The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chirawatsangthup, 2018-08-24 03:38:13

AAตัวแฟ้มสะสมผลงาน61 วท.ระยอง

แฟ้มประเมินผลการปฏิบัติงาน ปี 2561





นายจิรวัฒน์ สังข์ธูป





แผนกช่างยนต์





































วิทยาลัยเทคนิคระยอง






สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก





ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ประวัติส่วนตัว




ชื่อ นายจิรวัฒน์ นามสกุล สังข์ธูป


สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ

เกิดวันที่ ๒๑ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๘

ภูมิล าเนาบ้านเลขที่ ๑๔/๓ หมู่ที่ ๑๐ ซอย -


ถนน - ต าบล ท่าฉนวน อ าเภอ มโนรมย์

จังหวัด ชัยนาท รหัสไปรษณีย์ ๑๗๑๑๐ โทรศัพท์ ๐๘๗ – ๖๑๙๘๘๘๗

เริ่มปฏิบัติงาน วิทยาลัยเทคนิคระยอง เมื่อวันที่ ๑ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐


ในต าแหน่ง ครูอัตราจ้างแผนกวิชา ช่างยนต์ จนถึงปัจจุบัน เป็นระยะเวลา ๑๐ ปี ๑๐ เดือน

ความสามารถพิเศษ


๑. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ใช้โปรแกรม Microsoft office ได้

๒. สามารถใช้โปรแกรส าเร็จรูปบัญชี โปรแกรม Express ได้

๓. สามารถใช้โปรแกรมเขียนแบบได้


การปฏิบัติงาน
สายงานการสอน


๑) ปฏิบัติการสอน

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ

รายวิชา การเป็นผู้ประกอบการ รหัสวิชา ๒๐๐๑ ๑๐๐๒
งานตัวถังและพ่นสีรถยนต์ รหัสวิชา ๒๑๐๑ ๒๑๑๑

โครงการ รหัสวิชา ๒๑๐๑ ๘๕๐๑


ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

รายวิชา นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ รหัสวิชา ๓๑๐๐ ๐๑๐๔
การบริหารงานคุณภาพในองค์การ รหัสวิชา ๓๐๐๑ ๑๐๐๑

กลศาสตร์วิศวกรรม รหัสวิชา ๓๑๐๐ ๐๑๐๑

๒) จ านวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห์

ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๘ จ านวนชั่วโมงการสอน ๓๔ ชั่วโมง / สัปดาห์
ภาคเรียนที่ ๑/ ๒๕๕๙ จ านวนชั่วโมงการสอน ๓๔ ชั่วโมง / สัปดาห์

ภาคเรียนที่ ๒/ ๒๕๕๙ จ านวนชั่วโมงการสอน ๓๑ ชั่วโมง / สัปดาห์

ภาคเรียนที่ ๑/ ๒๕๖๐ จ านวนชั่วโมงการสอน ๓๔ ชั่วโมง / สัปดาห์
ภาคเรียนที่ ๒/ ๒๕๖๐ จ านวนชั่วโมงการสอน ๓๔ ชั่วโมง / สัปดาห์

ภาคเรียนที่ ๑/ ๒๕๖๑ จ านวนชั่วโมงการสอน ๓๕ ชั่วโมง / สัปดาห์



3) ปฏิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษา / ครูประจ าชั้น

ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ท าหน้าที่ครูที่ปรึกษา ระดับชั้น ปวช. ๑/๕-๖ สาขาวิชาช่างยนต์

ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ท าหน้าที่ครูที่ปรึกษา ระดับชั้น ปวช. ๒/๕-๖ สาขาวิชาช่างยนต์
ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ท าหน้าที่ครูที่ปรึกษา ระดับชั้น ปวช. ๓/๕-๖ สาขาวิชาช่างยนต์

ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ท าหน้าที่ครูที่ปรึกษา ระดับชั้น ปวช. ๑/๕-๖ สาขาวิชาช่างยนต์




4) หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ
- ได้รับมอบหมายให้เป็นเจ้าหน้าที่โครงการพิเศษ และบริการชุมชน

- ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ช่วยเจ้าหน้าที่งานวิจัย พัฒนา นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์

- ปฏิบัติหน้าที่หน้าประตูวิทยาลัยเทคนิคระยอง

วุฒิการศึกษา


นายจิรวัฒน์ สังข์ธูป ต าแหน่ง ครูอัตราจ้างแผนกช่างยนต์

วิทยาลัยเทคนิคระยอง สังกัด ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


ล าดับที่ ชื่อสถานศึกษา ปีที่ส าเร็จ วุฒิที่ได้รับระบุวิชาเอก (ถ้ามี) หมายเหตุ

การศึกษา
๑ วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก ๒๕๔๕ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

๒ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตตาก ๒๕๔๘ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

๓ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ๒๕๕๐ คอ.บ. เครื่องกล
วิทยาเขตตาก

๔ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ ๒๕๕๔ คอ.ม. เครื่องกล

นครเหนือ

ประวัติการปฏิบัติงาน


นายจิรวัฒน์ สังข์ธูป ต าแหน่ง ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างยนต์

วิทยาลัยเทคนิคระยอง สังกัด ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
วัน/เดือน/ปี ต าแหน่ง สถานศึกษา

๑ พ.ย. ๒๕๕๐ – ปัจจุบัน ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคระยอง

ประวัติการอบรม และการปฏิบัติงานอื่น


นายจิรวัฒน์ สังข์ธูป ต าแหน่ง ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างยนต์

วิทยาลัยเทคนิคระยอง สังกัด ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

วัน/เดือน/ปี โครงการฝึกอบรม หน่วยงาน
๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑ โครงการอบรมหลักเกณฑ์และวิธีการ วิทยาลัยเทคนิคบ้านค่าย

ประเมินวิทยฐานะข้าราชการครู และ

บุคลากรทางการศึกษาแนวใหม่ และการใช้

งานโปรแกรมบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน
๔ – ๗ กันยายน ๒๕๖๑ โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตร บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลล์

