สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสพุ รรณบุรี 95
ภำพกิจกรรมหน่วยงำนกำรลงพนื้ ท่ีตำมแผนงำนสนับสนุนกำรดำเนินงำนโครงกำรฯ
โรงเรยี นวดั กมุ่ โคก หมู่ 5 ตำบลทุ่งคลี อำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวดั สุพรรณบุรี
เม่ือวันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม 2565 สถานีพัฒนาที่ดินสุพรรณบุรีลงพื้นท่ีแนะนาการทาปุ๋ยหมัก
พด.1 การผลิตน้าหมักชีวภาพ พด.2 และสอนวิธีการทาดินปลูก การทาคอกปุ๋ยหมักหมักพด.1 สนับสนุน
ป๋ยุ หมกั พด. 1 จานวน 0.5 ตนั และสารเรง่ ซุปเปอร์ พด. สูตรตา่ งๆ
เม่ือวันศุกร์ที่ 22 กรกฎาคม 2565 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สุพรรณบุรี ร่วมกับสานักงาน
เกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ลงพื้นท่ีถ่ายทอดความรู้การจัดทาบัญชีต้นกล้าเศรษฐกิจพอเพียงบัญชี
รับ-จ่ายในครัวเรือน และสหกรณ์นักเรียนให้แก่นักเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ปงี บประมาณ 2565
เมื่อวนั พุธท่ี 31 สิงหาคม 2565 ศนู ย์วจิ ัยพืชไร่สุพรรณบุรี ลงพ้ืนท่ีสนับสนุนพันธ์ุแขกดาศรีสะเกษ
ตน้ พันธ์ุมะเขือเปราะเจ้าพระยา
96 รำยงำนประจำปี 2565
เมอื่ วนั อังคารท่ี 6 กนั ยายน 2565 สานกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบรุ ี สานักงานเกษตร
จังหวัดสุพรรณบุรี สานักงานเกษตรอาเภอเดิมบางนางบวช และอุทยานผักพ้ืนบ้านเฉลิมพระเกียรติฯ บึงฉวาก
ลงพน้ื ท่ีสนบั สนนุ พันธ์หุ ม่อนผล พันธุ์มะละกอแขกดา เมล็ดพันธผ์ุ ักสวนครวั และพนั ธผ์ุ ักพื้นบ้านตา่ งๆ
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 ตุลาคม 2565 สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกับ
สานักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี และสานักงานปศุสัตว์อาเภอหนองหญ้าไซ ลงพื้นท่ีสนับสนุนท่อนพันธุ์
หญ้าเนเปียร์ เพ่อื ปลกู และนาไปใชใ้ นการแปรรูปเปน็ อาหารปลาดุก ชว่ ยในการลดตน้ ทุนคา่ อาหารปลาดกุ
เม่ือวันศุกร์ที่ 23 กันยายน 2565 โรงเรียนวัดกุ่มโคกอาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบรุ ี
ในช่วงฤดูฝน บริเวณพ้ืนที่ลุ่มของโรงเรียนมีน้าท่วมขังจึงเกิดปัญหาน้าระบายไม่ทัน ทาให้พืชผักบางส่วน
เสยี หาย เนื่องจากบริเวณรอบโรงเรียนทางระบายน้าตนั หมด
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 97
ภำพกจิ กรรมหนว่ ยงำนกำรลงพื้นท่ีตำมแผนงำนสนบั สนุนกำรดำเนนิ งำนโครงกำรฯ
โรงเรียนบำ้ นแจงงำม หมู่ 4 บ้ำนแจงงำม ตำบลแจงงำม อำเภอหนองหญำ้ ไซ จังหวัดสุพรรณบรุ ี
เมือ่ วันอังคารที่ 19 กรกฎาคม 2565 สถานพี ัฒนาทดี่ ินสพุ รรณบุรลี งพนื้ ที่แนะนาการทาปุ๋ยหมัก
พด.1 และการผลิตน้าหมักชีวภาพพด.2 และสนับสนุนถังน้าหมักขนาด 120 ลิตร จานวน 3 ถัง กากน้าตาล
พร้อมสับปะรด เพื่อใช้ในการผลติ น้าหมกั ชวี ภาพ พด.2 และสารเรง่ ซุปเปอรพ์ ด. สตู รตา่ งๆ
เม่ือวันศุกร์ท่ี 22 กรกฎาคม 2565 สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สุพรรณบุรี ลงพ้ืนที่ในการ
ถ่ายทอดความรู้ การจัดทาบัญชีต้นกล้าเศรษฐกิจพอเพียงบัญชีรับ-จ่ายในครัวเรือนและสหกรณ์นักเรียน ให้แก่
นักเรยี นในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ 2565
เม่ือวันจันทร์ท่ี ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๕ สานักงานปศุสัตว์อาเภอหนองหญ้าไซ ลงพื้นที่แนะนา
ส่งเสรมิ การเลย้ี งไก่ไขใ่ นโรงเรยี น และสรา้ งการเรยี นร้ใู หก้ ับเด็กนักเรียนโรงเรยี น
98 รำยงำนประจำปี 2565
เมื่อวันพุธที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๕ สานักงานปศุสัตว์อาเภอหนองหญ้าไซ ลงพื้นท่ีสอนวิธีการเล้ียง
ไกไ่ ข่ การใหน้ ้าและอาหาร
เม่อื วนั ศุกรท์ ี่ 26 สิงหาคม 2565 สานกั งานเกษตรอาเภอหนองหญ้าไซ ลงพื้นทสี่ นับสนุนเมลด็
พันธุผ์ ัก พร้อมทัง้ ให้ความรู้เรื่องการปลูกและการดูแล
เม่ือวันที่ 26 สิงหาคม 2565 ประมงอาเภอด่านช้างและรักษาการประมงอาเภอหนองหญ้าไซ
ลงพ้ืนท่ีถ่ายทอดองค์ความรู้การเลี้ยงปลาดุก และเยี่ยมชมกิจกรรมการเล้ียงปลาดุกในวงซีเมนต์ (2 เมตร)
แนะนาการเลย้ี งปลาดกุ ลกั ษณะนิสยั ของปลาดุก การแปรรปู ปลาดุก
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั สพุ รรณบรุ ี 99
เมื่อวันพุธที่ 31 สิงหาคม 2565 สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรีลงพ้ืนท่ีสนับสนุน
พันธ์ุหม่อนผล พันธุ์มะละกอแขกดา และศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ลงพ้ืนที่สนับสนุนพันธ์ุแขกดาศรีสะเกษ
ต้นพนั ธ์ุมะเขอื เปราะเจ้าพระยา
เมอ่ื วนั อังคารที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๕ สานกั งานปศุสัตวอ์ าเภอหนองหญ้าไซ ลงพ้นื ทแ่ี นะนาสง่ เสริม
การเลี้ยงสัตว์ให้นักเรียนในกิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่ในโรงเรียน พร้อมท้ังสนับสนุนเวชภัณฑ์ยาป้องกันรักษาโรค
สัตว์ปีก และวิตามินชนดิ ผงละลายนา้
100 รำยงำนประจำปี 2565
คณะทำงำนมิตดิ ำ้ นกำรเกษตรลงพืน้ ทต่ี ิดตำมผลกำรดำเนินงำนโครงกำรฯ
โรงเรียนวัดกุ่มโคก หมู่ 5 ตำบลทงุ่ คลี อำเภอเดมิ บำงนำงบวช จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
เมื่อวันพุธที่ 29 มิถุนายน 2565 คณะทางานฯ ร่วมลงพื้นท่ีเพื่อสารวจและเตรียมความพร้อม
ในการดาเนนิ งาน
เม่ือวันอังคารที่ 6 กันยายน 2565 คณะทางานฯ ลงพน้ื ทีต่ ิดตามผลการดาเนินงานพร้อมสนับสนุน
พันธุ์ผักพื้นบ้าน เมล็ดพันธ์ุผักสวนครัว พันธุ์มะละกอ พันธุ์หม่อนผล และตรวจเยี่ยมกิจกรรมการเพาะเห็ด
นางฟา้ ภฏู าน การปลกู ผกั กางมงุ้ การเลีย้ งปลาดกุ พันธร์ุ สั เซยี ในบ่อซเี มนต์
เม่ือวนั พธุ ที่ 5 ตลุ าคม 2565 คณะทางานฯ ลงพน้ื ท่ีติดตามผลการดาเนนิ งานกิจกรรมการเพาะ
เห็ดนางฟา้ ภฏู าน การปลูกผักกางมงุ้ การเลีย้ งปลาดุกพนั ธร์ุ ัสเซยี ในบ่อซเี มนต์ พร้อมสนบั สนุนพันธุถ์ ่วั พู
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สุพรรณบุรี 101
คณะทำงำนมิติดำ้ นกำรเกษตรลงพนื้ ท่ตี ิดตำมผลกำรดำเนนิ งำนโครงกำรฯ
โรงเรียนบ้ำนแจงงำม หมู่ 4 บ้ำนแจงงำม ตำบลแจงงำม อำเภอหนองหญำ้ ไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
เม่ือวันพุธที่ 29 มิถุนายน 2565 คณะทางานฯ ร่วมลงพ้ืนที่เพื่อสารวจและเตรียมความพร้อม
ในการดาเนนิ งาน
เมื่อวันอังคารท่ี 6 กันยายน 2565 คณะทางานฯ ลงพ้ืนท่ีติดตามผลการดาเนินงานกิจกรรม
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฏาน การเลี้ยงไก่ไข่ การเล้ียงปลาดุกในวงบ่อซีเมนต์ พร้อมสนับสนุนพันธ์ุผักพื้นบ้าน
และเมลด็ พันธ์ผุ ักสวนครัว
เมื่อวันพฤหัสบดีท่ี 6 ตุลาคม 2565 คณะทางานฯ ลงพ้ืนท่ีติดตามผลการดาเนินง าน
พร้อมสนับสนุนพันธุ์ถั่วพู และตรวจเย่ียมกิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้าภูฏาน การเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงปลาดุก
ในวงบอ่ ซเี มนต์
102 รำยงำนประจำปี 2565
3.8 โครงกำรคลนิ กิ เกษตรเคลอ่ื นทใ่ี นพระรำชำนุเครำะห์
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำชฯ สยำมมกุฎรำชกมุ ำร
จังหวัดสุพรรณบุรี โดยสานักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดงานคลินิกเกษตร
เคลื่อนท่ีในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร จานวน
3 ครั้ง โดยสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ร่วมดาเนินการโครงการคลินิก
เกษตรเคลือ่ นท่ี ดังน้ี
คร้ังที่ 1 เม่ือวันศุกร์ที่ 21 มกราคม 2565 ณ วัดไผ่ขวาง ตาบลไผ่ขวาง อาเภอเมืองสุพรรณบุรี
จังหวัดสุพรรณบุรี มีนายชูชีพ พงษ์ไชย รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานพิธีเปิดงาน และมี
เกษตรกรร่วมโครงการฯ จานวน 425 คน มีหน่วยงานให้บริการด้านคลินิก ประกอบด้วยคลินิกดิน คลินิกพืช
คลินิกปศุสัตว์ คลินิกประมง และกิจกรรมเสริมสร้างความรู้/การฝึกอบรม เช่น บัญชีครัวเรือน สหกรณ์ สปก.
อุทยานผักพ้ืนบ้านเฉลิมพระเกียรติฯ บึงฉวาก ศูนย์ป่าไม้จังหวัดสุพรรณบุรี รวมทั้ง สานักงานทรัพยากรน้า
บาดาล เขต 2 กระทรวงพาณิชย์ บริการสินค้าธงฟ้าจาหน่ายสินค้าราคาถูก หน่วยแพทย์เคลื่อนท่ีสานักงาน
สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลไผ่ขวาง อาเภอเมืองสุพรรณบุรี ในส่วน
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดนิทรรศการและเผยแพร่ประชาสัมพันธก์ องทนุ หมุนเวียน
เพ่ือการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน (อบก.) แจกเอกสารแผ่นพับการเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่
โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน) และแจกเมล็ดพันธ์ุผัก มีเกษตรกรและ
ผู้สนใจใช้บริการ จานวน 37 คน รวมทั้งจัดทารายงานการประเมินผลการจัดงานโครงการฯ โดยสัมภาษณ์
เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการฯ และเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ และส่งรายงานให้สานักแผนงานและโครงการพิเศษ
สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรเขตท่ี 7 และสานกั งานเกษตรจังหวัดสพุ รรณบรุ ี
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสพุ รรณบรุ ี 103
คร้ังท่ี 2 เม่ือวันอังคารที่ 31 พฤษภาคม 2565 ณ วัดทะเลบก หมู่ 2 ตาบลทะเลบก อาเภอ
ดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี มีนายณัฐภัทร สุวรรณประทีป ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานพิธี
เปิดงาน โดยจัดงานคลินิกเกษตร ร่วมกับโครงการปฏิบัติราชการบริการประชาชน (จังหวัดเคล่ือนที่) ซ่ึงงาน
จงั หวดั เคล่อื นท่เี ป็นงานหลัก และมีเกษตรกรร่วมโครงการฯ จานวน 158 คน มหี นว่ ยงานให้บริการดา้ นคลินิก
ประกอบด้วยคลินิกดิน คลินิกพืช คลินิกข้าว คลินิกปศุสัตว์ คลินิกประมง คลินิกบัญชี คลินิกสหกรณ์ คลินิก
ชลประทาน คลนิ ิกกฎหมาย (ส.ป.ก.) รวมถึงการบริการของหนว่ ยงานอื่น เช่น การยางแห่งประเทศไทยจังหวัด
อทุ ยั ธานี ศนู ย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาญจนบรุ ี กระทรวงพาณชิ ย์ บริการสนิ ค้าธงฟ้าจาหนา่ ยสินค้าราคาถูก
อุทยานผักพ้ืนบ้านเฉลิมพระเกียรติฯ บึงฉวาก ศูนย์ป่าไม้จังหวัดสุพรรณบุรี รวมท้ัง หน่วยแพทย์เคล่ือนท่ี
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลทะเลบก อาเภอดอนเจดีย์
ในส่วนสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดนิทรรศการและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กองทุน
หมนุ เวียนเพือ่ การกูย้ ืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน (อบก.) แจกเอกสารแผน่ พับการเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่
โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน) และแจกเมล็ดพันธุ์ผัก มีเกษตรกรและ
ผู้สนใจใช้บริการ จานวน 39 คน รวมทั้งจัดทารายงานการประเมินผลการจัดงานโครงการฯ โดยสัมภาษณ์
เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการฯ และเจ้าหน้าที่ท่ีให้บริการ และส่งรายงานให้สานักแผนงานและโครงการพิเศษ
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรเขตที่ 7 และสานกั งานเกษตรจงั หวัดสุพรรณบุรี
104 รำยงำนประจำปี 2565
ครัง้ ท่ี 3 เม่อื วนั อาทติ ย์ที่ 31 กรกฎาคม 2565 ณ ลานอเนกประสงคเ์ รือนไทยโพธสธุ น ตาบลวังนา้ ซับ
อาเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี มีนายประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป็นประธานพิธีเปิดงาน และมีเกษตรกรร่วมโครงการฯ จานวน 336 คน มีหน่วยงานให้บริการด้านคลินิก
ประกอบด้วยคลินิกดิน คลินิกพืช คลินิกข้าวคลินิกปศุสัตว์ คลินิกประมง คลินิกบัญชี คลินิกสหกรณ์ คลินิก
ชลประทาน คลินิกกฎหมาย (ส.ป.ก.) รวมถึง การบรกิ ารของหนว่ ยงานอื่น เช่น การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวัด
อุทัยธานี ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาญจนบุรี ศูนย์ส่งเสริมเยาวชนเกษตรอาเซียน จังหวัดกาญจนบุรี
ศนู ย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกยี รติฯ กาญจนบรุ ี ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กระทรวงพาณิชย์
บรกิ ารสนิ ค้าธงฟ้าจาหน่ายสนิ คา้ ราคาถูก รวมทง้ั หนว่ ยแพทยเ์ คล่ือนที่สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี
และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลวังน้าซับ อาเภอศรปี ระจันต์ ในสว่ นสานกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
สุพรรณบุรี ได้จัดนิทรรศการและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและ
ผู้ยากจน (อบก.) แจกเอกสารแผ่นพับการเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน) และแจกเมล็ดพันธุ์ผัก ของที่ระลึก มีเกษตรกรและผู้สนใจใช้บริการ จานวน
74 คน รวมท้ังจดั ทารายงานการประเมินผลการจัดงานโครงการฯ โดยสมั ภาษณเ์ กษตรกรท่ีเข้ารว่ มโครงการฯ
และเจ้าหน้าที่ท่ีให้บริการ และส่งรายงานให้สานักแผนงานและโครงการพิเศษ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
เขตที่ 7 และสานักงานเกษตรจงั หวัดสุพรรณบุรี
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สุพรรณบุรี 105
3.9 กำรใหค้ วำมชว่ ยเหลอื เกษตรกรตำมระเบยี บสำนักนำยกรฐั มนตรี
ว่ำด้วยกองทุนหมุนเวยี นเพ่ือกำรกู้ยมื แก่เกษตรกรและผยู้ ำกจน
1. หลักกำรและเหตผุ ล
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน
ของเกษตรกรและผู้ยากจนซึ่งไม่ได้รับความเป็นธรรมเก่ียวกับหน้ีสิน ท่ีดินทากิน และการขาดแคลนเงินทุน
ในการประกอบอาชีพของเกษตรกรและผู้ยากจน รวมท้ังอยู่ในสภาวะท่ีไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ต้องนา
ที่ดินทากินไปจานองหรือขายฝาก หรือใหเ้ จ้าหนี้ยึดถือไว้เป็นประกันตามสัญญากูย้ ืม และเปน็ หนที้ ่เี กิดจากเหตุ
สุจริตจาเป็น เป็นภาระหนักไม่สามารถปลดเปลื้องหน้ีสินด้วยตนเองได้ เป็นเหตุให้ไม่สามารถชาระหนี้ได้
จนในที่สุดต้องสูญเสียสิทธิหรือกรรมสิทธิ์ในที่ดินของตนไปรัฐบาลได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้
หาทางแก้ไขปัญหาโดยการจัดตั้งกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน มีวัตถุประสงค์
เพื่อท่ีจะสงวนรักษาที่ดินไว้เพ่ือทากินหรืออยู่อาศัยมิให้ตกเป็นของเจ้าหนี้หรือบุคคลอ่ืนรวมท้ังให้กู้ยืมเงิน
แก่ผู้กู้ยืมเงินเพ่ือไปลงทุนในการประกอบอาชีพในที่ดินที่ไถ่ถอนหรือซ้ือคืน เพ่ือเพิ่มรายได้ให้สามารถชาระหนี้
คืนกองทุนหมุนเวียนฯ ได้ และไม่มีภาระหน้ีสิน สามารถไถ่ถอนที่ดินคืนไปจากกองทุนหมุนเวียนฯ ได้ในที่สุด
ตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละนโยบายของรฐั บาลตอ่ ไป
2. วตั ถปุ ระสงค์
2.1 ใหก้ ู้ยมื แกเ่ กษตรกรและผูย้ ากจนในกรณดี ังต่อไปนี้
1) เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีท่ีดินทากินของตนเองและปรับปรุงคุณภาพท่ีดินท้ังนี้ต้องเป็น
