The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 2560

Annual Report Sakonnakhon 2017 (2560)

รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 101 รูปภำพกิจกรรม โครงกำรทัศนศึกษำดูงำนกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ตำมพระรำชด ำริสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ.๒๕60 รุ่นที่ ๑-4 วันที่ 29-30 พฤษภำคม 2560 และ 1 มิถุนำยน ๒๕60 ณ ศูนย์ศึกษำกำรพัฒนำภูพำนอันเนื่องมำจำกพระรำชด ำริ จังหวัดสกลนคร และสหกรณ์กำรเกษตรเขตจัดรูป ที่ดินพอกใหญ่ จ ำกัด อ ำเภอพรรณนำนิคม จังหวัดสกลนคร โครงการประกวดการบันทึกรายงานการประชุมและการบันทึกบัญชีในสหกรณ์นักเรียน


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 102 7. โครงกำรจัดงำน “ ๗ มิถุนำยน วันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน” วัตถุประสงค์ ๑ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงริเริ่มให้ จัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน ๒ เพื่อสร้างกิจกรรม วันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ใน โรงเรียน ให้แพร่หลาย ๓ เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมวาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ ตัวชี้วัด/เป้ำหมำย เจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ศึกษานิเทศก์ ครู ผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ หน่วยงานของรัฐและเอกชน บุคลากรสหกรณ์ ประชาชนในจังหวัดสกลนคร จ านวน ๒๕๐ คน รำยละเอียดงำนที่ท ำ - แจ้งคณะอนุกรรมการก ากับและขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ระดับจังหวัด เพื่อด าเนินการจัดงาน “๗ มิถุนายน วันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน” - จัดประชุมเพื่อก าหนดรายละเอียดกิจกรรม และก าหนดผู้รับผิดชอบ - พิจารณาก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการให้คะแนน วิธีการเข้าตรวจให้คะแนน - ด าเนินกิจกรรมในวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๙ - มอบรางวัล เกียรติบัตร - รายงานผลให้กรมส่งเสริมทราบ ผลส ำเร็จที่เกิดขึ้น/ปัจจัยควำมส ำเร็จ การท างานแบบมีส่วนร่วม - ระหว่างกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ที่เป็นเจ้าภาพ และอ าเภอที่รับผิดชอบใน พื้นที่โครงการพระราชด าริ ร่วมถึงฝ่ายบริหารงานทั่วไป - ระหว่างผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมสหกรณ์ โดยการจัดการประชุมเพื่อรับทราบแผนการปฏิบัติงาน ร่วมเสนอความคิดเห็น และรูปแบบ ของกิจกรรมที่จะด าเนินการ ปัจจัยควำมส ำเร็จ ๑. สามารถสร้างกิจกรรม วันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้การ สหกรณ์ในโรงเรียนให้แพร่หลาย ๒. สามารถประชาสัมพันธ์กิจกรรมวาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ ประโยชน์ที่กลุ่มเป้ำหมำยได้รับและที่เกิดขึ้นกับหน่วยงำน เป็นการประชาสัมพันธ์วาระแห่งชาติด้านการสหกรณ์ ผ่าน ครู นักเรียน ผู้ปกครองและ หน่วยงานต่าง ๆ ได้ในจังหวัดสกลนคร และสามารถประชาสัมพันธ์การจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ ได้อย่างแพร่หลาย


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 103 ปัญหำ/อุปสรรค ๑) เป็นการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนเป็นครั้งแรก จึงมีกลุ่มเป้าหมายและรูปแบบการจัด งานอยู่เฉพาะในโรงเรียนตามโครงการตามพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อ าเภอกุสุมาลย์ อ าเภอโคกศรีสุพรรณและอ าเภอภูพาน จ านวน ๓๐ โรงเรียน ท าให้การจัดงานวันกิจกรรม สหกรณ์นักเรียนอยู่ในกลุ่มเป้าหมายที่จ ากัด ไม่ครอบคลุมทั่วไปได้ ๒) กระบวนการมีส่วนร่วมของหน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการยังไม่ครอบคลุมและ ทั่วถึง รูปภำพกิจกรรม กำรจัดงำน “7 มิถุนำยน วันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ประจ ำปี 2560”


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 104 8. โครงกำร ก ำกับ ดูแล และคุ้มครองระบบสหกรณ์ ปีงบประมำณ พ.ศ. 25๖๐ ควำมเป็นมำ ในช่วงระหว่างเวลา ๒-๓ ปี ที่ผ่านมา ได้เกิดข่าวสารเกี่ยวกับการทุจริตของสหกรณ์เกิดขึ้นเป็น ระยะๆ สร้างมูลค่าความเสียหายเป็นจ านวนหลายพันล้านบาท สาเหตุแห่งปัญหาดังกล่าว เกิดจากการ ด าเนินการนอกกรอบวัตถุประสงค์ เบี่ยงเบนไปจากหลักการสหกรณ์ ด้วยความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง มุ่งสร้างผล ก าไรให้กับสมาชิกและผู้ลงทุนมากกว่าการแก้ไขปัญหาและพัฒนาเศรษฐกิจกับบรรดาสมาชิกจึงเกิดพฤติกรรม เชิงทุนนิยม มุ่งผลก าไรเป็นหลักที่เรียกว่า “สหกรณ์เทียม” เพื่อป้องกันข้อบกพร่องที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต แก้ไขปัญหาสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องและพัฒนา สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้เกิดความเข้มแข็ง กรมส่งเสริมสหกรณ์จึงได้จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขังของประเทศ เพื่อให้ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนครด าเนินการ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการ ป้องกัน แก้ปัญหา และพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดสกลนคร เป้ำหมำย/ตัวชี้วัด เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุม ได้แก่ คณะท างาน ผู้บริหารสหกรณ์ ฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบกิจการและ เจ้าหน้าทีส่งเสริมสหกรณ์ พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ร่วมกันระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการป้องกัน แก้ไขปัญหาทางออกในการแก้ไขข้อบกพร่อง และแนวทางพัฒนาสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร สู่ความเข้มแข็ง การด าเนินการโดยจัดประชุมตามกิจกรรมการต่าง ๆ ดังนี้ ๑. จัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ปัญหา และพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดสกลนคร ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยด าเนินการจัดประชุม จ านวน ๓ ครั้ง ๑. จัดประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการด าเนินงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มี ข้อบกพร่อง (จกบ.) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยด าเนินการจัดประชุม จ านวน ๔ ครั้ง ๑. จัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการช าระบัญชี สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใน จังหวัดสกลนคร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ผลส ำเร็จของงำน คณะท างาน ผู้บริหารสหกรณ์ ฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบกิจการและเจ้าหน้าทีส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมกันระดมความคิดเห็นและเปลี่ยนประสบการณ์ และพิจารณาหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง ร่วมกันเพื่อแนะน าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไม่ให้มีข้อบกพร่อง หรือด าเนินการตามแนวทางการแก้ไข ข้อบกพร่องที่ก าหนดสามารถแก้ไขแล้วเสร็จไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ปัญหำ อุปสรรคในกำรด ำเนินงำน/โครงกำร การด าเนินการนอกกรอบวัตถุประสงค์ เบี่ยงเบนไปจากหลักการสหกรณ์ ด้วยความเข้าใจ ที่ไม่ถูกต้อง มุ่งสร้างผลก าไรให้สมาชิกและผู้ลงทุนมากกว่าการแก้ไขปัญหาและพัฒนาเศรษฐกิจกับบรรดา สมาชิก การขาดการเฝ้าระวังจากหลายฝ่าย เช่น บุคลากรของสหกรณ์ไม่ว่าฝ่ายบริหาร ฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบกิจการ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ผู้รับชอบจะต้องทราบบทบาทของตนเองและปฏิบัติหน้าที่อย่าง เต็มก าลังความสามารถจึงจะสามารถป้องกันไม่ให้เกิดข้อบกพร่องภายในสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 105 จัดประชุมโครงกำรประชุมเชิงปฏิบัติกำรเพื่อสร้ำงกำรมีส่วนร่วมในกำรป้องกัน แก้ปัญหำ และพัฒนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดสกลนคร ปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๐ จัดประชุมคณะท ำงำนระดับจังหวัดแก้ไขปัญหำกำรด ำเนินงำนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๐


