สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดสุพรรณบรุ ี 45
- งานประชาสัมพันธ์ โครงการยกระดับแปลงใหญ่ด้วยเกษตรสมัยใหม่
และเชอื่ มโยงตลาด
- โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุฎราชกมุ ารจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
- ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ไตรมาส 3 ปี 2564 และแนวโน้มปี 2564 จังหวัด
สพุ รรณบุรี
- แผนการประชุมเช่ือมโยงการดาเนินงานคณะกรรมการเครือข่าย ศพก.
และแปลงใหญ่
1.2 เรอ่ื งเพือ่ พิจารณา ประกอบด้วย
- การจัดทาปฏิทินผลผลิตสินค้าเกษตรรายเดือนระดับจังหวัดประจาปี 2564
ซ่ึงที่ประชุมเห็นชอบปฏิทินผลผลิตสินค้าเกษตรรายเดือนระดับจังหวัดประจาปี 2564 ด้านพืช ปศุสัตว์
และประมง พร้อมทั้งมอบให้ฝ่ายเลขานุการประสานหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อตรวจสอบข้อมูลให้เป็นไป
ตามขอ้ เสนอแนะและนาเสนอใหค้ ณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สุพรรณบุรที ราบ
- การให้ความเห็นชอบโครงการส่งเสริมการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน กลุ่ม/องค์กร
เกษตรกรในการผลิต การแปรรูป การทาผลิตภัณฑ์ และท่องเท่ียวเชิงเกษตร โดยท่ีประชุมมีมติเห็นชอบ
โครงการส่งเสริมการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน กลุ่ม/องค์กรเกษตรกร ในการผลิต การแปรรูป การทาผลิตภัณฑ์
และท่องเที่ยวเชิงเกษตร ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จานวน 9 กลุ่ม รวมงบประมาณ 21,026,720 บาท
โดยให้ปรับรายละเอยี ดกจิ กรรมและงบประมาณให้สอดคล้องกบั หลักเกณฑเ์ งื่อนไขของโครงการ และเกิดความ
คมุ้ คา่ ตามขอ้ เสนอแนะของทป่ี ระชมุ
2. กำรประชุมคณะกรรมกำรขับเคล่ือนงำนด้ำนกำรเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี ครั้งที่
1/2565 ผ่านระบบประชุมออนไลน์ Application Zoom เมื่อวันพุธท่ี 26 มกราคม 2565 เวลา 13.30 น.
ณ หอ้ งประชุมสานกั งานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สุพรรณบรุ ี ศาลากลางจังหวัดสพุ รรณบุรี มีวาระการประชุม
ทส่ี าคญั ดังนี้
2.1 เรอื่ งเพอื่ ทราบ ประกอบด้วย
- ผลการดาเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของหนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- การดาเนินงานโครงการขับเคล่ือนการเกษตรระดับหมู่บ้านสู่การผลิตสินค้าเกษตร
มลู คา่ สงู
46 รำยงำนประจำปี 2565
- แนวทางการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการและการขบั เคลื่อนแบบบูรณาการ
ในพ้ืนทข่ี องผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต 3
- การไกล่เกล่ียข้อพิพาทกรณีทาสัญญาจะซ้ือจะขายกับ บริษัท พีซีเอฟ เทค ฟาร์ม
จากัด
- รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2564 และแนวโนม้ ปี 2565
- โครงการยกระดบั แปลงใหญด่ ว้ ยเกษตรสมัยใหมแ่ ละเช่ือมโยงตลาด
- โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ฯ จังหวัดสุพรรณบุรี คร้ังท่ี
1/2565
- กาหนดจดั งานวนั ถา่ ยทอดเทคโนโลยีเพ่อื เรมิ่ ตน้ ฤดูกาลผลติ ใหม่ (Field day)
- การขับเคล่อื นเขตพฒั นาเศรษฐกิจพอเพยี ง (SEDZ) ด้วยโมเดลเศรษฐกจิ ใหม่
2.2 เรอื่ งเพือ่ พจิ ารณา ประกอบด้วย
- แนวทางการพัฒนาสินค้าเกษตรสาคัญของจังหวัดสุพรรณบุรี โดย BCG Model
ซึ่งท่ีประชมุ เห็นชอบ และมอบหมายหน่วยงานรบั ผดิ ชอบสนิ คา้ เกษตรจานวน 9 ชนิด คอื
ดำ้ นพชื คือ 1) ข้าว 2) มะม่วง 3) สมนุ ไพร
ดำ้ นประมง คอื 4) กุ้งกา้ มกราม 5) กงุ้ ขาว 6) ปลาสลดิ
ด้ำนปศสุ ัตว์ คอื 7) โคเน้อื 8) แพะ 9) แกะ
ร่วมบูรณาการจัดทาข้อมูลตามแบบ BCG Model และแบบรายงานผู้ตรวจราชการ พร้อมทั้งร่วมกันจัดทา
แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด และ Project Bank เพ่ือขอรับการสนับสนุนจากแหล่งงบประมาณ
ต่าง ๆ
3. กำรประชุมคณะกรรมกำรขับเคล่ือนงำนด้ำนกำรเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี ครั้งท่ี
2/2565 ผ่านระบบประชุมออนไลน์ Application Zoom เมือ่ วนั อังคารที่ 22 มนี าคม 2565 เวลา 13.30 น.
ณ ห้องประชุมสานักงานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดสุพรรณบุรี ศาลากลางจังหวดั สพุ รรณบุรี มวี าระการประชุม
ที่สาคญั ดังนี้
3.1 เร่อื งเพอ่ื ทราบ ประกอบดว้ ย
- ผลการดาเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- ข้อส่ังการของนายกรัฐมนตรีในการประชุมคณะกรรมการขจัดความยากจน
และพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างย่ังยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (คจพ.) คร้ังท่ี 1/2565
เม่ือวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565
- การตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการและการขับเคลื่อนแบบบูรณาการ
ในพน้ื ทข่ี องผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต 3 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 รอบที่ 1
- การขบั เคลอื่ นการดาเนนิ งาน BCG Model ของจังหวัด
- การขับเคล่อื นพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐจังหวัดสุพรรณบุรี
- การขับเคลอื่ นแบรนด์ “นอ้ งเหนอ่ ” เพ่อื เสรมิ สร้างอตั ลกั ษณข์ องจังหวัดสุพรรณบุรี
- ตลาดเกษตรกร ณ ปม๊ั น้ามนั บางจาก หมู่ที่ 1 ต.วัดโบสถ์ อ.บางปลามา้ จ.สุพรรณบรุ ี
- แนวทางการขบั เคลอื่ นเกษตรกรรมยง่ั ยนื ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- ขอ้ สงั่ การในสถานการณว์ ตั ถดุ ิบอาหารสัตวแ์ ละปยุ๋ ขาดแคลนและมรี าคาสูงขน้ึ
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สพุ รรณบรุ ี 47
3.2 เร่อื งเพอ่ื พิจารณา ประกอบด้วย
- การขับเคล่ือนการดาเนินงานขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างย่ังยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยท่ีประชุมมีมติเห็นชอบ และมอบหมายหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจัดเตรียม
ข้อมูลเมนูสาหรับพิจารณาในการประชุมเพื่อจัดทาเมนูอาชีพด้านการเกษตร ช่วยเหลือประชาชนท่ีตกเกณฑ์
ตัวช้ีวดั ที่ 13 คนอายุ 15 - 59 ปี มอี าชพี และรายได้ ท่ีมีกาหนดจดั การประชุมในเร็วๆ นี้ ต่อไป
- การประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นประจาปี 2565
รูปแบบการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นจังหวัดสุพรรณบุรี ประจาปี 2565 ท่ปี ระชุม
มีมติเห็นชอบ มอบหมายให้สานักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี ดาเนินการตามคู่มือการประกวดแปลงใหญ่
ดีเด่น ประจาปี 2565 กรมสง่ เสริมการเกษตร
ขอความเห็นชอบร่างคาส่ังคณะกรรมการตัดสินการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น
จังหวัดสุพรรณบุรี ประจาปี 2565 ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ ตามร่างคาส่ังคณะกรรมการขับเคลื่อนงาน
ด้านการเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น จังหวัดสุพรรณบุรี
ประจาปี 2565
รายช่ือแปลงใหญ่ที่เข้าร่วมการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น จังหวัดสุพรรณบุรี
ประจาปี 2565 ท่ีประชุมมีมติเห็นชอบ ตามรายช่ือแปลงใหญ่ท่ีเข้าร่วมการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น จังหวัด
สุพรรณบรุ ี ประจาปี 2565
- กาหนดชนิดสินค้าเกษตรเพื่อกาหนดแนวทางบริหารจัดการผลผลิตสินค้าเกษตร
ท่ีจะออกสู่ตลาด ท่ีประชุมมีมติเห็นชอบ และให้หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หากได้ข้อสรุปแล้วให้ใช้กลไก
ของจังหวัดโดยคณะกรรมการเพ่ือแก้ไขปัญหาเกษตรกรอันเน่ืองมาจากผลิตผลทางการเกษตรระดับจังหวัด
ท่ีมีท่านผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธาน พาณิชย์จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นกรรมการและเลขานุการ
ในการขบั เคลื่อน
4. กำรประชุมคณะกรรมกำรขับเคล่ือนงำนด้ำนกำรเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี ครั้งที่
3/2565 ผ่านระบบประชุมออนไลน์ Application Zoom เมื่อวนั ศกุ รท์ ่ี 27 พฤษภาคม 2565 เวลา 13.30 น.
ณ ห้องประชมุ สานักงานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สุพรรณบุรี ศาลากลางจงั หวดั สุพรรณบุรี มวี าระการประชุม
ท่สี าคัญดงั น้ี
4.1 เร่ืองเพอ่ื ทราบ ประกอบดว้ ย
- ผลการดาเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- สรุปประเด็นที่เกี่ยวข้องจากรายงานการประชุมติดตามงาน/โครงการสาคัญ
ของสานักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ครง้ั ที่ 1/2565
- โครงการขบั เคลอ่ื นการเกษตรระดบั หมูบ่ า้ นสกู่ ารผลิตสินค้าเกษตรมูลคา่ สูง
- ข้อมูลเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตร (Innovation Catalogs) ของศูนย์
AIC ทีส่ ามารถนามาประยุกตใ์ ชใ้ นการพัฒนาการเกษตรของจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
- การไกล่เกล่ียข้อพิพาทตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตร
พนั ธสญั ญา กรณเี กษตรกรผเู้ ล้ียงสุกรเกิดข้อพิพาทกับบรษิ ัท เอส พี เอม็ อาหารสัตว์ จากดั
- สานักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา
(สลพ.) ตอบข้อคดิ เหน็ กรณี บริษทั พซี ีเอฟ เทค ฟาร์ม จากดั ไมร่ ับซือ้ ผลผลติ โกโก้
48 รำยงำนประจำปี 2565
- การดาเนินโครงการพัฒนาพื้นที่อันเน่ืองมาจากพระราชดาริและหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กิจกรรมขยายผลเกษตรเพ่ืออาหารกลางวัน
อันเนื่องมาจากพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
- ประกาศแต่งตั้งปราชญ์เกษตรของแผน่ ดนิ ประจาปี 2565
- การประสานงานเพื่อแกไ้ ขปัญหายาเสพติด ในสถานการณ์โควิด - 19
- ข้อมูลสรุปสินค้ามันสาปะหลังโรงงานจากการดาเนินงานโครงการผลิตสินค้าเกษตร
ตามแผนที่เกษตรเพอื่ การบริหารจดั การเชงิ รกุ (Agri-Map) ปีงบประมาณ 2565
- ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรไตรมาส 1 ปี 2565 และแนวโน้มปี 2565 จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี
- ระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ว่าด้วย การบริหารงานศูนย์เรียนรู้
การเพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลติ สนิ ค้าเกษตร (ศพก.) (ฉบบั ท่ี 4)
- ผลการพิจารณาของคณะกรรมการกลั่นกรองการใช้จ่ายเงินกู้ ภายใต้
พระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคม จากการระบาด
ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เพมิ่ เตมิ พ.ศ. ๒๕๖๔
- การประเมินผลงานมหกรรมเกษตรสร้างชาติ ครั้งท่ี 1 สานฝันสร้างอาชีพ
และยกระดบั รายได้เกษตรกร
4.2 เรอ่ื งเพ่ือพิจารณา ประกอบด้วย
- การประกวดแปลงใหญ่ดเี ดน่ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ประจาปี 2565
ขอความเห็นชอบผลการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น จังหวัดสุพรรณบุรี ประจาปี
2565 โดยมติที่ประชุมมติที่ประชุมเห็นชอบ ผลการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น จังหวัดสุพรรณบุรี ประจาปี
2565 ตามผลการพิจารณาของคณะกรรมการการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นฯ ที่สานักงานเกษตรจังหวัด
สพุ รรณบุรีเสนอ
ขอความเห็นชอบผลการจัดชั้นคุณภาพและการกาหนดแนวทางการพัฒนา/
ปรับปรุงการดาเนินงานของแปลงใหญ่ ประจาปี 2565 ท่ีประชุมมีมติเห็นชอบ ผลการจัดชั้นคุณภาพ
และการกาหนดแนวทางการพัฒนา/ปรับปรุงการดาเนินงานของแปลงใหญ่ ประจาปี 2565 ตามท่ีสานักงาน
เกษตรจังหวดั สุพรรณบุรเี สนอ
- ทบทวน/ปรับปรุงข้อมลู การขับเคล่ือน BCG MODEL ด้านการเกษตร ทป่ี ระชุมมีมติ
เห็นชอบ มอบหมายให้หน่วยงานเตรียมข้อมูลแผนงาน/โครงการ โดยให้สอดคล้องกับแนวทาง BCG Model
เพ่อื นาเข้าประชุมทบทวนแผนงาน/โครงการ ตามแผนพัฒนาด้านการเกษตรและสหกรณ์ต่อไป
- ข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลด้านการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ประจาปี
2565 ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ และให้สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สพุ รรณบุรี ส่งให้หน่วยงานนาไปใช้
ประโยชน์ตอ่ ไป
5. กำรประชุมคณะกรรมกำรขับเคลื่อนงำนด้ำนกำรเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี คร้ังที่
4/2565 ผ่านระบบประชุมออนไลน์ Application Zoom เม่ือวันจันทร์ท่ี 11 กรกฎาคม 2565
เวลา 13.30 น. ถ่ายทอดผ่านห้องประชุมสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ศาลากลางจังหวัด
สุพรรณบุรี มวี าระการประชุมที่สาคญั ดงั น้ี
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สุพรรณบุรี 49
5.1 เร่อื งเพื่อทราบ ประกอบด้วย
- ผลการดาเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของหนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรและรายงานผลการเสนอขอรับการสนับสนุนสินเชื่อ
จากกองทนุ สงเคราะหเ์ กษตรกร
- การขับเคล่ือนการดาเนินงานขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืน
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใชข้ อ้ มลู จากระบบ TPMAP
- การทบทวนแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ และบูรณาการจัดทาโครงการ
เพือ่ ขบั เคล่อื นงานดา้ นการเกษตรของจงั หวัด
- การดาเนินงานของศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม (AIC) จังหวัดสุพรรณบุรี
และการถา่ ยทอดเทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม ผา่ นศนู ย์ ศพก.
5.2 เรื่องเพือ่ พิจารณา ประกอบด้วย
- การปรับเปล่ียนศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) หลัก
ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ ปรับเปลี่ยนศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) หลัก
จากเดิม ศพก.อาเภอสามชุก ตั้งอยู่ที่ตาบลกระเสียว อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี มีนายอานวย นุ่มจันทร์
เป็นเกษตรกรต้นแบบ และจาก ศพก. หลัก เป็น ศพก. เครือข่าย และเปลี่ยน ศพก.หลัก เป็น ที่ทาการ
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตาบลหนองผักนาก อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี (ซึ่งเคยเป็น ศพก.เครือข่าย)
มีนายนิมติ สว่างศรี เปน็ เกษตรกรต้นแบบ
- การคัดเลือกคณะกรรมการเครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้า
เกษตร (ศพก.) และแปลงใหญ่ระดับจังหวัดปี 2565 ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ การคัดเลือกคณะกรรมการ
เครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) และคณะกรรมการเครือข่าย
แปลงใหญ่ ระดบั จังหวัด ปี 2565 ตามที่สานกั งานเกษตรจงั หวดั สุพรรณบุรเี สนอ
- ผลการประเมินจดั ชั้นคุณภาพแปลงใหญ่ (ประมง) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ ผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพแปลงใหญ่ (ประมง) และแนวทางการพัฒนาประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามทส่ี านกั งานประมงจังหวดั สุพรรณบรุ ีเสนอ
- โครงการขบั เคลื่อนการเกษตรระดับหมู่บ้านสู่การผลติ สินค้าเกษตรมลู ค่าสงู ทีป่ ระชุม
มมี ติ ดงั น้ี
1) เห็นชอบการปรับเปลี่ยนสินค้าเป้าหมายนาร่องโครงการขับเคลื่อนการเกษตรระดับ
หมู่บ้านสู่การผลิตสินค้าเกษตรมูลค่าสูงของอาเภอเมืองสุพรรณบุรีจากสินค้ามะม่วงเป็นปลาสลิดดอนกายาน
และเปล่ียนแปลงวันประชุมจากวันที่ 2 สิงหาคม 2565 เปน็ วนั ที่ 15 สิงหาคม 2565
2) เห็นชอบแผนการประชุมคณะทางานขับเคลื่อนงานด้านการเกษตรระดับอาเภอ
SCD
3) เห็นชอบและมอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบดาเนินการตามประเด็นนาเสนอ
เพื่อพจิ ารณา ดังน้ี
3.1) มอบหมายสานักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรีประสานสานักงานเกษตรอาเภอ
จดั ทาหนังสอื เชญิ ประชุมคณะทางานขับเคลื่อนงานด้านการเกษตรระดับอาเภอ SCD และเกษตรกรทเี่ ก่ยี วข้อง
กบั หมบู่ ้านเกษตรมลู คา่ สูง
50 รำยงำนประจำปี 2565
3.2) มอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบสินค้าเกษตรมูลค่าสูงประสานเจ้าหน้าท่ี
ผู้รับผิดชอบแจ้งรายช่ืออาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (เกษตรมูลค่าสูง) ส่งให้สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
สุพรรณบุรี ภายในวนั องั คารที่ 19 กรกฎาคม 2565
3.3) มอบหมายสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สุพรรณบรุ ี ประสานเจ้าหน้าท่ี
ผู้รับผิดชอบสนิ ค้าเกษตรมูลค่าสูง/เกษตรกรที่เก่ียวข้องกับหมู่บ้านเกษตรมูลค่าสูง เพื่อตรวจสอบร่างแผนงาน/
โครงการฯ ก่อนนาเสนอในที่ประชุม คณะทางานขับเคล่อื นงานดา้ นการเกษตรระดบั อาเภอ SCD
3.4) มอบหมายสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี จัดทาเอกสาร
ประกอบการประชมุ อกี ท้ังประสานงานเรอ่ื งค่าใช้จา่ ยอาหารวา่ งและเครื่องดม่ื และอืน่ ๆท่ีเกี่ยวข้อง
3.5) มอบหมายให้ทุกหนว่ ยงานตรวจสอบภารกิจหากมงี าน/โครงการใดต้องนาเข้า
ท่ีประชุมคณะทางานขับเคล่ือนงานด้านการเกษตรระดับอาเภอ SCD ขอให้แจ้งประสานสานักงานเกษตร
อาเภอล่วงหน้า
6. กำรประชุมคณะกรรมกำรขับเคล่ือนงำนด้ำนกำรเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี คร้ังท่ี
5/2565 ผ่านระบบประชุมออนไลน์ Application Zoom วันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม 2565 เวลา 13.30 น.
ถ่ายทอดผ่านห้องประชุมสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ศาลากลางจังหวัดสุพรรณบุรี
มวี าระการประชุมที่สาคญั ดังน้ี
6.1 เร่ืองเพอื่ ทราบ ประกอบด้วย
- ผลการดาเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- การสรรหาปราชญเ์ กษตรของแผน่ ดิน ประจาปี 2566
- ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรไตรมาส 2 ปี 2565 และแนวโน้มปี 2565 จังหวัด
สพุ รรณบุรี
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสุพรรณบุรี 51
- ผลการประเมินจัดช้ันคุณภาพและการกาหนดแนวทางการพัฒนา/ปรับปรุงการ
ดาเนนิ งานของแปลงใหญ่ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ข้าวและปศสุ ัตว)์
- ขอเปล่ยี นผู้จดั การแปลงใหญ่
- ขอปรับเปลี่ยนขอ้ มูลพ้ืนฐานแปลงใหญ่
- การประชุมไกล่เกล่ียข้อพิพาทและให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้เล้ียงสุกร
ตามมติของคณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์
- รายงานปญั หารอ้ งเรยี นและเหตกุ ารณ์เร่งดว่ น
6.2 เร่ืองเพอ่ื พิจารณา ประกอบด้วย
- ยกเลิกแปลงใหญ่ตามระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ (กลุ่มไก่พ้ืนเมืองตาบล
เดิมบาง) โดยมติที่ประชุมมติที่ประชุมเห็นชอบการยกเลิกแปลงใหญ่ตามระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่
กลมุ่ ไก่พ้นื เมืองตาบลเดมิ บาง อาเภอเดมิ บางนางบวช จังหวดั สุพรรณบรุ ี
- รับรองจัดต้ังแปลงใหญ่ใหม่ เพ่ือเข้าระบบรองรับงบประมาณ ปี 2566 ที่ประชุม
มีมติ รับรองจัดต้ังแปลงใหญ่ใหม่จานวน 7 กลุ่ม เพ่ือเข้าระบบรองรับงบประมาณ ปี 2566 และมอบหมาย
ใหส้ านักงานเกษตรจงั หวดั สพุ รรณบรุ ปี รับปรุงขอ้ มูลแปลงใหญ่ใหห้ นว่ ยงานทราบและนาไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป
- แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2566-2570 ที่ประชุม
มมี ตเิ หน็ ชอบแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2566-2570
2.7 กำรตรวจรำชกำรของผู้ตรวจรำชกำรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เขตที่ 3
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้กาหนดแผนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕65 เพื่อให้การตรวจราชการเป็นมาตรการสาคัญในการ
บรหิ ารราชการแผน่ ดินท่ีจะทาให้การปฏบิ ตั ริ าชการเป็นไปตามภารกิจของกระทรวง บรรลเุ ป้าหมาย สอดคลอ้ ง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์กระทรวง ยุทธศาสตร์การจัดสรร
งบประมาณ สามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรค ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทางราชการและประชาชนเป็นสาคัญ และ
เป็นการดาเนินการในฐานะ ผู้สอดส่องดูแลแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดาเนินการตรวจราชการ
ตามแผนการตรวจราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕65 ดงั นี้
52 รำยงำนประจำปี 2565
1. การตรวจราชการตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1.1 การบรหิ ารจัดการนา้ อยา่ งเปน็ ระบบ
1.2 การปอ้ งกันโรคระบาด ท้งั ในพืชและในสัตว์
1.3 การพัฒนาชอ่ งทางการตลาด
1.4 คุณภาพและมาตรฐานในการรับรองสนิ คา้ เกษตร
1.5 การลดตน้ ทุนการผลิต
1.6 การส่งเสริมอาชพี ดา้ นประมงและปศุสัตว์
1.7 การผลติ เมลด็ พนั ธ์ุ
1.8 ศูนยข์ ้อมูลดา้ นการเกษตร (Big Data)
1.9 การพัฒนาเกษตรกรเขา้ สู่ Smart Farmer
1.10 การขบั เคลอ่ื นศนู ยเ์ ทคโนโลยเี กษตรและนวัตกรรม
(Agritech and Innovation Center : AIC)
1.11 ปรับปรงุ แผนพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์ระดบั จงั หวดั
1.12 ศูนย์เรยี นรกู้ ารเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตสนิ คา้ เกษตร (ศพก.)
