ าร ๑๕ 6 ครง้ั /36 ชั่วโมง
ครผู ู้ชว่ ย ป.ตรี การศกึ ษา
๑๔ นางสาวผกามาศ ชาญวิรตั น์ 29 ครผู ้ชู ว่ ย ป.ตรี ภาษาไทย
ภาษาไทย
๑๕ นางสาวศุภรดา บบุ ผา 26 วศิ วกรรม
คอมพวิ เตอร์
2.3 พนกั งานราชการ/ครอู ัตราจา้ ง และบุคลากรทางการศึกษาอ่นื ๆ
ท่ี ชอ่ื – ช่ือสกลุ อายุ อายุงาน วุฒิ วิชาเอก ภาระงานสอน ภาระงาน
๑ วา่ ท่ี ร.ต.ฤทธิรณ ศรีสม (ป)ี (ปี)
วชิ า/ชั้น อนื่ ๆ
2 นายสมพงษ์ นคิ มภกั ดิ์
3 นางสาวบงกชพร ศรีหล่งิ ๕4 ๑๖ ศษ.ม. บริหารการศึกษา -สงั คม ม.๑-๓ -
-ศิลปะ ม.๑-๓
๕9 26 ม.๖ - - ช่างไฟฟ้า 4
๓2 2 ศบ. เศรษฐศาสตร์ - งานธุรการ
โรงเรยี น
2.4 จำนวนข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา จำแนกตามระดบั การศกึ ษา
1) ระดบั ปฐมวัย จำนวน ๒ คน
2) ระดบั ประถมศึกษา จำนวน ๘ คน
3) ระดบั มัธยมศึกษา จำนวน ๗ คน
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบ้านเชียงอาด ปีการศึกษา 2564
๗
3. ข้อมูลนกั เรยี น (ณ วันท่ี 10 พฤศจิกายน ปีการศึกษา 2564)
1) จำนวนนักเรียนในเขตพื้นทบ่ี รกิ ารทั้งสน้ิ ๒๔๖ คน
2) จำนวนนักเรยี นในโรงเรยี นท้งั สน้ิ ๒๔๖ คน จำแนกตามระดับช้ันท่ีเปดิ สอน
จำแนกตามระดับช้นั ท่เี ปดิ สอน
ระดบั ช้นั เรยี น จำนวนห้อง เพศ รวม เฉลย่ี ต่อหอ้ ง
อนุบาล 2 ๑ ชาย หญงิ 15 20 : 1
อนุบาล 3 ๑ 24
๒ 10 5 24 : 1
รวม ๑ 11 13 39
๑ 20 22 : 1
ป. 1 ๑ 21 18 15
ป. 2 ๑ 11 19 30
ป. 3 ๑ 78 24
ป. 4 ๑ 18 12 28
ป. 5 ๖ 14 10 24
ป. 6 ๑ 12 16
รวม ๑ 13 11 141
ม. 1 ๑ 21
ม. 2 ๓ 75 66 23
ม. 3 ๑๑ 9 12 22
รวม 12 11 66
รวมท้ังหมด 9 13 246
30 36
126 120
ระดับปฐมวยั อัตราส่วนครู : นกั เรียน = 1 : 20
ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน อัตราส่วนครู : นกั เรยี น = 1 : 14
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรียนบ้านเชยี งอาด ปีการศึกษา 2564
๘
3) เปรียบเทยี บจำนวนนกั เรียน 3 ปกี ารศกึ ษา (ปีการศึกษา 2562 – 2564)
ปีการศกึ ษา ปฐมวัย ระดบั ชนั้ / จำนวนนกั เรียน (คน) รวมทั้งสิ้น
35 ป.1 – ม.3 254
2562 43 257
2563 39 219 246
2564 214
207
จานวนนกั เรยี น เปรียบเทียบ ปีการศกึ ษา 2562 - 2564
300
250
จานวน(คน) 200
150
100
50
0 ปฐมวยั ป.1 - ป.6 รวมท้ังส้นิ
35 219 254
ปี 2562 43 214 257
ปี 2563 39 207 246
ปี 2564
4) จำนวนนกั เรยี นทมี่ สี มรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรมพลศกึ ษาหรอื สำนักงานกองทุน
สนับสนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) 246 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100
5) จำนวนนกั เรยี นทม่ี นี ำ้ หนักส่วนสงู ตามเกณฑ์ของกรมอนามยั 246 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100
6) จำนวนนักเรียนผมู้ ีความต้องการการช่วยเหลอื เป็นพเิ ศษ(เด็กพิเศษ) - คน คดิ เปน็
รอ้ ยละ -
7) จำนวนนกั เรยี นมภี าวะทุพโภชนาการ 47 คน คิดเปน็ ร้อยละ 19.11
8) จำนวนนักเรยี นปัญญาเลศิ 60 คน คดิ เป็นร้อยละ 24.39
9) จำนวนนักเรียนต้องการความชว่ ยเหลอื เป็นพิเศษ 44 คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑7.89
10) จำนวนนกั เรียนทีอ่ อกกลางคนั (ปัจจุบัน) 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.81
11) สถิตกิ ารขาดเรียน ประมาณ ๒ คน/วัน คิดเป็นร้อยละ 0.81
12) จำนวนนกั เรียนทีเ่ รยี นซ้ำช้ัน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.81
13) จำนวนนักเรยี นทจี่ บหลักสตู ร
อ.3 จำนวน 24 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100
ป.6 จำนวน 24 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100
ม.3 จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบา้ นเชยี งอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๙
4. ข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั สถานศกึ ษา
4.1 ผลการประเมินพัฒนาการ ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย
จำนวนเด็ก ผลการประเมินของเดก็ ตามระดับคุณภาพ
ปฐมวัย
พัฒนาการ (คน) ดี พอใช้ ปรับปรุง
ดา้ นรา่ งกาย 39 จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
ด้านอารมณ์และจติ ใจ 39
ดา้ นสติปญั ญา 39 37 ๙๔.๘๗ 2 ๕.๑๒ - -
ดา้ นสงั คม 39
37 ๙๔.๘๗ 2 ๕.๑๒ - -
๓๘ ๙๗.๔๓ - - ๑ ๒.๕๖
๓๖ ๙๒.๓๐ ๓ ๗.๖๙ - -
จากผลการประเมินพฒั นาการของนักเรียนระดบั อนุบาล 2-3 ปกี ารศกึ ษา 2564 พบว่า นกั เรียน
มีผลการประเมินพฒั นาการเด็ก อยู่ในระดับ ดี เปน็ สว่ นใหญ่ คดิ เป็นร้อยละ 94.87
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบ้านเชยี งอาด ปกี ารศึกษา 2564
๑๐
4.2 รอ้ ยละของนักเรยี นท่มี ีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนแตล่ ะรายวิชาในระดบั 3 ขึ้นไป
4.2.1 สรุปรายงานผลการเรยี นรู้นกั เรยี นทมี่ ีผลการเรยี นรู้ ระดับ 3 ข้นั ไป
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1-6 ประจำปีการศึกษา 2564
จานวนนักเรียนท่ีมผี ลการเรยี นรู้ ระดบั 3 ขน้ั ไป ร้อยละ นร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ / รายวชิ า ท่ีไดร้ ะดบั ๓
ระดบั ชนั้ จานวน ภาษาไทย ขนึ้ ไป
นักเรียน คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
สังคม ึศกษา ฯ
ประวัติศาสตร์
สุข ึศกษาและ
พล ึศกษา
ิศลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ัองกฤษ
ห ้นาท่ีพลเมือง
การป้อง ักน
การทุจริต
ประถมศึกษาปีท่ี 1 20 11 16 20 20 16 17 18 20 20 20 20 90.00
ประถมศึกษาปีท่ี 2 15 15 15 15 15 15 15 15 15 15 15 15 100.00
ประถมศึกษาปีท่ี 3 30 12 16 14 14 13 26 19 29 11 19 30 60.00
ประถมศึกษาปีท่ี 4 24 5 14 11 24 12 24 24 24 13 24 24 75.00
ประถมศึกษาปีท่ี 5 28 18 23 13 18 20 22 28 20 12 27 28 75.00
ประถมศึกษาปีที่ 6 24 15 17 8 24 24 24 24 20 13 24 24 83.00
141 76 101 81 115 100 128 128 128 84 129 141
รวม 100 53.9 71.6 57.5 81.6 70.9 90.8 90.8 90.8 59.6 91.5 100 80.50
ร้อยละ
จากแผนภูมิผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–6 ปีการศึกษา 2564 พบว่า
นกั เรียนทีไ่ ดร้ ะดับ 3 ข้ึนไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.50
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบา้ นเชยี งอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๑๑
4.2.2 สรุปรายงานผลการเรยี นรนู้ ักเรยี นท่ีมีผลการเรียนรู้ ระดับ 3 ข้ันไป
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 ภาคเรียนท่ี 1 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
จานวนนกั เรียนทม่ี ีผลการเรียนรู้ ระดบั 3 ขั้นไป ร้อยละ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ / รายวิชา นร.ทไ่ี ด้
ระดบั ๓
ระดบั ชน้ั จานวน ภาษาไทย ข้ึนไป
นกั เรียน คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
วิทยาการคานวณ
สังคม ึศกษา ฯ
ประวัติศาสตร์
สุข ึศกษาและพล
ึศกษา
ิศลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ัองกฤษ
คณิตศาสตร์เ ิพม
เติม
วิทยาศาสตร์เ ิพม
เติม
ภาษาไทยเ ิพมเติม
ห ้นาท่ีพลเมือง
การป้อง ักนการ
ทุจริต
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 21 10 7 11 15 12 9 18 17 18 6 12 15 20 20 66.67
มธั ยมศึกษาปีท่ี 2
มัธยมศึกษาปีที่ 3 23 16 17 23 20 18 16 23 23 23 11 23 20 23 23 86.97
รวม 22 15 10 11 21 18 19 22 22 22 16 18 17 22 19 81.81
ร้อยละ 66 41 34 45 56 48 44 63 62 63 33 53 35 17 65 62 78.48
62.12 51.52 68.18 84.85 72.73 66.67 95.45 93.94 95.45 50.00 80.30 79.54 77.27 98.48 93.94
100.00
จากแผนภูมิผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2564 พบวา่ นกั เรียนทีไ่ ดร้ ะดับ 3 ขนึ้ ไป คดิ เปน็ ร้อยละ 78.48
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบ้านเชียงอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๑๒
4.2.3 สรปุ รายงานผลการเรยี นรู้นกั เรยี นที่มีผลการเรยี นรู้ ระดบั 3 ขน้ั ไป
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-3 ภาคเรียนท่ี 2 ประจำปกี ารศึกษา 2564
จานวนนกั เรียนทม่ี ีผลการเรียนรู้ ระดบั 3 ข้ันไป ร้อยละ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ / รายวิชา นร.ทไ่ี ด้
ระดบั ๓
ระดบั ชนั้ จานวน ภาษาไทย ขึ้นไป
นกั เรียน คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
วิทยาการคานวณ
สังคม ึศกษา ฯ
ประวัติศาสตร์
สุข ึศกษาและพล
ึศกษา
ิศลปะ
การงานอาชีพ
ภาษา ัองกฤษ
คณิตศาสตร์เ ิพม
เติม
วิทยาศาสตร์เ ิพม
เติม
ภาษาไทยเ ิพมเติม
ห ้นาท่ีพลเมือง
การป้อง ักนการ
ทุจริต
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 21 11 5 9 13 11 10 19 17 17 6 8 11 16 16 66.67
มัธยมศึกษาปีท่ี 2
มธั ยมศึกษาปีที่ 3 23 15 13 14 18 16 15 23 23 23 14 14 17 23 23 86.96
รวม 22 15 10 11 21 18 19 22 22 22 16 18 17 22 19 81.9
ร้อยละ 66 41 28 34 52 45 44 64 62 62 36 40 28 17 61 58 78.51
62.12 42.42 51.52 78.79 68.18 66.67 96.97 93.94 93.94 54.55 60.61 63.64 77.27 92.42 87.88
100.00
จากแผนภูมิผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2564 พบวา่ นกั เรยี นที่ไดร้ ะดับ 3 ขนึ้ ไป คิดเปน็ รอ้ ยละ 78.51
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบา้ นเชียงอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๑๓
4.3 ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
ระดบั ชน้ั จานวน ด่ีเย่ียม จานวน/ร้อยละของนักเเรียนตามระดบั คณุ ภาพ รวมผเู้ รยี นทมี่ ีผลการ
นร.ทง้ั หมด ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ประเมินระดับดีขน้ึ ไป
ป.1
ป.2 จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
ป.3
ป.4 20 0 0.00 20 100.00 0 0.00 0 0.00 20 100.00
ป.5
ป.6 15 12 80.00 3 20.00 0 0.00 0 0.00 15 100.00
ม.1
ม.2 30 0 0.00 30 100.00 0 0.00 0 0.00 30 100.00
ม.3
รวม 24 0 0.00 24 100.00 0 0.00 0 0.00 24 100.00
28 7 25.00 21 0.00 0 0.00 0 0.00 28 100.00
24 0 0.00 24 100.00 0 0.00 0 0.00 24 100.00
21 19 90.48 0 0.00 0 0.00 2 9.52 19 90.48
23 15 65.22 8 34.78 0 0.00 0 0.00 23 100.00
22 6 27.27 10 45.45 6 27.27 0 0.00 16 72.73
207 59 28.50 140 67.63 6 2.90 2 0.97 199 96.14
จากผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ปีการศกึ ษา 2564 พบวา่ นกั เรียนท่ีมผี ล
การประเมินระดบั ดีขนึ้ ไป คดิ เปน็ ร้อยละ 96.14
4.4 ผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น
จานวน/ร้อยละของนักเรยี นตามระดบั คณุ ภาพ
จานวน (การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น)
นร.ท้ังหมด ด่เี ยย่ี ม
ระดบั ชน้ั รวมผู้เรียนที่มผี ลการประเมนิ
ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น ในระดบั ดขี น้ึ ไป
จานวน รอ้ ยละ
ประถมศึกษาปที ี่ 1 20 11 8 1 0 19 95.00
ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 15 11 4 0 0 15 100.00
ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 30 13 14 3 0 27 90.00
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 24 14 7 3 0 21 87.50
ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 28 20 6 2 0 26 92.85
ประถมศึกษาปที ่ี 6 24 12 12 0 0 24 100.00
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 21 8 10 1 2 18 85.71
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 23 15 6 2 0 21 91.30
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 22 13 7 2 0 20 90.90
รวม 207 117 74 14 2 191 92.27
เฉลี่ยร้อยละ 100 56.52 35.75 6.76 0.97 92.27
จากผลการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน ปีการศกึ ษา 2564 พบว่า นกั เรียนท่มี ผี ลการ
ประเมนิ ระดับดขี ้นึ ไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92.27
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชียงอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๑๔
4.5 ผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
ระดับช้นั จำนวน นร.ทง้ั หมด จำนวน/ร้อยละของนักเรยี นตาม รวมผเู้ รียนทม่ี ผี ลการประเมนิ
ระดบั คณุ ภาพ ในระดับผ่าน
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ 20
ประถมศึกษาปีท่ี ๒ 15 (กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น) จำนวน ร้อยละ
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ 30
ประถมศึกษาปีท่ี ๔ 24 ผา่ น ไมผ่ ่าน 20 100.00
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ 28 15 100.00
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ 24 20 ๐ 30 100.00
มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ๒1 15 ๐ 24 100.00
มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ 23 30 ๐ 28 100.00
มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ 22 24 ๐ 24 100.00
207 28 ๐ 1๙ 90.48
รวม 100.00 24 ๐ 23 100.00
เฉล่ยี รอ้ ยละ 1๙ ๒ 22 100.00
23 ๐ 205 83.33
22 ๐ 83.33
205 ๐
83.33 0.81
จากผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ปกี ารศึกษา 2564 พบว่า นกั เรียนที่มีผลการประเมนิ ใน
ระดับผ่าน คดิ เปน็ ร้อยละ 83.33
4.6 ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (ถา้ ม)ี
ระดบั ชน้ั จานวน การสื่อสาร ผลการประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 5 ดา้ น การใช้เทคโนโลยี
นร.ทง้ั หมด ผา่ น ไมผ่ ่าน การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต ผา่ น ไม่ผ่าน
ป.1 20 0 ผา่ น ไมผ่ ่าน ผา่ น ไม่ผ่าน ผา่ น ไมผ่ ่าน 20 0
ป.2 20 15 0 20 0 20 0 20 0 15 0
ป.3 15 30 0 15 0 15 0 15 0 30 0
ป.4 30 24 0 30 0 30 0 30 0 24 0
ป.5 24 28 0 24 0 24 0 24 0 28 0
ป.6 28 24 0 28 0 28 0 28 0 24 0
ม.1 24 19 2 24 0 24 0 24 0 19 2
ม.2 21 23 0 19 2 19 2 19 2 23 0
ม.3 23 22 0 23 0 23 0 23 0 22 0
รวม 22 22 0 22 0 22 0
205 2 205 2
207 205 2 205 2 205 2
ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 5 ด้าน ปกี ารศึกษา 2564 พบวา่ นักเรียนท่ีมผี ล
การประเมินผ่าน คดิ เปน็ ร้อยละ 99.03
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชยี งอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๑๕
5. ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา ระดบั ชาติ
5.1 ผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอ่านของผ้เู รียน (Reading Test : RT)
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1
ตารางแสดงคะแนนเฉลยี่ RT ปีการศกึ ษา 2564
สาระวชิ า จำนวน คะแนน ส่วน เฉล่ีย จำนวนร้อยละของนักเรียนทไี่ ดร้ ะดับ/
คน เฉลย่ี เบีย่ งเบน รอ้ ยละ เฉล่ยี ร้อยละ
มาตรฐาน
ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก
การอา่ นออกเสยี ง 20 79.4 5.72 79.4 0 0 40 60
การอา่ นรู้เรื่อง 20 80.9 4.97 80.9 0 0 35 65
รวม 2 ดา้ น / 100 80.5 10.61 80.15 0 0 40 60
เฉลีย่ รอ้ ยละ
ตารางแสดงคะแนนเฉลีย่ RT ปีการศึกษา 2562 - 2564 เปรียบเทียบกบั ระดับต่าง ๆ
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชยี งอาด ปีการศึกษา 2564
๑๖
100.00 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น (RT)
80.00 ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 เปรียบเทยี บปกี ารศึกษา 2562 - 2564
60.00
คะแนนเฉ ่ีลย 40.00
20.00
0.00 การอ่านออกเสียง การอา่ นรเู้ รื่อง รวม 2 สมรรถนะ
77.75 88.28 83.02
2562 63.62 63.64 63.63
2563 79.4 80.9 80.15
2564
ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรยี น (Reading Test : RT) ช้นั ประถมศึกษา
ปที ี่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 พบว่า นกั เรียนมผี ลการประเมิน รวม 2 ด้าน คดิ เปน็ ร้อยละ 80.15
5.2 ผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ (National Test : NT )
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓
ตาราง แสดงคะแนนเฉลย่ี NT ปกี ารศึกษา 2564
สาระวชิ า จำนวน คะแนน ส่วน เฉล่ยี จำนวนร้อยละของนักเรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั /เฉล่ยี รอ้ ยละ
คน เฉลย่ี เบี่ยงเบน ร้อยละ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
มาตรฐาน
ความสามารถ 28 80.32 5.28 80.32 0 0 0 28
ดา้ นคณติ ศาสตร์
ความสามารถ 28 84.39 4.75 84.39 0 0 0 28
ด้านภาษาไทย
รวม 2 ด้าน / 100 82.36 8.02 82.36 0 0 0 100
เฉล่ียรอ้ ยละ
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชยี งอาด ปีการศกึ ษา 2564
๑๗
คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ NT ปกี ารศึกษา 2562 – 2564 เปรียบเทียบกบั ระดับต่างๆ
ท่ี ระดบั คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ รวมเฉลยี่ ทง้ั 2 ดา้ น
ดา้ นภาษาไทย ดา้ นคณติ ศาสตร์
1 ระดบั โรงเรียน
2 ระดบั เขตพนื้ ที่ 2562 2563 2564 2562 2563 2564 2562 2563 2564
3 ระดบั ประเทศ
42.02 41.86 84.39 47.23 33.05 80.32 44.63 37.46 82.36
42.98 46.56 59.74 43.63 39.47 52.74 43.30 43.02 56.24
46.46 47.46 56.14 44.94 40.47 49.44 45.70 43.97 52.80
ผลการประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รยี น (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564
พบวา่ นกั เรียนมผี ลการประเมิน รวม 2 ดา้ น คดิ เป็นรอ้ ยละ 82.36 ซ่ึงมคี ะแนนเฉลย่ี เพิ่มขน้ึ และสูงกวา่
ปีการศึกษา 2562 และ 2563
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชียงอาด ปีการศกึ ษา 2564
๑๘
5.3 การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (Ordinary National Educational
Test : O – NET )
ตารางแสดงคะแนนเฉลย่ี O-NET ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ปกี ารศกึ ษา 2564
สว่ น จำนวนร้อยละของนักเรยี นท่ีไดร้ ะดบั
เบย่ี งเบน
รายวิชา จำนวน คะแนน มาตรฐาน ควร ควร ปาน ค่อนข้าง ดี ดี ดี
คน เฉลย่ี ปรับปรุง ปรบั ปรุง พอใช้ กลาง ดี 6 มาก เยีย่ ม
ภาษาไทย 15.58 อย่างย่งิ
คณิตศาสตร์ 18 48.20 1 35 3 00
วิทยาศาสตร์ 0
อังกฤษ
รวม/เฉลีย่ 18 36.41 14.76 0 4 6 4 3 1 00
18 32.36 8.92 0 2 11 3 2 0 0 0
18 33.33 10.83 1 1 7 7 2 0 00
18 37.58 12.52 0.25 2 6.75 4.75 2.50 1.75 0 0
คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ O-NET ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖
ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2564 เปรยี บเทียบระดับต่าง ๆ
ระดบั /รายวชิ า ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ คะแนนรวมเฉลย่ี
ระดบั ประเทศ 2562 2563 2564 2562 2563 2564 2562 2563 2564 2562 2563 2564 2562 2563 2564
ระดบั สงั กดั สพฐ.
ระดบั เขตพนื้ ที่ 49.07 56.20 50.38 34.42 43.55 39.22 32.90 29.99 36.83 35.55 38.78 34.31 37.99 42.13 40.19
ระดบั โรงเรียน
47.95 54.96 49.54 30.86 38.87 35.46 31.60 28.59 35.85 34.30 37.64 33.68 36.18 40.02 38.63
46.08 51.67 46.43 28.68 34.29 32.51 29.81 25.34 33.52 32.90 35.83 32.45 34.37 36.78 36.23
46.95 54.38 48.20 32.93 39.17 33.33 41.74 30.33 36.41 33.43 40.12 32.36 38.76 41.00 37.58
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O - NET) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
เปรียบเทียบปีการศกึ ษา 2564 พบวา่ นักเรยี นมผี ลการประเมิน รวม 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้
คดิ เปน็ ร้อยละ 37.58 ซง่ึ มคี ะแนนเฉลย่ี ลดลง
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชียงอาด ปีการศกึ ษา 2564
๑๙
ตารางแสดงคะแนนเฉล่ีย O-NET ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2564
ส่วน จำนวนร้อยละของนกั เรยี นที่ไดร้ ะดบั
เบ่ียงเบน
รายวิชา จำนวน คะแนน มาตรฐาน ควร ควร ปาน คอ่ นขา้ ง ดี ดี ดี
คน เฉลี่ย ปรับปรุง ปรับปรุง พอใช้ กลาง ดี 6 มาก เยย่ี ม
ภาษาไทย 14.74 อย่างย่ิง 1 20
คณิตศาสตร์ 22 51.90 14.42 0 35 6 0
วิทยาศาสตร์ 22 24.14 9.08 0 1 00
องั กฤษ 22 31.28 10.21 2 10 6 1 2
รวม/เฉล่ยี 22 30.26 12.11 2 00
22 34.40 2 12 7 1
0 00
1 14 5 1
0 00
1.25 9.75 5.75 2.25
0.50
คะแนนเฉล่ียร้อยละ O-NET ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 เปรยี บเทียบระดับตา่ ง ๆ
ระดบั /รายวชิ า ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ คะแนนรวมเฉลยี่
ระดบั ประเทศ 2562 2563 2564 2562 2563 2564 2562 2563 2564 2562 2563 2564 2562 2563 2564
ระดบั สังกดั สพฐ.