เทคโนโลยียานยนต์อีซูซุ รุ่นที่ ๑๙

ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๑

นายจิรวัฒน์ สังข์ธูป ต าแหน่ง ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างยนต์

วิทยาลัยเทคนิคระยอง สังกัด ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ข้าพเจ้าได้ปฎิบัติงานในต าแหน่ง ครูอัตราจ้าง สาขาวิชาช่างยนต์ ตั้งแต่วันที่ ๑ พฤศจิกายน
๒๕๕๐ จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา ๑๐ ปี ๑๐ เดือน ส่งผลให้เกิดทักษะและมีประสบการณ์ด้านการปฏิบัติงาน

ดังนี้


๑. ด้านวินัย (๒๐ คะแนน)


๑.๑ การลา


ล าดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏิบัติงาน หลักฐานอ้างอิง
๑ การรักษาระเบียบวินัย ตามกฎระเบียบ วินัย หลักเกณฑ์ และแนวทาง - ๑.๑ ใบสรุปวันลา

ของทางราชการและที่วิทยาลัยก าหนดให้เป็นแนวปฏิบัติร่วมกัน เช่น

การแต่งกาย การตรงต่อเวลา ข้าพเจ้าได้มาท างานสม่ าเสมอไม่เคยสาย
การแต่งกายตามระเบียบ ข้าพเจ้าได้แต่งกายตามระเบียบตามที่

วิทยาลัยฯ ก าหนดดังนี้ วันจันทร์ แต่งชุดกากี วันอังคาร แต่งชุดเสื้อสี
แดงเลือดหมู วันพุธ แต่งเสื้อแผนกหรือเสื้อ to be number one วัน

พฤหัสบดี แต่งชุดสุภาพ วันศุกร์ แต่งชุดผ้าไทย

ข้าพเจ้าได้เคยลาป่วย ๑ วัน






๑.๒ การมาสาย


ล าดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏิบัติงาน หลักฐานอ้างอิง

๑ ข้าพเจ้าไม่เคยมาปฏิบัติงานสาย - ๑.๑ ใบสรุปวันลา

Scanned by CamScanner

ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๑

นายจิรวัฒน์ สังข์ธูป ต าแหน่ง ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างยนต์

วิทยาลัยเทคนิคระยอง สังกัด ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


๒. ด้านการครองตน (๕ คะแนน)

- คุณธรรม จริยธรรม

ล าดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏิบัติงาน หลักฐานอ้างอิง
ปฏิบัติและยึดตามหลักค าสอนของศาสนาพุทธ ด ารงตนเป็นแบบอย่างที่

ดี ปฏิบัติงานทุกอย่างที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุหรี่

ไม่เที่ยวกลางคืน ไม่เล่นการพนัน สอดแทรกค าสอนหลักศาสนา การ
ประพฤติตนไว้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝังให้นักเรียนปฏิบัติ

๑ น านักเรียน นักศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมถวายเทียนพรรษา ประจ าปี - ๒.๑.๑ ค าสั่งวิทยาลัยเทคนิค
การศึกษา ๒๕๖๑ ระยองที่ ๑๒๕๔/๒๕๖๑

- ๒.๑.๑ ภาพกิจกรรม


๒ เข้าร่วมกิจกรรมงานวันไหว้ครู ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๑ - ๒.๑.๒ ภาพกิจกรรม



๓ น านักเรียน นักศึกษา เข้าร่วมโครงการคุณธรรม จริยธรรมของแผนก - ๒.๑.๓ ค าสั่งวิทยาลัยเทคนิค
วิชาช่างยนต์โดยน านักเรียน เข้าอบรมที่วัดมาบตาพุค ระยองที่ ๑๕๘๘/๒๕๖๑

- ๒.๑.๓ ภาพกิจกรรม







ประมวลภาพกิจกรรม


เข้าร่วมกิจกรรมแห่เทียน ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๑

ประมวลภาพกิจกรรม


เข้าร่วมกิจกรรมไหว้ครู ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๑









ประมวลภาพกิจกรรม



เข้าร่วมกิจกรรมโครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๑

ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๑

นายจิรวัฒน์ สังข์ธูป ต าแหน่ง ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างยนต์
วิทยาลัยเทคนิคระยอง สังกัด ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา



๒. ด้านการครองตน (ต่อ) (๕ คะแนน)
- จรรยาบรรณและเจตคติต่อวิชาชีพ



ล าดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏิบัติงาน หลักฐานอ้างอิง
๑ ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณครู - ๒.๒.๑ สอบสัมภาษณ์

ข้าพเจ้ามีความตั้งใจถ่ายทอดความรู้โดยไม่บิดเบือน ปิดบังหวังสิ่ง - สังเกตพฤติกรรม

ตอบแทน


๒ โครงการเยี่ยมบ้านสานสัมพันธ์ครู-ศิษย์วิทยาลัยเทคนิคระยอง - ๒.๒.๒ ค าสั่งวิทยาลัยเทคนิค

ระยองที่ ๑๒๙๗/๒๕๖๑
- ๒.๒.๓ ภาพกิจกรรม






- บุคลิกภาพและการวางตัวที่เหมาะสม


ล าดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏิบัติงาน หลักฐานอ้างอิง

๑ การพัฒนาบุคลิกภาพ - ๒.๒.๑ สอบสัมภาษณ์
- สังเกตพฤติกรรม

๒ การปรับตัว - การแต่งกาย







ประมวลภาพกิจกรรม


โครงการเยี่ยมบ้านสานสัมพันธ์ครู-ศิษย์วิทยาลัยเทคนิคระยอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๑

ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๑

นายจิรวัฒน์ สังข์ธูป ต าแหน่ง ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างยนต์
วิทยาลัยเทคนิคระยอง สังกัด ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา



๓. ด้านการเรียนการสอน (๔๐ คะแนน)
๓.๑ โครงการสอน (๒.๕ คะแนน)


ล าดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏิบัติงาน หลักฐานอ้างอิง

๑ - ได้จัดส่งโครงการสอนครบตามตารางสอนภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๑ - ๓.๑. เอกสารการส่ง

