กรณีศึกษาตางประเทศ OPEN DATA ขอมูลสาธารณะ เพื่อยกระดับการประเมินคุณธรรมและความโปรงใส ในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ของประเทศไทย ศุภวัฒนากร วงศธนวสุ สุริยานนท พลสิม ชนิดา อาคมวัฒนะ ปุน เที่ยงบูรณธรรม กลุมพัฒนาระบบและวิชาการ สํานักประเมินคุณธรรมและความโปรงใส สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ เลขที่ 361 ถ.นนทบุรี ต.ทาทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 หรือ ตู ปณ. 100 เขตดุสิต กทม. 10300 โทร. 0 2528 4800 ตอ 7136 OPEN DATA กลุมพัฒนาระบบและวิชาการ สํานักประเมินคุณธรรมและความโปรงใส สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
กลุ่มพัฒนาระบบและวิชาการ สำ นักประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส สำ นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ สุริยานนท์ พลสิม ชนิดา อาคมวัฒนะ และปุ่น เที่ยงบูรณธรรม พิมพ์ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2564 จำ�นวน 5,000 เล่ม ISBN 978-616-8280-07-2 จัดพิมพ์โดย กลุ่มพัฒนาระบบและวิชาการ สำ นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สำ นักงาน ป.ป.ช.) 361 ถ.นนทบุรี ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี 10300 YouTube: Channel Clinic ITA Facebook: คลินิก ITA พิมพ์ที่ หจก.พิมพ์ใหญ่การพิมพ์ เลขที่ 81/126/1 หมู่ที่ 5 ต.บางเมืองใหม่ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ 10270
เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ บทนำ� (Introduction) 1 หลักการพื้นฐานและมาตรฐานด้านการเปิดเผยข้อมูล ในระดับนานาชาติ (Basic Principles and Global Standard of Open data) 5 2.1 กรอบการประเมินมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะในระดับนานาชาติ 10 การพัฒนาระบบการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ 29 ในต่างประเทศ (Benchmarking) 3.1.การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของสาธารณรัฐอิตาลี 30 3.2 การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของสาธารณรัฐอินเดีย 33 3.3 การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของสาธารณรัฐเกาหลี 37 3.4 การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของเมืองชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ 42 ประเทศสหรัฐอเมริกา (City of Chicago) 3.5 การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของมหานครลอนดอน สหราชอาณาจักร 51 แนวทางการเสริมสร้างความโปร่งใสด้วยระบบการเปิดเผย ข้อมูลสาธารณะในประเทศไทย 55 4.1 การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของหน่วยงานภาครัฐในประเทศไทย 61 และการประเมินที่เกี่ยวข้อง 4.2 เมืองโปร่งใสต้องมาพร้อมกับความสามารถ 64 ที่จะโปร่งแสง (Becoming a Fully Transparent City) 4.3 ข้อเสนอแนะการพัฒนาระบบการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ 67 ของหน่วยงานภาครัฐในประเทศไทย บทส่งท้าย ประเทศไทย และความพยายามของระบบข้อมูลเปิด 73 ความท้าทายของการส่งเสริมระบบข้อมูลเปิด 73 ข้อมูลเปิด และวัฒนธรรมของการให้ และการเรียนรู้ 74 คำ�นิยม ก กิตติกรรมประกาศ ค คำ�นำ� ง สารบัญ 1 2 3 4
เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ แผนภาพที่1 กรอบแนวคิดการเสริมสร้างระบบบริหารจัดการข้อมูล 9 การบริหารงานภาครัฐ แบบเปิด (OGD) แผนภาพที่2 หลักการของข้อมูลสาธารณะในกฎบัตรสากลว่าด้วยข้อมูลสาธารณะ 12 แผนภาพที่3 ภาพรวมการประเมินของ Open Data Barometer (ODB) 14 แผนภาพที่4 หลักการประเมินข้อมูลการบริหารงานของภาครัฐแบบเปิดของ ODB 19 แผนภาพที่5 แพล็ตฟอร์มการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของสาธารณรัฐอิตาลี 32 แผนภาพที่6 แพล็ตฟอร์มการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของอินเดีย 35 แผนภาพที่7 แพล็ตฟอร์มการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของสาธารณรัฐเกาหลี 39 แผนภาพที่8 การนำข้อมูลสาธารณะของหน่วยงานภาครัฐไปใช้ประโยชน์ 41 โดยภาคเอกชน ในสาธารณรัฐเกาหลี แผนภาพที่9 แพล็ตฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะของเมืองชิคาโก 44 แผนภาพที่10 แพล็ตฟอร์ม Data Portal ของเมืองชิคาโก 44 แผนภาพที่11 แอปพลิเคชันให้บริการและเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะ 45 แผนภาพที่12 แอปพลิเคชัน OpenGrid 46 แผนภาพที่13 แอปพลิเคชัน Health Atlas 46 แผนภาพที่14 แอปพลิเคชัน Service Tracker 47 แผนภาพที่15 ระบบเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของมหานครลอนดอน 51 แผนภาพที่16 ร้อยละของการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของแต่ละประเทศ 58 ในดัชนีการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะโลก แผนภาพที่17 เปรียบเทียบดัชนีการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ OECD OUR 60 data Index ในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปี 2019 แผนภาพที่18 เปรียบเทียบเมืองโปร่งใสแต่ไม่โปร่งแสง กับ 66 เมืองที่โปร่งใสและโปร่งแสง สารบัญแผนภาพ
เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ตารางที่1 รายละเอียดประเด็นการประเมินการเปิดเผย 15 ข้อมูลสาธารณะของ ODB ตารางที่2 ประเด็นการประเมินในดัชนีการเปิดเผย 22 ข้อมูลสาธารณะโลก ตารางที่3 ประเด็นคำถามและสัดส่วนคะแนนในแต่ละด้าน 26 ในการประเมินดัชนีข้อมูลสาธารณะโลก ตารางที่4 ยุทธศาสตร์และโครงการสำคัญตาม 49 แผนพัฒนาเทคโนโลยีของเมืองชิคาโก ตารางที่5 เปรียบเทียบการจัดอันดับดัชนีการเปิดเผย 55 ข้อมูลสาธารณะโลก ตารางที่6 คะแนนการประเมินและจัดอันดับตามดัชนี 59 การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ OECD OUR data Index 2019 ในกลุ่มประเทศ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สารบัญตาราง
ก เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ปฏิิเสธไม่่ได้้ว่่าถึึงแม้้ หนึ่่งในเครื่่องมืือของการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสใน การดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสำำนัักงาน ป.ป.ช. จะกำำ หนดให้มี้ีการประเมิิน “การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ” ของหน่่วยงาน ภาครััฐ ผ่่านเครื่่องมืือ แบบการตรวจการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) แล้้วก็็ตาม แต่่การดำำเนิินการดัังกล่่าวถืือเป็็นเพีียง จุุดเริ่่มต้้น ของการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะของหน่่วยงานภาครััฐของ ประเทศไทย เฉพาะในมุุมที่่เกี่่ยวข้้องกัับข้้อมููลพื้้�นฐาน ผลการดำำเนิินงาน ข้้อมููลการใช้้ งบประมาณ ข้้อมููลด้้านการให้้บริิการ ข้้อมููลด้้านการบริิหารทรััพยากรบุุคคล ตลอดจนข้้อมููล การแสดงความพยายามของหน่่วยงานในการป้้องกัันการทุุจริิต ซึ่่ งเป็็นเพีียงข้้อมููลบางส่่วน ขององค์์กรหรืือของหน่่วยงานเท่่านั้้�น แต่่เมื่่อมองปรากฏการณ์์ที่่เกิิดขึ้้�นในโลกยุุคปััจจุุบัันพบว่่า การผลัักดัันให้้มีีระบบ การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data) กำำลัังเป็็นปรากฏการณ์์และเป็็นเงื่่อนไขสำำคััญที่่รััฐบาล ทุุกประเทศทั่่วโลกต้้องให้้ความสำำคััญ ไม่่ว่่าจะเป็็นรััฐบาลระดัับชาติิหรืือรััฐบาลระดัับท้้องถิ่่น ดัังนั้้�น เพื่่อให้้เกิิดประโยชน์ต่์ ่อการพััฒนาการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะในหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ตลอดจนการพััฒนาการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำเนิินงาน ของหน่่วยงานภาครััฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ให้มี้ีความสมบููรณ์์ และมีีพััฒนาการที่่มีีประสิิทธิิภาพ เกิิดประโยชน์์ มิิใช่่เพีียงแค่่การจััดทำำเพื่่อการประเมิิน ให้้ได้้คะแนนเท่่านั้้�น แต่่ยัังจะส่่งผลต่่อระดัับความโปร่่งใส รวมถึึงการพััฒนาภาครััฐ เศรษฐกิิจ และสัังคม อย่่างยั่่งยืืน จึึงจำำเป็็นจะต้้องแสวงหาบทเรีียนและประสบการณ์์จากประเทศต่่าง ๆ ที่่ประสบความสำำเร็็จหรืือได้้รัับการยอมรัับในระดัับนานาชาติิว่่ามีีแนวทางในการพััฒนาระบบ การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data) เพื่่อใช้สำ้ำหรัับเป็็นแนวทางหรืือบทเรีียนในการพััฒนา ระบบงานด้้านการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะของประเทศไทย รวมถึึงพััฒนาการประเมิินคุุณธรรม และความโปร่่งใสในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ให้มี้ีประสิิทธิิภาพมากยิ่่งขึ้้�น คำ นิยม
ข เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ในโอกาสนี้้� ผมขอขอบคุุณคณะผู้้เขีียน ประกอบด้้วย รองศาสตราจารย์์ ดร.ศุุภวััฒนากร วงศ์์ธนวสุุ อาจารย์์สุุริิยานนท์์ พลสิิม คุุณชนิิดา อาคมวััฒนะ และ รองศาสตราจารย์์ ดร.ปุ่่น เที่่ยงบููรณธรรม ซึ่ ่ งร่่วมมืือและแลกเปลี่่ยนความรู้้ ตลอดจนได้้ร่่วมกัันถอดบทเรีียนระหว่่าง กลุ่่มพััฒนาระบบและวิิชาการ สำำนัักประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส และวิิทยาลััย การปกครองท้้องถิ่่น มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น และหน่่วยบริิหารและจััดการทุุนเพื่่อการพััฒนา พื้้�นที่่ (บพท.) ที่่ได้ร่้่วมกัันจััดทำำองค์์ความรู้้ที่่มีีคุุณค่่านี้้� ผ่่านการศึึกษาเปรีียบเทีียบกัับรููปแบบ แนวทางการดำำเนิินการของประเทศต่่าง ๆ ที่่น่่าสนใจ ผมหวัังว่่าองค์์ความรู้้นี้้� จะเป็็นแนวทาง และจุุดประกายการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data) และพััฒนา การบริิหารงานของภาครััฐในประเทศไทยในภารกิิจที่่เกี่่ยวข้้องต่่าง ๆ ให้มี้ีประสิิทธิิภาพมากยิ่่งขึ้้�น ต่่อไปครัับ นิิวััติิไชย เกษมมงคล เลขาธิิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตุุลาคม 2564
ค เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ คณะผู้้เขีียนขอขอบพระคุุณ สำำนัักงานคณะกรรมการป้้องกัันและปราบปรามการทุุจริิต แห่่งชาติิ (สำนัำ ักงาน ป.ป.ช.) และ กลุ่่มพััฒนาระบบและวิิชาการ สำำนัักประเมิินคุุณธรรมและ ความโปร่่งใส ที่่ท้้าทายทางความคิิด ให้้ร่่วมกัันค้้นคว้้า ร่่วมกัันแลกเปลี่่ยนความรู้้ร่่วมกััน ถอดบทเรีียน ร่่วมกัันศึึกษาค้้นคว้้าบทเรีียนและประสบการณ์์สำำคััญของต่่างประเทศ ตลอดระยะเวลาของการร่่วมงานที่่ผ่่านมา จนได้้เรีียบเรีียงเป็็นหนัังสืือ “OPEN DATA” เล่่มนี้้� โดยมีีวััตถุุประสงค์์เพื่่อที่่จะให้้เป็็นองค์์ความรู้้ ที่่สามารถส่่งเสริิมและพััฒนาองค์์ความรู้้ ด้้านการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ การบริิหารภาครััฐ รวมถึึงการพััฒนาและยกระดัับการประเมิิน คุุณธรรมและความโปร่่งใส ให้มี้ีความเป็็นสากล และการนำำองค์์ความรู้้ไปประยุุกต์์สู่่การพััฒนา นำำร่่องหน่่วยงานภาครััฐที่่มีีความพร้้อม และมีศัีักยภาพ ในการพััฒนาองค์์กรและพััฒนาเศรษฐกิิจ และสัังคม ของประเทศได้้ นอกจากนี้้� คณะผู้้เขีียน ขอขอบคุุณ กลุ่่มพััฒนาระบบและวิิชาการ สำำนัักประเมิินคุุณธรรม และความโปร่่งใส วิิทยาลััยการปกครองท้้องถิ่่น มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น หน่่วยบริิหารและ จััดการทุุนเพื่่อการพััฒนาพื้้�นที่่ (บพท.) ที่่ได้้ร่่วมถอดบทเรีียน ร่่วมแลกเปลี่่ยน ร่่วมค้้นคว้้าและ สนัับสนุุนข้้อมููล และเป็็นกำลัำ ังใจที่่ดียิ่่ ีงเสมอมา จนเรีียบเรีียงหนัังสืือเล่่มนี้้�ได้้เสร็็จสมบููรณ์์ คณะผู้้�เขีียน ศุุภวััฒนากร วงศ์์ธนวสุุ สุุริิยานนท์์ พลสิิม ชนิิดา อาคมวััฒนะ ปุ่่น เที่่ยงบููรณธรรม กิตติกรรมประกาศ