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 106 9. งำนกำรตรวจกำรสหกรณ์ ควำมเป็นมำ กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้มีนโยบายจัดตั้งกลุ่มตรวจการสหกรณ์ขึ้น เป็นการภายในของส านักงาน สหกรณ์จังหวัด เพื่อให้การตรวจการมีประสิทธิภาพและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อตรวจสอบแล้วให้เสนอ รายงานการตรวจสอบต่อนายทะเบียนสหกรณ์ ซึ่งกรณีมีความบกพร่องเล็กน้อยควรใช้วิธีการส่งเสริมช่วยเหลือ แนะน าสหกรณ์ให้ด าเนินการให้ถูกต้อง กรณีมีความบกพร่องมากควรถือเป็นเรื่องส าคัญ และต้องค านึงถึง สาเหตุของการกระท าหรือละเว้นการกระท าจนท าให้เสื่อมเสียผลประโยชน์ของสหกรณ์หรือสมาชิกหรือกรณีมี ข้อบกพร่องเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี หรือกิจการหรือฐานะการเงิน ควรด าเนินการตามที่ก าหนดไว้ใน พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อ ตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ์ เป้ำหมำย/ตัวชี้วัด ร้อยละของสหกรณ์ทั้งหมดได้รับการตรวจการสหกรณ์และ รายงานผลต่อนายทะเบียนสหกรณ์โดยไม่ซ้ ากับกลุ่มเป้าหมายในปี ๒๕๕๙ จ านวน ๓๕% และตรวจการตามค าสั่งนายทะเบียนตามความ จ าเป็น จ านวน 1๕% กิจกรรม 1. จัดท าค าสั่งแต่งตั้งผู้ตรวจการสหกรณ์ตามระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. จัดท าค าสั่งมอบหมายผู้ตรวจการสหกรณ์ตรวจสอบ กิจการและฐานะการเงินของสหกรณ์ 3. แจ้งค าสั่งมอบหมายให้ผู้ตรวจการสหกรณ์และสหกรณ์ เป้าหมายทราบ 4. ให้ความรู้และซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์แก่ ผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าใจก่อนปฏิบัติงานจัดท าแผนปฏิบัติงาน (Action plan) การตรวจการสหกรณ์ 5. ผู้ตรวจการสหกรณ์ตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ์ พร้อมรายงานผลให้นาย ทะเบียนสหกรณ์ทราบ และสั่งการ 6. ถ้าผลการตรวจการสหกรณ์เพื่อพิจารณานายทะเบียนสหกรณ์วินิจฉัยหรือสั่งการแก้ไขพร้อม วางแนวทางการป้องกัน แก้ไข และฟื้นฟู 7. รายงานผลการติดตามให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบเป็นประจ าทุกเดือน ผลส ำเร็จของงำน สหกรณ์ทุกแห่งได้รับการตรวจการสหกรณ์อย่างน้อย ๑ ครั้ง/แห่ง จ านวน 10๗ แห่ง ปัญหำ อุปสรรคในกำรด ำเนินงำน 1. สหกรณ์ไม่เข้าใจบทบาทของผู้ตรวจการสหกรณ์ จึงไม่ให้ความร่วมมือเท่าที่ควร เช่น ไม่ได้ จัดเตรียมเอกสาร หลักฐาน เพื่อการตรวจสอบ 2. กรณีสหกรณ์ฟ้องร้องด าเนินคดีลูกหนี้ สหกรณ์ไม่ได้ติดตามให้ลูกหนี้ช าระหนี้ตามค า พิพากษาของศาล ท าให้ลูกหนี้ส่งช าระไม่ครบตามค าพิพากษา ๓. ผู้ตรวจการสหกรณ์ควรได้รับการพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง ทั้งทางกฎหมายระเบียบ


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 107 งำน/โครงกำรตำมนโยบำยรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1. แผนพัฒนำควำมเข้มแข็งสหกรณ์ พ.ศ. 2559-2560 หลักกำรและเหตุผล ตามนโยบายของท่านนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ซึ่งต้องการพัฒนาสหกรณ์ให้เข้มแข็ง เพื่อเพิ่มศักยภาพในบทบาท หน้าที่ช่วยเหลือเกษตรกร ดังนั้นเพื่อสนองนโยบายดังกล่าว ท่านรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีบัญชามอบหมายให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ร่วมกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จัด ระดับสหกรณ์พร้อมเหตุผล แนวทางแก้ไขและพัฒนาสหกรณ์แต่ละระดับ กรมส่งเสริมสหกรณ์ร่วมกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ได้มีค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนพัฒนา ยกระดับสหกรณ์ เพื่อศึกษา วิเคราะห์ ก าหนดเกณฑ์การจัดระดับสหกรณ์ และประเมินสถานภาพสหกรณ์เพื่อ จัดท าแผนพัฒนาสหกรณ์ตามสถานภาพ รวมทั้งขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดผลส าเร็จตามนโยบาย ดังกล่าว วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการจัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์ตามระดับชั้นส าหรับใช้ในการพัฒนาศักยภาพของ สหกรณ์ให้สอดคล้องในแต่ละระดับชั้น เกณฑ์กำรจัดระดับควำมเข้มแข็ง 1. ควำมสำมำรถในกำรให้บริกำรสมำชิก จะเป็นการประเมินว่าสหกรณ์มีความสามารถในการ ด าเนินธุรกิจเพื่อให้บริการแก่สมาชิกในด้านต่าง ๆ เช่นการรับฝากเงิน การให้เงินกู้ การจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย การแปรรูปผลผลิต และการรวบรวมผลผลิต มีสัดส่วนต่อสมาชิกทั้งหมดมากน้อยเพียงใด 2. ประสิทธิภำพในกำรด ำเนินธุรกิจ เป็นการประเมินจากอัตราส่วนทางการเงินของสหกรณ์ในการ ด าเนินธุรกิจและการบริหารงานของสหกรณ์ โดยพิจารณาจาก การพึ่งพาตนเอง ความมั่นคงทางการเงิน คุณภาพของลูกหนี้ สภาพคล่องทางการเงิน ประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ และประสิทธิภาพในการ บริหารงาน 3. ประสิทธิภำพในกำรจัดกำรองค์กร จะประเมินจากชั้นคุณภาพของการควบคุมภายในของสหกรณ์ 4. ประสิทธิภำพของกำรบริหำรงำน จะประเมินถึงการบริหารงานของคณะกรรมการ โดยพิจารณา จากการเกิดข้อบกพร่องในการบริหารงานของสหกรณ์ โดยมีการแบ่งในแต่ละระดับชั้นของสหกรณ์ดังนี้ 1. ชั้น 1 (Class 1) เป็นสหกรณ์ที่มีความสามารถในการบริการสมาชิกได้มากกว่าร้อยละ 70 และมี ประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐานขึ้นไป มีชั้นคุณภาพการควบคุมภายในดีถึงดีมาก และไม่ มีข้อบกพร่องจากการด าเนินงาน 2. ชั้น 2 (Class 2) เป็นสหกรณ์ที่มีความสามารถในการบริการสมาชิกได้ระหว่างร้อยละ 60 – 70 และมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับพอใช้มีชั้นคุณภาพการควบคุมภายในในระดับพอใช้ หรือสหกรณ์ที่เคยเกิดข้อบกพร่องแต่ได้รับการแก้ไขแล้ว 3. ชั้น 3 (Class 3) เป็นสหกรณ์ที่มีความสามารถในการบริการสมาชิกได้ต่ ากว่าร้อยละ 60 และมี ประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับต้องปรับปรุงและมีชั้นคุณภาพการควบคุมภายในต้องปรับปรุง หรือไม่มีระบบการควบคุมภายใน หรือเป็นสหกรณ์ที่เกิดข้อบกพร่องซึ่งยังแก้ไขไม่แล้วเสร็จ