กำรตรวจรำชกำรของผู้ตรวจรำชกำรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขตตรวจรำชกำรที่ 3
ดำเนินกำรประชุมและลงพื้นที่จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้
1. กำรประชุมตรวจรำชกำรตำมแผนกำรตรวจรำชกำรและกำรขับเคล่ือนแบบบูรณำกำร
ในพื้นที่ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 รอบที่ 1 วันอังคารที่ 26 เมษายน 2565 ผู้ตรวจราชการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต 3 นางกลุ ฤดี พัฒนะอ่ิม พร้อมด้วยหวั หน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ผชู้ ่วยผตู้ รวจราชการ (ระดบั กรม) ไดล้ งพนื้ ท่ีติดตามงานและตรวจเยย่ี มเกษตรกร ดังนี้
1) ตรวจเยี่ยมกลุ่มผู้ปลูกสมุนไพรตาบลหนองสาหร่าย เลขท่ี 67/1 หมู่ท่ี 4 ตาบล
หนองสาหรา่ ย อาเภอดอนเจดีย์ จงั หวดั สพุ รรณบุรี
2) ตรวจเย่ียมพ้ืนท่ีฟาร์มโคขุน ของ นางจรรยา คล้ายทอง เลขท่ี 240/1 หมู่ที่ 3 ตาบล
สระกระโจม อาเภอดอนเจดยี ์ จงั หวดั สุพรรณบุรี
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดสพุ รรณบรุ ี 53
2. กำรประชุมกำรตรวจรำชกำรตำมแผน
กำรตรวจรำชกำรและกำรขับเคล่ือนแบบบูรณำกำรในพ้ืนที่
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 รอบที่ 2 วันอังคารท่ี 26
กรกฎาคม 2565 ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เขต 3 นางกุลฤดี พัฒนะอ่ิม ได้ประชุมฯ เพื่อตรวจติดตาม
ความก้าวหน้าผลการดาเนินงานตามแผนการตรวจราชการ และ
การขับเคล่ือนแบบบูรณาการในพื้นที่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2565 (รอบที่ 2) ร่วมกับหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และผู้ช่วยผู้ตรวจราชการ
(ระดับกรม) ณ เรือนประชุมอยู่เย็นเป็นสุข ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทย (นาเฮียใช้)
และถ่ายทอดผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Zoom Meeting และลงพ้ืนท่ีติดตามงานและตรวจเยี่ยม
เกษตรกร ดังน้ี
1) ลงพื้นท่ีติดตามผลการดาเนินงานชนิดสินค้าข้าว ณ แปลงใหญ่ท่ัวไป ของนายพิชิต
เกียรติสมพร ตาบลสวนแตง อาเภอเมอื งสพุ รรณบุรี
2) ลงพ้ืนท่ีติดตามผลการดาเนินงานชนิดสินค้าปลาสลิด ณ ฟาร์มเพาะเลี้ยงปลาสลิด
ของ นายบูรณศ์ ริ ิ ปฤษรารณุ 249 หมู่ที่ 5 ตาบลวงั น้าเย็น อาเภอบางปลาม้า จังหวดั สุพรรณบรุ ี
2.8 โครงกำร 1 ตำบล 1 กลมุ่ เกษตรทฤษฎใี หม่
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดทาโครงการ 1 ตาบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ น้อมนาหลักทฤษฎีใหม่ และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการพัฒนาพ้ืนที่
จุดเรียนรู้ในรูปแบบกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ มุ่งเน้นการสร้างภูมิคุ้มกันที่มีอยู่ให้เข้มแข็งเพ่ือให้สามารถปรับตัว
รองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะภายหลังการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 บรรเทาปัญหาการว่างงาน ลดปัญหาการเคล่ือนย้ายแรงงานภาคเกษตรกรรม
ไปสู่ภาคอื่นๆ และสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนในท้องถิ่นให้มีความม่ันคงในการเป็นแหล่งผลิตอาหาร
มีทางเลือก มีอาหาร มีอาชีพ มีความอุดมสมบูรณ์ มีความอบอุ่นจากครอบครัว เกิดความสุขตามวิถีชีวิต
พอเพียงข้ึนในชุมชน ซ่ึงเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นศาสตร์ที่เป็นทางรอดของเกษตรกรไทย เพ่ือมุ่งสู่ระบบ
54 รำยงำนประจำปี 2565
เกษตรกรรมย่งั ยืน ทั้งน้ี นอกจากโครงการฯ จะช่วยฟืน้ ฟูเศรษฐกิจในระยะส้ันแล้ว ยงั ช่วยสรา้ งความแข็งแกร่ง
ให้กับเศรษฐกิจไทยในระยะยาวได้ เกษตรกรสามารถเลี้ยงตนเองและสร้างรายได้ ให้กับครอบครัวได้อย่าง
พอเพียงและย่ังยืน โดยมีเป้าหมายเกษตรกรท่ัวประเทศท่ีเข้าร่วมโครงการฯ จานวน 64,144 ราย
และเป้าหมายการจ้างงาน 32,072 ราย ในพืน้ ที่ 4,009 ตาบล
ในส่วนของจังหวัดสุพรรณบุรี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กาหนดเป้าหมายเกษตรกร
ท่ีเข้าร่วมโครงการ 1 ตาบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ของจังหวัด จานวน 880 ราย และผู้รับจ้างงาน
จานวน 440 ราย ในพื้นท่ีเป้าหมาย 9 อาเภอ 55 ตาบล (ยกเว้นอาเภอศรีประจันต์ เนื่องจากถูกคัดเลือกไป
เป็นเป้าหมายโครงการโคก หนอง นา โมเดล ของกรมการพัฒนาชุมชน) โดยที่ผ่านมาได้ดาเนินการรับสมัคร
เกษตรกรและผู้รับจ้างงานเข้าร่วมโครงการฯ ไปแล้ว 5 ระยะ ปัจจุบันมีเกษตรกรที่ผ่านการคัดเลือกจาก
คณะทางานขับเคล่ือนโครงการฯ ระดับอาเภอ และผ่านการเห็นชอบจากคณะทางานขับเคลื่อนโครงการฯ
ระดบั จังหวัด รว่ มโครงการฯ จานวนท้ังสน้ิ 189 ราย และมีผรู้ ับจ้างงาน จานวน 94 ราย
กำรคดั เลอื กเกษตรกรต้นแบบโครงกำร 1 ตำบล 1 กล่มุ เกษตรทฤษฎีใหม่
สานักปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร
และเกษตรกรรมยั่งยืน ได้มีหนังสือด่วนท่ีสุด ที่ กษ 0207/ว 1319 ลงวันท่ี 15 กันยายน 2565 แจ้งให้
เกษตรและสหกรณ์จังหวัด คัดเลือกเกษตรกรต้นแบบโครงการ 1 ตาบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ท่ีประสบ
ความสาเร็จสามารถเป็นเกษตรกรต้นแบบและเป็นจุดเรียนรู้ศึกษาดูงานแก่เกษตรกรรายอ่ืนได้ อย่างน้อย
จังหวัดละ 1 ราย
ส า นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์
จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินการคัดเลือก
เกษตรกรต้นแบบโครงการ 1 ตาบล
1 ก ลุ่ ม เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่ ที่ ป ระสบ
ความสาเรจ็ สามารถเป็นเกษตรกรต้นแบบ
และเป็นจุดเรียนรู้ศึกษาดูงานแก่เกษตรกร
รายอน่ื ได้ จานวน 1 ราย คอื นางปรานอม
เข็มเพ็ชร บ้านเลขที่ 95/4 หมู่ที่ 1
ตาบลสามชุก อาเภอสามชุก จังหวัด
สุพรรณบุรี โดยได้รับการสนับสนุน
องค์ความรู้และปัจจัยการผลิตข้ันพื้นฐาน
จากโครงการฯ ทั้งด้านพืช ด้านปศุสัตว์
สระกักเก็บน้าและการบารุงดิน เป็นต้น
และหลังจากที่เข้าร่วมโครงการฯ ทาให้มี
การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น คือ
มีสระเก็บกักน้า ทาให้พ้ืนที่มีน้าใช้ตลอดปี
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งในด้านพืช
ปศุสัตว์ และประมง สามารถพึ่งพาตนเอง
ได้และนาไปสู่การแปรรูปผลผลติ
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั สุพรรณบรุ ี 55
2.9 โครงกำรพฒั นำเกษตรกรรมย่งั ยนื (เกษตรทฤษฎีใหม่)
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566
กองนโยบายเทคโนโลยเี พ่อื การเกษตรและเกษตรกรรมยง่ั ยนื (กนท.) สานักงานปลัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ได้จัดประชุมช้ีแจงแนวทางการขับเคล่ือนโครงการพัฒนาเกษตรกรรมย่ังยืน (เกษตรทฤษฎีใหม่)
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เม่ือวันจันทร์ท่ี 22 สิงหาคม 2565 ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ ซึ่งมี
รายละเอยี ดแนวทางการขบั เคลื่อนโครงการฯ ดงั นี้
1. วตั ถปุ ระสงค์
1.1 ส่งเสรมิ การผลิตแบบเกษตรปลอดภัย
1.2 ส่งเสรมิ กลุม่ ใหม้ ีความเข้มแขง็
1.3 สร้างการตระหนักรู้สนิ ค้าเกษตรปลอดภยั
2. กำรคัดเลอื กและจัดลำดับกลุ่มเปำ้ หมำย
2.1 กลุ่มเป้าหมายรายใหม่ (10,000 ราย) : ไม่มีการกาหนดโควตากลุ่มเป้าหมายของ
แต่ละจังหวัด ขอให้จังหวัดเสนอกลุ่มเป้าหมายตามจานวนท่ีผ่านการคัดเลือกและจัดลาดับความพร้อม
โดยม่งุ เน้นเกษตรกรทมี่ ีแหล่งน้าหรอื สระเก็บกกั น้าสาหรับการเพาะปลูก การปศสุ ัตว์ การประมง และมีเอกสาร
สทิ ธท์ิ ดี่ ินหรอื กรณีเช่าตอ้ งมหี นงั สอื ขออนุญาตจากเจา้ ของท่ีดนิ
2.2 กลุ่มเป้าหมายรายเดิม : เป็นกลุ่มเกษตรกรทฤษฎีใหม่ตาบลต้นแบบ (โครงการ 1
ตาบล 1 กลุ่มเกษตรกร) /กลุ่มเกษตรกรทฤษฎีใหม่ท่ีขับเคล่ือนโดยกรมปศุสัตว์/กลุ่มเกษตรทฤษฎใี หม่ในพ้นื ท่ี
ส.ป.ก. 120 กลุ่ม ที่มีความสนใจเข้าร่วมโครงการ โดยขอพิจารณากลุ่มเกษตรกรตามศักยภาพของกลุ่ม
ตามแนวทางที่กาหนด
3. กำรฝกึ อบรม
3.1 รายใหม่ : เกษตรและสหกรณ์จังหวัดร่วมกับหน่วยงานในพ้ืนที่ บูรณาการกิจกรรม
และหลักสูตรการอบรม / ถ่ายทอด / ส่งเสริมความรู้ โดยกาหนดหลักสูตรหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักสูตรเฉพาะทาง
3.2 รายเดิม : จัดกระบวนการเรียนรู้ด้านการรวมกลุ่ม ด้านการตลาด และเตรียม
ความพร้อมและการรับรองมาตรฐาน (ปีที่ 1 เตรียมความพร้อมและรับรองมาตรฐาน ปีที่ 2 เข้าสู่การตรวจ
รบั รองมาตรฐาน)
4. สนบั สนุนปัจจยั กำรผลติ : ด้านข้าว ด้านพชื ด้านประมง ดา้ นปศสุ ัตว์ และบัญชคี รัวเรือน
5. มำตรฐำน : ให้ความรู้กระบวนการผลิตในระบบมาตรฐานความปลอดภัย และตรวจ
รับรองมาตรฐานเกษตรปลอดภัย (GAP อินทรีย์ PGS) ในรายทมี่ ีความพร้อม
6. กำรตลำด : ตลาดเกษตรกรทุกวันศุกร์ ตลาดชุมชน/ร้านค่าชุมชน งานกิจกรรมต่างๆ
ในพ้ืนทตี่ ลาดออนไลน์ Business Matching
7. กำรจัดเก็บข้อมูล : ส่วนกลางจัดต้ังคณะทางานด้านข้อมูลเพ่ือจัดทากรอบข้อมูล
แผนพัฒนาระบบสารสนเทศ และเช่ือมโยงฐานข้อมูลต่างๆ เพ่ือให้สอดคล้องกับระยะเวลาและงบประมาณ
ต่อไป เช่น
1) ข้อมูลทัว่ ไป พ้ืนที่และกจิ กรรมของเกษตรกรท่เี ข้ารว่ มโครงการ
2) การรับรองมาตรฐาน GAP / อินทรีย์
3) มูลค่าสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั จากการจาหนา่ ยในตลาดตา่ งๆ ตามที่กาหนด
56 รำยงำนประจำปี 2565
4) บัญชีครัวเรือน (รายรบั -รายจา่ ย) / บัญชีต้นทนุ อาชีพ (รายได้ ต้นทุน คา่ ใช้จ่าย)
5) การจดั ทาฐานข้อมูลลูกคา้ เกษตรกร (CRM)
8. กลไกกำรติดตำมประสำนงำนและแกไ้ ขปัญหำในพ้นื ท่ี
8.1 มีกลไกการติดตาม ประสานการดาเนินงาน และแก้ไขปัญหาในพื้นที่ในระดับ
สว่ นกลาง กรม เขต
8.2 เกษตรและสหกรณ์จังหวัดบูรณาการร่วมกับหน่วยงานในพื้นท่ีติดตามผล
การดาเนินงานและแก้ไขปญั หาในพนื้ ท่ี
ท้ังนี้ กลุ่มเป้าหมายรายใหม่ท่ีเข้าร่วมโครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน (เกษตรทฤษฎีใหม่)
ของจงั หวดั สพุ รรณบุรี มีจานวนทง้ั หมด 332 ราย ซึ่งจาแนกรายอาเภอได้ ดงั น้ี
ท่ี อำเภอ จำนวน
1. อาเภออู่ทอง 110
2. อาเภอหนองหญา้ ไซ 66
3. อาเภอสามชกุ 34
4. อาเภอบางปลามา้ 24
5. อาเภอเมอื งสุพรรณ 23
6. อาเภอเดมิ บางนางบวช 19
7. อาเภอศรีประจนั ต์ 19
8. อาเภอดอนเจดีย์ 17
9. อาเภอดา่ นชา้ ง 11
10. อาเภอสองพนี่ อ้ ง 9
332
รวมทั้งหมด
2.10 โครงกำรพฒั นำเกษตรกรรมย่งั ยืนระดบั ตำบล
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดทาโครงการพัฒนา
เกษตรกรรมย่ังยืนระดับตาบล มีวัตถุประสงค์เพื่อทาให้เกิดกลไก
ลการจัดทาและประสานแผนพัฒนาการเกษตรระดับตาบลที่มี
ประสิทธิภาพและสามารถขับเคลื่อนแผนพัฒนาการเกษตรระดับ
ตาบลท่ีสอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกรในพ้ืนท่ี
โดยการบูรณาการระหว่างหน่วยงานผ่านแผนงานและโครงการ
รวมถึงนโยบายต่างๆ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้กระจาย
เข้าสู่ระดับตาบลได้ตรงตาม ความต้องการของพื้นท่ีและทั่วถึง
ทาให้เกษตรกรมีความสามารถในการทาการเกษตรได้อยา่ งยั่งยืน ท้ังนี้ ไดม้ อบหมายเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัด
ในฐานะเลขานุการคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด ดาเนินการโครงการพัฒนา
เกษตรกรรมยั่งยืนระดับตาบล ( Tambon Sustainable Agriculture Development Project: TAP)
โดยจัดทาร่างคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนระดับตาบล เสนอต่อคณะอนุกรรมการ
พัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด (อ.พ.ก.) ซึ่งสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
ได้เสนอร่างคาสั่งดังกล่าวต่อ อ.พ.ก. คร้ังท่ี 1/2565 เม่ือวันพฤหัสบดีท่ี 25 สิงหาคม 2565 ดังนี้
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สุพรรณบุรี 57
องค์ประกอบ
1. นายอาเภอ ทีป่ รึกษา
2. ปลดั อาเภอทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ประธานคณะทางาน
3. ผบู้ ริหารองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ รองประธานคณะทางาน
4. เจ้าหนา้ ทีใ่ นสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คณะทางาน
หรือผู้แทนของหน่วยงานในสงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คณะทางาน
ประกอบด้วย กรมประมง กรมปศสุ ัตว์ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร คณะทางาน
กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมพัฒนาทีด่ ิน คณะทางาน
5. กานนั ในพนื้ ท่ี
6. ผแู้ ทนหมู่บา้ น จานวนหมูบ่ ้านละ 1 ราย คณะทางาน
7. ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ไมเ่ กนิ 2 ราย
แตง่ ต้งั โดยคณะทางานขับเคลื่อนฯ ระดบั ตาบล คณะทางานและ
8. ผแู้ ทนภาคประชาสงั คม ไมเ่ กิน 2 ราย เลขานุการ
แตง่ ตัง้ โดยคณะทางานขบั เคลือ่ นฯ ระดบั ตาบล คณะทางานและ
9. นกั วิชาการสง่ เสรมิ การเกษตร ทีร่ บั ผดิ ชอบประจาตาบล ผู้ชว่ ยเลขานุการ
สานกั งานเกษตรอาเภอ
10.ผแู้ ทนองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน
ท่รี ับผิดชอบด้านการเกษตรที่ได้รบั มอบหมาย
อำนำจหนำ้ ที่
1. กาหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย แผนงาน และโครงการในการขับเคล่ือนโครงการพัฒนาเกษตรกรรม
ยงั่ ยืนระดบั ตาบล
2. ขับเคลอื่ นแผนงานและโครงการภายใต้แผนเกษตรกรรมยั่งยนื ระดบั ตาบล
3. จัดทาแนวทางสร้างการรับรู้ ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายต่างๆ ในพื้นที่ และสนับสนุน
การขับเคลอ่ื นเกษตรกรรมย่ังยนื
4. รวบรวมและจัดทาข้อมูลด้านการเกษตรและสหกรณ์ของตาบล บูรณาการ บริหารจัดการ
การจดั ทาแผนพฒั นาเกษตรกรรมยง่ั ยนื ระดับตาบล
5. รายงานผลการดาเนินงานตอ่ คณะทางานขบั เคล่อื นงานด้านการเกษตรระดับอาเภอ
6. ติดตาม ปัญหาภาคการเกษตรในพื้นท่ี เสนอแนวทางป้องกันและเตรียมการแก้ไขปัญหาและ
สนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสห กรณ์และสร้างความร่วมมือกับภาคี
เครอื ขา่ ยในระดบั พ้ืนที่
7. ปฏิบตั ิงานอ่นื ๆ ตามท่ีคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระบบเกษตรกรรมยงั่ ยืนมอบหมาย
58 รำยงำนประจำปี 2565
ตามร่างคาสั่งคณะทางานขับเคล่ือนเกษตรกรรมย่ังยืนระดับตาบล กาหนดให้คัดเลือกผู้แทน
หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 ราย /ผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน 2 ราย / และผู้แทนภาคประชาสังคมไม่เกิน 2 ราย
ซ่ึงสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ประสานคณะทางานขับเคล่ือนงานด้านการเกษตรระดับ
อาเภอ 10 อาเภอ เสนอข้อบุคคลดังกล่าวข้างต้น เพ่ือสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
จะรวบรวม และนามาจัดทาบัญชีแนบทา้ ยรา่ งคาส่งั แตง่ ตัง้ คณะทางานฯ ระดับตาบล ตอ่ ไป
2.11 โครงกำรขับเคลอ่ื นกำรเกษตรระดับหมู่บำ้ นสกู่ ำรผลติ สนิ ค้ำเกษตรมลู ค่ำสูง
ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดทาโครงการขับเคลื่อนการเกษตรระดับหมู่บ้าน
สู่ การผลิตสินค้าเกษตรมูลค่าสูง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือทบทวนและขับเคลื่อนแผนพัฒนาหมู่บ้าน รวมทั้ง
จัดทาแผนงาน/โครงการด้านการเกษตรที่มีความเชอ่ื มโยงกับแผนชมุ ชน ซึ่งได้มาจากปัญหาและความต้องการ
ของประชาชนท่ีผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคีต่างๆ ในพื้นที่ ในการขับเคล่ือนโครงการ
ให้ประสบผลสาเร็จ ส่งเสริมให้ชุมชนสามารถวิเคราะห์ศักยภาพด้านต่างๆ เพื่อกาหนดแนวทางพัฒนาหมู่บ้าน
ให้มีความเข้มแข็งในอนาคต และวางแผนการผลิตท่ีมีมาตรฐานและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
ซึง่ ก่อใหเ้ กดิ รายได้ทีส่ ูงขึน้ และยกระดับความเป็นอยขู่ องคนในหม่บู า้ นให้ดขี ึน้
ผลกำรดำเนินงำน
คณะกรรมการขับเคลื่อนงานด้านการเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี (SCP) ร่วมกับ คณะทางาน
ขับเคล่อื นงานด้านการเกษตรระดับอาเภอ (SCD) ทัง้ 10 อาเภอ /อาสาสมัครเกษตรหม่บู ้าน (หมบู่ ้านมูลค่าสูง)
/กลุ่มเกษตรกร ดาเนินการทบทวนและขับเคลื่อนแผนพัฒนาหมู่บ้าน รวมท้ังจัดทาแผนงาน/โครงการ
ด้านการเกษตรที่มีความเช่ือมโยงกับแผนชุมชน จานวน 10 หมู่บ้าน ผลการดาเนินงานจัดทาโครงการ
ขบั เคลอ่ื นการเกษตรระดับหมบู่ า้ นสู่การผลิตสินคา้ เกษตรมลู ค่าสูง สรุปไดด้ ังน้ี
อำเภอ หมู่ ตำบล สนิ ค้ำเกษตร แผนงำน/โครงกำร งบประมำณ
ท่ี มูลค่ำสูง (บำท)
200,000
1. เมืองสุพรรณบุรี 5 รั้วใหญ่ ปลาสลดิ โครงการพฒั นาอุตสาหกรรม
50,000
แปรรูป ปลาสลิดดอนกายานแบบ 185,000
ครบวงจรเพอ่ื รองรบั การ
ขนึ้ ทะเบียนเป็นสิ่งบง่ ช้ี
ทางภมู ศิ าสตร์
2. เดมิ บางนางบวช 11 เดิมบาง ขา้ ว โครงการแปรรปู ข้าว
3. สองพน่ี อ้ ง 8 บางตาเถร
(แปรรปู ข้าว) เพอื่ สร้างมูลคา่
ก้งุ กา้ มกราม โครงการลดตน้ ทนุ การผลติ
(ก้งุ ตัวผ้ลู ้วน) กุ้งก้ามกราม (ก้งุ ก้ามกราม
ตัวผู้ล้วน)
4. บางปลาม้า 6 องครักษ์ กุ้งก้ามกราม โครงการลดต้นทุนการผลติ 1,800,000
กุ้งกา้ มกราม
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สุพรรณบุรี 59
อำเภอ หมู่ ตำบล สนิ คำ้ เกษตร แผนงำน/โครงกำร งบประมำณ
ท่ี มูลค่ำสูง (บำท)
5. ศรปี ระจนั ต์ 9 วงั ยาง แหว้ จนี 1. โครงการแปรรูปแห้ว 100,000
2. โครงการส่งเสริมปลกู แห้ว 200,000
พนั ธ์ดุ ีมีมาตรฐาน
6. สามชกุ 3 ย่านยาว ข้าว โครงการแปรรปู ข้าว 885,000
เพ่ือบริโภค
7. อูท่ อง 8 พลบั พลาไชย สมนุ ไพร โครงการส่งเสรมิ การปลูก 70,000
โคเนื้อ พืชสมุนไพรบ้านขามใต้ 400,000
8. หนองหญา้ ไซ 2 หนองราชวตั ร โคเน้ือ 207,000
โครงการยกระดับมาตรฐาน
9. ดอนเจดยี ์ 6 ดอนเจดีย์ การผลติ โคเนอื้ บา้ นหนองคาง
โครงการยกระดับการผลิต
โคเนื้อคุณภาพ บา้ นหนอง
หลอด หม่ทู ่ี 6 ต.ดอนเจดยี ์
10. ดา่ นชา้ ง 18 หนองมะคา่ โมง ปลาสวาย โครงการส่งเสรมิ การแปรรปู 380,000
แปรรูป ปลาสวาย
รวม 4,097,000
ซึ่งสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดส่งโครงการให้หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
พิจารรณาขอรับการสนับสนุนงบประมาณไปยงั แหลง่ งบประมาณอื่น ๆ ตอ่ ไป
60 รำยงำนประจำปี 2565
2.12 ศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวตั กรรม
(Agritech and Innovation Center : AIC) จงั หวัดสุพรรณบุรี