ง เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ กลุ่่มพััฒนาระบบและวิิชาการ สำำนัักประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส สำำนัักงาน ป.ป.ช. และภาคีีเครืือข่่ายทางวิิชาการที่่เกี่่ยวข้้อง ได้้แก่่ วิิทยาลััยการปกครองท้้องถิ่่น มหาวิิทยาลััย ขอนแก่่น หน่่วยบริิหารและจััดการทุุนเพื่่อการพััฒนาพื้้�นที่่ (บพท.) ได้้มีีความมุ่่งมั่่นตั้้�งใจและ ท้้าทายทางความคิิดร่่วมกัันว่่า จะทำำอย่่างไรที่่จะพััฒนาองค์์ความรู้้ด้้านข้้อมููลสาธารณะ (open data) เพื่่อที่่จะยกระดัับการพััฒนาองค์์กร โดยเฉพาะด้้านการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะตาม แนวทางของการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐได้้ จึึงได้ร่้่วมกัันค้้นคว้้า รวบรวม และเรีียบเรีียง ประสบการณ์์ กรณีศึีึกษาต่่างประเทศ : ด้้าน OPEN DATA หรืือข้้อมููลสาธารณะ ขึ้้�น การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ ได้้กลายมาเป็็นประเด็็นสำคัำ ัญในการบริิหารงานของภาครััฐ นัับตั้้�งแต่่ศตวรรษที่่ 20 เป็็นต้้นมา และมีีแนวโน้้มที่่จะทวีีความเข้้มข้้นในอีีก 10 ปีีข้้างหน้้า ต่่อจากนี้้� รััฐบาลหลายประเทศทั่่วโลกได้้ตระหนัักต่่อสิิทธิิการเข้้าถึึงข้้อมููลข่่าวสารของประชาชน (right to information) และการเสริิมสร้้างความโปร่่งใสในการบริิหารงานภาครััฐ ผ่่าน การเปิิดเผยข้้อมููลข่่าวสารการบริิหารงานด้้านต่่าง ๆ ให้้แก่่สาธารณชนได้้รัับทราบ ในฐานะ ที่่เป็็นสิิทธิิขั้้�นพื้้�นฐานของประชาชนที่่รัับรองโดยกฎหมายของรััฐให้้มีีสิิทธิิเข้้าถึึงข้้อมููลต่่าง ๆ ที่่จะส่่งผลกระทบต่่อการพััฒนาคุุณภาพชีีวิิต การประกอบธุุรกิิจ ตลอดจนการเข้้าไปมีี ส่่วนร่่วมทางการเมืืองของประชาชนเพื่่อตรวจสอบและสะท้้อนปััญหาการดำำเนิินงานของรััฐ โดยใช้้ “ข้้อมููลสาธารณะ (open data)” เป็็นเครื่่องมืือหลัักในการขัับเคลื่่อนประเด็็นดัังกล่่าว ข้้อเท็็จจริิงปรากฏให้้เห็็นเป็็นที่่ประจัักษ์์ว่่า ในยุุคที่่ขีีดความสามารถของเทคโนโลยีี สารสนเทศมีีความก้้าวหน้้าอย่่างมาก การพััฒนาระบบเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะของหน่่วยงาน ภาครััฐ (open government data) จึึงเป็็นอีีกเงื่่อนไขสำำคััญประการหนึ่่งที่่หน่่วยงานภาครััฐ ทุุกหน่่วยงานต้้องรัับผิิดชอบเพื่่อแสดงถึึงความโปร่่งใสในการทำำงานและสนองตอบเจตนารมณ์์ ตามรััฐธรรมนููญที่่ให้้การรัับรองสิิทธิิแก่่ประชาชนในการเข้้าถึึงข้้อมููลสาธารณะได้้อย่่างเต็็มที่่ โดยหน่่วยงานภาครััฐมีีหน้้าที่่ส่่งเสริิมและสนัับสนุุนให้้ประชาชนเข้้าถึึงข้้อมููลสาธารณะดัังกล่่าว ได้้อย่่างเสรีี คำ นำ
จ เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ อย่่างไรก็็ตาม การพััฒนาระบบเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data) ถืือเป็็นการบริิหารงาน เชิิงกลยุุทธ์์ (strategic management) ประเภทหนึ่่ง โดยขีีดความสามารถในการพััฒนา ระบบและใช้้ประโยชน์์จากข้้อมููลสาธารณะของแต่่ละประเทศแตกต่่างกัันไป ขึ้้�นอยู่่กัับกลยุุทธ์์ การบริิหารของรััฐบาลแต่่ละประเทศว่่าจะมีีนโยบายที่่มุ่่งเน้้นพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููล สาธารณะเพื่่อแสวงหาโอกาสและประโยชน์์ในการพััฒนาประเทศด้้านใดบ้้าง มีีหลายประเทศ ที่่ใช้้ประโยชน์์จากการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะเพีียงแค่่เป้้าหมายของการเสริิมสร้้างความโปร่่งใส ในการบริิหารงานภาครััฐเท่่านั้้�น ทำำ ให้้ระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data) มีีไว้้ เพีียงแค่่เป็็นตััวกลางในการเผยแพร่่ชุุดข้้อมููลด้้านใดด้้านหนึ่่งเท่่านั้้�น ซึ่่ งเป็็นกลวิิธีีที่่ไม่่คุ้้มค่่า ในเชิิงการจััดการ อย่่างไรก็็ตาม ยัังมีีหลายประเทศโดยเฉพาะประเทศที่่มีีความก้้าวหน้้าทางเศรษฐกิิจสููง ที่่รััฐบาลสามารถใช้้ประโยชน์์จากระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data) ไม่่ใช่่แค่่ เสริิมสร้้างความโปร่่งใสเท่่านั้้�น แต่่ยัังมุ่่งพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะให้้สามารถ สร้้างคุุณค่่าทางเศรษฐกิิจ และนวััตกรรมทางสัังคม ซึ่่ งส่่งผลต่่อการเพิ่่มขีีดความสามารถ ทางการแข่่งขัันของประเทศควบคู่่กัับการเสริิมสร้้างความโปร่่งใสในการบริิหารงานของรััฐ ไปในตััวด้้วย เช่่นกรณีีของสาธารณรััฐเกาหลีี เป็็นต้้น หนัังสืือ “OPEN DATA“ เล่่มนี้้� ถููกเรีียบเรีียงขึ้้�นมาภายใต้้เป้้าหมายหลัักสองประการ ประการแรก คืือ การศึึกษากรอบแนวคิิดว่่าด้้วยการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data framework) ในระดัับนานาชาติิ ไม่ว่่ ่าจะเป็็น กรอบแนวคิิดว่่าด้้วยข้้อมููลสาธารณะใน “กฎบััตร สากลว่่าด้้วยการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ” หรืือ International Open Data Charter กรอบ การประเมิินระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะในระดัับนานาชาติิ เช่่น Open Data Barometer (ODB) กรอบการประเมิิน G20 Anti-Corruption Open Data Principles รวมถึึงดััชนีี การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะโลก (Global Open Data Index) เป็็นต้้น โดยมีีเป้้าหมาย เพื่่อมุ่่งสะท้้อนให้้เห็็นประเด็็นสำำคััญที่่จะสามารถนำำ มาใช้้ประโยชน์์เพื่่อยกระดัับการพััฒนาระบบ การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ (Integrity and
ฉ เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ Transparency Assessment: ITA) ของประเทศไทย ในส่่วนของการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) ส่่วนเป้้าหมายประการที่่สอง คืือ การศึึกษาวิิเคราะห์์ประสบการณ์์หรืือบทเรีียนการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ จากต่่างประเทศ ทั้้�งในรััฐบาลระดัับชาติิและรััฐบาลระดัับท้้องถิ่่น เพื่่อแสวงหาแนวทางในการ พััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะในหน่่วยงานภาครััฐของประเทศไทยให้มี้ีประสิิทธิิภาพ มากยิ่่งขึ้้�น ซึ่่งไม่่เพีียงเสริิมสร้้างความโปร่่งใสเท่่านั้้�น แต่่ควรใช้้ข้้อมููลสาธารณะเป็็นเครื่่องมืือ ยกระดัับขีีดความสามารถทางเศรษฐกิิจและสัังคม อีีกด้้วย โดยคณะผู้้เขีียนได้นำ้ ำเสนอกรณีศึีึกษาของ สาธารณรััฐอิิตาลีี สาธารณรััฐเกาหลีี สาธารณรััฐ อิินเดีีย เมืืองชิิคาโก ประเทศสหรััฐอเมริิกา และมหานครลอนดอน สหราชอาณาจัักร ซึ่งใน่ ส่่วนท้้าย ของหนัังสืือเล่่มนี้้� คณะผู้้เขีียนได้้สรุุปข้้อเสนอแนะสำำคััญ ที่่จะเป็็นประโยชน์์ต่่อการพััฒนา ระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะในหน่่วยงานภาครััฐของประเทศไทยต่่อไป กลุ่่มพััฒนาระบบและวิิชาการ หวัังเป็็นอย่่างยิ่่งว่่า หนัังสืือเล่่มนี้้�จะเป็็นประโยชน์์ต่่อ การบริิหารจััดการข้้อมููล และการพััฒนาระบบข้้อมููลสาธารณะ (open data) ของหน่่วยงาน ภาครััฐประเภทต่่าง ๆ ในประเทศไทย ให้้มีีประสิิทธิิภาพมากยิ่่งขึ้้�น เพื่่อเสริิมสร้้างความโปร่่งใส ในการบริิหารงาน ตลอดจนการแสวงหาแนวทางเชิิงกลยุุทธ์์เพื่่อใช้้ประโยชน์์จากระบบ การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะสำำหรัับขัับเคลื่่อนการแก้้ไขปััญหาพััฒนาเศรษฐกิิจและแก้้ไขปััญหา ทางสัังคมให้้ได้้มากที่่สุุด กลุ่่�มพััฒนาระบบและวิิชาการ สำำ�นัักประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส สำำ�นัักงานคณะกรรมการป้้องกัันและปราบปรามการทุุจริิตแห่่งชาติิ
INTRODUCTION บทนำ 1
1 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ INTRODUCTION บทนำ การเพิ่่มประสิิทธิิภาพในการบริิหาร งานของภาครััฐ เป็็นประเด็็นที่่ถกเถีียงกััน มาอย่่างยาวนาน ทั้้�งในแวดวงนัักวิิชาการ และนัักปฏิิบััติิ ในอดีีตการบริิหารงานของ ภาครััฐยุุคดั้้�งเดิิมเน้้นช่่วงต้้นศตวรรษที่่ 19 ให้้ความสำำคััญไปที่่การจััดการแบบระบบ ราชการ (Bureaucracy) ตามแนวทางของ แม็็ก เวเบอร์์ ซึ่่งในเชิิงของการบริิหารจััดการ ข้้อมููลตามแนวคิิดของแม็็ก เวเบอร์์ (Weberian Bureaucracy) มองว่่า กระบวนการ จััดทำำข้้อมููลและเอกสารรายละเอีียด การบริิหารงานของหน่่วยงานภาครััฐจะต้้อง อยู่่ที่่สำำนัักงาน (office) เพีียงอย่่างเดีียว เท่่านั้้�น ไม่่ว่่าจะเป็็นการติิดต่่อประสานงาน การร้้องเรีียน การให้้บริิการสาธารณะ การยื่่นคำำขอบริิการต่่าง ๆ ต้้องดำำเนิินการแบบ (desk to desk) แบบแผนการบริิหารงานของ ระบบราชการในอดีีต จึึงทำำ ให้สำ้ ำนัักงานหรืือ หน่่วยงานราชการ (official office) เปรีียบเสมืือน โกดัังหรืือคลัังเก็็บเอกสารและข้้อมููล การดำำเนิินงานต่่าง ๆ (repository) ที่่ประชาชน ไม่่สามารถเข้้าถึึงได้้หรืือเข้้าถึึงได้้ยาก หาก ต้้องการข้้อมููลต้้องไปดำำเนิินการที่่สำำนัักงาน เพีียงอย่่างเดีียว (Hughes, 2003: 183-185; Gerth & Mills, 1970: 197; สุุริิยานนท์์ พลสิิม, 2563: 94-95) ดัังนั้้�น กลไกการจััดการข้้อมููลสาธารณะ (open data) เพื่่อเปิิดเผยให้้แก่่ประชาชน และเสริิมสร้้างการมีีส่่วนร่่วมจากผู้้มีีส่่วนได้้ ส่่วนเสีียในยุุคดั้้�งเดิิมนั้้�นจึึงเป็็นไปได้้ยาก ทั้้�งนี้้� ปััจจััยสำำคััญที่่ทำำ ให้้การจััดการข้้อมููล สู่่สาธารณะเป็็นไปได้้ยากก็็เนื่่องมาจากระดัับ ความก้้าวหน้้าทางวิิทยาการและขีีดความ สามารถของเทคโนโลยีีสารสนเทศในขณะนั้้�น มีีเพีียงยุุคอุุตสาหกรรมเครื่่องจัักรไอน้ำ ำ� หรืือ เครื่่องพิิมพ์ดี์ ีดเท่่านั้้�น แม้ว่้่า หน่่วยงานภาครััฐ ในอดีีตจะเป็็นผู้้นำำ ในการใช้้อุุปกรณ์์ต่่าง ๆ ก็็ตาม เอกสารข้้อมููลการดำำเนิินงานทุุกอย่่าง จึึงถููกจััดเก็็บและจำำเป็็นต้้องดำำเนิินการผ่่าน สำำนัักงานเป็็นหลััก ต่่างจากความสามารถ และความก้้าวหน้้าของระบบเทคโนโลยีี สารสนเทศในยุุคปััจจุุบัันอย่่างสิ้้�นเชิิง 1
2 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ซึ่ ่ งปััจจุุบัันความก้้าวหน้้าทางวิิทยาการของ ระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศถึึงขนาดว่่า มีีปััญญาเทีียบเท่่าหรืือเหนืือกว่่ามนุุษย์์ (AI) ในหลายด้้าน ดัังนั้้�น ความพร้้อมของ ระบบสนัับสนุุนที่่จะทำำ ให้้หน่่วยงานภาครััฐ มีีการเปิิดเผยข้้อมููลเกี่่ยวกัับการดำำเนิินงาน การบริิหารเงิินงบประมาณ บริิหารคน บริิหาร ความสััมพัันธ์์ จึึงเป็็นความจำำเป็็น และสำำคััญ ขณะเดีียวกัันการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะของ หน่่วยงานภาครััฐ ถืือเป็็นแหล่่งข้้อมููลสำำคััญ ในการผลัักดัันให้้เกิิดการรัับรู้้ของประชาชน ในวงกว้้าง อัันนำำมาซึ่งการส ่ ร้้างความโปร่่งใส ให้้กัับหน่่วยงานภาครััฐ เพราะเมื่่อประชาชน สามารถเข้้าถึึงและรัับรู้้ข้้อมููลภาครััฐได้้ อย่่างเต็็มที่่ จะส่่งผลให้้ประชาชนมีีส่่วนร่่วม ในการดำำเนิินการ ร่่วมกำำกัับติิดตามตรวจสอบ รวมถึึงร่่วมในการตััดสิินใจในการดำำเนิินงาน ของหน่่วยงานภาครััฐได้้มากขึ้้�น อัันจะนำำ ไปสู่่การเกิิดจิิตสำำนึึกของความเป็็นเจ้้าของ (Sense of Ownership) รวมถึึงการทำำ ให้้ กิิจการสาธารณะต่่าง ๆ มีีการออกแบบได้้ตรง ตามปััญหาและความต้้องการของประชาชน ได้้อย่่างแท้้จริิง เท่่ากัับว่่า ประชาชนมีส่ี่วนร่่วม ในการออกแบบประเทศ การกำำกัับติิดตาม การทำำงานของรััฐบาล รวมถึึงการใช้้ งบประมาณของภาครััฐ จะเห็็นได้้ว่่าอิิทธิิพลของความก้้าวหน้้า ด้้านเทคโนโลยีีสารสนเทศได้้กลายมาเป็็น เงื่่อนไขชิ้้�นสำำคััญที่่ก่่อให้้เกิิดการเปลี่่ยนแปลง ครั้้�งใหญ่ทั้้ ่ �งในเชิิงการใช้ชี้วิีิตของมนุุษย์์ กลไก ทางเศรษฐกิิจและสัังคม ตลอดจนแบบแผน การดำำเนิินงานภาครััฐในทุุกประเทศทั่่วโลก ซึ่ ่ งทำำ ให้้โลกของการบริิหารและการจััดการ กลายมาเป็็นโลกที่่มีีข้้อมููลเป็็นศููนย์์กลาง (data-centric world) ซึ่่ งข้้อมููลเหล่่านี้้�เอง มีีอิิทธิิพลทั้้�งในเชิิงการเมืือง การจััดการ ปกครอง หรืือโดยเฉพาะอย่่างยิ่่งการพััฒนา เศรษฐกิิจในยุุคทุุนนิิยมเสรีี (Buchholtz & Bukowski & Sniegocki, 2014: 8-23 Máchová & Lnénicka, 2017: 21; ศรรวริิศา เมฆไพบููลย์์, 2561) อย่่างไรก็็ตาม การอธิิบายว่่าเทคโนโลยีี คืือปััจจััยสำำคััญที่่ทำำ ให้้การบริิหารงานของรััฐ หัันมาตระหนัักต่่อความสำำคััญของการจััดการ ข้้อมููลเพื่่อเปิิดเผยต่่อสาธารณะ (open data) นั้้�นเป็็นความจริิงที่่ถููกต้้องเพีียงครึ่่งเดีียว เพราะยัังมีีปััจจััยอีีก 2 ประเด็็นใหญ่่ ๆ ที่่เป็็น เงื่่อนไขสำำคััญซึ่่ งรััฐต้้องให้้ความตระหนััก อย่่างมากต่่อการสร้้างระบบการเปิิดเผยข้้อมููล สาธารณะ (open data) ให้้เกิิดขึ้้�นอย่่าง จริิงจััง นั่่นก็็คืือ ประเด็็นด้้านสิิทธิิขั้้�นพื้้�นฐาน ของประชาชน และประเด็็นด้้านประสิิทธิิภาพ เชิิงการจััดการ (Máchová & Lnénicka, 2017: 24-25; Buchholtz & Bukowski & Sniegocki, 2014; Harris & Wyndham, 2015: 334-337; Chapman & Wyndham, 2013: 1291; Kuriakose & Iyer, 2018:1- 24; Ubaldi, 2013: 4-5; Hughes, 2003: 192-196) โดยเฉพาะอย่่างยิ่่งประเด็็นสิิทธิิ ด้้านข้้อมููลข่่าวสาร (data rights) ซึ่่ งเป็็นสิิทธิิ ขั้้�นพื้้�นฐานที่่ประชาชนหรืือผู้้มีส่ี่วนได้ส่้่วนเสีีย กัับการดำำเนิินงานของภาครััฐต้้องมีสิีิทธิิเข้้าถึึง ข้้อเท็็จจริิงในการบริิหารงานของรััฐได้้อย่่างเต็็มที่่ (right to information) (Ubaldi, 2013: 4-5)
