The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 2560

Annual Report Sakonnakhon 2017 (2560)

ประกอบด้วย สหกรณ์ 6 แห่ง สมาชิก 4,213 คน กลุ่มเ ผลกำรเข้ำแนะน ำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตำมระบบกำที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประเด็น ส่งเสริมจากวิเคราะห์1 สหกรณ์การเกษตรพรรณานิคม จ ากัด 12 2 สหกรณ์การเกษตรเขตจัดรูปที่ดินพอกใหญ่ จ ากัด 9 3 สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าบ้านท่าสองคอน จ ากัด 13 4 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนพรรณานิคม จ ากัด 10 5 สหกรณ์การเกษตรเขตจัดรูปที่ดินน้ าอูน จ ากัด 5 6 สหกรณ์การเกษตรผสมผสานสกลนคร จ ากัด 19 7 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์บะฮี 7 8 กลุ่มเกษตรกรท านาช้างมิ่ง 14 9 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์เชิงชุม 8 อ ำเภอพรรณำนิคม


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 61 กษตรกร 3 แห่ง สมาชิก 168 คน ำรส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) าร สถานะ จ านวนแผน (ครั้ง) จ านวนรายงาน ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ผลแล้ว (ครั้ง) ด าเนินการ ยังไม่ ด าเนินการ - 12 - 12 12 - 9 - 9 9 - 13 - 9 9 - 10 - 10 10 - 5 - 12 12 - 19 - 9 9 - 7 - 6 6 - 14 - 8 8 - 8 - 8 8 รายงานประจ าปี (Annual Report) 2560 61 Report14Report>


ประกอบด้วย สหกรณ์ 9 แห่ง สมาชิก 2,877 คน กลุ่มเกษตรกร ผลกำรเข้ำแนะน ำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตำมระบบกำที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประเด็น ส่งเสริมจากวิเคราะห์1 สหกรณ์การเกษตรพังโคน จ ากัด 3 2 สหกรณ์การเกษตรผู้ผลิตแตงโมสกลนคร จ ากัด 3 3 สหกรณ์การเกษตรมหาชนอ าเภอพังโคน จ ากัด 9 4 ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรสกลนคร จ ากัด 11 5 สหกรณ์ผู้ใช้น้ าไฮหย่อง จ ากัด 7 6 สหกรณ์ผู้ใช้น้ าบ้านแร่ จ ากัด 13 7 สหกรณ์พัฒนาธุรกิจชุมชนพังโคน จ ากัด 20 8 สหกรณ์บริการธุรกิจรถตู้สกลนคร จ ากัด 4 9 สหกรณ์สมุนไพรสกลนคร จ ากัด 7 10 กลุ่มเกษตรกรท านาต้นผึ้ง 14 11 กลุ่มเกษตรกรท านาพังโคน 16 12 กลุ่มเกษตรกรท านาแร่ 12 13 กลุ่มเกษตรกรท านาม่วงไข่ 3 14 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ต้นผึ้ง 6 15 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์แร่ 5 อ าเภอพังโคน


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 62 6 แห่ง สมาชิก 340 คน ำรส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) าร สถานะ จ านวนแผน (ครั้ง) จ านวนรายงาน ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ผลแล้ว (ครั้ง) ด าเนินการ ยังไม่ ด าเนินการ - 3 - 11 11 - 3 - 14 14 - 9 - 9 9 - 11 - 11 11 - 7 - 11 11 - 13 - 11 11 - 20 - 9 9 - 4 - 9 9 - 7 - 6 6 - 14 - 9 9 - 16 - 11 11 - 12 - 8 8 - 3 - 10 10 - 6 - 5 5 - 5 - 5 5 รายงานประจ าปี (Annual Report) 2560 62 Report14Report>


ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิก 1,102 คน กลุ่มเกษตรกร 5 ผลกำรเข้ำแนะน ำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตำมระบบกำที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประเด็น ส่งเสริมจากวิเคราะห์1 สหกรณ์การเกษตรส่องดาว จ ากัด 2 2 สหกรณ์การเกษตรเหล่าสุขสันต์ จ ากัด 5 3 สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านถ้ าติ้วสกลนคร จ ากัด 5 4 กลุ่มเกษตรกรท านาส่องดาว 13 5 กลุ่มเกษตรกรท านาปทุมวาปี 4 6 กลุ่มเกษตรกรท านาวัฒนา 3 7 กลุ่มเกษตรกรท านาท่าศิลา 3 8 กลุ่มเกษตรกรท าสวนยางพาราวัฒนา 2 อ าเภอส่องดาว