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 108 วิธีด ำเนินกำรขับเคลื่อนแผนพัฒนำควำมเข้มแข็งสหกรณ์ พ.ศ. 2559-2560 (บรรยายวิธีด าเนินการ/ขั้นตอนการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ พ.ศ. 2559-2560 ที่หน่วยงานได้ด าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559-2560) 1. จัดการประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ให้เข้าใจการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็ง สหกรณ์ ปี 2559 -2560 2. แต่งตั้งคณะท างานระดับจังหวัดเพื่อด าเนินการขับเคลื่อนการยกระดับ 3. คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายตามนโยบาย 4. วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นของสหกรณ์เป้าหมาย 5. จัดการประชุมบูรณาการ ระหว่างส านักงานสหกรณ์จังหวัดฯ และส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ จังหวัดฯ เพื่อปรับความรู้ความเข้าใจในการประเมินสหกรณ์ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 6. จัดประชุมน าเสนอข้อมูลทั้งหมดให้สหกรณ์ทราบ เพื่อให้เกิดความร่วมมือ การผลักดันให้ สู่ในชั้นที่สูงขึ้น 7.ร่วมกับสหกรณ์จัดท าโครงการเพื่อผลักดันสหกรณ์สู่ความเข้มแข็งสู่ความเข้มแข็ง 8.วางแผนปฏิบัติงาน และติดตามประเมินผล กระบวนกำรขับเคลื่อนแผนพัฒนำควำมเข้มแข็งสหกรณ์ พ.ศ. 2559-2560 ของ ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสกลนคร


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 109 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร มีสหกรณ์ในพื้นที่ทั้งหมด จ านวน 130 แห่ง แบ่งเป็น สหกรณ์ภาค การเกษตร 87 แห่ง และสหกรณ์นอกภาคการเกษตร 43 แห่ง โดยเมื่อเริ่มแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ ในปี 2558 สหกรณ์ในจังหวัดมีระดับชั้นแยกตามประเภทของสหกรณ์ ดังนี้ ระดับชั้นสหกรณ์ ณ วันที่ 1 ตุลำคม 2558 แยกตำมประเภทของสหกรณ์ หน่วย : แห่ง ในปี 2559-2560 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ได้ด าเนินการยกระดับชั้นสหกรณ์ตาม แผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ พ.ศ. 2559-2560 ซึ่งมีผลการยกระดับชั้นสหกรณ์ ดังนี้ ระดับชั้นสหกรณ์ หน่วย : แห่ง ระดับชั้น ปี 2558 (เริ่มแผน) ณ 1 ตุลำคม 2558 ผลกำรยกระดับชั้น ณ 31 สิงหำคม 2560 ชั้น 1 29 34 ชั้น 2 64 54 ชั้น 3 10 9 ชั้น 4 (ช าระบัญชี) 27 32 รวม 130 129 ถอนชื่อสหกรณ์แล้วเสร็จ 1 ประเภทสหกรณ์ ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 รวม 1. สหกรณ์การเกษตร 16 43 7 21 87 2. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 3 9 12 3. สหกรณ์นิคม 4. สหกรณ์บริการ 2 8 2 5 17 5. สหกรณ์ประมง 6. สหกรณ์ร้านค้า 2 1 1 4 7. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 3 1 10 ผลรวม 29 64 10 27 130 กำรด ำเนินงำนยกระดับชั้นสหกรณ์ ปี 2559-2560 ของส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสหกรณ์จังหวัดสกลนคร


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 110 กำรด ำเนินกำรยกระดับชั้นสหกรณ์ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2559 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ได้ด าเนินการคัดเลือกสหกรณ์เป้าหมายการยกระดับชั้นทั้งหมด จ านวน 19 แห่ง แบ่งเป็น เป้ำหมำยกำรยกระดับจำกสหกรณ์ชั้น 2 สู่สหกรณ์ชั้น 1 ที่ ชื่อสหกรณ์เป้ำหมำย ผลกำรยกระดับ (ได้/ไม่ได้) 1 สหกรณ์การเกษตรโนนหัวช้าง จ ากัด ไม่ได้ 2 สหกรณ์การเกษตรดอนเขือง จ ากัด ไม่ได้ 3 สหกรณ์การเกษตรเต่างอย จ ากัด ไม่ได้ 4 สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงโคกระบือสร้างดู่ จ ากัด ไม่ได้ 5 สหกรณ์กองทุนสวนยางโคกกลาง - บ้านชาด จ ากัด ไม่ได้ 6 สหกรณ์การเกษตรวาริชภูมิ จ ากัด ไม่ได้ 7 สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านถ้ าติ้วสกลนคร จ ากัด ไม่ได้ 8 สหกรณ์ผลิตข้าวครบวงจรศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอัน เนื่องมาจากพระราชด าริจ ากัด ไม่ได้ 9 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนนาโพธิ์ 125 ไม่ได้ 10 สหกรณ์การเกษตรเหล่าสุขสันต์ จ ากัด ไม่ได้ 11 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนห้วยหลัวสามัคคี จ ากัด ไม่ได้ 12 สหกรณ์การเกษตรหนองชาดทรายทองพัฒนา จ ากัด ไม่ได้ 13 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนพระมารดานิจจานุเคราะห์ จ ากัด ได้ 14 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขสกลนคร จ ากัด ไม่ได้ 15 สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลสกลนคร จ ากัด ไม่ได้ 16 สหกรณ์ผู้ใช้น้ าไฮหย่อง จ ากัด ไม่ได้