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดม้ ีนโยบายการปฏิรปู การบริหารและการบริการ ของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และภาคเกษตรกรรมด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ
ภายใตโ้ มเดล ไทยแลนด์ 4.0 โดยแตง่ ตง้ั คณะกรรมการขับเคลื่อนเกษตรสมัยใหม่ จานวน 2 คณะ คอื
คณะกรรมการขับเคลื่อนเทคโนโลยีเกษตร 4.0 ซ่ึงมีท่ีปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(นายอลงกรณ์ พลบุตร) เป็นประธาน และคณะกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์การเกษตร
ซ่ึงมีผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายนราพัฒน์ แก้วทอง) เป็นประธาน ภายใต้
คณะกรรมการขับเคล่ือนเทคโนโลยีเกษตร 4.0 จะประกอบด้วยคณะอนุกรรมการ 4 คณะ ได้แก่
1) คณะอนุกรรมการขับเคลื่อน Big Data และ Gov Tech 2) คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเกษตรอัจฉริยะ
3) คณะอนุกรรมการขับเคลื่อน E- commerce และ 4) คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนธุรกิจเกษตร
(Agribusiness) โดยเชื่อมโยงกับศูนย์ AIC ทั้งระดบั ส่วนกลางและระดับจังหวัด รวมทัง้ เช่ือมโยงกบั การส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรศูนย์เครือข่ายปราชญ์
ชาวบ้าน และเกษตรกรรมย่ังยืน ประกอบด้วย เกษตรธรรมชาติ เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรผสมสาน วนเกษตร
และเกษตรอินทรีย์ เพ่ือความย่ังยืนด้านสิ่งแวดล้อม ความย่ังยืนด้านเศรษฐกิจ และความยั่งยืนด้านสังคม
การจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม (Agritech and Innovation Center : AIC) ได้ร่วมมือ
กับสถาบันการศึกษา จานวน ทั้งส้ิน 69 สถาบัน 83 แห่ง ใน 77 จังหวัด ในการจัดต้ังศูนย์ AIC เพื่อเป็น
แหล่งเรียนรู้ แหล่งอบรมบ่มเพาะ รวบรวมถ่ายทอดเทคโนโลยี ภูมิปัญญาด้านการเกษตรและนวัตกรรม
ทางการเกษตร และเป็นศูนยก์ ลางในการให้บริการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และเชอ่ื มโยงความรว่ มมือด้านเทคโนโลยี
และนวัตกรรมระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคเกษตร โดยมีสถานที่ต้ัง ณ สถาบันการศึกษาแต่ละจังหวัด
สาหรับจังหวัดสุพรรณบุรี มีสถาบันการศึกษาท่ีร่วมลงนาม MOU ในการจัดต้ังศูนย์ AIC คือ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี โดยได้มีการดาเนินการในการขับเคลื่อนฯ ในปี พ.ศ. 2565
คอื การประชุมคณะกรรมการบรหิ ารศนู ยเ์ ทคโนโลยีเกษตรและนวตั กรรม (Agritech and Innovation Center
: AIC) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ผ่านระบบประชุมออนไลน์ Application Zoom โดยมีนายอลงกรณ์
พลบุตร ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธาน จานวน 4 คร้ัง เพื่อรายงาน
ผลความก้าวหน้าการดาเนินงานของอนุกรรมการทั้ง 4 คณะ ความก้าวหน้าในการดาเนินงาน
ของคณะกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์เกษตร การลงพื้นที่เพ่ือติดตามงานศูนย์ AIC จังหวัด
และความก้าวหนา้ การดาเนินงานศูนยค์ วามเปน็ เลศิ เฉพาะดา้ น (Center of Excellence) ภายใตศ้ ูนย์ AIC
ข้อมูลเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตร Innovation Catalogs ของศูนย์ AIC ท่ีสามารถนามา
ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการเกษตรของจังหวัดสุพรรณบุรี สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
ได้ดาเนินการคัดเลือกและรวบรวมเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตร Innovation Catalogs
ของศูนย์ AIC ท่ัวประเทศ ที่เหมาะสมจะนามาถ่ายทอดและส่งเสริมให้เกษตรกรนาไปประยุกต์ใช้ในการทา
การเกษตร เพ่ือเป็นการเพิ่มศักยภาพการผลิตสินค้าเกษตรของจังหวัดสุพรรณบุรี โดยได้ดาเนินการคัดเลือก
เทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีสอดคล้องกับบริบทและกิจกรรมในการทาการเกษตรของจังหวัดสุพรรณบุรี
ได้จานวน 509 เทคโนโลยี/นวัตกรรม จากจานวนท้ังหมด 748 เทคโนโลยี/นวัตกรรม ทั้งนี้ หน่วยงาน
สามารถเข้าไปสืบค้นข้อมูลและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ https://aic-info.moac.go.th/ และขอให้
นาไปใช้ประโยชนใ์ นการจดั ทาแผนงาน/โครงการเพือ่ สง่ เสรมิ การทาการเกษตรในด้านต่างๆ ของเกษตรกร
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สุพรรณบุรี 61
2.13 นโยบำยสำคัญของกระทรวงเกษตร BCG Model จงั หวัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีนโยบายในการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ
เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model) ด้านการเกษตร ซึ่งได้กาหนดกรอบแนวทาง
การดาเนินงาน Time Line BCG Model ให้สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ดาเนินการบูรณาการ
ขับเคล่ือนในระดับของพื้นที่จังหวัด โดยได้กาหนดเป็นประเด็นรายสินค้าในการตรวจราชการของผู้ตรวจ
ราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ด้วย ซึ่งมีผลมกี ารดาเนนิ การ ดังนี้
1. ประสานหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ร่วมกาหนดชนิดสินค้า (นาร่อง) BCG Model จานวน 4 ชนิด ได้แก่ 1) พืชสมุนไพร 2) ปลาสลิด 3) โคเนือ้
4) ข้าว กข.43 และขยายผลในสินคา้ เกษตรทส่ี าคญั ของจังหวดั สุพรรณบุรี ชนดิ อ่นื ๆ
2. จัดทาร่างข้อมูลพื้นฐาน และ BCG Value Chain ของสินค้าเกษตรทั้ง 4 ชนิด และนาเข้า
ทป่ี ระชุมคณะกรรมการขบั เคลอ่ื นงานดา้ นการเกษตรระดบั จังหวัด เพอื่ พิจารณาให้ความเหน็ ชอบ
3. จัดประชุมกลุ่มย่อย Focus Group ของแต่ละชนิดสินค้าเกษตร เพ่ือให้หน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวข้องร่วมกันจัดทาโครงการด้านการเกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิต โดยนาแนวคิด BCG Model มาใช้
ในการเขียนโครงการตามแบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea) ของโครงการด้านการเกษตรและสหกรณ์
ที่สาคัญของจังหวัด
4. ฝ่ายเลขาฯ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ โครงการฯ ทีห่ น่วยงานส่งมาให้ เพอ่ื จาแนกกลมุ่ โครงการ
BCG Model จัดทาแบบสรุปโครงการฯ เกบ็ ไว้เป็น Project Bank
5. นาแบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea) ของโครงการด้านการเกษตรและสหกรณ์ท่ีสาคัญ
ของจังหวดั มาบรรจุไวใ้ นร่างแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวดั สุพรรณบุรี (พ.ศ. 2566 - 2570)
6. จัดประชุมคณะกรรมการขับเคล่ือนงานด้านการเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อพิจารณา
ร่างแผนพัฒนาการเกษตรฯ ก่อนนาเข้าท่ีประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
สพุ รรณบุรี ท่ีมผี วู้ า่ ราชการจังหวดั เป็นประธาน พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบอกี คร้งั
7. โครงการตามแผนพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวดั สพุ รรณบรุ ี กลุม่ โครงการ BCG
(Project Bank)
BCG ปี 2566 ปี 2567 ห่วงโซ่
Bio 8 โครงการ 28 โครงการ ต้น/กลาง/ปลาย
Circular 0 3 โครงการ ตน้ /กลาง
Green 0 4 โครงการ ต้น/กลาง
*** โครงการในปี 2566 จานวน 8 โครงการ ได้รับอนุมัตงิ บประมาณเรยี บร้อยแลว้ (งบจงั หวดั )
หน่วยงานร่วมดาเนินการ : หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ / สานักงานสาธารณสุข
จังหวัด / โรงพยาบาลอู่ทอง / สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด / สานักงานพาณิชย์จังหวัด / สานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัด / เครือข่ายสหพันธ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยในจังหวัดสุพรรณบุรี / ศูนย์ AIC จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี / ภาคเอกชน / ภาคประชาชน
62 รำยงำนประจำปี 2565
2.14 ผลกำรดำเนินงำนโครงกำรส่งเสรมิ กำรบริโภคและกำรใชว้ ัตถดุ บิ สนิ คำ้ Q
โครงกำรบรู ณำกำรตรวจสอบและควบคมุ สนิ ค้ำเกษตรให้เปน็ ไปตำมพระรำชบญั ญตั ิ
มำตรฐำนสนิ คำ้ เกษตร พ.ศ. 2551 และโครงกำรรำ้ นอำหำรวัตถุดบิ ปลอดภยั
เลือกใช้สนิ คำ้ Q
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยสานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
(มกอช.) ได้จัดทาโครงการ จานวน 3 โครงการ ดังนี้ 1) โครงการส่งเสริมการบริโภคและใช้วัตถุดิบสินค้า Q
2) โครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้า Q (Q Restaurant) และ 3) โครงการบูรณาการ
ตรวจสอบควบคุมสินค้าเกษตรให้เป็นไปตามพระราชบญั ญัติมาตรฐานสินค้า พ.ศ. 2551 โดยขอความร่วมมือ
สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มอบหมายให้สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด บูรณาการ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องปฏิบัติงานในระดับจังหวัดตามแนวทางและหลักเกณฑ์การดาเนินงานโครงการ ทั้งนี้
จังหวัดสุพรรณบุรีจึงได้มีคาสั่งที่ 1947/2563 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2563 เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการ
ดาเนินงานรับรองแหล่งจาหน่ายสินค้าเกษตรมาตรฐาน และวัตถุดิบปลอดภัยภายใต้สัญลักษณ์ Q ของจังหวัด
สุพรรณบุรี ภายใต้คาสั่งประกอบด้วยคณะกรรมการ จานวน 2 คณะ คือ 1) คณะผู้ตัดสินใจให้การรับรอง
แหล่งจาหน่ายสินค้าเกษตรมาตรฐาน และวัตถุดิบปลอดภัยภายใต้สัญลักษณ์ Q ของจังหวัดสุพรรณบุรี และ
2) คณะผู้ตรวจประเมินและรับรองแหล่งจาหน่ายสินค้าเกษตรมาตรฐาน และวัตถุดิบปลอดภัยภายใต้
สัญลักษณ์ Q ของจังหวัดสุพรรณบุรี เพ่ือขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการดังกล่าว โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.
2565 มีผลการดาเนินงานตรวจติดตามและรับสมัครใหม่พร้อมทั้งให้การรับรองแหล่งจาหน่ายสินค้าเกษตร
มาตรฐานและวัตถุดิบปลอดภัย ภายใต้สัญลักษณ์ Q ของจังหวัดสุพรรณบุรี และร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัย
เลือกใชส้ นิ คา้ Q (Q Restaurant) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี
1. โครงกำรส่งเสริมกำรบริโภคและใช้วัตถุดิบสินค้ำ Q ดาเนินการลงพ้ืนที่ตรวจประเมินและ
รับสมัครแผง/ร้านใหม่ ตามโครงการส่งเสริมการบริโภคและใช้วัตถุดิบสินค้า Q จานวนท้ังส้ิน 28 แผง/ร้าน
สรุปผลการตรวจดงั น้ี
ประเภทกำรตรวจ ผลกำรดำเนินงำน จำนวนแผง/ร้ำน
- 16 แผง/รา้ น
1. ตรวจติดตาม ตรวจติดตามแผง/ร้านที่จาหน่ายวัตถุดบิ สนิ คา้ Q
ประเภทแผง ในตลาดสด/ร้านค้าหน้าฟาร์ม ทผ่ี า่ น - 12 แผง/ร้าน
การรับรอง (รา้ นเดิม) - ยกเลิก 5 แผง/รา้ น
- เหลือต่ออายุ 7 แผง/ร้าน
2. ตรวจตอ่ อายุ ตรวจตอ่ อายุแผง/ร้านที่จาหน่ายวตั ถุดิบสินคา้ Q
ประเภทแผง ในตลาดสด/รา้ นคา้ หน้าฟาร์ม ทผี่ ่าน -
การรับรอง (ร้านเดมิ )
23 ร้ำน
3. ตรวจรา้ นใหม่ ดาเนินการเชญิ ชวนแผง/ร้าน เขา้ รว่ มโครงการ
แต่เนอื่ งจากสถานการณ์โรคโควดิ ทาให้แผง/รา้ น
ที่จาหน่ายสินค้า Q ปดิ กิจการหลายแหง่
จึงยังไม่มีรา้ นใหมส่ มัครเข้าร่วมโครงการ
รวมจำนวนแผง/ร้ำน ท่ีเข้ำร่วมโครงกำรฯ
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสุพรรณบุรี 63
2. โครงกำรร้ำนอำหำรวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้ำ Q (Q Restaurant) โดยลงพ้ืนท่ีตรวจ
ติดตาม ตรวจต่ออายุ และตรวจประเมินและรับรองร้านใหม่ที่เข้าร่วมโครงการ จานวนทั้งส้ิน 44 ร้าน สรุปผล
การตรวจดังนี้
ประเภทกำรตรวจ ผลกำรดำเนินงำน จำนวน
1. ตรวจติดตาม ตรวจติดตามร้านอาหารที่เข้าร่วมโครงการ (รา้ นเดิม) - 26 รา้ น
2. ตรวจตอ่ อายุ ตรวจต่ออายุใบรับรองรา้ นอาหารที่เข้าร่วมโครงการ - 16 รา้ น
(ร้านเดิม) - ยกเลิก 6 รา้ น
- เหลอื ตอ่ อายุ 10 รา้ น
3. ตรวจรา้ นใหม่ ดาเนนิ การรับสมคั รร้านใหม่ จานวน 2 รา้ น - 2 ร้าน
โดยคณะผูต้ รวจประเมนิ และรับรองแหลง่ จาหนา่ ย
สินค้าเกษตรมาตรฐาน และวัตถดุ บิ ปลอดภยั ภายใต้ 38 รำ้ น
สัญลกั ษณ์ Q ของจงั หวัดสพุ รรณบุรี (คณะท่ี 2)
ได้ลงพื้นท่ตี รวจประเมินร้านอาหารสมคั รใหมแ่ ล้ว
เมื่อวนั ที่ 15 มถิ นุ ายน 2565
รวมจำนวนร้ำนทเ่ี ขำ้ รว่ มโครงกำรฯ
3. โครงกำรบูรณำกำรตรวจสอบควบคุมสินค้ำเกษตรให้เป็นไปตำมพระรำชบัญญตั ิมำตรฐำนสินค้ำ
เกษตร พ.ศ. 2551
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มกอช. ไม่ได้จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานโครงการบูรณา
การตรวจสอบควบคมุ สนิ ค้าเกษตรให้เป็นไปตามพระราชบญั ญัติมาตรฐานสนิ ค้า พ.ศ. 2551
ภำพกจิ กรรมกำรดำเนนิ งำนโครงกำรส่งเสรมิ กำรบรโิ ภคและกำรใชว้ ตั ถดุ บิ สนิ คำ้ Q
นายสุรนิ ทร์ ร่งุ วิตรี น.ส.ศิรินันท์ เกือ้ กลู พานิช น.ส.อารีย์ ดอกพดุ
นายณัฐ ม่นั คง น.ส.สดุ าวรรณ สริ วิ ณชิ ย์ น.ส.วรวรรณ เบญจธรรมธร
64 รำยงำนประจำปี 2565
ภำพกิจกรรม
กำรดำเนินงำนโครงกำรร้ำนอำหำรวัตถุดบิ ปลอดภัยเลอื กใชส้ ินคำ้ Q (Q Restaurant)
2.15 กำรบริหำรจัดกำรสนิ คำ้ เกษตรท่ีสำคญั ประจำปี พ.ศ.2565
1. สมนุ ไพร
จังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดทาแผนพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2566 – 2570 ซ่ึงกาหนด
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การเพิ่มศักยภาพการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมให้ได้มาตรฐาน เพ่ือการแข่งขัน
ทางการค้าและการพัฒนาท่ียั่งยืน และได้จัดทาโครงการ “เมืองสมุนไพร สุพรรณบุรี” ภายใต้แผนปฏิบัติราชการ
ประจาปี พ.ศ. 2566 ประกอบกับการประชุมเข้าร่วมรับฟังและให้ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ การดาเนินงานโครงการ
ส่งเสริมนวัตกรรมเทคโนโลยีอัจฉริยะด้านการเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี กิจกรรมการอนุรักษ์สมุนไพรพื้นบ้าน
สู่สมุนไพรเชิงพาณิชย์ โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ศูนย์การศึกษาอู่ทองทวารดี ซึ่งได้รับ
จัดสรรงบประมาณตามแผนปฏิบัติราชการจังหวัดสุพรรณบุรี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เมื่อวันท่ี 29
ตุลาคม 2564 ท่ีประชุมมีข้อเสนอแนะให้มีการบูรณาการ การขับเคลื่อนสมุนไพรของจังหวัดในทุกมิติ ต้ังแต่
ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง ซ่งึ สานกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดสุพรรณบุรีดาเนินการขับเคล่ือนฯ ดงั น้ี
1. จัดประชุมระดมควำมคิดเห็นกลุ่มย่อย (Focus Group) เพ่ือบูรณำกำรกำรขับเคลื่อน
ไปสู่ “เมืองสมนุ ไพร สุพรรณบุรี” จานวนท้งั สิ้น 3 ครัง้ ดังนี้
1.1 ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันพุธท่ี 24 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมหลวงทรงพล
ศาลากลางจงั หวัดสพุ รรณบุรี โดยมีขอ้ สรุปผลการประชุมดังน้ี
ข้อมูลการปลูก ปัจจุบัน มีเกษตรกรผู้ปลูกพืชสมุนไพร จานวน 31 กลุ่ม 594 ราย พื้นท่ี
431.25 ไร่ กระจายอยู่ท้ัง 10 อาเภอ ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP แล้วจานวน 2 กลุ่ม คิดเป็นเพียง
ร้อยละ 7 ของกลุ่มผู้ปลูกทั้งหมด ชนิดสมุนไพรที่ปลูกมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ ตะไคร้ ข่า กระชาย มะกรูด
และมะขามปอ้ ม
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสุพรรณบรุ ี 65
ช่องทางการจาหน่าย เกษตรกรส่วนใหญ่ จะจาหน่ายในตลาดชุมชนท้องถ่ินเป็นหลัก
คิดเป็นร้อยละ 49 รองลงมาจะจาหน่ายผ่านพ่อค้าคนกลาง คิดเป็นร้อยละ 32 และมีการจาหน่ายด้วยตนเอง
ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์การทาสัญญาซื้อขายกบั ผู้รับซอื้ เพียงเล็กนอ้ ยเท่านน้ั
ลักษณะการจาหน่าย เกษตรกรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 55 จะขายเป็นผลผลิตสด
มกี ารขายทั้งผลผลติ สดและแปรรปู คิดเปน็ ร้อยละ 6 การแปรรปู เป็นวัตถุดบิ เบ้ืองต้น คิดเป็นร้อยละ 10 และ
แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพียงเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ 6 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 23 อยู่ระหว่างการปลูก
ยงั ไม่มีผลผลิตออกส่ตู ลาด
แหลง่ รบั ซอ้ื ท่สี าคัญ ผูป้ ระกอบการที่แปรรูปและจาหน่ายผลิตภัณฑ์สมุนไพร มจี านวน 4 แห่ง
คือ
1) บริษทั บุญสง่ โอสถ จากัด หมู่ 5 ตาบลเขาพระ อาเภอเดมิ บางนางบวช
ผลิตภัณฑ์ : ยาแก้ไอตราอาปาเช่ ยากษัยเส้นตราเด็กในพานทอง ยาอมตราชัยพฤกษ์
ยาแกร้ อ้ นในตราร่มไทร ยาเขียวตราดอกบัว ยาแผน่ ดองเหลา้ ตรา 9 เหรียญ
2) บรษิ ัท ทพิ ยเ์ กสร เฮริ บ์ แอนด์เฮลท์ จากดั อาเภอศรีประจันต์
ผลิตภัณฑ์ : ยาดมสมนุ ไพร สมุนไพรแคบซูล ผลิตภัณฑเ์ สริมอาหาร ยานา้ กษัยเสน้
3) บรษิ ทั โกลโบ ฟูด้ ส์ จากดั อาเภอสามชกุ
ผลติ ภณั ฑ์ : พริกแกง
4) โรงพยาบาลอทู่ อง อาเภออทู่ อง
ผลิตภัณฑ์ : เจลว่านพระฉิม สมุนไพรแคบซูล แชมพู สบู่เหลว ยาหม่อง ยาดม น้ามันไพร
ยาแก้ไอ อ่ืน ๆ โดยมีประมาณการความต้องการวัตถุดิบสมุนไพร ในปี 2565 จานวน 21 ชนิด ปริมาณรวม
ทั้งส้ิน 22,800 กิโลกรัม มูลค่าประมาณ 3,379,000 บาท สมุนไพรท่ีมีความต้องการมากที่สุดคือ “ไพล”
มีปริมาณที่ต้องใช้ถึง 10,000 กิโลกรัมต่อปี หรือคิดเป็นร้อยละ 44 ของจานวนสมุนไพรท่ีใช้เป็นวัตถุดิบ
ทงั้ หมด
Product Champion สมุนไพรท่ีเป็นอัตลักษณ์ โดดเด่น ของสุพรรณบุรี คือ “ว่านพระฉิม”
ซ่ึงเป็นไม้เถาล้มลุก มีสรรพคุณเป็นยารักษาโรคได้นานาชนิด ซึ่งปัจจุบันมีปริมาณการปลูกยังไม่เพียงพอกับ
ความตอ้ งการ
โครงการ/กิจกรรม ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสมุนไพร ปี 2561 – 2565 มีจานวน
6 โครงการ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 49,963,800 บาท ดาเนินการโดยสานักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี
และสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี โดยในระยะแรกปี 2561 -2562 จะมุ่งเน้นเร่ืองการส่งเสริม
การปลูกให้ได้มาตรฐาน และการแปรรูปข้ันต้น ในระยะต่อมาปี 2563 – 2565 ได้เริ่มก่อสร้างปรับปรุง
อาคารผลิตยาและผลิตภัณฑ์สมุนไพร ที่โรงพยาบาลอู่ทอง และเริ่มมีการเชื่อมโยงการผลิตและการตลาด
ระหว่างผู้ประกอบการ และกลมุ่ เกษตรกร
โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปี 2566 “เมืองสมุนไพร สุพรรณบุรี” มีกิจกรรม