3 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ในส่่วนของประเด็็นด้้านการจััดการนั้้�น การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data) มีีส่่วนสำำคััญอย่่างยิ่่งในการลดต้้นทุุนทาง การบริิหาร ปฏิิรููปการทำำงานของหน่่วยงานภาครััฐ และเสริิมสร้้างความโปร่่งใสเชิิงการจััดการ ภายในองค์์กรและการบริิหารงบประมาณ (Florini, 2007: 338-339) ในยุุคที่่ขีีดความสามารถของระบบ เทคโนโลยีีสารสนเทศก้้าวหน้้าอย่่าง รอบด้้าน การบููรณาการและใช้้ประโยชน์์ จากเทคโนโลยีดัีังกล่่าว ถืือเป็็นเงื่่อนไขสำำ�คััญ อย่่างยิ่่งต่่อการพััฒนาระบบบริิหารงาน ของภาครััฐในยุุคที่่โลกกำำ�ลัังพลิิกผััน เปลี่่ยนแปลงอย่่างรวดเร็็ว (disruptive world) และโลกในยุุคปััจจุุบัันกำำ�ลัังถููก ขัับเคลื่่อนด้้วยการพึ่่งพาข้้อมููลเป็็นหลััก (data-centric world) ทั้้งในภาคการเมืือง การบริหาิรจััดการของภาคธุุรกิิจเอกชนและ หน่่วยงานภาครััฐด้้วย ด้้วยเหตุุนี้้� เมื่่อทุุกภาคส่่วนที่่มีีอยู่่ ในสัังคมล้้วนจำำเป็็นต้้องพึ่่งพาข้้อมููลเพื่่อ ประโยชน์์ในการตััดสิินใจและขัับเคลื่่อน กลไกทางเศรษฐกิิจและสัังคม หน่่วยงาน ของรััฐจึึงมีีหน้้าที่่สำำคััญอย่่างมากในการที่่จะ ทำำ ให้้ข้้อมููลต่่าง ๆ เหล่่านี้้�สามารถเข้้าถึึงได้้ อย่่างไม่่มีีข้้อจำำกััด โดยเฉพาะอย่่างยิ่่งข้้อมููล การบริิหารงาน การดำำเนิินงานด้้านต่่าง ๆ ตามภารกิิจของหน่่วยงานภาครััฐที่่เป็็น ประโยชน์์ต่่อการพััฒนาทางเศรษฐกิิจ และ การวิิเคราะห์์ประสิิทธิิภาพหรืือผลการดำำเนิินงาน ของรััฐด้้วยการสร้้างการมีีส่่วนร่่วมของ ประชาชนในการร่่วมออกแบบประเทศ ในฐานะพลเมืืองที่่กระฉัับกระเฉง (active citizen) หากข้้อมููลมีีมากพอต่่อการ นำำ ไปใช้้ประโยชน์์ของทั้้�งหน่่วยงานภาครััฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสัังคม ก็็จะ ยิ่่งทำำ ให้้การบริิหารงานของรััฐมีีความโปร่่งใส สร้้างความเชื่่อมั่่นต่่อประชาชนและนัักลงทุุน อัันจะนำำ ไปสู่่อััตราทางเศรษฐกิิจ การลงทุุน และการพััฒนาทางสัังคมที่่สููงขึ้้�น เพราะ ประชาชนและภาคเอกชนเชื่่อมั่่นต่่อการ บริิหารงานของภาครััฐนั่่นเอง ดัังนั้้�น หนัังสืือเล่่มนี้้� จึึงเกิิดขึ้้�นผ่่าน ความตั้้�งใจของคณะผู้้เขีียนหลััก ๆ สอง ประการ คืือ สร้้างความตระหนัักให้้กัับ หน่่วยงานภาครััฐและสาธารณชนต่่อ ความสำคัำ ัญของการพััฒนาระบบการเปิิดเผย ข้้อมููลสาธารณะ (open data) ให้้มีี ประสิิทธิิภาพผ่่านการศึึกษาบทเรีียนและ หลัักการพััฒนาในระดัับชาติิและนานาชาติิ รวมถึึงแสวงหาแนวทางและข้้อเสนอแนะ ในการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููล สาธารณะ (Open data Integrity and Transparency Assessment: OIT) เพื่่�อเปิิดประเด็็นการพิิจารณาและ ยกระดัับแนวทางใหม่่ ๆ ในการพััฒนาระบบ การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data) ของหน่่วยงานภาครััฐในประเทศไทยให้้มีี ประสิิทธิิภาพและมีีความโปร่่งใสมากยิ่่�งขึ้้�น
BASIC PRINCIPLES AND GLOBAL STANDARD OF OPEN DATA หลักการพื้นฐาน และมาตรฐานด้าน การเปิดเผยข้อมูล ในระดับนานาชาติ (Basic Principles and Global Standard of Open data) 2
5 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ BASIC PRINCIPLES AND GLOBAL STANDARD OF OPEN DATA หลักการพื้นฐานและมาตรฐานด้าน การเปิดเผยข้อมูลในระดับนานาชาติ (Basic Principles and Global Standard of Open data) มีีคำำถามเกิิดขึ้้�นบ่่อยครั้้�ง เมื่่อเอ่่ยถึึง คำำว่่า “ข้้อมููลสาธารณะ(open data)” กัับ “ความโปร่่งใส (transparency)” แม้ว่้่าคำำ 2 คำำนี้้� จะมีีความสััมพัันธ์์กัันอย่่างแนบแน่่น ดัังได้้กล่่าวไปแล้้วในบทที่่ 1 ดัังนั้้�น คณะผู้้เขีียน จึึงขอนำำเสนอ ความหมาย คำำนิิยามหรืือการอธิิบาย ที่่ชััดเจน ก่่อนที่่คณะผู้้เขีียนจะได้้นำำเสนอ ประเด็็นอื่่น เชิิงลึึกต่่อไป ถึึงแม้้ว่่า แนวคิิด เรื่่องความโปร่่งใส (transparency) จะถููก นำำ ไปใช้้อย่่างแพร่่หลาย กระนั้้�นก็็ตาม การอธิิบายความหมาย หรืือแม้้กระทั่่งแนวทางในการศึึกษาและ ประเมิินความโปร่่งใสเองยัังไม่่มีีข้้อสรุุป ที่่แน่่ชััดว่่า นิิยามของคำำว่่า ความโปร่่งใส ตลอดจนแนวทางในการศึึกษาใดเป็็นแนวทาง การศึึกษาที่่ดีีที่่สุุดหรืือเป็็นนิิยามที่่เหมาะสม ที่่สุุดสำำหรัับแนวคิิดเรื่่องความโปร่่งใส (Florini, 2007: 4) เนื่่องจากความโปร่่งใส (transparency) สามารถอธิิบายได้้แตกต่่าง กัันไปในหลายบริิบท เช่่น ในบ ริิบท ทั่่วไปตาม นิิ ย า ม ข อ ง Cambridge Dictionary อธิิบายว่่าความโปร่่งใส คืือ ความสามารถที่่จะมองทะลุุผ่่านได้้ ส่่วนในทางรััฐศาสตร์์ ความโปร่่งใส ถููกอธิิบายผ่่านความคิิด เรื่่องอำำ นาจ (power) ซึ่ ่งโดยทั่่วไปแล้้ว มองว่่าความโปร่่งใส คืือ การเพิ่่มอำำ นาจให้้ประชาชนสามารถเข้้าถึึง ข้้อมููลเชิิงนโยบายและเชิิงพฤติิกรรมของรััฐ ส่่วนในทางเศรษฐศาสตร์์ คืื อ กระบวนการที่่ทำำ ให้ข้้้อมููลเกี่่ยวกัับการทำำงาน เงื่่อนไข การตััดสิินใจ และการปฏิิบััติิงาน สามารถเข้้าถึึงได้้ เผยแพร่่ และทำำความเข้้าใจได้้ (International Monetary, 1998) หรืือในด้้านความมั่่นคง ความโปร่่งใส คืือ การนำำเสนอหรืือเปิิดเผยข้้อมููลอย่่าง เป็็นระบบ ในเรื่่องที่่จำำเพาะเจาะจงเกี่่ยวกัับ กิิจกรรมด้้านการทหาร ทั้้�งที่่เป็็นทางการและ ไม่่เป็็นทางการ (United Nations, 1991) ห รืือใน ด้้านการจััดการองค์์ ก ร ความโปร่่งใส ถููกมองว่่า เป็็นกระบวนการ การเปิิดเผยข้้อมููลด้้านต่่าง ๆ ที่่มีีความสำำคััญ 2
6 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ต่่อการบริิหารและประเมิินผลการดำำเนิินงาน ของหน่่วยงาน (Bauhr & Grimes, 2012: 4) เป็็นต้้น อย่่างไรก็็ตาม นิิยามโดยทั่่วไปของ คำำว่่า ความโปร่่งใส ในเชิิงการบริิหารจััดการ ของรััฐ คืือ การเปิิดเผยข้้อมููลการบริิหารงาน ด้้านต่่าง ๆ ของหน่่วยงานให้้สาธารณะชน ได้้รัับทราบ หรืือทำำ ให้้ข้้อมููลเหล่่านั้้�นมีีอยู่่ อย่่างเปิิดเผย เข้้าถึึงได้ง่้่าย (USAID, 2013: 1) ไม่่ว่่าจะเป็็นข้้อมููลด้้านการจััดการองค์์กร แผนการดำำเนิินงาน ข้้อมููลด้้านการบริิหาร งบประมาณ ผลการดำำเนิินงานด้้านต่่าง ๆ เป็็นต้้น นอกจากนี้้� ลัักษณะหรืือองค์์ประกอบ สำำคััญความโปร่่งใสยัังสามารถจำำแนกได้้เป็็น 6 องค์์ประกอบหลััก (Sturges, 2004:5) ได้้แก่่ 1. รััฐบาลแบบเปิิด (open government) ที่่สาธารณชนสามารถ เข้้าถึึงข้้อมููลและประเด็็นการทำำงาน ต่่าง ๆ ของหน่่วยงานได้้ ตลอดจน มุ่่งทำำงานเพื่่อตอบสนองต่่อ ประชาชนอย่่างมีีความรัับผิิดชอบ 2. เสรีีภาพตามกฎหมายข้้อมููล ข่่าวสาร (freedom of information laws) 3. การปกป้้องผู้้�นำำ�ข้้อมููลการกระทำำ� ผิิดกฎหมายในองค์์กรออกมา เผยแพร่่ (whistleblowing) 4. ความรัับผิิดชอบทางการเงิิน และการตรวจสอบ (financial accountability and auditing) 5. เสรีีภาพของสื่่อมวลชน (investigative journalism) 6. ค วา ม ก ร ะ ฉัั บ ก ร ะ เ ฉ งของ ภาคประชาสัังคม (civil society campaign) ในการตรวจสอบและ เรีียกร้้องการเปิิดเผยข้้อมููลประเภท ต่่าง ๆ สู่่สาธารณะ เป็็นต้้น ส่่วน Ann Florini (2007:5) บรรณาธิิการในหนัังสืือชื่่อ “The Right to Know: Transparency for An Open World” ได้้อธิิบายความหมายของคำำว่่า “ความโปร่่งใส” เอาไว้้อย่่างน่่าสนใจ ซึ่่ง Ann Florini อธิิบายว่่าความโปร่่งใส คืือ ระดัับที่่ข้้อมููลข่่าวสารมีีอยู่่ หรืือเข้้าถึึงได้้โดยกลุ่่มคนภายนอกเพื่่อนำำ ไปใช้้สำำหรัับสะท้้อนความคิิดเห็็นในการตััดสิินใจ หรืือ ประเมิินผลการตััดสิินใจด้้านต่่าง ๆ ที่่ดำำเนิินการโดยกลุ่่มคนภายในองค์์กร จะเห็็นได้้ว่่า ข้้อคิิดเห็็นที่่ได้้นำำ เสนอไปข้้างต้้น มีีจุุดร่่วมสำำคััญของการอธิิบายความหมาย ของแนวคิิดเรื่่องความโปร่่งใส (transparency) ก็็คืือ การเปิิดเผยข้้อมููลแก่่สาธารณชน หรืือ ทำำ ให้ข้้้อมููลด้้านการบริิหารและการทำำงานของรััฐสามารถเข้้าถึึงได้้โดยไม่มี่ข้ี้อจำำกััด กระนั้้�น ก็็ตาม ความโปร่่งใส ไม่่ได้้มุ่่งไปที่่การเปิิดเผยข้้อมููลเพีียงอย่่างเดีียวเท่่านั้้�น แต่่ยัังรวมถึึงสิิทธิิ เสรีีภาพของประชาชนในการเข้้าไปมีีส่่วนร่่วมเพื่่�อตรวจสอบการบริิหารงานของรััฐ รวมถึึงสิิทธิิ และเสรีีภาพของสื่่�อมวลชนและภาคประชาสัังคม ในการนำำเสนอข้้อมููลได้้อย่่างอิิสระด้้วย
7 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ในส่่วนของ “ข้้อมููลเปิิดหรืือข้้อมููล สาธารณะ(open data)”ดููจะเป็็นคำำนิิยาม ที่่มีีความหมายชััดเจนในตััวของมัันเอง ซึ่่ ง ธนาคารโลก (World Bank) อธิิบายความหมาย ของข้้อมููลสาธารณะไว้ว่้่า “ข้้อมููลต่่าง ๆ จะถููก พิิจารณาว่่าเป็็นข้้อมููลสาธารณะก็็ต่่อเมื่่�อ ทุุกคนสามารถเข้้าถึึงข้้อมููล นำำ ไปใช้้ประโยชน์์ เรีียกใช้้ข้้อมููลซ้ำำ� หรืือเผยแพร่่ข้้อมููลเหล่่านี้้� ได้้อย่่างอิิสระ ไม่่ว่่าจะเพื่่�อวััตถุุประสงค์์ใด ก็็ตาม โดยปราศจากข้้อจำำกััด” (Data are considered to be “open” if anyone can freely access, use, re-use and redistribute them, for any purpose, without restrictions) (World Bank, 2020) จากคำนิำ ิยามดัังกล่่าว ธนาคารโลก อธิิบายเพิ่่มเติิมว่่า ข้้อมููลสาธารณะ (open data) ต้้องประกอบด้้วยลัักษณะสำคัำ ัญ 2 ประการ คืือ การเปิิดเผยข้้อมููลอย่่างถููกต้้องตาม กฎหมาย (legally open) หมายความว่่า ข้้อมููลที่่ทุุกคนสามารถเข้้าถึึง ดาวน์์โหลด เรีียก ใช้้ข้้อมููลย้้อนหลััง หรืือเผยแพร่่ได้้อย่่างอิิสระ และประการที่่สองคืือการเปิิดเผย ข้้อมููลในเชิิงเทคนิิค (technically open) หมายถึึง ข้้อมููลที่่เปิิดเผยดัังกล่่าวจะต้้อง ไม่่สร้้างค่่าใช้้จ่่ายเพิ่่มเติิมนอกเหนืือไปจาก การผลิิตซ้ำ ำ� หรืือการดาวน์์โหลดเอกสาร ที่่สามารถทำำความเข้้าใจได้้ผ่่านอุุปกรณ์์ อิิเล็็กทรอนิิกส์์ต่่าง ๆ เป็็นต้้น สอดคล้้องกัับคำำอธิิบายในกฎบััตร สากลว่่าด้้วยข้้อมููลสาธารณะ (international Open data Charter) ที่่นิิยามความหมาย ของข้้อมููลสาธารณะไว้้อย่่างชััดเจนว่่า “ข้้อมููล สาธารณะ คืือ ข้้อมููลดิิจิิทััลที่่เผยแพร่่ หรืือเข้้าถึึงได้้ด้้วยคุุณลัักษณะทางเทคนิิค และทางกฎหมายที่่มีีความจำำ�เป็็นสำำ�หรัับ การนำำ�ข้้อมููลไปใช้้ประโยชน์์เรีียกใช้้ข้้อมููล ซ้ำำ�ได้้ และสามารถเผยแพร่่ได้้อย่่างอิิสระ ในทุุก ๆ ที่่ ไม่่ว่่าจะอยู่่�ในสถานที่่ใดก็็ตาม (“Open data is digital data that is made available with the technical and legal characteristics necessary for it to be freely used, reused, and redistributed by anyone, anytime, anywhere.”) (Open data Charter, 2015:1) เช่่นเดีียวกัับแนวคิิดของ Open Knowledge Foundation ซึ่ ่ งมีีบทบาท อย่่างไรก็็ตาม สำำ�หรัับมุุมมองของคณะผู้้เขีียน มีีความเห็็นว่่า “ความโปร่่งใส (transparency)” จำำ�เป็็นจะต้้องมีลัี ักษณะการบริิหารงาน ที่่ใสสะอาด เผยให้้เห็็นข้้อเท็็จจริิงทางการบริิหารได้้ในทุุกรายละเอีียด บริิหารงานอย่่างมีีความรัับผิิดชอบ และพร้้อมส่่งเสริิมการมีีส่่วนร่่วม เพื่่อตรวจสอบการทำำ�งานจากทุุกภาคส่่วนตลอดเวลา