ปญั หาเฉพาะหน้าทค่ี ณะกรรมการเหน็ ว่ามีความจาเปน็ เรง่ ดว่ น
2) เพ่อื เป็นทุนในการประกอบอาชีพของผู้กู้ยมื ให้มีรายได้สูงข้ึน
3) เพื่อไถ่หรือไถ่ถอนที่ดินคืนจากการขายฝากหรือจานอง เม่ือมีพฤติการณ์ว่าสิทธิหรือ
กรรมสิทธใ์ิ นที่ดินนน้ั จะหลดุ เปน็ ของเจา้ หนหี้ รือบุคคลอื่นในทส่ี ดุ
4) เพ่ือชาระหนี้ตามสัญญากู้ยืมเงิน ซ่ึงผู้กู้ยืมได้นาท่ีดินหรือหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ให้เจา้ หน้ียดึ ถอื ไว้เปน็ ประกันกอ่ นหรือขณะทาสัญญาก้ยู ืมเงนิ เม่อื มพี ฤตกิ ารณ์วา่ สทิ ธหิ รือกรรมสิทธใิ์ นที่ดินนั้น
จะหลุดเปน็ ของเจ้าหน้ีหรือบคุ คลอ่ืนในท่สี ดุ
5) เพ่ือซ้ือที่ดินคืนท่ีได้สูญเสียสิทธิหรือกรรมสิทธิ์ไปเน่ืองจาก การขายฝาก จานองหรือ
การกู้ยืมเงิน (นับแต่วันที่สูญเสียสิทธิหรือกรรมสิทธ์ิในที่ดินไปไม่เกิน 5 ปี กรณีเกินกว่า 5 ปี แต่ไม่เกิน 10 ปี
จะตอ้ งเปน็ กรณที ่ผี กู้ ้ยู มื ยงั ทากินในท่ีดนิ แปลงดังกลา่ ว)
6) เพื่อซ้อื ทดี่ นิ ตามสทิ ธิแหง่ กฎหมายว่าด้วยการเชา่ ท่ดี นิ เพื่อเกษตรกรรม
2.2 ให้ความช่วยเหลือเป็นค่าใช้จ่ายแก่เกษตรกรและผู้ยากจน กรณีมีข้อพิพาทเรื่องกรรมสิทธ์ิหรือ
สทิ ธิการเชา่ ทด่ี ินและคา่ ใชจ้ า่ ยอืน่ ๆ ในการดาเนนิ คดี
3. ผ้มู ีสทิ ธขิ อควำมชว่ ยเหลือ
1) เป็นเกษตรกร
2) ผู้ยากจนที่มีรายได้สุทธิต่อคนไม่เกินปีละ 87,000 บาท (โดยจะทราบเม่ือ ธ.ก.ส. สาขาประเมิน
วเิ คราะห์หลักประกันและรายได้ของผู้ขอกู้แลว้ )
3) บดิ าหรือมารดา หรอื คู่สมรส หรือบตุ รของผู้ขอกู้
106 รำยงำนประจำปี 2565
4) กรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินมีอาชีพต้องห้าม ได้แก่ ข้าราชการ ข้าราชการบานาญ ลูกจ้างประจา
ของส่วนราชการพนักงานรัฐวิสาหกิจผู้ที่สามารถขอกู้เงินแทนบุคคลเหล่าน้ีได้คือคู่สมรสที่เป็นเกษตรกรหรือ
ผยู้ ากจนเท่านัน้
5) กรณีผ้มู ีสทิ ธข์ิ อความช่วยเหลือมีอายุเกนิ 60 ปี จะต้องจดั หาผู้กรู้ ่วมท่มี ีอายุน้อยกวา่ 60 ปมี าเป็น
ผู้กู้ร่วมด้วย (บุตรทายาทหรือบุคคลอ่ืนท่ียินยอมเป็นผู้กู้ร่วมด้วย) กรณีที่ไม่สามารถจัดหาผู้กู้ร่วมได้ให้อยู่ใน
ดลุ ยพนิ จิ ของคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการท่ีไดร้ บั มอบหมาย พจิ ารณาเป็นรายๆ ไป
4. ประเภทกำรขอควำมชว่ ยเหลือ
กรณีที่ 1 การกู้ยืมเงินเพื่อปลดเปลอื้ งหน้สี นิ หรือซ้ือคืนท่ดี ิน มีหลักเกณฑ์ดงั น้ี
1.1 มีหนี้สินเน่ืองจากการนาท่ีดินไปขายฝาก จานองไว้กับเจ้าหน้ี หรือกู้ยืมเงิน โดยนาที่ดินหรือ
หนงั สือแสดงสิทธิในที่ดนิ (โฉนดทดี่ ินหรือ น.ส.4 จ หรอื น.ส.3 ก,ข หรอื น.ส.3) ให้เจา้ หนยี้ ดึ ถอื ไว้เปน็ ประกัน
ขณะทาสัญญากู้ยืมเงิน หรือได้สูญเสียสิทธิหรือกรรมสิทธ์ิในที่ดินไปแล้ว เน่ืองจากการขายฝาก จานอง หรือ
สัญญาก้ยู ืมเงนิ
1.2 กรณีมีหนี้สินตามสัญญากู้เงินหลายฉบับ และนาโฉนดที่ดิน หรือ น.ส.3 ก,ข หรือ น.ส.3
ให้เจา้ หนีย้ ึดถอื ไวเ้ ป็นหลกั ประกัน ใหพ้ จิ ารณาเฉพาะมูลหนตี้ ามสญั ญากเู้ งินฉบับแรกเทา่ น้นั
1.3 กรณีมูลหน้ีตามสัญญากู้เงิน และนาโฉนดที่ดิน หรือ น.ส.3 ก,ข หรือ น.ส.3 ให้เจ้าหน้ียึดถือไว้
เป็นหลักประกัน และมีมูลหน้ีตามสัญญาจานองหรือขายฝากด้วย ให้พิจารณาเฉพาะมูลหนี้ตามสัญญาจานอง
หรือสัญญาขายฝากเท่านัน้
กรณีท่ี 2 ซอ้ื ทดี่ นิ ตามสทิ ธิแห่งกฎหมายว่าด้วยการเช่าที่ดินเพ่อื เกษตรกรรม มหี ลักเกณฑ์ ดังนี้
2.1 ผู้ขอกู้มีการเช่าที่ดินเพื่อทาการเกษตร (ที่นาหรือท่ีไร่) ตามพระราชบัญญัติการเช่าที่ดิน
เพอ่ื เกษตรกรรม
กรณีที่ 3 กยู้ ืมเงินเพ่อื การประกอบอาชีพ มีหลักเกณฑด์ ังน้ี
3.1 เป็นเกษตรกรหรือผู้ยากจนที่มีความประสงค์ขอกู้เงินเพื่อประกอบอาชีพพร้อมๆ ไปกับการ
ขอกเู้ งนิ เพ่ือปลดเปลื้องหน้ีสนิ หรือซื้อท่ดี นิ คืน หรือเพือ่ ซอื้ ทนี่ าเชา่
3.2 เป็นลูกหน้ีรายเดมิ ของกองทนุ หมุนเวียนเพอ่ื การกยู้ ืมแก่เกษตรกรและผยู้ ากจน และต้องการกู้เงิน
เพ่ือประกอบอาชพี ในภายหลงั
3.3 ให้ผขู้ อกเู้ สนอรายละเอียดของโครงการประกอบอาชพี ท่จี ะขอกูต้ ามแบบฟอร์มการเขียนโครงการ
ท่กี าหนด
5. ลักษณะท่ดี นิ ทข่ี อรับควำมชว่ ยเหลือ
1) ท่ดี นิ น.ส. 4 จ โฉนด หรือ น.ส.3 ก,ข หรอื น.ส.3
2) ท่ีดินที่ขอความช่วยเหลือ ต้องเป็นกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองของผู้ขอกู้ หรือของบิดา มารดา
หรือคู่สมรส หรอื บุตรของผู้ขอกู้
3) ที่ดินทข่ี อรบั ความช่วยเหลอื ต้องไมม่ ลี ักษณะดังตอ่ ไปน้ี
3.1) เป็นท่ีดินซ่ึงมีข้อจากัดการห้ามโอนภายใน 10 ปี ตามมาตรา 58 ทวิ แห่งประมวล
กฎหมายที่ดิน เว้นแต่ท่ีดินซ่ึงมีข้อจากัดเช่นว่าน้ันขณะใช้เป็นหลักประกันจานองมีระยะเวลาท่ีห้ามไม่ให้โอน
คงเหลอื ไมเ่ กิน 5 ปี
3.2) เป็นท่ีดินซ่ึงอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยป่าสงวนแห่งชาติหรืออยู่ใน
เขตสงวนหวงหา้ มของทางราชการ
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สพุ รรณบุรี 107
4) การซ้ือที่ดินคืนซึ่งสูญเสยี สิทธหิ รอื กรรมสทิ ธเ์ิ นื่องจากการขายฝาก หรือจานองหรือกู้เงินใหร้ ับเรอ่ื ง
ไว้พิจารณาช่วยเหลือเมื่อมีการสูญเสียสิทธิหรือกรรมสทิ ธ์ิภายในระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่สูญเสียสทิ ธิ
หรือกรรมสิทธิ์น้ันไป หรือกรณีท่ีเกินกว่า 5 ปี แต่ไม่เกิน 10 ปี และผู้กู้ยืมยังคงทาประโยชน์ในที่ดินดังกล่าว
อยูอ่ ยา่ งต่อเนื่องและเจ้าของที่ดนิ มีความประสงค์จะขายคนื ในราคาที่เหมาะสม
5) กรณีที่ดินมีผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมหรือสิทธิครอบครองหลายคน ถ้าผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมหรือสิทธิ
ครอบครองนั้นไม่ใช่บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้ขอกู้ผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมหรือสิทธิครอบครองต้องเป็น
ผกู้ ูร้ ่วมด้วย
6. ลกั ษณะเจ้ำหน้ี มีดังนี้
1) เจ้าหน้ีบุคคลทัว่ ไป (หนีน้ อกระบบ)
2) เจ้าหนี้นิตบิ ุคคลตามที่คณะกรรมการกาหนด ได้แก่
2.1) ธนาคารพาณชิ ย์ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการธนาคารพาณชิ ย์ ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณ์
การเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารออมสิน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทย
2.2) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนจากัดท่ีจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ และมีวัตถุประสงค์ให้
กูย้ มื เงิน
2.3) สหกรณ์ที่มีวัตถุประสงค์ในการให้กู้ยืมเงิน ตามกฎหมายว่าด้วยการสหกรณ์หนี้ของเจ้าหนี้
นติ บิ ุคคลตอ้ งตอ้ งเป็นหน้ที ี่มีคาพพิ ากษาถงึ ทสี่ ดุ ให้ชาระหนี้แล้ว
7. วงเงนิ ที่ให้กู้
1) ไมเ่ กินรายละ 2,500,000 บาท
2) กรณีกู้ยืมเงินเพื่อการประกอบอาชีพ ไม่เกินรายละ 100,000 บาท ท้ังนี้ เม่ือรวมกับการกู้เงิน
เพ่ือปลดเปล้อื งหนสี้ ิน หรือซอ้ื ท่ดี นิ คนื หรอื ซอื้ ท่ีนาเช่าแลว้ ต้องไม่เกิน 2,500,000 บาท
8. หลกั ประกนั เงินกู้
การพจิ ารณาวเิ คราะหห์ ลกั ประกันจะอยู่ในข้นั ตอนการดาเนินงานของ ธ.กส. โดยมหี ลกั เกณฑ์ของการ
วิเคราะห์หลกั ประกันตามกรอบที่กาหนด ดงั นี้
1) ราคาประเมินท่ีดิน ให้ใช้ราคาประเมินของ ธ.ก.ส.กรณีมีส่ิงปลูกสร้างอยู่บนท่ีดินนั้น ให้ธนาคาร
ประเมินราคาส่ิงปลูกสร้างรวมด้วยหากสิ่งปลูกสร้างบนท่ีดินที่ใช้เป็นหลักประกันเงินกู้ มีการประกันวินาศภัย
ให้ประเมินราคาในอัตราร้อยละ 50 และกรณีไม่มีการประกันวินาศภัยให้ประเมินราคาในอัตราร้อยละ 30
ของราคาสง่ิ ปลกู สรา้ งท่ีหกั ค่าเส่ือมราคาแล้ว
2) กรณีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างมีราคาประเมินน้อยกว่าจานวนเงินท่ีให้กู้ แต่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ของจานวนเงินท่ีให้กู้ ให้ผู้ขอกู้จัดหาที่ดินแปลงอื่นที่มิได้จานองเป็นประกันต่อเจ้าหนี้รายอ่ืนมาจานอง
เป็นประกันเพิ่มเติม หรือจัดหาบุคคลค้าประกันตามหลักเกณฑ์การใช้บุคคลค้าประกัน เพ่ือให้หลักประกัน
ไม่นอ้ ยกวา่ จานวนเงนิ ท่ีให้กู้
3) กรณีท่ีดินและส่ิงปลูกสร้างมีราคาประเมินน้อยกว่าจานวนเงินท่ีให้กู้ แต่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ของจานวนเงินที่ให้กู้ ให้ผู้ขอกู้จัดหาท่ีดินแปลงอื่นท่ีมิได้จานองเป็นประกันต่อเจ้าหนี้รายอื่นมาจานอง
เป็นประกันเพมิ่ เตมิ เพือ่ ให้หลกั ประกนั ไมน่ ้อยกว่าจานวนเงินที่ใหก้ ู้
4) กรณีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างมีราคาประเมินน้อยกว่าร้อยละ 50 ถือว่าไม่อยู่ในหลักเกณฑ์การขอ
ก้เู งินให้ฝ่ายเลขานกุ าร อบก.ส่วนต่างๆ ท่ไี ด้รบั ผลวเิ คราะหจ์ าก ธ.ก.ส. ยุตเิ ร่อื งและแจ้งใหผ้ ขู้ อก้ทู ราบ
108 รำยงำนประจำปี 2565
5) ในการขอกู้เงินเพ่ือประกอบอาชีพ ผู้ขอกู้ต้องจานองที่ดินเป็นประกันเงินกู้ ซึ่งท่ีดินนั้นต้องมีราคา
ประเมินไม่น้อยกว่าจานวนเงินท่ีให้กู้ หากกู้เงนิ เพื่อประกอบอาชีพไม่เกนิ 30,000 บาท ถ้าผู้ขอกู้ไม่อาจจัดหา
ทด่ี ินมาจานองเป็นประกนั เงินกู้ไดอ้ าจจดั หาบุคคลมาค้าประกนั ตามหลักเกณฑ์การใชบ้ ุคคลคา้ ประกนั ได้
9. ควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้
ธ.ก.ส.วิเคราะห์รายได้และความสามารถในการชาระหนี้ตามกิจกรรมการประกอบอาชีพของผู้ขอกู้
โดยมเี งอ่ื นไขสาคัญ ดงั นี้
1) มีรายได้เพียงพอในการชาระหนี้ หากรายได้ไม่เพียงพอในการชาระหนี้อย่างน้อยปีใดปีหนึ่ง
ในระหว่างระยะเวลาการชาระหน้ี (รายได้ติดลบ) ถือว่าไม่มีความสามารถในการชาระหน้ีตามหลักเกณฑ์
ทก่ี องทุนฯ กาหนด
2) สามารถชาระหน้ีได้ภายในระยะเวลาการชาระหน้ี 20 ปี หากมีรายได้เพียงพอในการชาระหน้ี
แตม่ รี ะยะเวลาเกนิ 20 ปี ถอื ว่าไมม่ ีความสามารถในการชาระหน้ีตามหลกั เกณฑ์ท่ีกองทนุ ฯ กาหนด
หากการวิเคราะห์ความสามารถในการชาระหน้ี ไม่เป็นไปตามข้างต้น ให้ฝ่ายเลขานุการ อบก.
ที่เก่ยี วข้องยตุ ิเรือ่ งและแจ้งใหผ้ ้ขู อกู้ทราบ
10. หลักเกณฑก์ ำรใช้บคุ คลค้ำประกัน
การใช้บคุ คลค้าประกนั เพ่ือใหห้ ลกั ประกนั มีราคาไมน่ ้อยกวา่ จานวนเงินท่ีใหก้ ู้ ตอ้ งมลี กั ษณะดงั น้ี
1) เป็นข้าราชการพลเรือน ตาแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ หรือตาแหน่งประเภทท่ัวไป
ระดับปฏิบัติงานหรือข้าราชการอื่นที่เทียบเท่า ให้ค้าประกันเงินกู้ได้ในวงเงินไม่เกินรายละ 60,000 บาท
โดยมีหนังสือรับรองจากหนว่ ยงานต้นสงั กัด
๒) เป็นข้าราชการพลเรือน ตาแหน่งประเภทวิชาการระดับชานาญการ หรือตาแหน่งประเภทท่ัวไป
ระดับชานาญงานข้ึนไป หรือข้าราชการอ่ืนท่ีเทียบเท่า ให้ค้าประกันเงินกู้ได้ในวงเงิน ไม่เกินรายละ ๑๐๐,๐๐๐
บาท มีหนังสือรับรองจากหนว่ ยงานต้นสงั กัด
๓) กรณีเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจ ให้ใช้ข้อความตามข้อ 1), 2) โดยอนุโลม มีหนังสือรับรอง
จากหนว่ ยงานตน้ สังกัด
4) ถ้าเป็นบคุ คลทั่วไป ให้คา้ ประกนั เงินกูไ้ ดใ้ นวงเงินไม่เกินรายละ ๖๐,๐๐๐ บาท
5) บคุ คลคา้ ประกันมีอายุไม่เกิน ๖๐ ปี สามารถค้าประกันให้ผู้ขอกไู้ ดไ้ มเ่ กิน ๑ ราย
11. อัตรำดอกเบยี้ และกำรชำระคืนดอกเบ้ียและเงินต้น
1) อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5 ต่อปี ในกรณีที่เห็นสมควร คณะกรรมการบริหารกองทุนหมุนเวียน
เพ่ือการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน อาจเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบ้ียได้ โดยคานวณตามจานวนเงินต้น
คงเป็นหนร้ี ายวันนับตัง้ แต่วนั ถดั จากวันรบั เงนิ ตน้ จนถึงวนั ชาระคืนเสร็จ ทงั้ น้ีไมเ่ ป็นการทบต้น
2) ระยะเวลาการชาระคืนเงนิ กู้ไมเ่ กิน 20 ปี
12. สถำนที่ติดตอ่ ขอควำมช่วยเหลอื
๑) ส่วนกลาง
สานักบริหารกองทุนเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและรับเรื่องร้องเรียน (สกร.) สานักงานปลัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ (สป.กษ.) ถนนราชดาเนนิ นอก กรุงเทพมหานคร รบั เรอ่ื งขอความชว่ ยเหลอื ทัว่ ประเทศ
๒) สว่ นภมู ิภาค
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด หรือสานักงานเกษตรอาเภอ หรือ ธ.ก.ส.สาขาอาเภอ
ตามภูมิลาเนาทะเบยี นบ้านของผ้ขู อความช่วยเหลอื
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดสุพรรณบรุ ี 109
13. เอกสำรประกอบคำรอ้ งขอควำมชว่ ยเหลือ
๑) สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนของผู้ขอกู้
๒) สาเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอกู้
๓) สาเนาเอกสารสิทธใิ นทีด่ ิน (โฉนด, น.ส.๓ ก, น.ส.๓ ข, น.ส.๓) พร้อมสารบญั จดทะเบยี นของผู้ได้รับ
อนุมัติเงินกู้ ไม่ว่าจะมีรายการจดทะเบียนหรือไม่ (กรณีหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินไม่ใช่ของผู้กู้ ให้หมายเหตุ
ในสาเนาด้วยวา่ เจา้ ของทด่ี นิ เกยี่ วข้องกบั ผูข้ อกใู้ นฐานะใด)
๔) สาเนาหลกั ฐานการเปน็ หนี้ (สัญญาจานอง ขายฝาก สญั ญาเงนิ กู้)
๕) สาเนาคาฟอ้ งและคาพพิ ากษาของศาล (ถ้ามี หรือในกรณเี จ้าหนี้เปน็ เจา้ หน้ีนติ ิบคุ คล)
๖) สาเนาหลักฐานการขายทีด่ นิ คืนจากเจา้ หน้ี กรณีการซือ้ ทีด่ นิ คืน
๗) และหนังสือการบอกขายท่ีนาของผู้ให้เช่า กรณีขอกู้เพื่อซื้อท่ีนาเช่า พร้อมกับแนบสาเนาหลักฐาน
การเช่านา (ถา้ ม)ี
๘) หนังสือยินยอมเป็นลูกหนี้ร่วม และยินยอมให้นาท่ีดินมาจดทะเบียนจานองเป็นประกันกรณีท่ีดิน
มีผ้ถู อื กรรมสิทธร์ิ ว่ ม
๙) สาเนาเอกสารอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ทะเบียนสมรส ทะเบียนหย่า หลักฐานการเปล่ียนช่ือ-สกุล
ใบมรณบัตร เป็นตน้
14. ผลกำรดำเนินงำน
1) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยสานักบริหารกองทุนเพ่อื ช่วยเหลือเกษตรกรและรับเร่ืองร้องเรียน
(สกร.) ได้จัดสรรงบประมาณให้สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการ
ดาเนินงานของคณะอนุกรรมการช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยากจน อบก.ส่วนจังหวัด และอบก.ส่วนอาเภอ
จานวน 324,329 บาท และได้ของบประมาณเพิ่มเติมเพ่ือเป็นค่าเบี้ยประชุม และค่าใช้จ่ายในการประชุม
อบก.ส่วนจังหวัด และอบก.ส่วนอาเภอ เป็นเงิน 48,400 บาท เบิกจ่าย 368,413 บาท คงเหลือ 5,826
บาท รายละเอียดดังน้ี
กจิ กรรม ได้รับจดั สรร เบกิ จ่ำย คงเหลือ
1 ค่าเบ้ียประชมุ 324,329 368,413 5,826
2 ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุม 148,400 143,600 4,800
3 ค่าจ้างเหมาบริการเจ้าหนา้ ท่ี 180,000 180,000 -
4 คา่ ตดิ ตามลกู หนี้ 16,380 16,380 -
5 ค่าส่งหนังสอื ตดิ ตามลูกหนี้ 1,026
6,859 5,833 5,826
รวม 675,968 714,226 -
ดอกเบีย้ เงนิ ฝากธนาคาร 378.07 บาท -
ยอดเงินสดคงเหลือ 5,826 บาท - - -
รวมเป็นเงนิ สง่ คนื สว่ นกลาง 6,204.07 บาท - -
- -
2) คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนหมุนเวียนเพ่ือการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน (อบก.)