ท่ีเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จานวน 9 กิจกรรม งบประมาณ 21,883,000 บาท มีหน่วยงาน
ร่วมดาเนินการ จานวน 7 หน่วยงาน ท้ังนี้ ผลการพิจารณากล่ันกรองของกองจัดทางบประมาณเขตพื้นที่ 13
มีโครงการท่ีเห็นควรสนับสนุน จานวน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพร
จังหวัดสุพรรณบุรี งบประมาณ 3,286,000 บาท โดยสานักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี และโครงการ
ศูนย์เรียนรู้สวนสมุนไพร วิถีไทย วิถีสุขภาพ ตามแนวทาง New Normal งบประมาณ 5,000,000 บาท
โดยมหาวทิ ยาลัยราชภฏั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา
66 รำยงำนประจำปี 2565
ที่ประชุมเห็นชอบกรอบแนวคิดของการพัฒนาด้านสมุนไพร ของจังหวัดสุพรรณบุรี
โดยกาหนดกลยทุ ธห์ ลัก จานวน 9 กลยทุ ธ์ เพ่อื ใช้เปน็ แนวทางการขับเคลือ่ น “เมืองสมนุ ไพร สุพรรณบุรี” ดังน้ี
ในระดับต้นทาง ได้แก่ 1) ยกระดับการปลูกสมุนไพรท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน ตรงกับความ
ต้องการของตลาด เช่น ศูนย์ข้อมูล และองค์ความรู้ด้านสมุนไพร ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต GAP/Organic
ข้ึนทะเบยี นผู้ปลกู แปลงสาธติ แปลงต้นแบบ แปลงใหญ่ (พชื สมนุ ไพร) และศนู ยเ์ รยี นรสู้ มุนไพรในทอ้ งถนิ่
ในระดับกลางทาง ได้แก่ 2) ส่งเสริมการแปรรูป การพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
ในเชิงพาณิชย์ 3) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรให้มากข้ึน เช่น ทางการแพทย์ การดูแลสุขภาพ
การอารกั ขาพชื และการดูแลสัตว์
ในระดบั ปลายทาง ได้แก่ 4) การสรา้ งภาพลกั ษณ์เมืองสมุนไพร ผ่านการทอ่ งเทยี่ วเชงิ สุขภาพ
อาหาร ความงาม และการแพทย์แผนไทย 5) เช่ือมโยงการผลิต และการตลาด ภายในจังหวัด และตลาด
ภายนอก เช่น เกษตรกร ผู้รับซ้ือ ผู้ผลิตยา ภาคเอกชน ภาครัฐ 6) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชน
ในการใชป้ ระโยชน์จากสมนุ ไพรให้มากขนึ้ 7) การสรา้ งแบรนดผ์ ลิตภัณฑเ์ ดน่ 8) ส่งเสรมิ จุดจาหนา่ ยผลิตภัณฑ์
สมุนไพรของจังหวัด และ 9) ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาเพื่อยกระดับการผลิตและการตลาดสมุนไพรแบบ
ครบวงจร
ข้อคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะของที่ประชุม
1) สมุนไพร บางชนิดท่ีตลาดยังมีความต้องการในปริมาณมาก เช่น ไพล และว่านพระฉิม
แต่ยังมีการปลูกค่อนข้างน้อย เน่ืองจากต้องใช้ระยะเวลาประมาณ 2 ปี จึงจะสามารถนามาใช้ประโยชน์หรือ
แปรรูปได้ ซ่ึงอาจเป็นสาเหตุทาให้เกษตรกรไม่นิยมปลูก เพราะให้ผลตอบแทนค่อนข้างช้า ดังนั้น จึงควร
ส่งเสริม แนะนาให้เกษตรกรปลูกควบคู่กับพืชหลักชนิดอ่ืนในแปลงเดียวกันท่ีให้ผลผลิตค่อนข้างเร็ว เพ่ือให้มี
รายไดใ้ นระหว่างรอผลผลิตจากพชื สมนุ ไพรดังกลา่ วดว้ ย
2) เห็นควรผลกั ดันให้วา่ นพระฉมิ ซงึ่ เปน็ Product Champion ของจังหวดั สุพรรณบุรีให้เป็น
ที่รู้จักอย่างแพร่หลายย่ิงข้ึน โดยให้หน่วยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นามาขยายพันธ์ุและส่งเสริมให้
เกษตรกรปลูกในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรีให้มากข้ึน และให้สานักงานพาณิชย์จังหวัดสุพรรณบุรี พิจารณา
แนวทางการขน้ึ ทะเบียนเป็นสินค้า GI ของจงั หวัดอีกหนึง่ ชนิดด้วย
3) ควรส่งเสริมให้ประชาชนปลูกสมุนไพรไว้ใช้เป็นยาสามัญประจาบ้านให้มากข้ึน อย่างน้อย
บ้านละ 5 ชนดิ
4) ส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจใหม่ เช่น กัญชา กัญชง ภายใต้
การควบคมุ อย่างถกู ต้องตามกฎหมาย
5) ส่งเสริมการเชื่อมโยงการผลติ และการตลาดระหวา่ งเกษตรกร และผู้ประกอบการให้มากข้ึน
ซ่ึงในจังหวัดสุพรรณบุรี มีโรงงานแปรรูปสมุนไพรที่ได้มาตรฐาน โดยสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสุพรรณบุรี
พรอ้ มที่จะประสานหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง เพอื่ นดั หมายพบปะพดู คยุ กบั ผปู้ ระกอบการดงั กลา่ วตอ่ ไป
6) ควรเร่งรัดจัดหาสถานท่ีจาหน่าย ผลผลิตและผลิตภัณฑ์สมุนไพรของจังหวัดสุพรรณบุรี
โดยมุ่งเน้นสถานท่ีสาคัญของจังหวัด เช่น วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร และแหล่งท่องเท่ียวต่างๆ เพื่อประชาสัมพันธ์
และเพม่ิ ช่องทางการตลาดอกี หน่ึงช่องทาง
7) แนวทางการสร้างภาพลักษณ์ เมืองสมุนไพร ควรเชื่อมโยงกับการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ
เน่ืองจากสุพรรณบุรีมีแหลง่ ท่องเท่ียวจานวนมาก รวมทั้ง ร้านอาหาร ซึ่งอาจจัดทาเมนูอาหารท่ีมีสว่ นประกอบ
ของสมุนไพร หรืออาหารพื้นบ้าน เป็นจุดขายให้กับนักท่องเท่ียวด้วย โดยกาหนดให้มีการนาร่องและขยายผล
ให้ครบทกุ อาเภอ
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดสพุ รรณบรุ ี 67
8) ควรมีการประชาสัมพันธ์ ผ่านส่ือ และช่องทางต่าง ๆ ให้หลากหลายยิ่งขึ้น เช่น การสร้าง
Story การจัดทา Clip Video หลายๆ ภาษา ควบคกู่ ับการสร้างแบรนด์ “น้องเหนอ่ ” เปน็ ต้น
9) จังหวัดสุพรรณบุรี มีสถาบันการศึกษา จานวน 5 แห่ง ท่ีมีความพร้อมทางด้าน วิชาการ
และนวัตกรรม สามารถบรู ณาการตอ่ ยอดการขับเคล่ือนเมืองสมนุ ไพร ร่วมกับทกุ ภาคสว่ น
10) ท่ีประชุมเห็นควรให้สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ประสานหน่วยงาน
และภาคส่วนที่เก่ียวข้อง จัดทาแผนปฏิบัติการ กิจกรรม เพื่อบรรจุเป็นแผนพัฒนาเมืองสมุนไพร สุพรรณบุรี
ที่สอดรบั กบั แผนพัฒนาจงั หวดั 5 ปี และนาเสนอให้ท่ีประชมุ พจิ ารณาในการประชุมคร้ังตอ่ ไป
1.2 ครั้งที่ 1/2565 เม่ือวันอังคารท่ี 15 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13.30 น. ผ่านระบบ
Application Zoom โดยมขี ้อสรุปผลการประชุมดงั นี้
ฝา่ ยเลขานกุ ารไดจ้ ัดทาผงั กา้ งปลา การขับเคลือ่ น “เมอื งสมนุ ไพร สุพรรณบุรี” โดยนากลยุทธ์
ทั้ง 9 กลยุทธ์มาขับเคล่ือน และบรรจุโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาสมุนไพรของจังหวัดสุพรรณบุรี
ปี 2561-2566 และเพ่ิมเติม เพ่ือขับเคล่ือนในแต่ละกลยุทธ์ โดยมีบางกลยุทธ์ที่ยังขาดแผนงาน/โครงการ
ในการขับเคล่ือน หรือมีแผนงาน/โครงการขับเคลื่อนแล้ว แต่ยังต้องดาเนินการเพ่ิมเติมให้ครอบคลุมพื้นที่
เป้าหมายอ่ืน จึงขอความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบภารกิจและจัดทาแผนงาน/โครงการสนับสนุน
การขับเคล่ือนให้ครอบคลุมทุกมิติและทุกพ้ืนท่ีต่อไป หรือเพิ่มเติมกลยุทธ์ส่วนท่ียังขาดไป โดยมติท่ีประชุม
ไดม้ อบหมายฝา่ ยเลขานกุ ารพจิ ารณาปรับปรงุ กลยุทธ์ให้เหมาะสม พร้อมทัง้ ขอความร่วมมือหนว่ ยงานพิจารณา
ผังก้างปลา โดยสามารถปรับปรุงกลยุทธ์และเติมเต็มแผนงาน/โครงการ เพื่อขับเคลื่อนในแต่ละกลยุทธ์
ให้ครบถ้วนจัดส่งให้สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี เพ่ือนาเสนอให้ท่ีประชุมพิจารณา
ในการประชมุ ครัง้ ต่อไป
1.3 ครั้งท่ี 2/2565 วันจันทร์ท่ี 30 พฤษภาคม 2565 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม
พลายแกว้ ศาลากลางจังหวดั สพุ รรณบรุ ี โดยมีข้อสรุปผลการประชมุ ดงั นี้
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรีได้จัดทา (ร่าง) แผนพัฒนาเมืองสมุนไพร
สุพรรณบุรี ประจาปี พ.ศ. 2565-2570 เพ่ือเป็นกรอบทิศทางสาหรับหน่วยงานและภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง
จะได้ร่วมกันพัฒนาและขับเคล่ือนเมืองสมุนไพรสุพรรณบุรีให้บรรลุถึงวิสัยทัศน์ท่ีกาหนดไว้ ประกอบด้วย
บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลด้านสมุนไพรจังหวัดสุพรรณบุรี บทท่ี 3 การวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมด้านสมุนไพรของจังหวัด บทท่ี 4 แผนพัฒนาเมืองสมุนไพร สุพรรณบุรี และบทท่ี 5 แผนงาน/
โครงการด้านสมุนไพรทเ่ี ก่ยี วข้อง ดงั นี้
68 รำยงำนประจำปี 2565
ที่ประชุมพิจำรณำให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (ร่ำง) แผนพัฒนำเมืองสมุนไพร สุพรรณบุรี
ดงั นี้
1) ควรแบ่งกลุ่มการพัฒนาสมุนไพร เช่น การรักษาและเวชสาอาง การรักษาสัตว์
การอารักขาพืช เพื่อแยกกลุ่มเป้าหมายการสนับสนุนให้ชัดเจน โดยจะแบ่งเป็นสมุนไพรประเภทใช้กับคนและ
สมุนไพรใช้ในด้านการเกษตรนาไประบุไว้ในกลยุทธ์ และเพิ่มเติมข้อมูลปริมาณความต้องการของแหล่งรับซื้อ
เพอื่ นามาวางแผนส่งเสริมการผลิตสมุนไพร ซง่ึ หน่วยงานทม่ี ภี ารกิจรับผิดชอบสามารถจดั ทาโครงการสนับสนุน
ตามกลมุ่ เป้าหมายดงั กลา่ วได้
2) โครงการเมืองสมนุ ไพร สุพรรณบรุ ี ภายใต้แผนปฏบิ ตั ริ าชการจังหวัดประจาปี พ.ศ. 2566
กิจกรรมหลักที่ 3 ส่งเสริมพัฒนาการผลิตวัตถุดิบสมุนไพรในระดับต้นน้า ขอรับงบประมาณ 361,000 บาท
ได้รับการจัดสรรงบประมาณวงเงิน 294,000 บาท สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีเป็นหน่วย
ดาเนินการ ซึ่งมีรายละเอียดกิจกรรมการดาเนินงานซ้าซ้อนกับ กิจกรรมหลักท่ี 1 ส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพร
จังหวัดสุพรรณบุรี วงเงินท่ีได้รับ 2,666,000 บาท สานักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรีเป็นหน่วยดาเนินการ
แต่กิจกรรมหลักท่ี 9 พัฒนายกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์และแหล่งแปรรูปสมุนไพรปลายน้า งบประมาณ
2,080,000 บาท ไม่ได้รับการจัดสรร ซึ่งมีกิจกรรมย่อยที่สาคัญ คือ การสร้างจุดแสดงสินค้าสมุนไพรของ
โรงพยาบาลอู่ทอง งบประมาณ 1,000,000 บาท บรรจุอยู่ภายใต้กิจกรรมน้ีด้วย จึงมอบหมาย
ฝ่ายเลขานุการประสานสานักงานจังหวัดสุพรรณบุรีขอรายละเอียดการจัดกลุ่มรับเงินจัดสรรของกิจกรรมหลัก
ที่ 9 เพ่ือให้สานักงานสาธารณสุขฯ จัดเตรียมปรับโครงการนามาขอรับการจัดสรรงบประมาณเหลือจ่าย
ประจาปี พ.ศ. 2566 ตอ่ ไป
3) สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี กาลังดาเนินการสร้างโรงพยาบาลแพทย์แผนไทย
โดยในพ้ืนท่ีมีหมอพื้นบ้านท่ีจดทะเบียนกับสานักงานสาธารณสุขฯ เช่น อาจารย์เดชา ศิริภัทร เป็นต้น ท้ังน้ี
มอบหมายฝ่ายเลขานุการเพิ่มเติมรายชือ่ หมอพื้นบ้านและองคค์ วามรู้การรกั ษาไวใ้ นแผนพฒั นาสมนุ ไพรฯ ดว้ ย
4) อาเภอด่านช้างดาเนินกิจกรรมโมเดล “ด่านช้างวัลเล่ย์” โดยส่งเสริมเรื่องอาหารท้องถ่ิน
สมุนไพร การท่องเท่ียว ซึ่งสานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาฯ สามารถบูรณาการด้านการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ
ได้และสานักงานพฒั นาชมุ ชนฯ สง่ เสริมผลิตภัณฑ์สมนุ ไพรเป็นสนิ คา้ OTOP
5) ศูนย์ขยายพันธุ์พืชท่ี 9 จังหวัดสุพรรณบุรี ดาเนินการขยายพันธุ์ว่านพระฉิมในแปลงปลูก
และห้องปฏิบัติการ เมื่อขยายผลผลิตได้แล้วจะส่งให้มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จฯ ตรวจสอบปริมาณ
สารสาคญั จากนนั้ สง่ ตอ่ ใหเ้ กษตรกรนาไปเพาะปลูก ในขณะน้ี รพ.อทู่ องมีพนั ธุ์ว่านพระฉิมจานวนหนึ่ง จะมอบ
ให้ศูนย์ขยายพันธ์ุพืชฯ และศูนย์วิจัยพืชไร่ฯ นาไปขยายพันธุ์ สาหรับการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรของ
รพ.อู่ทอง จะเน้นเรื่องคุณภาพดินท่ีไม่มีสารโลหะหนักตกค้าง เบ้ืองต้นเกษตรกรจึงควรตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
ดินกอ่ น หน่วยงานท่ีสามารถตรวจวเิ คราะห์ได้ เชน่ มหาวิทยาลัยราชภฏั บ้านสมเด็จฯ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
ราชมงคลสวุ รรณภมู ิ ศูนย์สุพรรณบรุ ี และสถานีพัฒนาท่ีดินสุพรรณบุรี
6) ควรกาหนดราคา คุณสมบัติ และเง่ือนไขการรับซ้ือสมุนไพร เพื่อเป็นแรงจูงใจให้แก่
เกษตรกรและเป็นแนวทางการในการส่งเสริมการผลิต จึงมอบหมายฝ่ายเลขานุการจัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
คณะทางานกาหนดราคาประกันและคุณสมบัติการรับซื้อสมุนไพรจังหวัดสุพรรณบุรี และนาเสนอที่ประชุม
ในครง้ั ตอ่ ไป
7) การจาหน่ายสมุนไพรจะต้องเป็นไปตามเง่ือนไขและมาตรฐานของแหล่งรับซ้ือ เช่น
การตากแห้ง การอบ เป็นต้น ซ่ึงจะต้องมีคนกลางในการรับซ้ือและคัดแยกคุณภาพ จึงต้องเตรียมโครงการ
เพ่อื รองรับ และประสานสานักงานพลังงานจังหวดั สุพรรณบรุ เี พื่อสนบั สนนุ โดมสาหรับตากสมนุ ไพร
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สุพรรณบุรี 69
8) รพ.อู่ทองมีแนวทางการผลิตน้ามันกัญชา โดยต้ังแต่วันท่ี 9 มิถุนายน 2565 นโยบาย
รัฐบาลอนญุ าตให้ประชาชนทวั่ ไป เกษตรกร ผ้ปู ระกอบธรุ กิจ หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน สามารถปลูกกัญชา
กัญชง ได้เพียงการจดแจ้งกับสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ท้ังน้ีต้องศึกษารายละเอียดและ
เงื่อนไขให้ชัดเจน รวมทั้งแนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ของ รพ. อู่ทอง จึงจะกาหนดแนวทางส่งเสริมการปลกู
กญั ชาตอ่ ไป
9) สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสุพรรณบุรี กาหนดจัดประชุมหารือขับเคล่ือนสมุนไพรวันที่ 15
มิถุนายน 2565 โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ผลิต และผู้รับซื้อเข้าร่วมการประชุมดังกล่าว ทั้งนี้
จะไดป้ ระสานขอข้อมลู ปริมาณการรับซ้ือของบริษทั แปรรปู สมุนไพรและแหลง่ รับซ้ือเพ่ือนามาวางแผนการปลูก
สมนุ ไพร
10) มอบหมายหน่วยงานพิจารณา (ร่าง) แผนพัฒนาเมืองสมุนไพร สุพรรณบุรี และจัดทา
แผนงาน/โครงการ เพื่อนามาเชื่อมโยงให้สอดคล้องกับร่างแผนพัฒนาฯ ตามกลยุทธ์ท่ีกาหนดให้ครบถ้วน
ในการขอรับจัดสรรงบประมาณจังหวัดสุพรรณบุรี ประจาปี พ.ศ. 2567 และมอบหมายฝ่ายเลขานุการ
เรียบเรยี งแผนงาน/โครงการใหส้ อดคล้องกบั ประเดน็ ยุทธศาสตร์และบูรณาการงานร่วมกัน เพื่อนาเสนอในการ
ประชุมคร้ังถัดไป ซ่ึงกาหนดช่วงเดือนมิถุนายน 2565 โดยจะได้เรียนเชิญหัวหนา้ สานักงานจังหวดั สุพรรณบรุ ี
เข้าร่วมประชุม เพื่อประสานแผนพัฒนาเมืองสมุนไพร สุพรรณบุรี และแผนงาน/โครงการนาไปบรรจุไว้
ในแผนพัฒนาจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปี 2567 ต่อไป
70 รำยงำนประจำปี 2565
2. กำรศึกษำดูงำนโรงงำนอุตสำหกรรมด้ำนแปรรูปสมุนไพรขนำดใหญ่ในพื้นท่ีจังหวัด
สุพรรณบุรี สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรีเรียนเชิญผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี ลงพื้นที่
ศึกษาดูงานโรงงานอุตสาหกรรมด้านแปรรูปสมุนไพรขนาดใหญ่ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกับหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันอังคารท่ี 19 กรกฎาคม 2565
ณ บริษัท โกลโบ ฟู้ดส์ จากัด ตาบลกระเสียว อาเภอ
สามชุก และบริษัทบุญส่งโอสถ จากัด ตาบลเขาพระ
อาเภอเดิมบางนางบวช เพ่ือนาข้อมูลมาวิเคราะห์
เช่ือมโยง การตลาด การแปรรูป การส่งเสริมการผลิต
สมุนไพร ระหว่างเกษตรกรและผู้ประกอบการ
ตามเป้าหมาย “เมืองสมุนไพร สุพรรณบุรี” โดยสรุป
รายละเอียดการศกึ ษาดูงานไดด้ ังน้ี
2.1 การศึกษาดูงานบริษัท โกลโบ ฟู้ดส์ จากัด ตาบลกระเสียว อาเภอสามชุก โดยมี
นายนพิ นธ์ ดิษฐ์กระจัน ผู้ช่วยผจู้ ัดการฝ่ายผลิต ใหก้ ารตอ้ นรับและเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้การใช้วัตถุดิบ
ของบรษิ ัท สรปุ ไดด้ งั นี้
- ผลิตภัณฑ์ของบริษัท : ผงหมัก ผงปรุงรส เครื่องแกง ผลิตภัณฑ์ชุบทอด ซอสปรุงรส และ
น้าจิม้ ตราโลโบ
- ปรมิ าณการใช้วัตถดุ ิบ : บรษิ ทั มีการใชว้ ตั ถดุ ิบต่อปี ประมาณ 50,000 กก. (ข้อมลู ปี 64)
- การรบั ซ้อื วัตถุดบิ :
1) บริษัทรับซ้ือวัตถุดิบจาก 3 แหล่ง คือ (1) คู่ธุรกิจ (2) ฟาร์มโกลโบ ฟู้ดส์ จากัด และ
(3) เกษตรกรในโครงการส่งเสริมการเกษตร (Contract Farming) โดยมีเกษตรกร/กลุ่มเกษตรในพื้นท่ีจังหวัด
สุพรรณบุรีท่เี ข้าร่วมโครงการ เช่น กลุม่ เกษตรกรปลูกพชื สมนุ ไพรเคร่ืองแกงเดิมบาง กลุ่มเกษตรกรผกั ปลอดภัย
ต.หวั เขา กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชมุ ชนผู้ปลูกพชื สมุนไพร ต.นคิ มกระเสยี ว กลมุ่ เกษตรกรศูนย์เรียนรู้การเกษตร
บ้านหวั ยมา้ ลอย คุณประจวบ งามเจรญิ เป็นต้น
2) การรับซื้อวัตถุดิบจากแหล่งผลิตจะทาสัญญาข้อตกลง ( Contract Farming)
รายละเอียดประกอบด้วย (1) แหล่งผลิตและพื้นที่เพาะปลูก (2) คุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพ
(3) สถานทสี่ ง่ มอบ และชว่ งเวลาส่งของ (4) การใหค้ าแนะนาทางดา้ นวิชาการ (5) การผดิ สัญญาของผูข้ ายและ
ผู้ซือ้ โดยการทาข้อตกลงเป็นทัง้ แบบต่อบุคคลและต่อกลุ่ม ท้งั นี้ บริษัทเห็นว่าการผลิตในรูปแบบกลุ่มจะทาให้มี
ปรมิ าณผลผลติ จานวนมากซึง่ จะชว่ ยลดต้นทุนค่าขนสง่
3) สมุนไพรท่ีรับซื้อต้องมีคุณภาพตามมาตรฐาน GAP ซึ่งบริษัทได้ดาเนินการส่งเสริม
การปลกู พชื ปลอดภยั โดยการสารวจพืน้ ที่ วางแผนการผลติ วตั ถดุ ิบ เพาะกลา้ ปลกู ดแู ล และตรวจสอบสารพิษ
ตกค้าง
- บริษัทมีแผนการสร้าง Spice Center เพื่อเป็นศูนย์กลางรวบรวมเคร่ืองเทศของ
ประเทศไทย โดยมีสมนุ ไพร ไดแ้ ก่ พริกป่น อบเชย ลกู ผกั ชี ย่ีหร่า เปน็ ต้น ซึง่ จะส่งผลใหม้ ปี รมิ าณความต้องการ
สมุนไพรเพมิ่ ขึน้ ด้วย
- แนวทางการส่งเสริมการผลิตแก่เกษตรกร/กลุ่มเกษตร : ควรส่งเสริมให้เกษตรกร
รวมกลุ่มผลิตสมุนไพรให้สอดคล้องกับความต้องการของบริษัท เช่น พริก มะกรูด และขม้ินชันแห้ง ให้มี
คุณภาพมาตรฐานตามท่ีกาหนด โดยนาแนวทางการบริหารจัดการพื้นท่ีเกษตรกรรม (Zoning by Agir-Map)
มาปรับเปล่ยี นการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสมกับการผลิตพืชอ่นื เชน่ ข้าว มนั สาปะหลงั เปน็ ต้น และส่งเสริมการ
ปลกู สมนุ ไพรทดแทนโดยใชน้ โยบายตลาดนาการผลิต
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั สพุ รรณบุรี 71
2.2 การศึกษาดูงานบริษัทบุญส่งโอสถ จากัด ตาบลเขาพระ อาเภอเดิมบางนางบวช
โดยมีนายเสรี ดาราราช เจ้าของบริษัท ให้การต้อนรับและร่วมให้ข้อมูลการใช้วัตถุดิบของบริษัทแก่คณะศึกษา
ดงู านฯ สรปุ ไดด้ ังนี้
- ผลิตภัณฑ์ของบริษัท : 1) ยาแก้ไอตราอาปาเช่ 2) ยาดองเหล้าตรา 9 เหรียญ
3) ยากษัยเส้นตราเด็กในพานทอง 4) น้ามันยาตรามาร์วิน 5) แป้งโยคี 6) ยาหอมตราเด็กในพานทอง
7) ยาอมสมุนไพรตราชัยพฤกษ์ 8) ยาเขียวตราดอกบัว 9) ยาแก้ร้อนในตราร่ม-ไทร 10) ยาดมตราไผ่คู่
11) มะรุมแคปซูลตราดอกบัวหลวง 12) ยาฟ้าทะลายโจรตราดอกบัวหลวง 13) ขม้ินชันแคปซูล
ตราดอกบัวหลวง 14) ยากุมารเด็กตราเด็กในพานทอง 15) ยาบรรเทาริดสีดวงทวารตรานานฟู
16) ยาทาแผลตราดอ็ กเตอรเ์ ดวดิ 17) เกลือแรช่ นิดผงตราไอเพ่น
- ปริมาณการใช้วตั ถดุ บิ : บรษิ ัทมีการใชว้ ตั ถุดิบตอ่ ปี ประมาณ 104,000 กก.