8 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ สำำคััญในการผลัักดัันเรื่่องการเปิิดเผยข้้อมููล สาธารณะในระดัับโลกได้้นิิยามความหมาย ของการเปิิดเผยข้้อมููลว่่า การเปิิด หรืือ การเปิิดเผย (open) คืือ การที่่ทุุกคนสามารถ เข้้าถึึง ใช้้ ประยุุกต์์ และเผยแพร่่ เพื่่อ วััตถุุประสงค์์ต่่าง ๆ ได้้อย่่างอิิสระ (Open Knowledge Foundation, 2020) ดัังนั้้น ข้้อมููลแบบเปิิดหรืือข้้อมููล สาธารณะ (open data) จึึงหมายถึึง ข้้อมููลดิิจิิทััลหรืือเนื้้อหาที่่สามารถนำำ�ไปใช้้ ประยุุกต์์เรีียกใช้้งานซ้ำำ�ได้้ หรืือเผยแพร่่ ได้้อย่่างอิิสระไม่่ว่่าจะถููกนำำ�ไปใช้้ภายใต้้ วััตถุุประสงค์์ใด ๆ ก็็ตาม นอกจากนี้้� ยัังมีีแนวคิิดของ Felipe Gonzalez-Zapata และ Richard Heeks (2015: 441-452) ที่่อธิิบายกรอบแนวคิิดการเปิิดเผยข้้อมููลการบริิหารงานภาครััฐ (open government data) ไว้้อย่่างน่่าสนใจ โดยแนวคิิดของ Felipe Gonzalez-Zapata และ Richard Heeks อธิิบายว่่า การจะเสริิมสร้้างระบบบริหาิรจััดการข้้อมููลการบริหาิรงานภาครััฐแบบเปิิด (Open Government Data: OGD) ให้้มีีประสิิทธิิภาพได้้ จำำ�เป็็นต้้องคำำ�นึึงถึึงข้้อมููลจากกลุ่่�มผู้้�มีี ส่่วนได้้ส่่วนเสีียทุุกฝ่่ายที่่มีีความคิิดเห็็นแตกต่่างกััน ผ่่านการเชื่่อมโยง3 วิธีิีการหลัักเข้้าด้้วยกััน ประกอบด้้วย การจััดการระบบข้้อมููลของหน่่วยงานภาครััฐ (government data) การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data) และการสร้้างรััฐบาลแบบเปิิด (open government) โดยมีีรายละเอีียด ดัังนี้้� • วิธีิีการการจััดการข้้อมููลของภาครััฐ (government data approach) คืือ การจััดการข้้อมููลที่่เป็็นความรัับผิิดชอบของหน่่วยงานรััฐ เป็็นเสมืือน หััวเรืือใหญ่่เพีียง หน่่วยงานเดีียว ทำำหน้้าที่่ในการจััดเก็็บ จััดการ รัักษา และปกป้้องข้้อมููลด้้านต่่าง ๆ ของประชาชน องค์์กรต่่าง ๆ ตลอดจนข้้อมููลที่่เชื่่อมโยงกัับการบริิการสาธารณะ ด้้านต่่าง ๆ อย่่างไรก็็ตาม จุุดด้้อยของวิธีิีการนี้้� คืือ ข้้อมููลต่่าง ๆ เหล่่านี้้�สามารถจััดการ ได้้ดีีที่่สุุดภายในหน่่วยงานของรััฐเองเท่่านั้้�น และยัังไม่่สามารถสะท้้อนให้้เห็็นถึึง ความโปร่่งใสในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ • วิธีิีการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data approach) เป็็นกระบวนการที่่เกิิดขึ้้�นโดยอาศััยการบููรณาการระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศ (ICT) ที่่เกี่่ยวข้้องกัับนวััตกรรมและการกระจายข้้อมููลข่่าวสารที่่สามารถทำำ ให้้เกิิดการเข้้าถึึง ข้้อมููลของรััฐได้้มากกว่่าวิิธีีการแรก อย่่างไรก็็ตาม ข้้อกัังวลสำำคััญของวิิธีีการนี้้� คืือ การเอาชนะข้้อจำำกััดในด้้านการเข้้าถึึงข้้อมููลข่่าวสารผ่่านเทคโนโลยีีที่่ข้้อมููลเหล่่านี้้� ถููกจััดเก็็บ จััดการ หรืือเผยแพร่่ • รััฐบาลแบบเปิิด (open government) เกิิดขึ้้�นมาภายใต้้ความเชื่่อที่่ว่่า การตััดสิินใจของรััฐบาลและการดำำเนิินงานด้้านต่่าง ๆ ควรเป็็นไปอย่่างโปร่่งใสและ
9 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ มีีส่่วนร่่วม (transparent and participative) อย่่างไรก็็ตาม ข้้อกัังวลสำำคััญก็็คืือ การเสริิมสร้้างพลัังอำำ นาจให้กั้ับประชาชนและองค์์กรภาคประชาสัังคมสามารถเข้้าไป มีีส่่วนร่่วมได้้อย่่างเต็็มที่่ในกระบวนการเสริิมสร้้างรััฐบาลแบบเปิิด แผนภาพที่่� 1 กรอบแนวคิิดการเสริิมสร้้างระบบบริิหารจััดการข้้อมููลการบริิหารงาน ภาครััฐ แบบเปิิด (OGD) ปรัับปรุุงโดยคณะผู้้เขีียน จาก Gonzalez-Zapata & Heeks (2015: 442) ใน The multiple meanings of open government data: Understanding different stakeholders and their perspectives Data OGD Open Government Data Open Data Open Government Government จากแนวคิิดการอธิิบายข้้อมููลสาธารณะ (open data) ทั้้�งของธนาคารโลก และนัักวิิชาการ ข้้างต้้น จะเห็็นได้ว่้่า การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ มีีความเชื่่�อมโยงโดยตรงกัับการบููรณาการ เทคโนโลยีีสารสนเทศ (ICT) และการรัับฟัังความคิิดเห็็นจากกลุ่่มผู้้มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย จากการบริิหารงานของหน่่วยงานภาครััฐจากทุุกภาคส่่วน สำำหรัับมุุมมองของคณะผู้้เขีียนแล้้ว ขออธิิบายนิิยามของข้้อมููลสาธารณะ (open data) ว่่าเป็็น “ข้้อมููลที่่ถู�ูกนำำมาเผยแพร่่อย่่างเปิิดเผย ไม่ว่่ ่าจะด้้วยวิธีิีการใด ๆ ก็็ตาม ข้้อมููลเหล่่านี้้� สามารถเข้้าถึึงได้้อย่่างเป็็นสาธารณะ และนำำ ไปใช้้ประโยชน์์ได้้อย่่างอิิสระ โดยไม่มี่ ีข้้อจำำกััด
10 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ กรอบการประเมินมาตรฐานการเปิดเผย ข้อมูลสาธารณะในระดับนานาชาติ ในส่่วนนี้้� คณะผู้้เขีียนมุ่่งนำำเสนอ กรอบแนวคิิดและประเด็็นสำำคััญที่่องค์์กร ระดัับนานาชาติินำำ ไปใช้้เป็็นมาตรฐานในการ ประเมิินประสิิทธิิภาพและจััดอัันดัับการเปิิดเผย ข้้อมููลสาธารณะ (open data) ในหลาย ประเทศทั่่วโลก ซึ่่งในบางองค์์กรมีีการจััด อัันดัับของประเทศไทยรวมเข้้าไปด้้วย (แต่่ใน บางแห่่งไม่่มีี เนื่่องจากประเทศไทยไม่่ได้้เป็็น ภาคีีสมาชิิกหรืือลงนามในพัันธะสััญญาเพื่่อ พััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ) แต่่มีีประเด็็นและกรอบการประเมิินที่่เป็็น ประโยชน์ต่์ ่อการนำำ ไปใช้้เพื่่อพััฒนาระบบการ เปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะของประเทศไทยได้้ ในหนัังสืือเล่่มนี้้� คณะผู้้เขีียนได้คั้ัดเลืือก 4 องค์์กรหลััก ได้้แก่่ กรอบการประเมิิน “Open data Barometer” ของมููลนิิธิิ World Wide Web Foundation รวมถึึง หลัักการของ “กฎบััตรสากลว่่าด้้วยการเปิิดเผย ข้้อมููลสาธารณะ” หรืือ International Open Data Charter และ กรอบการประเมินิ “G20 Anti-Corruption Open data Principles” ซึ่่�งมีีรากฐานแนวคิิดพััฒนา มาจากกฎบััตรสากลว่่าด้้วยการเปิิดเผย ข้้อมููลสาธารณะ รวมไปถึึง ดััชนีีการเปิิดเผย ข้้อมููลสาธารณะโลก ด้้วย กฎบััตรสากลว่่าด้้วยการเปิิดเผยข้้อมููล สาธารณะ (International Open data Charter) เกิิดขึ้้�นภายใต้้การขัับเคลื่่อนของ องค์์กรกฎบััตรข้้อมููลสาธารณะ (Open Data Charter) ซึ่่ งดำำเนิินการภายใต้้ความร่่วมมืือ ระหว่่างองค์์กรรััฐบาลมากกว่่า 100 แห่่ง ทั่่วโลก ทั้้�งที่่�เป็็นรััฐบาลระดัับชาติิและ ระดัับท้้องถิ่่�น โดยมีีจุุดมุ่่งหวัังเพื่่อพััฒนา ระบบการบริิหารจััดการข้้อมููลสาธารณะ ภาครััฐให้้มีีประสิิทธิิภาพ กระทั่่งในปีี 2013 ได้้เริ่่มมีีการร่่าง หลัักการสำำคััญเกี่่ยวกัับการบริิหารจััดการ ข้้อมููลสาธารณะสำำหรัับกลุ่่มประเทศ G8 จำำ นวน 5 หลัักการ ซึ่่ งก็็เป็็นหลัักการทั่่วไป ไม่่ได้้จำำเพาะเจาะจงมากนััก กระทั่่งในปีี 2015 คณะทำำ งานได้้เริ่่ม ผลัักดัันและร่่างกฎบััตรสากลว่่าด้้วยการ เปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (International Open Data Charter) ขึ้้�นมา ซึ่่ งเป็็นส่่วนงานหนึ่่ง ของสมััชชาใหญ่่แห่่งสหประชาชาติิในปีี 2015 2.1 กฎบััตรสากลว่่าด้้วยการเปิิดเผย ข้้อมููลสาธารณะ (International Open Data Charter)
11 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ (United Nations General Assembly) ภายใต้้ความร่่วมมืือจากกลุ่่มประเทศรััฐบาล ที่่อยู่่ในเครืือข่่าย Open Government Partnership’s (OGP) มากกว่่า 78 ประเทศ องค์์กรภาคประชาสัังคมนานาชาติิ เช่่น มููลนิิธิิ World Wide Web Foundation, Open Data Institute, Open Knowledge Foundation, Center for Internet and Society, and the Initiative for Latin American Open Data โดยได้้ร่่วมกัันกำำหนดหลัักการสำำคััญ ของกฎบััตรสากลว่่าด้้วยการเปิิดเผยข้้อมููล สาธารณะ (International Open data Charter) ขึ้้�น จำำ�นวน 6 หลัักการ (Open data Charter, 2020) ปรากฏอยู่่�ใน กฎบััตรข้้อที่่ 10 ซึ่่งทุุกองค์์กรที่่เป็็นภาคีี เครืือข่่ายต้้องนำำ�ไปใช้้เป็็นหลัักการพื้้นฐาน ในการเผยแพร่่ข้้อมููลสาธารณะ (open data) ประกอบด้้วย 1. เปิิดข้้อมููลเป็็นค่่าตั้้งต้้น (open by default) หมายถึึงว่่า ข้้อมููลต่่าง ๆ ของ หน่่วยงานจะต้้องถููกนำำมาเปิิดเผยและเข้้าถึึงได้้โดยไม่่มีีเงื่่อนไขหรืือความจำำเป็็นต้้อง ร้้องขอการอนุุญาตให้้เข้้าถึึงข้้อมููลจากข้้าราชการหรืือผู้้มีอำีำนาจ และหน่่วยงานรััฐบาล จำำเป็็นจะต้้องพิิจารณาอย่่างรอบคอบว่่าข้้อมููลใดเป็็นควรเป็็นความลัับที่่ไม่จำ่ ำเป็็นต้้อง เปิิดเผยพร้้อมกัับคำำอธิิบายที่่มีีเหตุุผลเพีียงพอ เช่่น ข้้อมููลด้้านความมั่่นคง หรืือข้้อมููล ส่่วนบุุคคลที่่ไม่่ได้รั้ับอนุุญาตให้้ใช้้สิิทธิิในข้้อมููล เป็็นต้้น 2. ความทัันท่่วงทีีและความครอบคลุุม (timely and comprehensive) โดยต้้อง มีีการเปิิดเผยข้้อมููลที่่รวดเร็็ว ทัันต่่อสถานการณ์ที่่มี์ ีความจำำเป็็นต้้องใช้ข้้้อมููล และต้้อง มีีวิิธีีการในการเผยแพร่่ข้้อมููลที่่สามารถเข้้าถึึงได้้อย่่างครอบคลุุม โดยให้้ความสำำคััญ ไปที่่ความดั้้�งเดิิมของชุุดข้้อมููล ไม่มี่ ีการปรัับเปลี่่ยนหรืือเปลี่่ยนแปลงข้้อมููลไปจากเดิิม 3. สามารถเข้้าถึึงได้้และใช้้ประโยชน์์ได้้ (accessible and usable) หมายถึึง ต้้อง เป็็นการเปิิดเผยข้้อมููลในรููปแบบที่่สามารถใช้้การได้้บนอุุปกรณ์์ประเภทต่่าง ๆ และ ง่่ายต่่อการค้้นหาเพื่่อนำำข้้อมููลไปใช้้ประโยชน์์ การนำำเสนอข้้อมููล รููปแบบการเผยแพร่่ สามารถทำำความเข้้าใจได้ง่้่าย ตลอดจนข้้อมููลที่่นำำมาเผยแพร่ต้่ ้องไม่่เสีียค่่าใช้จ่้่ายใด ๆ เพิ่่มเติิมแก่่ผู้้ใช้้งาน 4. เปรีียบเทีียบได้้และนำำ ไปใช้้งานร่่วมกัันได้้ (comparable and interoperable) หมายถึึง ต้้องเป็็นชุุดข้้อมููลที่่มีีคุุณภาพ มีีคุุณสมบััติิที่่สามารถนำำ ไปใช้้งานได้้ หลากหลาย และนำำ ไปใช้้ประโยชน์์ได้้อย่่างง่่าย โดยต้้องให้้ความสำำคััญกัับการพััฒนา ข้้อมููลที่่มีีคุุณภาพได้้มาตรฐานการเผยแพร่ด้่ ้วย
12 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ 5. ข้้อมููลเพื่่�อการพััฒนาการบริิหารจััดการภาครััฐและเสริิมสร้้างการมีส่ี่วนร่่วม จากประชาชน (for improved governance and citizen engagement) กล่่าวคืือ ข้้อมููลสาธารณะ (open data) จะต้้องเปิิดโอกาสให้้ประชาชน รวมถึึงบุุคลากร ในหน่่วยงานภาครััฐเอง ได้้มีีโอกาสสะท้้อนความคิิดเห็็นหรืือเข้้าไปมีีส่่วนร่่วมในการ นำำเสนอแนวทางพััฒนาการทำำงานของข้้าราชการ ฝ่่ายการเมืือง ในหน่่วยงานภาครััฐด้้วย เพื่่อปรัับปรุุงการให้้บริิการสาธารณะให้มี้ีความโปร่่งใสและมีีประสิิทธิิภาพมากขึ้้�น 6. เพื่่�อการพััฒนาที่่�ไม่่ทิ้้งใครไว้้ข้้างหลััง และมีีนวััตกรรม (for inclusive development and innovation) กล่่าวคืือ ข้้อมููลสาธารณะ (open data) จะต้้องมีีส่่วนช่่วยในการพััฒนาเศรษฐกิิจแบบไม่่ทิ้้�งใครไว้้ข้้างหลััง หรืือไม่่มีี การแบ่่งแยกการเข้้าถึึงข้้อมููลเพื่่อประโยชน์์เฉพาะกลุ่่ม ตลอดจนเสริิมสร้้างระบบ การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะเพื่่อให้้ภาคเอกชนหรืือผู้้ประกอบการได้้ใช้้ประโยชน์์ จากข้้อมููลดัังกล่่าวในการขัับเคลื่่อนธุุรกิิจด้้วย เปดขอมูลเปนคาตั้งตน (open by default) สามารถเขาถึงไดและใชประโยชนได (accessible and usable) ความทันทวงทีและความครอบคลุม (timely and comprehensive) เปรียบเทียบไดและนําไปใชงาน รวมกันได (comparable and interoperable) เพื่อการพัฒนาที่ไมทิ้งใครไวขางหลัง และมีนวัตกรรม (for inclusive development and innovation) การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐและ เสริมสรางการมีสวนรวมจากประชาชน (for improved governance and citizen engagement) Open Data Principles ปรัับปรุุงโดยคณะผู้้เขีียนจาก Open data Charter (2015) ใน International Open data Charter แผนภาพที่่� 2 หลัักการของข้้อมููลสาธารณะในกฎบััตรสากลว่่าด้้วยข้้อมููลสาธารณะ