โครงการสอน ภาคเรียนที่
๑/๒๕๖๑








๓.๒ บันทึกหลังการสอน (๒.๕ คะแนน)

ล าดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏิบัติงาน หลักฐานอ้างอิง
๑ - ได้จัดส่งบันทึกหลังสอนครบตามตารางสอนภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๑ - ๓.๒ เอกสารการส่งบันทึก

หลังสอน ภาคเรียนที่
๑/๒๕๖๑

Scanned by CamScanner

Scanned by CamScanner

Course Syllabus
วิชา โครงการ รหัสวิชา 2101-8501

จ านวนหน่วยกิจ 4 หน่วยกิต ทฤษฏี คาบ/ชั่วโมง ปฏิบัติ 4 คาบ/ชั่วโมง

ครูผู้สอน นายจิรวัฒน์ สังข์ธูป แผนกวิชา ช่างยนต์
จุดประสงค์รายวิชา

1.เกิดความตระหนักสภาพการท างาน
2.มีความรับผิดชอบและเจตคติ และแสดงนิสัยที่ดี มีความรับผิดชอบ

3.มีความคิดริเริ่มในการสร้างและพัฒนาในสาขาวิชาชีพ สามารถวางแผนและด าเนินการ

4.สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการท างาน สรุปประเมินผลของการปฏิบัติงานและน าเสนอผลงาน
สมรรถนะรายวิชา

1.มีทักษะและประสบการณ์ในวิชาชีพ

2.มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
3.ประกอบอาชีพอิสระ

ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการน าความรู้จากวิชาต่างๆมาประยุกต์ใช้ในการท าโครงการวิชาชีพ โดย
การเขียนโครงการ น าเสนอโครงการ วางแผนด าเนินการปรับปรุง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการ

ปฏิบัติงาน บันทึกข้อมูลการปฏิบัติงาน รายงานผลเป็นระยะและน าเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการต่อ
คณะกรรมการประเมินผล

แผนการสอนภาคเรียนที่ 1/2561

(สอนแบบบูรณาการ)


ตารางวิเคราะห์หน่วยการสอน
รหัสวิชา 2101- 8501 ชื่อวิชา โครงการ


ล าดับ ชื่อหน่วย พฤติกรรมที่ต้องการ/สอนหนึ่งครั้ง
ที่ ความรู้ ทักษะ กิจนิสัย รวม

1. ที่มาและรายละเอียดของโครงการวิชาชีพ 4

1.1 ความเป็นมาของโครงการวิชาชีพ
1.2 รายละเอียดฝึกทักษะวิชาชีพ

1.3 หลักในการท าโครงการวิชาชีพ

1.4 จุดมุ่งหมายโครงการวิชาชีพ 2
1.5 ลักษณะโครงการวิชาชีพ

1.6 เทคนิคในการด าเนินงานโครงการ

วิชาชีพให้ประสบผลส าเร็จ

1.7 การน าความรู้ในหลักการภาคทฤษฎีมา
บูรณาการก่อเกิดโครงการวิชาชีพ

- ลักษณะของการบูรณาการในโครงการ

วิชาชีพ
- เหตุผลของการบูรณาการในโครงการ

วิชาชีพ 1

- องค์ประกอบการบูรณาการโครงการ

วิชาชีพ
- ประโยชน์ในการจัดการสอนแบบบูรณา

การ

- ความคิดรวบยอดการบูรณาการให้ก่อ
เกิดโครงการวิชาชีพ 1

ล าดับ ชื่อหน่วย พฤติกรรมที่ต้องการ/สอนหนึ่งครั้ง
ที่ ความรู้ ทักษะ กิจนิสัย รวม

2 การด าเนินงานโครงการวิชาชีพ 60
3.1 ส ารวจความสนใจของตนเอง 1

3.2 ตรวจสอบความพร้อมของผู้ด าเนินงาน 1

3.3 ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบการ
ด าเนินงาน 1

3.4 น าเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ 1

3.5 ลงมือปฏิบัติงานตามโครงการ 52
3.6 การประเมินผลของโครงการช่วงแรก

และช่วงต่อ ๆ ไป 4

3 การติดตามประเมินผลและรายงาน 8

4.1 รายงานผลโครงการวิชาชีพ
4.2 กระบวนการประเมินผล 2

4.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

4.4 การจัดแฟ้มผลการด าเนินงานโครงการ

วิชาชีพ 2
4.5 การน าเสนอผลงานโครงการวิชาชีพ 4



4 ธุรกิจจ าลองน าไปสู่การพัฒนาทักษะการ
บันทึกบัญชี 8

2.1 กระบวนการสร้างข้อมูลด้วยการจัดตั้ง

ธุรกิจการจ าลอง 1 2
2.2 กระบวนการพัฒนาทักษะการบัญชี 5

รวม 6 74 80

คะแนนการวัดผล
คะแนนเก็บระหว่างการเรียน 60 %

สอบปลายภาคเรียน 20 %

จิตพิสัย 20 %
รวม 100 %

เกณฑ์การประเมินผล

ใช้การประเมินแบบอิงเกณฑ์
ระดับคะแนน เกรด

80-100 4

75-79 3.5
70-74 3

65-69 2.5

60-64 2
55-59 1.5

50-54 1

0-49 0
หนังสือเอกสารอ้างอิง

Course Syllabus

วิชา กลศาสตร์วิศวกรรม รหัสวิชา 3100 -0101

จ านวนหน่วยกิจ 3 หน่วยกิต ทฤษฏี 3 คาบ/ชั่วโมง ปฏิบัติ คาบ/ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายจิรวัฒน์ สังข์ธูป แผนกวิชา ช่างยนต์

จุดประสงค์รายวิชา
1.เพื่อให้เข้าใจหลักสถิตยศาสตร์ การใช้เวคเตอร์ช่วยค านวณแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล

2.เพื่อให้สามารถวิเคราะห์แรงในโครงสร้างเครื่องจักรกล หาคุณสมบัติรูปทรงเรขคณิตศาสตร์ และสามารถ

แก้ไขปัญหาการสถิตยศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ
3.เพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการสืบเสาะหาความรู้และใช้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหา มีความละเอียด

รอบคอบและตระหนักถึงความปลอดภัย

มาตรฐานรายวิชา
1.ค านวณโมเมนต์ในระนาบและปริภูมิโดยใช้เวคเตอร์และเครื่องค านวณช่วย

2.วิเคราะห์แรงในชิ้นส่วนโครงสร้างและชิ้นส่วนเครื่องกล

3.ค านวณเกี่ยวกับแรงกระจายและสถิตยศาสตร์ของไหล
4.หาจุดศูนย์กลางมวลและจุดเซนทรอยด์ของวัตถุผสมและรูปผสม

5.ค านวณเกี่ยวกับความเสียดทานในเครื่องจักรกล
ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิธีแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมโดยใช้หลักสถิตยศาสตร์และเวคเตอร์ช่วยเกี่ยวกับระบบของแรง

ชนิดของแรง โมเมนต์และแรงคู่ควบ สมดุล แผนภาพวัตถุอิสระ โครงสร้างและหลักการวิเคราะห์เบื้องต้น แรง
กระจาย สถิตยศาสตร์ของไหลจุดศูนย์ถ่วงและจุดเซนทรอยด์ โมเมนต์ความเฉื่อย และความเสียดทาน การ

แก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ

หน่วยการจัดการเรียนรู้
รหัส 3100 - 0101 วิชา กลศาสตร์วิศวกรรม 3 หน่วยกิต 4 ชั่วโมง/สัปดาห์

จ านวนคาบ
ล าดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้
(ชม.)

1 ชี้แจงวิธีการเรียนและปฐมนิเทศก่อนเรียน 4

2 หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ 4

3 ระบบแรง 12

4 โมเมนต์แรงคู่ควบ 4

5 สมดุล 12
6 โครงสร้าง 8

7 แรงกระจาย 8

8 โมเมนต์ความเฉื่อย 8

9 แรงเสียดทาน 8

10 โครงงานวิจัย 12

รวม 72

คะแนนการวัดผล
คะแนนเก็บระหว่างการเรียน 60 %

สอบปลายภาคเรียน 20 %

จิตพิสัย 20 %
รวม 100 %

เกณฑ์การประเมินผล

ใช้การประเมินแบบอิงเกณฑ์
ระดับคะแนน เกรด

80-100 4

75-79 3.5
70-74 3

65-69 2.5

60-64 2
55-59 1.5

50-54 1

0-49 0

หนังสือเอกสารอ้างอิง รหัส 3100 - 0101 วิชา กลศาสตร์วิศวกรรม เสกสรร ศรียศ ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ

Course Syllabus


วิชา งานตัวถัง และพ่นสีรถยนต์ รหัสวิชา ๒๑๐๑ - ๒๑๑๑
จ านวนหน่วยกิจ ๓ หน่วยกิจ ทฤษฏี ๑ คาบ/ชั่วโมง ปฏิบัติ ๖ คาบ/ชั่วโมง

ครูผู้สอนนายจิรวัฒน์ สังข์ธูป แผนกวิชา ช่างยนต์


จุดประสงค์รายวิชา

๑. เข้าใจหลักการใช้เครื่องมือในงานตัวถังและพ่นสีรถยนต์
๒. ใช้เครื่องมือท าการปรับปรุงสภาพตัวถังและสีรถยนต์

๓. มีกิจนิสัยที่ดีในการท างานรับผิดชอบประณีตรอบคอบตรงต่อเวลาสะอาดปลอดภัย

และรักษาสภาพแวดล้อม


สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรู้เกี่ยวกับการจ าแนกชนิด ประเภท การน าไปใช้งาน ขั้นตอนการซ่อมสีรถยนต์
๒. เตรียมผิวงานด้วยกรรมวิธีตามกระบวนการซ่อมสีรถยนต์

๓. พ่นสีรองพื้น พ่นสีทับหน้า ขัดสีและติดตั้งอุปกรณ์เข้ากับรถยนต์
๔. ประมาณราคางานซ่อมสีรถยนต์ตามหลักการ

๕. บ ารุงรักษาอุปกรณ์เครื่องมืองานตัวถังและพ่นสีรถยนต์หลักการใช้งานตามคู่มือ


ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติ การใช้เครื่องมืองานตัวถังและพ่นสีรถยนต์ การเคาะขึ้นรูป การปะผุตัวถัง

การลอกสี โป๊สี การขัดเตรียมผิวงาน การผสมสี การพ่นสีรองพื้น การพ่นสีทับหน้า การขัดสี และการ
ประมาณราคาค่าบริการ

หน่วยการเรียนรู้

วิชา งานตัวถัง และพ่นสีรถยนต์ ๒๑๐๑ - ๒๑๑๑

จ านวนหน่วยกิต ๓ หน่วยกิต ทฤษฏี ๑ คาบ/ชั่วโมง ปฏิบัติ ๖ คาบ/ชั่วโมง


จ านวน
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการสอน สัปดาห์ที่
ชั่วโมง

ส่วนประกอบและวัสดุตัวถังรถยนต์
- ป้ายรหัสที่ตัวรถยนต์

- ส่วนประกอบหลักตัวถังรถยนต์

- ประเภทและขนาดโลหะแผ่นตัวถังรถยนต์
๑ ๑ ๗
- ประเภทกระจกนิรภัยที่ใช้ในตัวถังรถยนต์

- ประเภทพลาสติกที่ใช้ในตัวถังรถยนต์

- ประเภทยางที่ใช้ในตัวถังรถยนต์



การตรวจปรับประตูรถยนต์

- ประเภทประตูและกลอนประตูรถยนต์

- ระบบล็อกประตูและเลื่อนกระจกไฟฟ้า
๒ ๒ ๗
- มือเปิดประตูและกุญแจล็อกประตูรถยนต์

- การตรวจปรับระยะปิดประตูรถยนต์



เครื่องมืองานตัวถังและพ่นสีรถรถยนต์

- ชนิดและการใช้งานอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล

- ชุดเครื่องมือเคาะขึ้นรูปและค้อนเคาะขึ้นรูป

๓ - เครื่องมือเคาะขึ้นรูปตัวถังรถยนต์
- เครื่องดึงรอยบุบและเกจตรวจขนาดตัวถังรถยนต์ ๓ ๗