ระดบั เขตพนื้ ท่ี 55.14 54.29 51.19 33.25 34.38 31.11 26.73 25.46 24.47 30.07 29.89 31.45 36.30 36.01 34.56
ระดบั โรงเรียน
55.91 55.18 52.13 32.98 34.14 30.79 26.98 25.82 24.75 30.22 30.17 31.67 36.52 36.33 34.84
52.34 47.48 46.29 28.51 27.92 25.62 24.20 21.08 21.11 29.45 27.63 29.48 33.63 31.03 30.63
51.52 49.00 51.90 27.90 26.13 30.26 26.29 23.60 24.14 28.95 27.35 31.28 33.66 31.52 34.40
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพนื้ ฐาน(O-NET)
60.00 เปรียบเทยี บปีการศึกษา 2562 - 2564
50.00
40.00
คะแนนเฉ ่ลีย 30.00
20.00
10.00
0.00 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ คะแนนรวมเฉลย่ี
2562 51.52 27.90 26.29 28.95 33.66
2563 49.00 26.13 23.60 27.35 31.52
2564 51.90 30.26 24.14 31.28 34.40
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O - NET) ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3
เปรียบเทียบปีการศึกษา 2564 พบวา่ นักเรียนมผี ลการประเมิน รวม 4 กลุม่ สาระการเรยี นรู้
คิดเป็นร้อยละ 34.40 ซึ่งมีคะแนนเฉลยี่ เพม่ิ ข้ึน และสงู กว่า ปีการศึกษา 2562 และ 2563
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชยี งอาด ปีการศึกษา 2564
๒๐
6. ขอ้ มูลอาคารสถานที่
อาคารเรยี นจำนวน ๓ หลงั อาคารประกอบจำนวน ๒ หลงั สว้ ม ๕ หลงั สระวา่ ยน้ำ - สระ สนาม
เด็กเล่น - สนาม สนามฟุตบอล ๑ สนาม สนามบาสเกตบอล ๑ สนาม สนามวอลเล่ย์บอล ๒ สนาม สนาม
ตะกร้อ ๒ สนาม อาคารคอมพวิ เตอร์ ๑ หลัง โรงอาหาร ๑ หลงั อาคารอเนกประสงค์ ๑ อาคาร
7. ขอ้ มูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน
7.1 ห้องสมุดมีขนาด ๕๔ ตารางเมตร จำนวนหนงั สอื ในหอ้ งสมดุ 1,๐๐๐ เลม่
- การสบื ค้นหนงั สอื และการยืม-คืน ใช้ระบบ -
- จำนวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษาที่รายงานเฉลี่ย ๑๐๐ คน/วัน คิดเป็นร้อยละ
40.65 ของนักเรยี นทั้งหมด
7.2 หอ้ งปฏบิ ัติการ
- ห้องปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตร์ จำนวน ๑ หอ้ ง
- หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ จำนวน ๑ หอ้ ง
- หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางภาษา จำนวน ๑ หอ้ ง
7.3 คอมพิวเตอร์ จำนวน 19 เคร่ือง
- ใชเ้ พื่อการเรียนการสอน 10 เครื่อง
- ใช้เพอื่ การบริหารจดั การ 2 เครอ่ื ง
- ใช้เพ่ือสืบค้นข้อมูลทางอนิ เทอร์เนต็ 10 เคร่อื ง
- จำนวนนกั เรียนท่สี ืบคน้ ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตในปีการศึกษาท่ีรายงาน เฉลี่ย 4๕ คน ต่อ
วนั คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๘.2๙ ของนักเรยี นทั้งหมด ใชเ้ พอื่ การบรหิ ารจดั การ 10 เคร่อื ง
7.4 แหล่งเรยี นร้ภู ายในโรงเรยี น
แหล่งเรยี นรู้ภายใน สถติ ิการใชจ้ ำนวนครงั้ /ปี
ชอื่ แหล่งเรียนรู้ ๑80
100
๑. โรงเพาะเหด็ 100
๒. สวนพุทธศาสน์ ๑๕๐
๓. สวนป่า 120
๔. ห้องปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ ๒๐๐
๕. สวนสมนุ ไพร 50
๖. สวนเกษตร 200
๗. สวนหวาย 200
๘. โรงอาหาร 200
๙. ห้องสมุด 200
๑๐. สหกรณ์รา้ นคา้ 50
๑๑. ศิลปะ/ดนตรี 200
๑๒. การหล่อเสาปนู
๑๓. บ่อเลี้ยงปลา
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรียนบ้านเชยี งอาด ปีการศกึ ษา 2564
๒๑
สถติ กิ ารใช้ แหล่งเรยี นรภู้ ายใน
10% 9% ๑. โรงเพาะเหด็
3% 5% ๒. สวนพทุ ธศาสน์
10% 5% ๓. สวนป่า
๔. ห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์
10% 8% ๕. สวนสมนุ ไพร
๖. สวนเกษตร
6% ๗. สวนหวาย
๘. โรงอาหาร
10% 11% ๙. ห้องสมดุ
10% 3% ๑๐. สหกรณ์ร้านค้า
๑๑. ศลิ ปะ/ดนตรี
๑๒. การหลอ่ เสาปนู
๑๓. บอ่ เลยี ้ งปลา
7.5 แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน สถิตกิ ารใช้
จำนวนครั้ง/ปี
แหล่งเรียนรภู้ ายนอก
ชอื่ แหล่งเรียนรู้ 50
๑. วดั 5
๒. โรงทำขนมจนี 5
๓. โรงป้นั โอง่ ๑๐
๔. ศูนย์ฝกึ อาชีพกลมุ่ แมบ่ ้าน ๕
๕. ศูนย์ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ 2
๖. ศูนยห์ มอ่ นไหม 2
๗. พพิ ิธภณั ฑป์ ลาน้ำจดื ม.ขอนแกน่ วทิ ยาเขตหนองคาย 2
๘. หลวงพ่อพระใส วัดโพธชิ์ ยั จ.หนองคาย 6
9. ศาลาแก้วกู่ จ.หนองคาย 1
๑0. สะพานมติ รภาพไทย-ลาว จ.หนองคาย
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชียงอาด ปีการศึกษา 2564
๒๒
สถิติการใช้ แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอก
2%2%2% 7% 1% 57% ๑. วดั
6%
๒. โรงทาขนมจนี
11%
๓. โรงปัน้ โอ่ง
6%
6% ๔. ศนู ย์ฝึกอาชีพกลมุ่ แม่บ้าน
๕. ศนู ย์ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน
๖. ศนู ย์หมอ่ นไหม
๗. พพิ ธิ ภณั ฑ์ปลานา้ จดื ม.ขอนแกน่ วิทยาเขต
หนองคาย
๘. หลวงพ่อพระใส วดั โพธ์ิชยั จ.หนองคาย
7.6 ปราชญช์ าวบ้าน/ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ทีส่ ถานศึกษาเชญิ มาให้ความรแู้ ก่ครู
นกั เรียน ในปกี ารศึกษา ๒๕๖4
๑) นายอาทติ ย์ มหาฤทธ์ิ ใหค้ วามร้เู ร่ืองยารักษาโรค สถิติใหค้ วามรู้ จำนวน 5 ครั้ง/ปี
2) นายศิลา เคณาภมู ิ ใหค้ วามรเู้ รื่องการรักษาแผล สถติ ใิ หค้ วามรู้ จำนวน 5 ครงั้ /ปี
๓) นางตัน ผาทอง ใหค้ วามรเู้ รือ่ งการถนอมอาหาร สถติ ิให้ความรู้ จำนวน 9 ครง้ั /ปี
๔) นางไพรวรรณ ณ หนองคาย ใหค้ วามร้เู รอ่ื งการทำขนมจีน สถิติให้ความรู้
จำนวน 10 ครง้ั /ปี
๕) นางกลุ ผาทอง ใหค้ วามรูเ้ ร่อื งการหมกั ปลารา้ สถติ ใิ ห้ความรู้ จำนวน 15 คร้ัง/ปี
8. ขอ้ มูลงบประมาณ
งบประมาณ (รับ-จา่ ย)
รายรับ จำนวน/บาท รายจา่ ย จำนวน/บาท
เงินงบประมาณ - งบดำเนนิ การ/เงินเดอื น-ค่าจ้าง -
เงนิ นอกงบประมาณ งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
เงนิ อืน่ ๆ (ระบุ) 512,417 งบอน่ื ๆ (ระบุ) อาหารกลางวัน 311,542.26
373,800 -
รวมรายรับ 886,217 รวมรายจา่ ย
311,542.26
งบดำเนินการ/เงนิ เดือน เงนิ ค่าจา้ ง คิดเปน็ ร้อยละ - ของรายรบั
งบพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา คดิ เปน็ ร้อยละ 60.79 ของรายรบั
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบ้านเชยี งอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๒๓
9. ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม
๑) สภาพชุมชนรอบบรเิ วณโรงเรียนมีลกั ษณะเปน็ ชุมชนขนาดเลก็ มปี ระชากรประมาณ
295 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัด ตลาด ที่ทำการผู้ใหญ่บ้านบ้านมีสุข ลำน้ำสวย
อาชีพหลกั ของชุมชน คอื ทำนา เนื่องจากสภาพพื้นท่ีเป็นทร่ี าบรุมและมีลำนำ้ สวยไหลผา่ นสว่ นใหญ่
นบั ถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศลิ ปะวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นเปน็ ท่ีรูจ้ กั กนั ทว่ั ไป คือ เขา้ พรรษา ออกพรรษา
บญุ มหาชาติ บุญบัง้ ไฟ เป็นต้น
๒) ผูป้ กครองส่วนใหญ่ จบการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ อาชีพหลกั คือ ทำนา
สว่ นใหญน่ ับถอื ศาสนาพทุ ธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดโ้ ดยเฉลี่ยครอบครวั ตอ่ ปี ๑๕,๐๐๐ บาท
จำนวนคนเฉลย่ี ต่อครอบครวั ๕ คน
3) จุดออ่ น จุดแขง็ โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน
จุดอ่อน จุดแขง็ โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน ผลการศึกษาวิเคราะหป์ ัจจยั ภายนอก
และภายในโรงเรียนบา้ นเชียงอาด สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาหนองคาย เขต ๒
สรุปได้ว่า
ปัจจยั ภายนอก มีการเอ้ือต่อการจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่
ดา้ นโอกาส โรงเรยี นบ้านเชียงอาดตัง้ อยูใ่ นเขตชุมชน ซง่ึ ผลคือชุมชนและทอ้ งถนิ่ มีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา นโยบายกระจายอำนาจทางการศกึ ษาชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา โดยการทำงาน
ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ทำให้โรงเรียนมีความคล่องตัวในการบรหิ ารงาน มภี ูมปิ ัญญา
ทอ้ งถนิ่ และแหล่งการเรียนรูท้ ่ีเออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้ ในขณะที่สภาพแวดลอ้ มภายนอกท่เี ปน็ อปุ สรรค
คือผูป้ กครองนักเรยี นยงั มีความยากจน มกี ารอพยพประชากรในวยั แรงงานเข้าไปทำงานในเมอื ง
อุตสาหกรรมที่ใหญ่และการเป็นแรงงานในต่างประเทศ ปลอ่ ยใหผ้ ้สู ูงอายดุ ูแลนักเรียนอยูท่ ี่บา้ นทำให้
นักเรยี นขาดความอบอ่นุ และมปี ญั หาพฤตกิ รรมที่ไม่พึงประสงค์มากขน้ึ เสยี่ งต่ออบายมุขทั้งปวง
ปัจจัยภายใน มจี ดุ แขง็ มากกว่าจุดอ่อน จุดแข็งคอื ย่ิงดา้ นการเรยี น โรงเรียนบา้ นเชียงอาด
มีจัดการเรยี นการสอนโดยยึดผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ มีระบบบริหารทสี่ อดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา
มกี ารประชมุ วางแผนและมอบหมายงานในหน้าท่ีอย่างชัดเจน โดยบุคลากรทางการศกึ ษาทุกคนมสี ว่ นรว่ ม
ส่วนจดุ อ่อนคือ การขาดแคลนบคุ ลากรทมี่ ีความรูค้ วามสามารถทางศิลปะ ดนตรี รวมถึงด้านวัสดอุ ุปกรณ์
เชน่ คอมพวิ เตอร์ ทำให้ประสิทธิภาพในการจดั การเรียนการสอนไมต่ รงตามศกั ยภาพเทา่ ทีค่ วร
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบา้ นเชยี งอาด ปีการศึกษา 2564
๒๔
10. ขอ้ มูลหลักสูตรท่ีจัดการเรียนการสอน
โรงเรยี นได้ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการทีเ่ น้นคุณภาพผเู้ รยี น แบง่ เป็น 2 ระดบั คอื ระดบั การศกึ ษา
ปฐมวยั และ ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน โดยจัดการเรยี นการสอน ตามโครงสรา้ งหลกั สูตร ดังน้ี
10.1 หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นเชยี งอาด พุทธศกั ราช ๒๕๖๔
ตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560
ลำดบั ที่ จำนวน
คาบ/
ระดบั อนุบาล รายละเอยี ดกจิ กรรม สัปดาห์ จำนวน รวม/ ปี
คาบ/ปี
๒-๓ ๕ ๑๘๐
๕ ๓๖ ๑๘๐
๑ กจิ กรรมเคล่ือนไหวและจงั หวะ ๕ ๓๖ ๑๘๐
๓๖ ๑๘๐
๒ กจิ กรรมเสริมประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ๕ ๑๘๐
๕ ๓๖ ๑๘๐
๓ กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ๕ ๓๖
๓๖
๔ กิจกรรมเสรี
๕ กจิ กรรมกลางแจง้
๖ เกมการศกึ ษา
ตารางกิจกรรมประจำวัน
เวลา กิจกรรม
๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๐ น. เคารพธงชาติและสวดมนตไ์ หว้พระ
๐๘.๔๐ - ๐๙.๐๐ น. สำรวจการมาเรียน สนทนา ข่าวและเหตุการณ์
๐๙.๐๐ - ๐๙.๒๐ น. กิจกรรมการเคลอื่ นไหวและจังหวะ
๐๙.๒๐ - ๑๐.๐๐ น. กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์
๑๐.๐๐ – ๑๐.๒๐ น. กจิ กรรมสร้างสรรค์
๑๐.๒๐ – ๑๐.๓๐ น. พกั ด่ืมนม
๑๐.๓๐ – ๑๐.๕๐ น. กจิ กรรมเล่นตามมมุ
๑๐.๕๐ – ๑๑.๒๐ น. กจิ กรรมกลางแจง้
๑๑.๒๐ – ๑๒.๓๐ น. พักรบั ประทานอาหารกลางวนั
๑๒.๓๐ – ๑๔.๐๐ น. นอนพักผ่อน
๑๔.๐๐ – ๑๔.๒๐ น. เก็บทีน่ อนลา้ งหน้า
๑๔.๒๐ – ๑๔.๕๐ น. กิจกรรมเกมการศกึ ษา
๑๔.๕๐ – ๑๕.๐๐ น. สรปุ เตรยี มตัวกลบั บา้ น
หมายเหตุ ตารางอาจปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นบา้ นเชียงอาด ปีการศกึ ษา 2564
๒๕
10.2 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านเชยี งอาด พุทธศกั ราช 2564
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ 2560)
กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรยี น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
ระดับประถมศึกษา ม. 1 ม. 2 ม. 3
กลมุ่ สาระการเรียนรู้(พน้ื ฐาน) ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6
ภาษาไทย 120 120 120
200 200 200 160 160 160
คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.)
80 80 80 120 120 120
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80 120 120 120
( วทิ ยาการคำนวณ )
สังคมศกึ ษา ศาสนา (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.)
และวฒั นธรรม
(ศาสนา,หนา้ ที่,เศรษฐ,ภูมิ ) 160 160 160
ประวตั ิศาสตร์ (4 นก.) (4 นก.) (34นก.)
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 120 120 120
(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.)
ศิลปะ/ดนตรี
40 40 40 40 40 40 40 40 40
การงานอาชพี
40 40 40 80 80 80 (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.)
ภาษาตา่ งประเทศ
40 40 40 80 80 80 80 80 80
รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน)
40 40 40 40 40 40 (2นก.) (2 นก.) (2 นก.)
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
แนะแนว 160 160 160 80 80 80 80 80 80
ลูกเสือ/เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด
ชมุ นุม 840 840 840 840 840 840 (2นก.) (2 นก.) (2 นก.)
*กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณฯ
รายวชิ าเพิ่มเติม 120 120 120 120 120 120 40 40 40
หนา้ ทพี่ ลเมอื ง 40 40 40 40 40 40
ภาษาองั กฤษ 30 30 30 30 30 30 (1นก.) (1 นก.) (1 นก.)
คณิตศาสตร์ 40 40 40 40 40 40
วทิ ยาศาสตร์ 10 10 10 10 10 10 120 120 120
ภาษาไทย
ตา้ นทุจรติ 40 40 40 40 40 40 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.)
40 40 40 - - -
------ 880 880 880
------
(22 นก.) (22 นก.) (22 นก.)