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 63 5 แห่ง สมาชิก 396 คน ำรส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) าร สถานะ จ านวนแผน (ครั้ง) จ านวนรายงาน ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ผลแล้ว (ครั้ง) ด าเนินการ ยังไม่ ด าเนินการ - 2 - 10 10 - 5 - 11 11 - 5 - 12 12 - 13 - 9 9 - 4 - 12 12 - 3 - 12 12 - 3 - 11 11 - 2 - 4 4 รายงานประจ าปี (Annual Report) 2560 63 Report14Report>


ประกอบด้วย สหกรณ์ 13 แห่ง สมาชิก 7,645 คน กลุ่มเ ผลกำรเข้ำแนะน ำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตำมระบบกำที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประเด็น ส่งเสริมจากวิเคราะห์1 สหกรณ์การเกษตรสว่างแดนดิน จ ากัด 6 2 สหกรณ์การเกษตรหนองหลวง จ ากัด 13 3 สหกรณ์การเกษตรกลุ่มธนาคารโคกระบือสว่างแดนดิน จ ากัด 2 4 สหกรณ์การเกษตรหนองหมากแซว จ ากัด 5 5 สหกรณ์การเกษตรหนองชาดทรายทองพัฒนา จ ากัด 3 6 สหกรณ์การเกษตรดอนเขือง จ ากัด 5 7 สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงโคกระบือสร้างดู่ จ ากัด 9 8 สหกรณ์การเกษตรปุ๋ยอินทรีย์สกลนคร จ ากัด 6 9 สหกรณ์ธุรกิจเศรษฐกิจ รพช.อ าเภอสว่างแดนดิน จ ากัด 8 10 สหกรณ์เดินรถสว่างแดนดิน จ ากัด 4 11 ร้านสหกรณ์ครูสว่างแดนดิน จ ากัด 4 12 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนโคกสีสามัคคี จ ากัด 12 13 สหกรณ์คลัสเตอร์หัตถศิลป์อีสาน จ ากัด 4 อ าเภอสว่างแดนดิน


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 64 กษตรกร 7 แห่ง สมาชิก 852 คน ำรส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) าร สถานะ จ านวนแผน (ครั้ง) จ านวนรายงาน ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ผลแล้ว (ครั้ง) ด าเนินการ ยังไม่ ด าเนินการ - 6 - 11 11 - 13 - 9 9 - 2 - 10 10 - 5 - 11 11 - 3 - 11 11 - 5 - 9 9 - 9 - 10 10 - 6 - 11 11 - 8 - 8 8 - 4 - 7 7 - 4 - 9 9 - 12 - 8 8 - 4 - 9 9 รายงานประจ าปี (Annual Report) 2560 64 Report14Report>


ที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประเด็น ส่งเสริมจากวิเคราะห์14 กลุ่มเกษตรกรท านาโพนสูง 7 15 กลุ่มเกษตรกรท านาทรายมูล 8 16 กลุ่มเกษตรกรท านาธาตุทอง 5 17 กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านถ่อน 5 18 กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านถ่อนพัฒนา 5 19 กลุ่มเกษตรกรท าสวนยางพาราสว่างแดนดิน 4 20 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์โคกสี 1


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 65 าร สถานะ จ านวนแผน (ครั้ง) จ านวนรายงาน ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ผลแล้ว (ครั้ง) ด าเนินการ ยังไม่ ด าเนินการ - 7 - 7 7 - 8 - 6 6 - 5 - 5 5 - 5 - 5 5 - 5 - 4 4 - 4 - 9 9 - 1 - 7 7 รายงานประจ าปี (Annual Report) 2560 65 Report14Report>