- เครื่องเจียระไน เครื่องขัดและเครื่องสกัด


- เครื่องมืองานสีรถยนต์



หน่วยที่ ชื่อหน่วยการสอน สัปดาห์ที่ จ านวน

ชั่วโมง

การเคาะขึ้นรูปด้วยค้อนเคาะและค้อนตู้
- การประเมินความเสียหายและวิธีการซ่อมตัวถัง

- การใช้ค้อนเคาะและค้อนตู๊ในการซ่อมตัวถัง

๔ - วิธีการจับค้อนและการเคาะตัวถัง ๔-๕ ๑๔

- เทคนิคการเคาะตัวถังตรงศูนย์และนอกศูนย์ค้อนตู๊

- ปฏิบัติการเคาะตัวถังด้วยค้อนเคาะกับค้อนตู๊ 15 ข้อ

-

การเคาะขึ้นรูปด้วยการงัด การดึง และโลหะหดตัว

- การเคาะขึ้นรูปด้วยเหล็กงัดตัวถังและเหล็กดึงคืนรูป

๕ - การเคาะขึ้นรูปด้วยค้อนกระตุก ๖-๗ ๑๔

- การดึงรอยบุบด้วยลูกยางสุญญากาศดึงคืนรูป

- การดึงรอยบุบด้วยแหวนดึงรอยบุบ

- การเคาะแต่งรอยปูดด้วยการท าให้โลหะหดตัว

-

การปะผุตัวถังรถยนต์

- ความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊สปะผุตัวถังรถยนต์
- วิธีการเชื่อมแก๊สปะผุตัวถังรถยนต์

๖ - เทคนิคการเชื่อมแก๊สปะผุตัวถังรถยนต์ ๘ ๗


- การเคาะปะผุบังโคลนนอกรถยนต์

- เทคนิคการเคาะบังโคลนรถยนต์

- การเชื่อมปะผุบังโคลนบนรถยนต์

การลอกสีตัวถังรถยนต์

- การก าหนดขอบเขตความเสียหายและวิธีลอกสี
๗ - การลอกสีด้วยเครื่องมือเล็ก ๙ ๗


- การลอกสีด้วยเครื่องขัดลอกสี

- การลอกสีด้วยน้ ายาลอกสี




จ านวน
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการสอน สัปดาห์ที่
ชั่วโมง

สีโป๊และการโป๊สี

- ส่วนประกอบและประเภทสีโป๊
๘ - การผสมและเทคนิคการคลุกสีโป๊ ๑๐-๑๑ ๑๔


- การโป๊ซ่อมสีแผลเล็กพื้นผิวราบ

- การขัดสีโป๊ะแผลเล็กด้วยมือและด้วยด้วยเครื่องขัด

การใช้และการบ ารุงรักษาปืนพ่นสี
- ประเภทและข้อดี-ข้อเสียของปืนพ่นสี

๙ - ส่วนประกอบและการท างานของปืนพ่นสี ๑๒ ๗

- เทคนิคการใช้ปืนพ่นสีรถยนต์

- การบ ารุงรักษาปืนพ่นสีให้มีอายุการใช้งานยาวนาน

สีพ่นซ่อมและสีอุตสาหกรรมรถยนต์

- ประเภทสีพ่นซ่อมและสีอุตสาหกรรมรถยนต์

๑o - ส่วนประกอบสีพ่นรถยนต์ ๑๓ ๗

- ขั้นตอนการแห้งตัวของสีพ่นรถยนต์

- คุณลักษณะสีรองพื้น สีพื้นและสีทับหน้า

การขัดเตรียมผิวงานและการพ่นสีพื้น

- วัสดุเตรียมผิวงานและการตรวจสอบชนิดสีเดิม
- การขัดลบขอบผิวสีและพ่นสีรองพื้น

๑๑ - การพ่นสีพื้นและการขัดสีพื้น ๑๔ ๗


- แผนภูมิการพ่นสีพื้นและการขัดเตรียมผิวงาน

- การติดกระดาษกันสีและหลักการพ่นสีพื้น

- การใช้สีโป๊ตกแต่งและการขัดสีพื้น









หน่วยที่ ชื่อหน่วยการสอน สัปดาห์ที่ จ านวน

ชั่วโมง
๑๒ การพ่นสีทับหน้า ๑๕ ๗

- ล าดับการพ่นซ่อมสีทับหน้าทั้งแผงตัวถัง

- ล าดับการพ่นซ่อมสีทับหน้าแผงตัวถังเป็นจุด

- ล าดับการพ่นซ่อมสีทับหน้าให้กลมกลืนทั้งแผงตัวถัง

- ต าแหน่งการเดินปืนพ่นสีและทิศทางการเดินปืนพ่นสี

- หลักการใช้ปืนพ่นสีและการพ่นสีโปรย

- ประเภทและคุณลักษณะเครื่องอบสีรถยนต์

การปรับผิวสีและการขัดเงาสี

- วิธีการปรับผิวสีที่พ่นซ่อมใหม่หลังแห้งตัวแล้ว

- เครื่องมือและอุปกรณ์ขัดเงาสีที่พ่นใหม่

๑๓ - การขัดแต่งผิวและการตรวจสอบผิวสีที่พ่นใหม่ ๑๖ ๗

- วิธีก าจัดเม็ดตาปลาและขัดสีด้วยกระดาษทรายน้ า

- วิธีขัดเงาสีและการขัดเงาสีด้วยยาขัด

-

การประมาณราคาค่าบริการงานตัวถังและสีรถยนต์
- ตัวอย่างการเขียนใบส่งของ/ใบแจ้งหนี้


- เงื่อนไขการจ่ายค่าชดเชยรถประกันและรถคู่กรณี
๑๔ ๑๗ ๗
- มาตรฐานการประเมินราคาค่าซ่อมตัวถังตามบริษัทประกันภัย