- การรับซอ้ื วัตถดุ ิบ :
1) บริษัทจดั ซ้ือวตั ถุดิบสว่ นใหญ่จากตลาดจกั รวรรดิ และลูกคา้ ประจา
2) บริษัทกาหนดหลักเกณฑ์เงื่อนไขการรับซ้ือสมุนไพร เช่น ส่วนที่ใช้ การเก็บเกี่ยว
และคุณภาพที่รับซื้อ ซึ่งส่วนใหญ่จะต้องคัดแยกสิ่งปลอมปนออก คัดตามขนาดที่ต้องการและนาไปตาก
หรอื อบให้แห้ง ซ่ึงจะมีการตรวจสอบความช้ืนดว้ ย
3) บริษัทสามารถรับซ้ือสมุนไพรจากเกษตรกรทั้งแบบรายเดี่ยวและรายกลุ่มได้
ในเบื้องต้นผู้สนใจสามารถประสานบริษัทเพ่ือวางแผนการปลูกสมุนไพรตามปริมาณที่บริษัทต้องการและ
กาหนดราคารับซ้ือ โดยจะทาสัญญาข้อตกลงระบุเงื่อนไขการผลิตและการตลาดไว้เป็นหลักประกัน แต่ยังมี
เกษตรกรคู่สัญญาบางรายขาดความซ่ือสัตย์ จาหน่ายสมุนไพรให้ผู้ค้ารายอื่นที่รับซื้อในราคาสูงกว่า ส่งผลให้
บริษทั เกิดปญั หาวตั ถดุ ิบไมเ่ พยี งพอ
- แนวทางการสง่ เสรมิ การผลิตแก่เกษตรกร/กลมุ่ เกษตร : สมนุ ไพรท่ีควรส่งเสรมิ ให้เกษตรกร/
กลุ่มเกษตรกรผลิตเพื่อจาหน่ายให้บริษัทฯ เช่น ฟ้าทะลายโจร มะเขือข่ืน มะแว้งเครือ ส้มป่อย มะขามเปร้ียว
เป็นต้น ซ่ึงเป็นพืชล้มลุกระยะสั้น สามารถเก็บเก่ียวได้เร็ว การส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกสมุนไพรจึงควร
ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ ประสานแหล่งรับซ้ือ รวมถึงส่งเสริมการปลูกให้มีคุณภาพมาตรฐานตามที่กาหนด
โดยนาแนวทางการบริหารจัดการพ้ืนท่ีเกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) มาปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่
ไม่เหมาะสมกับการผลิตพืชอื่น เช่น ข้าว มันสาปะหลัง เป็นต้น และส่งเสริมการปลูกสมุนไพรทด แทน
โดยใช้นโยบายตลาดนาการผลิต
72 รำยงำนประจำปี 2565
3. จังหวัดสุพรรณบุรี ได้มีคำส่ังท่ี 4052/2565 เร่ือง แต่งตั้งคณะทำงำนกำหนดรำคำ
และหลักเกณฑ์กำรรับซื้อสมุนไพรจงั หวัดสุพรรณบุรี ลงวันท่ี 5 กันยำยน 2565 โดยมีอานาจหน้าท่ีในการ
พิจารณากาหนดคุณลักษณะ หลักเกณฑ์ วิธีการรับซ้ือ ราคาประกันสมุนไพรแต่ละชนิด เพื่อใช้ในการส่งเสริม
การปลูกสมุนไพร และเกิดความเป็นธรรมทั้งเกษตรกรผู้ผลิตและผู้รับซ้ือ พร้อมทั้งจัดทาร่างบันทึกข้อตกลง
(MOU) การรับซื้อสมุนไพรจงั หวัดสุพรรณบุรี ใหม้ ีความเหมาะสมและตรงกบั ความตอ้ งการของตลาด
4. สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ส่ง (ร่ำง) แผนพัฒนำเมืองสมุนไพร
สุพรรณบุรี พ.ศ. 2565 – 2570 ให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะ เพ่ือปรับปรุงแผน
ดังกลา่ วให้สมบรู ณ์
2. ปลำสลดิ
จังหวัดสุพรรณบรุ ี แจ้งว่า กระทรวงมหาดไทยได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ บทบาท
ในการเก้ือหนุนระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุขอย่างย่ังยืน ระหว่างฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถร
สมาคม และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพ่ือให้เกิดการบูรณาการร่วมกันในการ
กาหนดพื้นที่และเป้าหมายการพัฒนาของชุมชน ร่วมกันสร้างพ้ืนที่ต้นแบบและพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลัก
ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง” พร้อมทั้งขับเคล่ือนและช่วยเหลือสังคมให้เกิดความสุข
อย่างย่ังยืน โดยขอให้หน่วยงานร่วมบูรณาการดาเนินการตามภารกิจที่เก่ียวข้อง ร่วมกับคณะสงฆ์ในพื้นท่ี
เพ่ือขยายผลไปสู่ผู้นาท้องท่ี ผู้นาท้องถิ่น และประชาชนให้เกิดรูปธรรมในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน
ของชาวบ้าน โดยจังหวัดสุพรรณบุรี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร ได้จัดให้มีตลาดต้องชม ซึ่งเป็นตลาดของชุมชน
สาหรับจาหน่ายสินค้าของฝากขึ้นช่ือประจาจังหวัด เช่น ปลาสลิดตากแห้ง แต่เนื่องจากสถานที่จาหน่าย
ยังไม่ถูกสุขลักษณะและมีลักษณะรูปแบบหลากหลาย จึงควรจัดระเบียบให้เป็นรูปแบบเดียวกันและปรับปรุง
ใหถ้ กู สขุ ลักษณะ เพ่ือดึงดูดลกู คา้ และสรา้ งความมนั่ ใจใหแ้ กผ่ ู้บรโิ ภค
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรีดาเนินการจัดประชุมหารือการพัฒนาตลาด
ปลาสลิดวัดป่าเลไลยว์ รวิหาร จานวน 2 ครัง้ ดงั น้ี
1. คร้ังท่ี 1/2565 เมือ่ วนั ที่ 8 เมษายน 2565 เวลา 09.30 น. ณ ห้องประชุมกุฎขิ รัวตาจู
วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร อาเภอเมืองสุพรรณบุรี โดยที่ประชมุ มขี อ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี
1) จังหวัดสุพรรณบุรีดาเนินการขอขึ้นทะเบียนปลาสลิดเป็นสินค้า GI ขณะน้ีอยู่ระหว่าง
ดาเนินการปรับปรุงข้อมูล ปลาสลิดถูกนาเข้ามาจากต่างจังหวัดเป็นจานวนมาก สานักงานประมงจังหวัดฯ
ได้ส่งเสริมให้มีการเลี้ยงปลาสลิดที่มีคุณภาพมากข้ึน และการเก็บรักษาต้องเก็บในอุณภูมิที่เหมาะสม
มีบรรจุภัณฑ์ที่สะอาด จากการสารวจการแปรรูปปลาสลิดพบว่ายังไม่ถูกสุขลักษณะและไม่มีมาตรฐานรับรอง
สินค้า การประชาสัมพันธ์ตลาดปลาสลิดที่ผ่านมาจะเป็นการจัดงานเทศกาลหรือการประกวดสินค้าแปรรูป
จึงควรพัฒนาให้สินค้ามีคุณภาพได้มาตรฐานรับรอง รวมถึงมีแหล่งจาหน่ายท่ีถูกสุขลักษณะและเป็นระเบียบ
เรยี บร้อย
2) ตลาดจาหน่ายปลาสลิดวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร มีการจาหน่ายปลาน้าจืดแดดเดียว
และสินค้าอื่น ติดกับถนนบริเวณข้างวิหารหลวงพ่อโต ผู้ค้าได้แปรรูปและนาปลาสลิดมาตากแดดในบริเวณ
ดังกล่าว จึงทาให้ขาดความเป็นระเบียบและไม่ถูกสุขลักษณะ ซึ่งได้ประสานกรมศิลปากรเพ่ือปรับเป็นสถานท่ี
จอดรถ ขณะน้ีวัดได้เตรียมจัดทาศูนย์จาหน่ายสินค้า OTOP โดยกาหนดสถานที่ไว้เบื้องต้นแล้ว เป็นทรงไทย
ยกพื้นสูง มีบริเวณภายในและนอกอาคาร พ้ืนท่ีประมาณ 50 ตร.ม. เมื่อได้รับจัดสรรงบประมาณสนับสนุนจะ
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสพุ รรณบรุ ี 73
ดาเนนิ การไดท้ ันที สาหรับบรเิ วณศูนย์อนรุ ักษ์พนั ธุ์กล้วย หนว่ ยงานสามารถจดั ใหม้ กี จิ กรรมประชาสัมพันธ์หรือ
ประกวดสินค้าเกษตรท่ีสาคัญของจังหวัดได้ ซึ่งวัดมีศักยภาพทั้งด้านสถานท่ี และนักท่องเท่ียวที่มาเย่ียมชม
จานวนมาก รวมถึงจัดมีกิจกรรมนาเที่ยวเส้นทางการผลิตปลา นาเยาวชนเข้ามาเป็นมัคคุเทศก์ หรือให้บริการ
ส่งเสริม การจาหน่ายทางออนไลน์ ในส่วนของการจัดตั้งตลาดควรกระจายร้านค้า เพ่ือให้ผู้บริโภคได้เข้าถึง
สะดวก โดยจดั ทาผังร้านคา้ สารวจข้อมูลผู้ประกอบการ นามาเป็นขอ้ มลู ประกอบการวางแผน
3) สานักงานสาธารณสุขฯ ยินดีร่วมจัดระเบียบแผงค้าให้ถูกสุขลักษณะ และขอให้
ประสานความรว่ มมือจากเทศบาลเมอื งสพุ รรณบรุ ดี ว้ ย
4) การจัดทา Story ปลาสลิดดอนกายาน ซึ่งในอดีตมีนิราศสุนทรภู่ได้กล่าวไว้ และหา
ข้อมูลเพ่มิ เตมิ เชน่ จดุ เดน่ คณุ ลกั ษณะ ข้อมลู อ่นื ๆ เพอื่ เลา่ เรอ่ื งให้ผ้บู ริโภคได้รบั รู้ความเป็นมา
5) สานักงานพัฒนาชุมชนฯ ได้จัดทาโครงการสนับสนุนสินค้าปลาสลิด มุ่งเน้นเรื่อง
บรรจุภัณฑ์ท่ีถูกสขุ ลกั ษณะและดึงดูดผู้บรโิ ภค
6) การใชพ้ นื้ ทว่ี ัด ตอ้ งขออนุญาตจากมหาเถรสมาคม ซึ่งใชร้ ะยะเวลานาน และเสียค่าเช่า
พื้นที่แต่กรณีวัดป่าเลไลย์ฯ ซึ่งมีมติของมหาเถรสมาคม ปี พ.ศ. 2563 กาหนดให้จังหวัดคัดเลือกวัดจานวน
1 วัด เพ่อื จดั กิจกรรมส่งเสริมใหช้ ุมชนมีรายได้ วดั ป่าเลไลยก์จงึ ไม่ต้องขออนญุ าตตามเง่ือนไขดงั กล่าว สามารถ
ดาเนินการได้
7) สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดฯ มีภารกิจในการออกแบบสิ่งก่อสร้าง
ของจังหวัด ปัจจุบันควรเน้นการตลาดออนไลน์พร้อมบริการส่ง ในส่วนของภาคราชการซึ่งลงทุนส่ิงก่อสร้าง
มีจุดอ่อนเรือ่ งขาดการบารงุ รกั ษา การออกแบบจุดจาหน่ายใหบ้ ริเวณตากปลา หรือเปน็ โดมพลังงานแสงอาทิตย์
จึงจะถกู สุขลกั ษณะ
โดยมีข้อสรุปของท่ีประชุม ในการประชุมคร้ังต่อไปขอให้ฝ่ายเลขานุการฯ ประสาน
สานักงานอุตสาหกรรมฯ สานักงานพลังงานฯ และเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี เข้าร่วมประชุมด้วย โดยขอให้
หนว่ ยงานและผูเ้ ก่ยี วข้องรว่ มกนั กาหนดแนวทางพัฒนาตลาดปลาสลิดวดั ป่าเลไลยกฯ์ เพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปแนวทาง
พฒั นาและขอบเขตเป้าหมายการดาเนนิ งาน พร้อมทงั้ ขบั เคล่ือนให้บรรลุผลสาเรจ็ ตอ่ ไป
2. คร้ังท่ี 2/2565 เมื่อวันท่ี 1 มิถุนายน 2565 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมขุนช้าง
ศาลากลางจังหวดั สุพรรณบรุ ี โดยมตทิ ป่ี ระชมุ มอบหมายใหด้ าเนินการ ดังน้ี
1) ให้สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดสุพรรณบุรี ออกแบบจุดจาหน่ายสินค้า
ปลาสลิด ป้ายบอกทางร้านค้า ช้ันวางสินค้า และอุปกรณ์ต่างๆ ท่ีจาเป็น ร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
และผู้แทนร้านค้า ปลาสลิดวัดป่าเลไลยก์พร้อมนาเข้าที่ประชุม เพ่ือร่วมกันพิจารณาในครั้งต่อไป
ช่วงกลางเดือนกรกฎาคม 2565
2) ให้สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสุพรรณบุรี ประสานผู้ค้าปลาสลิดวัดป่าเลไลยก์
1-2 ราย มาร่วมแสดงความคิดเห็นในการออกแบบพ้ืนที่ใช้สอยของอาคารจุดจาหน่าย ในวันจันทร์ท่ี
13 มิถุนายน 2565 รว่ มกบั สานกั งานโยธาธิการและผงั เมืองจงั หวดั สุพรรณบุรี และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
3) ให้ทุกหน่วยงาน พิจารณาภารกิจของหน่วยงาน เพื่อจัดทาโครงการส่งเสริมการพัฒนา
ตลาดปลาสลดิ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
4) ให้สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ประสานสานักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อขอรายละเอียดที่ขอใชส้ ถานที่จดั กิจกรรมในพ้ืนทขี่ องวัดป่าเลไลยก์วรวิหารจากมหาเถร
สมาคม และเตรียมจัดประชมการพัฒนาตลาดสินค้าปลาสลิดจังหวัดสุพรรณบุรีคร้ังต่อไป เพ่ือกันพิจารณา
แบบผังแปลน จุดจาหน่ายสินค้าปลาสลิด โดยในเบ้ืองต้นให้กาหนดวันในการจัดประชุมช่วงกลางเดือน
กรกฎาคม (หลังวันที่ 15 กรกฎาคม 2565) ทั้งน้ี หากได้กาหนดวันที่จะจัดการประชุมฯ ชัดเจนแล้ว จะแจ้ง
เชญิ หน่วยงานเข้ารว่ มการประชุมฯ ต่อไป
74 รำยงำนประจำปี 2565
3. สานักงานเกษตรและสหกรณ์ประสานสานกั งานโยธาธิการและผงั เมืองฯ ซ่งึ ดาเนนิ การออกแบบ
สถานท่ีจาหน่ายบริเวณสวนกล้วย วัดป่าเลไลยก์ แต่ยังติดขัดเร่ืองการใช้สถานที่ของวัดโดยยังรอความชัดเจน
จากมหาเถรสมาคม รวมท้งั การออกแบบสถานที่และคานวณงบประมาณยังไม่แล้วเสร็จ จึงจะนาไปเสนอขอรับ
งบพฒั นาจงั หวัดสุพรรณบุรใี นปี พ.ศ. 2568 ต่อไป
2.16 กำรเขำ้ อบรมหลักสูตรต่ำงๆ ของบคุ ลำกรในสำนกั งำนฯ
ช่ือ-สกลุ นำงสำวนภิ ำวรรณ รอดโรคำ ตาแหน่ง นักวิเครำะห์นโยบำยและแผนชำนำญกำร
ลำดบั ชือ่ หลักสตู รกำรอบรม หน่วยงำนทีจ่ ัด สถำนที่จัด วันเรมิ่ ต้นกำร วนั สน้ิ สุดกำร
ที่ อบรม อบรม/หรอื อบรม อบรม
อบรมออนไลน์
14 ธันวาคม 17 ธันวาคม
1 หลักสตู รการออกแบบและ สถาบนั เกษตราธิการ ออนไลน์ 2564 2564
ผลติ สอ่ื มลั ติมเี ดยี เพื่อการ 20 กรกฎาคม 31 มกราคม
2564 2565
ประชาสมั พนั ธด์ ้วยสมารท์ โฟน
10 กมุ ภาพันธ์ 11 กุมภาพนั ธ์
2 โครงการพฒั นาบคุ ลากรเพือ่ สถาบันเกษตราธิการ ออนไลน์ 2565 2565
ยกระดบั ความสามารถทาง 27 เมษายน 27 เมษายน
2565 2565
ภาษาองั กฤษ ดว้ ยส่อื
26 กรกฎาคม 26 กรกฎาคม
นวัตกรรมออนไลน์ 2565 2565
3 อบรมการใชโ้ ปรแกรม NT ศนู ย์เทคโนฯ ออนไลน์
conference V.10 และ สป.กษ.
โปรแกรม Zoom Meeting
4 อบรมเรอ่ื งการใช้งานระบบ ศนู ย์เทคโนฯ ออนไลน์
เครือขา่ ยและการแกไ้ ขปัญหา สป.กษ.
คอมพวิ เตอรเ์ บอื้ งต้น
5 สมั มนาเชงิ ปฏิบัตกิ าร เร่อื ง สานักบรหิ ารกองทุน ออนไลน์
ระเบยี บ หลักเกณฑ์ และวิธี เพ่อื ช่วยเหลือ
ปฏิบัตงิ านใหค้ วามช่วยเหลอื เกษตรกรและรับ
เกษตรกร และผยู้ ากจน เร่ืองรอ้ งเรียน
ภายใต้กองทนุ หมนุ เวียนเพือ่
การกยู้ มื แกเ่ กษตรและผู้
ยากจน ประจาปบี ญั ชี 2565
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี 75
ช่อื -สกุล นำงสำวสธุ รี ำ ศรวี ิพัฒครฑุ ตาแหน่ง นักวิเครำะหน์ โยบำยและแผนปฏิบตั ิกำร
ลำดับ ช่ือหลกั สตู รกำรอบรม หน่วยงำนทจี่ ัด สถำนที่จัด วนั เริ่มตน้ กำร วันสิ้นสุดกำร
ท่ี อบรม อบรม/หรือ อบรม อบรม
อบรมออนไลน์
1 การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ กองเกษตรสารนเิ ทศ ออนไลน์ 23 มิถนุ ายน 23 มิถนุ ายน
2565 2565
เพ่ือเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการ ออนไลน์
15 สิงหาคม 19 สงิ หาคม
ประชาสมั พนั ธ์ดา้ นการเขยี น ออนไลน์ 2565 2565
ข่าวประชาสัมพันธ์ 30 กนั ยายน 30 กนั ยายน
2565 2565
2 โครงการอบรมสมั มนาเชิง สถาบันเกษตราธิการ
ปฏบิ ตั ิการ “พลกิ โฉมสมรรถนะ
สานกั งานเกษตรและสหกรณ์
จังหวัดส่อู งคก์ รสมยั ใหม่” ใน
รปู แบบออนไลน์ รุน่ ท่ี 1
3 สมรรถนะดา้ นการใชด้ จิ ิทัล มหาวิทยาลยั มหดิ ล
(Digital Literacy) ระดบั 1
ขั้นพ้ืนฐาน
ชื่อ-สกุล นำงสำวสร้อยมำลี กมลมำลี ตาแหน่ง เจ้ำพนักงำนธุรกำรชำนำญงำน
ลำดับ ชือ่ หลักสูตรกำรอบรม หนว่ ยงำนที่จดั สถำนท่ีจดั วันเรมิ่ ตน้ กำร วนั ส้นิ สุดกำร
ท่ี อบรม อบรม/หรือ อบรม อบรม
อบรมออนไลน์
1 อบรมระบบบาเหนจ็ บานาญ กรมบัญชีกลาง 10 มกราคา 10 มกราคา
และสวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาล ระบบ Cisco 2565 2565
ของกรมบญั ชกี ลาง (ระบบ Webex
Digital Pension) 15 กมุ ภาพนั ธ์
สานักแผนงานและ ระบบ Zoom 15 กุมภาพนั ธ์ 2565
2 อบรมระบบบริหารจดั การ
งบประมาณสานกั งาน โครงการพเิ ศษ 2565 3 สงิ หาคม
ปลัดกระทรวงเกษตรและ 2565
สหกรณ์ สานกั แผนงานและ ระบบ Zoom 3 สงิ หาคม
30 สิงหาคม
3 อบรมการใช้ระบบงานบริหาร โครงการพิเศษ 2565 2565
จดั การงบประมาณของ
สานักงานปลัดกระทรวง สานักงานงานคลัง หอ้ งประชุม 30 สิงหาคม
เกษตรและสหกรณ์ จังหวดั สุพรรณบรี ขุนแผน ชนั้ 4 2565
ศาลากลางจังหวดั
4 โครงการเสรมิ สรา้ งศักยภาพ สุพรรณบุรี
ด้านการจดั ซื้อจดั จา้ งภาครฐั
เพื่อเตรียมความพรอ้ มในการ
จัดหาพัสดุ ประจาปี พ.ศ.