40 40 40 40 40 40
120 120 120
40 40 40
25 25 25
40 40 40
15 15 15
40 40 40
- - -
80 80 80
40 40 -
- - 40
40 40 40
รวมเวลาเรียนทง้ั หมด 1,080 ชว่ั โมง/ปี 1,200 ช่วั โมง/ปี
หมายเหตุ * รายวชิ าภาษาอังกฤษ ชัน้ ป. ๑-๓ เวลาเรียน ๕ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๒๐๐ ชั่วโมง) จัดเปน็
รายวิชาพน้ื ฐาน ๔ ช่ัวโมง (๑๖๐ ชว่ั โมง) และในรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ๑ ชัว่ โมง (๔๐ชว่ั โมง)
จำนวนวันท่ีโรงเรยี นบา้ นเชียงอาดเปดิ ทำการจัดการเรยี นการสอนจรงิ ตลอดปีการศึกษา 2564
จำนวน ๒๐๐ วัน
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นบ้านเชียงอาด ปีการศึกษา 2564
๒๖
ส่วนท่ี 2
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนบา้ นเชยี งอาดดำเนนิ การประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง
การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ประจำปีการศกึ ษา 2564 แบง่ การประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา ออกเปน็ 2 ระดบั คือ ระดับปฐมวยั และระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน มผี ลการประเมิน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ดังนี้
1. มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย
มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย ระดับคณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ดเี ลิศ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคญั ดีเลิศ
ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก ระดับคุณภาพ : ดเี ลิศ
ผลพฒั นาการเด็กในด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญา
1.1 มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มสี ขุ นสิ ยั ทด่ี ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
1.2 มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้
1.3 มีพฒั นาการด้านสังคม ชว่ ยแหลือตนเอง และเป็นสมาชิกทดี่ ีของสังคม
1.4 มีพฒั นาการดา้ นสติปญั ญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหาความรไู้ ด้
1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนบา้ นเชยี งอาด ใชก้ ระบวนการในการพัฒนาคุณภาพเดก็ ปฐมวยั ภายใต้สถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใชร้ ูปแบบการจดั ประสบการณแ์ บบปกติ
(On-site) และ แบบ On Hand โดยมีการเว้นระยะหา่ งทางสังคม และการรว่ มกิจกรรมอย่างระมัดระวัง
ทกุ ขั้นตอน เน้นความปลอดภัยของผเู้ รียน โดยมีกระบวนการพฒั นาเด็กที่หลากหลาย โดยดำเนนิ การดงั น้ี
โรงเรียนยดึ วงจรบรหิ ารคุณภาพตามแนวคดิ เชงิ ระบบ (PDCA) ในการพัฒนาคุณภาพของเดก็
โดยผู้บริหาร ผู้นำชมุ ชน คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ครู ผูป้ กครอง ร่วมประชมุ ศกึ ษาสภาพ
ปจั จบุ นั ปัญหาของเดก็ ปฐมวัยในด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา ศึกษาผลพัฒนาการเด็ก
ปฐมวัยท้งั 4 ด้าน ในปีการศึกษาท่ีผา่ นมาจากรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาและผลการ
ประเมินคุณภาพภายนอกครง้ั ลา่ สดุ วเิ คราะห์วธิ ีปฏบิ ตั ิทเ่ี ปน็ เลิศเก่ียวกบั การพฒั นาคุณภาพเด็ก
ของสถานศกึ ษาอ่ืนเพ่ือนำมาประยุกตใ์ ชใ้ ห้เหมาะสมกบั สถานศึกษาของตนเอง นำผลทีไ่ ดม้ าสังเคราะหเ์ พ่ือ
วางแผนการจดั กจิ กรรมและโครงการรวมถึงการจดั ทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรตู้ ามหลักสูตรที่จะ
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นบ้านเชียงอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๒๗
ดำเนินการในปีการศึกษา 2564 ใหเ้ ปน็ ไปตามอตั ลกั ษณ์ของสถานศกึ ทีว่ า่ “คุณธรรมนำใจ ร่วมใจสืบสาน
วัฒนธรรมพ้ืนบา้ น มอื ประสานอนุรักษ์สิง่ แวดล้อม ” และครอบคลุมตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั ทง้ั 4
ด้าน คอื 1) มีพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มสี ขุ นิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ พิจารณา
จาก เด็กมนี ้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคลว่ ทรงตัวได้ดี ใช้มอื และตา
ประสานสัมพนั ธ์ไดด้ ี ดแู ลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนสิ ยั ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
เกย่ี วกบั ความปลอดภยั หลกี เล่ยี งสภาวะทเี่ ส่ยี งตอ่ โรค สิง่ เสพตดิ และระวังภัยจากบุคคล สิง่ แวดลอ้ ม
และสถานการณท์ ีเ่ ส่ยี งอนั ตราย 2) มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
พจิ ารณาจาก เด็กร่าเรงิ แจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สกึ ได้เหมาะสม รจู้ กั ยับย้ังชัง่ ใจ อดทนในการรอคอย
ยอมรบั และพอใจในความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อน่ื มจี ิตสำนึกและคา่ นิยมท่ดี ี มคี วามมนั่ ใจ
กลา้ พดู กลา้ แสดงออก ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั เคารพสิทธิ รู้หน้าทีร่ บั ผดิ ชอบ อดทนอดกลั้น ซื่อสตั ย์สจุ ริต
มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมตามท่สี ถานศึกษากำหนด ช่นื ชมและมีความสขุ กบั ศลิ ปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
3) มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชิกทดี่ ขี องสังคม พจิ ารณาจาก เด็กชว่ ยเหลอื ตนเอง
ในการปฏบิ ตั กิ จิ วัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วมดแู ลรกั ษาสิ่งแวดล้อม
ในและนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทย เชน่ การไหว้ การยมิ้ ทกั ทาย และมีสมั มาคารวะ
กับผใู้ หญ่ เป็นต้น ยอมรบั หรือเคารพความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล เช่น ความคดิ พฤติกรรม พ้นื ฐาน
ครอบครัว เช้อื ชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เปน็ ตน้ เล่นและทำงานรว่ มกับผู้อน่ื ได้ แก้ไขขอ้ ขัดแยง้ โดยปราศจาก
การใช้ความรนุ แรง 4) มีพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มที ักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้
พิจารณาจากเดก็ สนทนาโตต้ อบและเลา่ เร่ืองให้ผู้อ่นื เข้าใจ ตัง้ คำถามในสง่ิ ท่ีตนเองสนใจหรือสงสัย และ
พยายามค้นหาคำตอบ อ่านนิทานและเลา่ เร่ืองทต่ี นเอง อา่ นไดเ้ หมาะสมกับวัย มีความสามารถในการคดิ
รวบยอด การคิดเชงิ เหตผุ ลทางคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ การคดิ แก้ปญั หาและสามารถตัดสินใจ
ในเร่ืองงา่ ยๆ ได้ สร้างสรรค์ผลงานตามความคิด และจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคลื่อนไหวทา่ ทาง
การเลน่ อิสระ เปน็ ตน้ และใช้ส่ือเทคโนโลยี เชน่ แว่นขยาย แมเ่ หลก็ กล้องดจิ ิตอล เปน็ ตน้ เปน็ เคร่อื งมือ
ในการเรยี นร้แู ละแสวงหาความร้ไู ด้ โดยกำหนดค่าเปา้ หมายพฒั นาการเด็กทัง้ 4 ดา้ น ตามมาตรฐาน
การศกึ ษาปฐมวัยอย่างชดั เจน ร่วมกนั จดั ทำปฏทิ นิ การดำเนนิ งานตามกจิ กรรม/โครงการทัง้ หมด ระบุ
ระยะเวลาในการปฏบิ ัติงาน การตรวจสอบตดิ ตามและการสรุปรายงานอยา่ งชัดเจน
โรงเรยี นรว่ มกับผปู้ กครอง ชุมชน คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน โรงพยาบาลสง่ เสริม
สขุ ภาพบา้ นเชียงอาด อบต. และองคก์ รอ่นื ๆทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ดำเนนิ การจดั กิจกรรม/โครงการ จดั ประสบการณ์
การเรียนรตู้ ามแผนทไ่ี ดร้ ว่ มกันทำไว้อยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนือ่ ง บางกจิ กรรม/โครงการ ทไี่ ม่สามารถปฏิบตั ิ
ไดเ้ นือ่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผ้มู สี ว่ นเกีย่ วขอ้ งก็
ร่วมกันปรบั เปล่ียนตามสถานการณ์ในแตล่ ะชว่ งเวลา ซงึ่ กจิ กรรม/โครงการท่สี ถานศึกษาปฏิบัตเิ พ่อื สง่ เสริม
พฒั นาการทง้ั 4 ดา้ นของเดก็ ไดแ้ ก่ โครงการปรบั ปรุงห้องเรยี น โครงการพฒั นาวิชาการ โครงการอนรุ ักษ์
วฒั นธรรมไทย โครงการศูนย์เดก็ ปฐมวยั ต้นแบบ โครงการบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย ดำเนนิ การ
โดยประชาสมั พนั ธท์ างเพจโรงเรียนบา้ นเชยี งอาด กลมุ่ ไลน์ผู้ปกครองประชาสมั พนั ธเ์ สียงตามสาย 5
หมูบ่ า้ นในเขตบริการ
ในระหวา่ งการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ การจัดกจิ กรรม/โครงการต่าง ๆ สถานศกึ ษาและ
ผู้เกยี่ วขอ้ งได้มีการตรวจสอบ ตดิ ตามการดำเนนิ งานเปน็ ระยะตามปฏทิ ินทกี่ ำหนดไว้รว่ มกัน และสรุป
รายงานการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ การจดั กจิ กรรม/โครงการ ว่าบรรลุผลและเปน็ ไปตามเป้าหมาย
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบ้านเชยี งอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๒๘
ท่สี ถานศึกษากำหนดหรอื ไม่ มีจุดเดน่ จุดท่คี วรพฒั นาอย่างไรในแต่ละประเดน็ พจิ ารณาของพฒั นาการเดก็
ทั้ง 4 ด้าน โดยการประเมินจากการประเมินพัฒนาการนักเรียน ประเมนิ จากใบงาน แฟม้ สะสมผลงาน
เม่อื สถานศึกษาตรวจสอบและประเมนิ ผลการดำเนินงานทุกกิจกรรม/โครงการแลว้ ประเดน็ ใด
สามารถพัฒนา/ปรบั ปรงุ ได้ในปีการศกึ ษา 2564 ก็ได้ดำเนินการพัฒนา/ปรับปรุงเรยี บร้อยแล้วและจะ
พฒั นา/ปรับปรุงในปีการศึกษาตอ่ ไป ดังรายละเอยี ดตามผลการดำเนนิ งาน จุดเดน่ จดุ ควรพฒั นา และ
แนวทาง/แผนพัฒนาเพื่อใหไ้ ด้มาตรฐานท่ีสูงขึ้น
โรงเรียนนำเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของผ้เู รยี นเพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน นำเสนอช้แี จงในการประชมุ ตา่ ง ๆ ตอ่ ผ้ปู กครอง ชมุ ชนทเ่ี กี่ยวข้อง และจดั ส่ง
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวัยให้หนว่ ยงานต้นสงั กัดทุกปกี ารศึกษา
2. ผลการดำเนนิ งาน
โรงเรียนบา้ นเชยี งอาด ขอรายงานผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
ประกอบด้วย 4 ประเดน็ พจิ ารณาดงั น้ี
ตารางแสดงคา่ รอ้ ยละของเป้าหมายและผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
ค่าร้อยละ สรปุ ผล
การประเมิน
มาตรฐานที่ 1 เปา้ หมาย ผลการ
ประเมนิ สูงกว่าเป้าหมาย
1.1 มีพฒั นาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ัยที่ดี และ 70 85.25 สูงกวา่ เป้าหมาย
ดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้
สงู กวา่ เป้าหมาย
1.2 มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และ 70 86.48
แสดงออกทางอารมณ์ได้ สงู กว่าเป้าหมาย
ระดบั ดีเลศิ
1.3 มพี ัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ 70 88.84
สมาชิกท่ีดีของสงั คม
1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญา สอื่ สารได้ มีทักษะการ 70 80.29
คดิ พ้นื ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้
สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก
จากตารางแสดงค่าร้อยละของเป้าหมายและผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก
ปกี ารศึกษา 2564 พบว่า ผลการดำเนนิ การพฒั นาคุณภาพของเด็ก สงู กวา่ เปา้ หมาย จำนวน 4 ประเดน็
พจิ ารณา เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมของการดำเนนิ งานแล้วบรรลตุ ามเปา้ หมาย ทุกประเด็นพจิ ารณา และ
สถานศกึ ษามีการจดั ประสบการณต์ ามหลกั สตู ร มีแผนงาน โครงการและกิจกรรมเสรมิ พัฒนาการเด็ก
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง จงึ สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก อยู่ในระดับ ดเี ลิศ
3. จดุ เดน่
3.1 การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นร้ตู ามกิจกรรมหลกั 6 กิจกรรม โดยการจดั การเรียนรู้
แบบบูรณาการการเรยี นรู้ แบบ Active Learning การจัดประสบการณ์การเรียนรโู้ ดยการปฏบิ ตั ิจริง
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบา้ นเชียงอาด ปกี ารศึกษา 2564
๒๙
จากสถานการณท์ ่ีกำหนดขึ้นประกอบสื่อทห่ี ลากหลาย เพ่ือส่งเสริมทักษะทางสมอง Executive Function
(EF) และดำเนินงานตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ยประเทศไทย จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ ม
ในห้องเรยี นท่ีเอื้อตอ่ การเรียนรโู้ ดยเด็กมีส่วนรว่ ม ใช้ส่อื และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย
3.2 จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามโครงการสง่ เสรมิ พัฒนาการตามวยั ดว้ ยกระบวนการเรยี นรู้
ใหฉ้ ลาดทางปญั ญาและอารมณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 โดยผ้ปู กครองและผู้เก่ียวข้องมสี ่วนร่วม
นำผลการประเมินท่ไี ด้ไปปรบั ปรงุ การจัดประสบการณ์และพัฒนาเดก็
3.3 จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เดก็ มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สตปิ ญั ญา อยา่ งสมดุล เต็มศักยภาพโดยความร่วมมือของพอ่ แม่ และครอบครัว ชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง
โรงเรียนไดด้ ำเนนิ การพัฒนา โดยจัดโครงการ/กิจกรรม ดังนี้ โครงการอาหารเสรมิ (นม) โครงการอาหาร
กลางวนั โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพในโรงเรียน โครงการสรา้ งและพฒั นาทักษะวิชาการของเด็กปฐมวัย
แบบประเมินพัฒนาการเด็ก บนั ทกึ ผลการจัดประสบการณ์ สมุดรายงานประจำตวั เด็ก บันทึกนำ้ หนัก
สว่ นสงู ของเดก็ บันทึกตรวจสุขภาพนักเรียน และบนั ทึกการแปรงฟนั ของนักเรียน สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รับ
ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบตั ิกิจกรรม เรียนรู้ลงมือทำและสรา้ งองค์ความรูด้ ้วยตนเองอย่างมีความสุข
จัดบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมในห้องเรยี นทเี่ อื้อต่อการเรยี นรู้โดยเดก็ มีสว่ นร่วม ครูประเมินพฒั นาการ
เด็กตามสภาพจริงด้วยวิธีการทีห่ ลากหลาย โดยผูป้ กครองและผ้เู ก่ียวข้องมสี ว่ นรว่ มนำผลการประเมินท่ไี ด้
ไปปรับปรุงการจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็ โดยจดั โครงการ/กิจกรรม ดงั นี้ โครงการปรบั ปรงุ ห้องเรยี น
โครงการพัฒนาวชิ าการ โครงการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย โครงการศูนย์เด็กปฐมวยั ตน้ แบบปี โครงการ
โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และครูบันทึกผลการประเมินพัฒนาการเป็นประจำทุกปี
4. จุดควรพัฒนา
โรงเรียนควรส่งเสรมิ และพัฒนาการจัดประสบการณท์ ส่ี ่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมีพฒั นาการด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญาอยา่ งสมดุลเต็มศกั ยภาพ ภายใตส้ ถานการณแ์ พรร่ ะบาดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ตามมาตรการความปลอดภยั ในการจัดการศกึ ษาให้ดีข้นึ ไปในทุกๆ ปี
โดยการรว่ มมอื กับพ่อแม่ ผูป้ กครอง ครอบครัว ชุมชน โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพเหลา่ ตา่ งคำ อบต.