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 111 เป้ำหมำยกำรยกระดับจำกสหกรณ์ชั้น 3 สู่สหกรณ์ชั้น 2 ที่ ชื่อสหกรณ์เป้ำหมำย ผลกำรยกระดับ (ได้/ไม่ได้) 1 สหกรณ์การเกษตรพรรณานิคม จ ากัด ได้ 2 สหกรณ์โคนมวาริชภูมิ จ ากัด ได้ 3 สหกรณ์พัฒนาธุรกิจชุมชนพังโคน จ ากัด ได้ ปัญหำ/อุปสรรคในกำรด ำเนินงำน 1. ความรู้ความเข้าใจในรูปแบบ วิธีการ การปฏิบัติงานของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนของเจ้าหน้าที่ส่งเสริม สหกรณ์ ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการด าเนินการมีค่อนข้างน้อย 2. กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยังไม่มีความชัดเจนในแนวทางการปฏิบัติงาน 3. แผนงานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ไม่สอดรับในการขับเคลื่อนการยกระดับชั้น 4. ขาดการบูรณาการกันระหว่างกรมตรวจบัญชีสหกรณ์และกรมส่งเสริมสหกรณ์ 5. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ยังไม่ได้ให้ความส าคัญกับแผนงานดังกล่าวเท่าที่ควร 6. เกณฑ์การประเมินวัดยากและต้องใช้ระยะเวลาในการประเมิน ข้อเสนอแนะ 1. ควรก าหนดแผนการยกระดับชั้นให้เป็นงานนโยบายหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์และให้ท าอย่าง ต่อเนื่อง 2. สร้างความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ให้ตระหนักในบทบาท หน้าที่ ในการส่งเสริมสหกรณ์ สู่ความเข้มแข็ง 3. สร้างความเข้าใจกับฝ่ายจัดการสหกรณ์ คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ ให้ความส าคัญกับการ ส่งเสริมให้สหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง 4. น าเกณฑ์การจัดชั้นไปเป็นเงื่อนไขในการสนับสนุนเงินทุน อุปกรณ์แก่สหกรณ์ เช่นเงินกู้กองทุนต่างๆ ของกรมฯการสนับสนุนเงินอุดหนุนจ่ายขาด เป็นต้น 5. ควรขยายผลการสร้างความเข้มแข็งสู่กลุ่มเกษตรกร 6. การก าหนดแผนงาน/โครงการ ของกรมฯ ควรก าหนดแผนปฏิบัติงานประจ าปีให้ขับเคลื่อนเกณฑ์การ ประเมินทั้ง 4 ด้าน 7. รัฐควรสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องจักร และเงินอุดหนุนแก่สหกรณ์เพื่อส่งเสริมให้สหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง 8. ควรก าหนดให้ผลสัมฤทธิ์ของการยกระดับชั้นสหกรณ์เป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่างกรมส่งเสริมสหกรณ์และ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 112 2. โครงกำรศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร (ศพก.) วัตถุประสงค์/เป้ำหมำย/พื้นที่ด ำเนินงำนโครงกำร : 1. เพื่อก าหนดรูปแบบและแนวทางในการด าเนินกิจกรรมกลุ่มของเกษตรกรในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 2. เพื่อจัดท าแผนการด าเนินกิจกรรมของกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตสินค้าเกษตร 3. เพื่อก าหนดแนวทางการเชื่อมโยงการด าเนินกิจกรรมระหว่างศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตสินค้าเกษตร กับศูนย์เรียนรู้การสหกรณ์ และสหกรณ์ในพื้นที่ ผลกำรด ำเนินงำน : (สรุปกิจกรรมที่ด ำเนินงำนและระบุผลส ำเร็จจำกกำรด ำเนินงำนโครงกำร) 1. จัดประชุมชี้แจงแนวทางปฏิบัติ/และแผนการด าเนินงาน 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อก าหนดแนวทางในการขับเคลื่อนการเชื่อมโยงกิจกรรมระหว่าง ศพก. กับสหกรณ์ ผลลัพธ์เชิงปริมำณ 1. เกษตรในพื้นที่ ศพก.มีรูปแบบ/แนวทางในการบริหารจัดการกลุ่ม 2. กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ ศพก. มีการเชื่อมโยงกิจกรรมกับสหกรณ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภำพ เกิดเครือข่ายความร่วมมือด้านการผลิต/การตลาด/ข้อมูล เพื่อสนับสนุนการด าเนินกิจกรรมกลุ่ม 1 เครือข่าย ปัญหำ/อุปสรรค ในกำรด ำเนินงำน และแนวทำงแก้ไข สหกรณ์ในพื้นที่ไม่เห็นความส าคัญในการเชื่อมโยงกิจกรรมกับ ศพก. 3.


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 113 3. โครงกำรสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้ำงระบบน้ ำในไร่นำของสมำชิกสถำบันเกษตรกร วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสร้างโอกาสในการท าเกษตรกรรม และลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนน้ า ๒. เพื่อส่งเสริมการจัดระบบไร่นาของเกษตรกรให้มีความยั่งยืน มีแหล่งน้ าในฟาร์มของตนเอง ลดการ พึ่งพาน้ าจากระบบชลประทานและแหล่งน้ าธรรมชาติ ๓. เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงจากระบบการท้าเกษตรกรรมแบบพึ่งธรรมชาติเป็นการเกษตรแบบบริหาร จัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากการขาดน้ า เป้ำหมำย 11 แห่ง 179 ราย จ่ายเงินกู้ 8,950,000 บาท ส่ง ช าระคืนภายใน 5ปีดอกเบี้ย 0 บาท ( ปี 59-64) เฉลี่ยรายละ 50,000 บาท เพื่อเป็นทุนใน 2 กรณี คือ กรณี 1 ขุดสระ พร้อมอุปกรณ์ กรณี 2 ขุดเจาะระบบน้ าบาดาล/ปรับปรุงพร้อมอุปกรณ์ท าการเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทางเกษตร ทฤษฎีใหม่ สรุปผลกำรพิจำรณำกรอบวงเงินกู้โครงกำรสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้ำงระบบน้ ำในไร่นำ ที่ ชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลกำรพิจำรณำ กรอบวงเงิน (รำย) จ ำนวนเงิน(บำท) ๑ สหกรณ์การเกษตรกุสุมาลย์ จ ากัด 48 2,400,000 ๒ กลุ่มเกษตรกรท านาบึงทวาย 1 50,000 ๓ สหกรณ์กองทุนสวนยางโคกกลาง-บ้านชาด จ ากัด 2 100,000 ๔ สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงโคกระบือสร้างดู่ จ ากัด 4 200,000 ๕ กลุ่มเกษตรกรท านาต้นผึ้ง 2 100,000 ๖ กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์เชิงชุม 8 400,000 ๗ กลุ่มเกษตรกรท านาโพนสูง 4 200,000 ๘ สหกรณ์ธุรกิจเศรษฐกิจรพช.อ าเภอสว่างแดนดิน จ ากัด 8 400,000 ๙ สหกรณ์การเกษตรพังโคน จ ากัด 77 3,850,000 ๑๐ สหกรณ์การเกษตรบ้านม่วง จ ากัด 22 1,100,000 ๑๑ สหกรณ์การเกษตรอากาศอ านวย จ ากัด 3 150,000 รวมทั้งสิ้น 179 8,950,000 รูปภำพกิจกรรม