2566 รนุ่ ที่ 1
76 รำยงำนประจำปี 2565
ชอ่ื -สกุล นำงสำวนิภำ อำ่ อิ่ม ตาแหน่ง นกั วิเครำะหน์ โยบำยและแผนชำนำญกำร
ลำดับ ชือ่ หลักสตู รกำรอบรม หน่วยงำนท่จี ดั สถำนที่จัด วันเรม่ิ ตน้ กำร วนั สิ้นสุดกำร
ที่ อบรม อบรม/หรอื อบรม อบรม
อบรมออนไลน์
1 อบรมการใช้โปรแกรม NT ศนู ยเ์ ทคโนฯ 10 กุมภาพันธ์ 11 กุมภาพนั ธ์
conference V.10 และ สป.กษ. ออนไลน์ 2565 2565
โปรแกรม Zoom Meeting
ช่ือ-สกุล นำงสำวอภญิ ญำ แกว้ เกดิ ตาแหนง่ นกั วเิ ครำะห์นโยบำยและแผนปฏิบัติกำร
ลำดบั ชอ่ื หลกั สูตรกำรอบรม หนว่ ยงำนท่จี ัด สถำนท่จี ัด วนั เรม่ิ ตน้ กำร วนั สน้ิ สุดกำร
ท่ี อบรม อบรม/หรือ อบรม อบรม
อบรมออนไลน์
10 กุมภาพันธ์
1 อบรมการใชโ้ ปรแกรม NT ศนู ยเ์ ทคโนฯ ออนไลน์ 10 กมุ ภาพันธ์ 2565
conference V.10 และ สป.กษ. 2565 16 มนี าคม
2565
โปรแกรม Zoom Meeting
26 กรกฎาคม
2 ระบบฐานขอ้ มลู สารสนของ สานกั บริหารกองทุน ออนไลน์ 16 มีนาคม 2565
กองทนุ หมุนเวียนเพ่ือการก้ยู ืม เพอ่ื ชว่ ยเหลอื 2565 27 มถิ ุนายน
2565
แกเ่ กษตรกรและผยู้ ากจน เกษตรกรและรับ
เรอื่ งรอ้ งเรียน
3 สัมมนาเชิงปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื ง สานักบริหารกองทุน ออนไลน์ 26 กรกฎาคม
ระเบียบ หลกั เกณฑ์ และวิธี เพ่อื ชว่ ยเหลอื 2565
ปฏิบัติงานใหค้ วามชว่ ยเหลือ เกษตรกรและรับ
เกษตรกร และผู้ยากจน เรอ่ื งร้องเรียน
ภายใตก้ องทุนหมุนเวยี นเพือ่
การกยู้ มื แก่เกษตรและผู้
ยากจน ประจาปีบัญชี 2565
4 หลกั สตู รการอบรม สาขา ศนู ย์เทคโนโลยี ออนไลน์ 27 มถิ นุ ายน
อาชีพเกษตรกรตามแนว สารสนเทศและการ 2565
พระราชดารเิ ศรษฐกิจพอเพยี ง ส่ือสาร
ดา้ นทฤษฎใี หม่
ชอ่ื -สกุล นำยชนิ วัตร บญุ จง ตาแหนง่ เจ้ำหน้ำทว่ี ิเครำะห์นโยบำยและแผน
ลำดับ ช่อื หลกั สูตรกำรอบรม หนว่ ยงำนที่จดั สถำนที่จดั วนั เรม่ิ ต้นกำร วันสน้ิ สดุ กำร
ที่ อบรม อบรม/หรอื อบรม อบรม
อบรมออนไลน์
1 อบรมการใชโ้ ปรแกรม NT ศูนย์เทคโนฯ 10 กมุ ภาพันธ์ 10 กมุ ภาพนั ธ์
conference V.10 และ สป.กษ. ออนไลน์ 2565 2565
โปรแกรม Zoom Meeting
สานักบริหารกองทุน ออนไลน์ 16 มนี าคม 16 มนี าคม
2 ระบบฐานขอ้ มลู สารสนของ เพ่ือช่วยเหลอื 2565 2565
กองทนุ หมนุ เวียนเพอ่ื การกู้ยมื เกษตรกรและรบั
แก่เกษตรกรและผู้ยากจน เร่ืองรอ้ งเรียน
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดสพุ รรณบุรี 77
ชือ่ -สกุล นำงสำวมนสิชำ สวำ่ งศรี ตาแหนง่ เจ้ำหนำ้ ท่วี ิเครำะห์นโยบำยและแผน
ลำดับ ช่อื หลักสตู รกำรอบรม หน่วยงำนทจี่ ัด สถำนทจี่ ัด วนั เร่ิมต้นกำร วันส้ินสุดกำร
ที่ อบรม อบรม/หรอื อบรม อบรม
อบรมออนไลน์
9 กมุ ภาพันธ์
1 โครงการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั ิการ ศูนย์ปฏบิ ตั กิ าร ออนไลน์ 9 กมุ ภาพันธ์ 2565
การเสริมสรา้ งและพฒั นา ตอ่ ต้านการทจุ ริต 2565 10 กุมภาพันธ์
2565
จติ สานกึ ด้านคณุ ธรรม กระทรวงเกษตรและ
15 มนี าคม
จรยิ ธรรม กระทรวงเกษตร สหกรณ์ 2565
และสหกรณ์ 18 มีนาคม
2565
2 อบรมการใชโ้ ปรแกรม NT ศนู ย์เทคโนฯ ออนไลน์ 10 กมุ ภาพันธ์
conference V.10 และ สป.กษ. 2565
โปรแกรม Zoom Meeting
3 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหลกั สตู ร สานกั งานตรวจบญั ชี ณ ศูนย์เรยี นรู้ 15 มีนาคม
อบรมเกษตรกร ปีงบประมาณ สหกรณ์สุพรรณบุรี เกษตรอนิ ทรียว์ ิถี 2565
2565 ภายใตโ้ ครงการพัฒนา ชุมชนบา้ นหนอง
เกษตรกรรมยั่งยืน (เกษตร กระโดนมน
ทฤษฎีใหม)่ ตาบลหนองโพธิ์
อาเภอหนอง
หญ้าไซ จงั หวดั
สุพรรณบุรี
4 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหลกั สูตร สานกั งานตรวจบญั ชี บ้านเกษตรกรผู้ 18 มนี าคม
อบรมเกษตรกร ปีงบประมาณ สหกรณ์สพุ รรณบรุ ี เลี้ยงแพะอทู่ อง 2565
2565 ภายใตโ้ ครงการพัฒนา ตาบลดอนคา
เกษตรกรรมยง่ั ยืน (เกษตร อาเภออูท่ อง
ทฤษฎีใหม)่ จังหวัด
สุพรรณบุรี
ชอื่ -สกลุ น.ส.นิภำพร โฉมงำม ตาแหน่ง เจ้ำหนำ้ ท่ีวิเครำะห์นโยบำยและแผน
ลำดับ ชอื่ หลักสูตรกำรอบรม หนว่ ยงำนทจี่ ดั สถำนทีจ่ ดั วันเร่มิ ตน้ กำร วันสิน้ สดุ กำร
ท่ี อบรม อบรม/หรอื อบรม อบรม
อบรมออนไลน์
17 ธันวาคม
1 อบรมหลักสูตรการออกแบบ สถาบนั เกษตราธิการ ออนไลน์ 14 ธันวาคม 2564
และผลิตสื่อมลั ติมเี ดยี เพ่อื การ 2564 11 กมุ ภาพนั ธ์
2565
ประชาสมั พันธด์ ว้ ยสมารท์ โฟน
2 อบรมการใชง้ านระบบประชุม ศนู ย์เทคโนฯ ออนไลน์ 10 กมุ ภาพนั ธ์
ทางไกลผ่านระบบเครือข่าย สป.กษ. 2565
อนิ เตอร์เนต็ (Cat conference)
ผ่าน NT conference V.10
และการใช้งาน Zoom
Meeting
78 รำยงำนประจำปี 2565
ลำดบั ชอื่ หลกั สูตรกำรอบรม หน่วยงำนทจ่ี ัด สถำนทจี่ ดั วนั เรม่ิ ตน้ กำร วันสนิ้ สุดกำร
ท่ี อบรม อบรม/หรอื อบรม อบรม
อบรมออนไลน์
3 อบรมเร่ืองการใชง้ านระบบ ศูนยเ์ ทคโนฯ ออนไลน์ 27 เมษายน 27 เมษายน
เครือขา่ ยและการแกไ้ ขปัญหา สป.กษ. 2565 2565
คอมพวิ เตอรเ์ บือ้ งต้น ออนไลน์
เกษตรสารนเิ ทศ 21 มิถุนายน 21 มิถุนายน
4 การแลกเปลย่ี นเรียนรเู้ พือ่ เพม่ิ ออนไลน์ 2565 2565
ประสิทธภิ าพในการ มหาวิทยาลยั มหดิ ล
ประชาสมั พนั ธด์ า้ นการเขยี น 30 กนั ยายน 30 กันยายน
ขา่ วประชาสัมพนั ธ์ 2565 2565
5 อบรมหลักสตู ร สมรรถนะดา้ น
การใชด้ ิจทิ ลั (Digital
Literacy) ระดบั 1 ขัน้ พื้นฐาน
ชอ่ื -สกลุ นำงสำววิวรรณษำ หอมสวุ รรณ ตาแหน่ง เจ้ำหน้ำทีบ่ ันทึกข้อมูล
ลำดบั ชือ่ หลักสตู รกำรอบรม หน่วยงำนทจี่ ัด สถำนทจี่ ดั วันเร่มิ ต้นกำร วันส้นิ สุดกำร
ที่ อบรม อบรม/หรือ อบรม อบรม
อบรมออนไลน์
31 พฤษภาคม
1 การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการ สานกั งานคลงั จงั หวดั อบรมออนไลน์ 30 พฤษภาคม 2565
จดั ซือ้ จัดจ้างดว้ ยวิธกี ารทาง สพุ รรณบุรี 2565 30 สิงหาคม
2565
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic
Government Procurement
: e-GP) สาหรบั เจ้าหน้าที่
ผปู้ ฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงาน
ของรัฐ
2 โครงการเสรมิ สรา้ งศักยภาพ สานักงานงานคลงั ห้องประชุม 30 สงิ หาคม
ดา้ นการจดั ซือ้ จัดจา้ งภาครัฐ จงั หวดั สุพรรณบรี ขุนแผน ชั้น 4 2565
เพอื่ เตรยี มความพร้อมในการ ศาลากลางจังหวดั
จดั หาพสั ดุ ประจาปี พ.ศ. สพุ รรณบุรี
2566 รุ่นท่ี 1
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สุพรรณบรุ ี 79
3. กลมุ่ ช่วยเหลอื เกษตรกรและโครงกำรพเิ ศษ
3.1 โครงกำรฝกึ อบรมและฝกึ ปฏิบัตกิ ิจกรรมกำรรวมกลมุ่ และสร้ำงเครอื ข่ำย
ภำยใต้โครงกำรพฒั นำเกษตรกรรมย่งั ยนื ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565
1. หลกั กำรและเหตผุ ล
ด้วยในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สานักงานเกษตรและสหกรณ์ ได้ดาเนินโครงการพัฒนาเกษตรกรรม
ย่ังยืน ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 และกาหนดให้มีการดาเนินกิจกรรมการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่าย เป็นหน่ึง
กิจกรรมภายใต้โครงการฯ เพ่ือพัฒนาต่อยอดให้กับเกษตรกรท่ีผ่านการฝึกอบรมจากศูนย์เครือข่ายปราชญ์
ชาวบ้าน ให้สามารถนาความรู้เก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาเกษตรกรรมย่ังยืนไปพัฒนา
ต่อยอดเกดิ การรวมกลมุ่ และการสร้างเครอื ข่ายในการดาเนินกิจกรรมทางการเกษตรใหเ้ กิดความยั่งยนื
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกับศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านได้คัดเลือก
กลุ่มเกษตรกร “กลุ่มทรัพย์ธรณี 39” ต้ังอยู่เลขท่ี 148 หมู่ที่ 1 ตาบลสามชุก อาเภอสามชุก จังหวัด
สุพรรณบุรี ซึ่งเป็นกลุ่มท่ีตั้งข้ึนมาใหม่เกิดจากการรวมตัวกันของเกษตรกรที่มีความต้องการในการทาเกษตร
อินทรีย์ ไว้เพ่ือบริโภคในครัวเรือน ชุมชน และขยายผลเพื่อจาหน่ายสู่ตลาด ดังนั้น สานักงานเกษตรและ
สหกรณจ์ งั หวดั สุพรรณบรุ ี ภายใต้โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยง่ั ยนื ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ขน้ึ
2. วตั ถปุ ระสงค์
2.1 เพือ่ ฝกึ อบรมและฝึกปฏบิ ตั กิ าร การทาปยุ๋ หมกั และขยายเช้ือจลุ นิ ทรีย์ ให้แกส่ มาชกิ ของกลุม่
2.2 เพ่อื สามารถนาความรู้ทไี่ ดไ้ ปใชใ้ นการพัฒนาอาชีพ
2.3 เพื่อให้เกิดการแลกเปล่ยี นเรยี นร้กู ันระหวา่ งกลมุ่ เกษตรกร เกดิ ความสามัคคใี นกลมุ่ ฯ
3. เปำ้ หมำย
กลุ่มเป้าหมายจานวน 12 คน ประกอบด้วยสมาชิกของกลุ่ม “ทรัพย์ธรณี 39” วิทยากร และ
เจ้าหน้าท่ีท่เี กีย่ วขอ้ ง
4. ระยะเวลำดำเนนิ งำน
4.1 กจิ กรรมการฝึกอบรมและฝึกปฏบิ ตั กิ ารทาปยุ๋ หมักและขยายเชอ้ื จุลนิ ทรีย์ ในวนั ที่ 18 กรกฎาคม
2565
4.2 กจิ กรรมจัดเวทีติดตามผลและรายงานความกา้ วหนา้ ของกลุ่ม ในวนั ที่ 29 สงิ หาคม 2565
5. สถำนที่ดำเนนิ งำน
เลขท่ี 148 หมู่ 1 ตาบลสามชุก อาเภอสามชุก จงั หวัดสพุ รรณบุรี
6. วิธีกำรดำเนินงำน
6.1 ฝึกอบรมและฝกึ ปฏิบตั ิการทาปยุ๋ หมกั และขยายเชอ้ื จลุ ินทรีย์
6.2 จัดเวทตี ดิ ตามผลและรายงานความกา้ วหนา้ ของกลุ่ม
80 รำยงำนประจำปี 2565
7. งบประมำณ
ใช้จ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2565 งบรายจ่ายอื่น แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตร
สร้างมูลค่า โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน กิจกรรมขับเคลื่อนเกษตรกรรมย่ังยืน ค่าใช้จ่ายสนับสนุน
การขับเคลือ่ นเกษตรกรรมยงั่ ยืน เป็นเงิน 30,000 บาท (สามหมน่ื บาทถว้ น)
8. หนว่ ยงำนทีร่ บั ผดิ ชอบ
สานักงานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สุพรรณบุรี
9. ประโยชน์ทีค่ ำดวำ่ จะได้รบั
9.1 ผู้เข้าอบรมได้พฒั นาทักษะในการทาปุ๋ยหมักและขยายเชอ้ื จุลินทรีย์
9.2 เพ่ือเกดิ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ภายในกลมุ่ และเกดิ ความสามัคคใี นกลุ่มฯ
9.3 กลมุ่ สามารถลดตน้ ทนุ การผลิต และสามารถต่อยอดความรไู้ ปใช้ในการผลติ
10. ตวั ชี้วัด
10.1 ผลผลิต (Output) ผู้เข้าอบรมได้เพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ในการทาปุ๋ยหมักและ
การขยายเช้ือจุลินทรยี ์
10.2 ผลลพั ธ์ (Outcome) ผเู้ ข้าอบรมสามารถนาความร้ทู ่ีไดร้ ับนาไปปฏบิ ตั ิได้
11. ผลกำรดำเนนิ กจิ กรรม
11.1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มเกษตรกร
๑) ชือ่ กลุ่มเกษตรกร “กลมุ่ ทรพั ย์ธรณี 39”
๒) ชื่อศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยปราชญช์ าวบา้ นท่ีให้การสนบั สนนุ มูลนธิ ขิ ้าวขวัญ
๓) สถานท่ีต้ังของกล่มุ เลขท่ี 148 หมู่ 1 ตาบลสามชุก อาเภอสามชกุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
๔) ประวัติความเป็นมาของกลุ่ม “ทรัพย์ธรณี 39” ปัจจุบันการทาการเกษตรของเกษตรกร
มีการใช้ปุ๋ยเคมีจานวนมาก ซึ่งปุ๋ยเคมีมีราคาแพงเพิ่มข้ึนทุกปี สารเคมีท่ีใช้ มีการสะสมในดิน น้า และผลผลิต
ทางการเกษตร เป็นอันตรายต่อตัวเกษตรกรและผู้บริโภค สมาชิกภายในกลุ่มจึงรวมตัวกันเพ่ือปลูกข้าวและ
พืชผกั สวนครัว โดยหนั มาใช้สารอินทรีย์ทดแทนการใช้สารเคมี เพือ่ ใหส้ มาชิกในครอบครวั และสมาชิกของกลุ่ม
มีอาหารที่ปลอดภัยในการบริโภค จากแนวคิดการผลิตอาหารท่ีปลอดภัยเพื่อให้สมาชิกภายในครอบครัว
มีอาหารที่ปลอดภยั ในการบริโภค จึงเป็นจดุ เรมิ่ ต้นที่ทาให้ กล่มุ ทรพั ยธ์ รณี 39 จะพัฒนาการทาเกษตรอินทรีย์
เนื่องจากสมาชิกของกลุ่มเห็นแล้วว่าการใช้สารอินทรีย์มาทดแทนสารเคมีสามารถทาให้พืชผักท่ีปลูก มีการ
เจริญเติบโตดี ลดต้นทุน ไม่เป็นพิษต่อส่ิงแวดล้อมและผู้บริโภค และยังสามารถเพ่ิมมูลค่าของสินค้าเกษตรของ
ทางกลุ่มได้เนื่องจากเป็นพืชผักที่ปลอดสารเคมี และกลุ่มยังมีความเชื่อมโยงกับ มูลนิธิข้าวขวัญ ซึ่งเป็นศูนย์
เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ที่ให้การสนับสนุนด้านความรู้เรื่องการทาเกษตรอินทรีย์ อีกทั้งยังเป็นพี่เลี้ยง
ให้คาปรึกษาในด้านต่างๆ ของกลุ่ม ทางกลุ่มมีความพยายามที่จะทาให้กลุ่มมีความเข้มแข็งและพัฒนาต่อยอด
จนกลายเป็นวิสาหกจิ ชมุ ชนไดใ้ นอนาคต
5) วันทจี่ ัดตั้งกลุ่ม 1 พฤศจกิ ายน 2564
6) จานวนสมาชิกทัง้ หมด 7 คน
7) จานวนสมาชกิ ท่ผี ่านการอบรมจากศูนย์เครอื ขา่ ยปราชญ์ชาวบ้านทั้งหมด 1 คน
8) กจิ กรรมของกลมุ่ ฯ การทาปยุ๋ หมักและการขยายเชือ้ จุลินทรีย์
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสพุ รรณบุรี 81
11.2 ผลกำรจดั เวทีของกลุ่มเกษตรกร
๑) วิเคราะหก์ จิ กรรม/ผลทไ่ี ด้รับในการดาเนนิ งานทผ่ี า่ นมา
วิเคราะห์กิจกรรมของกลุ่ม “ทรัพย์ธรณี 39” กิจกรรมหลักของกลุ่มฯ คือ การปลูกพืชผัก
สวนครัวแบบอินทรีย์เพื่อใช้ในการบริโภคภายในครัวเรือนของสมาชิกภายในกลุ่ม เชื่อมโยงกับมูลนิธิข้าวขวัญ
(ศูนยเ์ ครือขา่ ยปราชญช์ าวบ้าน) ในเรอ่ื งองคค์ วามร้ใู นการทาเกษตรอินทรยี ์
๒) ประเมนิ จดุ แขง็ จุดอ่อน โอกาส และขอ้ จากัดของกลมุ่
(1) จุดแข็ง เป็นกลุ่มที่สมาชิกภายในกลุ่มมีความตั้งใจจริงในการทาเกษตรอินทรีย์
ความอยากรใู้ นการทาการเกษตรแบบลดต้นทุน เช่อื มโยงกบั กลมุ่ เกษตรกรทที่ าเกษตรอินทรยี ใ์ นพ้ืนทตี่ า่ งๆ
(2) จดุ อ่อน 1) ตน้ ทุนการผลติ ท่ีสูง 2) พชื บางชนดิ (ไมด้ อกรอ้ ยมาลยั ) ของสมาชิกภายใน
กลมุ่ ยงั คงตอ้ งใชส้ ารเคมีอยู่ 3) เวลาของสมาชิกภายในกลุ่มฯ ไม่ค่อยตรงกันเน่ืองจากสมาชิกแต่ละคนมีหน้าที่
ต้องรับผดิ ชอบ
(3) โอกาส การได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิข้าวขวัญ (ศูนย์ปราชญ์ชาวบ้าน) ในการ
สนับสนนุ ในเรื่ององค์ความรู้ตา่ งๆ การใหส้ มาชิกภายในกลุ่มได้มโี อกาสนาผลผลิตทางการเกษตรไปวางจาหน่าย
ในตลาดสเี ขียว
(4) ข้อจากดั การเขา้ ถงึ ความช่วยเหลอื จากโครงการตา่ งๆ ของภาครฐั ยงั น้อย
11.3 แผนปฏิบตั ิกำรของกลมุ่ เกษตรกร
1) แผนพัฒนาการผลิต/การแปรรูป/เทคโนโลยี กิจกรรมการทาปุ๋ยหมักและวัสดุดินปลูก และ
การจัดเวทสี รปุ ผล เพอ่ื ให้มกี ารพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ไปสกู่ ารตลาด สมาชกิ นาความรกู้ ารปยุ๋ หมักและน้าหมัก
ชีวภาพ ใช้แทนสารเคมีในการปลกู ผกั ในแปลงเกษตรของตนเอง
2) ระยะเวลาดาเนินงานวนั ท่ี 18 กรกฎาคม 2565 และวันท่ี 29 สงิ หาคม 2565
3) งบประมาณ จากสานกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบรุ ี จานวน 30,000 บาท
11.4 รำยงำนสรปุ ผลกำรดำเนนิ งำนของกล่มุ เกษตรกร
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี จัดเวทีสรุปผลการดาเนินงานของกลุ่ม
เกษตรกร เม่อื วันที่ 29 สงิ หาคม 2565 ดังนี้
๑) การนาเสนอผลปฏิบัติงานการรวมกลุ่มและการสร้างเครือข่าย โดยสานักงานเกษตรและ
สหกรณ์จังหวัดร่วมกับศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านจัดเวทีให้กลุ่มเกษตรกรนาเสนอผลการปฏิบัติงาน และ
สรุปผลการจดั เวที
ตามท่ีสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกองนโยบายเทคโนโลยีเพ่ือการเกษตร
และเกษตรกรรมยัง่ ยืน ได้ดาเนินโครงการพัฒนาเกษตรกรรมยง่ั ยืน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และกาหนดให้
มีการดาเนินกจิ กรรมการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่าย ซึ่งเป็นกิจกรรมภายใตโ้ ครงการฯ เพื่อพฒั นาต่อยอดให้กับ
เกษตรกรท่ีผ่านการฝึกอบรมจากศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ให้สามารถนาความรู้เก่ียวกับหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาเกษตรกรรมย่ังยืนไปพัฒนาต่อยอดการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่าย
โดยสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกับศูนย์ปราชญ์ชาวบ้าน ได้พิจารณาคัดเลือก
กลุ่มเกษตรกร “กลุ่มทรัพย์ธรณี 39” เลขท่ี 148 หมู่ 1 ตาบลสามชุก อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
เข้าร่วมในกิจกรรมการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่าย ภายใต้โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ทั้งนี้ สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดสรรงบประมาณสาหรับเป็นค่าใช้จ่าย
ในการดาเนินกิจกรรมการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายของเกษตรกร กลุ่มละ 30,000 บาท (สามหม่ืนบาทถ้วน)
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกับกลุ่มเกษตรกร “กลุ่มทรัพย์ธรณี 39” ได้ประชุม
แนวทางการดาเนินกิจกรรมการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่าย โดยท่ีประชุมมีมติการพัฒนากลุ่ม คือต้องการ
อบรมเพิ่มความรู้เก่ียวกับการทาปุ๋ยหมักและการขยายเชื้อจุลินทรีย์ เนื่องจากปุ๋ยหมักและเชื้อจุลินทรีย์
82 รำยงำนประจำปี 2565
มีคุณสมบัติในการเพิ่มธาตุอาหารในดินและไม่ทาให้ดินเสื่อมโทรม ช่วยลดต้นทุนในการทาการเกษตร รักษา
สิ่งแวดล้อม นอกจากจะใช้ภายในกลุ่มแล้วยังสามารถนาไปจาหน่ายให้คนภายในชุมชน เพื่อนารายได้จากการ
จาหนา่ ยมาเป็นต้นทุนในการผลิตป๋ยุ และหัวเชอื้ จุลนิ ทรียใ์ นครงั้ ต่อไป
๒) การใช้องค์ความรู้ท่ีได้รับจากการดาเนินโครงการฯ ในการพัฒนากลุ่ม (ด้านการผลิต
การตลาด เทคโนโลยีและภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ นวตั กรรมใหม่ ฯลฯ)
(1) ด้านการผลิต
สมาชิกกลุ่มฯ ได้ร่วมกันดาเนินกิจกรรมกลุ่มฯ เป็นประจาทุกเดือน ซ่ึงเป็นการกระตุ้นและ
เน้นย้าให้สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจในการทาการเกษตรในรูปแบบเกษตรกรรมยั่งยืนมากขึ้น สามารถนา
องค์ความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรมและฝึกปฏิบัติ ไปปรับใช้ในการผลิตสินค้าเกษตรของกลุ่ม โดยเฉพาะ