13 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ หลัักการของข้้อมููลสาธารณะในกฎบััตรสากลว่่าด้้วยข้้อมููลสาธารณะ (International Open Data Charter) ทั้้�ง 6 ประการนี้้� ได้ถูู้กนำำ ไปใช้้เป็็นกรอบการประเมิินในภาพรวมของทั้้�ง Open data Barometer (ODB) และ G20 Anti-Corruption Open Data Principles ด้้วย อย่่างไรก็็ตาม สำำหรัับภาคีีสมาชิิกในปััจจุบัุันและมีรัีัฐบาลระดัับชาติิ รััฐบาลท้้องถิ่่น รวมถึึง องค์์กรภาคประชาสัังคมระดัับนานาชาติต่ิ่าง ๆ มากกว่่า 85 ประเทศ (ข้้อมููล ณ เดืือน ตุุลาคม 2564) ได้้ลงนามเป็็นภาคีีสมาชิิกในกฎบััตรสากลว่่าด้้วยข้้อมููลสาธารณะ (International Open Data Charter) แต่่ในกรณีีของประเทศไทย ทั้้�งรััฐบาลระดัับชาติิและองค์์กรปกครอง ส่่วนท้้องถิ่่�น ยัังมิิได้้เข้้าร่่วมเป็็นภาคีีในกฎบััตรดัังกล่่าวแต่่อย่่างใด Open Data Barometer (ODB) เป็็นการประเมิินที่่ดำำเนิินการโดยมููลนิธิิ World Wide Web Foundation และ Omidyar Network โดยระบบการประเมิิน Open Data Barometer (ODB) ระบบ การประเมิิน ODB มีีเป้้าหมายเพื่่�อสำำรวจ ข้้อเท็็จจริิงในการบริิหารและผลกระทบจาก โครงการเสริิมสร้้างระบบการเปิิดเผยข้้อมููล สาธารณะด้้านต่่าง ๆ ของรััฐบาลทั่่�วโลก โดยใช้้วิิธีีการวิิเคราะห์์ข้้อมููลทั้้�งเชิิงคุุณภาพ ปริิมาณ การประเมิินทางเทคนิิค และตััวชี้้�วััด ทุุติิยภููมิิ โดยเริ่่มดำำเนิินการประเมิินมาตั้้�งแต่่ ปีี 2013 เรื่่อยมาจนถึึงปััจจุบัุัน ซึ่งในภาพรวม ่ แล้้ว Open Data Barometer (ODB) การประเมิินครอบคลุุม 3 มิิติิ (Open Data Barometer, 2017:3) ได้้แก่่ 1). ความพร้้อม ของรััฐบาลในการพััฒนาระบบการเผยแพร่่ ข้้อมููลสาธารณะซึ่ ่ งจะพิิจารณาเรื่่องนโยบาย ของรััฐบาล การปฏิิบััติิงานของรััฐบาล การประกอบการและการดำำเนิินธุุรกิิจ และ ภาคประชาสัังคม 2). การนำำ�โครงการ ด้้านต่่าง ๆ ที่่เกี่่ยวข้้องกัับการเปิิดเผย ข้้อมููลสาธารณะ ของรััฐบาลไปสู่่การปฏิิบััติิ จะพิิจารณาเรื่่องความรัับผิิดชอบ (accountability) นวััตกรรม (innovation) และ นโยบายทางสัังคม (social policy) และ 3). ผลกระทบจากโครงการพััฒนาระบบ การเผยแพร่่ข้้อมููลสาธารณะที่่มีีต่่อระบบ เศรษฐกิิจ การเมืือง และภาคประชาสัังคม ภายในประเทศ ดัังรายละเอีียดในแผนภาพ ต่่อไปนี้้�
14 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ กรอบการประเมิินข้้อมููลสาธารณะทั้้�ง 3 ด้้าน ดัังกล่่าวของ Open Data Barometer ได้้ใช้้ระเบีียบวิธีิีการประเมิินจากข้้อมููล 4 ลัักษณะ (Open Data Barometer, 2017:2) ได้้แก่่ การประเมิินตนเองของรััฐบาลโดยใช้้แบบสอบถาม (government self-assessment) การใช้้แบบสอบถามและสำำรวจความคิิดเห็็นของผู้้เชี่่ยวชาญ (peer-reviewed expert survey responses) การประเมิินรายละเอีียดจากชุุดข้้อมููลในประเด็็นที่่เกี่่ยวข้้อง (detailed dataset assessments) และการประเมิินจากข้้อมููลทุติุิยภูมิู ิ (ssecondary data) จากแบบสำำรวจ 4 แหล่่ง ได้้แก่่ World Economic Forum, Freedom House, the United Nations Department of Economic and Social Affairs และ International Telecommunications Union โดยประเด็็นการประเมิินข้้อมููลสาธารณะทั้้�งหมดของ Open Data Barometer (ODB) ปรากฏ ในตารางด้้านล่่าง ที่่มาภาพ: คณะผู้้เขีียน แผนภาพที่่� 3 ภาพรวมการประเมิินของ Open Data Barometer (ODB) ประสิทธิภาพของ การนําโครงการ ไปสูการปฏิบัติ ผลกระทบที่เกิดขึ้น ในทางเศรษฐกิจ การเมือง และ ภาคประชาสังคม ความพรอมของรัฐ ตอการพัฒนาระบบ การเปดเผยขอมูล สาธารณะ ผลกระทบที่เกิดขึ้น ในทางเศรษฐกิจ การเมือง และภาค ประชาสังคม ODB
15 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ตารางที่่� 1 รายละเอีียดประเด็็นการประเมิินการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะของ ODB ความพร้้อมในการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (readiness) ด้าน ประเด็็นย่่อย นโยบายของรัฐบาล (government policies) นโยบายและยุุทธศาสตร์์ของรััฐบาลด้้านการเปิิดเผย ข้้อมููลสาธารณะที่่มีีความชััดเจน ความต่่อเนื่่องของระบบการจััดการข้้อมููลและ การเผยแพร่่ (ประเมิินจากแหล่่งข้้อมููลทุุติิยภููมิิ) ความสำำคััญของ ICT ในวิิสััยทััศน์์ของรััฐบาล ใน World Economic Forum Global Information Technology Report ตััวแปรที่่ Variable 8.010 จาก WEF expert survey การดำเนินงานของรัฐ (government action) ทรััพยากรเพื่่อสนัับสนุุนโครงการพััฒนาระบบ การเผยแพร่่ข้้อมููลสาธารณะ โครงการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะที่่ริิเริ่่มเอง โดยองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่น (ประเมิินจากแหล่่งข้้อมููลทุติุิยภููมิิ) จาก UN E-Government Survey, Government online services index การประกอบการ และการดำำเนิินธุุรกิิจ (entrepreneur and business) โครงการฝึึกอบรมให้้ประชาชนหรืือภาคเอกชน ที่่ต้้องการเพิ่่มทัักษะหรืือบููรณาการการเปิิดเผย ข้้อมููลสาธารณะให้กั้ับธุุรกิิจของตนเอง การช่่วยเหลืือสนัับสนุุนโดยตรงจากรััฐเพื่่อเสริิมสร้้าง วััฒนธรรมเพื่่อพััฒนานวััตกรรมการใช้้ระบบข้้อมููล สาธารณะผ่่านการจััดประกวดแข่่งขััน การให้้เงิินทุุน หรืือการสนัับสนุุนรููปแบบอื่่น ๆ
16 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ความพร้้อมในการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (readiness) ด้้าน ประเด็็นย่่อย (ประเมิินจากแหล่่งข้้อมููลทุติุิยภููมิิ) ด้้านการประยุุกต์์ ใช้้เทคโนโลยีีในบริิษััท ในดััชนีี World Economic Forum Global Competitiveness Index ตััวแปรที่่ 9.02 จาก WEF expert survey (ประเมิินจากแหล่่งข้้อมููลทุติุิยภููมิิ) สััดส่่วนของบััญชีี internet user ต่่อประชากร 100 คน พลเมืองและภาคประชาสังคม (citizen and civil society) กฎหมายสิิทธิิในการเข้้าถึึงข้้อมููลข่่าวสาร กฎหมายด้้านการปกป้้องข้้อมููลส่่วนบุุคคลภายใน ประเทศ (ประเมิินจากแหล่่งข้้อมููลทุุติิยภููมิิ) จาก Freedom House Political Freedoms and Civil Liberties Index การนำำ โครงการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ ไปสู่่การปฏิิบััติิ (implementation) ด้้าน ประเด็็นย่่อย • การมีอยู่ของข้อมูล • การเผยแพร่ออนไลน์ • ข้้อมููลสามารถอ่่าน/ใช้้ประโยชน์์ได้้ บนอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ • ข้อมูลเข้าถึงได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย • ข้อมูลได้รับอนุญาตให้เผยแพร่ได้ ตามกฎหมาย • ข้อมูลเป็นปัจจุบัน • ข้้อมููลมีีการจััดเก็็บและปรัับปรุุง ให้้ทัันสมััยต่่อเนื่่อง ข้้อมููลแผนที่่ดิิจิิทััลของประเทศโดยหน่่วยงาน ที่่รัับผิิดชอบ ข้้อมููลการถืือครองที่่ดิินทั่่วประเทศ สถิิติิด้้านต่่าง ๆ ระดัับชาติิ รายละเอีียดงบประมาณของรััฐบาล รายละเอีียดการใช้้จ่่ายงบประมาณของภาครััฐ ข้้อมููลการลงทะเบีียนของภาคธุุรกิิจ ข้้อมููลด้้านการเผยแพร่่กฎหมาย
17 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ การนำำ โครงการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ ไปสู่่การปฏิิบััติิ (implementation) ด้้าน ประเด็็นย่่อย • ความง่ายในการเข้าถึงข้อมูล • การนำำ เสนอประเด็็นสำำคััญใน ชุุดข้้อมููล ข้้อมููลด้้านระบบการขนส่่งสาธารณะ ข้้อมููลด้้านการค้้าระหว่่างประเทศ ข้้อมููลผลการดำำเนิินการด้้านการดููแลรัักษาสุุขภาพ ข้้อมููลปฐมภูมิูิและทุติุิยภูมิูด้ิ้านผลงานด้้านการศึึกษา สถิิติิการเกิิดอาชญากรรม สถิิติิด้้านสิ่่งแวดล้้อมของประเทศ ผลการเลืือกตั้้�งระดัับชาติิ ข้้อมููลสััญญาการจััดซื้้�อจััดจ้้างของหน่่วยงานภาครััฐ ผลกระทบของโครงการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (impact) ด้้าน ประเด็็นย่่อย การเมือง ผลกระทบที่่มีีต่่อการเพิ่่มประสิิทธิิภาพและ ประสิิทธิิผลการทำำงานของรััฐบาล ผลกระทบที่่มีีต่่อการเพิ่่มความโปร่่งใสและ ความรัับผิิดชอบในระดัับชาติิ เศรษฐกิจ ผลกระทบเชิิงบวกต่่อระบบเศรษฐกิิจของประเทศ จำำนวนผู้้ประกอบการที่่ประสบความสำำเร็็จในการใช้้ ข้้อมููลสาธารณะเพื่่อเปิิดกิิจการใหม่่ภายในประเทศ สังคม ผลกระทบต่่อความยั่่งยืืนทางสิ่่งแวดล้้อม ผลกระทบต่่อการเพิ่่มบทบาทของกลุ่่มชายขอบ ในการเข้้ามามีีส่่วนร่่วมในการจััดทำำ นโยบายและ ประเมิินผลการดำำเนิินงานของรััฐ ปรัับปรุุงโดยคณะผู้้เขีียน จาก Open Data Barometer (2017:1-15) ใน “Open Data Barometer - Leaders Edition ODB Methodology - v1.0”
18 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ หลัักในการพิิจารณาว่่าข้้อมููลของภาครััฐ (government data) ประเภทใด ควรได้้รัับ การพิิจารณาว่่าเป็็นข้้อมููลสาธารณะ (open data) ตามแนวทางของ Open Data Barometer (ODB) ต้้องสอดคล้้องกัับหลัักเกณฑ์์การพิิจารณาข้้อมููลการบริิหารงานของรััฐแบบเปิิด (Open Government Data Principles) ทั้้�ง 8 ด้้านที่่ได้พั้ ัฒนาขึ้้�นมาเป็็นกรอบหลัักเกณฑ์์ในการประเมิิน ข้้อมููลสาธารณะ ซึ่งประกอบ ่ ด้้วย 1. ความสมบููรณ์์ของข้้อมููล (complete) ซึ่ ่ งหมายถึึง ข้้อมููลสาธารณะ ทุุก ๆ ที่่เผยแพร่่สู่่สาธารณะจะต้้องเป็็นข้้อมููลที่่ไม่่ติิดเงื่่อนไขเรื่่องความเป็็นส่่วนตััวในทางกฎหมาย ความมั่่นคง หรืือข้้อจำำกััดด้้านสิิทธิิพิิเศษอื่่น ๆ 2. ความดั้้งเดิิมของข้้อมููล (primary)ซึ่ง ่ ข้้อมููลดัังกล่่าวจะต้้องเป็็นข้้อมููลที่่จััดเก็็บจาก แหล่่งข้้อมููลที่่น่่าเชื่่อถืือมากที่่สุุดหรืือเป็็นข้้อมููลชั้้�นแรก ไม่่ใช่ข้่ ้อมููลที่่ได้้มาจากการประมาณการ หรืือการปรัับปรุุงเปลี่่ยนแปลง 3. ความทัันท่่วงทีี (timely) ซึ่ ่ งต้้องเป็็นข้้อมููลที่่ถููกนำำมาเผยแพร่่อย่่างทัันท่่วงทีี มีีความทัันสมััย หรืือทัันต่่อสถานการณ์ที่่มี์ ีความจำำเป็็นจะต้้องใช้้ประโยชน์์จากชุุดข้้อมููลเหล่่านั้้�น 4. ความสามารถในการเข้้าถึึงได้้ (accessible)คืือ การมีข้ี้อมููลที่่คนทุุกกลุ่่มสามารถ เข้้าถึึงได้้อย่่างรอบด้้าน โดยไม่่มีีข้้อกำำหนดหรืือขอบเขตในการนำำ ไปใช้้งาน 5. ใช้้การได้้ในอุุปกรณ์์ต่่าง ๆ (machine processable) หมายถึึง การที่่ข้้อมููล ถููกออกแบบมาอย่่างมีีหลัักการเพื่่อให้้สามารถใช้้การได้้อย่่างอััตโนมััติิบนอุุปกรณ์์ต่่าง ๆ 6. เข้้าถึึงได้ทุ้ ุกคนแบบไม่่แบ่่งแยก (non-discriminatory)คืือ การที่่ทุุกคนสามารถเข้้าถึึง ข้้อมููลได้้ โดยที่่ไม่จำ่ ำเป็็นต้้องมีีการลงทะเบีียน สร้้างบััญชีีใช้้งานหรืือใช้้รหััสผ่่านในการเข้้าถึึงข้้อมููล 7. ความอิิสระหรืือความเป็็นกลางของข้้อมููล (non-proprietary) คืือ การที่่ข้้อมููลสามารถ เข้้าถึึงได้้ในรููปแบบที่่ไม่มี่ ีใครหรืือหน่่วยงานใดมีสิีิทธิพิิเศษหรืือควบคุุมกีีดกัันได้้การเข้้าถึึงข้้อมููลได้้ 8. การอนุุญาตให้้ใช้้สิิทธิิในข้้อมููล (license-free)1 หมายถึึง การที่่ข้้อมููลซึ่ ่ งนำำมา เผยแพร่่ ไม่่ตกอยู่่ในเงื่่อนไขหรืือข้้อกำำหนดด้้านลิิขสิิทธิ์์� สิิทธิบัิัตร เครื่่องหมายการค้้า หรืือระเบีียบ 1 ประเด็็นนี้้�เป็็นเรื่่องที่่สำำคััญมาก เพราะจากการศึึกษาและสำำรวจสถานภาพของข้้อมููลการบริิหารงานภาครััฐ แบบเปิิด (The State of Open Government Data) ในปีี 2017 โดย Lämmerhirt & Rubinstein & Montiel (2017: 1-9) ภายใต้้การสนัับสนุุนของมููลนิิธิิ Open Knowledge International พบว่่า นอกจากจะเป็็นเรื่่องของ ความยุ่่งยากในการเข้้าถึึงข้้อมููลสาธารณะของภาครััฐแล้้ว ข้้อมููลดัังกล่่าวยัังเป็็นข้้อมููลที่่ไม่่พร้้อมต่่อการใช้้งานด้้วย (data quality) หรืือมีีลัักษณะที่่ไม่่คำำนึึงถึึงประโยชน์์ของผู้้นำำข้้อมููลไปใช้้ต่่อ (user-centric) และที่่สำำคััญก็็คืือ พบว่่า มีีรััฐบาลจำำนวนน้้อยมากที่่ดำำเนิินการในเรื่่องการอนุุญาตให้้ใช้้สิิทธิิในข้้อมููล (open licensing) อย่่างจริิงจัังและชััดเจน โดยส่่วนมากไม่่ได้้ให้้ความสำำคััญหรืือความชััดเจนเกี่่ยวกัับการปกป้้องข้้อมููลด้้านลิิขสิิทธิ์์� รวมถึึงการสร้้างความสัับสน ในการใช้้คำำเกี่่ยวกัับการนำำข้้อมููลด้้านลิิขสิิทธิ์์�ไปใช้้ เป็็นต้้น