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 114


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 115 4. โครงกำรสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้ำวและสร้ำงมูลค่ำเพิ่มโดยสถำบันเกษตรกร ปี 2560 วัตถุประสงค์ของโครงกำร ตามมติคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2559 เห็นชอบในหลักการตามมาตรการ ช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2559 / 60 โดยมีโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวม ข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกรปีการผลิต 2559 / 60 และโครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อการ ผลิตแก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2559/60 เป็นส่วนหนึ่งของมาตรการดังกล่าว โดยกรมส่งเสริม สหกรณ์ ร่วมกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ร่วมด าเนินการ กรมส่งเสริมสหกรณ์ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบ ในการด าเนินโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวม ข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร ปี การผลิต 2559/60 ได้อนุมัติงบประมาณตามแผนปฏิบัติงาน และงบประมาณรายจ่ายประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ความเข้มแข็งเพื่อด าเนินการตามโครงการสินเชื่อ เพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร ปีการผลิต 2559/60 ภายใต้มาตรการช่วยเหลือ เกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2559/60 ด้านการตลาด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร จึงได้จัดท าโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมและสร้าง มูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตร จังหวัดสกลนคร ปีการผลิต 2559/60 เพื่อช่วยชะลอปริมาณข้าวเปลือกในช่วง ที่ผลผลิตข้าวออกสู่ตลาด ด าเนินการส่งเสริมสถาบันเกษตรเก็บข้าวเปลือก ไว้ส าหรับแปรรูปข้าวเปลือกเป็น ข้าวสารเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม และส่งเสริมด้านการตลาดข้าวเปลือกและข้าวสารของสถาบันเกษตรกร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อช่วยชะลอปริมาณข้าวเปลือกที่เข้าสู่ตลาดในช่วงที่ข้าวออกมามาก 2. เพื่อเก็บข้าวเปลือกไว้แปรรูป 3. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยการแปรรูปเป็นข้าวสาร กิจกรรม/งำนที่ด ำเนินกำร ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ได้ด าเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการบริหารโครงการ สินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกรระดับจังหวัด ในปีงบประมาณ 2560 จ านวน 2 ครั้ง เพื่อติดตามการด าเนินงานโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวฯ และการแนะน าส่งเสริมให้ สหกรณ์ด าเนินธุรกิจรวบรวมข้าว พร้อมทั้งการช่วยประสานระหว่างหน่วยงานภาครัฐในการขอรับการ สนับสนุนงบประมาณให้แก่สหกรณ์ที่ด าเนินการรวบรวมข้าวเปลือก พร้อมทั้งประสานเรื่องการตลาดหาคู่ค้า ทางธุรกิจ ส่งเสริมให้ความรู้แก่สหกรณ์ในการตรวจสอบคุณภาพข้าว ผลส ำเร็จของงำน จังหวัดสกลนคร มีสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ 10 แห่ง ได้แก่ 1) สหกรณ์การเกษตรเมือง สกลนคร จ ากัด 2) สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. สกลนคร จ ากัด 3) สหกรณ์การเกษตร กุสุมาลย์ จ ากัด 4) สหกรณ์การเกษตรเขตจัดรูปที่ดินพอกใหญ่ จ ากัด 5) สหกรณ์การเกษตรกุดบาก จ ากัด 6) สหกรณ์การเกษตรเจริฐศิลป์ จ ากัด 7) สหกรณ์การเกษตรบ้านม่วง จ ากัด 8 ) สหกรณ์การเกษตรค าตา กล้า จ ากัด 9) สหกรณ์การเกษตรวานรนิวาส จ ากัด 10) สหกรณ์การเกษตรสว่างแดนดิน จ ากัด มีความ ต้องการใช้วงเงินสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวเปลือกปีการผลิต 2559/60 วงเงิน 100 ล้านบาท โดยผลการ รวบรวมข้าวเปลือกของสหกรณ์ จ านวน 6 แห่ง ด าเนินการรวบรวมได้ 1,537.63 ตัน คิดเป็นมูลค่า


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 116 16,818,208.70 บาท และมีสหกรณ์ขอวงเงินกู้เพื่อรวบรวมข้าว จ านวน 4 แห่ง จ านวนเงินที่อนุมัติ จ านวน 83 ล้านบาท ปัญหำอุปสรรคในกำรด ำเนินงำน/โครงกำร สหกรณ์บางแห่งมีความต้องการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิก แต่ยังขาดเครื่องมืออุปกรณ์การรวบรวม วัฒนธรรมในการด าเนินชีวิตของเกษตรกร ได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งส่งผลให้พฤติกรรมการท านา การเก็บ เกี่ยวข้าวอาศัยเครื่องจักรเป็นส่วนใหญ่ เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็จ เกษตรกรจะไม่เก็บข้าวไว้ในยุ้งฉางแต่จะน าข้าวออก ขายให้โรงสีเอกชนเป็นส่วนใหญ่ ส่งผลให้การด าเนินธุรกิจร่วมกับสหกรณ์ลดน้อยลง รูปภำพประกอบกิจกรรม


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 117 5. โครงกำรส่งเสริมกำรเกษตรแบบแปลงใหญ่ จังหวัดสกลนคร ปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 (กำรด ำเนินงำนด้ำนกำรตลำด) วัตถุประสงค์ของโครงกำร ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีมาตรการ/นโยบายส าคัญ 6 เรื่อง ได้แก่ 1) การลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร 2) การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) 3) ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 4) เกษตรอินทรีย์ 5) ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร และ 6) ธนาคารสินค้าเกษตร ซึ่งนโยบายทั้ง 6 เรื่อง มีความส าคัญและเชื่อมโยงกัน โดยมาตรการที่ 3 ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีเป้าหมายในการด าเนินทุกจังหวัด มีทั้งหมด 650 แปลง ซึ่งปัจจุบันมีแปลงใหญ่ที่ได้รับการรับรองแล้ว จ านวน 596 แปลง และมีแปลงที่อยู่ในความดูแล ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 22 แปลง (ข้อมูลจากกรมส่งเสริมการเกษตร ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2559) ซึ่งใน การขับเคลื่อนการด าเนินงานระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ใช้กลไกของคณะอนุกรรมการพัฒนาการ เกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด โดยได้แบ่งคณะท างานเป็น 4 ทีม คือ ทีมผู้จัดการแปลง ทีมการตลาด ทีมการ ลดต้นทุนการผลิต และทีมการบริหารจัดการ ซึ่งทีมงานทั้ง 4 ทีม จะท างานบูรณาการร่วมกัน กรมส่งเสริมสหกรณ์ต้องด าเนินการขับเคลื่อนระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ โดยเป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุนการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติงานของแปลงใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ด้านการส่งเสริมการรวมกลุ่ม การบริหารจัดการแปลงใหญ่ การตลาด เพื่อให้การผลิตในแปลงใหญ่สามารถ เชื่อมโยงถึงการตลาด โดยขับเคลื่อนผ่านส านักงานสหกรณ์จังหวัดทั้ง 76 จังหวัด จังหวัดสกลนคร ได้รับจัดสรรงบประมาณเพื่อใช้ในการพัฒนาและส่งเสริมการเกษตรแบบ แปลงใหญ่ด้านการส่งเสริมการตลาด จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืนและเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของเกษตรกรอย่างเป็นระบบ โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เพื่อสร้างกระบวนการรวมกลุ่ม เกษตรกร รวมกลุ่มจัดหาปัจจัยการผลิต รวมกลุ่มผลิต รวมกลุ่มตลาด มีการบริหารจัดการร่วมกัน อีกทั้ง ด าเนินการส ารวจความต้องการของตลาดและผู้บริโภคและร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนให้ เป็นไปตามมาตรการของรัฐบาลให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มท าการผลิต มีการบริหารจัดการร่วมกัน เพื่อให้เกิดการ รวมกันผลิตและรวมกันจ าหน่ายโดยวิธีการสหกรณ์ 2. ส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ให้มีตลาดรองรับ ภายใต้การบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน ตั้งแต่การผลิตถึงการตลาด เป้ำหมำย แปลงใหญ่จังหวัดสกลนคร จ านวน 7 แปลง ประกอบด้วย แปลงต้นแบบ จ านวน 1 แปลง 1. แปลงใหญ่ข้าวต าบลไฮหย่อง อ าเภอพังโคน