ส่วนจังหวัด และส่วนอาเภอ ได้ดาเนินการให้คาปรึกษาปัญหาหนี้สินของเกษตรกร รับคาขอกู้เงินกองทุน
หมนุ เวยี นฯ ของเกษตรกร จดั ประชุมเพอื่ พิจารณาคาขอกู้และตดิ ตามลกู หน้ขี องกองทนุ หมุนเวยี นฯ ดังนี้
110 รำยงำนประจำปี 2565
2.1) อบก.ส่วนจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ดาเนินงานดงั นี้
2.1.1) พิจารณาอนุมัติคาขอกู้เงิน คร้ังที่ 1/2565 เม่ือวันจันทร์ท่ี 24 มกราคม 2565
ผ่านระบบประชุมออนไลน์ Application Zoom ณ ห้องประชุมหลวงทรงพล (ชั้น 3 ด้านหน้า) ศาลากลาง
จังหวัดสุพรรณบุรี เกษตรกรท่ีขอกู้เงินกองทุนหมุนเวียนฯ รวม 3 ราย ท่ีประชุมได้อนุมัติให้กู้เงินกองทุนฯ
รวม 2 ราย จานวนเงิน 1,050,000 บาท และจานวนท่ีดนิ ทชี่ ่วยเหลอื เนอ้ื ที่ 11 ไร่ 4 งาน 76 ตารางวา
2.1.2) พิจารณาอนุมัติคาขอกู้เงิน ครั้งท่ี 2/2565 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 มีนาคม 2565
ผ่านระบบประชุมออนไลน์ Application Zoom ณ ห้องประชุมหลวงทรงพล (ชั้น 3 ด้านหน้า) ศาลากลาง
จังหวัดสุพรรณบุรี เกษตรกรที่ขอกู้เงินกองทุนหมุนเวียนฯ รวม 2 ราย ที่ประชุมได้อนุมัติให้กู้เงินกองทุนฯ
รวม 2 ราย วงเงนิ 1,154,500 บาท และจานวนท่ีดินทีช่ ่วยเหลือเน้ือท่ี 4 ไร่ 4 งาน 51 ตารางวา และไมอ่ นุมัติ
คาขอก้เู งิน จานวน 1 ราย
2.1.3) พิจารณาอนุมัติคาขอกู้เงิน ครั้งที่ 3/2565 เม่ือวันจันทร์ท่ี 27 มิถุนายน 2565
เกษตรกร ท่ีขอกู้เงินกองทุนหมุนเวียนฯ รวม 1 ราย ท่ีประชุมได้อนุมัติให้กู้เงินกองทุนฯ รวม 1 ราย วงเงิน
343,750 บาท และจานวนท่ดี นิ ที่ช่วยเหลอื เนื้อท่ี 4 ไร่ 15.7 ตารางวา
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 111
2.1.4) พิจารณาอนุมัติคาขอกู้เงิน ครั้งท่ี 4/2565 เม่ือวันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2565
เกษตรกรท่ีขอกู้เงินกองทุนหมุนเวียนฯ รวม 3 ราย ท่ีประชุมได้อนุมัติให้กู้เงินกองทุนฯ รวม 1 ราย วงเงิน
632,500 บาท และจานวนท่ีดินทชี่ ว่ ยเหลอื เน้อื ที่ 3 ไร่ และไม่อนมุ ตั คิ าขอกเู้ งิน จานวน 2 ราย
2.2) การติดตามลูกหน้ีกองทุนหมุนเวียนฯ จานวน 140 ราย รวม 2 ครั้ง ในพ้ืนท่ี 10 อาเภอของ
จังหวัดสุพรรณบุรี โดยได้จัดทาแผนการติดตามลูกหน้ีกองทุนหมุนเวียนฯ และรายงานผลการติดตามลูกหน้ี
ลงในระบบ https://followdebt.moac.go.th ให้สานักบริหารกองทุนเพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรและรับเร่ือง
ร้องเรยี น (สกร.) ได้รบั ทราบขอ้ มลู การตดิ ตามลูกหนกี้ องทุนหมนุ เวยี นฯ ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
กำรตดิ ตำมลกู หนีก้ องทนุ หมุนเวยี นเพอ่ื กำรก้ยู ืมแก่เกษตรกรและผู้ยำกจน (รอบที่ 1)
ในพื้นที่ 6 อำเภอ ของจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี จำนวน 74 รำย
112 รำยงำนประจำปี 2565
กำรติดตำมลูกหน้กี องทุนหมุนเวยี นเพอื่ กำรกู้ยืมแกเ่ กษตรกรและผู้ยำกจน (รอบที่ 2)
ในพนื้ ท่ี 4 อำเภอ ของจงั หวัดสุพรรณบุรี จำนวน 76 รำย
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสพุ รรณบุรี 113
2.3) รับคาขอกู้เงินกองทุนหมุนเวียนฯ อบก.ส่วนจังหวัด ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2564 ถึงเดือน
กนั ยายน 2565 จานวน 43 ราย
2.4) ให้คาปรึกษาปัญหาหนี้สินและการไถ่ถอนที่ดินทากินแก่เกษตรกรและผู้ยากจน ในพ้ืนที่จังหวดั
สพุ รรณบุรี จานวน 227 ราย
2.5) อบก.ส่วนอาเภอ ดาเนนิ งานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2564 ถึงเดือนกนั ยายน 2565 มดี ังนี้
2.5.1) ดาเนินการจัดประชุมพิจารณาอนุมัตคิ าขอก้เู งินของเกษตรกรจากกองทนุ หมุนเวียนฯ
ส่วนอาเภอ จานวน 2 ครั้ง และได้อนุมัติเงินกู้กองทุนหมุนเวยี นฯ จานวน 2 ราย จานวนเงิน 600,000 บาท
จานวนท่ีดินท่ีให้ความช่วยเหลือเน้ือท่ี 63 ตารางวา และให้คาปรึกษาหน้ีสินแก่เกษตรกรเรื่องการขอกู้
เงนิ กองทุนหมุนเวยี นเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน เช่นสัญญาขายฝาก สัญญาจานอง สญั ญากยู้ ืมเงิน
จานวน 10 ราย แยกเป็นรายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้
114 รำยงำนประจำปี 2565
1) อบก.ส่วนอาเภอสามชุก
- จัดประชุม คร้ังที่ 1/2565 เม่ือวันศุกร์ที่ 27 พฤษภาคม 2565 พิจารณาอนุมัติเงินกู้
จานวน 1 ราย วงเงิน 300,000 บาท และจานวนที่ดินที่ช่วยเหลือเน้ือที่ 43 ตารางวา และให้คาปรึกษา
หน้ีสินแก่เกษตรกรเร่ืองการขอกู้เงินกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน เช่น สัญญา
ขายฝาก สญั ญาจานอง สญั ญากู้ยมื เงนิ จานวน 2 ราย
2) อบก.ส่วนอาเภอดอนเจดยี ์
- จัดประชุม คร้ังท่ี 1/2565 เม่ือวันพฤหัสบดีท่ี 25 สิงหาคม 2565 พิจารณาอนุมัติเงินกู้
จานวน 1 ราย วงเงิน 300,000 บาท และจานวนท่ดี ินท่ชี ว่ ยเหลอื เนื้อท่ี 20 ตารางวา
3) อบก.สว่ นอาเภอศรปี ระจนั ต์
- ให้คาปรึกษาหนี้สินแก่เกษตรกรเรื่องการขอกู้เงินกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืม
แกเ่ กษตรกรและผ้ยู ากจน เช่นสัญญาขายฝาก สญั ญาจานอง สัญญากู้ยืมเงนิ จานวน 3 ราย
4) อบก.สว่ นอาเภอบางปลามา้
- ให้คาปรึกษาหน้ีสินแก่เกษตรกรเรื่องการขอกู้เงินกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่
เกษตรกรและผ้ยู ากจน เชน่ สญั ญาขายฝาก สัญญาจานอง สัญญากู้ยมื เงิน จานวน 3 ราย
5) อบก.ส่วนอาเภอสองพ่นี อ้ ง
- ให้คาปรึกษาหน้ีสินแก่เกษตรกรเรื่องการขอกู้เงินกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่
เกษตรกรและผยู้ ากจน เช่นสัญญาขายฝาก สญั ญาจานอง สัญญากูย้ มื เงนิ จานวน 2 ราย
6) อบก.ส่วนอาเภออู่ทอง ไม่มีเกษตรกรมาติดต่อขอคาปรึกษาเรื่องการขอกู้เงินกองทุน
หมุนเวยี นเพอื่ การกูย้ ืมแก่เกษตรกรและผ้ยู ากจน
7) อบก.ส่วนอาเภอเมืองสุพรรณบุรี ไม่มีเกษตรกรมาติดต่อขอคาปรึกษาเร่ืองการขอกู้
เงินกองทุนหมนุ เวยี นเพอ่ื การกยู้ ืมแก่เกษตรกรและผ้ยู ากจน
8) อบก.ส่วนอาเภอหนองหญ้าไซ ไม่มีเกษตรกรมาติดต่อขอคาปรึกษาเรื่องการขอกู้
เงินกองทนุ หมนุ เวยี นเพ่อื การกู้ยมื แกเ่ กษตรกรและผู้ยากจน
9) อบก.ส่วนอาเภอด่านช้าง ไม่มีเกษตรกรมาติดต่อขอคาปรึกษาเร่ืองการขอกู้เงินกองทุน
หมนุ เวยี นเพอื่ การกู้ยมื แกเ่ กษตรกรและผูย้ ากจน
10) อบก.ส่วนอาเภอเดิมบางนางบวช ไม่มีเกษตรกรมาติดต่อขอคาปรึกษาเร่ืองการขอกู้
เงนิ กองทุนหมนุ เวยี นเพอื่ การกยู้ มื แกเ่ กษตรกรและผูย้ ากจน
2.6) สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้นาเกษตรกรผู้ขอกู้เงินกองทุนหมุนเวียน
เพ่ือการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน ไปไกล่เกล่ียประนอมหนี้ที่สานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือ
ทางกฎหมายและการบังคบั คดีจังหวัดสุพรรณบรุ ี ประจาปงี บประมาณ 2565 จานวน 17 ครงั้
รูปภำพกำรไกลเ่ กลย่ี ประนอมหนีเ้ กษตรกรผู้ขอกู้เงนิ กองทุนหมุนเวียนฯ
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดสพุ รรณบุรี 115
3.10 กำรรบั เรือ่ งรอ้ งเรยี น ร้องทุกข์ / เชื่อมโยงศนู ยด์ ำรงธรรมจงั หวดั สุพรรณบุรี
สานกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี โดยกลมุ่ ชว่ ยเหลือเกษตรกรและโครงการพิเศษ
ได้ดาเนินการเกี่ยวกับการรับเรือ่ งร้องทุกข์ ร้องเรียน รวมท้ัง การติดตามให้ความช่วยเหลอื และรายงานผลการ
ปฏิบตั งิ าน ใหก้ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และจังหวัดสุพรรณบุรี และผูร้ ้องทราบ มีดงั นี้
ที่ เร่อื ง/ประเด็น กำรดำเนนิ กำร เอกสำรที่เก่ยี วขอ้ ง
1 เกษตรกรอาเภอสามชกุ ประมาณ 20 ราย 1.จังหวดั สุพรรณบุรี จดั ประชมุ หารือเพื่อชแี้ จง หนงั สือสนง.กษ.สพ.
ยื่นขอ้ เรียกร้องเมือ่ วนั ท่ี 8 พฤศจิกายน เกษตรกรทเี่ รยี กร้องความช่วยเหลอื กรณปี ระสบ ที่ กษ 0224.สพ/
2564 กรณปี ระสบภัยพบิ ตั ิ (อุทกภัย) ภัยพบิ ัติ (อุทกภยั ) ด้านพชื (ขา้ ว) เสยี หายโดย 1088 ลงวนั ท่ี 8
ด้านพชื (ข้าว) เสียหายโดยสนิ้ เชงิ ซึ่งจะ สน้ิ เชิง ในวันจันทรท์ ี่ 8 พฤศจกิ ายน 2565 พฤศจกิ ายน 2564
ไมไ่ ดร้ บั ความช่วยเหลอื ตามระเบยี บ ณ ห้องประชุมสานกั งานเกษตรจังหวดั สพุ รรณบรุ ี
กระทรวงการคลงั วา่ ด้วยเงินทดรอง 2.รายงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ราชการเพอื่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ิ และผตู้ รวจราชการากระทรวงเกษตรและ
กรณฉี กุ เฉิน และหลกั เกณฑว์ ธิ ีปฏบิ ัติ สหกรณ์ เขต 3
ปลกี ยอ่ ยเกี่ยวกับการให้ความชว่ ยเหลือ 3.กรมส่งเสริมการเกษตร โดยสานกั งานเกษตร
ด้านการเกษตรผปู้ ระสบภยั พิบตั กิ รณี จังหวัดสพุ รรณบรุ ีแจ้งแนวทางการช่วยเหลือให้
ฉุกเฉิน พ.ศ. 2564 เกษตรกรทราบวา่ กรณเี กษตรกรขนึ้ ทะเบียน
เกษตรกร (รอบกอ่ นหน้า) ไว้แล้ว และได้ปลูก
ขา้ วแลว้ รอบใหม่ แตอ่ ยรู่ ะหวา่ งรอปรบั ปรุง
ทะเบียน สามารถยนื่ ขอรบั เงนิ รับความ
ช่วยเหลือตามระเบยี บกระทรวงการคลงั ฯ ได้
2 กรณผี ้ใู ช้ Facebook ชือ่ เสกสม แจ้งจติ 1. สานกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวัด หนงั สือสนง.กษ.สพ.
โพสตป์ ระเด็นมะมว่ งราคาตกตา่ และไมม่ ี สพุ รรณบุรี พรอ้ มด้วยหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งได้ ท่ี กษ 0224.สพ/
ผรู้ ับซ้ือ ต้องนามาเทท้งิ ขอใหพ้ ลเอก ลงพนื้ ท่ี ณ ตลาดกลางมะมว่ ง ตาบลวังยาง 270 ลงวนั ที่ 8
ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตรี อาเภอศรปี ระจนั ต์ เพ่อื ตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ เมษายน 2565
ลงมาดแู ลชว่ ยเหลือเกษตรกรด้วย และนาเรยี นผบู้ รหิ ารและผเู้ กี่ยวขอ้ งทราบ
2. สถานีพัฒนาท่ดี ินสุพรรณบรุ ี ดาเนนิ การ
ฉีดพน่ สาร พ.ด.๖ จานวน 1,000 ลติ ร
บริเวณกองมะมว่ งทถ่ี ูกเทท้งิ หลงั ตลาดกลาง
มะมว่ ง ตาบลวงั ยาง อาเภอศรปี ระจันต์
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี เพ่อื ดบั กล่ิน (นามาราด
ทกุ 2 สัปดาห/์ ครงั้ )
3. เกษตรและสหกรณ์จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
ประชาสมั พันธ์ผ่านรายการวิทยุ และให้
สมั ภาษณส์ ดทางโทรศัพท์ (Phone in) รายการ
“ตอบใหเ้ คลียร์” ช่อง NBT ตอบประเดน็
สาเหตุ ข้อเสนอของผู้รอ้ งเรียน
4.จดั ประชมุ หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งเพอื่ หารอื
ประเด็นเรง่ ดว่ นดา้ นการเกษตร
5. สานกั งานพาณิชย์จังหวัดสพุ รรณบุรี จดั หา
ช่องทางจาหน่ายเพ่ิมเตมิ ใหเ้ กษตรกร
116 รำยงำนประจำปี 2565
ที่ เร่อื ง/ประเดน็ กำรดำเนินกำร เอกสำรทเ่ี กีย่ วข้อง
6.รายงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
และผตู้ รวจราชการากระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ เขต 3
3 เกษตรกรผู้ปลูกข้าวท่ถี กู ฉอ้ โกงเงินจากการ 1.รายงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ -หนังสอื สนง.กษ.สพ.
จาหน่ายขา้ วเปลอื กใหก้ บั ทา่ ข้าวดอนกลาง และผตู้ รวจราชการากระทรวงเกษตรและ ที่ กษ 0224.สพ/
ตาบลเนินพระปรางค์ อาเภอสองพน่ี อ้ ง สหกรณ์ เขต 3 590 ลงวันที่ 15
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จานวน 44 ราย พนื้ ท่ี 2.เรยี นอธบิ ดกี รมการขา้ ว เพ่ือขอรบั การ มถิ นุ ายน 2565
863.25 ไร่ สนับสนนุ พันธข์ุ า้ วเพอ่ื บรรเทาความเดือดร้อน -หนงั สอื กรมการข้าว
เกษตรกรท่ถี ูกฉ้อโกงเงนิ จาหนา่ ยขา้ วเปลือก ที่ กษ 2606/
ซ่ึงกรมการข้าวแจง้ ว่าการดาเนนิ การผลติ เมลด็ 1915 ลงวนั ที่ 17
พนั ธ์ุข้าวของกรมการข้าวใช้เงินงบประมาณ สิงหาคม 2565
ประจาปีและงบประมาณจากกองทนุ หมุนเวยี น
เพือ่ ผลิตและขยายพันธุพ์ ชื ภายใตก้ ารกากับ
ดแู ลของกรมบญั ชีกลางและสานักงบประมาณ
ซึ่งมีขอ้ กาหนดและเงื่อนไขการบรหิ ารจดั การ
โดยไม่หวังผลกาไร แตต่ อ้ งมรี ายได้รบั คนื
เพ่ือให้มีเงินทุนหมุนเวียนในการผลติ และ
กระจายเมลด็ พันธุข์ ้าว จึงทาให้กรมการขา้ วไม่
สามารถสนับสนุนเมล็ดพันธ์ขุ า้ วแบบใหเ้ ปล่าได้
แต่อย่างไรกต็ าม กรมการขา้ วมภี ารกจิ ในการ
สนับสนุนเมลด็ พันธข์ุ า้ วผ่านโครงการต่างๆ ใน
รูปแบบกลุม่ เกษตรกร หรือองค์กรเกษตรกร
และสนบั สนนุ องความรู้ เทคโนโลยีการผลิตขา้ ว
รวมถงึ ให้เกษตรกรผู้ปลกู ข้าวสามารถเข้าถงึ
แหลง่ ผลติ เมล็ดพันธุ์ข้าวผ่านศนู ยข์ า้ วชมุ ชน
หรอื กลุ่มเกษตรกรผูป้ ลูกข้าวแปลงใหญ่
4 วันท่ี 5 สิงหาคม 2565 กล่มุ เกษตรกร 1.รายงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1.หนังสอื สนง.กษ.สพ.
ชาวนาจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ประมาณ 200 และผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและ ที่ กษ 0224.สพ/
คน ได้ยื่นหนงั สือกราบเรยี นนายกรฐั มนตรี สหกรณ์ เขต 3 (นางกุลฤดี พัฒนะอ่ิม) เพ่ือ 797 ลงวันที่ 5
ผ่านจงั หวดั สพุ รรณบุรี โดยมีนายชชู พี รายงานปัญหารอ้ งเรียนและเหตุการณเ์ รง่ ดว่ น สิงหาคม 2565
พงษ์ไชย รองผู้ว่าราชการจังหวัดสพุ รรณบรุ ี โดยไดส้ รปุ ขอ้ มลู สถานการณ์การชมุ นุม และ 2.รายงานการประชมุ
เปน็ ผูแ้ ทนรับหนังสือ โดยสรปุ ดังน้ี ข้อเรยี กรอ้ งของเกษตรกร ตามหนงั สอื ท่ีอ้างถงึ คณะกรรมการ
1.ขอความอนุเคราะห์ พลเอกประยทุ ธ เรยี บรอ้ ยแล้ว ขบั เคลื่อนงานด้าน
จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในฐานะ 2. นาขอ้ มลู เข้าทปี่ ระชุมคณะกรรมการ การเกษตรจงั หวัด
ประธานคณะกรรมการนโยบายและบรหิ าร ขบั เคลื่อนงานดา้ นการเกษตรจังหวดั สพุ รรณบรุ ี สุพรรณบรุ ี ครงั้ ท่ี
จัดการข้าวแห่งชาติ (นบข.) พิจารณาขยาย คร้งั ท่ี 5/2565 เม่ือวนั ศกุ รท์ ี่ 19 สิงหาคม 5/2565
โครงการประกันรายไดเ้ กษตรกรผปู้ ลูกขา้ ว 2565 ในวาระที่ 3.8 รายงานปญั หาร้องเรยี น 3.หนงั สอื สนง.กษ.สพ.
ตอ่ ไปอย่างตอ่ เนื่องทกุ ปี จนกว่าสภาพ และเหตุการณ์เร่งดว่ น โดยที่ประชมุ มีมติ ท่ี กษ 0224.สพ/
เศรษฐกจิ จะดขี น้ึ เพอ่ื ชาวนาจะไดม้ ี รบั ทราบและมอบหมายหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ ง 959 ลงวนั ท่ี 21
คณุ ภาพชีวิต และความเปน็ อยู่ทด่ี ขี น้ึ ต่อไป ดาเนินการตามทีเ่ ห็นสมควร กนั ยายน 2565
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสุพรรณบุรี 117
ที่ เร่ือง/ประเด็น กำรดำเนนิ กำร เอกสำรทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
2. ขอรับจัดสรรงบประมาณโครงการเสรมิ 3. แจง้ สานักงานพาณชิ ยจ์ งั หวัดสพุ รรณบรุ ี 4.หนังสือสนง.กษ.สพ.