และองคก์ รต่างๆ ที่เกย่ี วขอ้ งร่วมกบั โรงเรียนให้มีการดำเนินการต่อเนื่องและพัฒนาให้ดขี ้ึนในลำดบั ต่อไป
5. แนวทาง/แผนพัฒนาเพอื่ ใหไ้ ด้มาตรฐานที่สงู ขึ้น
ดำเนินการจัดการศึกษาระดบั การศึกษาปฐมวัยใหเ้ ด็กในชว่ งอายุ ๔ – ๖ ปี ได้รบั การพัฒนา
ทางรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปัญญา เต็มตามศกั ยภาพ และมีความพร้อมที่จะเขา้ เรียน
ในระดบั ประถมศกึ ษาศึกษา โดยจัดกิจกรรมแบบบูรณาการการเรยี นรู้ และแบบ Active Learning
การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้โดยการปฏิบัตจิ ริงจากสถานการณท์ ่ีกำหนดข้ึนประกอบส่ือท่หี ลากหลาย
เพ่ือส่งเสรมิ ทกั ษะทางสมอง Executive Function (EF) ใหเ้ ดก็ ทำกจิ กรรมตามกจิ วัตรประจำวนั และบนั ทึก
ผลการจดั ประสบการณ์ ด้านรา่ งกายมีการบนั ทึกการตรวจสุขภาพประจำวันตามแบบบันทึกผลการประเมนิ
สภาวะการเจรญิ เติบโต สุขภาพอนามัย และสขุ นสิ ยั ทดี่ ี มกี ารชัง่ นำ้ หนักและวดั ส่วนสงู เป็นประจำทกุ เดอื น
และมกี ารประเมนิ พฒั นาการนกั เรียนทจี่ บหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ดา้ นอารมณ์ จิตใจ โรงเรียนสง่ เสรมิ ให้
นักเรียนมีความมัน่ ใจ กล้าคดิ กล้าแสดงออกใหเ้ หมาะสมตามวัย โดยใหเ้ ดก็ เขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการต่างๆ
ทท่ี างโรงเรยี นจัดขน้ึ เช่น โครงการศนู ยเ์ ด็กปฐมวยั ต้นแบบ ดา้ นสงั คม โรงเรยี นมีการส่งเสรมิ ให้เดก็ มี
พฤติกรรมแสดงออกด้านสังคมใหเ้ หมาะสมตามวยั โดยมวี ินัยมีความรับผดิ ชอบ เช่อื ฟงั คำส่งั สอนของ พ่อแม่
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรียนบ้านเชยี งอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๓๐
ผปู้ กครองและครู เด็กมีความซือ่ สัตย์ สจุ ริต ช่วยเหลอื แบ่งบนั เลน่ และทำงานรว่ มกับผู้อื่นไดแ้ ละประพฤติ
ตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาทต่ี นนบั ถือ เดก็ ชว่ ยเหลือตวั เองตามกิจวตั รประจำวนั และเป็นสมาชิกท่ดี ี
ของสังคม โดยจัดกจิ กรรมต่างๆ เช่น กจิ กรรมน้องไหวพ้ ี่ กจิ กรรมวันสำคญั ดา้ นสตปิ ัญญา โรงเรียนส่งเสรมิ
ให้เดก็ มีความสามารถในการคิดอยา่ งเป็นระบบคดิ สรา้ งสรรค์ ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหา ได้อย่างมีสตสิ มเหตุสมผล
โดยจดั โครงการกจิ กรรมตา่ งๆ เช่น โครงการพฒั นาวิชาการ โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ ้อยประเทศไทย
6. ขอ้ มูล หลกั ฐาน และเอกสารเชงิ ประจักษ์ ทสี่ นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
6.1 รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการพฒั นาวิชาการ
6.2 รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ/กิจกรรม บา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
6.3 รายงานผลการดำเนินงานโครงการปรบั ปรุงห้องเรียน
6.4 โครงการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมไทย
6.5 โครงการศูนยเ์ ดก็ ปฐมวยั ต้นแบบ
6.6 รายงานการจดั กิจกรรมการทดลอง 20 กิจกรรม
6.7 บญั ชีเรยี กชอ่ื และสมุดบันทกึ พฒั นาการเด็กนกั เรยี น (อบ.1)
6.8 บนั ทึกพฒั นาการของผู้เรียน (อบ.2)
6.9 แบบประเมนิ มาตรฐานการศึกษา ชน้ั อนบุ าล 2 และ ช้นั อนบุ าล 3
6.10 แบบรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านและการประเมนิ ตนเองรายบุคคลของครูปฐมวัย
6.11 แฟ้มสะสมผลงานเด็ก
6.12 ภาพถ่าย วดิ ีทัศน์ วิดีโอ การนำเสนองานผ่านเพจเฟสบุ๊คโรงเรยี นบ้านเชียงอาด
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คุณภาพ : ดเี ลศิ
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนบ้านเชยี งอาด มกี ระบวนการบริหารจดั การศึกษา โดยได้ดำเนินทงั้ ส้ิน 5 โครงการ
ดงั น้ี โครงการปรบั ปรุงห้องเรียน โครงการพฒั นาวชิ าการ โครงการอนุรักษ์วฒั นธรรมไทย โครงการศนู ย์เด็ก
ปฐมวัยต้นแบบปี โครงการโครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย โดยการการจัดการศึกษาภายใต้
สถานการณ์แพร่ระบาดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทางโรงเรยี นได้ ดำเนินการเปดิ เรียนให้ครบ
200 วนั มีการเรยี นชดเชยในวันเสาร์ ในภาคเรียนที่ 1 มีการเรยี นแบบ onsite, on hand ผู้เรยี นสามารถ
ไดร้ บั การเรยี นรู้ครบตามมาตรฐานตวั ชี้วดั ของหลักสตู ร มกี ารปรบั กระบวนการสอน ดังน้ี
1.1 มหี ลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน ทางโรงเรยี น
มนี โยบายพัฒนา หลกั สตู รให้สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรแกนกลางและ ครอบคลุมพฒั นาการทั้ง ๔ ด้าน
ของผูเ้ รยี นอยา่ งชัดเจนและสม่ำเสมอ โดยความร่วมมือของพ่อแม่ ผูป้ กครอง ชุมชนและองค์กร
ทเี่ กี่ยวข้อง
1.2 จดั ครใู ห้เพยี งพอกับชนั้ เรียน โรงเรียนมสี ดั ส่วนครทู ่เี หมาะสมกับจำนวน ของผ้เู รยี น
โดยมีอัตราส่วน 1:20 และครูประจำช้นั ทุกคนจบ การศึกษาปฐมวยั และมีใบประกอบวิชาชพี ครู
1.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รูมคี วามเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ เพม่ิ แนวทางการพฒั นาส่งเสริม
ให้ครมู คี วามรู้ความเชยี่ วชาญในดา้ นการจัดประสบการณ์ โดยการเข้าอบรมพัฒนาตนเองทางออนไลน์
และเป็นวิทยากรให้ความรู้ในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ในโครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
และการประเมินพฒั นาการนักเรียนท่จี บการศกึ ษาปฐมวัย
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรียนบ้านเชยี งอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๓๑
1.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือการเรียนรู้อยา่ งปลอดภัยและเพียงพอ โรงเรยี นมนี โยบาย
ดา้ นการปรับภูมิทัศน์สง่ิ แวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน แหล่งเรียนรู้ โดยคำนึงถึงความปลอดภัย
ของเด็ก
1.5 ใหบ้ รกิ ารสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรยี นร้เู พ่ือสนบั สนนุ การจัดประสบการณ์
ทางโรงเรยี นจดั การเรียนการสอนในหอ้ งเรียน มีสอ่ื เทคโนโลยี มีมุมประสบการณส์ ำหรับเด็กปฐมวยั
อย่างน้อย 5-6 มุม และครูมีกจิ กรรมเสรีสนับสนนุ มีการใชส้ ่ือเทคโนโลยี
1.6 มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกย่ี วข้องทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม จดั โครงการ/กจิ กรรม
ทีส่ ง่ เสริมพฒั นาการของ ผ้เู รียน และการมีสว่ นรว่ มของ บุคคลทเี่ กีย่ วข้อง
โรงเรียนใช้กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รียนโดยยึดวงจรบรหิ ารคณุ ภาพตามแนวคิดเชงิ ระบบ
(PDCA) โดยผบู้ รหิ าร ผู้นำชุมชน คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ครู ผ้ปู กครอง นักเรียน รว่ มประชมุ
ศกึ ษาสภาพปัจจุบนั ปญั หา เกย่ี วกับ เปา้ หมายวสิ ัยทัศน์และพนั ธกิจทสี่ อดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
ความตอ้ งการชุมชน นโยบายรฐั บาล แผนการศกึ ษาแห่งชาติ ระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ การพัฒนาวชิ าการที่เนน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศึกษา การพฒั นา
บุคลากรตรงตามความต้องการของครูและสถานศกึ ษา จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเี่ อ้ือต่อ
การจัดการเรยี นรแู้ ละมีความปลอดภัย จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและ
การจดั การเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา นำผลที่ได้จากการวเิ คราะหร์ ว่ มกันมาวางแผนการ
ดำเนนิ งานดงั นี้ ได้มีการจัดหลกั สตู รครอบคลมุ พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกบั บริบทของทอ้ งถ่นิ
จดั หลกั สตู รให้สอดคล้องกับหลกั สูตรแกนกลางและครอบคลุมพฒั นาการท้งั ๔ ดา้ น ได้มีการกำหนด
เปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกิจของสถานศึกษาไว้อยา่ งชดั เจน มอี งคป์ ระกอบทสี่ ำคญั เพื่อที่จะขับเคลื่อน
การศกึ ษาระดับปฐมวัย ได้แก่ การพัฒนาวชิ าการท่ีเนน้ คณุ ภาพเดก็ รอบด้านตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
ปฐมวยั ไดม้ ีการพฒั นาหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ให้สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถน่ิ พิจารณาจากวัย
ของเด็กประสบการณ์ของเดก็ โดยเปน็ หลักสูตรทม่ี งุ่ พัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งดา้ นร่างกาย อารมณ์จิตใจ สงั คม
และสตปิ ญั ญา เพ่ือให้เด็กมีความสุขในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ สำหรับดา้ น
ระบบกลไกการเสริมสรา้ งความตระหนักรบั รู้ และความเขา้ ใจการจดั การศึกษาปฐมวยั โดยให้ผมู้ สี ่วนรว่ ม
ทกุ ฝ่ายได้มบี ทบาทในการมสี ่วนรว่ มการจดั การศึกษา โดยใหม้ กี ารประสานความรว่ มมือเพื่อรว่ มกันพฒั นา
เด็กตามศกั ยภาพ
การจดั การศกึ ษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา ได้มีการจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพทเ่ี อ้ือต่อ
การเรยี นรู้อย่างมคี ุณภาพและจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการเพื่อ
การจัดการเรยี นรู้ จัดให้มีอุปกรณ์ ของเลน่ ของใช้ ใหพ้ อเพียงกับเดก็ โดยจัดใหเ้ หมาะสม สะอาด ปลอดภยั
ใหม้ มี ุมหนงั สือทจ่ี ำเป็นต่อพัฒนาการของเด็กให้เพียงพอและเหมาะสมกับวยั จัดให้มีพืน้ ทสี่ ำหรบั แปรงฟนั
ล้างมือ ทำความสะอาดรา่ งกาย ห้องน้ำหอ้ งส้วม พรอ้ มอปุ กรณท์ ี่จำเปน็ และเหมาะสมกับเด็กมีหลกั สตู ร
ปฐมวยั สอดคลอ้ งกับหลักสูตรสถานศกึ ษาเปน็ รูปแบบการจัดประสบการณ์ ท่กี ่อใหเ้ กดิ การเตรยี มความ
พรอ้ ม เนน้ การเรียนร้ผู า่ นการเลน่ และการลงมือปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชวี ิตของครอบครวั ชุมชน
และท้องถิ่น จดั ครูทีเ่ หมาะสมกบั การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ มีครูประจำการทจี่ บการศึกษาปฐมวยั
ส่งบคุ ลากรเข้ารับการอบรมเพอื่ พัฒนาศักยภาพดา้ นการศึกษาปฐมวยั อย่างต่อเนือ่ ง ซ่ึงสง่ ผลให้ครดู า้ น
การศึกษาปฐมวยั มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมนิ พัฒนาการเด็กเป็นรายบคุ คล
มีประสบการณใ์ นการออกแบบการจดั กิจกรรมทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธ์ที่ดกี ับเด็กและ
ผู้ปกครอง มมี มุ ประสบการณ์และสื่อการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลายท่ีไดจ้ ากธรรมชาตหิ รือส่อื ในชมุ ชน
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบ้านเชยี งอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๓๒
มงุ่ เนน้ ให้เกดิ การเรยี นรู้แบบเรียนปนเลน่ มีความสขุ ในการเรียนรู้ มีสอ่ื เทคโนโลยใี ช้ในการสบื เสาะหาความรู้
มกี ารจัดส่ิงอำนวยความสะดวกให้บรกิ ารด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณเ์ พื่อสนบั สนุนการจดั
ประสบการณ์เพื่อพัฒนาครูอยา่ งเพียงพอและท่ัวถงึ มีการจดั ทำแผนการจัดประสบการณ์ทีส่ อดคล้องกับ
มาตรฐานตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั
สถานศึกษามีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผเู้ กย่ี วข้องทุกฝ่ายมสี ว่ นร่วม มีการกำหนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์
ท่ีสถานศึกษากำหนด มสี อื่ การเรียนรทู้ ี่หลากหลายท่ีได้จากธรรมชาตหิ รือสื่อการเรียนรใู้ นชมุ ชน
จดั โครงการกิจกรรมเพอ่ื ใหช้ ุมชนเข้ามามีส่วนรว่ มในการพัฒนาบตุ รหลาน เชน่ กิจกรรมวันเดก็ กจิ กรรม
วันแม่ ซ่งึ กิจกรรมทีส่ ง่ เสรมิ พัฒนาการของเดก็ ให้สามารถแสดงออกอยา่ งสร้างสรรค์ และการมสี ว่ นรว่ ม
ของชุมชนและ ผู้ปกครองเด็ก มกี ารนำเสนอข้อมลู พฒั นาการของเด็ก ผ่านทางส่ือออนไลน์ เช่น เพจ
เฟสบุค๊ โรงเรียน กลุ่มไลน์ของผ้ปู กครองเดก็ เป็นต้น
3. ผลการดำเนินงาน
โรงเรยี นบ้านเชยี งอาด ขอรายงานผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหาร
และการจัดการระดับปฐมวยั ของปีการศึกษา 2564 ดังนี้
ตารางแสดงผลการประเมินมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ปีการศกึ ษา 2564
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดับคุณภาพ สรุปผล
เป้าหมาย ผลการประเมิน การประเมนิ
2.1 มหี ลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น ดี ดีเลิศ สงู กว่าเป้าหมาย
สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถ่ิน