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 118 แปลงทั่วไป จ านวน 6 แปลง 2. แปลงใหญ่โคเนื้อ อ าเภอเมืองสกลนคร 3. แปลงใหญ่กลุ่มข้าวชุมชนบ้านโพนใหญ่ใหม่ไชยา อ าเภอโพนนาแก้ว 4. แปลงใหญ่มะเขือเทศ อ าเภอเต่างอย 5. แปลงใหญ่กลุ่มข้าวชุมชนบ้านหนองบัวบาน อ าเภอนิคมน้ าอูน 6. แปลงใหญ่กลุ่มข้าวชุมชนบ้านบะนกทา อ าเภอวานรนิวาส 7. แปลงใหญ่ประชารัฐ หอการค้าจังหวัดสกลนคร กิจกรรม จัดประชุมเชื่อมโยงแผนธุรกิจ จัดหาตลาดร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เกษตรกร สหกรณ์ ผู้ประกอบการที่สามารถท าให้สินค้าในแปลงใหญ่มีตลาดรองรับที่แน่นอน จ านวน 7 แปลง งบประมำณ งบประมาณจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืนและเสริมสร้างความเข้มแข็งของ เกษตรกรอย่างเป็นระบบ โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จ านวน 47,600 บาท ตัวชี้วัด เกษตรกรที่อยู่ภายใต้ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้น หรือมีตลาดรองรับผลผลิต ผลส ำเร็จของงำน / โครงกำร 1. เกษตรกรที่อยู่ภายใต้ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีการรวมกลุ่ม วางแผนการผลิต และการตลาดร่วมกัน โดยใช้รูปแบบ/วิธีการของสหกรณ์ 2. กลุ่มแปลงใหญ่มีช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้น และมีตลาดรองรับผลผลิต โดยมีบันทึกข้อตกลง ระหว่างกลุ่มแปลงใหญ่กับสหกรณ์และผู้ประกอบการรับซื้อผลผลิต สร้างรายได้และความเข้มแข็งแก่ชุมชน อย่างยั่งยืนต่อไป


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 119 ภำพประกอบกำรจัดประชุมเชื่อมโยงแผนธุรกิจ จัดประชุมเชื่อมโยงแผนธุรกิจกลุ่มแปลงใหญ่ จ านวน 7 แปลง ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภาครัฐ เอกชน และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เพื่อวางแผนการผลิต การบริหารจัดการ กลุ่ม และการเชื่อมโยงเครือข่ายการตลาด ณ ที่ท าการกลุ่มแปลงใหญ่


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 120 ภำพกำรศึกษำดูงำน บริษัท เคซีเฟรช จ ำกัด จังหวัดนครปฐม ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตเฉลิมพระ เกียรติจังหวัดสกลนคร และกลุ่มแปลงใหญ่ประชารัฐ ศึกษาดูงาน บริษัท เคซีเฟรซ จ ากัด จังหวัดนครปฐม ซึ่ง เป็นผู้ประกอบการรับซื้อผลผลิต และการบริหารจัดการผลผลิตของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลูกผักปลอดภัยบ้าน ห้วยพระ จังหวัดนครปฐม เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2560


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 121 ส่วนที่ 3 รำยงำนกำรเงิน


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 122 งบการเงินประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ณ วันที่ 30 กันยายน 2560 ประกอบด้วย - งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด - เงินทดรองรำชกำร 5,000.00 เงินฝำกคลัง 73,650.00 ลูกหนี้เงินยืมในงบประมำณ 168,618.00 ค้ำงรับเบิกเกินส่งคืน 30,166.34 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 277,434.34 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อำคำรพักอำศัย 99,000.00 อำคำรส ำนักงำน 2,674,900.00 สิ่งปลูกสร้ำง 250,800.00 ครุภัณฑ์ส ำนักงำน 543,300.00 ครุภัณฑ์ยำนพำหนะ 5,187,000.00 ครุภัณฑ์ไฟฟ้ำ 385,335.00 ครุภัณฑ์โฆษณำ 665,089.00 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 1,338,191.03 ครุภัณฑ์บ้ำนครัว 50,000.00 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 11,193,615.03 รวมสินทรัพย์ 11,471,049.37 หนี สินและสินทรัพย์สุทธิ หนี สิน หนี สินหมุนเวียน เจ้ำหนี้หน่วยงำนภำยนอก -


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 123 ใบส ำคัญค้ำงจ่ำย - ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย - รวมหนี สินหมุนเวียน - - หนี สินไม่หมุนเวียน เงินรับฝำกและเงินประกัน - รำยได้ค่ำปรับอื่น - รำยได้เหลือจ่ำย - รำยได้อื่น - รวมหนี สินไม่หมุนเวียน - รวมหนี สิน สินทรัพย์สุทธิ ทุน - รำยได้สูง/(ต่ ำ) กว่ำค่ำใช้จ่ำยสะสม - รวมสินทรัพย์สุทธิ 11,471,049.37 รวมหนี สินและสินทรัพย์สุทธิ 11,471,049.37


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 124 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร งบแสดงผลการด าเนินงานทางการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2560 (บาท) รายได้จากการด าเนินงาน รำยได้จำกเงินงบประมำณ 17,395,412.00 ค่าใช้จ่ายจากการด าเนินงาน ค่ำล่วงเวลำ 9,200.00 ค่ำใช้จ่ำยบุคลำกร 4,762,680.00 เงินรำงวัลให้แก่สหกรณ์โครงกำรเศรษฐกิจพอเพียง 60,000.00 เงินสมทบประกันสังคม 182,936.00 ค่ำเช่ำบ้ำน 846,800.00 เงินช่วยกำรศึกษำบุตร 259,331.25 ค่ำรักษำโรงพยำบำลรัฐ 11,988.00 ค่ำใช้จ่ำยอบรมในประเทศ 2,897,004.00 ค่ำเบี้ยเลี้ยง 540,052.00 ค่ำที่พัก 50,609.00 ค่ำใช้จ่ำยเดินทำงในประเทศ 205,585.00 ค่ำวัสดุ 856,820.68 รวมค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน 10,683,005.93 รำยได้สูง (ต่ ำ) กว่ำค่ำใช้จ่ำยจำกกำรด ำเนินงำน 6,712,406.07


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 125 ส่วนที่ 4 กิจกรรมเด่น


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 126 กิจกรรมเด่นของ สสจ./สสพ. ในรอบปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 ชื่อกิจกรรม พริกพันธุ์ยอดสน เกษตรแปลงใหญ่ จ.สกลนคร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2559 พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการรกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมการด าเนินงานตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้อมเยี่ยมชมแปลง ปลูกพริกของสมาชิกสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเลิงฮังสามัคคี จ ากัด และชมนิทรรศการ การพัฒนา “ข้าวหอมดอก ฮัง” ภายใต้โครงการ 1 หอการค้า 1 สหกรณ์การเกษตร ตามแนวทางประชารัฐ โดยมี ดร.วิณะโรจน์ ทรัพย์ส่ง สุข อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ นายวิทยา จันทร์ฉลอง ผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนคร และว่าที่ร้อยตรีประสิทธิ์ ชัย บุระเนตร รักษาการสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ร่วมให้การต้อนรับ ณ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเลิงฮังสามัคคี จ ากัด ต าบลอุ่มจาน อ าเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร กระทรวงเกษตรฯ ได้ด าเนินงานโครงการแปลงใหญ่ ประชารัฐ “สินค้าเกษตรสร้างรายได้เร็ว (cash crop) ซึ่งก าหนดให้จังหวัดสกลนครเป็นจังหวัดน าร่องโครงการ สานพลังประชารัฐฯ ที่ได้รับมาตรฐาน Thai GAP/Primary ThaiGAP โดยมีพืชที่ได้รับการส่งเสริมในลักษณะ แปลงใหญ่ คือ พริก จ านวน 104 ไร่ แตงโม จ านวน 324ไร่ และมะละกอฮอลแลนด์ จ านวน 390 ไร่ ส่งเสริมให้มีช่องทางการตลาดในการจ าหน่ายผลผลิต ผ่าน Modern Trade และด าเนินงานโครงการ 1 หอการค้า 1 สหกรณ์การเกษตร ตามแนวทางประชารัฐ ในพื้นที่จังหวัดสกลนคร และสหกรณ์เครดิตยูเนียน เลิงฮังสามัคคี จ ากัด เป็นหนึ่งสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ 1 หอการค้า 1 สหกรณ์การเกษตร ตามแนวทาง ประชารัฐ โดยพัฒนากระบวนการผลิตข้าวพันธุ์พื้นเมือง 9 สายพันธุ์ รวมทั้งพัฒนาแบรนด์ข้าวหอมดอกฮัง พร้อมจัดท า QR Code ของข้าวกล้องและเมล็ดพันธุ์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพผลิตภัณฑ์ต่อผู้บริโภค มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการฯ 15 ราย พื้นที่การปลูกข้าว 223 ไร่ โดยสหกรณ์ฯ ส่งเสริมสมาชิกลดต้นทุนการ ผลิต โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ท าให้ได้ผลผลิตข้าว 500-600 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อน าไปแปรรูปเป็นข้าวกล้อง