19 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ด้้านความลัับทางการค้้า เหตุุผลด้้านความเป็็นส่่วนตััว ความมั่่นคง และข้้อกำำหนดด้้านสิิทธิพิิเศษ อื่่น ๆ ดัังนั้้�น จึึงต้้องเป็็นข้้อมููลที่่ได้้รัับอนุุญาตให้้เผยแพร่่หรืือใช้้สิิทธิิอย่่างถููกต้้องตามกฎหมาย หลัักเกณฑ์์การพิิจารณาข้้อมููลการบริิหารงานของรััฐแบบเปิิด (Open Government Data Principles) นี้้� ได้มี้ีการพััฒนาให้้สอดคล้้องหรืือเป็็นไปตามกรอบของหลัักการที่่ระบุุไว้้ในกฎบััตร สากลว่่าด้้วยข้้อมููลสาธารณะ (International Open data Charter) ดัังที่่นำำ เสนอไปก่่อนหน้้านี้้� G20 Anti-Corruption Open data Principles หลัักการของข้้อมููลสาธารณะเพื่่อต่่อต้้านการทุุจริิตคอร์์รััปชัันของกลุ่่มประเทศ G20 (G20 Anti-Corruption Open Data Principles) พััฒนามาจาก กฎบััตรสากลว่่าด้้วยข้้อมููล สาธารณะ (International Open Data Charter) ในปีี 2015 โดยมีีเป้้าหมายเพื่่อพััฒนา ระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data) ของรััฐบาลให้้เป็็นอีีกกลวิิธีีหนึ่่งในการจััดการ แผนภาพที่่� 4 หลัักการประเมิินข้้อมููลการบริิหารงานของภาครััฐแบบเปิิดของ ODB ปรัับปรุุงโดยคณะผู้้เขีียนจาก World Wide Web Foundation (2018). ใน “executive summary: set of principles for open government data” เปดขอมูลเปนคาตั้งตน (open by default) สามารถเขาถึงไดและใชประโยชนได (accessible and usable) ความทันทวงทีและความครอบคลุม (timely and comprehensive) เปรียบเทียบไดและนําไปใชงาน รวมกันได (comparable and interoperable) เพื่อการพัฒนาที่ไมทิ้งใครไวขางหลัง และมีนวัตกรรม (for inclusive development and innovation) การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐและ เสริมสรางการมีสวนรวมจากประชาชน (for improved governance and citizen engagement) Open Data Principles
20 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ กัับปััญหาทุุจริิตคอร์รั์ัปชัันและส่่งเสริิมความโปร่่งใสในการดำำเนิินงานของภาครััฐ (Transparency International, 2017a: 2 & 2017b: 4) โดยหลัักการของข้้อมููลสาธารณะที่่กลุ่่มประเทศ G20 ได้นำ้ ำ มาปรัับใช้้ในการพััฒนาระบบ การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะในประเทศของตนเองก็็เหมืือนกัันกัับที่่ระบุุไว้้ในกฎบััตรสากลว่่าด้้วย ข้้อมููลสาธารณะ ซึ่งประกอบ ่ ด้้วย 6 หลัักการ ได้้แก่่ 1. เปิิดข้้อมููลเป็็นค่่าตั้้�งต้้น (open by default) 2. ความทัันท่่วงทีีและความครอบคลุุม (timely and comprehensive) 3. สามารถเข้้าถึึงได้้และใช้้ประโยชน์์ได้้ (accessible and usable) 4. เปรีียบเทีียบได้้และนำำ ไปใช้้งานร่่วมกัันได้้ (comparable and interoperable) 5. ข้้อมููลเพื่่อการพััฒนาการบริิหารจััดการภาครััฐและเสริิมสร้้างการมีีส่่วนร่่วม จากประชาชน (for improved governance and citizen engagement) 6. เพื่่อการพััฒนาที่่ไม่ทิ้้่ �งใครไว้ข้้้างหลััง และมีีนวััตกรรม (for inclusive development and innovation) (Transparency International, 2017a: 5 & 2017b 10-11; G20 Information Centre, 2015) อย่่างไรก็็ตาม หลัักการของข้้อมููลสาธารณะเพื่่อต่่อต้้านการทุุจริิตคอร์์รััปชัันของ กลุ่่�มประเทศ G20 (G20 Anti-Corruption Open dataPrinciples) ดัังกล่่าวที่่ได้้พััฒนา เฉพาะนี้้ มีีเป้าห้มายภายใต้้เสาหลััก 3 ด้้าน คืือ 1. พััฒนาระบบเทคโนโลยีดิีิจิิทััลพร้้อมกัับเพิ่่�มประสิิทธิิภาพในเรื่่�องจำำนวน แหล่่งข้้อมููล คุุณภาพของการเผยแพร่่ข้้อมููล และพััฒนามาตรฐานด้้านการจััดการข้้อมููล สภาพแวดล้้อมและเครื่่�องมืือที่่�ใช้้ในการสนัับสนุุนการเข้้าถึึงและใช้้ประโยชน์์ จากข้้อมููลสาธารณะ (open data) เพื่่�อต่่อต้้านการทุุจริิตคอร์์รััปชััน 2. เสริิมสร้้างความโปร่่งใสในการบริิหารงานของรััฐในการป้้องกัันปััญหา ทุุจริิตคอร์์รััปชััน ด้้วยการสร้้างความร่่วมมืือด้้านการให้้ข้้อมููล เข้้าถึึงข้้อมููล หรืือใช้้ประโยชน์์จากข้้อมููลสาธารณะ (open data) 3. มุ่่งพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะเพื่่�อป้้องกััน สืืบค้้น และสอบสวน และ ลดการทุุจริิตคอร์์รััปชััน ผลที่่เกิิดขึ้้�นจากการลงนามในข้้อตกลง ว่่าด้้วยหลัักการของข้้อมููลสาธารณะเพื่่อ ต่่อต้้านทุุจริิตคอร์รั์ัปชัันของกลุ่่มประเทศ G20 (G20 Anti-Corruption Open Data Principles) ส่่งผลให้้เกิิดการพััฒนาแผนเชิิงปฏิิบััติิ การเพื่่�อการป้้องกัันการทุุจริิตคอร์์รััปชััน ขึ้้�น (G20 Anti-Corruption Action Plan) โดยในกลุ่่มประเทศ G20 ได้้เริ่่มมีีการจััดตั้้�ง
21 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ คณะทำำงานด้้านการต่่อต้้านการทุุจริิต คอร์์รััปชัันขึ้้�นมา (G20 Anti-Corruption Working Group (ACWG) ตั้้�งแต่ปี่ ี 2010 เพื่่อ จััดการกัับปััญหาเรื่่องนี้้�โดยเฉพาะ กระทั่่งในช่่วงปีี 2015 คณะทำำงานและ ผู้้นำำ ในกลุ่่มประเทศ G20 มุ่่งมั่่นที่่จะจััดการ กัับปััญหาการทุุจริิตอย่่างจริิงจััง จึึงได้้มีีการ กำำหนดและจััดลำำดัับเป้้าหมายในการจััดการ กัับปััญหาทุุจริิตคอร์์รััปชัันเพื่่อใช้้เป็็นกรอบ ในการจััดทำำแผนปฏิิบััติิการ (action plan) ของกลุ่่มประเทศ G20 อย่่างจริิงจััง ประกอบ ด้้วย 6 ด้้านหลััก (STAR’s the World Bank and UNODC, 2014) ได้้แก่่ - ความโปร่่งใสในการครอบครอง ผลประโยชน์์ (beneficial ownership transparency) - การรัับสิินบน (bribery) - กลุ่่มที่่มีีความเสี่่ยงสููง (high-risk sectors) - คุุณธรรมและความโปร่่งใสใน หน่่วยงานภาครััฐ (public sector transparency and integrity) - ความร่่วมมืือระดัับนานาชาติิ (international cooperation) - คุุณธรรมและความโปร่่งใสใน ภาคเอกชน (private sector transparency and integrity) อย่่างไรก็็ตาม แผนปฏิิบััติิการด้้าน การต่่อต้้านการทุุจริิตคอร์รั์ัปชัันของกลุ่่มประเทศ G20 ล่่าสุุดปีี 2019-2021 มุ่่งเสริิมสร้้าง วิิธีีการและกลไกในการขัับเคลื่่อนเป้้าหมาย การเสริิมสร้้างความโปร่่งใสและป้้องกััน ปััญหาทุุจริิตคอร์รั์ัปชัันตามเจตนารณ์์ของแผน ฉบัับที่่ผ่่านมาให้้มีีประสิิทธิิภาพมากขึ้้�น โดยแผนฉบัับปีี2019-2021 ตั้้งอยู่่�บนเจตนารมณ์หลั์ ัก ๆ 4 ประการ(OECD,2018:3-7) ได้้แก่่ 1. มุ่่งเสริิมสร้้างความเข้้มแข็็งและพััฒนาคุุณธรรมและความโปร่่งใสในหน่่วยงานภาครััฐ และเอกชนให้้มีีประสิิทธิิภาพมากขึ้้�น (integrity and transparency in the public and the private sector) การป้้องกัันผู้้ให้ข้้้อมููลเกี่่ยวกัับการกระทำำผิิดกฎหมาย และ การแสวงหาโอกาสและความเสี่่ยงจากการใช้้เทคโนโลยีีในเรื่่องที่่เกี่่ยวกัับการทุุจริิต คอร์์รััปชััน 2. จััดการกัับปััญหาอาชญากรรมทางการเงิินรููปแบบต่่าง ๆ สิิทธิิในการครองครอง ผลประโยชน์์ ความร่่วมมืือระหว่่างประเทศเพื่่อจััดการและป้้องกัันการทุุจริิต ทางการเงิินระหว่่างประเทศ 3. มุ่่งจััดการกัับการทุุจริิตคอร์์รััปชัันในเรื่่องการให้้สิินบน โครงสร้้างพื้้�นฐาน การทุุจริิต ในการกีีฬาและกลุ่่มเปราะบางอื่่น ๆ และ 4. มุ่่งศึึกษา วััด หรืือประเมิินผลการทุุจริิตคอร์์รััปชัันในภาคส่่วนต่่าง ๆ ตลอดจน ประเด็็นด้้านการทุุจริิตคอร์์รััปชัันกัับเพศสภาพด้้วย
22 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ดััชนีีการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะโลก (Global Open data Index: GODI) ดััชนีีการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะโลก (GODI) คืือ ระบบการประเมิินการเปิิดเผยข้้อมููล สาธารณะของรััฐบาลประเทศต่่าง ๆ ทั่่วโลกที่่ดำำเนิินการโดยมููลนิิธิิ Open Knowledge Foundation องค์์กรภาคประชาสัังคมที่่มีีบทบาทสำำคััญในการผลัักดัันเรื่่องการเปิิดเผย ข้้อมููลสาธารณะในระดัับนานาชาติิ ร่่วมกัับ Open data Charter ซึ่่งได้้มีีการปรัับปรุุงกรอบ การประเมิินและวิิธีีการประเมิินมาโดยตลอด โดยดััชนีีการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะโลก (GODI) ได้้นำำหลัักการของการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ ที่่กำำ หนดไว้้ในกฎบััตรสากลว่่าด้้วย ข้้อมููลสาธารณะ (International Open data Charter) มาใช้้เป็็นกรอบในการกำำ หนดประเด็็น การประเมิินดััชนีข้ี้อมููลสาธารณะโลกด้้วย (GODI) โดยประเด็็นที่่นำำ มาใช้้ประเมิิน ประกอบด้้วย 14 ด้้านหลััก ได้้แก่่ - ข้้อมููลด้้านงบประมาณของภาครััฐ (budget) - ข้้อมููลด้้านการจัดซื้้ ั �อจัดจ้ั ้าง (procurement) - ข้้อมููลด้้านการลงทะเบีียนของบริิษััท (company register) - ข้้อมููลด้้านแผนที่่�ของประเทศ (national map) - ข้้อมููลด้้านตำำแหน่่งที่่�ตั้้�ง (locations) - ข้้อมููลด้้านร่่างกฎหมายที่่�กำำลัังอภิิปรายใน รััฐสภา (draft legislation) - ข้้อมููลด้้านคุุณภาพของอากาศ (air quality) - ข้้อมููลด้้านการใช้้จ่่ายของภาครััฐ (spending) - ข้้อมููลด้้านผลการเลืือกตั้้�ง (election results) - ข้้อมููลด้้านการครอบครองที่่�ดิิน (land ownership) - ข้้อมููลด้้านเขตการปกครอง (administrative boundaries) - ข้้อมููลด้้านสถิิติิของประเทศ (national statistics) - ข้้อมููลกฎหมายของประเทศ (national law) - ข้้อมููลด้้านคุุณภาพน้ำ ำ� (water quality) ตารางที่่� 2 ประเด็็นการประเมิินในดััชนีีการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะโลก ด้้าน ประเด็็น งบประมาณของหน่่วยงานภาครััฐ ต้้องมีข้ี้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ และต้้องเป็็นข้้อมููล ที่่มีีคุุณภาพ ประกอบด้้วย • งบประมาณของหน่่วยงานระดัับชาติิ หรืือกระทรวง • คำำอธิิบายงบประมาณของแต่่ละส่่วนงาน โดยมีีรายละเอีียดดัังปรากฏในตารางต่่อไปนี้้�
23 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ด้้าน ประเด็็น การใช้้จ่่ายงบประมาณของรััฐ ต้้องมีข้ี้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ และต้้องเป็็นข้้อมููล ที่่มีีคุุณภาพ ประกอบด้้วย • รายละเอีียดของหน่่วยงานที่่ดำำเนิินธุุรกรรม • วัันที่่ และชื่่อของผู้้ขาย • จำำนวนมููลค่่าของราคาที่่ดำำเนิินธุุรกรรมในแต่่ละครั้้�ง การจััดซื้้�อจััดจ้้าง ข้้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ และต้้องเป็็นข้้อมููลที่่มีี คุุณภาพ ประกอบด้้วย • ระยะเวลาการประมููล/จััดจ้้าง • จำำนวนผู้้ยื่่นประมููล และรายละเอีียดของผู้้ยื่่นประมููล/ จััดจ้้าง สถานภาพต่่าง ๆ • ระยะเวลาการประกาศผล พร้้อมคำำอธิิบาย • มููลค่่าของผู้้ชนะการประมููล/จััดจ้้าง ผลการเลืือกตั้้�ง ต้้องมีข้ี้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ และต้้องเป็็นข้้อมููล ที่่มีีคุุณภาพ ประกอบด้้วย • จำำนวนผู้้มาใช้้สิิทธิิเลืือกตั้้�ง • จำำนวนบััตรเสีีย การจดทะเบีียนของบริษัิัทเอกชน ต้้องมีข้ี้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ และต้้องเป็็นข้้อมููล ที่่มีีคุุณภาพ ประกอบด้้วย • ชื่่อและที่่อยู่่ของบริิษััท • ลัักษณะพิิเศษของบริิษััท • ระบบการลงทะเบีียนสามารถใช้้การได้้ทั่่วประเทศ การถืือครองที่่ดิิน ต้้องมีข้ี้อมููลเกี่่ยวกัับขอบเขตและการลงทะเบีียนที่่ชััดเจน ประกอบด้้วย • ขอบเขตผืืนดิิน • เลขหรืือรหััสการถืือครองที่่ดิิน ประเมิินค่่าใช้้จ่่าย ในการดำำเนิินการหรืือภาษีี • ประเภทการครอบครองที่่ดิิน เช่่น ที่่ดิินของรััฐ เอกชน