2.2 จัดครูใหเ้ พยี งพอกบั ช้นั เรียน ดี ดีเลศิ สงู กวา่ เป้าหมาย
2.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รูมคี วามเชี่ยวชาญด้านการจดั ดี ดี เปน็ ไปตาม
ประสบการณ์ เปา้ หมาย
2.4 จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อยา่ ง ดี ดเี ลศิ สูงกว่าเปา้ หมาย
ปลอดภยั และเพยี งพอ
2.5 ใหบ้ รกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการ ดี ดเี ลศิ สูงกวา่ เปา้ หมาย
เรยี นรเู้ พือ่ สนบั สนุนการจัดประสบการณ์
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีเปดิ โอกาสให้ผเู้ กี่ยวขอ้ ง ดี ดเี ลศิ สงู กวา่ เป้าหมาย
ทกุ ฝ่ายมสี ่วนรว่ ม
สรุปผลการประเมิน มาตรฐานท่ี 2 ระดับดีเลศิ
กระบวนการบริหารและการจดั การ
จากตารางแสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ปกี ารศึกษา
2564 พบว่า ผลกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ เป็นไปตามเปา้ หมาย จำนวน 1 ประเด็นพิจารณา
สงู กว่าเปา้ หมาย จำนวน 5 ประเด็นพิจารณา และ ต่ำกวา่ เปา้ หมาย จำนวน - ประเดน็ พิจารณา
เม่ือพิจารณาโดยภาพรวมของการดำเนนิ งานแล้ว สงู กวา่ เป้าหมาย เปน็ ส่วนใหญ่
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบา้ นเชียงอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๓๓
3. จุดเดน่
สถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาระดับปฐมวยั การเตรยี มความพร้อมใหเ้ ต็มรปู แบบท่ชี ดั เจน
ตามทีห่ ลักสตู รกำหนด ครไู ดเ้ ขา้ รบั การอบรมพัฒนาตนเอง อยา่ งน้อย 2 คร้งั ตอ่ ปี และได้นำความรู้
มาจดั ประสบการณ์ จดั สภาพแวดลอ้ ม และสื่อเพ่ือการเรียนร้ไู ด้อยา่ งปลอดภยั โดยใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศ และสอื่ การเรยี นรู้เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณส์ ำหรบั ครู มีระบบบริหารคณุ ภาพ
ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เกย่ี วข้องทกุ ฝ่ายมีส่วนรว่ ม
4. จดุ ควรพัฒนา
ผบู้ รหิ ารได้สรรหา พร้อมท้ังพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาใหต้ รงกับสายงานด้าน
การสอน มีการจัดอาคารเรียนให้เปน็ เอกเทศ จดั สภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้
ต่อผเู้ รยี น และสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้ปกครอง และชุมชนมีสว่ นร่วมในการพัฒนาเด็กปฐมวยั ให้เปน็ ไปตามศักยภาพ
ของผู้เรียนแต่ละบุคคล
5. แนวทาง/แผนพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานท่สี งู ขนึ้
สถานศกึ ษามวี ิธีการแนวทางและการปฏบิ ตั ิในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย เพ่ือพฒั นา
ใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคมและสตปิ ญั ญาทเ่ี หมาะสมกับวยั ตามความสามารถ
และความแตกต่างระหวา่ งบุคคล โดยมหี ลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา และนำไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิได้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ มรี ะบบและกลไกลให้มสี ว่ นรว่ มทุกฝ่ายตระหนกั และเขา้ ใจการจัดการศกึ ษาปฐมวยั
มกี ารสร้าง การมสี ่วนรว่ มและแสวงหาความรว่ มมือกบั ผ้ปู กครอง ชมุ ชนและท้องถ่ิน ร่วมทง้ั มีการจดั
สง่ิ อำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนาการเดก็ อยา่ งรอบดา้ น โดยมี (โครงการ/กิจกรรมทที่ ำ) ดังนี้
โครงการจดั ทำหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั รายงานการวจิ ยั และตดิ ตามผลการใช้หลกั สูตรการศึกษา
ปฐมวัยของสถานศึกษา สรุปผลและรายงานการทบทวน ปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ของ
สถานศึกษาบนั ทึกการประชุม คำสัง่ ภาพถา่ ยหลักฐานอน่ื ที่เกยี่ วขอ้ งแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี และทะเบียน
ส่ือการเรียนรู้
สถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐานดำเนนิ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาตามกฎกระทรวงวา่ ด้วย
ระบบหลกั เกณฑ์ และวธิ ีการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ โดยใช้หลกั การมีส่วนรว่ มของชมุ ชนและ
หน่วยงานทเี่ ก่ียวข้องทัง้ ภาครัฐและเอกชน โดยที่การดำเนินงานของสถานศึกษาต้องครอบคลุมมาตรฐาน
และตวั บ่งช้ีตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ งใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน เพอื่ การประกนั
คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาและแนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตาม
กฎกระทรวง โดยมี (โครงการ/กจิ กรรมที่ทำ) ดงั นี้ โครงการจดั ทำหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ของสถานศึกษา
คำสง่ั มอบหมายงานให้บคุ ลากรปฏบิ ัตงิ านตามแผนงานโครงการ /กจิ กรรมที่กำหนดไว้ รายงานประจำปี
และการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศของสถานศกึ ษา
สถานศึกษามีการกำหนดวธิ กี ารหรือข้ันตอนการดำเนินงานสรา้ งสง่ เสริมชว่ ยเหลอื สนับสนุน
ใหม้ กี ระบวนการทเ่ี กื้อหนนุ ให้บุคลากรในสถานศกึ ษาชุมชน พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และผู้ท่มี ีสว่ นเกีย่ วขอ้ ง
เกิดการเรียนรโู้ ดยผา่ นสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศแหลง่ การเรียนรู้ องค์ความรู้ตา่ ง ๆ จนสามารถสรา้ งความรู้
ทกั ษะมีระบบการจดั การความรู้ มีการถ่ายทอดความรู้ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ร่วมกนั ทั้งบุคคลในสถานศึกษา
ชุมชน พ่อแม่ ผู้ปกครองและผ้มู สี ว่ นเก่ียวขอ้ งโดยมี (โครงการ/กิจกรรมทีท่ ำ) ดงั นี้ แผนพฒั นาการจดั
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี รายงานสรปุ ผลการประเมินโครงการ กิจกรรมพัฒนา
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบ้านเชียงอาด ปีการศึกษา 2564
๓๔
เดก็ ปฐมวยั ทะเบียนการใช้แหล่งเรียนรู้ ป้ายนิเทศการจัดกิจกรรมต่างๆ ภาพถ่ายกิจกรรมตา่ งๆ ที่เกี่ยวกับ
การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ฯลฯ และเอกสารหลกั ฐาน
โรงเรยี นมีกระบวนการดำเนินการและบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาเพ่ือให้คุณภาพการจัด
การศึกษาตามปรัชญา วิสยั ทศั น์ จดุ เนน้ ของการศึกษาปฐมวยั เปา้ หมาย กลยุทธ์ กจิ กรรมหรือโครงการ
ทีส่ ่งเสรมิ พัฒนาการเด็กอยา่ งองคร์ วม ซ่ึงเกดิ จากการมสี ว่ นรว่ มของผ้บู รหิ าร ครู พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ชมุ ชน
และองค์กรภายนอก มีผลกการดำเนนิ งานสะท้อนความเปน็ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา โดยมี(โครงการ/
กิจกรรมท่ีทำ) ดังน้ี แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีระดบั ปฐมวัย
รายงานการประเมินพัฒนาการเดก็ ทจี่ บการศึกษาตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั โครงการสรา้ งและพฒั นา
ทักษะวิชาการเด็กปฐมวยั รายงานผลการปฏิบัติงานและรายงานสรุปการประเมนิ โครงการ
โรงเรียนจัดกิจกรรมตามนโยบายแนวทางการปฏิรปู การศึกษาเพ่ือยกระดับคุณภาพให้สูงขนึ้
โดยมกี ารกำหนดแนวทางพฒั นารว่ มกนั ชีแ้ นะป้องกนั และแก้ปัญหาสงั คมตามนโยบายและแนวทางปฏิรูป
การศกึ ษาของหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้องโดยมี (โครงการ/กจิ กรรมทท่ี ำ) ดังนี้ แผนพฒั นาการจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษาของสถานศึกษา แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี โครงการเสรมิ สร้างพฒั นาทักษะวชิ าการเดก็
ปฐมวัย รายงานสรุปผลการประเมินโครงการหรือรายงานผลการปฏิบตั งิ านรายงานการประชมุ และ
บันทกึ การประชุมของงานท่ีเก่ยี วข้อง
6. ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนับสนุนผลการประเมินตนเอง
6.1 แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี 256๔
6.2 หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปกี ารศึกษา 2564
6.3 แผนการจัดประสบการณท์ ี่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั
6.4 แบบรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานและการประเมินตนเองรายบคุ คลของครูปฐมวยั
6.5. แบบประเมนิ มาตรฐานการศึกษา ชั้นอนุบาล 2 และ ช้ันอนุบาล 3
6.6 ภาพถ่าย วิดที ศั น์ วิดโี อ การนำเสนองานผ่านเพจเฟสบุ๊คโรงเรยี นบ้านเชียงอาด
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ที่เน้นเดก็ เป็นสำคญั ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเยี่ยม
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นบ้านเชียงอาด ไดด้ ำเนนิ การพฒั นาครูให้มีกระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้น
เดก็ เปน็ สำคัญ ยดึ หลักการบริหาร/เทคนคิ การบรหิ ารแบบการพฒั นาตามกระบวนการ PDCA
ครพู ฒั นาการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรอู้ ย่าภายใต้สถานการณ์ covid และตดิ ตามเดก็ ตามประเดน็
พิจารณาดงั น้ี
1.๑ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดุลเต็มศกั ยภาพ
โรงเรยี นบ้านเชยี งอาด ใช้โดยประสบการณ์การเรยี นรู้แบบบูรณาการ กระบวนการเรียนรูผ้ า่ นประสาทสมั ผสั
ทงั้ ๕ จดั ประสบการณ์เรยี นร้สู ำหรับเด็กปฐมวัย 6 กิจกรรมหลกั จัดกิจกรรมตามโครงการในแผนปฏิบตั ิการ
ประจำปขี องโรงเรยี น ยดึ หลกั การบรหิ าร/เทคนิคการบริหารแบบการพฒั นาตามกระบวนการ PDCA
1.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัตอิ ยา่ งมีความสุข
จดั การศึกษาภายใตส้ ถานการณ์แพร่ระบาดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) จัดประสบการก์ าร
เรียนรแู้ บบ onsite, on hand ผู้เรยี นสามารถได้รับการเรียนร้คู รบตามมาตรฐานตวั ชีว้ ดั ของหลักสูตร
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบ้านเชยี งอาด ปกี ารศึกษา 2564
๓๕
1.3 จดั บรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ ใช้ส่ือและเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกับวยั จดั ทีน่ ั่ง
บรรยากาศโดยเวน้ ระยะห่างอย่างนอ้ ย ๑-๒ เมตร มจี ุดคัดกรองก่อนเขา้ โรงเรยี นและหอ้ งเรยี น ครจู ัดหา
และใชส้ ื่อเทคโนโลยโี ดยการเรียนรู้ทางอินเตอรเ์ นต็
1.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมนิ พัฒนาการเด็ก
ไปปรบั ปรงุ การจัดประสบการณ์และพฒั นาเดก็ การประเมินพฒั นาการและการเรยี นรูเ้ ป็นองค์ประกอบ
ทีส่ ำคัญอย่างยิ่งในการพฒั นาเด็กปฐมวัย เปน็ กระบวนการรวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกับพฤติกรรมและ
ความสามารถของเด็กในดา้ นตา่ งๆ ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง แลว้ นำมาเรยี บเรยี ง
อยา่ งเปน็ ระบบเพื่อใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการตัดสินใจเกย่ี วกับเด็กหรือการจัดประสบการณ์ให้แกเ่ ด็ก
การประเมินพฒั นาการและการเรียนรู้เป็นสิง่ ทีค่ วรเกิดข้ึนควบคู่ไปกบั การจดั ประสบการณ์ตามปกติ
ในกิจวัตรประจำวนั ครูประเมินอยา่ งต่อเนื่องและเปน็ ระบบจะสามารถใชห้ ลกั สูตรและจัดประสบการณ์ได้
อย่างเหมาะสมกบั วัย และความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของเดก็ ใชห้ ลกั การประเมินพฒั นาการของเด็ก
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มีดังน้ี
๑. ประเมนิ พฒั นาการของเด็กครบทุกดา้ นและนำผลมาพัฒนาเด็ก
๒. ประเมินเป็นรายบคุ คลอย่างสมำ่ เสมอตอ่ เน่ืองตลอดปี
๓. สภาพการประเมินควรมลี ักษณะเชน่ เดยี วกบั กจิ กรรมประจำวนั
๔. ประเมินอย่างเปน็ ระบบ มีการวางแผนเลอื กใช้เคร่ืองมือ และจดบันทกึ ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน
๕. ประเมินตามสภาพจรงิ ดว้ ยวธิ ีการหลากหลายเหมาะกบั เดก็ รวมทั้งใชแ้ หลง่ ขอ้ มลู หลายๆ
ดา้ นไม่ควรใช้การทดสอบ
ครปู ระเมินพฒั นาการของเดก็ ปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ และการจดั กิจวัตร
ประจำวันของเดก็ ด้วยเคร่ืองมอื และวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย เชน่ การสังเกต การสอบถาม การสำรวจ
และการวเิ คราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก โดยใหผ้ ู้ปกครองมีส่วนร่วม เพ่อื ไดน้ ำผลการประเมนิ ไปพฒั นา
ศกั ยภาพของเด็กและพัฒนาการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ในชัน้ เรยี นเพ่ือพัฒนาครูอยา่ งเพียงพอ