- การประมาณราคาซ่อมตัวถังรถนั่งตามอู่กลางการประกันภัย

- การประมาณราคาซ่อมสีรถนั่งตามอู่กลางประกันภัย

๑๕ สอบ ๑๘ ๗


คะแนนการวัดผล

สอบประจ าหน่วยการเรียน ๒๐ %
รายงานและปฏิบัติระหว่างเรียน ๖๐ %

จิตพิสัย ๒๐ %

รวม ๑๐๐ %


เกณฑ์การประเมินผล
ใช้การประเมินแบบอิงเกณฑ์

ระดับคะแนน เกรด

80-100 4

75-79 3.5
70-74 3

65-69 2.5

60-64 2
55-59 1.5

50-54 1

0-49 0
หนังสืออ้างอิง

รศ.อ าพล ชื่อตรง. งานตัวถัง และพ่นสีรถยนต์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ .

๒๕๕๙

คณะวิชาช่างอุตสาหกรรม


แผนกเครื่องกล สาขาวิชา ช่างยนต์




อาจารย์ผู้สอน นายจิรวัฒน์ สังข์ธูป




ประมวลผลรายวิชา (Course Syllabus)

3100 - 0106 นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ (3 หน่วยกิต)


(PNEUMATIC)




ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบและติดตั้งระบบนิวแมติกส์หลักการท างานเบื้องต้นของระบบนิวแมติกส์

อุปกรณ์ในระบบนิวแมติกส์ เช่น ปั๊มลม วาล์ว อุปกรณ์ท างานรวมทั้งระบบสุญญากาศ ฯลฯ การเขียนผังวงจรนิวแม

ติกส์และแสดงการเคลื่อนที่ การออกแบบและเขียนวงจรนิวแมติกส์แบบท างานต่อเนื่อง อุปกรณ์ไฟฟ้า และโซลิ

นอยด์วาล์ว การออกแบบและเขียนวงจรนิวแมติกส์ควบคุมการท างานด้วยรีเลย์ไฟฟ้า และโปรแกรมเมเบิล

คอนโทรลเลอร์ (พีแอลซี) การบ ารุงรักษา และแก้ไขปัญหาของระบบนิวแมติกส์


ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบ และติดตั้งระบบไฮดรอลิกส์ หลักการท างานเบื้องต้นของระบบไฮดรอลิกส์

อุปกรณ์ในระบบไฮดรอลิกส์ เช่นน ้ามันไฮดรอลิกส์ ชุดต้นก าลัง วาล์ว อุปกรณ์ท างาน ฯลฯ การเขียนผังวงจรนิวแม

ติกส์และแสดงการเคลื่อนที่ การออกแบบและเขียนวงจรไฮดรอลิกส์ การออกแบบและเขียนวงจรนิวแมติกส์ควบคุม

การท างานด้วยรีเลย์ไฟฟ้า และโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ (พีแอลซี) การบ ารุงรักษา และแก้ไขปัญหาของ

ระบบไฮดรอลิกส์



จุดประสงค์รายวิชา


1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการท างานของระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์และระบบควบคุม
2. เพื่อให้สามารถออกแบบ ติดตั้งและบ ารุงรักษาระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์ทั้งแบบเชิงกล และ

แบบไฟฟ้า

3. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับการท างานของระบบนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์

และมีกิจนิสัยในการท างานด้วยความรอบคอบและปลอดภัย

มาตรฐานรายวิชา

1. เข้าใจหลักการท างานของระบบนิวแมติกส์ และระบบควบคุม

2. ออกแบบ ติดตั้ง และบ ารุงรักษาระบบนิวแมติกส์แบบเชิงกล
3. ออกแบบ ติดตั้ง และบ ารุงรักษาระบบนิวแมติกส์แบบไฟฟ้า

4. เข้าใจหลักการท างานของระบบไฮดรอลิกส์ และระบบควบคุม

5. ออกแบบ ติดตั้ง และบ ารุงรักษาระบบไฮดรอลิกส์แบบเชิงกล
6. ออกแบบ ติดตั้ง และบ ารุงรักษาระบบไฮดรอลิกส์แบบไฟฟ้า



กิจกรรมการเรียนการสอน

1. บรรยายโดยผู้สอน

2. ศึกษาจากเอกสาร และสื่อการสอน

3. จัดท าใบงาน - ปฏิบัติงานกลุ่ม

4. ค้นคว้า ทดลองและร่วมกันอภิปราย



มาตรฐานรายวิชา

ให้มีความเข้าใจหลักการจักการและมาตรฐานการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สามารถด าเนินงาน

ด้านความปลอดภัย ด้านการป้ องกันและควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการท างาน ด าเนินงานด้านเทคโนโลยี

และวิศวกรรมความปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพอนามัยพนักงาน ปรับปรุงสภาพการท างานตามหลักการยศาสตร์ และ

สามารถจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยได้อย่างเป็นระบบ



หน่วยการจัดการเรียนรู้


จ านวนคาบ 4 ชั่วโมง / สัปดาห์

บทที่ 1 การเตรียมและการผลิตลมอัด

บทที่ 2 อุปกรณ์ท างานในระบบนิวแมติกส์

บทที่ 3 วาล์วในระบบนิวแมติกส์

บทที่ 4 การควบคุมกระบอกสูบแบบต่อเนื่อง

บทที่ 5 อุปกรณ์ไฟฟ้ าและสัญลักษณ์

บทที่ 6 วงจรนิวแมติกส์ไฟฟ้ า

บทที่ 7 การควบคุมนิวแมติกส์ด้วยพีแอลซี

บทที่ 8 หลักการเบื้องต้นของไฮดรอลิกส์

บทที่ 9 วงจรไฮดรอลิกส์ไฟฟ้ า

กฎระเบียบประจ ารายวิขา

1. เวลาเรียนน้อยกว่า 80% = ขร.