คันกนั้ น้า คลอง ร 2 ซา้ ย สองพ่นี ้อง ทั้ง และสถาบนั วทิ ยาศาสตรข์ ้าวแห่งชาติ ใน ที่ กษ 0224.สพ/
สองฝ่งั คลอง หม่ทู ี่ 11 ตาบลวัดโบสถ์ ประเดน็ ทบทวนโครงการสนบั สนนุ ลดต้นทุน 1012 ลงวนั ที่ 5
อาเภอบางปลามา้ จงั หวดั สุพรรณบุรี จาก ด้านการเกษตรสาหรบั เกษตรกรผปู้ ลกู ข้าว ตุลาคม 2565
บริเวณ คลอง ร2 ซ้าย สองพี่นอ้ ง กม. เพ่อื ดาเนินการในสว่ นทเ่ี ก่ียวข้องต่อไป
37+860 ถงึ กม.43 +136 ระยะหา่ ง 4. แจง้ ศูนย์ดารงธรรมจงั หวดั สุพรรณบรุ ี
5.276 กม. เพ่อื เปน็ คันก้นั นา้ ป้องกนั เหตุ
อุทกภยั ในปตี อ่ ๆ ไป
3. ขอค่าชดเชยความเสยี หายในกรณเี กดิ
นา้ ทว่ มพน้ื ทที่ าการเกษตร ดว้ ยพนื้ ท่ตี าบล
วัดโบสถไ์ ดร้ บั ผลกระทบจากฝนทต่ี กลงมา
ในชว่ งหลายวันที่ผ่านมา ประกอบกับมกี าร
ระบายน้าล่าชา้ เนอื่ งจากมีการระบายน้าใน
คลองสาขาหลายแหง่ ในพน้ื ทีต่ าบลวดั โบสถ์
ปัจจบุ นั มนี ้าเอ่อล้นหลายจุดทาให้ประชาชน
ชาวตาบลวดั โบสถอ์ าจได้รบั ความเดอื นรอ้ น
เป็นอยา่ งมาก ในกรณนี ้าท่วมผลผลิตจาก
การเกษตร จานวน ๒๒,00๐ ไร่ ตันละ
๘,000 บาท รวมเปน็ จานวนเงนิ ทง้ั ส้ิน
๑๗6,000,000 บาท ความเสียหายของ
ตาบลวดั โบสถ์ มจี านวน ๒๒,๐00 ไร่
โดยประมาณ จงึ ขอสอบถามแนวทางการ
ใหค้ ่าชดเชยดงั กลา่ ว
5 ขอพระราชทานความชว่ ยเหลอื เกยี่ วกับ สานกั งานเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั สุพรรณบรุ ี - หนังสือสานกั งาน
หน้สี ินบา้ นพร้อมทด่ี นิ สญั ญาขายฝากท่ีดนิ ไดร้ บั บนั ทึกคาขอกเู้ งนิ เม่อื วันที่ 3 พฤศจกิ ายน อัยการคมุ้ ครองสทิ ธิ
จานวนเงิน 2,700,000 บาท 2564 และได้นาเร่อื งเสนอในการประชมุ และชว่ ยเหลือทาง
คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนหมุนเวยี นเพ่ือ กฎหมายและการ
การกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน คร้งั ท่ี บังคบั คดีจังหวดั
1/2565 เมอ่ื วันจนั ทรท์ ี่ 24 มกราคม 2565 สุพรรณบรุ ี ท่ี อส
เวลา 09.30 น. ณ หอ้ งประชุมหลวงทรงพล 0061 (สพ)/1030
(ชัน้ 3 ดา้ นหน้า) ศาลากลางจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ลงวันท่ี 11 มนี าคม
โดยที่ประชมุ พิจารณาแลว้ มีมติไมอ่ นมุ ัติให้ 2565
ความช่วยเหลอื เนอ่ื งจากมลู เหตแุ หง่ หน้ีเกดิ
จากการนาเงินไปลงทนุ ประกอบธุรกจิ สนามไก่ชน
ไม่ใช่การนาเงนิ ไปลงทุนประกอบอาชพี
การเกษตร อีกทงั้ ท่มี าของรายได้เกดิ จากการ
ประกอบธุรกจิ สนามไกช่ น การขายอาหารตาม
สั่งและเครือ่ งดื่มและเงินเดือนของสามี ซึง่ เป็น
การพจิ ารณาตามระเบียบวา่ ด้วยการบรหิ าร
กองทุนหมุนเวยี นเพื่อการก้ยู มื แกเ่ กษตรกรและ
ผู้ยากจน พ.ศ. 2561 ข้อ 6 (2) กาหนดไว้ว่า
“มีหนีส้ ินอันเกดิ จากเหตุสุจริต จาเป็น และเป็น
ภาระหนกั แกผ่ ้กู ้ยู มื ทาใหผ้ ู้กยู้ ืมมโี อกาสทจี่ ะไถ่
หรอื ไถถ่ อนหรือชาระหนต้ี ามสญั ญากู้ยืมเงนิ
หรอื ซอ้ื ทดี่ นิ คืนได้นอ้ ยมาก”
118 รำยงำนประจำปี 2565
ท่ี เรอ่ื ง/ประเดน็ กำรดำเนินกำร เอกสำรที่เกยี่ วข้อง
6 ขอความช่วยเหลอื เกยี่ วกับปญั หาหนสี้ ิน
สานักงานเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั สุพรรณบรุ ี - หนังสอื สานกั งาน
เนอ่ื งจากไดน้ าทด่ี ินและบา้ นไปขายฝาก
ใหก้ บั เจ้าหนนี้ อกระบบ จานวนเงนิ ไดร้ ับบนั ทกึ คาขอกู้เงินเมื่อวันท่ี 10 มกราคม เกษตรและสหกรณ์
320,000 บาท
2565 และ สานกั งานฯ ไดส้ ่งเรอื่ งให้ ธ.ก.ส. จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
7 ร้องเรยี น/ร้องทกุ ข์ผ่านสานกั งานปลดั
สานกั นายกรัฐมนตรีขอความชว่ ยเหลือ สาขาสามชุก วิเคราะห์หลักประกนั และประเมนิ ท่ี กษ 0224.สพ/
แก้ไขปญั หาหนส้ี นิ และจดั หาแหลง่ เงนิ กู้
ดอกเบยี้ ต่า กระแสเงนิ สดผลปรากฏว่าหลกั ประกันของผูข้ อ 1189 ลงวนั ที่ 14
กู้ มรี าคาประเมินทด่ี ิน มีมลู ค่า 66,000 บาท ธันวาคม 2564
และส่งิ ปลกู สรา้ งมปี ระกันภัย มลู คา่ 71,280
บาท รวมราคาทดี่ นิ และสง่ิ ปลูกสรา้ ง จานวน
137,280 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42.9 ของ
วงเงินกู้ เนอ่ื งจากไม่อยใู่ นหลักเกณฑก์ ารให้
ความชว่ ยเหลอื ตามระเบียบว่าด้วยการบรหิ าร
กองทนุ หมนุ เวยี นเพื่อการกยู้ มื แกเ่ กษตรกรและ
ผู้ยากจน พ.ศ. 2561 ขอ้ 20“เนอื่ งจาก
อสงั หารมิ ทรัพย์ที่นามาเปน็ หลักประกนั ในการ
ขอกู้ ประเมินราคาคิดเป็นรอ้ ยละ 42.9 ไมถ่ ึง
รอ้ ยละ 50 ของวงเงนิ ท่ีขอกู้และผขู้ อกไู้ ม่
สามารถนาทด่ี ินแปลงอื่นซงึ่ มไิ ดจ้ านองเป็น
ประกันต่อเจา้ หนรี้ ายอ่นื มาจานองเปน็ ประกัน
เพิ่มเตมิ ได้” จงึ ไม่สามารถกเู้ งินกองทุน
หมนุ เวยี นฯ ได้
สานกั งานเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสพุ รรณบรุ ี - หนงั สอื ศูนยด์ ารง
ไดต้ รวจสอบข้อเทจ็ จริงกรณขี องผรู้ ้องเรยี น ธรรมจังหวดั สพุ รรณบรุ ี
เมอื่ วันท่ี 26 สิงหาคม 2565 แลว้ พบวา่ มลู ลงวนั ท่ี 19 สิงหาคม
หนี้ ไม่ได้เกิดจากการนาโฉนดทีด่ นิ ไปเปน็ 2565
หลกั ทรัพยค์ า้ ประกนั กบั เจ้าหน้ีโดยการจานอง
กูย้ มื เงิน หรือขายฝาก หรือสญู เสยี กรรมสทิ ธ์ใิ น
ทด่ี นิ ไปเปน็ ตน้ จงึ ไมเ่ ข้าหลักเกณฑ์ของกองทนุ
หมุนเวยี นฯ
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดสุพรรณบุรี 119
3.11 กองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
ผลการดาเนินงานการขอรับการสนับสนุนสินเชื่อจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ในปีงบประมาณ
พ.ศ.2565 มีกลุ่มเกษตรกรย่ืนเสนอขอรับการสนับสนุนสินเชื่อจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จานวน
3 กลุ่ม ไดแ้ ก่
1) วิสาหกจิ ชุมชนเลย้ี งปลาบ้านดอนตะเคยี น หมู่ 7 ต.ยุง้ ทะลาย อ.อูท่ อง
2) กล่มุ วสิ าหกิจชุมชนทา้ ยเข่อื นออรแ์ กนิก 157/2 หมู่ 1 ต.นิคมกระเสียว อ.ด่านช้าง
3) กล่มุ วสิ าหกิจชุมชนทา้ ยเข่อื นกระเสียว 123/1 หมู่ 1 ต.นิคมกระเสยี ว อ.ดา่ นชา้ ง
โดยมีรายละเอียดดงั ตาราง
ท่ี วัน/เดอื น/ปี ชือ่ กลมุ่ วิสำหกจิ ชื่อโครงกำร วงเงิน สถำนะ
ที่ไดร้ ับเอกสำร (บำท)
1 28 ม.ค.65 วิสาหกิจชมุ ชนเลย้ี งปลา โครงการสง่ เสริมสภาพ 4,591,366 ได้รับการอนุมตั แิ ละ
บา้ นดอนตะเคยี น หมู่ 7 คลอ่ งกลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชน จดั สรรแล้ว
ต.ย้งุ ทะลาย อ.อู่ทอง คนเล้ยี งปลาบา้ นดอน
ตะเคียน
2 5 ก.ย.65 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทา้ ย โครงการส่งเสรมิ อาชีพการ 4,917,500 กลุ่มแจง้ ขอยุตเิ ร่อื ง
เขือ่ นออรแ์ กนกิ 157/2
หมู่ 1 ต.นิคมกระเสยี ว เลยี้ งแพะเนอ้ื เพือ่ รวมกลมุ่ ใหม่
อ.ดา่ นช้าง
โครงการส่งเสริมอาชพี การ 4,917,500 กลุ่มแจง้ ขอยุติเรือ่ ง
3 5 ก.ย.65 กลุ่มวิสาหกจิ ชุมชนท้าย
เขื่อนกระเสียว 123/1 เลีย้ งแพะเน้ือ เพ่อื รวมกลมุ่ ใหม่
หมู่ 1 ต.นคิ มกระเสยี ว
อ.ด่านชา้ ง
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมลงพ้ืนท่ีกับกองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์
เกษตรกร และสานักงานประมงอาเภออู่ทอง เพื่อดาเนินการทาสัญญากู้ยืมเงินและสัญญาค้าประกันของ
วิสาหกิจชุมชนเล้ียงปลาบ้านดอนตะเคียน ดังกล่าว เม่ือวันที่ 17 สิงหาคม 2565 ซ่ึงกลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ
ไดร้ บั การจดั สรรเงนิ งวดท่ี 1 เม่อื วนั ท่ี 31 สงิ หาคม 2565 จานวนเงนิ 2,360,683 บาท เรยี บร้อยแลว้
3.12 งำนภยั พบิ ตั ดิ ำ้ นกำรเกษตร
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี โดยศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้าน
การเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินงานอานวยการ กากับ ดูแล การปฏิบัติงาน และการให้ความช่วยเหลือ
ผปู้ ระสบภัยพิบตั ิด้านการเกษตร มีผลการดาเนินงาน ดังนี้
1. กำรประชุมคณะกรรมกำรบริหำรศูนย์ติดตำมและแก้ไขปัญหำภัยพิบัติด้ำนกำรเกษตร จังหวัด
สุพรรณบุรี จานวน 2 คร้ัง ผ่านระบบ Application Zoom ดังน้ี
- ครั้งท่ี 3/2564 เม่ือวันพฤหัสบดีที่ 2 ธันวาคม 2564 ณ ห้องประชุมสานักงานเกษตร
และสหกรณจ์ ังหวัดสุพรรณบรุ ี (ช้นั 2) ศาลากลางจงั หวดั สุพรรณบรุ ี
- ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันอังคารที่ 9 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุมสานักงานเกษตรและ
สหกรณจ์ งั หวดั สุพรรณบุรี (ช้นั 2) ศาลากลางจังหวัดสพุ รรณบุรี
120 รำยงำนประจำปี 2565
2. กำรติดตำมและประชำสัมพันธ์ผ่ำน Website ของสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี (https://www.opsmoac.go.th/suphanburi-home) ดังน้ี
1) พยากรณ์อากาศประจาวัน ข่าวอากาศเพ่ือการเกษตรใน 7 วันข้างหน้า และผลกระทบของ
ลักษณะอากาศต่อการเกษตร ของกรมอุตุนิยมวิทยาและสถานีอุตุนิยมวิทยาสุพรรณบุรี เตือนภัยการเกษตร
(การระบาดของศตั รูพชื ตา่ งๆ) ของศนู ยว์ ิจยั พืชไร่สพุ รรณบรุ ี
2) ประกาศเตือนภัย (พายุโซนร้อน ศัตรูพืชระบาด) การคาดหมายสภาพอากาศทุกสัปดาห์ และ
สรุปสถานการณ์ภัยพิบัติด้านการเกษตร จากศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรกระทรวง
เกษตรฯ
3) รายงานสถานการณภ์ ัยพบิ ัตจิ งั หวดั สุพรรณบุรี
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดสุพรรณบุรี 121
3. แผนป้องกันและบรรเทำผลกระทบสำธำรณภัยด้ำนกำรเกษตรในช่วงฤดูฝน ปี 2565
จงั หวัดสุพรรณบรุ ี
1) หลกั กำรและเหตุผล
ด้วยประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2565 เร่ืองการเริ่มต้นฤดูฝน
ของประเทศไทย พ.ศ. 2565 โดยประเทศไทยจะเร่ิมต้นเขา้ สู่ฤดูฝน ในวนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2565 เนื่องจาก
มีฝนตกชุกและต่อเน่ืองครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ ประกอบกับลมที่พัดปกคลุมประเทศไทยที่ระดบั
ผิวพื้นถึงความสูงประมาณ 3.5 กิโลเมตร ได้เปลี่ยนทิศเป็นลมตะวันตกเฉียงใต้ ซ่ึงพัดนาความชื้นจากทะเล
อันดามันเข้ามาปกคลุมประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง และลมช้ันบนตั้งแต่ระดับความสูง 5 กิโลเมตรขึ้นไป
ได้เปล่ียนทิศเป็นลมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งถือว่าเป็นการเข้าสู่ฤดูฝนของประเทศไทยในปีนี้ โดยปริมาณฝน
รวมของทั้งประเทศในช่วงฤดูฝนปีนี้จะมากกว่าค่าปกติเล็กน้อยประมาณร้อยละ 3 แต่จะน้อยกว่าปีที่แล้ว
อย่างไรก็ตาม ช่วงตั้งแต่กลางเดือนมิถุนายนถึงกลางเดือนกรกฎาคม จะเกิดสภาวะฝนท้ิงช่วง ส่งผลให้ปริมาณ
และการกระจายของฝนมีนอ้ ย อาจทาให้เกิดการขาดแคลนน้าในด้านการเกษตรในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่
แล้งซ้าซากนอกเขตชลประทาน ประชาชนจึงควรใช้น้าเพ่ือประโยชน์สูงสุด และในช่วงเดือนสิงหาคมและ
กันยายน ซ่ึงเป็นช่วงท่ีมีฝนตกชุกหนาแน่นท่ีสุด และมีโอกาสสูงที่จะมีพายุหมุนเขตร้อน เคลื่อนผ่านบริเวณ
ประเทศไทยตอนบน ซง่ึ จะสง่ ผลใหม้ ีฝนตกหนักถงึ หนักมากในหลายพ้นื ที่ และก่อใหเ้ กิดสภาวะน้าทว่ มฉับพลัน
น้าป่าไหลหลาก รวมทง้ั นา้ ล้นตลิ่งไดใ้ นหลายพืน้ ที่
ดังนั้น ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี จึงได้จัดเตรียม
การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเกษตรในช่วงฤดูฝน ปี 2565 ซึ่งเปน็ การเตรยี มรับสถานการณ์ภัย
ธรรมชาติซ่ึงอาจเกิดข้ึนได้ในช่วงฤดูฝน เช่น น้าท่วม น้าป่าไหลหลาก ดินโคลนถล่มและฝนท้ิงช่วง โดยกาหนด
มาตรการลดความเส่ียงจากอุทกภยั และฝนทงิ้ ช่วง โดยแบ่งเปน็ 4 ด้าน คือ 1) การป้องกนั และเตรียมความพร้อม
เพ่ือลดผลกระทบ 2) การเผชญิ เหตุ 3) การหยุดยัง้ ความเสยี หาย และ 4) การฟื้นฟใู หด้ ีกวา่ เดิม
2) วตั ถุประสงค์
2.1) เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางการดาเนินการป้องกันและลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
ด้านการเกษตรและลดผลกระทบจากปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรของจังหวัดสุพรรณบุรีให้เป็นไปอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
2.2) เพื่อเตรียมความพร้อมของศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร
จังหวัดสุพรรณบุรี ในการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ
และสามารถฟนื้ ฟพู ืน้ ทกี่ ารเกษตรให้กลบั สูส่ ภาวะปกติโดยเรว็
2.3) เพ่ือเป็นประโยชน์แก่ทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติงานและประสานงานกัน
ในการปอ้ งกนั และใหค้ วามช่วยเหลอื เกษตรกรผ้ปู ระสบภัยได้อย่างรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ
122 รำยงำนประจำปี 2565
แผนปอ้ งกันและบรรเทำผลกระทบสำธำรณภยั ด้ำนกำรเกษตรในชว่ งฤดูฝน ปี 2565 จังหวดั สพุ รรณบุรี
1.ก่อนเกดิ ภยั 2.ขณะเกดิ ภัย 3.หลงั เกิดภยั
1.1 การป้องกันและลดผลกระทบ 2.1 การเผชญิ เหตุ (Response) 3.1 การซอ่ มสร้าง
(Prevention & Mitigation) 2.2 การบรรเทาทุกข์ (Relief) (Reconstruction)
1.2 การเตรยี มความพรอ้ ม 3.2 การฟืน้ สภาพ
(Preparedness) (Rehabilitation)
1. โครงกำรชลประทำนสพุ รรณบุรี
1) วางแผนการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา 1) รายงานสถานการณอ์ ุทกภยั 1) เร่งสารวจพนื้ ทีก่ ารเกษตร
อุทกภยั พ.ศ 2565 การคาดการณ์แนวโน้มจนกว่าจะ ทีไ่ ดร้ บั ผลกระทบภายหลงั
2) คาดการณ์และตดิ ตามสภาวะทางอุตุ- เข้าสู่ภาวะปกติ ทสี่ ภาพน้าลดระดับลง
อทุ กวทิ ยาอยา่ งใกลช้ ิด 2) ปรบั แผนการระบายนา้ จากอา่ งเกบ็ เพ่อื ประเมนิ ความเสยี หาย
3) ตรวจสอบความพรอ้ มใชง้ านของอาคาร น้าเพือ่ ลดผลกระทบด้านท้ายนา้ และกาหนดแนวทางการ
ชลประทานตา่ งๆ 3) การส่งน้าชลประทานเขา้ พ้ืนที่ ชว่ ยเหลอื
4) ขุดลอกและกาจดั วชั พชื ในคลอง การเกษตรเพ่ือลดยอดนา้ 2) เรง่ สารวจความเสยี หาย
ชลประทานและอ่างเกบ็ น้าตา่ งๆ 4) การควบคุมประมาณนา้ ผ่านอาคาร ของอาคารชลประทานเพอื่
5) ซ่อมแซมและบารุงรกั ษาอาคารชลประทาน บงั คับนา้ ในปริมาณทเี่ หมาะสม ซ่อมแซมให้สามารถใช้งาน
ระบบสง่ นา้ และระบบระบายนา้ 5) เสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งของอาคาร ได้ตามปกตโิ ดยเร็ว
6) การบริหารนา้ ในอา่ งเกบ็ โดยใช้ ROS ชลประทานคันก้นั น้าและอนื่ ๆ
และ Operation Rule Curve 6) สนบั สนุนเคร่ืองจักร เครื่องมือเขา้
7) การเฝา้ ระวงั พืน้ ที่เสีย่ งภัย และการบรหิ าร ช่วยเหลือ
จัดการนา้ หลาก 7) การตดิ ตาม ตรวจสอบ วิเคราะห์
8) เตรยี มความพร้อมของเครอ่ื งจกั ร และประเมนิ สถานการณ์อยา่ ง
เคร่อื งมอื ตา่ งๆ ตอ่ เนื่องและทันการณ์
8) การแจ้งข้อมลู ขา่ วสารและ
ประชาสมั พันธ์
2. สำนักงำนเกษตรจังหวดั สพุ รรณบุรี
1) ปรบั ปรงุ ทะเบียนเกษตรกรให้เป็นปัจจุบัน 1) ประสานโครงการชลประทานใน 1) สารวจความเสยี หายสน้ิ เชิง
2) ติดตามขอ้ มูลขา่ วสาร การพยากรณ์อากาศ พน้ื ท่เี พอ่ื สนับสนนุ เครือ่ งสบู น้า และชว่ ยเหลอื ตามระเบียบ
สภาพภมู อิ ากาศ สภาพน้าในเข่ือน อา่ ง 2) กาหนดกรอบการดาเนินงานในการ กค. (กสก.ปศ. ปม.)