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 127 ชื่อกิจกรรม โครงกำรล ำน้ ำพุง เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2559 ดร.วิณะโรจน์ ทรัพย์ส่งสุข อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ พร้อม ด้วยนายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อ านวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร และนายธ ารงค์ ไก่ฟ้า ผู้ตรวจราชการกรมเขตที่ 10, 11,12 ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมแปลงปลูกถั่วของลุงเสาร์ ประวัติ สมาชิก เกษตรกรผู้ใช้น้ า และสถานีสูบน้ า(โครงการล าน้ าพุง)ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ณ ต าบลดงชน อ าเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โดยมีนายค ามูล จิตตุนัง ประธานสหกรณ์ผู้ใช้น้ า และว่าที่ร้อยตรีประสิทธิ์ชัย บุระเนตร รักษาการสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ร่วมให้การต้อนรับ การตรวจเยี่ยมครั้งนี้เพื่อรับฟังและแก้ไขปัญหาให้กับ สมาชิกเกษตรกรในเรื่องน้ าที่ใช้ในการเกษตร และตรวจดูสถานีสูบน้ าของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อหาแนวทาง ซ่อมบ ารุงให้สามารถน ากลับมาใช้ได้สมบูรณ์ โดยจะมีพื้นที่ที่ได้รับประโยชน์จากสถานีสูบน้ าแห่งนี้ 7564 ไร่ ครอบคลุมหมู่บ้านที่ได้รับประโยชน์ 8 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านเหล่าละโมง บ้านกุดจิก บ้านตองโขบ บ้านกุดแข้ บ้านโพนปอหู บ้านนาสาย บ้านหนองนางกอบ และบ้านปลาขาว


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 128 ชื่อกิจกรรม รมว.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลงพื้นที่โครงกำร 1 หอกำรค้ำ 1 สหกรณ์กำรเกษตร ตำมแนวทำงประชำรัฐ เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2559 พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการรกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เปิดเผยภายหลังลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมการด าเนินงานตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้อม เยี่ยมชมแปลงปลูกพริกของสมาชิกสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเลิงฮังสามัคคี จ ากัด และชมนิทรรศการ การพัฒนา “ข้าวหอมดอกฮัง” ภายใต้โครงการ 1 หอการค้า 1 สหกรณ์การเกษตร ตามแนวทางประชารัฐว่า กระบวนการพัฒนาแบบบูรณาการ “ประชารัฐ” เป็นแนวทางหนึ่งที่รัฐบาลมุ่งหวังให้ผู้ร่วมกันขับเคลื่อนทั้งจาก ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน สานพลังกันเพื่อไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือการอยู่ดีกินดีของประชาชน เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีความสุขและมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยกระทรวง เกษตรฯ มีนโยบายที่จะส่งเสริมให้เกษตรกรพึ่งพาตนเอง มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีรายได้ที่มั่นคงพร้อมที่จะรับ กับความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในทุกสถานการณ์ได้ซึ่งนโยบายลดต้นทุน เพิ่มโอกาสทางการแข่งขัน เป็นหนึ่งในนโยบายส าคัญที่มุ่งให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีรายได้เพิ่มสูงขึ้น เป็นการยกระดับการ ประกอบอาชีพด้านการเกษตร โดยส่งเสริมการรวมเกษตรกรเป็นแปลงใหญ่เพื่อสามารถแก้ไขปัญหาด้านการ ผลิตและการตลาดได้อย่างยั่งยืน เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2559 ในพื้นที่จังหวัดสกลนคร


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 129 ชื่อกิจกรรม พิธิเปิดจุดรวบรวมข้ำวเปลือกสหกรณ์กำรเกษตรกุสุมำลย์ จ ำกัด ว่าที่ ร.ต.ประสิทธิ์ชัย บุระเนตร นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ รักษาราชการแทน สหกรณ์จังหวัดสกลนคร บุคลากรกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 และหัวหน้าส่วนราชการระดับอ าเภอ ได้เข้าร่วมพิธี เปิดจุดรวบรวมข้าวเปลือกสหกรณ์การเกษตรกุสุมาลย์ จ ากัด เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือนร้อนในหมู่สมาชิก และสมาชิกได้มีช่องทางการจ าหน่ายผลผลิตทางการเกษตรในราคาที่เป็นธรรม โดยผ่านเครื่องชั่งที่ได้มาตรฐาน ซึ่งสหกรณ์ได้เริ่มเปิดจุดรวบรวมข้าวเปลือกจากสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 100 ตัน มูลค่า 1 ล้านบาทเศษ และ รวบรวมมันส าปะหลังจากสมาชิกเพื่อแปรรูปเป็นมันเส้น จ านวน 20 ตัน มูลค่า 3 หมื่นบาทเศษ และกิจกรรม ท าบุญประทายข้าวเปลือก เพิ่มหุ้นด้วยข้าวเปลือก ช าระหนี้ด้วยข้าวเปลือก และรับฝากเงินด้วยข้าวเปลือก ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรักษาประเพณี/วัฒนธรรมของชุมชน และส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์มีส่วนร่วมในธุรกิจของ สหกรณ์เพิ่มขึ้น หากเกษตรกร สมาชิก น าข้าวเปลือกมาจ าหน่ายในช่วงระยะดังกล่าว สหกรณ์จะเพิ่มราคาให้ สูงกว่าท้องตลาดทั่วไปตันละ 100 บาท ในวันที่ 15 ธันวาคม ๒๕๕๙ เวลา 09.๓๐ น. ณ ตลาดกลางของ สหกรณ์การเกษตรกุสุมาลย์ จ ากัด ต าบลกุสุมาลย์ อ าเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร โดยนายเพียรศักดิ์ เจนประวิทย์ นายอ าเภอกุสุมาลย์ เป็นประธานในพิธีเปิดงานดังกล่าว