2. มาสายเกิน 15 นาที 3 ครั้ง = ขาด 1 ครั้ง

3. มาสายเกิน 50 นาที = ขาด 1 ครั้ง



การประเมินผล

1. จิตพิสัย 20 %


- การแต่งกาย

- ความประพฤติ

- เวลาเรียน

2. รายงานและการน าเสนอ 15 %

- รูปเล่มรายงาน

- การน าเสนอ

3. คะแนนในระหว่างการเรียนการสอน 30 %


- คะแนนใบงาน - สมุด

- การปฏิบัติงานกลุ่ม

- ความร่วมมือ

4. สอบกลางภาค (ปฏิบัติ) 15 %

5. สอบปลายภาค (ทฤษฎี - ปฏิบัติ) 20 %



เกณฑ์การประเมินผล


80 คะแนน ขึ้นไป = 4.0 60 – 64 คะแนน = 2.0

75 – 79 คะแนน = 3.5 55 – 59 คะแนน = 1.5

70 – 74 คะแนน = 3.0 50 – 54 คะแนน = 1.0

65 – 69 คะแนน = 2.5 ต ่ากว่า 50 คะแนน = 0

- ส่งงานไม่ครบ / ไม่ทันตามก าหนด = ตัดเกรดตามคะแนนจริงที่มีอยู่


- เวลาเรียนน้อยกว่า 80% = ขร.

หมายเหตุ เกณฑ์การประเมินอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

ก าหนดการเรียนการสอน



สัปดาห์ที่ ชื่อหน่วยและหัวข้อ คาบเรียน


1 บทที่ 1 การเตรียมและการผลิตลมอัด 4

การเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของระบบนิวแมติกส์

เครื่องอัดลม


เครื่องระบายความร้อน

ถังเก็บลม

การจ่ายลมอัด

การเตรียมลมอัด

ชุดควบคุมและปรับปรุงคุณภาพลมอัด

แบบฝึกหัดที่ 1

2 บทที่ 2 อุปกรณ์ท างานในระบบนิวแมติกส์ 4


อุปกรณ์ท างาน

กระบอกสูบท างานทางเดียว

กระบอกสูบสองทาง

กระบอกสูบสองทางชนิดมีตัวกันกระแทก

กระบอกสูบแบบโรตารี่

มอเตอร์ลม


แบบฝึกหัดที่ 2

3-6 บทที่ 3 วาล์วในระบบนิวแมติกส์ 16
วาล์วควบคุมทิศทาง


โครงสร้างและหลักการท างานของวาล์ว

วาล์วบังคับทิศทางแบบ 3/2

วาล์วบังคับทิศทางแบบ 5/2

วาล์วควบคุมแบบลูกกลิ้ง

วาล์วกันกลับ

วาล์วกันกลับสองทาง

สัปดาห์ที่ ชื่อหน่วยและหัวข้อ คาบเรียน


บทที่ 3 (ต่อ)


วาล์วควบคุมอัตราไหล

วาล์วเร่งระบายลม

วาล์วความดันสองทาง

วาล์วหน่วงเวลา

วาล์วควบคุมความดันลม

วาล์วบังคับทิศทาง 3/2 แบบ Roller Trip

วงจรแบบก้านสูบเลื่อนเข้า – ออก โดยอัตโนมัติ

แบบฝึกหัดที่ 3

ใบประลองนิวแมติกส์เบื้องต้น


7-8 บทที่ 4 การควบคุมกระบอกสูบแบบต่อเนื่อง 8

หลักการเขียนโค้ตอุปกรณ์

วิธีการเขียนไดอะแกรมการท างานของวงจร

การควบคุมแบบต่อเนื่อง

วงจรแยกสัญญาณควบคุมแบบ Cascade

วงจรแยกสัญญาณควบคุมแบบ Shift Register

แบบฝึกหัดที่ 4

ใบประลองวงจรนิวแมติกส์ท างานแบบต่อเนื่อง


9 บทที่ 5 อุปกรณ์ไฟฟ้ าและสัญลักษณ์ 4

สวิตช์แบบมือกด

สวิตช์แบบกดค้างต าแหน่ง

ลิมิตสวิตช์

แมเนติกส์สวิตช์

สวิตช์ความดัน

รีเลย์

รีเลย์ตั้งเวลา


ตัวนับ

สัปดาห์ที่ ชื่อหน่วยและหัวข้อ คาบเรียน


บทที่ 5 (ต่อ)