เก็บนา้ สภาพนา้ ทา่ เพ่ือประเมนิ ใหค้ วามช่วยเหลอื เกษตรกร
สถานการณ์และวิเคราะห์พนื้ ท่เี สยี่ ง ผ้ปู ระสบภยั พบิ ตั ขิ องสานักงาน
3) เฝา้ ระวังการเกดิ โรคระบาดพชื หรือศตั รพู ืช เกษตรอาเภอ พรอ้ มทง้ั กากับให้
4) ผลติ ชุดความรู้ และสรา้ งการรบั รแู้ ละ เปน็ ไปตามระเบยี บกระทรวงการ
เขา้ ใจถึงความเสยี่ ง และผลกระทบรวมทง้ั คลงั วา่ ดว้ ยเงนิ ทดรองราชการเพ่อื
วิธีการปรับตัวให้เหมาะสม ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณี
ฉกุ เฉิน พ.ศ. 2556 และท่ีแกไ้ ข
เพิ่มเตมิ
3. สถำบนั วทิ ยำศำสตร์ข้ำวแหง่ ชำติ
1) ติดตามขอ้ มูลข่าวสาร การพยากรณ์ 1) ลงพนื้ ท่ีเยีย่ มเยียน และสารวจ 1) กรณเี กิดภยั พิบตั ดิ าเนนิ การ
อากาศ สภาพภมู อิ ากาศ สภาพน้าในเขื่อน ความเสยี หายจากอุทกภยั เพือ่ ให้ ช่วยเหลอื ฟน้ื ฟตู ามระเบยี บ
อา่ งเก็บนา้ สภาพนา้ ทา่ เพอื่ ประเมิน ความช่วยเหลือ
สถานการณ์และวิเคราะหพ์ นื้ ท่ีเสยี่ ง
2) เฝา้ ระวงั การเกดิ โรคระบาดพชื หรอื ศัตรพู ชื
3) ประเมินสถานการณแ์ ละเตรียมเมลด็
พันธข์ุ า้ ว
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสพุ รรณบุรี 123
1.กอ่ นเกดิ ภยั 2.ขณะเกดิ ภัย 3.หลงั เกดิ ภยั
4. ศูนยว์ จิ ยั พืชไร่สพุ รรณบรุ ี
1) ติดตามข้อมูลข่าวสาร การพยากรณ์อากาศ 1) ลงพื้นทเ่ี ยี่ยมเยียน และสารวจ 1) กรณเี กิดภยั พิบัติดาเนินการ
สภาพภมู ิอากาศ สภาพน้าในเขือ่ น อา่ ง ความเสยี หายจากอุทกภยั เพอ่ื ให้ ชว่ ยเหลอื ฟ้ืนฟตู ามระเบยี บ
เก็บนา้ สภาพนา้ ท่า เพื่อประเมนิ ความช่วยเหลอื
สถานการณ์และวิเคราะห์พ้นื ทีเ่ สยี่ ง 2) ใหค้ าแนะนาในการฟืน้ ฟพู ชื ไรท่ ่ีเกดิ
2) เฝ้าระวังการเกดิ โรคระบาดพืชหรือศตั รพู ืช ความเสยี หายจากอทุ กภัย
3) ประเมินสถานการณ์และเตรยี มทอ่ นพันธุ์
พืชไรร่ องรับ
4) จัดเตรียมองคค์ วามรดู้ ้านการผลติ พืชไร่
และการกาจัดโรคและแมลง
5. กำรยำงแห่งประเทศไทยจังหวดั อทุ ยั ธำนี
1) ปรับปรงุ ทะเบยี นเกษตรกรผู้ปลกู ยางให้ 1) ลงพ้ืนที่ตรวจสอบความเสยี หาย 1) ตดิ ตามสถานการณ์ของ
เปน็ ปจั จบุ ัน 2) แนะนาการดูแลรักษาต้นยางตาม เกษตรกรชาวสวนยาง
2) ประชาสมั พันธ์การดูแลสวนยางกอ่ นและ หลักวิชาการ 2) ต้นยางได้รับความเสยี หาย
หลงั ประสบภยั พิบตั ิ เช่น ภยั แลง้ อทุ กภัย 3) ใหเ้ กษตรกรชาวสวนยางตดิ ตอ่ กับ สญู เสยี สภาพสวนยางไม่
อัคคภี ัย และวาตภยั เพ่อื ให้เกษตรกร กยท.จ.อทุ ยั ธานี เพื่อย่ืนคาขอรบั เงิน สามารถให้ผลผลิตได้
ชาวสวนยางเตรยี มความพรอ้ มในการ ช่วยเหลือสวสั ดกิ ารเพอื่ เกษตรกร สามารถยนื่ ขอรับการ
ปอ้ งกันพรอ้ มทงั้ บารุงรกั ษา ชาวสวนยาง ครงั้ ละ 3,000 บาท สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้มกี าร
3) ประชาสมั พันธ์เงินช่วยเหลอื สวสั ดิการเพ่ือ ปลูกทดแทนตามหลกั เกณฑ์
เกษตรกรชาวสวนยาง ครั้งละ 3,000 บาท กับ กยท.จ.อุทยั ธานี
6. สำนักงำนประมงจังหวัดสพุ รรณบุรี
1) สรา้ งการรับรู้ ประชาสมั พันธแ์ จง้ เตือนภยั 1) จัดเตรยี มพันธุส์ ัตวน์ า้ ชนิดตา่ งๆ ไว้ 1) วิเคราะห์ความเสยี หาย
2) การเฝ้าระวังติดตามสถานการณค์ ณุ ภาพน้า ช่วยเหลือเกษตรกรในกรณฉี ุกเฉนิ (Damages) และความ
และกระชังทเี่ สี่ยงและเตรียมบญั ชที รพั ยากร 2) จัดเตรียมเคร่ืองสบู นา้ เรอื ตรวจ สญู เสีย (Losses) ท่เี กดิ
3) การปรบั ปรงุ ข้อมูลเกษตรกรดา้ นประมง การประมง อวน กระชังและ จากภัยในแตล่ ะดา้ น
4) การควบคมุ การใชน้ ้า การปรบั ปรุงคันบ่อ อุปกรณต์ ่างๆ ไว้เพ่ือขนย้ายสัตว์ 2) จัดทาบญั ชีรายละเอียด
และเสรมิ คนั บ่อ 3) อพยพหรอื เคล่อื นยา้ ยสตั วน์ า้ สู่ เกยี่ วกบั ขอ้ มลู เกษตรกรที่
5) การเตรยี มอปุ กรณท์ จ่ี าเป็น เชน่ อวน ที่ปลอดภัย ได้รับความเสยี หายด้าน
เครือ่ งสบู น้า เครื่องเพ่มิ ออกซเิ จน 4) จัดหน่วยเฉพาะกจิ ลงพืน้ ท่ปี ระสบ การประมง
6) การเตรยี มทยอยจับสตั ว์นา้ ที่ได้ขนาด ภยั เพอ่ื ให้ความช่วยเหลอื เกษตรกร 3) สารวจความเสียหายส้นิ เชงิ
ขึ้นมาจาหนา่ ย รวมทง้ั ประเมนิ ความเสยี หายและ และชว่ ยเหลอื ตามระเบียบ
7) กรณกี จิ การเพาะเลย้ี งจระเข้ ผปู้ ระกอบ ต้องการความชว่ ยเหลือ (ปม.)
กิจการรายใหมต่ ้องแจ้งความประสงค์
ประกอบกิจการตอ่ พนักงานเจา้ หน้าท่ีเข้า
ตรวจสอบสถานที่ประกอบการและต้อง
ปฏิบตั ติ ามข้อกาหนดอย่างเครง่ ครัด
7. สำนักงำนปศุสตั ว์จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
1) ปรบั ปรงุ ข้อมลู ทะเบียนเกษตรกร ข้อมลู 1) กรณสี ัตว์ขาดแคลนอาหารหรอื 1) สารวจความเสียหายสน้ิ เชงิ
ประชากรสัตว์ และแปลงพชื อาหารสัตวใ์ ห้ เสบยี งสตั ว์ใหท้ าการจดั ซื้อ หรอื และชว่ ยเหลอื ตามระเบยี บ
เป็นปัจจุบนั ประสานสถานีพชื อาหารสตั ว์จงั หวดั กค.ฯ (ปศ.)
2) การเฝา้ ระวงั ตดิ ตามสถานการณ์ ขอ้ มลู สุพรรณบุรี เพ่อื ใหก้ ารสนบั สนนุ 2) สนบั สนนุ พนั ธ์พุ ืชอาหาร
ข่าวสาร การพยากรณอ์ ากาศ สภาพ 2) กรณสี ัตวป์ ว่ ยใหท้ าการรกั ษาและ สตั ว์สาหรับฟ้นื ฟูแปลงพชื
ภูมิอากาศ สภาพนา้ ในเขื่อน อ่างเกบ็ นา้ ใหค้ าแนะนาเกษตรกรในการดแู ล อาหารสตั ว์
ประเมนิ สถานการณแ์ ละวเิ คราะหพ์ ้นื ท่เี สยี่ ง สุขภาพสตั ว์ สนับสนุนเวชภณั ฑ์
124 รำยงำนประจำปี 2565
1.ก่อนเกิดภัย 2.ขณะเกดิ ภยั 3.หลงั เกดิ ภัย
3) จดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารสร้างการรับรใู้ ห้ กองทนุ ยาสตั ว์ประจากลมุ่ เพ่อื 3) ออกสารวจภาวะโรคระบาด
เกษตรกรรจู้ กั เตรียมความพร้อมรบั ปอ้ งกนั และรักษาโรค สัตว์ในพืน้ ท่ี บรกิ ารฉีด
สถานการณภ์ ยั พิบตั ิ ตลอดจนแผน 3) จดั หน่วยปฏบิ ตั กิ ารเคล่อื นที่ วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคสตั วใ์ หก้ ับ
ชว่ ยเหลอื เกษตรกรผู้ประสบภยั พบิ ัติดา้ น ชว่ ยเหลือเกษตรกรในพน้ื ท่ีเกิดภยั เกษตรกร แนะนาให้
ปศสุ ตั ว์ ประกอบด้วย 4) การอพยพสัตว์ ดาเนินการประสาน เกษตรกรทาวคั ซีนในสัตวท์ ี่
3.1) ประชาสมั พนั ธใ์ ห้เกษตรกรดแู ล หน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เช่น ท้องถน่ิ เลยี้ ง เชน่ เฝ้าระวังทางซรี ม่ั
สัตวเ์ ลยี้ ง หนว่ ยงานทางทหาร ใหก้ าร โดยการเจาะเลือดเพ่ือตรวจ
3.2) การวางแผนอพยพสตั ว์ ช่วยเหลอื เกษตรกรอพยพสตั ว์ สทู่ ี่ สภาวะโรคระบาดและการ
3.3) การเตรยี มแหล่งกกั เกบ็ น้าสารอง ปลอดภัย ตรวจเยย่ี มฟารม์ เกษตรกร
3.4) การจัดเตรยี มสารองเสบยี งสตั ว์และ เพือ่ ใหค้ าแนะนาในการเลย้ี ง
เวชภัณฑ์ สัตว์ การดแู ลสขุ ภาพสตั ว์
3.5) การเฝา้ ระวงั การเกิดโรคระบาดสตั ว์ และการควบคุมป้องกันโรค
3.6) การเตรียมความพรอ้ มด้านเครือ่ งมอื
เครือ่ งจักร ยานพาหนะ
8. สถำนพี ัฒนำที่ดินสุพรรณบุรี
1) ขดุ สระน้าประจาไรน่ า นอกเขตชลประทาน 1) ลงพ้ืนที่เยีย่ มเยียน สรา้ งการ รบั รู้ 1) การฟ้ืนฟสู ภาพดนิ หลงั มี
จานวน 50 บอ่ สร้างขวัญกาลังใจ การแชซ่ ังของน้าระยะเวลา
2) ส่งเสรมิ /รณรงคก์ ารปลูกหญ้าแฝก เพ่อื ป้อง 2) สรา้ งการรบั รใู้ หค้ าแนะนา นานด้วยน้าหมักชวี ภาพ
กนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และเพอ่ื การ - ในการบาบัดน้าเสยี สตู ร พด.2 และหรือ พด.6
อนรุ กั ษ์ดนิ และนา้ จานวน 2,800,000 - ดแู ล ปรับปรงุ สภาพไร่ นา สวน เพ่อื ปรับปรุงดนิ และบาบดั
กล้า ไม่ใหเ้ สียหายเร็วเกนิ ไป นา้ เสีย
3) ส่งเสริมการปรับปรงุ บารุงดนิ ดว้ ยพืชปยุ๋ สด 3) ฝกึ ปฏิบตั ิ การผลติ นา้ หมกั ชีวภาพ 2) สง่ เสรมิ การปรบั ปรุงบารุง
จานวน 5,000 ไร่ สูตร พด.2 เพ่อื ใชห้ มกั ตอซงั ดนิ ด้วยพชื ปยุ๋ สด
4) การจดั เตรยี มน้าหมกั ชีวภาพ สตู ร พด.2 น้าหมักชีวภาพสตู ร พด.6 เพอื่ ใช้ 3) สนับสนนุ การปลูกหญา้ แฝก
และ พด.6 เพอื่ หมกั ตอซงั และเพอ่ื บาบัด บาบดั น้าเสยี เพือ่ ปอ้ งกนั การชะล้าง
นา้ เสยี ในพ้นื ทจี่ ังหวัดสุพรรณบุรี จานวน พงั ทลายและเพื่ออนรุ ักษ์
18,000 ลติ ร ดนิ และน้า
* กิจกรรมขา้ งตน้ นีด้ าเนนิ การก่อนเกดิ เหตุ 4) สนบั สนุนการใชน้ า้ หมกั
คขู่ นานและหลงั เกดิ ผลกระทบจากภยั พบิ ตั ิ ชีวภาพ ปรับปรงุ สภาพ
(อทุ กภยั ) แวดล้อมแกช่ ุมชนและ
ประชาชนทัว่ ไป
9. สำนักงำนกำรปฏิรปู ที่ดินจงั หวดั สุพรรณบรุ ี
1) สร้างการรบั รสู้ ถานการณน์ ้า และวธิ ีลด 1) ลงพื้นท่เี ยยี่ มเยียนและสารวจความ 1) กรณเี กดิ ภยั พิบตั ิ ดาเนินการ
ผลกระทบจากอทุ กภัยแกเ่ กษตรกรในพืน้ ที่ เสียหายจากอุทกภัยเพ่อื ใหค้ วาม ชว่ ยเหลอื ฟื้นฟูตามระเบยี บ
2) ปรับปรงุ ทะเบียนสมาชกิ ในเขตปฏิรูปทดี่ นิ ชว่ ยเหลือ คณะกรรมการปฏริ ูปที่ดิน
ใหเ้ ปน็ ปัจจุบนั เพอ่ื เกษตรกรรม (คปก.)
2) การลดหรอื ยกเว้นการเกบ็
ค่าเชา่ ที่ดนิ
3) การผ่อนผนั การเก็บคา่ เชา่
ซื้อ
4) การปลอดชาระหน้ี การ
ผ่อนผนั การชาระเงินราย
งวด การขยายเวลาการ
ชาระหนี้ การลดหรอื งด
เกบ็ ดอกเบย้ี เงนิ กู้
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสพุ รรณบุรี 125
1.ก่อนเกดิ ภัย 2.ขณะเกิดภยั 3.หลงั เกดิ ภัย
10. สำนักงำนสหกรณจ์ ังหวัดสพุ รรณบรุ ี 1) ลงพืน้ ทเี่ ย่ียมเยียนและสารวจความ 1) กรณเี กดิ ภยั พบิ ตั ิดาเนนิ การ
1) ปรับปรุงทะเบยี นสมาชิกในเขตปฏิรปู ทด่ี นิ เสียหายจากอทุ กภยั เพ่อื ให้ความ ชว่ ยเหลือฟืน้ ฟูตามระเบยี บ
ชว่ ยเหลือ
ให้เปน็ ปัจจุบนั
1) ประสานข้อมลู เกษตรกรทีไ่ ดค้ วาม 1) รว่ มบรู ณาการหน่วยงาน
11. สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด เสียหายจาก สนง.กษจ. สนง.ปมจ. ในสังกดั กระทรวงเกษตร
สุพรรณบรุ ี และ สนง.ปศจ. และสหกรณ์เพอื่ ให้ความ
2) รายงานข้อมลู ความเสยี หายใ ห้ ช่วยเหลอื ฟน้ื ฟู และสร้าง
1) สร้างการรับรู้ ประชาสมั พันธ์แจ้งเตอื นภยั ผู้บังคบั บญั ชาตามลาดับชนั้ เพือ่ ขวัญกาลังใจเกษตรกร
ให้เกษตรกรตดิ ตามสถานการณพ์ ยากรณ์ ทราบ ผู้ประสบภยั หลังน้าลด
อากาศ สถานการณน์ ้าในพืน้ ทีเ่ สีย่ ง และ
การเกดิ โรคระบาด
2) เตรยี มจดั ทาแผนปอ้ งกันและบรรเทา
สาธารณภัยดา้ นการเกษตร
4. แผนงำน/โครงกำร เพ่ือป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยด้ำนกำรเกษตรในช่วงฤดูแล้ง
ปี 2564/65จังหวดั สุพรรณบรุ ี
1) หลักกำรและเหตุผล
ตามที่กรมอุตุนิยมวิทยาประกาศส้ินสุดฤดูฝนและเริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว เม่ือวันท่ี 29 ตุลาคม 2564
ประเทศไทยจะเร่ิมเข้าสู่ฤดูหนาว ต้ังแต่วันท่ี 2 พฤศจิกายน 2564 โดยลมท่ีพัดปกคลุมบริเวณประเทศไทย
ท่ีระดับความสูง 100 เมตร ถึงความสูง 3,500 เมตร ได้เปลี่ยนเป็นลมตะวันออกเฉียงเหนือหรือ
ลมตะวันออก ส่วนลมระดับบนมีความสูงต้ังแต่ 5,000 เมตรขึ้นไป ได้เปล่ียนเป็นลมฝ่ายตะวันตก
อย่างต่อเนื่องประกอบกับอุณหภูมิต่าสุดในช่วงเช้า บริเวณประเทศไทยตอนบนลดลงอยู่ในเกณฑ์อากาศเย็น
เกือบทั่วไป อย่างไรก็ตามในช่วงเริ่มต้นของฤดูหนาวปีน้ี ลักษณะอากาศบริเวณประเทศไทยตอนบนยังคง
แปรปรวน โดยจะมฝี นตกในบางช่วงแตป่ ริมาณไมม่ ากนัก สว่ นบรเิ วณภาคใตย้ งั คงมีฝนตกชกุ หนาแนน่ ต่อไป
ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันและลดผลกระทบจากสถานการณ์ภัยแล้ง
ที่จะเกิดข้ึนต่อภาคการเกษตร ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี จึงได้
จัดทาแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง ปี 2564/65 จังหวัดสุพรรณบุรี
ส าห รั บใช้เป็น กร อบแน วทางการ ดาเนิ นงานของห น่ว ยร าช การใน ก าร ป้องกันแล ะแก้ไขปัญห าภัยพิบัติ
ด้านการเกษตรและเตรียมการให้ความช่วยเหลือเพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรที่อาจได้รับ
ผลกระทบจากสถานการณภ์ ัยแลง้ ให้เป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสทิ ธิภาพ
2) วตั ถปุ ระสงค์
(1) เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการดาเนินงานป้องกันและลดความเสี่ยงจากภัยแล้ง ด้านการเกษตร
ของหน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งทงั้ ในและนอกกระทรวงเกษตรและสหกรณใ์ ห้เป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
(2) เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการให้ความช่วยเหลือ เพ่ือบรรเทา
ความเดอื ดร้อนแก่เกษตรกรผปู้ ระสบภัยแล้งอย่างเป็นระบบ รวดเรว็ และมปี ระสิทธภิ าพ
126 รำยงำนประจำปี 2565
แผนงำน/โครงกำร เพ่ือป้องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั ดำ้ นกำรเกษตรในชว่ งฤดแู ล้ง ปี 2564/65
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
แผนงำน เป้ำหมำย งบประมำณ
1. กำรป้องกนั และลดผลกระทบ สปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้
10 อาเภอ
ด้ำนชลประทำน : โครงกำรชลประทำนสุพรรณบุรี 10 อาเภอ
1.1 สรา้ งการตระหนักรู้การใช้น้าอย่างประหยดั และรู้คณุ คา่
- รณรงค์ ประชาสัมพนั ธ์ สรา้ งการรับรใู้ หเ้ กษตรกรและ
ประชาชนทวั่ ไป ผ่านทุกชอ่ งทางของส่วนราชการ เชน่
แผน่ พบั เวป็ ไซต์ของหน่วยงาน Facebook fanpage วทิ ยุ
ด้ำนพืช : สำนกั งำนเกษตรจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
1.1 สารวจและเฝ้าระวังสถานการณภ์ ยั แล้งดา้ นพืชในพ้ืนท่ีจังหวดั
สพุ รรณบรุ ี
1.2 ประชาสมั พนั ธแ์ ละสง่ เสริมการปลูกใช้น้านอ้ ย
1.3 สารวจและรายงานคาดการณพ์ ื้นทีท่ างการเกษตรท่ีไดร้ ับ
มอบหมาย
ดำ้ นพชื : ศูนยว์ ิจยั พืชไรส่ พุ รรณบรุ ี
1.1 แจ้งเตือนภยั พิบตั ิดา้ นการเกษตร (ด้านพืช)
ด้ำนพชื : สำนักงำนเศรษฐกจิ กำรเกษตรที่ 7 10 อาเภอ
1.1 ประชาสมั พันธ์ให้เกษตรกรตดิ ตามสถานการณ์ดา้ นการเกษตร
9 อาเภอ ยกเวน้
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง อาเภอด่านช้าง
1.2 แจ้งเตอื นภัยแล้ง โรคระบาดและแมลงศัตรูพชื ผา่ นเวบ็ ไซต์
- http://zone7.oae.go.th
- http://www.facebookcom/สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 7
- เศรษฐกจิ การเกษตรอาสา (ศกอ.)