24 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ด้้าน ประเด็็น แผนที่่ประเทศ ต้้องมีีข้้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ที่่มีีคุุณภาพ ประกอบด้้วย • เส้้นทางถนนหลวง • ระดัับความสููงต่ำำทางภููมิิศาสตร์์ • การขยายตััวของระดัับน้ำ ำ� • จุุดพิิกััดชายแดนระดัับประเทศ เขตปกครอง ต้้องมีข้ี้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ และต้้องเป็็นข้้อมููล ที่่มีีคุุณภาพ ประกอบด้้วย • เขตปกครองระดัับ 1 (ระดัับจัังหวััด/หรืือภูมิู ิภาค) • เขตปกครองระดัับ 2 (ระดัับท้้องถิ่่น) • พิกัิัดของขอบเขตการปกครอง (ละติจูิูด และลองติจูิูด) • ชื่่อของเส้้นขอบเขตการปกครอง จุุดพิิกััด ต้้องมีข้ี้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ และต้้องเป็็นข้้อมููล ที่่มีีคุุณภาพ ประกอบด้้วย • รหััสไปรษณีีย์์ • พิิกััดละติจูิูดและลองติจูิูด • ข้้อมููลพิิกััดในภาพรวมทั้้�งประเทศ สถิิติิระดัับชาติิ ต้้องมีข้ี้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ และต้้องเป็็นข้้อมููล ที่่มีีคุุณภาพ ประกอบด้้วย • จำำ นวนประชากร • GDP ที่่อััปเดตล่่าสุุดไม่่เกิิน 3 เดืือนย้้อนหลััง • อััตราผู้้ว่่างงาน ร่่างกฎหมายที่่กำำลัังอภิิปราย ในรััฐสภา ต้้องมีข้ี้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ และต้้องเป็็นข้้อมููล ที่่มีีคุุณภาพ ประกอบด้้วย • เนื้้�อหาของกฎหมาย • รายชื่่อผู้้ร่่างกฎหมาย • สถานะของกฎหมาย • จำำนวนการลงคะแนนรัับ/ไม่่รัับกฎหมายในสภา • รายละเอีียดการอภิิปรายเกี่่ยวกัับกฎหมายในสภา
25 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ด้้าน ประเด็็น ข้้อมููลกฎหมายของประเทศ ต้้องมีข้ี้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ และต้้องเป็็นข้้อมููล ที่่มีีคุุณภาพ ประกอบด้้วย • เนื้้�อหาของกฎหมายและสถานภาพ • วัันที่่ปรัับแก้้กฎหมายฉบัับล่่าสุุด ข้้อมููลด้้านคุุณภาพอากาศ ต้้องมีข้ี้อมููลเผยแพร่่ในระบบออนไลน์์ และต้้องเป็็นข้้อมููล ที่่มีีคุุณภาพ ประกอบด้้วย • Particulate matter (PM) • Sulphur oxides (SOx) • Nitrogen oxides (NOx) • Carbon monoxide (CO) • Ozone (O3) • ข้้อมููลสถานีีตรวจวััดสภาพอากาศ ข้้อมููลด้้านคุุณภาพน้ำ ำ� เพื่่อให้้บรรลุุเงื่่อนไขขั้้�นต่ำำ ในข้้อมููล ข้้อมููลเกี่่ยวกัับสารเคมีี ชนิิดต่่าง ๆ จะต้้องถููกนำำมาเผยแพร่่ ประกอบด้้วย • Fecal coliform • Arsene Fluorides • Nitrate Total Dissolved Solids • ข้้อมููลรายงานด้้านคุุณภาพน้ำ ำ�ของประเทศ • ข้้อมููลต่่อแหล่่งน้ำ ำ� แต่่ละแห่่ง (ทางเลืือกเพิ่่มเติิม) ปรัับปรุุงโดยคณะผู้้เขีียน จาก Open Knowledge Foundation (2017) ใน Global Open data Index: Methodology อย่่างไรก็็ตาม ในส่่วนของการประเมิินผล ดััชนีีการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะโลก (Global Open data Index: GODI) จััดลำำดัับความสำำคััญของคะแนนประเมิินตามจุุดเน้้นการบริิหารงาน ของภาครััฐในประเด็็นที่่ต่่างกัันไป โดยมีีการพิิจารณาครอบคลุุม 11 ประเด็็นหลััก คิิดเป็็น 100 คะแนน แบ่่งเป็็นคะแนนที่่เกี่่ยวข้้องกัับข้้อคำำถามด้้านการเข้้าถึึงและใช้้ประโยชน์์จากข้้อมููล รวม 60 คะแนน และคะแนนเกี่่ยวกัับการอนุุญาตให้้ใช้้สิิทธิิในข้้อมููลและความสามารถ ในการใช้้งานบนอุุปกรณ์์ต่่าง ๆ ของข้้อมููล รวม 40 คะแนน โดยมีีรายละเอีียดปรากฏในตาราง ด้้านล่่าง ต่่อไปนี้้�
26 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ตารางที่่� 3 ประเด็็นคำำถามและสััดส่่วนคะแนนในแต่่ละด้้านในการประเมิินดััชนีข้ี้อมููล สาธารณะโลก ข้้อ คำำถาม คะแนน 1 การเก็็บรวบรวมข้้อมููลดัังกล่่าว ถููกเก็็บโดยหน่่วยงานรััฐ หน่่วยองค์์กรอื่่นที่่เกี่่ยวข้้องกัับภาครััฐ พิิจารณาแต่่ไม่่คิิดคะแนน 2 ข้้อมููลดัังกล่่าวสามารถเข้้าถึึงได้้ในระบบออนไลน์์ โดยไม่่มีีความจำำเป็็นต้้องลงทะเบีียนเข้้าใช้้งาน หรืือทำำเรื่่องเพื่่อร้้องขอเข้้าถึึงข้้อมููล 15 คะแนน 3 ข้้อมููลดัังกล่่าวสามารถเข้้าถึึงในรููปแบบออนไลน์์ ได้ทั้้ ้ �งหมดหรืือไม่่ พิิจารณาแต่่ไม่่คิิดคะแนน 4 ข้้อมููลดัังกล่่าวเข้้าถึึงได้้ฟรีีโดยไม่่เสีียค่่าใช้จ่้่ายใด ๆ เพิ่่มเติิมหรืือไม่่ 15 คะแนน 5 สถานที่่ในการเข้้าถึึงข้้อมููล (ระบุุตำำแหน่่งข้้อมููล บนเว็็บไซต์์) พิิจารณาแต่่ไม่่คิิดคะแนน 6 มีีความเห็็นด้้วยมากน้้อยเพีียงใดเกี่่ยวกัับคำำพููด ที่่ว่่า “เป็็นเรื่่องง่่ายมาก ๆ สำำหรัับฉัันในการค้้นหา ข้้อมููลพวกนี้้�” พิิจารณาแต่่ไม่่คิิดคะแนน 7 ข้้อมููลดัังกล่่าวสามารถดาวน์์โหลดได้้สมบููรณ์์ ในครั้้�งเดีียวหรืือไม่่ 15 คะแนน 8 ความทัันสมััยของข้้อมููล 15 คะแนน 9 ข้้อมููลดัังกล่่าวได้้รัับอนุุญาตให้้ใช้้สิิทธิิเผยแพร่่ ข้้อมููลบนสาธารณะหรืือไม่่ 20 คะแนน 10 ข้้อมููลดัังกล่่าวสามารถใช้้การได้้หรืืออ่่านได้้ บนอุุปกรณ์์ต่่าง ๆ หรืือไม่่ 20 คะแนน 11 ใช้้ความพยายามมากน้้อยเพีียงใดในการนำำข้้อมููล ไปใช้้ประโยชน์์ พิิจารณาแต่่ไม่่คิิดคะแนน ปรัับปรุุงโดยคณะผู้้เขีียน จาก Open Knowledge Foundation (2017) ใน Global Open Data Index: Methodology
27 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ จะเห็็นได้้ว่่า ระบบการประเมิินของทั้้�งดััชนีีการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะโลก (Global Open data Index: GODI) และ Open data Barometer (ODB) นอกจากจะให้้ความสำคัำ ัญ กัับความสามารถในการเข้้าถึึงข้้อมููล คุุณภาพของข้้อมููล การใช้้ประโยชน์์และความสามารถ ในการใช้้งานของข้้อมููลแล้้ว สิ่่�งที่่�สำำคััญมาก ๆ อีีกประเด็็นหนึ่่�งก็็คืือ การอนุุญาตให้้ใช้้สิิทธิิ ในข้้อมููลเพื่่�อเผยแพร่่บนพื้้�นที่่�สาธารณะ (license-free) ไม่่ว่่าจะเป็็นข้้อมููลด้้านลิิขสิิทธิ์์� สิิทธิิบััตร หรืือข้้อมููลความเป็็นส่่วนตััวต่่าง ๆ จำำเป็็นจะต้้องได้้รัับอนุุญาตจากเจ้้าของข้้อมููล อย่่างถููกต้้องตามกฎหมาย และหน่่วยงานภาครััฐที่่�เป็็นผู้้เก็็บรวมรวบข้้อมููลก็็จะต้้องมีีวิิธีีการ ในการเก็็บรัักษา และป้้องกัันข้้อมููลดัังกล่่าวอย่่างเคร่่งครััดด้้วย
28 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ การพัฒนา ระบบการเปิดเผย ข้อมูลสาธารณะ ในต่างประเทศ 3 BENCHMARKING
29 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ปฏิิเสธไม่่ได้้ว่่าถึึงแม้้ หนึ่่งในเครื่่องมืือของการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสำำนัักงาน ป.ป.ช. จะกำำ หนดให้้มีีการประเมิิน “การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ” ของ หน่่วยงานภาครััฐ ผ่่านเครื่่องมืือ แบบการตรวจการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) แล้้วก็็ตาม แต่่การดำำเนิินการดัังกล่่าวถืือเป็็นเพีียงจุุดเริ่่มต้้น ของการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููล สาธารณะของหน่่วยงานภาครััฐของประเทศไทย เฉพาะในมุุมที่่เกี่่ยวข้้องกัับข้้อมููลพื้้�นฐาน ผลการดำำเนิินงาน ข้้อมููลการใช้้งบประมาณ ข้้อมููลด้้านการให้้บริิการ ข้้อมููลด้้านการบริิหาร ทรััพยากรบุุคคล ตลอดจนข้้อมููลการแสดงความพยายามของหน่่วยงานในการป้้องกัันการทุุจริิต ซึ่ ่ งเป็็นเพีียงข้้อมููลบางส่่วนขององค์์กรหรืือของหน่่วยงานเท่่านั้้�น และเมื่่อมองปรากฏการณ์์ที่่เกิิดขึ้้�นในโลกยุุคปััจจุุบัันพบว่่า การผลัักดัันให้้มีีระบบ การเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ (open data) กำำลัังเป็็นปรากฏการณ์์และเป็็นเงื่่อนไขสำำคััญที่่รััฐบาล ทุุกประเทศทั่่วโลกต้้องให้้ความสำำคััญ ไม่่ว่่าจะเป็็นรััฐบาลระดัับชาติิหรืือรััฐบาลระดัับท้้องถิ่่น ประเด็็นดัังกล่่าว นัับเป็็นการจุุดประกายที่่สำำคััญอย่่างยิ่่ง ต่่อการรวบรวมและเรีียบเรีียง การพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะในต่่างประเทศ เพื่่อให้้เกิิดประโยชน์์ต่่อ การพััฒนาการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะในหน่่วยงานภาครััฐของประเทศไทยให้้มีีความสมบููรณ์์ ที่่มีีประสิิทธิิภาพ เกิิดประโยชน์์ มิิใช่่เพีียงแค่่การจััดทำำเพื่่อการประเมิินให้้ได้้คะแนนเท่่านั้้�น แต่่ยัังจะส่่งผลต่่อการพััฒนาเศรษฐกิิจ สัังคม ตลอดจนสร้้างความโปร่่งใสอย่่างยั่่งยืืน จึึงจำำเป็น็ จะต้้องแสวงหาบทเรีียนและประสบการณ์์จากประเทศต่่าง ๆ ที่่�ประสบความสำำเร็็จหรืือ ได้้รัับการยอมรัับในระดัับนานาชาติิว่่ามีีแนวทางในการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููล สาธารณะ (open data) เพื่่�อใช้้สำำหรัับเป็็นแนวทางหรืือบทเรีียนในการพััฒนาระบบงาน BENCHMARKING การพัฒนาระบบการเปิดเผยข้อมูล สาธารณะในต่างประเทศ 3
30 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ด้้านการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะของประเทศไทย ตลอดจนการประเมิินคุุณธรรมและ ความโปร่่งใสในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ให้มี้ีประสิิทธิิภาพมากยิ่่�งขึ้้�น ในบทนี้้� คณะผู้้เขีียนได้้คััดเลืือกและจำำแนกกรณีีตััวอย่่างออกเป็็น 2 ระดัับ คืือ การพััฒนาระบบข้้อมููลสาธารณะระดัับประเทศ (Country-level Open data) โดย ยกตััวอย่่างของสาธารณรััฐอิิตาลีี สาธารณรััฐอิินเดีีย และสาธารณรััฐสาธารณรััฐเกาหลีี การพััฒนาระบบข้้อมููลสาธารณะระดัับเมืืองหรืือท้้องถิ่่�น (city-and-subnational -level Open Data) โดยยกตััวอย่่างกรณีีของ เมืืองชิิคาโก ประเทศสหรััฐอเมริิกา และ มหานครลอนดอน สหราชอาณาจัักร โดยคณะผู้้เขีียนคััดเลืือกบางประเทศที่่มีีความโดดเด่่น จากการคััดเลืือกของธนาคารโลก (the World Bank’s Open Government Data Toolkit, 2020) มาเผยแพร่่ มีีรายละเอีียดดัังนี้้� ในปีี 2011 อิิตาลีีได้้เข้้าร่่วมเป็็นภาคีี สมาชิิกเครืือข่่ายรััฐบาลแบบเปิิด (Open Government Partnership) ซึ่่ งมีีผลทำำ ให้้ รััฐบาลได้้มุ่่งมั่่นพััฒนาระบบการเปิิดเผย ข้้อมููลสาธารณะของภาครััฐอย่่างจริิงจััง โดยรััฐบาลอิิตาลีีได้นำ้ ำเอาหลัักของการ เปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะที่่ปรากฏในกฎบััตร สากลว่่าด้้วยข้้อมููลสาธารณะ (International Open data Charter) ในเรื่่อง การเปิิดเผย ข้้อมููลเป็็นค่่าตั้้�งต้้น (open by default) มากำำ หนดไว้้ในมาตรา 52 ของระเบีียบว่่าด้้วย การบริิหารงานในระบบดิิจิิทััล (Code for the Digital Administration) ในปีี 2012 (Open data 500, 2020) ต่่อมาในปีี 2013 องค์์การเพื่่อพััฒนา ระบบดิิจิิทััลแห่่งอิิตาลีี (Agency for digital Italy (AgID)) ซึ่่ งเป็็นหน่่วยงานหลัักที่่ รัับผิิดชอบเรื่่องการพััฒนาระบบการบริิหารงาน ภาครััฐแบบเปิิดของอิิตาลีี ได้้เริ่่�มผลัักดััน วาระแห่่งชาติว่ิ่าด้้วยการพััฒนาระบบเปิดิเผย ข้้อมููลสาธารณะ (the Italian National Open data Agenda) รวมถึึงพััฒนาคู่่มืือ ในการดำำเนิินงานด้้านข้้อมููลสารสนเทศ สำำหรับัหน่่วยงานภาครััฐด้้วย กระทั่่งในปีี 2015 ได้้มีีการพััฒนาเว็็บไซต์์ (www.dati.gov.it) และระบบเปิิดเผยข้้อมููลข่่าวสารอย่่างเป็็น จริิงจััง การพััฒนาระบบข้้อมููลสาธารณะระดัับประเทศ (Country-level Open Data) 3.1 การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของสาธารณรัฐอิตาลี
31 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ ซึ่ ่งในระหว่่างนั้้�น โครงการพััฒนา ระบบเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะเกิิดขึ้้�นจำำนวน มาก ทั้้�งโครงการระดัับชาติิและระดัับท้้องถิ่่น กระทั่่งในปีี 2016 รััฐบาลอิิตาลีีได้้ประกาศใช้้ กฎหมายว่่าด้้วยเสรีีภาพของข้้อมููลข่่าวสาร (the Freedom of Information Act (FOIA)) ประกอบกัับการปรัับปรุุงแก้้ไขระเบีียบ ว่่าด้้วยการบริิหารงานในระบบดิจิิทััล (Code for the Digital Administration) ในเดืือน สิิงหาคม 2016 (Open data 500, 2020) นำำมาสู่่การประกาศใช้้ แผนปฏิิบััติิการ ว่่าด้้วยการพััฒนาระบบบริิหารงานของรััฐ แบบเปิิด (National Open Government Plan) ขึ้้�นเป็็นฉบัับที่่� 3 นัับตั้้�งแต่่เข้้าร่่วม เป็็นภาคีีสมาชิิกเครืือข่่ายรััฐบาลแบบเปิิด (Open Government Partnership) ปััจจุุบัันสาธารณรััฐอิิตาลีี มีีแผน ปฏิิบัติัิการว่่าด้้วยการพััฒนาระบบบริิหารงาน ของรััฐแบบเปิิด (National Open Government Plan) เป็็นฉบัับที่่ 4 (2019-2021) โดย มุ่่งพััฒนาประเด็็นหลััก ๆ 10 ด้้าน (Open Government Partnership, 2019: 4) ได้้แก่่ การพััฒนาระบบเปิิดเผยข้้อมููล สาธารณะ (open data) การเสริิมสร้้างความโปร่่งใส (transparency) ระบบบัันทึึกสิิทธิิในการครอบครอง ผลประโยชน์์ (register of beneficial owners) ส่่งเสริิมการมีส่ี่วนร่่วม (support to participation) การพััฒนากฎหมายเกี่่ยวกัับผู้้มีี ส่่วนได้ส่้่วนเสีีย (regulation of stakeholder) การสร้้างวััฒนธรรมของการบริิหารงาน ภาครััฐแบบเปิิด (culture of government) การป้้องกัันปััญหาทุุจริิต คอร์รั์ัปชััน (corruption prevention) ความง่่าย ผลงาน และความเสมอภาค ในการเข้้าถึึงโอกาส (simplification, performance, and equal opportunities) การพััฒนาระบบให้้บริิการดิิจิิทััล (digital services) การพััฒนาทัักษะและความเป็็น พลเมืืองในระบบดิิจิิทััล (digital citizenship and skills) อย่่างไรก็็ตาม ความน่่าสนใจของ การพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะ ของสาธารณรััฐอิิตาลีี อยู่่ที่่�ความสมบููรณ์์ และคุุณภาพของข้้อมููลที่่�นำำ มาใช้้ในการ เผยแพร่่ตลอดช่่องทางในการเข้้าถึึงข้้อมููล และความง่่ายของข้้อมููลในการนำำ ไปใช้้ ประโยชน์์ โดยหลััก ๆ แล้้วจะถููกเผยแพร่่ ในเว็็บไซต์์ (www.dati.gov.it) ที่่อยู่่ภายใต้้ ความรัับผิิดชอบขององค์์การเพื่่อพััฒนาระบบ ดิิจิิทััลแห่่งอิิตาลีี (Agency for digital Italy (AgID)) ดัังรายละเอีียดในแผนภาพด้้านล่่าง
32 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ แผนภาพที่่� 5 แพล็็ตฟอร์์มการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะของสาธารณรััฐอิิตาลีี หน้้าเว็็บแพล็็ตฟอร์์มการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะของอิิตาลีี ภาพจาก www.dati.gov.it (12 สิิงหาคม 2564) ข้้อมููลที่่นำำมาเผยแพร่่ ณ ปััจจุบัุัน ประกอบด้้วย ชุุดข้้อมููล 13 ชุุด ได้้แก่่ 1. ชุุดข้้อมููลด้้านเกษตรกรรม การประมง ป่่าไม้้ และอาหาร (agriculture, fisheries, forestry and food) 2. ชุุดข้้อมููลด้้านเศรษฐกิิจและการเงิิน (economy and finance) 3. ชุุดข้้อมููลด้้านการศึึกษา วััฒนธรรม และกีีฬา (education, culture and sport) 4. ชุุดข้้อมููลด้้านพลัังงาน (power)
33 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ 5. ชุุดข้้อมููลด้้านสิ่่งแวดล้้อม (environment) 6. ชุุดข้้อมููลเกี่่ยวกัับรััฐบาลและหน่่วยงานภาครััฐ (government and public sector) 7. ชุุดข้้อมููลด้้านสุุขภาพ (health) 8. ชุุดข้้อมููลด้้านประเด็็นปััญหาระดัับนานาชาติิ (international issues) 9. ชุุดข้้อมููลด้้านความมั่่นคงปลอดภััย ระบบกฎหมาย และความยุติุ ิธรรม (justice, legal system and public safety) 10. ชุุดข้้อมููลเกี่่ยวกัับเมืืองและภูมิู ิภาค (regions and cities) 11. ชุุดข้้อมููลด้้านประชากรและสัังคม (population and society) 12. ชุุดข้้อมููลด้้านเทคโนโลยีีและวิิทยาศาสตร์์ (science and technology) 13. ชุุดข้้อมููลด้้านการขนส่่งสาธารณะ (transportation) นอกจากนี้้� ยัังมีีชุุดข้้อมููลเกี่่ยวกัับ geodata ที่่ประกอบด้้วย ข้้อมููลด้้านภููมิิประเทศ การใช้้ประโยชน์์หรืือการถืือครองที่่ดิิน รวมถึึงข้้อมููลเชิิงสถิิติิและเชิิงวิิทยาศาสตร์์กายภาพ นำำมาเผยแพร่่เพื่่อนำำ ไปใช้้ประโยชน์์ได้้อย่่างครอบคลุุมด้้วย ไม่่ว่่าจะเป็็น ชุุดข้้อมููล ด้้านการตรวจสอบและประเมิินด้้านสิ่่งแวดล้้อม วิิทยาศาสตร์์กายภาพของโลก (earth science) สถิิติิเชิิงกายภาพ (statistics) น้ำ ำ� และสภาพชั้้�นบรรยากาศ (sea and atmosphere) การให้้บริิการและระบบสาธารณููปโภคต่่าง ๆ (public utility systems and services) ข้้อมููลแผนที่่ประเทศและรัังวััดที่่ดิิน (basic topographic and cadastral data) การใช้้ ประโยชน์ที่่ดิ์ ิน (land use) หรืือชุุดข้้อมููลด้้านความหลากหลายทางชีวิีิภาพและพื้้�นที่่ที่่อยู่่ภายใต้้ ความคุ้้มครอง/จััดการอื่่น ๆ (biodiversity and areas under management) เป็็นต้้น 3.2 การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของสาธารณรัฐอินเดีย รััฐบาลอิินเดีียได้้ดำำเนิินการพััฒนา ระบบการเ ปิิดเผยข้้ อ มููลสาธารณะ อย่่างจริิงจัังมาตั้้�งแต่่ ปีี 2012 โดยกระทรวง เทคโนโลยีีและวิิทยาศาสตร์์ ได้้ออกนโยบาย แห่่งชาติิว่่าด้้วยการเผยแพร่่ข้้อมููลและ การเข้้าถึึงข้้อมููล (National Data Sharing and Accessibility Policy: NDSAP) ขึ้้�นในปีี 2012 (Department of Science & Technology, 2012) โดยได้้นำำเอาหลัักการขององค์์การ สหประชาชาติิว่่าด้้วยสิ่่งแวดล้้อมและ การพััฒนา (United Nations Declaration
34 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ on Environment and Development) กฎหมายว่่าด้้วยสิิทธิิในการเข้้าถึึงข้้อมููล ข่่าวสารของอิินเดีีย (Right to Information Act 2005) มาตรา 4 (2) มาเป็็นหลััก ในการพััฒนานโยบายดัังกล่่าว กระทั่่งกำำหนดออกมาเป็็นหลัักการ สำำคััญของนโยบายแห่่งชาติิว่่าด้้วยการ เผยแพร่่ข้้อมููลและการเข้้าถึึงข้้อมููลที่่ ประกอบด้้วย 15 หลัักการ (Department of Science & Technology, 2012: 10) ได้้แก่่ หลัักแห่่งการเปิิดเผย (openness) ความยืืดหยุ่่น (flexibility) ความโปร่่งใส (transparency) ความสอดคล้้องต่่อกฎหมาย (legal conformity) การปกป้้องทรััพย์์สิินทางปััญญา (protection of intellectual property) ความรัับผิิดชอบทางการ (formal responsibility) ความเป็็นมืืออาชีีพ (professionalism) ความมีีมาตรฐาน (standard) ความสามารถในการใช้้งานร่่วมกัันได้้ (interoperability) หลัักด้้านคุุณภาพ (quality) ความมั่่นคงปลอดภััย (security) หลัักประสิิทธิิภาพ (efficiency) หลัักความรัับผิิดชอบ (accountability) หลัักด้้านความยั่่งยืืน (sustainability) หลัักด้้านความเป็็นส่่วนตััว (privacy) โดยเป้้าหมายหลัักของนโยบายแห่่งชาติิ ว่่าด้้วยการเผยแพร่ข้่ ้อมููลและการเข้้าถึึงข้้อมููล (National Data Sharing and Accessibility Policy: NDSAP) นี้้� ถููกกำำหนดขึ้้�นมา เพื่่อสนัับสนุุนให้้หน่่วยงานภาครััฐสามารถ มีีระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะทั่่วประเทศ ในเชิิงของการขัับเคลื่่อนนโยบายนั้้�น รััฐบาลอิินเดีียได้้พััฒนาแพล็็ตฟอร์์มข้้อมููล รััฐบาลแบบเปิิด (Open Government Data (OGD) Platform India) ขึ้้�นมา ในปีี 2012 นัับตั้้�งแต่มี่ ีการประกาศใช้้นโยบาย ฯ (NDSAP) ดัังกล่่าว ผ่่านการเผยแพร่่และพััฒนาระบบ ข้้อมููลสาธารณะ (Open data) บนเว็็บไซต์์ https://data.gov.in/ ซึ่่ งรัับผิิดชอบโดย ศููนย์์ข้้อมููลสารสนเทศแห่่งชาติิ (National Informatics Centre) ที่่ถููกจััดตั้้�งขึ้้�นมา ตามนโยบายแห่่งชาติิว่่าด้้วยการเผยแพร่่ ข้้อมููลและการเข้้าถึึงข้้อมููล (NDSAP) (National Informatics Centre, 2015: 9) โดยเ ป้้าหมายของการ พััฒนา แพล็็ตฟอร์์มนี้้�ขึ้้�นมา ก็็เพื่่อมุ่่งหวัังให้้ หน่่วยงานของรััฐทั่่วสาธารณรััฐอิินเดีีย สามารถเผยแพร่่ข้้อมููลการบริิหารงานต่่าง ๆ ผ่่านระบบอิินเทอร์์เน็็ตที่่ประชาชนทุุกคน สามารถเข้้าถึึงได้้จากทุุกที่่ทั่่วประเทศ
35 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ แผนภาพที่่� 6 แพล็็ตฟอร์์มการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะของอิินเดีีย หน้้าเว็็บแพล็็ตฟอร์์มการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะของอิินเดีีย จาก https://data.gov.in/ (12 สิิงหาคม 2564)
36 เพื่่�อยกระดัับการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการดำำเนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ของประเทศไทย ก ร ณีี ศึึ ก ษ า ต่่ า ง ป ร ะ เ ทศOPEN DATA ข้้อมููลสาธารณะ โดยชุุดข้้อมููลที่่มีีการนำำมาเปิิดเผยใน แพล็็ตฟอร์์ม OGD ดัังกล่่าวนี้้�ประกอบด้้วย ชุุดข้้อมููลหลายด้้าน มีีความครอบคลุุม และทัันสมััย โดยมีีการจััดแบ่่งชุุดข้้อมููล ออกเป็็นกลุ่่ม (sector) ที่่หลากหลาย รวมกว่่า 35 ชุุดข้้อมููล ได้้แก่่ ชุุดข้้อมููลด้้านการลง ประชาพิิจารณ์์ ชุุดข้้อมููลด้้านเกษตรกรรม ชุุดข้้อมููลด้้านวััฒนธรรมและศิิลปะ ชุุดข้้อมููล ด้้านไบโอเทคโนโลยีี ชุุดข้้อมููลด้้านพาณิิชยกรรม ชุุดข้้อมููลด้้านการทำำเหมืืองแร่่ ชุุดข้้อมููล ด้้านรััฐสภาของอิินเดีีย ชุุดข้้อมููลด้้าน สุุขอนามััยแหล่่งน้ำ ำ� ชุุดข้้อมููลด้้านการสื่่อสาร และข้้อมููลข่่าวสาร ชุุดข้้อมููลด้้านการป้้องกััน ประเทศ ชุุดข้้อมููลด้้านเศรษฐกิิจ ชุุดข้้อมููล ด้้านการศึึกษา ชุุดข้้อมููลด้้านสิ่่งแวดล้้อมและ ป่่าไม้้ ชุุดข้้อมููลด้้านแหล่่งน้ำ ำ� ชุุดข้้อมููลด้้าน งบประมาณ ชุุดข้้อมููลด้้านอาหาร ชุุดข้้อมููล ด้้านกิิจการระหว่่างประเทศ ชุุดข้้อมููลด้้าน การบริิหารงานภาครััฐ ชุุดข้้อมููลด้้านสวััสดิิการ ครอบครััวและสุุขภาพ ชุุดข้้อมููลด้้านความ รุุนแรงและครอบครััว ชุุดข้้อมููลด้้านการ เคหะ ชุุดข้้อมููลด้้านอุุตสาหกรรม ชุุดข้้อมููล ด้้านข้้อมููลสารสนเทศและการเผยแพร่่ออก อากาศ ชุุดข้้อมููลด้้านโครงสร้้างพื้้�นฐาน ชุุดข้้อมููลด้้านการพััฒนาเมืือง ชุุดข้้อมููลด้้าน งานยุุติิธรรม ชุุดข้้อมููลด้้านแรงงานและการ จ้้างงาน ชุุดข้้อมููลด้้านพลัังงาน ชุุดข้้อมููล ด้้านพื้้�นที่่ชนบท ชุุดข้้อมููลด้้านเทคโนโลยีีและ วิิทยาศาสตร์์ ชุุดข้้อมููลด้้านการพััฒนาสัังคม ชุุดข้้อมููลด้้านสถิติิของประเทศ ชุุดข้้อมููลด้้าน การเดิินทาง ชุุดข้้อมููลด้้านการท่่องเที่่ยว และ ชุุดข้้อมููลด้้านเยาวชนและกีีฬา อย่่างไรก็็ตาม ในส่่วนของการพััฒนาระบบการเปิิดเผยข้้อมููลสาธารณะตามนโยบายแห่่งชาติิ ว่่าด้้วยการเผยแพร่่ข้้อมููลและการเข้้าถึึงข้้อมููล (NDSAP) ศููนย์์ข้้อมููลสารสนเทศแห่่งชาติิ (National Informatics Centre) กระทรวงวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี ได้้กำำหนดคู่่มืือในการ ขัับเคลื่่อนนโยบายดัังกล่่าวออกมาให้กั้ับหน่่วยงานภาครััฐได้นำ้ ำ ไปใช้้เพื่่อพััฒนาระบบการเปิิดเผย ข้้อมููลข่่าวสาร ซึ่งไ่ ด้กำ้ ำหนดหลัักการของการเผยแพร่ข้่ ้อมููลไว้้ 10 ด้้าน (National Informatics Centre, 2015: 36-38) ได้้แก่่ 1. ด้้านความสมบููรณ์์ของข้้อมููล (completeness) 2. ข้้อมููลชั้้�นต้้น (primary) 3. มีีความทัันสมััยตามลำดัำ ับเวลา (timelines) 4. เข้้าข้้อมููลได้้ง่่ายทั้้�งในเชิิงกายภาพ และทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์ (ease of physical and electronic access) 5. สามารถอ่่านได้้บน อุุปกรณ์์ (machine readability) 6. ไม่มี่ ีการแบ่่งแยกการเข้้าถึึงข้้อมููล (non-discrimination) 7. มีีมาตรฐานเดีียวกัันในการใช้้งาน (use of commonly owned standards) 8. มีีการอนุุญาต ให้้ใช้สิ้ิทธิิเปิิดเผยข้้อมููลสู่่สาธารณะ (licensing) 9. ข้้อมููลสามารถใช้้งานได้้ตลอด (permanence) 10. ประชาชนเข้้าถึึงข้้อมููลได้้โดยไม่มี่ ีค่่าใช้้จ่่าย (access costs)