อุปกรณ์ตรวจจับ
โซลินอยด์


โครงสร้างและหลักการท างานของโซลินอยด์วาล์ว

แบบฝึกหัดที่ 5


10-13 บทที่ 6 วงจรนิวแมติกส์ไฟฟ้ า 16

วงจรนิวแมติกส์ไฟฟ้าพื้นฐาน

การควบคุมการท างานเป็นจังหวะ

การควบคุมการท างานหลายต าแหน่ง

การควบคุมการท างานค้างต าแหน่ง


การควบคุมการท างานด้วยลิมิตสวิตช์

การควบคุมการท างานรีเลย์ตั้งเวลา

การควบคุมการท างานด้วยสวิตช์ความดัน

การควบคุมการท างานด้วยตัวนับ

การควบคุมการท างานด้วยแมกเนติกสวิตช์

วงจรนิวแมติกส์ไฟฟ้าท างานแบบต่อเนื่อง

แบบฝึกหัดที่ 6

ใบประลองวงจรนิวแมติกส์ไฟฟ้า


14-15 บทที่ 7 การควบคุมนิวแมติกส์ด้วยพีแอลซี 8


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพีแอลซี

ภาษาที่ใช้ส าหรับพีแอลซี

การใช้พีแอลซีควบคุมระบบนิวแมติกส์

แบบฝึกหัดที่ 7

ใบประลองการควบคุมนิวแมติกส์ด้วยพีแอลซี

สัปดาห์ที่ ชื่อหน่วยและหัวข้อ คาบเรียน


16 บทที่ 8 หลักการเบื้องต้นของไฮดรอลิกส์ 4


ความหมาย
ชุดต้นก าลัง


อุปกรณ์ท างานในระบบไฮดรอลิกส์

วาล์วควบคุมทิศทาง

วาล์วควบคุมอัตราไหล

วาล์วกันกลับชนิดมีน ้ามันควบคุม

แบบฝึกหัดที่ 8

ใบประลองไฮดรอลิกส์เบื้องต้น


17-18 บทที่ 9 วงจรไฮดรอลิกส์ไฟฟ้ า 8


การควบคุมการท างานเป็นจังหวะ

การควบคุมการท างานแบบค้างต าแหน่ง

การควบคุมการท างานด้วยลิมิตสวิตช์

การควบคุมการท างานด้วยสวิตช์ความดัน

แบบฝึกหัดที่ 8

ใบประลองวงจรไฮดรอลิกส์ไฟฟ้า

Coure Syllabus


วิชา การบริหารงานคุณภาพในองค์กร รหัสวิชา 3001-1001
จ านวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต ทฤษฎี `3 `คาบ

ครูผู้สอนนายจิรวัฒน์ สังข์ธูป แผนกวิชาช่างยนต์




จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
1. เพื่อให้เข้าใจความสาคัญ หลักการและกระบวนการบริหารงานคุณภาพภายในองค์กร

2. เพื่อให้สามารถวางแผนและพัฒนางานตามหลักการบริหารงานคุณภาพภายในองค์กร

3. เพื่อให้เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ในการพัฒนาตน และมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพภายในองค์กร


มาตรฐานรายวิชา

1. เข้าใจหลักการและกระบวนการบริหารงานคุณภาพภายในองค์กร
2. จัดระบบเอกสารตามหลักการบริหารงานคุณภาพภายในองค์กร

3. เลือกใช้กิจกรรมการเพิ่มผลผลิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางาน ภายในองค์กร
4. วางแผนพัฒนางานตามหลักการบริหารงานคุณภาพภายในองค์กร



ค าอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความสาคัญของระบบคุณภาพภายในองค์กร หลักการบริหารงานคุณภาพ ภายในองค์กร

กลยุทธ์การเพิ่มประสิทธิภาพ การทางานด้วยระบบการจัดเอกสารและกิจกรรมการเพิ่มผลผลิต การประยุกต์ใช้ระบบคุณภาพ
และเพิ่มผลผลิต เพื่อวางแผนและพัฒนางาน ภายในองค์กร

สมรรถนะ (Competency)
ความรู้ นักเรียนมีความรู้

1. เข้าใจหลักการและกระบวนการบริหารงานคุณภาพภายในองค์กร


ทักษะ

1. มีการวางแผนพัฒนางานตามหลักการบริหารงานคุณภาพภายในองค์กร

2. มีการจัดระบบเอกสารตามหลักการบริหารงานคุณภาพภายในองค์กร


คุณธรรม
1. ความมีวินัย –ความรับผิดชอบ – ตรงต่อ

2. ความซื่อสัตย์ -ความสนใจใฝ่รู้ - ความมีมนุษย์สัมพันธ์


ตัวชีวัด (KPI : Key Performance Indicator)

1. นักเรียน ศึกษามีความรู้ถึงความสาคัญของระบบคุณภาพภายในองค์กร หลักการบริหารงานคุณภาพ


กลยุทธ์การเพิ่มประสิทธิภาพ ภายในองค์กร

2. ในการติดต่อสื่อสารด้าน Internet
3. นักเรียน ผ่านการประเมินรายวิชา ที่ระดับคะแนน 2.00 ขึ้นไป ร้อยละ 80 ของจานวนผู้เรียนทั้งหมด



เกณฑ์การให้คะแนน (Mark Allocation)
เกณฑ์การให้คะแนน มี 4 ส่วน 100 %

1. เวลาเรียน การแต่งกาย ความประพฤติ 20 %
2. การสืบค้นและรายงานเดี่ยว 20 %

3. คะแนนสะสมระหว่างเรียน 40 %

4. การสอบประเมินความรู้ 20 %


วิธีการสอน (Instructional Strategies)
การจัดการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (CIPPA Model) มุ่งให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ทางด้าน

ร่างกาย สติปัญญา สังคม อารมณ์

การมอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้า (Work Assignments)
1. ให้นักเรียนนาความรู้ จากการศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิต หลักการบริหารงานคุณภาพ

และเพิ่มผลผลิต กลยุทธ์การเพิ่มประสิทธิภาพ โดยปริ้น งานส่งครูผู้สอน ทุกสัปดาห์ เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้

รายละเอียดของหน่วย

รายวิชา การบริหารงานคุณภาพในองค์การ

(3001-1001) 3(3)
บรรณานุกรม/สื่อโสตทัศน์
หน่วย

หน่วย 1 องค์การและการจัดการ 6
- ทรัพยากรในการบหิหาร

- ประเภทขององค์การ

- ลักษณะขององค์การ
- หลักการจัดองค์การ

หน่วย 2 กระบวนการจัดการ และการวางแผนงาน 6

- ทฤษฎีกระบวนการจัดการ

- ผู้บริหารและหน้าที่ความรับผิดชอบ
- ทักษะของผู้บริหารหรือผู้จัดการ

- การวางแผนงาน

- ผู้รับผิดชอบการวางแผน


หน่วย 3 การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์การ 6

- ประสิทธิภาพและประสิทธิผล

- องค์ประกอบของการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์การ
- วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์การ

- การพัฒนาองค์การ

- การพัฒนาทรัพยากรในองค์การ
หน่วย 4 การบริหารงานคุณภาพในองค์การ 6

- การบริหารงานคุณภาพ

- สิ่งที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ

- การสร้างคุณภาพในกระบวนการผล
- ประโยชน์ที่ได้จากการบริหารงานคุณภาพ

- ประวัติ และที่มาของระบบคุณภาพ ISO 9000

หน่วย 5 การเพิ่มผลผลิต 6

- ความหมายของการเพิ่มผลผลิต


Click to View FlipBook Version