ด้ำนพืช : สถำบนั วิทยำศำสตร์ขำ้ วแห่งชำติ
1.1 ประชาสมั พันธใ์ ห้กล่มุ เกษตรกรนาแปลงใหญ่และศูนยข์ า้ วชมุ ชน
ในพน้ื ที่จังหวดั สุพรรณบุรี ให้ระวงั การปลกู ข้าวในฤดูแลง้
1.2 ประชาสมั พันธ์ใหก้ ลมุ่ เกษตรกรนาแปลงใหญ่และศูนย์ขา้ วชมุ ชน
ในพืน้ ท่จี ังหวัดสุพรรณบรุ ี ทมี่ แี หลง่ น้าทานาในฤดูแล้งให้ทานา
แบบเปยี กสลบั แห้งหรือปลูกพชื อนื่ หลงั ทานา
กำรยำงแห่งประเทศไทย จังหวดั อุทยั ธำนี 5 อาเภอ
1.1 ประชาสมั พันธเ์ รอ่ื งการดแู ลสวนยางในช่วงฤดูแลง้
1.2 ประชาสมั พันธเ์ งินช่วยเหลอื เกษตรกรชาวสวนยาง ตามมาตรา
59 (5)
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั สุพรรณบุรี เป้ำหมำย 127
แผนงำน 10 อาเภอ งบประมำณ
ด้ำนปศุสตั ว์ : สำนักงำนปศสุ ัตวจ์ ังหวัดสพุ รรณบรุ ี 10 อาเภอ
1.1 ปรับปรุงทะเบยี นเกษตรกรผเู้ ลยี้ งสัตว์ในระบบฐานขอ้ มลู
8 อาเภอ
เกษตรกรผู้เลี้ยงสตั ว์ทกุ ราย (ฐปศ.) ใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ัน
1.2 จดั ทาแผนสรา้ งการรบั รู้ ประชาสมั พนั ธ์ให้เกษตรกร 10 อาเภอ
10 อาเภอ
ผ้เู ลย้ี งสตั ว์ รจู้ ักเตรียมความพร้อมรบั สถานการณภ์ ยั พิบัติ ดงั น้ี
- การสารองนา้ ใชเ้ พ่ือใชใ้ นการเลย้ี งสัตว์ -
- การปลูกและการใชป้ ระโยชนจ์ ากพชื อาหารสตั ว์ -
- การเฝา้ ระวังและตดิ ตามสถานการณ์เพอื่ ปอ้ งกันโรคระบาดสัตว์ 43 เครื่อง
- การสารองเสบยี งสตั ว์ เชน่ หญ้าแหง้ , หญา้ หมกั -
- การสารองเวชภัณฑ์ยาเพือ่ ใชร้ กั ษาสตั วใ์ นช่วงเกิดภยั -
- การชะลอการนาสตั ว์เขา้ เลย้ี งใหม่ก่อนเข้าช่วงฤดูกาลท่ีมคี วามเสี่ยง -
6 คัน
ด้ำนประมง : สำนักงำนประมงจงั หวดั สุพรรณบุรี 4 คัน
1.1 ตดิ ตามสถานการณ์นา้ ทงั้ ในและนอกเขตชลประทาน
1.2 ประชาสมั พันธท์ ุกช่องทาง มีการแจง้ เตือน สรา้ งการรบั รู้ วาง
แผนการเล้ียงให้เหมาะสมกบั ฤดแู ลง้ เพ่ือลดความเสยี่ ง
1.3 ปรับลดความหนาแน่นของสตั ว์น้าในบอ่ เล้ียงและกระชงั
1.4 ลดปริมาณอาหารสัตว์นา้ ลง โดยเฉพาะอย่างย่งิ ทเ่ี ปน็ อาหารสด
เพ่อื ปอ้ งกนั น้าเน่าเสยี
1.5 จับสตั วน์ า้ ทไ่ี ด้ขนาดมาจาหนา่ ยหรือบรโิ ภค เพอ่ื ลดปรมิ าณ
สตั วน์ ้าภายในบอ่
1.6 ควรมกี ารวางแผนการเลยี้ ง หรืองดเวน้ การเลย้ี งในชว่ งดังกล่าว
สำนักงำนกำรปฏิรูปที่ดนิ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
1.1 สร้างการรับรสู้ ถานการณแ์ ละวิธีลดผลกระทบจากภยั แล้งแก่
เกษตรกรในพื้นที่
1.2 ปรับปรุงข้อมลู เกษตรกรในเขตปฏริ ูปทดี่ ินให้เปน็ ปัจจุบนั
1.3 แนะนาใหเ้ กษตรกรชะลอหรอื ปรบั เปลยี่ นการปลูกพชื ใช้น้าน้อย
สถำนพี ัฒนำทด่ี ินสพุ รรณบรุ ี
1.1 การจัดระบบอนรุ กั ษด์ ินและน้าในพืน้ ที่เสย่ี งภยั ทางการเกษตร
ด้ำนบรหิ ำรจดั กำร: สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
1.1 ประชาสมั พันธ์เตือนเกษตรกรใหใ้ ช้นา้ อย่างประหยดั และรูค้ ณุ คา่
2. กำรเตรียมควำมพร้อม
ด้ำนชลประทำน : โครงกำรชลประทำนสุพรรณบรุ ี
2.1 การเตรยี มความพรอ้ มเครื่องมอื อปุ กรณต์ า่ งๆ ไดแ้ ก่
- เคร่ืองสูบนา้
- รถสูบน้า
- รถขุด
- เรอื ขุดวชั พชื
- รถแทรกเตอร์
- รถยนต์บรรทุกนา้
128 รำยงำนประจำปี 2565
แผนงำน เปำ้ หมำย งบประมำณ
ดำ้ นพชื : สำนักงำนเกษตรจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี 10 อาเภอ
2.1 จดั เตรียมเจา้ หนา้ ทอี่ าเภอ จงั หวดั เพ่อื คอยแนะนาแก่เกษตรกร 90 กล่มุ ใน 9 อาเภอ
2.2 ประเมินและเตรยี มความพร้อมในการเฝ้าระวังสถานการณภ์ ยั แล้ง ยกเว้นอาเภอดา่ นช้าง
ด้ำนพืช : สถำบนั วิทยำศำสตรข์ ้ำวแหง่ ชำติ 10 อาเภอ
2.1 ทาความเขา้ ใจกับเจา้ หนา้ ทใี่ นสถาบันฯ ท่รี บั ผิดชอบโครงการ
นาแปลงใหญแ่ ละศูนย์ข้าวชุมชนและผูท้ ไี่ ดพ้ บปะเกษตรกร
ใหป้ ระชาสัมพนั ธ์การเฝ้าระวังในการปลกู ข้าวในฤดูแลง้ /การ
ทานาแบบเปียกสลับแหง้ และการปลกู พืชอน่ื หลงั การทานา
ดำ้ นปศุสตั ว์ : สำนักงำนปศสุ ัตวจ์ ังหวดั สพุ รรณบรุ ี
2.1 ซกั ซอ้ มแผนปฏิบตั ิการภยั แลง้ สร้างการรับรู้ เฝา้ ระวังและ
ประชาสมั พันธก์ ารเตรยี มพร้อมรบั มอื แกป้ ัญหาภยั แลง้ ดา้ น
ปศุสัตว์
2.2 จดั ต้ังหน่วยปฏบิ ตั ิการเคล่อื นท่ี เตรียมความพร้อมบคุ ลากร
ยานพาหนะ เครือ่ งมอื อุปกรณ์
2.3 จดั เตรยี มเสบยี งสตั ว์และเวชภัณฑ์ สาหรบั เตรียมพรอ้ มให้
ความช่วยเหลือเกษตรกรเมือ่ เกดิ ภยั
ด้ำนประมง : สำนักงำนประมงจงั หวัดสุพรรณบรุ ี 10 อาเภอ
2.1 เฝ้าระวงั โรคสตั วน์ า้
2.2 เตรยี มเครือ่ งมอื อุปกรณ์
2.3 ควรหมนั่ ตรวจสุขภาพสตั ว์นา้ อยา่ งสมา่ เสมอ
2.4 จดั เตรียมแหลง่ นา้ สารองไว้ใชเ้ พม่ิ เติม
สำนกั งำนกำรปฏิรูปทีด่ ินจังหวดั สพุ รรณบรุ ี 8 อาเภอ
2.1 ออกศูนย์บรกิ ารประชาชนเคล่อื นที่ (Mobile Unit) พ้นื ที่นอกเขตชลประทาน
2.2 ประสานงานผู้แทนเกษตรกรในเขตปฏิรปู ทดี่ ิน คปจ.และ อส
ปก. เพื่อแจ้งเกษตรกรในพ้นื ทป่ี ระสบภยั แล้งทราบแนวทางการ
ใหค้ วามชว่ ยเหลอื จากภาครฐั
สถำนีพฒั นำท่ีดินสพุ รรณบรุ ี
2.1 กอ่ สร้างแหลง่ น้าในไร่นานอกเขตชลประทานขนาด 1,260 ลบ.ม.
กำรยำงแหง่ ประเทศไทยจงั หวัดอทุ ยั ธำนี 5 อาเภอ
2.1 จดั ตั้งกลมุ่ ไลนต์ วั แทนเครือขา่ ยเกษตรกรชาวสวนยางจงั หวัด
สุพรรณบุรี เพ่ือใชใ้ นการประชาสมั พันธ์และตดิ ต่อเจา้ หนา้ ที่
เมอื่ เกดิ เหตุ
ด้ำนกำรบรหิ ำรจดั กำร : สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวัด 10 อาเภอ
สุพรรณบรุ ี
2.1 การประเมนิ แนวโนม้ ขอ้ พพิ าทปญั หาการแยง่ น้า
2.2 การประเมนิ การข่าว
2.3 การรายงานสภาวะวกิ ฤติและการเขา้ สกู่ ารเผชญิ เหตุ
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดสุพรรณบุรี 129
แผนงำน เป้ำหมำย งบประมำณ
3. กำรเผชญิ เหตุ 10 อาเภอ
10 อาเภอ
ด้ำนชลประทำน : โครงกำรชลประทำนสุพรรณบรุ ี 90 กล่มุ ใน 9 อาเภอ
3.1 การสนับสนนุ เฉพาะหนา้ ยกเว้นอาเภอดา่ นชา้ ง
- สนบั สนุนนา้ เพอื่ การอุปโภคบรโิ ภค รักษาระบบนเิ วศน์ 10 อาเภอ
การเกษตร
- สนบั สนุนเสบียงสตั ว์และเวชภัณฑ์ 10 อาเภอ
8 อาเภอ
ดำ้ นพชื : สำนกั งำนเกษตรจงั หวดั สุพรรณบรุ ี พน้ื ทท่ี ี่ได้รับผลกระทบ
3.1 รบั แจ้งและรายงานเหตเุ กษตรกรผปู้ ระสบภยั แลง้ เบ้ืองต้น
3.2 ดาเนินการช่วยเหลอื เกษตรกรผูป้ ระสบภัยพิบตั ติ ามหลกั เกณฑ์
ด้ำนพชื : สถำบันวทิ ยำศำสตร์ข้ำวแหง่ ชำติ
3.1 ใหเ้ จา้ หน้าที่สารวจความเสยี หายในกลุ่มนาแปลงใหญแ่ ละศูนย์
ขา้ วชมุ ชน และประสานงานกบั เกษตรจังหวดั เพ่ือให้การ
ชว่ ยเหลือตามหลักเกณฑต์ อ่ ไป
ด้ำนปศสุ ตั ว์ : สำนกั งำนปศสุ ตั วจ์ ังหวัดสพุ รรณบรุ ี
3.1 รบั แจง้ เหตเุ กษตรกรผู้ประสบภัยแลง้ พรอ้ มออกตรวจสอบความ
เสียหายสน้ิ เชิงและช่วยเหลอื ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั
3.2 จดั ตงั้ หนว่ ยเฉพาะกิจในการใหค้ วามชว่ ยเหลือเกษตรกร
ผู้ประสบภยั ดา้ นการรกั ษาพยาบาลสตั ว์ใหค้ าแนะนาเกษตรกร
ในการดูแลสขุ ภาพสตั ว์
3.3 ประสานศนู ย์วิจยั และพัฒนาอาหารสตั ว์สุพรรณบรุ ี สนบั สนุน
เสบียงอาหารสตั วเ์ พื่อชว่ ยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย โดย
สานกั งานปศสุ ตั ว์จงั หวดั สพุ รรณบรุ ีไดร้ บั จัดสรรเสบียงอาหาร
สตั วใ์ นปีงบประมาณ 2564 จานวน 37,900 กโิ ลกรัม
(ตลอดปีงบประมาณ) หรอื หากไมเ่ พียงพอต่อการใหค้ วาม
ชว่ ยเหลอื สามารถขออนมุ ัตเิ พิ่มเตมิ จากปศสุ ตั วเ์ ขต 7 หรือ
กรมปศสุ ตั วไ์ ด้
ด้ำนประมง : สำนักงำนประมงจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
3.1 การสง่ กาลงั บารุง
3.2 การเจรจาไกลเ่ กล่ียขอ้ พพิ าท
สำนักงำนกำรปฏิรูปทดี่ นิ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
3.1 สารวจความเสียหายท่เี กษตรกรไดร้ ับผลกระทบ
เพื่อเสนอแกส่ านกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดและ
หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง
3.2 ประสานหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งเพ่อื ขอรับความชว่ ยเหลือ
สถำนีพัฒนำทีด่ ินสพุ รรณบุรี
3.1 รับแจ้งและรายงานเหตุเกษตรกรทไี่ ดร้ บั ผลกระทบ
3.2 ลงพื้นทีเ่ พื่อสารวจตามท่ีไดร้ บั แจ้งและให้ความช่วยเหลือฟนื้ ฟู
เกษตรกร
130 รำยงำนประจำปี 2565
แผนงำน เป้ำหมำย งบประมำณ
กำรยำงแห่งประเทศไทย จังหวดั อทุ ยั ธำนี 5 อาเภอ
3.1 รบั แจ้งข้อมลู ความเสยี หาย 10 อาเภอ
3.2 ลงพนื้ ท่ีตรวจสอบความเสียหายตามทไี่ ดร้ บั แจ้ง พรอ้ มทัง้ ถา่ ยรปู
10 อาเภอ
และจดั เกบ็ ข้อมลู เพ่อื ใช้ในการจา่ ยเงินช่วยเหลือเกษตรกร 10 อาเภอ
ชาวสวนยาง ตามมาตรา 49 (5) รายละ 30,000 บาท 10 อาเภอ
พนื้ ทปี่ ระสบภยั
ด้ำนกำรบริหำรจัดกำร : สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จังหวดั พื้นที่ประสบภยั
สพุ รรณบรุ ี 8 อาเภอ
3.1 การเจรจาไกล่เกลี่ยขอ้ พิพาท
3.2 การปฏบิ ตั ิการข่าวสาร
4. กำรฟน้ื ฟูให้ดกี วำ่ เดิม
ด้ำนชลประทำน : สำนักงำนชลประทำนสุพรรณบุรี
4.1 มาตรการฟ้ืนฟพู น้ื ท่ีการเกษตรท่ปี ระสบภยั แลง้
- การบูรณาการวางแผนการฟ้ืนฟูใหก้ ับผปู้ ระสบภยั แล้งตาม
ระเบียบทเ่ี กีย่ วขอ้ งของภาคส่วนตา่ งๆ
ดำ้ นพืช : สำนกั งำนเกษตรจงั หวดั สุพรรณบรุ ี
4.1 ช่วยเหลอื ฟนื้ ฟู เยยี วยาเกษตรกรทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากภัยแลง้
4.2 โครงการผลติ พชื พนั ธ์ุดีเพื่อสารองในกรณีช่วยเหลอื เกษตรกร
ผปู้ ระสบภยั เดือนธันวาคม 2564 – มกราคม 2565
ด้ำนพชื : สถำบนั วิทยำศำสตรข์ ำ้ วแหง่ ชำติ
4.1 รว่ มชว่ ยเหลอื ฟนื้ ฟู เยยี วยาเกษตรกรท่ไี ด้รับผลกระทบ
จากภัยแลง้
ด้ำนปศุสัตว์ : สำนกั งำนปศุสตั ว์จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
4.1 ชว่ ยเหลือ ฟืน้ ฟู ปรบั ระบบการเลยี้ งสัตว์ ตลอดจนถงึ การ
ตรวจสอบดูแลสขุ ภาพสัตว์ภายหลงั การเกดิ ภยั
4.2 ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ดา้ นการฟ้ืนฟูอาชีพเกษตรกร โดยดาเนินการ
ตามนโยบายของรฐั บาล
4.3 สนับสนนุ ทอ่ นพันธ/ุ์ เมลด็ พนั ธุ์พชื อาหารสตั ว์แก่เกษตรกรท่ี
ต้องการปลูกพชื อาหารสัตว์ท่ีไดร้ บั ความเสยี หายจากภัยแลง้
ด้ำนประมง : สำนกั งำนประมงจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
4.1 การช่วยเหลอื เกษตรกรตามระเบียบกระทรวงการคลงั
สำนกั งำนกำรปฏริ ปู ทีด่ นิ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
4.1 การลดภาระหนส้ี นิ เกษตรกร สาหรบั ลูกหนท้ี ี่มีหน้ีค้างชาระ
- ผอ่ นผนั หรือขยายเวลาการจดั เกบ็ คา่ เชา่ ซื้อทีด่ นิ
- การผอ่ นผันหรือขยายเวลาระยะหนีเ้ งินกู้
- การลดหรืองดเก็บดอกเบ้ียเงนิ กู้
- การลดหรอื งดเว้นเกบ็ ค่าเช่าท่ีดนิ
4.2 การสนบั สนุนสินเชือ่ ดอกเบ้ยี ตา่ สาหรบั ลกู หน้ีท่ีไม่มหี นีค้ า้ งชาระ
4.3 พัฒนาแหล่งกกั เก็บนา้ และระบบกระจายน้า ระบบโซล่าเซลล์
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั สพุ รรณบุรี เปำ้ หมำย 131
แผนงำน 10 อาเภอ งบประมำณ
สถำนีพัฒนำที่ดินสพุ รรณบรุ ี 5 อาเภอ 10,000 บาท
4.1 การบูรณาการวางแผนการฟนื้ ฟูให้กบั ผ้ปู ระสบภัยแล้งตาม (งบติดตาม)
ระเบยี บทเ่ี กีย่ วข้องของภาคส่วนตา่ งๆ 10 อาเภอ
กำรยำงแหง่ ประเทศไทย จังหวดั อุทยั ธำนี
4.1 ตดิ ตามให้คาแนะนาแกเ่ กษตรกรชาวสวนยางในการดแู ลรักษา
สภาพสวนยาง
4.2 หากเสยี หายจนไม่เหลือสภาพสวนยางสามารถขอรบั เงนิ
สนับสนุนใหม้ ีการปลูกทดแทน ไรล่ ะ 16,000 บาท ทง้ั น้ี
จะต้องเปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ี่ กยท. กาหนด
ด้ำนบรหิ ำรจดั กำร : สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัด
สพุ รรณบรุ ี
4.1 การถอดบทเรยี นและทบทวนแผน
3.13 คณะกรรมกำรใหค้ วำมชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั พิบตั จิ งั หวัดสพุ รรณบุรี (ก.ช.ภ.จ.)
1. อทุ กภัย
จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ได้ประกาศเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัย และเขตการให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภัย
พิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) ในพ้ืนที่ 10 อาเภอ 95 ตาบล 737 หมู่บ้าน 2 เทศบาล 22 ชุมชน 51,789
ครัวเรือน 152,316 ราย ภัยเกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2565 และปัจจุบันภัยยังไม่ยุติ (ข้อมูล ณ วันท่ี 4
พฤศจิกายน 2565)
ท่ี อำเภอ ตำบล หมบู่ ำ้ น กรณี ประกำศ/ลงวนั ท่ี
1 สองพี่นอ้ ง อทุ กภยั ประกาศภัย
สองพนี่ ้อง เขตเทศบาลเมอื งสองพ่ีน้อง ฉบับที่ 1
อทุ กภัย 15 กนั ยายน 65
1. ชมุ ชนไผห่ มู่ (เกดิ ภยั 14 ก.ย. 65)
2. ชุมชนบางใหญ่ ประกาศภยั
(เพิม่ เตมิ ) ฉบับที่ 3
3. ชุมชนสะพานโคง้ 4 ตลุ าคม 65
(เกิดภยั 20 ก.ย. 65)
4. ชุมชนสองพ่ีนอ้ ง
5. ชุมชนนายจาง
6. ชุมชนอาเภอเกา่
รวม 1 เทศบาล 6 ชมุ ชน
บ้านชา้ ง 1, 2
บางตะเคียน 1, 3-5, 7-8
ทงุ่ คอก 3, 5-6, 8-15
บางเลน 1-7
บางตาเถร 1-4, 12, 14-15, 17
หวั โพธิ์ 1-14
หนองบ่อ 1-9
รวม 7 ตาบล 57 หมู่บา้ น
132 รำยงำนประจำปี 2565
ที่ อำเภอ ตำบล หมู่บำ้ น กรณี ประกำศ/ลงวนั ท่ี
อุทกภยั
2 ด่านช้าง ต้นตาล 1-6 ประกาศภัย
3 หนองหญา้ ไซ เนนิ พระปรางค์ 1-5 (เพม่ิ เติม) ฉบับท่ี 4
บางพลับ 1-7 10 ตลุ าคม 65
ดอนมะนาว 1-7 (เกดิ ภยั 5, 8 ต.ค. 65)
ศรสี าราญ 1-3,5-6,11-12,14
บางตะเคียน 2,6
บ้านกมุ่ 1-6
ทงุ่ คอก 1-2,4,7,16
รวม 8 ตาบล 46 หมู่บา้ น
บ่อสพุ รรณ 1-18 อทุ กภยั ประกาศภัย
(เพิม่ เติม) ฉบับท่ี 5
ศรสี าราญ 4, 7-10, 13 อุทกภยั 19 ตลุ าคม 65
(เกดิ ภัย 10 ต.ค. 65)
รวม 2 ตาบล 24 หม่บู า้ น อทุ กภยั
(น้าป่าไหล ประกาศภยั
บ้านชา้ ง 3-5 หลาก) (เพม่ิ เตมิ ) ฉบับที่ 6
27 ตลุ าคม 65
รวม 1 ตาบล 3 หมบู่ า้ น (เกิดภัย 16 ต.ค. 65)
หนองมะค่าโมง 7-8, 10-11, 13, 15, ประกาศภัย
ฉบบั ท่ี 2
17-21 27 กนั ยายน 65
(เกิดภัย 9 ก.ย. 65)
ดา่ นช้าง 7, 10-11
รวม 2 ตาบล 14 หมบู่ า้ น อุทกภัย ประกาศภยั
อทุ กภัย (เพิ่มเตมิ ) ฉบบั ที่ 4
หนองมะค่าโมง 1-4, 6-21 10 ตลุ าคม 65
วงั คนั 4, 7 (เกิดภัย 1, 6 ต.ค. 65)
รวม 2 ตาบล 22 หมบู่ า้ น ประกาศภัย
ฉบับที่ 3
หนองหญ้าไซ 1-13 29 กันยายน 65
หนองราชวัตร 1-8 (เกิดภยั 14 ก.ย. 65)
รวม 2 ตาบล 21 หมู่บา้ น
ทพั หลวง 1-12 อุทกภยั ประกาศภัย
(เพิ่มเติม) ฉบบั ที่ 5
หนองโพธิ์ 1-14 19 ตลุ าคม 65
(เกิดภัย 12 ต.ค. 65)
แจงงาม 1-8
รวม 3 ตาบล 34 หมบู่ า้ น
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี 133
ท่ี อำเภอ ตำบล หมบู่ ้ำน กรณี ประกำศ/ลงวันที่
4 เดิมบางนางบวช อทุ กภยั
หนองกระทุ่ม 1-9 ประกาศภัย
หัวนา 1-3, 5-7 อทุ กภยั ฉบับท่ี 3
บอ่ กรุ 1-5, 7 29 กนั ยายน 65
อุทกภยั (เกดิ ภยั 14,17,19
รวม 3 ตาบล 21 หม่บู า้ น ก.ย. 65)
โคกช้าง 1-10 ประกาศภัย
(เพม่ิ เตมิ ) ฉบบั ที่ 4
หวั เขา 5, 12 10 ตลุ าคม 65
(เกิดภยั 3,7,10 ต.ค.