ในการลดต้นทุนการผลิต ซ่ึงการใช้ปุ๋ยหมักที่ผลิตเองทาให้ได้ปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพ ช่วยให้ดินซึ่งเป็นโครงสร้าง
พ้ืนฐานในการทาเกษตรมีความเหมาะสมสาหรับปลกู พืชผกั ต่างๆ ซึ่งจะส่งผลให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพที่ดีต่อไป
ในอนาคต
(2) การตลาด
ปัจจุบันสินค้าของกลุ่มยังมีไม่มากนัก เช่น พืชผักปลอดสาร ดอกไม้สาหรับร้อยมาลัย
และปุ๋ยหมัก (ซึ่งอยู่ระหว่างการวางแผนการผลิตร่วมกันเพ่ือขยายผลไปผลิตวัสดุ/ดินปลูก) โดยในส่วนพืชผัก
ทางกลุ่มจาหน่ายให้กับคนในชุมชน และร่วมจาหน่ายกับศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านมูลนิธิข้าวขวัญ ซ่ึงมี
กิจกรรมเป็นประจาทุกเดือน ในส่วนของดอกไม้สาหรับร้อยมาลัย สมาชิกบางส่วนของกลุ่ม ได้เปิดแผงขาย
พวงมาลัย ทาให้มีแหล่งจาหน่ายของตนเอง ทั้งน้ีในส่วนของการผลิตปุ๋ยหมักสมาชิกกลุ่มฯ มีแนวคิดร่วมกัน
ท่ีจะขยายผลต่อยอดไปผลิตวัสดุ/ดินปลูกท่ีมีคุณภาพ เพื่อจาหน่ายให้กับคนภายในชุมชน และผู้ที่สนใจ
เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มโดยในเบ้ืองต้นหากมีการผลิตได้เพียงพอที่จะจาหน่าย จะสามารถร่วมจาหน่ายผ่าน
มลู นธิ ขิ า้ วขวญั ได้
(3) เทคโนโลยีและภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น
สมาชิกกลุ่มฯ ขอรับการสนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยีและภูมิปัญญาท้องถ่ินจากทาง
มูลนิธิข้าวขวัญ ท้ังในส่วนของเทคโนโลยีการผลิตวสั ดุ/ดินปลูก รวมถึงส่วนอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง นอกจากน้ีสมาชิก
กลุ่มเองมีภูมิปัญญาในเร่ืองของการจัดดอกไม้งานพิธี การทาพวงมาลัย ซ่ึงสามารถจัดเป็นกิจกรรมให้กับผู้เข้า
เยี่ยมชมกิจกรรมของกลุ่ม หรือนาองค์ความรู้ดังกล่าวไปเช่ือมโยงกับการจัดกิจกรรมของกลุ่มหรือเครือข่าย
ซึ่งนอกจากจะเป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้แล้ว ยังเป็นช่องทางการนาสินค้า/วัตถุดิบจากทั้งของกลุ่มเองและ
ชมุ ชน ไปเผยแพร่และจาหน่ายได้
(4) นวตั กรรมใหม่
“กลุ่มทรัพย์ธรณี 39” เป็นกลุ่มท่ีตั้งขึ้นมาใหม่จึงอยู่ในช่วงท่ีนานวัตกรรมที่เคยใช้
จากแหลง่ อนื่ ๆ เข้ามาใชภ้ ายในกลุ่ม เช่น นวตั กรรมการทาป๋ยุ หมกั การทาหัวเชอื้ จุลินทรีย์
๓) การเปล่ียนแปลงทีเ่ กดิ ข้นึ หลังจากท่ไี ดด้ าเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารทีไ่ ดร้ บั การสนบั สนุน
(๑) ด้านเศรษฐกจิ (เช่น รายรับ-รายจา่ ย การผลติ ต้นทนุ การผลติ ราคาผลผลติ การใชป้ จั จยั
การผลติ สภาพการผลติ ภาวะหน้ีสิน ฯลฯ)
สมาชิกภายในกลุ่มฯ มีแนวโน้มที่จะมีต้นทุนการผลิตลดลงจากการใช้ปุ๋ยหมักและ
หวั เช้ือจลุ นิ ทรีย์ทผ่ี ลิตขึ้นเองภายในกลุ่มฯ และราคาผลผลิตด้านการเกษตรของสมาชิกในกลุ่มมีแนวโน้มท่ีดีขึ้น
เนื่องจากเปน็ ผลผลิตท่ปี ลอดสาร เป็นทตี่ ้องการของตลาด
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี 83
(2) ด้านสังคม (เช่น ลักษณะการรวมกลุ่ม ความรู้ ส่ิงที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง หรือไปเรียนรู้
จากผรู้ ้กู ารมสี ่วนร่วมของสมาชิก ฯลฯ)
ทางกลุ่มฯ มีการรวมกลุ่มเพื่อวัตถุประสงค์ท่ีเหมือนกัน คือ ต้องการทาการเกษตร
อย่างย่ังยืน ต้องการการพ่ึงพาตนเอง มีความพอเพียง ได้รับองค์ความรู้จากการฝึกอบรม และสามารถนาไปใช้
ไดจ้ รงิ ซึง่ มุ่งหวังที่จะขยายผลการใชป้ ุ๋ยหมกั ตา่ งๆ ไปสูส่ ังคมและชมุ ชนโดยรอบ
(3) ด้านส่ิงแวดลอ้ ม
การรวมกลุ่มของ “กลุ่มทรัพย์ธรณี 39” เน้นการทาการเกษตรแบบย่งั ยืน มีการผลิตพืชผกั
ท่ีปลอดสาร ซึ่งส่งผลกระทบท่ีดีต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากน้ีในการผลิตปุ๋ยหมักและวัสดุ/ดินปลูกที่กลุ่มจะผลิต
ขึ้นต่อไปน้ัน ยังเป็นการส่งต่อสิ่งท่ีดีมีคุณภาพ เม่ือคนที่นาไปใช้ก็จะได้วัสดุปลูกท่ีดี ไม่จาเป็นต้องใส่ปุ๋ยเคมี
ก็จะเปน็ การช่วยสงิ่ แวดลอ้ มในอกี ทางหน่ึงด้วย
(๔) ด้านอนื่ ๆ
การปรับแนวคิดในการใช้ชีวิตแบบพอเพียง สมาชิกภายในกลุ่มสามารถนาแนวคิดการใช้
ชวี ติ แบบพอเพียงมาปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้
4) สรุปปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาท่ีเป็นรูปธรรม (เช่น การบริหารจัดการทรัพยากร วัตถุดิบ
เทคโนโลยี ผู้นากลมุ่ สมาชิก การสร้างเครอื ขา่ ย ฯลฯ)
(1) การบริหารจัดการทรพั ยากร วัตถุดบิ
- มีวัสดุภายในพื้นท่ีและบริเวณใกล้เคียง และรู้จักช่วยกันรักษาส่ิงแวดล้อม
ภายในชุมชน
- นาเอาวัสดุเหลือใช้ท่ีมีอยู่มาทาใหเ้ กิดประโยชน์ เชน่ การทาปยุ๋ หมกั
(2) เทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยีของกลุ่มยังไม่เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน เนื่องจากทางกลุ่ม
ยังเป็นกลุ่มท่ีใหม่ยังขาดประสบการณ์ในการใช้เทคโนโลยีเพื่ออานวยความสะดวกในการประกอบอาชีพ
ด้านการเกษตร
(3) ผู้นากลุ่มสมาชิก ผู้นากลุ่มและสมาชิก มีความต้ังใจแน่วแน่ในการรวมกลุ่มเพ่ือการทา
เกษตรกรรมยั่งยืน รวมถึงการพึ่งพาตนเองตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความพร้อมที่จะเรียนรู้
รวมถึงถา่ ยทอดองคค์ วามรทู้ ่ีไดร้ บั จากการฝกึ อบรมให้กับสมาชิกในกลมุ่ คนในชุมชน คนท่สี นใจเขา้ มาเรยี นรู้
(4) การสร้างเครือข่าย
- มีการเช่ือมโยงกับศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน มูลนิธิข้าวขวัญซึ่งช่วยสนับสนุน
การดาเนินกิจกรรมของกลุ่ม ตลอดจนให้องค์ความรู้และคาแนะนาต่างๆ เพ่ือให้กลุ่มมีความเข้มแข็ง รวมถึง
กลมุ่ ยังเป็นเครือขา่ ยกับศูนยภ์ ูมริ ักษธ์ รรมชาติ จงั หวดั นครนายก
- สมาชกิ จดั กจิ กรรมกับมลู นิธิสยามกตัญญู ทากิจกรรม จาหนา่ ยสนิ ค้าทุกอย่าง 9 บาท
(ขายขาดทนุ กาไรบุญ) ใหก้ ับคนในชุมชน รวมถึงการทากจิ กรรมโรงทานร่วมเลี้ยงอาหารในวดั ต่างๆ
5) ข้อคิดเหน็ ของเจา้ หน้าที่สานกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั
(1) ปญั หา และอปุ สรรคในการดาเนินงานโครงการฯ
สมาชิกภายในกลุ่มฯ ยังขาดประสบการณ์ในการบริหารจัดการกลุ่มว่าทาอย่างไร
จะใหก้ ลุ่มมคี วามเขม้ แขง็ และพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง
(2) ขอ้ เสนอแนะในการดาเนนิ งานโครงการฯ ในปีต่อไป
- จัดให้มีการติดตามผลการดาเนินงานของกลุ่มเกษตรกร หลังจากท่ีผ่านการฝึกอบรม
และฝึกปฏบิ ัติแลว้
84 รำยงำนประจำปี 2565
- เน่ืองจากกลุ่มเกษตรกรยังเป็นกลุ่มท่ีจัดตั้งขึ้นใหม่ ในช่วงต้นอาจขาดความเข้มแข็ง
จึงควรสนับสนุนงบประมาณ เพ่ือขยายผลการดาเนินงานของกลุ่มเดิม เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มได้มีกิจกรรม
ต่อเนอื่ ง
ภำพกจิ กรรมกำรฝึกปฏิบตั ิทำปุ๋ยหมกั และขยำยเชื้อจลุ นิ ทรีย์
ภำพกจิ กรรมกำรจัดเวทีติดตำมผลและรำยงำนควำมกำ้ วหนำ้ ของกลมุ่
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสพุ รรณบุรี 85
3.2 กำรสรรหำปรำชญเ์ กษตรของแผน่ ดินจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2566
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เห็นสมควรยกย่องและเชิดชูเกียรติแก่ผู้ทรงภูมิปัญญาด้านการเกษตร
ในสาขาต่างๆ ซ่ึงเป็นผู้มีคุณความดี มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ สมควรเป็นปราชญ์เกษตร
ของแผ่นดิน ให้ได้รับการดูแลด้านสวัสดิการและสนับสนุนให้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์และ
ความสามารถสู่สังคม โดยเป็นการดาเนินการตามแนวนโยบายแห่งรัฐ ด้านการรักษาและพัฒนาภูมิปัญญา
ท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย เพ่ือการพัฒนาด้านการเกษตรของประเทศให้บรรลุผลสัมฤทธ์ิ โดยการสรรหา
เป็นปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน จานวน 4 สาขา คือ 1) ปราชญ์เกษตรผู้ทรงภูมิปัญญาและคุณูปการ
ต่อภาคการเกษตรไทย 2) ปราชญ์เกษตรเศรษฐกิจพอเพียง 3) ปราชญ์เกษตรดีเด่น และ 4) ปราชญ์เกษตร
ผู้นาชมชุมและเครือข่าย เพื่อให้คณะทางานสรรหาปราชญ์เกษตรของแผ่นดินระดับจังหวัด พิจารณาผลงาน
ของผู้เข้ารับการสรรหาปราชญ์เกษตรของแผ่นดินสาขาละ 1 คน นาเสนอคณะอนุกรรมการสรรหาปราชญ์
เกษตรของแผ่นดนิ พจิ ารณาคัดเลือก
จังหวัดสุพรรณบุรี ได้มีประกาศ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2565 เร่ือง การสรรหาเป็นปราชญ์เกษตร
ของแผน่ ดนิ ประจาปี 2566 โดยบุคคลผู้สนใจสมัครเขา้ รับการสรรหาเป็นปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน สามารถ
ขอรายละเอียดและแบบบันทึกข้อมูลบุคคลผู้เข้ารับการสรรหาปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน และยื่นสมัครได้
ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2565 ในวันและเวลาราชการ ณ สานกั งานเกษตรและ
สหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ศาลากลางจังหวัดสุพรรณบุรี ช้ัน 2 โทรศัพท์ 035 - 535424 - 5 และมีผู้ยื่น
แบบบันทึกข้อมูลบุคคลผู้เข้ารับการสรรหาปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน จานวน 2 สาขา สาขาละ 1 คน
ไดแ้ ก่
1) สำขำปรำชญ์เกษตรดีเด่น คือ นายพิชิต เกียรติสมพร บ้านเลขที่ 22/2 หมู่ 4 ตาบลสวนแตง
อาเภอเมอื งสุพรรณบุรี จงั หวัดสุพรรณบุรี
2) สำขำปรำชญ์เกษตรผู้นำชมชุมและเครือข่ำย คือ นายเกษมชัย แสงสว่าง บ้านเลขที่ 80
บ้านหนองกระโดนมน ตาบลหนองโพธิ์ อาเภอหนองหญ้าไซ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
คณะทางานสรรหาปราชญ์เกษตรของแผ่นดินจังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดประชุมเม่ือวันจันทร์ท่ี 26
กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมหลวงทรงพล ชั้น 3 ด้านหน้า ศาลากลางจังหวัดสุพรรณบุรี เพ่ือพิจารณา
สรรหาผู้สมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน ระดับจังหวัดสุพรรณบุรี ประจาปี 2566
สาขาละไม่เกิน 1 คน จัดส่งให้คณะอนุกรรมการสรรหาปราชญ์เกษตรของแผ่นดินพิจารณาตามหลักเกณฑ์
และวิธกี ารสรรหาปราชญ์เกษตรของแผ่นดนิ ฯ
ผลการประชมุ คณะทางานฯ มมี ตคิ ดั เลือกบุคคลเขา้ รับการสรรหาเปน็ ปราชญเ์ กษตรของแผ่นดิน ดังน้ี
1) สำขำปรำชญ์เกษตรดีเด่น คือ นายพิชิต เกียรติสมพร บ้านเลขที่ 22/2 หมู่ 4 ตาบลสวนแตง
อาเภอเมอื งสพุ รรณบรุ ี จงั หวัดสุพรรณบุรี มีผลการประเมนิ 3 เกณฑ์หลกั ดังนี้
1) คณุ ลกั ษณะสว่ นบคุ คล เต็ม 30 คะแนน ได้ 30 คะแนน
2) ผลงานทส่ี ร้างคุณประโยชน์ เตม็ 40 คะแนน ได้ 40 คะแนน
3) การขยายผลงาน เต็ม 30 คะแนน ได้ 28 คะแนน
รวมคะแนนเตม็ 100 ได้ 98 คะแนน
86 รำยงำนประจำปี 2565
2) สำขำปรำชญ์เกษตรผู้นำชมชุมและเครือข่ำย คือ นายเกษมชัย แสงสว่าง บ้านเลขที่ 80
บา้ นหนองกระโดนมน ตาบลหนองโพธิ์ อาเภอหนองหญา้ ไซ จังหวัดสพุ รรณบุรี มผี ลการประเมิน 3 หลกั เกณฑ์
ดังน้ี
1) คณุ ลักษณะสว่ นบุคคล เต็ม 30 คะแนน ได้ 30 คะแนน
2) ผลงานทีส่ ร้างคุณประโยชน์ เตม็ 40 คะแนน ได้ 37 คะแนน
3) การขยายผลงาน เตม็ 30 คะแนน ได้ 28 คะแนน
รวมคะแนนเตม็ 100 ได้ 95 คะแนน
ภำพประกอบกำรประชุมเพอ่ื พจิ ำรณำสรรหำเปน็ ปรำชญ์เกษตรของแผน่ ดิน ประจำปี 2566
3.3 โครงกำรเกษตรกรรมยง่ั ยนื
จังหวัดสุพรรณบุรี มีพ้ืนท่ีเกษตรกรรมยั่งยืน 23,512.60 ไร่ (คิดเป็นร้อยละ 1.02 ของพื้นท่ี
เกษตรกรรมจังหวดั สุพรรณบุร)ี เกษตรกร 4,172 ราย ประกอบดว้ ย
1. เกษตรอนิ ทรีย์ 188.97 ไร่ เกษตรกร 450 ราย
1) PGS
- ส.ป.ก. 63 ไร่ เกษตรกร 42 ราย
- เกษตรจงั หวดั 125.97 ไร่ เกษตรกร 310 ราย
2) พืชผกั ไมผ้ ล
- ระยะปรบั เปล่ียน 36 แปลง
- แปลงใหม่ 10 แปลง
- แปลงต่ออายุ 33 แปลง
- แปลงตรวจตดิ ตาม 1 แปลง
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สพุ รรณบรุ ี 87
3) พืน้ ทก่ี ารผลิตข้าวอินทรีย์ 136.75 ไร่ เกษตรกร 1 กลุ่ม 14 ราย
4) พน้ื ท่ปี ศุสตั ว์อนิ ทรีย์ .......-......ไร่ เกษตรกร 20 ราย
5) พ้นื ท่ปี ระมงอินทรีย์ .......-.......ไร่ เกษตรกร 10 ราย
6) อบรมด้านบัญชี โครงการพฒั นาเกษตรกรรมยั่งยนื (เกษตรอินทรยี )์ เกษตรกร 54 ราย
2. เกษตรกรทฤษฎใี หม่ 20,867.63 ไร่ เกษตรกร 2,393 ราย
1) โครงการ 1 ตาบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎใี หม่ 677 ไร่ เกษตรกร 189 ราย
2) โครงการ 5 ประสานฯ 20,190.63 ไร่ เกษตรกร 2,204 ราย
3. วนเกษตร 1,000 ไร่ เกษตรกร 100 ราย
4. เกษตรผสมผสาน เกษตรกร 65 ราย
5. เกษตรธรรมชาติ -ไมม่ -ี
6. พน้ื ทีก่ ารรับรองมาตรฐานการปฏิบตั ทิ างการเกษตรท่ีดี (GAP)
1) ด้านพืช 1,319.25 ไร่ เกษตรกร 231 ราย
2) ด้านประมง เกษตรกร 933 ราย/ฟารม์
3) ด้านปศุสัตว์ 180 ฟาร์ม ประกอบด้วย สุกร 43 ฟาร์ม, ไก่เน้ือ 127 ฟาร์ม,
ไกไ่ ข่ 5 ฟาร์ม, ไก่พันธุ์ 1 ฟาร์ม , เปด็ ไข่ 1 ฟารม์ , โคเน้อื 1 ฟาร์ม, แพะเนื้อ 1 ฟารม์ , จงิ้ หรดี 1 ฟารม์
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้รวบรวมแผนงาน/โครงการ ภายใต้โครงการ
เกษตรกรรมยั่งยนื จากหน่วยงานที่เก่ยี วข้องภายในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกอบด้วย
1. เกษตรอินทรยี ์ 7 โครงการ งบประมาณ 0.75446 ลา้ นบาท
2. เกษตรทฤษฎใี หม่ 6 โครงการ งบประมาณ 0.74152 ล้านบาท
3. เกษตรผสมผสาน 1 โครงการ งบประมาณ 0.25900 ล้านบาท
4. วนเกษตร 1 โครงการ งบประมาณ 1.02852 ล้านบาท
5. เกษตรปลอดภยั (GAP) 6 โครงการ งบประมาณ 1.66596 ล้านบาท
รวม 21 โครงกำร งบประมำณ 3.70794 ล้ำนบำท
3.4 โครงกำรเกษตรทฤษฎใี หม่ (5 ประสำน สืบสำนเกษตรทฤษฎใี หม่ ถวำยในหลวง)
การขับเคล่ือนโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ดาเนินการมาต้ังแต่ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 จนถึงปจจุบัน
เป็นระยะเวลา 5 ปแลว เน่ืองจากเป็นแนวทางนโยบายสาคัญโครงการหนึ่งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หน่วยงานท่ีรับผิดชอบทาการทบทวนผลการดาเนินงานโครงการฯ โดยใช ผลจากการประเมินโครงการฯ
จากสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่ได้จัดทารายงานผลการประเมินโครงการเสนอตอปลัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ เป็นแนวทางในการปรับปรุงและทบทวนการดาเนินงานใหมีความชัดเจนมากย่ิงข้ึน กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ได้ดาเนินการโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ซ่ึงเป็นโครงการท่ีอยู่ภายใต้งบบูรณาการพัฒนา
และส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก นนั้
ปัจจุบันโครงการเกษตรทฤษฎใี หม่ จังหวัดสุพรรณบุรี มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการท้ังส้ิน 2,204 ราย
ส่วนใหญ่ทาการเกษตรแบบผสมผสาน อย่างไรก็ตามในแต่ละรูปแบบท่ีเกษตรกรได้ดาเนินการจัดอยู่ในรูปแบบ
ของระบบเกษตรกรรมย่ังยืน “โครงการส่งเสริมแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่” ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
(ต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ.2560 - 2562) ภายใต้โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ เพ่ือให้มีการดาเนินงาน
เป็นไปตามนโยบายส่งเสริมแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นหนึ่งในนโยบายสาคัญของกระทรวงเกษตรและ
88 รำยงำนประจำปี 2565
สหกรณ์ รวมท้ังให้สอดคล้องกับแนวทางการขับเคล่ือนเกษตรกรรมยั่งยืนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตามวาระของประเทศต่อไปด้วย โดยสง่ เสริมให้เกษตรกรทเ่ี ข้ารว่ มโครงการฯ ไดน้ อ้ มนาหลักการเกษตรทฤษฎีใหม่
ไปปรับใช้ในพ้ืนท่ีของตนเองให้สอดคล้องกับสภาพพ้ืนท่ีของเกษตรกรตามภูมิสังคม เพ่ือมุ่งหวังท่ีจะพัฒนา
คุณภาพชีวิตของเกษตรกร ในการลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้อันเกิดจากการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ครอบครัว
และชมุ ชน โดยการสรา้ งอาชีพอยา่ งเหมาะสมกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ และปจั จัยการผลิตทม่ี อี ยอู่ ย่างคุม้ ค่า
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกับหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ในจงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้ดาเนินงานโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ สรุปผลการดาเนนิ งานได้ ดงั น้ี
1. สานักงานประมงจังหวัดสุพรรณบุรี ลงพ้ืนท่ีสนับสนุนการผลิต โครงการส่งเสริมอาชีพประมง
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ด้านการประมง จานวน 3 อาเภอ
เปน็ เกษตรกรทีอ่ ยใู่ นความรับผิดชอบของสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ดังน้ี
1.1 ส่งเสริมอาชีพประมง กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ด้านการประมงให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วม
โครงการ ปี 2561 อาเภอหนองหญา้ ไซ วันพุธที่ 2 มนี าคม 2565 ณ ศูนย์เรยี นรเู้ กษตรอินทรีย์วถิ ชี มุ ชนบ้าน
หนองกระโดนมน ตาบลหนองโพธิ์ อาเภอหนองหญา้ ไซ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
1.2 ส่งเสริมอาชีพประมง กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ด้านการประมงให้กับเกษตรกรท่ีเข้าร่วม
โครงการปี 2561 อาเภอเมืองสุพรรณบุรี และอาเภออู่ทอง วันจันทร์ท่ี 7 มีนาคม 2565 ณ ท่ีทาการกานัน
ตาบลดอนคา อาเภออู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดสพุ รรณบุรี 89
2. สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สุพรรณบุรี อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรอบรมเกษตรกร
ปีงบประมาณ 2565 ภายใต้โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน (เกษตรทฤษฎีใหม่) การทาบัญชีรู้รับ-รู้จ่าย
และบัญชีต้นทุนอาชีพ เพ่ือการจัดการเศรษฐกิจภาคเกษตร จานวน 2 อาเภอ เป็นเกษตรกรท่ีอยู่ในความ
รบั ผดิ ชอบของสานักงานเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั สพุ รรณบุรี ดังนี้
2.1 อาเภออ่ทู อง เกษตรกร 12 ราย ในวนั องั คารที่ 15 มีนาคม 2565 ณ ศูนยเ์ รยี นร้เู กษตรอนิ ทรีย์
วิถชี มุ ชนบา้ นหนองกระโดนมน ตาบลหนองโพธิ์ อาเภอหนองหญ้าไซ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
2.2 อาเภออู่ทอง เกษตรกร 24 ราย ในวันศุกร์ท่ี 18 มีนาคม 2565 ณ กลุ่มเกษตรกรผู้เล้ียงแพะ
อทู่ อง ตาบลดอนคา อาเภออูท่ อง จังหวัดสพุ รรณบุรี
3. ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ กาญจนบุรี
ร่วมกับสานกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สุพรรณบุรี ติดตามเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการฯ และมอบต้นพันธุ์
หม่อนผลสด (พันธุ์เชียงใหม่) จานวน 30 ต้น เกษตรกร 7 ราย เพ่ือสนับสนุนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
เกษตรทฤษฎีใหม่ (5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ในวันจนั ทรท์ ่ี 1 สิงหาคม 2565 ณ บ้านเกษตรกรตาบลหนองโพธิ์ อาเภอหนองโพธ์ิ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
90 รำยงำนประจำปี 2565
3.5 โครงกำรพระรำชดำริฝนหลวง
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
พระราชดาริฝนหลวง ดงั นี้
1. จัดพิธีวางพานพุ่มดอกไม้สดถวายราชสักการะพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เน่ืองในวันพระบิดาแห่งฝนหลวง ประจาปี 2564 เม่ือวันอาทิตย์ท่ี
14 พฤศจิกายน 2564 ณ บริเวณห้องโถงด้านหน้า (ชั้น 1) ศาลากลางจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีนายณัฐภัทร
สุวรรณประทีป ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานในพิธีถวายราชสักการะวางพานพุ่มดอกไม้สด
ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เพอ่ื เป็นการแสดง
ความจงรักภักดีและน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นหาที่สุดมิได้ ผู้ร่วมงานประกอบด้วย หัวหน้า
ส่วนราชการและเจา้ หนา้ ทีใ่ นสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในจงั หวัดสุพรรณบุรี ได้แก่ เกษตรและสหกรณ์
จังหวัดสุพรรณบุรี ปศุสัตว์จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้อานวยการสถานีพัฒนาที่ดินสุพรรณบุรี หัวหน้าสานักงาน
ตรวจบัญชีสหกรณ์สุพรรณบุรี ผู้แทนเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี ผู้แทนประมงจังหวัดสุพรรณบุรี ผู้แทนปฏิรูปท่ีดิน
จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้แทนสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้แทนผู้อานวยการโครงการชลประทานสุพรรณบุรี
ผู้แทนผู้อานวยการศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ท้ังน้ีได้ประชาสัมพันธ์ให้ข้าราชการ พนักงาน เจ้าหน้าที่
ของส่วนราชการต่างๆ ลงนามน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบิดาแห่งฝนหลวงและเชิญชม
นิทรรศการผ่านระบบออนไลน์ทางเว็บไซต์กรมฝนหลวงและการบินเกษตร www.royalrain.go.th
ระหว่างวันท่ี 7-15 พฤศจิกายน 2564
2. ประชาสัมพันธ์ขา่ วการปฏิบตั กิ ารฝนหลวงทาง website สานักงานเกษตรและสหกรณ์
จังหวดั สพุ รรณบุรี (https://www.opsmoac.go.th/suphanburi-home)
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 91
3.6 โครงกำรอันเน่ืองมำจำกพระรำชดำริของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ติดตามผลการดาเนินงานโครงการพระราชดาริ
ในพ้ืนที่จังหวัดสุพรรณบุรี โดยประสานการรายงานผลการดาเนินงานจากโครงการชลประทานสุพรรณบุรี
สานักงานปศุสัตว์จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีโครงการพัฒนาด้านแหล่งน้า เพ่ือปรับปรุง ซ่อมแซม
เพ่ิมประสิทธิภาพระบบชลประทาน จานวน 11 โครงการ (อยู่ในความรับผิดชอบของโครงการชลประทาน
สุพรรณบุรี 10 โครงการ) และโครงการธนาคารโค-กระบอื เพื่อเกษตรกรตามพระราชดาริ เกษตรกรได้เข้ารว่ ม
โครงการ จานวน 2,727 ราย ได้รับแม่พันธุ์โค จานวน 2,707 ตัว กระบือ จานวน 201 ตัว เพ่ือรายงานผล
การดาเนินงานให้สานักแผนงานและโครงการพิเศษ ทราบภายในวันที่ 30 ของทุกเดือน รายละเอียดโดยสรุป
ดังน้ี
โครงกำร/ที่ตงั้ พระรำชดำร/ิ เมอ่ื วันที่ หมำยเหตุ
1. อ่างเกบ็ น้าหว้ ยแห้ง พระบาทสมเด็จพระปรมินทร ลักษณะโครงการ : อา่ งเกบ็ น้าขนาดเลก็
อันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช กอ่ สร้างทานบดิน กว้าง 6 เมตร ยาว 345 เมตร
บ้านห้วยแห้ง ตาบลห้วยขม้นิ 12 พฤศจกิ ายน 2522 สงู 9.5 เมตร ความจุ 0.75 ล้าน ลบ.ม.
อาเภอด่านชา้ ง ประโยชนข์ องโครงการ : 1,000 ไร่
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ : โครงการชลประทานสุพรรณบรุ ี
กรมชลประทาน
2. อา่ งเก็บน้าห้วยทา่ เด่อื พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร ลกั ษณะโครงการ : อา่ งเกบ็ นา้ ขนาดเล็ก
อันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ มหาภูมิพลอดลุ ยเดช ก่อสรา้ งทานบดนิ กวา้ ง 6 เมตร ยาว 500 เมตร
บ้านหบุ ตาอน้ ตาบลนิคม 30 เมษายน 2523 สูง 15 เมตร ความจุ 2.8 ล้าน ลบ.ม.
กระเสียว อาเภอดา่ นชา้ ง ประโยชน์ของโครงการ : 3,000 ไร่
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : โครงการชลประทานสพุ รรณบรุ ี
กรมชลประทาน
3. อ่างเกบ็ น้าท่าเดื่อ 1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทร ลกั ษณะโครงการ : อ่างเกบ็ นา้ ขนาดเล็ก
อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช กอ่ สร้างทานบดนิ กว้าง 6 เมตร ยาว 500 เมตร
บา้ นทา่ เดือ่ ตาบลหว้ ยขมิ้น 30 เมษายน 2523 สูง 8 เมตร ความจุ 0.18 ลา้ น ลบ.ม.
อาเภอดา่ นช้าง ประโยชนข์ องโครงการ : 1,500 ไร่ 1 หมูบ่ า้ น
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ : โครงการชลประทานสพุ รรณบรุ ี
กรมชลประทาน
4. อ่างเก็บน้าหว้ ยพุปลาก้าง 1 พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร ลักษณะโครงการ : อ่างเก็บน้าขนาดเลก็
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ มหาภมู ิพลอดลุ ยเตช กอ่ สรา้ งทานบดิน กว้าง 6 เมตร ยาว 286 เมตร
บ้านหนองกระดี่ ตาบลดา่ นช้าง 30 เมษายน 2523 สูง 11 เมตร ความจุ 0.63 ล้าน ลบ.ม.
อาเภอดา่ นชา้ ง ประโยชน์ของโครงการ : 2,500 ไร่
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ : โครงการชลประทานสุพรรณบรุ ี
กรมชลประทาน
5. อ่างเกบ็ น้าหนองตม พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร ลักษณะโครงการ : อ่างเกบ็ น้าขนาดเลก็
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช กอ่ สร้างทานบดนิ กวา้ ง 6 เมตร ยาว 287 เมตร
บ้านเขาชอ่ งคบั ตาบลด่านช้าง 30 เมษายน 2523 สูง 6.3 เมตร ความจุ 0.16 ลา้ น ลบ.ม.
อาเภอด่านช้าง ประโยชนข์ องโครงการ : 1,200 ไร่
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ : โครงการชลประทานสุพรรณบรุ ี
กรมชลประทาน
92 รำยงำนประจำปี 2565
โครงกำร/ท่ตี งั้ พระรำชดำริ/เมอ่ื วนั ท่ี หมำยเหตุ
6. ฝา่ ยซับปลากา้ ง พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร ลกั ษณะโครงการ : กอ่ สร้างฝายทดนา้
อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ยาว 42 เมตร สูง 2 เมตร
บ้านทงุ่ ตาบลห้วยขมิน้ 30 เมษายน 2523 ประโยชนข์ องโครงการ : 2,500 ไร่
อาเภอด่านช้าง หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : โครงการชลประทานสุพรรณบรุ ี
กรมชลประทาน
7. อา่ งเกบ็ นา้ หว้ ยขมิน้ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร ลกั ษณะโครงการ : อ่างเก็บน้าขนาดเล็ก
อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ มหาภูมิพลอดลุ ยเตช ก่อสรา้ งทานบดิน กวา้ ง 6 เมตร ยาว 642 เมตร
บา้ นสามแยก ตาบลห้วยขมนิ้ 30 เมษายน 2523 สงู 10 เมตร ความจุ 0.40 ลา้ น ลบ.ม.
อาเภอดา่ นชา้ ง ประโยชน์ของโครงการ : 2,000 ไร่
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ : โครงการชลประทานสุพรรณบรุ ี
กรมชลประทาน
8. อ่างเกบ็ นา้ ห้วยยาง 1 พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร ลักษณะโครงการ : อ่างเกบ็ นา้ ขนาดเล็ก
อันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ มหาภูมิพลอดลุ ยเตช กอ่ สร้างทานบดิน กว้าง 6 เมตร ยาว 395 เมตร
บา้ นนคิ มกระเสยี ว ตาบลนคิ ม 30 เมษายน 2523 สงู 11.5 เมตร ความจุ 0.22 ล้าน ลบ.ม.
กระเสยี ว อาเภอดา่ นช้าง
9.อา่ งเก็บน้าห้วยพตุ ะเคียน พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร ลกั ษณะโครงการ : อ่างเก็บน้าขนาดกลาง
อนั เนื่องมาจากพระราชดาริ มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช กอ่ สรา้ งทานบดิน กวา้ ง 8 เมตร ยาว 568.2 เมตร
บ้านทุ่งมะกอก ตาบลองคพ์ ระ 28 มกราคม 2533 สูง 21 เมตร ความจุ 4 ลา้ น ลบ.ม.
อาเภอดา่ นชา้ ง ประโยชนข์ องโครงการ : 590 ครวั เรอื น 5,000 ไร่
ของอาเภอบ่อพลอย หนองปรือ
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ : กรมชลประทาน
10. กอ่ สร้างสถานสี ูบน้า พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร ลักษณะโครงการ : ก่อสรา้ งสถานสี ูบนา้ พรอ้ มอาคาร
ห้วยดว้ นและอาคารประกอบ มหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ประกอบ และขดุ ลอกเสรมิ ค้นคลองหญ้าแดง
ตาบลกระเสียว อาเภอสามชกุ 24 พฤศจกิ ายน 2552 คลองหว้ ยดว้ น และ คลอง ร.3 ขวาสามชกุ 1
จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ประโยชนข์ องโครงการ : บรรเทาปัญหานา้ ทว่ มพ้นื ท่ี
การเกษตร ในเขตอาเภอเดมิ บางนางบวชและบริเวณ
ใกลเ้ คยี ง รวม 4,500 ไร่
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ : โครงการชลประทานสพุ รรณบรุ ี
กรมชลประทาน
11. อ่างเก็บนา้ ลาตะเพนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร ลกั ษณะโครงการ : อ่างเกบ็ น้าความจุ 50 ลา้ น ลบ.ม.
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ มหาภูมพิ ลอดลุ ยเตช ประโยชน์ของโครงการ : เพอ่ื สนับสนุนน้าทาการเกษตร
ตาบลองคพ์ ระ อาเภอดา่ นช้าง 28 มกราคม พ.ศ.2533 แกเ่ กษตรกรในพ้ืนท่ี 34,000 ไร่ ของอาเภอบ่อพลอย
หนองปรอื
หน่วยงานรับผดิ ชอบ : กรมชลประทาน
11. โครงการธนาคารโค- เกษตรกรเขา้ ร่วมโครงการ 513 ราย แมพ่ นั ธุ์โค-กระบอื
กระบือเพอื่ เกษตรกรตาม รายละ 1 ตวั เปน็ กรรมสิทธิข์ องตนเอง 135 ราย
พระราชดาริ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ : สานกั งานปศสุ ัตวจ์ งั หวดั สุพรรณบรุ ี
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี 93
3.7 โครงกำรพฒั นำพืน้ ทต่ี ำมแนวพระรำชดำรแิ ละหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ประจำปงี บประมำณ พ.ศ.2565 กจิ กรรมขยำยผลเกษตรเพือ่ อำหำรกลำงวนั
อันเน่ืองมำจำกพระรำชดำริสมเดจ็ พระกนษิ ฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรตั นรำชสดุ ำฯ
สยำมบรมรำชกุมำรี ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2565
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้มีคาส่งั ท่ี 780/2564 ลงวนั ที่ 2 มีนาคม 2564 แตง่ ตง้ั คณะทางานขับเคล่ือน
และขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริจังหวัดสพุ รรณบุรี คณะทางานมิติด้านการเกษตร และได้รับ
อนุมัติงบประมาณจากกระทรวงมหาดไทยในโครงการพัฒนาพ้ืนที่ตามแนวพระรา ชดาริและหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กิจกรรมขยายผลเกษตรเพ่ืออาหารกลางวัน
อนั เนือ่ งมาจากพระราชดารสิ มเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยน้อมนาหลักการพัฒนาตามแนวพระราชดาริและหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในพ้ืนท่ีเพ่ือให้
สามารถพ่ึงพาตนเองได้อย่างย่ังยืน จานวน 2 โครงการๆ ละ 125,000 บาท ดังนี้ 1) โครงการเกษตร
เพื่ออาหารกลางวันตามแนวพระราชดาริโรงเรียนวัดกุ่มโคก หมู่ 5 ตาบลทุ่งคลี อาเภอเดิมบางนางบวช
จังหวัดสุพรรณบุรี 2) โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันตามแนวพระราชดาริโรงเรียนบ้านแจงงาม หมู่ 4
บ้านแจงงาม ตาบลแจงงาม อาเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อให้การดาเนินงานโครงการเป็นไปดว้ ย
ความเรียบร้อย โดยส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องสนบั สนุนและให้ความรู้ทางวิชาการในการปลูกพืช เลย้ี งสัตว์ ใหแ้ ก่
เดก็ นักเรยี นในโรงเรียนท่ไี ดร้ บั จดั สรรงบประมาณ
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี จัดประชุมคณะทางานมิติด้านการเกษตร คร้ังที่
1/2565 เม่ือวันพุธที่ 15 มิถุนายน 2565 ณ ห้องประชุมสานักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อเตรียม
ความพร้อมสนับสนุนการดาเนินโครงการฯ และลงพ้ืนที่สารวจแปลง ณ โรงเรียนวัดกุ่มโคก และโรงเรียน
บา้ นแจงงาม เม่ือวนั พุธท่ี 29 มถิ ุนายน 2565 พร้อมจดั ทาแผนงานสนบั สนนุ การดาเนนิ งานโครงการฯ
1. หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องดาเนินการตามแผนงานสนับสนุนการดาเนินงานโครงการเกษตร เพ่ืออาหาร
กลางวนั ฯ ท้ัง 2 โรงเรียน ดังน้ี
1.1 สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกับศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (กาญจนบุรี) สนับสนุนต้นพันธุ์หม่อนผล (พันธ์ุเชียงใหม่)
และตน้ มะละกอพนั ธุแ์ ขกดา
1.2 สานักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกับอุทยานผักพื้นบ้านเฉลิมพระเกียรติฯ บึงฉวาก
สนบั สนนุ เมล็ดพันธ์ผุ กั สวนครวั และตน้ พนั ธ์ุผกั พน้ื บ้านต่างๆ
1.3 สานักงานประมงจังหวัดสุพรรณบุรี ถ่ายทอดองค์ความรู้การเลี้ยงปลาดุก ลักษณะนิสัย
ของปลาดกุ การแปรรปู ปลาดกุ และให้ความรกู้ ารเพาะเล้ียงปลาดกุ ในบ่อซีเมนต์
1.4 สานักงานปศุสัตว์จังหวัดสุพรรณบุรี แนะนาส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ให้นักเรียนและสร้าง
การเรียนรู้ใหก้ บั เด็กนักเรียนในกิจกรรมการเลย้ี งไก่ไข่ในโรงเรยี น วธิ กี ารเลี้ยงไกไ่ ข่ การใหน้ า้ และอาหาร พรอ้ ม
ทั้งสนับสนุนพันธ์ุไก่ไข่ 15 ตัว เวชภัณฑ์ยาป้องกันรักษาโรคสัตว์ปีก และวิตามินชนิดผงละลายน้า เฉพาะ
โรงเรียนบ้านแจงงาม เนือ่ งจากโรงเรียนวัดกุ่มโคกพื้นทีไ่ ม่เหมาะสมในการดาเนนิ การ
1.5 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สุพรรณบุรี ให้ความรู้การจัดทาบัญชีต้นกล้าเศรษฐกิจพอเพียง
และบญั ชรี ับ-จา่ ยในครัวเรอื น สนับสนนุ สมุดบญั ชตี ้นกลา้ และสมุดบัญชคี รัวเรอื น
94 รำยงำนประจำปี 2565
1.6 สถานีพัฒนาท่ีดินสุพรรณบุรี ให้ความรู้การทาคอกปุ๋ยหมัก พด.1 และสนับสนุนปุ๋ยหมัก
พด.1 จานวน 0.5 ตัน และสารเร่งซุปเปอร์พด.สูตรต่างๆ ให้กับโรงเรียนวัดกุ่มโคก ให้คาแนะนาการทา
ปุ๋ยหมัก พด.1 การผสมดินปลูก การผลิตน้าหมักชีวภาพ พด.2 และสนับสนุนถังน้าหมักขนาด 120 ลิตร
จานวน 3 ถัง พร้อมกากน้าตาลและสับปะรด เพ่ือใช้ในการผลิตน้าหมักชีวภาพ พด.2 และสารเร่งซุปเปอร์ พด.
สูตรต่างๆ ใหก้ บั โรงเรียนบา้ นแจงงาม
1.7 ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี สนับสนุนต้นพันธ์ุมะละกอแขกดาศรีสะเกษ ต้นพันธุ์มะเขือเปราะ
เจา้ พระยา และตน้ พันธุถ์ ่วั พู
1.8 สานักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ให้ความรู้และแนะนาส่งเสริมด้านสหกรณ์นักเรียน
ในเบ้ืองต้นให้แก่เดก็ และเยาวชน
2. คณะทางานมิติด้านการเกษตร ลงพ้ืนติดตามผลการดาเนินงานตามโครงการฯ เม่ือวันอังคารท่ี
6 กันยายน 2565 และวนั ที่ 5-6 ตุลาคม 2565 โดยทัง้ 2 โรงเรยี น มีผลการดาเนินงานดังน้ี
2.1 โรงเรยี นวัดกมุ่ โคก หมู่ 5 ตาบลทงุ่ คลี อาเภอเดมิ บางนางบวช
1) กิจกรรมโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้าภูฏาน 2 โรงเรือน เก็บผลผลิตแล้ว 2 รอบ เหลือจาก
การนาไปปรุงอาหารให้เด็กนักเรียนได้นาไปจาหน่ายให้กับผู้ปกครองนักเรียนในชุมชนใกล้เคียงโรงเรียน ถุงละ
10-20 บาท
2) กิจกรรมการเลยี้ งปลาดกุ พนั ธรุ์ สั เซียในบ่อซเี มนต์ 2 บอ่ ดาเนนิ การแลว้ และยงั ไมส่ ามารถ
จบั เพ่อื นามาปรงุ อาหารให้กับเด็กนักเรียน
3) กิจกรรมปลูกผักกางมุ้ง ดาเนินการแล้ว เก็บผลผลิตแล้ว 1 รอบ และนามาปรุงอาหาร
ใหก้ บั เด็กนักเรียน
2.2 โรงเรียนบา้ นแจงงาม หมู่ 4 บา้ นแจงงาม ตาบลแจงงาม อาเภอหนองหญา้ ไซ
1) กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้าภูฏาน 1 โรงเรือน ดาเนินการแล้ว และเก็บผลผลิตนามาปรุง
อาหารให้กับเด็กนกั เรียน เหลอื นาไปจาหน่ายในชุมชนใกลเ้ คยี ง กโิ ลกรมั ละ 60 บาท
2) กิจกรรมการเล้ียงไก่พันธ์ุไข่ 1 โรงเรือน 65 ตัว วางแผนการเล้ียงไก่ไข่เป็น 2 รอบ คือ
ในรอบแรกนามาเล้ียง 30 ตัว และรอบที่ 2 อีก 35 ตัว ในปัจจุบันรอบแรกสามารถเก็บไข่ไก่ไปปรุงอาหาร
ให้เด็กนกั เรียนได้
3) กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุกในวงบ่อซีเมนต์ ดาเนินการแล้ว และยังไม่สามารถจับนามาปรุง
อาหารให้กับเด็กนักเรยี น
2.3 ปญั หา/อปุ สรรค โรงเรยี นวัดกมุ่ โคกในชว่ งฤดฝู นมีน้าท่วมขังในพ้นื ท่ีลุ่มของโรงเรียน ทาให้พืช
บางสว่ นเสยี หาย