และทั่วถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาท่สี อดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั
และอตั ลักษณ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ทีส่ อดคล้องกับมาตรฐานตาม
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการ
ดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มกี ารนำผลการประเมินไปปรับปรุงพฒั นา
คณุ ภาพสถานศึกษา โดยทุกฝา่ ยมีส่วนร่วม พร้อมท้งั รายงานผลการประเมนิ ตนเองให้หนว่ ยงานต้นสงั กัด
อยา่ งต่อเน่ือง
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรียนบา้ นเชียงอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๓๖
2. ผลการดำเนนิ งาน
โรงเรยี นบา้ นเชียงอาด ขอรายงานผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์
ท่เี น้นเด็กเปน็ สำคญั ประกอบดว้ ย 4 ประเด็นพิจารณาดังน้ี
ตารางแสดงค่ารอ้ ยละของเป้าหมายและผลการประเมินมาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่ีเนน้ เดก็
เป็นสำคัญ ปกี ารศึกษา 2564
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเน้นเดก็ เปน็ ค่าร้อยละ สรุปผล
สำคัญ การประเมิน
เปา้ หมาย ผลการ สงู กว่าเปา้ หมาย
ประเมนิ สงู กว่าเป้าหมาย
สูงกว่าเป้าหมาย
3.1 จัดประสบการณท์ ี่ส่งเสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทุก 70 86.67
ดา้ นอยา่ งสมดลุ เตม็ ศักยภาพ สงู กว่าเป้าหมาย
ยอดเย่ียม
3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รบั ประสบการณ์ตรง เล่นและ 70 85
ปฏิบตั ิอย่างมีความสุข
3.3 จดั บรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ใชส้ อ่ื และ 70 95
เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วยั
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผล
การประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการจัด 70 93.33
ประสบการณ์และพัฒนาเดก็
สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 3
การจัดประสบการณ์ที่เนน้ เด็กเปน็ สำคญั
จากตารางแสดงค่าร้อยละของเปา้ หมายและผลการประเมินมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัด
การเรียนการสอนทีเ่ นน้ เด็กเป็นสำคัญ ปกี ารศึกษา 2564 พบวา่ ผลการดำเนนิ การพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน
สงู กว่าเปา้ หมาย จำนวน 4 ประเด็นพจิ ารณา เม่ือพจิ ารณาโดยภาพรวมของการดำเนินงานแลว้ บรรลุ
เปา้ หมาย ทุกประเดน็ พิจารณา จงึ สรปุ ผลการประเมิน มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเด็ก
เปน็ สำคญั อยู่ในระดับ ยอดเย่ยี ม
3. จดุ เดน่
โรงเรยี นจดั ประสบการณส์ ง่ เสริมให้เด็กมีพฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ
สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรงเรียนปนเลน่ และปฏบิ ตั ิอยา่ งมีความสุข โดยเข้ารว่ มโครงการบา้ น
นกั วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รนุ่ ท่ี 2 ตงั้ แตป่ ีการศึกษา 2555 จดั บรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ใช้ส่ือ
และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกบั วยั มกี ารประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ
พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณ์และพฒั นาเด็ก
4. จดุ ควรพัฒนา
โรงเรียนควรมีการประชุม นิเทศ ติดตามผล ครูและบุคลากรทางการศึกษา และเด็ก
ในระดับปฐมวัยเกี่ยวกับจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ
สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างเป็นสุข การจัดบรรยายกาศที่เอื้อต่อการ
รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรียนบา้ นเชยี งอาด ปกี ารศึกษา 2564
๓๗
เรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย และประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง อย่างน้อยปีละ
๒ ครั้ง
5. แนวทาง/แผนพฒั นาเพ่ือใหไ้ ดม้ าตรฐานทส่ี งู ข้นึ
ทางโรงเรยี นจดั ประสบการณ์ทส่ี ง่ เสริมใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ
สังคม และสติปญั ญา อยา่ งสมดุล เตม็ ศกั ยภาพโดยความร่วมมอื ของพ่อแม่ และครอบครวั ชุมชน และ
ผู้เกี่ยวข้อง โรงเรยี นได้ดำเนนิ การพฒั นา โดยจัดโครงการ/กิจกรรม ดังน้ี โครงการปรับปรุงห้องเรียน
โครงการพฒั นาวิชาการ โครงการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย โครงการศนู ยเ์ ด็กปฐมวยั ต้นแบบ โครงการ
บา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย แบบประเมินพฒั นาการเด็ก บนั ทกึ ผลการจดั ประสบการณ์
สมุดรายงานประจำตัวเดก็ บันทึกนำ้ หนกั ส่วนสงู ของเด็ก บนั ทึกตรวจสขุ ภาพนักเรยี น และบนั ทึก
การแปรงฟันของนกั เรยี น สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบัติกจิ กรรม เรียนรลู้ งมอื ทำ
และสรา้ งองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเองอย่างมีความสขุ ได้ดำเนนิ การพัฒนา โดยจดั โครงการ/กจิ กรรม ดงั น้ี
การจัดทำกิจวตั รประจำวันและกิจกรรมหลกั 6 กิจกรรม และดำเนินงานตามโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตร์
นอ้ ย ประเทศไทย โครงการส่งเสรมิ พฒั นาการตามวัยดว้ ยกระบวนการเรียนรใู้ ห้ฉลาดทางปญั ญาและ
อารมณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 จัดบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมในหอ้ งเรยี นที่เอื้อตอ่ การ
เรยี นรู้โดยเดก็ มีส่วนรว่ ม ใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวยั ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ ดว้ ย
วธิ กี ารที่หลากหลาย โดยผูป้ กครองและผเู้ กีย่ วข้องมีสว่ นรว่ มนำผลการประเมนิ ที่ไดไ้ ปปรับปรุงการจดั
ประสบการณ์และพัฒนาเดก็ โดยจดั โครงการ/กจิ กรรม ดังน้ี โครงการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา
โครงการสร้างและพัฒนาทักษะวชิ าการของเด็กปฐมวยั ครบู นั ทึกผลการประเมนิ พัฒนาการเปน็ ประจำทกุ ปี
6. ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทีส่ นบั สนุนผลการประเมินตนเอง
6.1 หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2564
6.2 แผนการจดั ประสบการณ์ แบบประเมินแผนการจดั ประสบการณ์
6.3 รายงานการจัดกิจกรรมการทดลอง 20 กจิ กรรม
6.4 รายงานการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์เรือ่ ง ลำน้ำสวย สายธารแหง่ ชีวิต
6.5 แบบประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษา ชั้นอนบุ าล 2 และ ชน้ั อนุบาล 3
6.6 รายงานผลการประเมนิ ตนเองประจำปี (SAR) ของครูปฐมวยั
6.7 บัญชเี รยี กชอ่ื และสมดุ บันทึกพฒั นาการเด็กนักเรียน (อบ.๒ และ อบ.๓)
6.8 บนั ทึกพัฒนาการของเด็ก (อบ.2)
6.9 แฟ้มสะสมผลงานเด็ก
6.10 ภาพถ่าย วดิ ที ัศน์ วิดีโอ การนำเสนองานผ่านเพจเฟสบุ๊คโรงเรียนบา้ นเชยี งอาด
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบ้านเชยี งอาด ปีการศกึ ษา 2564
๓๘
2. มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
โรงเรยี นบ้านเชียงอาด ดำเนินการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ประจำปีการศึกษา 2564 มีผลการประเมินตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 ดังน้ี
มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ระดบั คณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน ดี
1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู้ รียน ดีเลศิ
1.2 คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผเู้ รียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ดี
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน ระดับคุณภาพ : ดี
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนบา้ นเชียงอาด ใช้กระบวนการปฏิบตั ิงานตามวงจร PDCA ในการพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รยี น
และกำหนดเป้าหมายตามแผนงาน โครงการ และกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้อง โดยคณะครู คณะกรรมการ
สถานศกึ ษา ผปู้ กครอง รว่ มประชมุ ศึกษาสภาพปจั จบุ ัน ด้านผลสมั ฤทธ์ิของผเู้ รยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ
ประสงคข์ องผูเ้ รียนในปีการศึกษาทผี่ า่ นมาจากรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและผลการ
ประเมินคุณภาพภายนอกคร้งั ลา่ สดุ นำมาวิเคราะหแ์ ละนำผลทไี่ ด้มาสงั เคราะห์ เพือ่ วางแผนการจัดกจิ กรรม
และโครงการในแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปขี องโรงเรียนใช้กระบวนการในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใช้รปู แบบการจัดการเรียนการสอน
แบบปกติ (On-site) แบบ On-hand มกี ารสอนชดเชยในวันเสาร์ เพื่อให้ผู้เรียนมเี วลาเรียนครบ 200 วัน
ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีการเว้นระยะห่างทางสังคม และการร่วมกจิ กรรมอย่างระมดั ระวัง
ทุกขนั้ ตอน เนน้ ความปลอดภัยของผ้เู รียน กำหนดให้มีกระบวนการพฒั นาผู้เรียนทหี่ ลากหลาย ภายใต้
เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา “นักเรยี นมรี ะเบียบวินยั ใฝ่ใจศึกษา” เพอ่ื ให้ครอบคลุมตามมาตรฐานการศึกษา
ระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน คือ ด้านผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผูเ้ รียน และ ดา้ นคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์
ของผ้เู รียน และกำหนดค่าเป้าหมายทุกประเด็นพจิ ารณาอยา่ งชัดเจน
โรงเรียนจัดการเรยี นรู้ตามแผนทไี่ ดร้ ่วมกนั ทำไว้อย่างเป็นระบบและตอ่ เน่ือง จัดกระบวนการ
พัฒนาผเู้ รยี นดว้ ยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย เป็นไปตามศักยภาพของผ้เู รียน และเปน็ ไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ของหลกั สูตร มีการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ที่เหมาะสมกับผเู้ รยี นโดยเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ มกี ารจดั การ
เรียนเรยี นรทู้ ้งั รปู แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบรว่ มมือกนั เรยี นรู้ แก้ปัญหาแบบโครงงาน การเขา้ คา่ ย
การบูรณาการในการเรียนรู้ การเรียนรดู้ ว้ ยการศกึ ษาชัน้ เรียน(Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปิด(Open
Approach) เพื่อให้ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ มกี ารพฒั นา
ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสือ่ สาร และการคดิ คำนวณ ผา่ นการจัดทำโครงการ/กจิ กรรมต่างๆ
นอกจากนย้ี งั มจี ัดการเรียนรู้ให้นกั เรียนมคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบ้านเชยี งอาด ปีการศกึ ษา 2564
๓๙
การสอื่ สาร และการมีความรู้ ทักษะพน้ื ฐาน เจตคตทิ ่ดี ตี ่องานอาชพี รวมทั้งการจดั กจิ กรรมซง่ึ สอดคลอ้ งกับ
แนวทางการจดั การเรยี นรูเ้ พ่ือส่งเสรมิ คุณลักษณะของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้ผู้เรียนมคี ุณลกั ษณะ
และค่านยิ มท่ดี ีตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด มีความภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย มกี ารยอมรับท่จี ะอยู่
ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย มีสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คมท่ีดี
การจดั การเรียนรู้ กจิ กรรม/โครงการตา่ งๆ สถานศึกษาและผเู้ กี่ยวข้องได้มีการตรวจสอบ ติดตาม
การดำเนินงานเปน็ ระยะตามปฏิทนิ งานทก่ี ำหนดไวร้ ว่ มกนั ประเมนิ ผล และสรปุ รายงานการจัดการเรียนรู้
การจดั กิจกรรม/โครงการ เพื่อประเมินผลการบรรลตุ ามเป้าหมายท่สี ถานศกึ ษากำหนดไว้ รวมถึงจดุ เดน่
จดุ ทีค่ วรพัฒนา ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผูเ้ รยี น และคณุ ลักษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรียน เพือ่ นำผล
ทไี่ ด้ไปวิเคราะห์ พฒั นาผเู้ รียนในปกี ารศึกษาต่อไป ซ่งึ มีการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริงท่ีหลากหลาย
วิธกี าร และใหผ้ ู้ปกครองมีส่วนรว่ มผา่ นการดำเนนิ งานของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานทุกกิจกรรม/โครงการในปีการศึกษา 2564
เพื่อนำผลการประเมินในหัวข้อที่พบปัญหามาพัฒนา/ปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป ดังรายละเอียด
ตามผลการดำเนนิ งาน จดุ เด่น จดุ ควรพฒั นา และแนวทาง/แผนพฒั นาเพื่อใหไ้ ดม้ าตรฐานทส่ี งู ข้ึน ดงั ตอ่ ไปนี้
โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน โครงการการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ
การพัฒนาหลักสูตรและวิจัยในชั้นเรียน โครงการส่งเสริมคุณภาพทางวิชาการ กิจกรรมเสริมหลักสูตรท่เี นน้
คุณภาพผู้เรียนรอบด้าน โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โครงการ
ส่งเสริมศักยภาพครูผู้สอนและพัฒนาการใช้สื่อ เทคโนโลยี สู่ห้องเรียน โครงการ/กิจกรรมสร้างชุมชน
แหง่ การเรยี นรู้ PLC อยา่ งเปน็ ระบบ
โรงเรียนนำเสนอผลการประเมนิ คุณภาพของผเู้ รยี น เพ่ือขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน นำเสนอชี้แจงในการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา ผปู้ กครอง ชุมชนท่ีเกย่ี วข้อง
และรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาใหห้ น่วยงานต้นสังกัดทุกปกี ารศึกษา
2. ผลการประเมิน
โรงเรียนบา้ นเชียงอาด ขอรายงานผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน
มปี ระเดน็ พจิ ารณา ดงั นี้
1. ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู้ รียน ประกอบด้วย 6 ประเดน็ พิจารณาย่อย
1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สาร และการคิดคำนวณ
2) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ น
ความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา
6) มคี วามรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี ่องานอาชีพ
2. คุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รยี น ประกอบด้วย 4 ประเดน็ พจิ ารณายอ่ ย
1) การมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มทดี่ ตี ามท่สี ถานศกึ ษากำหนด
2) ความภมู ใิ จในท้องถ่นิ และความเป็นไทย
3) การยอมรับทจี่ ะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบ้านเชยี งอาด ปีการศึกษา 2564
๔๐
ตารางแสดงคา่ รอ้ ยละของเป้าหมายและผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผูเ้ รยี น
ปกี ารศกึ ษา 2564
คา่ ร้อยละ สรุปผล
การประเมิน
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน เป้าหมาย ผลการ
ประเมิน ดี
ตามเปา้ หมาย
1.1 ดา้ นผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู้ รยี น
ตามเปา้ หมาย
1) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่ือสาร 75 75.36
และการคิดคำนวณ ตามเป้าหมาย
สงู กวา่ เป้าหมาย
2) มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมี สูงกว่าเป้าหมาย
ตามเป้าหมาย
วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคดิ เห็น 70 67.63
ดเี ลศิ
และแก้ปัญหา
สูงกว่าเป้าหมาย
3) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม 70 71.01
ตามเปา้ หมาย
4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ 70 82.92 ตามเปา้ หมาย
การส่อื สาร สงู กวา่ เปา้ หมาย
5) มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา 75 83.57 ดี
6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ 80 81.64
1.2 คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของผเู้ รียน
1) การมคี ุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศกึ ษา
กำหนด โดยไม่ขัดกบั กฎหมายและวฒั นธรรมอันดี 80 95.65
ของสงั คม
2) ความภมู ิใจในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย 85 88.89
3) การยอมรับทจี่ ะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกต่าง 85 86.47
และหลากหลาย
4) สุขภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจติ สังคม 80 91.79
สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน
จากตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของเป้าหมายและผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน
ประเด็นพิจารณาที่ 1.1 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ปีการศึกษา 2564 พบว่า ผลการ
ดำเนนิ การพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น สูงกว่าเปา้ หมาย จำนวน 2 ประเดน็ พจิ ารณา เปน็ ไปตามเป้าหมาย จำนวน
4 ประเด็นพิจารณา จึงสรุปว่า ด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน อยู่ในระดับ ดี ประเด็นพิจารณา
ที่ 1.2 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปีการศึกษา 2564 พบว่า ผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
สูงกว่าเป้าหมาย จำนวน 2 ประเด็นพิจารณา เป็นไปตามเป้าหมาย จำนวน 4 ประเด็นพิจารณา จึงสรุปว่า
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน อยู่ในระดับ ดี เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมของการดำเนินงาน
ดา้ นคณุ ภาพผู้เรยี นแล้ว บรรลุเป้าหมายทกุ ประเดน็ พิจารณา จงึ สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพ
ผู้เรียน อยใู่ นระดบั ดี
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบ้านเชียงอาด ปกี ารศกึ ษา 2564
๔๑
3. จุดเด่น
3.1 ผู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ มีความรู้ในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้
อย่างเหมาะสมมคี วามกา้ วหน้าจากพื้นฐานเดิมในแต่ละปี มคี วามรู้ ความเขา้ ใจและทักษะตา่ งๆตามหลักสูตร
ของสถานศึกษากำหนด
3.2 ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและสุนทรียภาพ ร่างกายแข็งแรง และสุภาพเรียบร้อย มีจิตอาสา
และบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมช่วยเหลอื งานของชมุ ชุนทำให้สถานศึกษาเป็นที่ยอมรับของชมุ ชน และได้รับ
ความไวว้ างใจจากผปู้ กครองในการส่งบตุ รหลานเข้ามาเรยี นตลอดทกุ ปี
3.3 ผู้เรียนมีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือกันและทำงานเป็นทีม
มีความร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกับโทษของยาเสพติด อยู่อย่างพอเพียงและร้จู กั ชว่ ยเหลือผู้อน่ื
4. จุดควรพฒั นา
4.1 การพัฒนาความสามารถในการคิดคำนวณคิดวิเคราะห์ให้กับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
และการพัฒนาความสามารถทางภาษาองั กฤษให้กับผู้เรยี นทม่ี ีความสนใจเรยี นร้แู ละตอ้ งการพฒั นาตนเอง
4.2 นำข้อสรุปจากกระบวนการ PLC ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อหาแนวทางเทคนิคและ
วิธกี ารแก้ปญั หาเพ่อื พัฒนาผเู้ รยี น
4.3 ครคู วรวิเคราะหผ์ ลในรายมาตรฐานของแต่ละกลุม่ สาระท่จี ะตอ้ งพัฒนา เพ่ือเป็นฐานข้อมูล
ในการออกแบบเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเองและพัฒนาการเรียนรู้ด้านสารสนเทศ
และเทคโนโลยี ตลอดจนฝึกใหผ้ เู้ รียนได้สืบค้นข้อมูลได้อยา่ งเหมาะสมกบั วยั ผู้เรยี น
5. แนวทาง/แผนพฒั นาเพ่ือใหไ้ ดม้ าตรฐานทีส่ งู ขึ้น
5.1 พฒั นาให้นักเรยี นมีทักษะการอ่าน การเขยี น การสือ่ สาร และการคดิ คำนวณ ตามเกณฑ์
ท่โี รงเรยี นกำหนดในแต่ละชว่ งชนั้
5.2 พัฒนาให้นักเรียนมีทักษะการคิดซง่ึ สอดคล้องกบั แนวทางการจัดการเรยี นรู้เพื่อส่งเสรมิ
คณุ ลักษณะของผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี ๒๑
5.3 พฒั นาให้นักเรยี นมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร รวมถงึ
มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
5.4 พัฒนา สง่ เสรมิ และยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างวชิ การของผู้เรียน
6. ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ที่สนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
ประเดน็ ภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียน ทสี่ นับสนุนผลการประเมินตนเอง ได้แก่
6.1. รายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
6.2. รายงานผลการดำเนินงานโครงการโรงเรียนสง่ เสรมิ สุขภาพ
6.3 รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน
6.4 รายงานผลการดำเนินงานโครงการภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วนั ละคำ
6.5 รายงานผลการดำเนินงานโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
6.6 รายงานผลการดำเนินงานโครงการเพอ่ื ความเสมอภาคทางการศึกษา
6.7 รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
6.8 แบบประเมินมาตรฐานการศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1-6 และชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-๓
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนบา้ นเชียงอาด ปกี ารศึกษา 2564
๔๒
6.9 ผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอ่านออกของผู้เรียน ( RT) ชัน้ ป.1
6.10 ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาระดับชาติ ( NT ) ช้ัน ป. ๓
6.11 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET ) ชน้ั ป.๖ และ ชน้ั ม.๓
6.12 แฟ้มสะสมผลงานนกั เรยี น
6.13 ภาพถ่าย วดิ ีทศั น์ วดิ ีโอ การนำเสนองานผ่านเพจเฟสบุ๊คโรงเรยี นบา้ นเชยี งอาด
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คุณภาพ : ดีเลศิ
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นบ้านเชยี งอาด มกี ารบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานยึดวงจรบริหารคุณภาพตาม
แนวคิดเชงิ ระบบ (PDCA) เน้นผลสัมฤทธ์ิของงานเปน็ สำคญั โดยผู้บรหิ ารมีการกระจายอำนาจให้ผู้นำชุมชน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู ผู้ปกครอง นักเรียน เพื่อประชุมร่วมกันวางแผนระดมความคิดหา
แนวทางแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมายในการจัดการศึกษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ให้ความสำคัญและ
เสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กร โดยนำวิสัยทัศน์ไปสู่การปฏิบัติอย่างมีระบบ ในการดำเนินงานของ
โรงเรียนมีนวัตกรรมการบริหารที่มีคุณภาพทั้ง 4 กลุ่มงาน ได้แก่ การบริหารงานวิชาการ มีนวัตกรรม “ 6
CLs ปัจจัยสู่ความเป็นเลิศ” มีกระบวนการพัฒนาการศึกษาอย่างสร้างสรรค์และต่อเนื่องใน 6 ด้าน คือ 1)
การพัฒนาหลักสูตร 2)การจัดการเรียนการสอนได้จัดกระบวนการเรียนรู้แบบ Open Approach คือการ
จัดการเรียนรู้ที่ครูใช้โจทย์สถานการณ์ ปัญหาปลายเปิดในการขับเคลื่อนกระบวนการเรียนรู้
ของผู้เรียน โดยที่ผู้เรียนแต่ละคนเป็นผู้นำเสนอวิธีการแก้ปัญหาของตน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ในชนั้ เรียน เพอ่ื เรียนรวู้ ธิ กี ารคิดและวธี ีการทำความเข้าใจท้ังของตนเองและของผู้อ่ืนรว่ มกัน 3)การใช้แหล่ง
เรียนรู้ 4)สื่อการเรียนรู้ 5)กิจกรรมเสริมความรู้ และ 6)การจัดทำงานวิจัยเพื่อให้คุณภาพการจัดการศึกษา
มีประสิทธิภาพและเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นใหม้ ากขึ้น กลุ่มบริหารงานงบประมาณ การระดมทรัพยากร
ทางการศึกษา การพัฒนาชำระเงินผ่านทางออนไลน์ กลุ่มงานบุคลากรการพัฒนาบุคลากรตรงตาม
ความต้องการของครูและสถานศึกษา ส่งเสริม สร้างขวัญกำลังใจและเชิดชูเกียรติ กลุ่มงานบริหารทั่วไป
จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้และมีความปลอดภัย จัดระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพ
ของสถานศกึ ษา
นำผลที่ได้จากการวเิ คราะหร์ ่วมกันมาวางแผนการดำเนินงานดังน้ี
1.1 กำหนดเปา้ หมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพันธกจิ ของสถานศึกษา ตามบรบิ ทของสถานศึกษา
และนโยบายของสำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 โดยผู้มีส่วนรว่ มทุกฝ่าย ได้แก่
ผู้บริหาร คณะครูบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้เรียนและชุมชน ร่วมกัน
กำหนดทิศทาง ในการพัฒนาของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา แผนปฏิบัติราชการ
ประจำปี ที่สอดคล้องกบั การพฒั นาผู้เรยี นและสอดคล้องกับวิสัยทัศนข์ องสถานศึกษา
1.2 จัดทำโครงสร้างการบริหารงาน 4 กลุ่มงาน ได้แก่ กลุ่มงานบริหารวิชาการ กลุ่มงาน
บริหารบคุ ลากร กล่มุ งานบริหารงบประมาณ และกลมุ่ งานบริหารทวั่ ไป ผู้บรหิ ารยึดหลกั การบริหาร/เทคนิค
การบริหารโดยขับเคลื่อนด้วยรูปแบบ SAWRAWICH Model ทุกกลุ่มงานมีการปฏิบัติงานที่มุ่งเน้น
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นหลัก ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพ
ทางการศึกษา แผนปฏิบัติราชการประจำปี ให้สอดคล้องบริบทของสถานศึกษา สภาพปัญหาความต้องการ
รายงานการประเมินตนเองของโรงเรยี นบ้านเชยี งอาด ปกี ารศึกษา 2564