ท่งุ คลี 1-2, 4-6 65)
รวม 3 ตาบล 17 หมู่บา้ น ประกาศภัย
(เพ่ิมเติม) ฉบับท่ี 5
เขาพระ 1-2, 4, 7, 10 19 ตลุ าคม 65
(เกดิ ภัย 10 ต.ค. 65)
นางบวช 1-2, 4-5
รวม 2 ตาบล 9 หม่บู า้ น
ปากน้า 1-7 อุทกภยั ประกาศภัย
(เพม่ิ เติม) ฉบบั ที่ 6
นางบวช 3, 6-7, 9-10 27 ตลุ าคม 65
(เกิดภัย 14 ต.ค. 65)
เดิมบาง 1-2, 4-6, 8, 10-11
รวม 3 ตาบล 20 หมู่บา้ น
5 บางปลามา้ บ้านแหลม 2, 4 อทุ กภัย ประกาศภยั
ฉบับที่ 3
บางใหญ่ 1-3, 8 29 กนั ยายน 65
(เกิดภัย 19 ก.ย. 65)
ตะค่า 1-9
กฤษณา 1
บางปลามา้ 1, 4, 8-9
รวม 5 ตาบล 20 หมบู่ า้ น
โคกคราม 1-12 อทุ กภยั ประกาศภัย
อทุ กภยั (เพมิ่ เตมิ ) ฉบบั ท่ี 3
บางปลามา้ 2-3, 5-7, 10-12 4 ตลุ าคม 65
(เกิดภัย 20 ก.ย. 65)
รวม 2 ตาบล 20 หมู่บา้ น
ประกาศภยั
จรเขใ้ หญ่ 1-9 (เพม่ิ เตมิ ) ฉบบั ที่ 4
10 ตลุ าคม 65
สาลี 1-8 (เกดิ ภัย 26 ก.ย. 65,
6 ต.ค. 65)
วังน้าเยน็ 1, 3, 6-7
วัดโบสถ์ 1-11
บ้านแหลม 1, 3, 5
องครกั ษ์ 2-6
ไผก่ องดิน 3-4
รวม 6 ตาบล 42 หมบู่ า้ น
134 รำยงำนประจำปี 2565
ที่ อำเภอ ตำบล หม่บู ้ำน กรณี ประกำศ/ลงวนั ท่ี
6 สามชุก อุทกภัย
มะขามล้ม 1-14 ประกาศภยั
(เพม่ิ เติม) ฉบับที่ 5
กฤษณา 2-7 19 ตลุ าคม 65
(เกดิ ภยั 10,17 ต.ค.
บางใหญ่ 4-7 65)
วัดดาว 1-10
องคร์ ักษ์ 1, 7
ไผ่กองดิน 1-2, 5-8
วงั นา้ เย็น 2, 4-5
รวม 7 ตาบล 45 หมบู่ า้ น
บ้านสระ 3, 8-9 อุทกภัย ประกาศภัย
อทุ กภยั ฉบับที่ 3
รวม 1 ตาบล 3 หมู่บา้ น อุทกภยั 29 กนั ยายน 65
อทุ กภัย (เกิดภัย 22 ก.ย. 65)
กระเสียว 3, 5, 8 อทุ กภยั
อทุ กภัย ประกาศภัย
รวม 1 ตาบล 3 หมู่บา้ น (เพิม่ เติม) ฉบับที่ 3
4 ตุลาคม 65
บ้านสระ 1-2, 4-7, 10 (เกิดภยั 28 ก.ย. 65)
กระเสียว 1-2, 4, 6-7, 9-10 ประกาศภัย
(เพิม่ เตมิ ) ฉบบั ท่ี 4
ย่านยาว 1-3, 5-9 10 ตลุ าคม 65
(เกดิ ภยั 6 ต.ค. 65)
หนองผักนาก 1
ประกาศภัย
รวม 4 ตาบล 23 หมบู่ า้ น (เพ่ิมเติม) ฉบับท่ี 5
19 ตลุ าคม 65
วงั ลึก 1, 5, 8-10, 14 (เกิดภัย 11 ต.ค. 65)
สามชุก 1-6 ประกาศภัย
(เพ่ิมเติม) ฉบับที่ 6
ยา่ นยาว 4 27 ตลุ าคม 65
รวม 3 ตาบล 13 หมู่บา้ น (เกิดภัย 14,17 ต.ค. 65)
หนองผกั นาก 2-8 ประกาศภยั
วังลกึ 6-7, 11, 13, 15 ฉบบั ท่ี 3
29 กนั ยายน 65
รวม 2 ตาบล 12 หมู่บา้ น (เกิดภยั 14 ก.ย. 65)
7 เมืองสุพรรณบรุ ี ทับตเี หลก็ 1-3
บางกุ้ง 1-4
โพธ์พิ ระยา 1,7
ท่าระหดั 1-3, 5
พิหารแดง 1, 3, 5
สนามคลี 3-5
ร้ัวใหญ่ 1-4, 6
สนามชัย 1, 3-4
รวม 8 ตาบล 27 หมูบ่ า้ น
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั สุพรรณบรุ ี 135
ท่ี อำเภอ ตำบล หมู่บ้ำน กรณี ประกำศ/ลงวันท่ี
เมอื งสุพรรณบรุ ี เทศบาลเมืองสพุ รรณบรุ ี อุทกภยั ประกาศภัย
ชมุ ชนวัดปา่ เลไลก์ (เพม่ิ เติม) ฉบบั ท่ี 3
ดอนกายาน ชมุ ชนคเู มืองสพุ รรณบุรี 4 ตุลาคม 65
ศาลาขาว ชุมชนวัดพระศรรี ตั นมหาธาตุ (เกดิ ภยั 14 ก.ย. 65)
สวนแตง ชมุ ชนวัดประตสู าร
ชุมชนวัดพระรูป
ชมุ ชนวัดศรบี วั บาน
ชุมชนวัดหอยโข่ง
ชมุ ชนวัดโพธ์ิคลาน
ชุมชนวดั ไชนาวาส
ชุมชนวัดสวุ รรณภมู ิ
ชมุ ชนตลาดใหม่
ชมุ ชนพระพนั วษา
ชุมชนวัดปราสาททอง
ชุมชนวดั ไทรย์
ชมุ ชนสมาคมจีน
ชมุ ชนเณรแกว้
1-9
1-2, 7
4
รวม 1 เทศบาล 16 ชุมชน 3 ตาบล 13 หมู่บา้ น
ไผ่ขวาง 1-6 อุทกภัย ประกาศภยั
อุทกภยั (เพ่มิ เตมิ ) ฉบบั ที่ 4
ทบั ตีเหล็ก 5 10 ตลุ าคม 65
(เกิดภัย 3,10 ต.ค. 65)
ตลง่ิ ชัน 2, 5
ประกาศภัย
โคกโคเฒา่ 1-4 (เพิ่มเตมิ ) ฉบบั ท่ี 5
19 ตลุ าคม 65
สนามคลี 1 (เกดิ ภัย 10 ต.ค. 65)
ทา่ ระหดั 4 ประกาศภยั
(เพ่ิมเติม) ฉบบั ที่ 6
บ้านโพธ์ิ 1-9 27 ตลุ าคม 65
(เกิดภัย 17 ต.ค. 65)
พิหารแดง 2, 4, 6
สวนแตง 1-3, 5-9
ดอนโพธ์ทิ อง 1-6
ดอนตาล 1-5
รวม 11 ตาบล 46 หมบู่ า้ น
สระแก้ว 1-9
ตลงิ่ ชัน 1
โพธ์พิ ระยา 3, 6
รวม 3 ตาบล 12 หมบู่ า้ น
โพธิ์พระยา 4 อุทกภัย
สนามคลี 2
ศาลาขาว 3-6, 8-9
รวม 3 ตาบล 8 หมบู่ ้าน
136 รำยงำนประจำปี 2565
ที่ อำเภอ ตำบล หมบู่ ำ้ น กรณี ประกำศ/ลงวันท่ี
8 ดอนเจดยี ์ อทุ กภยั
ดอนเจดยี ์ 1-2, 4-6, 8-9 ประกาศภัย
(เพมิ่ เติม) ฉบับที่ 4
หนองสาหร่าย 4, 6, 9 10 ตลุ าคม 65
(เกดิ ภัย 3 ต.ค. 65)
ไรร่ ถ 9
สระกระโจม 1, 3-7, 9
ทะเลบก 2-7, 9-11
รวม 5 ตาบล 26 หมูบ่ า้ น
หนองสาหรา่ ย 7 อุทกภัย ประกาศภัย
อทุ กภยั (เพิม่ เติม) ฉบับที่ 5
ไร่รถ 1, 5 อทุ กภยั 19 ตลุ าคม 65
(เกิดภยั 3 ต.ค. 65)
รวม 2 ตาบล 3 หมู่บ้าน
ประกาศภยั
ทะเลบก 1, 12 (เพ่ิมเตมิ ) ฉบบั ท่ี 6
27 ตลุ าคม 65
รวม 1 ตาบล 2 หมูบ่ ้าน (เกิดภัย 3 ต.ค. 65)
9 อู่ทอง หนองโอง่ 1-2, 6-7, 10, 14 ประกาศภยั
(เพิ่มเตมิ ) ฉบบั ท่ี 5
อทู่ อง 1-7, 12 19 ตลุ าคม 65
(เกดิ ภัย 4 ต.ค. 65)
เจดยี ์ 1-8
กระจัน 1-10
ยงุ้ ทะลาย 1-7
จรเขส้ ามพัน 1-4, 7, 10
สระพังลาน 2-3, 9
ดอนมะเกลอื 1-12
พลับพลาไชย 1, 5-6, 10-13
ดอนคา 7, 11, 13-15
บ้านดอน 1-9
รวม 11 ตาบล 81 หมู่บ้าน
10 ศรปี ระจนั ต์ วังน้าซับ 1-7 อทุ กภัย ประกาศภยั
(เพม่ิ เติม) ฉบับท่ี 5
บ้านกร่าง 1-6 19 ตลุ าคม 65
(เกดิ ภัย 9 ต.ค. 65)
มดแดง 1-7
วังยาง 1-9
วงั หวา้ 1-7
ดอนปรู 1-9
ศรปี ระจนั ต์ 1-6
บางงาม 1-6
ปลายนา 1-7
รวม 9 ตาบล 64 หมูบ่ า้ น
รวม 10 อำเภอ 2 เทศบำล 22 ชุมชน 95 ตำบล 737 หม่บู ้ำน
รวมประกำศพนื้ ท่ีประสบสำธำรณภยั (อุทกภัย) รวม 6 ฉบับ อุทกภัย (น้ำไหลหลำก) 1 ฉบับ
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สพุ รรณบุรี 137
จังหวัดสุพรรณบุรี มีพื้นท่ีการเกษตรประสบสาธารณภัยรายงานความเสียหายเบ้ืองต้น จานวน
49,494.9 ไร่ เกษตรกร 8,297 ราย (อยรู่ ะหวา่ งการสารวจ ข้อมลู ณ 14 พฤศจกิ ายน 2565) โดยแยกเปน็
แต่ละด้านดังนี้
- ด้านพืช รายงานความเสียหายเบื้องต้น จานวน 10 อาเภอ 70 ตาบล 367 หมู่บ้าน ได้แก่ อาเภอ
สองพ่ีน้อง อาเภอด่านช้าง อาเภอหนองหญ้าไซ อาเภอสามชุก อาเภอเดิมบางนางบวช อาเภอบางปลาม้า
อาเภอเมืองสุพรรณบุรี อาเภอศรีประจันต์ อาเภอดอนเจดีย์ และอาเภออู่ทอง เกษตรกร 3,701 ราย
พ้ืนท่ีประสบภัย 38,405 ไร่ พื้นท่ีคาดว่าจะเสียหาย 35,442 ไร่ (ข้าว 20,770.50 ไร่ พืชไร่และพืชสวน
12,115.25 ไร่ ไม้ผลไมย้ นื ต้น และอน่ื ๆ 2,556.25 ไร)่ (ท่ีมา : สนง.กษจ.สพ.)
- ด้านประมง การสารวจความเสียหายขณะน้ีมีพ้ืนท่ีได้รับความเสียหายทั้งหมด 9 อาเภอ เกษตรกร
1,419 ราย พื้นที่ความเสียหายทั้งหมด 8,952.90 ไร่ ได้แก่ อาเภอสองพี่น้อง เกษตรกร 209 ราย อาเภอ
เมอื งสุพรรณบุรี เกษตรกร 113 ราย อาเภอเดิมบางนางบวช เกษตรกร 16 ราย อาเภอศรปี ระจันต์ เกษตรกร
5 ราย อาเภอบางปลาม้า เกษตรกร 944 ราย อาเภอสามชุก เกษตรกร 13 ราย อาเภอดอนเจดีย์ เกษตรกร
2 ราย อาเภอหนองหญ้าไซ เกษตรกร 1 ราย และอาเภออทู่ อง เกษตรกร 116 ราย (ทีม่ า : สนง.ปมจ.สพ.)
- ด้านปศุสัตว์ ยังไม่ได้รับรายงานความเสียหายในพื้นท่ี แต่มีจานวนสัตว์ในพื้นที่ประสบภัย 5 อาเภอ
57 ตาบล 419 หมู่บ้าน เกษตรกร 3,177 ราย จานวนสัตว์ในพื้นที่ประสบภัย 1,727,391 ตัว แปลงหญ้า
2,137 ไร่ ได้แก่ อาเภอเดิมบางนางบวช เกษตรกร 1,577 ราย จานวนสัตว์ในพ้นื ทป่ี ระสบภยั 352,385 ตัว
แปลงหญ้า 255 ไร่ อาเภอสองพี่น้อง เกษตรกร 2,137 จานวนสัตว์ในพื้นท่ีประสบภัย 2,193,799 ตัว
แปลงหญ้า 54 ไร่ อาเภอบางปลาม้าเกษตรกร 1,978 ราย จานวนสัตว์ในพ้ืนที่ประสบภัย 3,000,153 ตัว
แปลงหญ้า 71.96 ไร่ อาเภอเมืองสุพรรณบุรี เกษตรกร 1,808 ราย จานวนสัตว์ในพื้นที่ประสบภัย
1,044,916 ตวั แปลงหญ้า 56 ไร่ (ที่มา : สนง.ปศจ.สพ.)
*หมำยเหตุ* : อาเภอศรปี ระจนั ต์ ภัยสน้ิ สดุ แลว้ เมอ่ื วนั ท่ี 1 พฤศจิกายน 2565
ประกาศ ณ วนั ที่ 9 พฤศจิกายน 2565
2. ภัยพิบตั ิ (ลัมปิ สกิน)
จังหวัดสุพรรณบุรีได้ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (โรคลัมปิ สกิน)
มีพืน้ ทปี่ ระสบภัย จานวน 10 อาเภอ 93 ตาบล 597 หมบู่ ้าน เกษตรกร 1,645 ราย โดยมีประกาศเขตพื้นที่
ประสบสาธารณภัย (โรคระบาดสัตว์) รวม 25 ฉบับ ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือ (โรคระบาดสัตว์)
รวม 9 ฉบับ ปจั จบุ นั อยู่ระหว่างขยายระยะเวลาการให้ความช่วยเหลือฯ ครัง้ ที่ 8
คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัดสุพรรณบุรี (ก.ช.ภ.จ.) มีการประชุมเพ่ือให้
การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (โรคลัมปิ สกิน) จานวน 4 ครั้ง ให้ความช่วยเหลือ
เกษตรกร 704 ราย โคตาย 916 ตัว รวมวงเงินท่ขี อรับการชว่ ยเหลอื 18,023,000 บาท รายละเอียดดงั นี้
- ประชุม ก.ช.ภ.จ. (ครั้งที่ 1) เม่ือวันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 จานวน 10 อาเภอ เกษตรกร 451
ราย โคตาย 603 ตัว รวมวงเงินทีข่ อรับการช่วยเหลอื 11,869,000 บาท
- ประชุม ก.ช.ภ.จ. (ครั้งท่ี 2) เมือ่ วนั ที่ 28 มกราคม 2565 จานวน 10 อาเภอ เกษตรกร 189 ราย
โคตาย 239 ตวั รวมวงเงนิ ที่ขอรับการช่วยเหลอื 4,923,000 บาท
- ประชุม ก.ช.ภ.จ. (คร้ังท่ี 3) เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2565 จานวน 6 อาเภอ เกษตรกร 40 ราย
โคตาย 45 ตวั รวมวงเงินทขี่ อรบั การชว่ ยเหลอื 762,000 บาท
- ประชุม ก.ช.ภ.จ. (ครั้งท่ี 4) เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2565 จานวน 4 อาเภอ เกษตรกร 24 ราย
โคตาย 29 ตวั รวมวงเงินทข่ี อรับการชว่ ยเหลอื 469,000 บาท
138 รำยงำนประจำปี 2565
3.14 พระรำชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ และพฒั นำระบบเกษตรพนั ธสญั ญำ พ.ศ.2560
1. ขอ้ มูลกำรจดทะเบียน
จังหวัดสุพรรณบุรี มีบริษัทจดทะเบียนในระบบเกษตรพันธสัญญา และประกอบธุรกิจในจังหวัด
สุพรรณบุรี จานวน 5 แห่ง
1) บริษัท น้าตาลรีไฟน์ชัยมงคล จากัด 99 หมู่ ต.หนองโอ่ง อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ทะเบียนเลขที่
6072200003 ชนดิ สินค้า ผลติ และจาหน่ายนา้ ตาลทรายดิบและน้าตาลทรายขาว
2) บริษัท อุตสาหกรรมน้าตาลสุพรรณบุรี จากัด 151 หมู่ 6 ต.ย่านยาว อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี
ทะเบยี นเลขท่ี 6010200031 ชนดิ สินคา้ ผลติ และจาหน่ายน้าตาลทรายดบิ และนา้ ตาลทรายขาว
3) บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ต.บ้านโข้ง อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ทะเบียนเลขท่ี
6010200022 ชนดิ สินคา้ เล้ียงสกุ รขุน
4) บริษัท เจริญชัยฟาร์มกรุ๊ป 59 ต.บ้านสระ อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี ทะเบียนเลขท่ี
6072200003 ชนิดสนิ ค้า ผลติ และจาหนา่ ยสุกร
5) บริษัท อีสท์ เวสท์ ซีด จากัด 3440 ต.หนองบ่อ อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี ทะเบียนเลขท่ี
6012200003 ชนดิ สินคา้ ผลติ เมล็ดพนั ธ์ุ
2. ปญั หำทเ่ี กิดขนึ้ ตำมพระรำชบญั ญตั ิสง่ เสริมและพัฒนำระบบเกษตรพนั ธสัญญำ พ.ศ. 2560
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับแจ้งจากสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
กาญจนบุรี กรณีเกษตรกรผู้เล้ียงสุกร จานวน 15 ราย พ้ืนท่ี 3 จังหวัด ได้แก่ สุพรรณบุรี 10 ราย กาญจนบุรี
4 ราย และอุทัยธานี 1 ราย ทาสัญญาในระบบเกษตรพันธสัญญากับบริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จากัด
สานักงานตั้งอยู่เลขท่ี 125 หมู่ 8 ตาบลดอนทราย อาเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี เนื่องจากบริษัทฯ ไม่ปฏิบัติ
ตามสัญญาซ้ือ - ขายสุกร อาหารสัตว์ เวชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ และสุกร (สุกรขุน) โดยพระราชบัญญัติส่งเสริมและ
พัฒนาระบบเกษตรพนั ธสญั ญา พ.ศ. 2560 มาตราที่ 31 มีหลกั เกณฑว์ า่ ใหค้ ณะกรรมการไกลเ่ กล่ียข้อพิพาท
ในจังหวัดท่ีพื้นที่ในการผลิตผลิตผลหรือบริการทางการเกษตรที่มีข้อพิพาทส่วนใหญ่ต้ังอยู่เป็นผู้ดาเนินการ
ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี จึงขอรวมการไกล่เกล่ียข้อพิพาทกรณี
เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรเกิดข้อพิพาทกับบริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จากัด ไว้ที่สานักงานเกษตรและสหกรณ์
จังหวัดสุพรรณบุรี เพียงจังหวัดเดียว สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี จึงดาเนินการตาม
กระบวนการไกลเกลี่ยข้อพิพาท ดงั น้ี
1. ประชุมคณะทางานรวบรวมข้อเท็จจริง คร้ังที่ 1/2565 เมื่อวันพุธท่ี 11 พฤษภาคม 2565
ณ ห้องประชุมหลวงทรงพล (ช้ัน 3 ด้านหน้า) ศาลากลางจังหวัดสุพรรณบุรี คณะทางานและผู้เข้าร่วมประชุม
ประกอบด้วย เกษตรและสหกรณ์จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี , ผู้แทนยุติธรรมจงั หวัดสพุ รรณบุรี , ผู้แทนปศุสัตว์จงั หวัด
สุพรรณบุรี , เจ้าหน้าท่ีสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี , ผู้แทนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
กาญจนบรุ ี , เจา้ หน้าที่ บริษทั เอส พี เอม็ อาหารสัตว์ จากัด , เกษตรกรผยู้ ื่นคาร้อง 15 ราย โดยเป็นเกษตรกร
ในพ้ืนที่จังหวัดสุพรรณบุรี 10 ราย กาญจนบุรี 4 ราย อุทัยธานี 1 ราย และผู้แทนพรรคก้าวไกล โดยมีมติท่ี
ประชมุ ดังนี้
1) ให้เกษตรกรผู้ยื่นคาร้อง 15 ราย และ บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จากัด ส่งข้อมูล
ตน้ ทุนการผลิต รายได้ สรุปกาไร-ขาดทุน ตามหวั ขอ้ ทก่ี าหนดใหส้ านกั งานเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั สพุ รรณบุรี
ภายในวันศุกร์ท่ี 13 พฤษภาคม 2565
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สุพรรณบรุ ี 139
2) กาหนดประชุมคณะกรรมการไกล่เกล่ียข้อพิพาทประจาจังหวัดสุพรรณบุรี ครั้งท่ี
1/2565 ในวันจันทร์ท่ี 23 พฤษภาคม 2565 เวลา 09.30 น. ณ ห้องประชุมขุนแผน (ช้ัน 4 ด้านหลัง)
ศาลากลางจงั หวดั สุพรรณบุรี โดยขอให้บรษิ ัทฯ มอบผมู้ อี านาจตัดสนิ ใจมารว่ มไกลเ่ กล่ยี
3) สรุปประเดน็ ขอ้ พิพาทของเกษตรกร กับ บรษิ ทั เอส พี เอม็ อาหารสตั ว์ จากดั
(1) การชั่งน้าหนักสุกรที่ไม่โปร่งใส เช่น ไม่ได้ช่ังน้าหนักสุกรจากหน้าฟาร์มไป และได้นาสุกร
ออกจากฟาร์มไปพักไว้ท่ีโรงพักสุกรท่ีบริษัทจัดเตรียมไว้ก่อนนาไปช่ังขาย จึงทาให้มีการเกิดน้าหนักสูญเสีย
ท่ี ค่อนข้างมาก ทาให้สุกรมนี า้ หนกั ลดนอ้ ยลง เปน็ เหตใุ ห้ทางฟารม์ เสยี หาย
(2) การตัดน้าหนักสุกรไข่ (สุกรท่ียังไม่ตอน) ท่ีไม่ได้มาจากความผิดของฟาร์ม ซ่ึงสุกรมาจาก
บริษทั ท่ีจัดส่งมาให้ ทาใหท้ างฟาร์มไดร้ บั ผลตอบแทนทน่ี ้อยลงอีกเปน็ จานวนมาก
(3) อาหารสุกร ท่ีทางบริษัทจัดส่งมาให้ ไม่ได้อยู่ในสัญญา เป็นจานวนมากและราคาแพงกวา่
ในสัญญา เป็นเหตุใหท้ างฟาร์มมตี ้นทนุ ของสุกรเพ่ิมขึ้นและผลตอบแทนทน่ี ้อยลงอย่างมาก
(4) การจับสุกรท่ีเกินเวลา ล่าช้ากว่ากาหนดในสัญญา ทาให้ทางฟาร์มต้องมีค่าใช้จ่ายเพ่ิม
ในการกินอาหารท่ีมากข้ึน และค่าน้า ค่าไฟ ค่าคนงาน ท่ีต้องจ่ายเพิ่มขึ้นด้วย ทาให้ทางฟาร์มเสียหาย
ซ่งึ ค่าใช้จ่ายในระหวา่ งการจบั สุกรเกินกาหนดระยะเวลา ค่อนขา้ งสูงมาก ต้นทนุ เพิ่มขึ้นไปอีก
(5) ราคาสุกรท่ีไม่เป็นไปตามสัญญา บริษัทได้ทาการจับสุกรของทางฟาร์มออกไป และราคา
ที่ส่งให้ทางฟาร์มไม่เป็นไปตามสัญญาท่ีระบุไว้ ซึ่งสุกรท่ีระบุไซส์ขนาดน้าหนักไว้ในสัญญา ได้ราคาที่น้อยกว่า