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 130 ชื่อกิจกรรม รอง อสส. กรมส่งเสริมสหกรณ์ (นำยเชิดชัย พรหมแก้ว) ลงตรวจพื้นที่ จังหวัดสกลนคร เพื่อให้ก ำลังใจกับขบวนกำรสหกรณ์ ตลอดจนประชำชนที่ประสบ อุทกภัย เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 60 เวลา 14.00 น. นายเชิดชัย พรหมแก้ว รองอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ นายธ ารง ไก่ฟ้า ผู้ตรวจราชการกรม เขตตรวจที่ 3,9,14 และนายสุกรี พันละบุตร ผู้ตรวจราชการกรม เขตตรวจที่ 10,11 นายจาตุรันต์ สมิทธิ์ภินันท์สหกรณ์จังหวัดนครพนม พร้อมคณะผู้บริหารกรมส่งเสริม สหกรณ์ เป็นตัวแทน กรมส่งเสริมสหกรณ์ กล่าวแสดงความห่วงใยสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในจังหวัด สกลนคร ที่ประสบอุทกภัยน้ าท่วมในจังหวัดสกลนคร และรับฟังสรุปข้อมูลสถานการณ์ของผู้ประสบอุทกภัย น้ าท่วม ในส่วนของสถาบันเกษตรกรและการขอรับการช่วยเหลือ ซึ่งกรมส่งเสริมสหกรณ์มอบเงินช่วยเหลือ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จังหวัดสกลนคร ที่ประสบอุทกภัยน้ าท่วม จ านวน 50,000 บาท ณ ห้องประชุม ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร นายยงยุทธ อุดมศักดิ์ สหกรณ์จังหวัดสกลนคร ได้รายงานข้อมูลสถานการณ์ของผู้ประสบอุทกภัย น้ าท่วม ในส่วนของสถาบันเกษตรกรและการขอรับการช่วยเหลือ ดังนี้ สหกรณ์ จ านวน 107 แห่ง ประสบ อุทกภัยน้ าท่วม 56 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 74 แห่ง ประสบภัยน้ าท่วม 53 แห่ง รวมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทั้งสิ้น 181 แห่ง ประสบภัย 109 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60.56 ซึ่งมีจ านวนสมาชิก 26,475 คน นายเชิดชัย พรหมแก้ว รองอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้เสนอมาตรการช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร ในจังหวัดสกลนคร ที่ประสบอุทกภัยน้ าท่วมในจังหวัดสกลนคร โดยให้ชดเชยดอกเบี้ยเงินกู้แก่ สมาชิกสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และจัดเตรียมเงินทุนส ารองเพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้กู้ยืมเงินเพื่อลงทุนในการประกอบอาชีพเร่งด่วน เป็นการฟื้นฟูอาชีพระยะสั้น โดยให้ก็ยืมเงินปลอดดอกเบี้ย และให้จัดฝึกอบรมและส่งหน่วยเคลื่อนที่เข้าหาสมาชิกเพื่อซ่อมแซมเครื่องจักรกลการเกษตรที่ได้รับการ เสียหาย เวลา 16.00 น. นายเชิดชัย พรหมแก้ว รองอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ พร้อมคณะผู้บริหาร ลงพื้น ที่ประกอบอาหารท าข้าวกล่อง และร่วมแจกถุงยังชีพ ช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรในจังหวัดสกลนคร ณ ท้องที่ บ้านบึงแดง ต าโคกก่อง อ าเภอเมือง และ บ้านพอกใหญ่ ต าบลพอกน้อย อ าเภอพรรณนานิคม จังหวัดสกลนคร จ านวน 300 ถุง


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 131


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 132 ชื่อกิจกรรม อสส.ลงพื้นที่สกลนคร ช่วยผู้ประสบอุทกภัย เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2560 เวลา 08.30 น. ดร.วิณะโรจน์ ทรัพย์ส่งสุข อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ พร้อมด้วย นายเชิดชัย พรหมแก้ว รองอธิบดี นายธ ารง ไก่ฟ้า หัวหน้าผู้ตรวจราชการกรมฯเขตตรวจราชการ ที่ 3,9,14 นายยงยุทธ อุดมศักดิ์ สหกรณ์จังหวัดสกลนคร และข้าราชการจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ ส านักงาน สหกรณ์จังหวัดสกลนคร ลงพื้นที่ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในจังหวัดสกลนคร และให้การต้อนรับ พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และคณะรัฐมนตรี พร้อมผู้ติดตามโดยมีก าหนดการตรวจราชการการแก้ไขปัญหาน้ าท่วม สถานการณ์ น้ าในเขตพื้นที่จังหวัดสกลนคร เยี่ยมชมครัวพระราชทานของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร มอบถุงยังชีพแด่ผู้ประสบภัย ณ ศูนย์พักพิงผู้ประสบภัย องค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร ร่วมงานโครงการ Big Cleaning Day "ย้อมบ้าน ล้างเมือง" ลงเรือเยี่ยมประชาชนที่ประสบอุทกภัย ตรวจพื้นที่ ติดตั้งสะพานแบร์รี่ย์ ตรวจเยี่ยมสภาพพื้นที่และการซ่อมแซม รวมถึงการแก้ไขปรับปรุงอ่างเก็บน้ าห้วยทราย ขมิ้น ที่ช ารุดจากการกัดเซาะ ทั้งนี้ เมื่อเสร็จภาระกิจจากจังหวัดสกลนครแล้ว อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์และ คณะได้ติดตามนายกรัฐมนตรีและคณะ ไป อ.ธาตุพนม จ.นครพนม เพื่อตรวจเยี่ยมพื้นที่ประตูระบายน้ าธรณิศ นฤมิตร (ประตูระบายน้ าก่ า) ที่ระบายมวลน้ าจากหนองหาน ผ่านล าน้ าก่ า สู่แม่น้ าโขงต่อไป ในโอกาสนี้ท่าน อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ ยังได้เน้นย้ าแก่สหกรณ์จังหวัดสกลนคร ให้เร่งด าเนินการส ารวจความเสียหายจาก สมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรเพื่อหามาตรการเยียวยาและแก้ไขปัญหาต่อไป


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 133


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 134 1. กรมส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงาน (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://webhost.cpd.go.th/plancpd/index.html (วันที่ค้นข้อมูล : ธันวาคม พ.ศ. ๒560) ๒. กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร วิสัยทัศน์จังหวัดสกลนคร (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://webhost.cpd.go.th/sakonnakhon/datacoop.html (วันที่ค้นข้อมูล : ธันวาคม พ.ศ. ๒560) 3. กรมบัญชีกลาง งบทดลอง 2560 4. กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ รายงานปริมาณธุรกิจและผลการด าเนินงานของสหกรณ์ 5. รายงานประจ าปี สหกรณ์/กลุ่มเกษตร 2560 6. ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ฝ่ายบริหารทั่วไป ข้อมูลพื้นฐาน (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://web.cpd.go.th/sakonnakhon (วันที่ค้นข้อมูล : ธันวาคม พ.ศ. ๒๕60) บรรณำนุกรม


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 135 คณะผู้จัดท ำ ที่ปรึกษำ : นายยงยุทธ อุดมศักดิ์ สหกรณ์จังหวัดสกลนคร : หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป : ผู้อ านวยการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ : ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ : ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ : ผู้อ านวยการกลุ่มตรวจการสหกรณ์ : ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 -4 ผู้รวบรวมและเรียบเรียง : นายนพรัตน์ ไชยอิ่นค า นักจัดการงานทั่วไปช านาญการ : นางสาวธิดารัตน์ บุพศิริ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ : นางสาวญาณิศา ค าจวง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน : นางสาวปริยานุช บุระเนตร นักวิชาการมาตรฐานสินค้า ผู้จัดพิมพ์ : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร 401 ถนน สกล-นาแก ต าบลธาตุเชิงชุม อ าเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โทร/โทรสำร : 0 4271 1671


Click to View FlipBook Version