ราคาไมเ่ ปน็ ไปตามท่ีตกลงกนั ไว้ ทาใหท้ างฟารม์ ไดร้ บั ผลตอบแทนน้อย เสียหายและขาดทุนเป็นจานวนเงินท่มี าก
(6) การจ่ายผลตอบแทนท่ีไม่มีความชัดเจนของวันเวลา ทาให้ทางฟาร์มเสียหายในธุรกรรม
ด้านการเงินกับทางธนาคาร ดอกเบ้ียท่ีเพิ่มข้ึน เครดิตที่ต้องเสียไป ดอกเบ้ียค่าไฟฟ้าที่เพ่ิมสูงขึ้น เงินท่ีต้องจ่าย
ให้กับคนงาน และค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ ซ่ึงทางฟาร์มได้แจ้งความประสงค์กับบริษัทไปแล้ว ทาให้ทางฟาร์มได้รับ
ความเสยี หาย และความเดอื ดรอ้ นเปน็ อย่างมาก จากการทบี่ รษิ ทั ลา่ ชา้ และไม่ทาตามสัญญา ทรี่ ะบไุ ว้
(7) เรื่องราคาวคั ซีน ทไ่ี ม่ระบรุ าคา ไม่ช้ีแจงราคาวคั ซนี แต่ละตัวทฉี่ ีดให้กับสกุ ร และไดท้ าการ
สรปุ ราคาวคั ซนี มาทีค่ ่อนข้างสูงมาก จึงทาใหม้ ีต้นทนุ ท่เี พิ่มขน้ึ อกี
(8) บริษัทไม่จ่ายเงินค่าสุกรรุ่นที่ 1 ท่ีจับไปแล้วให้เกษตรกร และไม่ลงสุกรรุ่นท่ี 2 ให้ ทาให้
เกษตรกรไม่มีเงินนาไปใชจ้ ่าย อีกทง้ั เสยี โอกาสเลี้ยงรนุ่ ที่ 2 จงึ ต้องการให้บริษทั เยยี วยาคา่ เสยี โอกาส
(9) เกษตรกรแจ้งบริษัทเรื่องนาสุกรตกเกรดไปขาย บริษัทรับทราบแล้ว แต่ภายหลังเมื่อนับ
จานวนสุกรแลว้ ไมค่ รบบริษัทคิดคา่ ปรบั ตัวละ 5,000 บาท จากเกษตรกร จงึ ไมเ่ ป็นธรรม
ท้ังนี้ เม่ือวันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม 2565 เกษตรกรทั้ง 15 ราย ได้หารือร่วมกันและสรุป
คงเหลือข้อพิพาท 6 ข้อ และมอบหมายใหส้ านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สุพรรณบุรี แจง้ บรษิ ัทเพอื่ ช้ีแจง
ด้วย ซึ่งสานักงานฯ ไดจ้ ดั ส่งขอ้ พพิ าทให้บริษัทเรยี บรอ้ ยแล้ว ดังน้ี
1) การตัดน้าหนักสุกรไข่ ที่ไม่ได้มาจากความผิดของฟาร์ม ซึ่งสุกรมาจากบริษัทท่ีจัดส่งมาให้
ทาให้ทางฟาร์มได้รับผลตอบแทนทนี่ อ้ ยลงอกี เป็นจานวนมาก
2) อาหารสุกร ที่ทางบริษัทจัดส่งมาให้ ไม่ได้อยู่ในสัญญา เป็นจานวนมาก และราคาแพงกวา่
ในสญั ญา เป็นเหตุให้ทางฟารม์ มีต้นทุนของสุกรเพ่ิมขน้ึ และผลตอบแทนทนี่ ้อยลงอยา่ งมาก
3) การจับสุกรท่ีเกินเวลา ล่าช้ากว่ากาหนดในสัญญา ทาให้ทางฟาร์มต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่ม
ในการกินอาหารท่ีมากข้ึน และค่าน้า ค่าไฟ ค่าคนงาน ที่ต้องจ่ายเพ่ิมข้ึนด้วย ทาให้ทางฟาร์มเสียหาย
ซึง่ คา่ ใช้จ่ายในระหวา่ งการจับสุกรเกนิ กาหนดระยะเวลา ค่อนข้างสูงมาก ต้นทุนเพมิ่ ขน้ึ ไปอีก
140 รำยงำนประจำปี 2565
4) ราคาสุกรที่ไม่เป็นไปตามสัญญา บริษัทได้ทาการจับสุกรของทางฟาร์มออกไป และราคา
ที่ส่งให้ทางฟาร์มไม่เป็นไปตามสัญญาท่ีระบุไว้ ซึ่งสุกรท่ีระบุไซส์ขนาดน้าหนักไว้ในสัญญา ได้ราคาท่ีน้อยกว่า
ราคาไม่เป็นไปตามท่ีตกลงกันไว้ ทาให้ทางฟาร์มได้รับผลตอบแทนน้อย เสียหายและขาดทุนเป็นจานวนเงิน
ทมี่ าก
5) บริษัทไม่จ่ายเงินค่าสุกรรุ่นท่ี 1 ที่จับไปแล้วให้เกษตรกร และไม่ลงสุกรรุ่นที่ 2
ให้ทาให้เกษตรกรไม่มีเงนิ นาไปใชจ้ ่าย อกี ทัง้ เสียโอกาสเลีย้ งร่นุ ที่ 2 จึงตอ้ งการให้บรษิ ัทเยยี วยาค่าเสยี โอกาส
6) เกษตรกรแจ้งบริษัทเรื่องนาสุกรตกเกรดไปขาย บริษัทรับทราบแล้ว แต่ภายหลังเม่ือนับ
จานวนสุกรแล้วไมค่ รบบรษิ ทั คิดค่าปรับตวั ละ 5,000 บาท จากเกษตรกร จึงไมเ่ ป็นธรรม
และเกษตรกรได้ส่งข้อมูลต้นทุนการผลิต รายได้ สรุปกาไร-ขาดทุน ตามหัวข้อท่ีกาหนด
ให้สานักงานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สุพรรณบรุ ี เมื่อวนั ท่ี 15 พฤษภาคม 2565
2. ประชมุ คณะกรรมการไกลเ่ กลี่ยข้อพิพาทประจาจังหวัดสุพรรณบุรี ครงั้ ท่ี 1/2565 เมอ่ื วนั จันทร์ท่ี
23 พฤษภาคม 2565 ณ หอ้ งประชมุ ขุนแผน (ชนั้ 4 ดา้ นหลงั ) ศาลากลางจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี คณะกรรมการฯ
จานวน 13 ท่าน ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี อัยการจังหวัดคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือ
ทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดสุพรรณบุรี พาณิชย์จังหวัดสุพรรณบุรี ยุติธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี
นายอาเภอหนองหญา้ ไซ อาเภอดอนเจดีย์ อาเภอท่ามะกา อาเภอเลาขวัญ อาเภอบา้ นไร่ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ 3 ทา่ น
และเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นกรรมการและเลขานุการฯ โดยมีคณะกรรมาธิการ
ด้านการเกษตร ตัวแทนพรรคก้าวไกล เป็นผู้ร่วมสังเกตการณ์การประชมุ เพ่ือพิจารณาไกล่เกลี่ยข้อพิพาทกรณี
บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จากัด ไม่ปฏิบัติตามสัญญากับเกษตรกร ผู้เลี้ยงสุกร จานวน 15 ราย พ้ืนท่ี 3
จงั หวัด ดังน้ี
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สุพรรณบรุ ี 141
2.1 จังหวัดสุพรรณบุรี 10 ราย ได้แก่ อาเภอดอนเจดีย์ 6 ราย จานวนเงิน 3,871,294.51 บาท
และอาเภอหนองหญ้าไซ 4 ราย จานวนวงเงิน 2,832,082 บาท
2.2 จังหวัดกาญจนบุรี 4 รายได้แก่ อาเภอเลาขวัญ 3 ราย จานวนเงิน 8,488,975.64 บาท
และอาเภอทา่ มะกา 1 ราย จานวนเงิน 405,201.72 บาท
2.3 จังหวดั อุทัยธานี พ้นื ท่ี อาเภอบา้ นไร่ จานวน 1 ราย จานวนเงนิ 6,371,745.20 บาท
โดยที่ประชุมคณะกรรมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทประจาจังหวัดสุพรรณบุรี คร้ังท่ี 1/2565 สามารถ
ไกล่เกลย่ี ขอ้ พพิ าทได้ จานวน 3 ราย และไมส่ ามารถไกล่เกลย่ี ไดจ้ านวน 12 ราย ดังน้ี
เกษรตรกรผู้เลีย้ งสุกรทส่ี ามารถไกล่เกลยี่ ได้ ไดแ้ ก่
1) จงั หวดั สุพรรณบุรี พ้ืนท่อี าเภอดอนเจดีย์ 2 ราย จานวนเงนิ 1,014,453 บาท
2) จังหวัดกาญจนบุรี พน้ื ท่ีอาเภอท่ามะกา 1 ราย จานวนเงิน 300,000 บาท
3. การประชุมคณะกรรมการไกล่เกล่ียข้อพิพาทประจาจังหวัดสุพรรณบุรี คร้ังท่ี 2/2565
วันพฤหัสบดีท่ี 2 มิถุนายน 2565 ณ เรือนประชุมอยู่เย็นเป็นสุข (ประตู 1) ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและ
จิตวิญญาณชาวนาไทย (นาเฮียใช)้ ตาบลบา้ นโพธ์ิ อาเภอเมอื งสุพรรณบุรี จงั หวดั สุพรรณบุรี เพ่ือยกร่างสัญญา
ประนีประนอมยอมความเกษตรกรท่ีสามารถไกล่เกล่ียได้ จานวน 3 ราย และประชุมไกล่เกล่ียข้อพิพาท
ในรายท่ีไม่สามารถไกล่เกลี่ยได้ 12 ราย โดยให้เกษตรกรและบริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ ท่ีไม่สามารถ
ไกล่เกล่ียได้ ทั้ง 12 ราย ยืนยันจานวนเงินตัวเลขที่ถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง สรุปผลการประชุมคณะกรรมการ
ไกลเ่ กลี่ยขอ้ พพิ าทฯ ครั้งที่ 2/2565 ดงั นี้
ไมส่ ามารถไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร 12 ราย อีกคร้งั ได้ และจาหน่ายข้อพิพาทออกจาก
สารบบความ จานวน 12 ราย พ้ืนที่จังหวัดสุพรรณบุรี 8 ราย จานวนเงิน 6,257,076.54 บาท จังหวัด
กาญจนบุรี 4 ราย จานวนเงิน 10,217,075.60 บาท และจังหวัดอุทัยธานี 1 ราย จานวนเงิน
3,419,842.80 บาท
142 รำยงำนประจำปี 2565
โดยสานักงานเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ไดด้ าเนนิ การดังน้ี
1) จัดทาสัญญาประนีประนอมยอมความ ระหว่างเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร 3 ราย พื้นท่ีจังหวัด
สุพรรณบุรี 2 ราย และพนื้ ท่ีกาญจนบรุ ี 1 ราย กับบริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสตั ว์ จากดั
2) จัดทาคาส่ังจาหน่ายข้อพิพาทเกษตรกร 12 ราย เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2565
(กาหนดระยะเวลาภายในวันที่ 9 มิถุนายน 2565) และส่งให้เกษตรกรตามท่ีอยู่ท่ีเกษตรกรแจ้งเมื่อวันท่ี
10 มิถุนายน 2565
3. ผลกำรดำเนินงำนอ่ืนๆ
3.1 ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทตามมติของคณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์
สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แจ้งว่า คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์
สภาผู้แทนราษฎร ได้เชิญประชุมเพื่อพิจารณาเร่ืองแนวทางแก้ไขปัญหาการทาเกษตรกรรมในระบบเกษตร
พันธสัญญา เม่ือวันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2565 จากการประชุมดังกล่าว คณะกรรมาธิการฯ ได้มีมติให้
สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นหน่วยงานกลางในการดาเนินการประสานจังหวัดสุพรรณบุรี
จังหวัดกาญจนบุรี และฝ่ายท่ีเก่ียวข้องเพ่ือไกล่เกล่ียข้อพิพาทและให้ความช่วยเหลือระหว่างเกษตรกรผู้เล้ียง
สุกร 12 ราย กับ บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จากัด สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
จึงขอความอนุเคราะห์จังหวัดสุพรรณบุรี ดาเนินการจัดประชุมไกล่เกล่ียข้อพิพาทระหว่างเกษตรกรผู้เลี้ยงสกุ ร
12 ราย กับบริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จากัด ให้มีการเจรจาร่วมกันอีกครั้ง โดยผ่านช่องทางของ
ศนู ยด์ ารงธรรมจังหวดั หรือตามท่ีเห็นสมควร ตามมตขิ องคณะกรรมาธกิ ารด้านการเกษตรและสหกรณ์
สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั สพุ รรณบุรี 143
จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี โดยสานกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั สุพรรณบรุ ี รว่ มกบั ศูนย์ดารงธรรม
จังหวัดสุพรรณบุรี สานักงานยุติธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี สานักงานปศุสัตว์จังหวัดสุพรรณบุรี จัดให้มี
การไกลเ่ กล่ยี ข้อพิพาทและให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงสกุ ร ตามมตขิ องคณะกรรมาธิการการเกษตรและ
สหกรณ์ เม่ือวันที่ 25 กรกฎาคม 2565 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมหลวงทรงพล ศาลากลางจังหวัด
สุพรรณบุรี มีผู้เข้าร่วมประชุม จานวน 37 ท่าน ประกอบด้วย เกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุ พรรณบุรี
เป็นประธาน ผู้อานวยการกลุ่มงานศูนย์ดารงธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี ผู้แทนสานักงานยุติธรรมจังหวัด
สุพรรณบุรี ผู้แทนปศุสัตว์จังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าหน้าที่สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
และหน่วยงานอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง รวมท้ังผู้แทนบริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จากัด และเกษตรกรที่มีความ
ประสงค์เข้าร่วมการประชุม 9 ราย (เกษตรกร 12 ราย ประสงค์เข้าร่วมประชุม 9 ราย ไม่ประสงค์เข้าร่วม
การประชุม 3 ราย) ไดแ้ ก่ จงั หวัดสพุ รรณบุรี 7 ราย จานวนเงนิ รวม 4,865,172.30 บาท จังหวดั กาญจนบุรี
2 ราย จานวนเงินรวม 3,940,251.99 บาท
สรุปผลการประชุมไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้เล้ียงสุกร ตามมติ
ของคณะกรรมาธกิ ารการเกษตรและสหกรณ์ ได้ดังนี้
1) สามารถไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ 3 ราย ได้แก่ เกษตรกรพ้ืนท่ีอาเภอดอนเจดีย์ จังหวัด
สุพรรณบุรี จานวนเงนิ รวม 520,000 บาท
2) ไมส่ ามารถไกล่เกลีย่ ได้ 6 ราย ไดแ้ ก่ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พืน้ ท่ีอาเภอหนองหญา้ ไซ 4 ราย
และจงั หวัดกาญจนบุรี พน้ื ทีอ่ าเภอเลาขวญั จานวน 2 ราย
ทีป่ ระชมุ มมี ติมอบหมายให้ สานกั งานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั สพุ รรณบุรี ดาเนินการดงั นี้
1) จัดทาสญั ญาประนปี ระนอมยอมความเกษตรกรทีส่ ามารถไกลเ่ กลย่ี ได้ 3 ราย
2) ขอความอนุเคราะห์ไปยังสถาบันการเงิน 3 แห่ง ท่ีเกษตรกรขอกู้เงินนามาลงทุน
ในฟาร์ม ได้แก่ ธ.ก.ส. สาขาสุพรรณบุรี ธนาคารออมสินสาขาทุ่งคอก และสาขาหนองหญ้าไซ และธนาคาร
กสิกรไทย สาขาสุพรรณบุรี เพ่ือพิจารณาให้ความช่วยเหลือเกษตรกรตามแนวทางหรือมาตรการของสถาบัน
การเงนิ
3) จัดทาหนังสือเรียนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อรายงานผลการไกล่เกล่ีย
ข้อพิพาทและให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร โดยสรุปแนวทางการช่วยเหลือเกษตรกร 2 ประเด็น
ไดแ้ ก่
- ขอความอนุเคราะห์ไปยังสถาบันการเงินที่เกษตรกรขอกู้เงินนามาลงทุนในฟาร์ม
เพื่อพจิ ารณาใหค้ วามชว่ ยเหลอื เกษตรกร
- เกษตรกรสามารถเลี้ยงสุกรรอบใหม่กับผู้ประกอบการรายอ่ืน โดยไม่ถือว่าผิดข้อกาหนด
หรอื ข้อห้ามของบรษิ ัท เอส พี เอ็ม อาหารสตั ว์ จากดั
และข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จานวน 2 ประเด็น ไดแ้ ก่
- สานักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา
ควรมหี นังสือชชี้ วนของบรษิ ัทและมีตวั อยา่ งสญั ญาในการทาเกษตรพนั ธสญั ญาในแต่ละสินคา้
- สานักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา
ควรเพิ่มควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรท่ีมีความประสงค์จะทาการเกษ ตรในระบบเกษตรพันธสัญญา
ด้านใดๆ ก็ตาม ควรปรึกษาผู้ท่ีมีความรู้ในด้านน้ันๆ เช่น เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ควรปรึกษาปศุสัตว์อาเภอ
ก่อนทาสญั ญา เป็นตน้
144 รำยงำนประจำปี 2565
3.2 แนวทางการใหค้ วามชว่ ยเหลอื เกษตรกรภายหลงั กระบวนการไกลเ่ กลย่ี ข้อพพิ าท
1) จังหวัดสุพรรณบุรี โดยคณะกรรมการไกล่เกล่ียข้อพิพาทประจาจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ชี้แจง
แนวทางในการให้ความช่วยเหลือเกษตรกร ตามหลักเกณฑ์การไกล่เกล่ยี ข้อพิพาทตามระบบเกษตรพันธสัญญา
กรณีเกษตรกรท่ีไม่สามารถไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ และได้รับคาส่ังจาหน่ายข้อพิพาทไปแล้ว สามารถนาคาสั่งนี้
ไปดาเนนิ การในการบังคับคดี กบั สานักงานบังคบั คดีจงั หวดั ได้ โดยไม่ต้องยื่นคารอ้ งเข้าสูก่ ระบวนการในช้ันศาล
และจังหวัดสุพรรณบุรี ยินดีที่จะให้ความช่วยเหลือเกษตรกร โดยจะประสานไปยังสานักงานอัยการจังหวัด
คุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดสุพรรณบุรี หรือหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง
เพอ่ื ใหค้ วามช่วยเหลือเกษตรกร
2) สานักงานเกษตรและสหกรณ์และสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี จัดทาหนังสือขอความ
อนุเคราะห์ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรไปยังสานักงานยุติธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี ตามหนังสือท่ี
กษ 0224.สพ/846 ลงวันท่ี 24 สิงหาคม 2565 โดยนดั หมายหารอื แนวทางการใหค้ วามช่วยเหลือเกษตรกร
ผู้เลี้ยงสุกร 6 ราย ในวันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม 2565 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมอาคารบูรณาการ
กระทรวงยตุ ธิ รรมจังหวดั สุพรรณบรุ ี สานักงานยุติธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี เลขที่ 144 23-25 ถนนมาลยั แมน
ตาบลรั้วใหญ่ อาเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีเจ้าหน้าท่ีจากสานักงานยุติธรรมจังหวัด
สุพรรณบุรี และที่ปรึกษาทนายความ ให้คาแนะนาปรึกษาทางด้านกฎหมาย และสานักงานยุติธรรมจังหวัด
สุพรรณบุรี ได้จัดประชุม เพ่ือพิจารณาจัดหาทนายความและค่าใช้จ่ายทางคดีแก่เกษตรกรผู้เล้ียงสุกร พื้นที่
จังหวัดสุพรรณบุรี จานวน 4 ราย สาหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรจังหวัดกาญจนบุรี จานวน 2 ราย อยู่ในการ
พจิ ารณาให้ความช่วยเหลอื ของสานกั งานยตุ ธิ รรมจงั หวัดกาญจนบุรี