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 66 1. ปัญหำ/อุปสรรคในกำรด ำเนินงำนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. ปัญหาด้านสมาชิก 1.1 ขาดคุณสมบัติตามข้อบังคับของสหกรณ์ สาเหตุมาจากการขาดความเข้มงวด ในการรับสมาชิก สหกรณ์ หรือมีการเล่นพรรคเล่นพวก ท าให้ได้สมาชิกที่ขาดคุณสมบัติตามข้อบังคับของ สหกรณ์ สมาชิกเหล่านี้มักจะเข้ามาแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวเป็นใหญ่ ขอกู้ยืมเงินแล้วไม่ส่งเงินตาม สัญญา ซื้อวัสดุการเกษตรจากสหกรณ์ไปจ าหน่าย ท าให้สมาชิกที่มีความต้องการใช้ปัจจัยการผลิตดังกล่าว ไม่มีโอกาสที่จะได้ ซึ่งเป็นผลเสียหายต่อสมาชิกและภาพพจน์ของสหกรณ์ 1.2 สมาชิกขาดความภักดีต่อสหกรณ์ สมาชิกไม่เข้าร่วมประชุมใหญ่ท าให้ไม่สามารถ รับรู้ความเป็นไปของสหกรณ์ เกี่ยวกับการจ าหน่ายผลิตผลก็เช่นกัน สมาชิกมักจะน าผลิตผลไปจ าหน่าย ให้แก่พ่อค้าคนกลางในกรณีที่พ่อค้าคนกลาง รับซื้อผลิตผลในราคาที่สูงกว่าที่สหกรณ์ตั้งไว้เพียง เล็กน้อย 1.3 สมาชิกขาดความร่วมมือและส่งเสริมงานสหกรณ์ ปัญหาที่ส าคัญคือ ธุรกิจการ ให้เงินกู้แก่สมาชิก ถ้าสมาชิกไม่ให้ความร่วมมือในการส่งเงินกู้คืนให้แก่สหกรณ์ ส่งเงินกู้ช้า ก็จะเป็นผลเสียต่อ สมาชิกโดยส่วนรวม เพราะสหกรณ์ไม่มีเงินที่จะน าไปส่งคืนแก่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และไม่ได้รับอนุมัติให้ขยายวงเงินกู้ในปีต่อไป ท าให้สถานการณ์ทางด้านการเงินของสหกรณ์ต้องชะงักตัว 1.4 สมาชิกไม่ศรัทธาในงานสหกรณ์เกษตรกรที่เข้ามาเป็นสมาชิกโดยการถูกชักจูง หลังจากที่เป็นสมาชิกแล้วเมื่อสหกรณ์ไม่สามารถอ านวยประโยชน์ให้ได้ในเวลาอันสมควรสมาชิกเหล่านี้ ก็จะเกิดความเบื่อหน่าย และขาดความศรัทธาในงานสหกรณ์ 2. ปัญหำด้ำนคณะกรรมกำรด ำเนินกำร 2.1 ขาดประสบการณ์ในการบริหารงานสหกรณ์ 2.2 ไม่อุทิศเวลาเพื่องานสหกรณ์ กรรมการบางคนแสวงหาผลประโยชน์จาก สหกรณ์ในทางการเงิน หรือเข้ามาเพื่อสร้างฐานอ านาจทางการเมืองท าให้กรรมการที่จะอุทิศตนเพื่องาน สหกรณ์มีน้อยมาก 2.3 ไม่ท าตัวให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่สมาชิก คณะกรรมการบางคนมีหนี้ค้างช าระ อยู่กับสหกรณ์ ท าให้สมาชิกเอาเป็นตัวอย่างที่ไม่ดี ท าให้คณะกรรมการไม่กล้าออกไปติดตามทวงหนี้จาก สมาชิกที่ค้างช าระ 2.4 ขาดความซื่อสัตย์ เช่น คณะกรรมการน าเงินมาใช้ส่วนตัว พิจารณาอนุมัติ เงินกู้เฉพาะญาติพี่น้องท าให้เกิดความไม่เป็นธรรม สมาชิกขาดความเลื่อมใส 2.5 คณะกรรมการด าเนินการส่วนใหญ่เป็นคณะกรรมการที่หมุนเวียนเข้ามาเป็น คณะกรรมการตามวาระที่กฎหมายก าหนด ไม่มีประสบการณ์ในการเป็นคณะกรรมการด าเนินงาน 2.6 ปัญหาอื่น ๆ 1. กรรมการได้รับเลือกตั้งโดยที่ตัวเองไม่สมัครใจ ท าให้ต้องเข้ารับ ต าแหน่งด้วยความจ าใจ 2. คณะกรรมการด าเนินการเข้ามาท างานในสหกรณ์วันละหลายๆ คน ทั้งๆ ที่งานในสหกรณ์มีน้อยมากท าให้ สหกรณ์มีค่าใช้จ่ายสูง


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 67 3. ปัญหำด้ำนกำรจัดกำร 3.1 การจัดการขาดประสิทธิภาพและทุจริต งานจัดการเป็นงานที่ต้องใช้ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีความรับผิดชอบจึงต้องจ้างในอัตราเงินเดือนสูง เนื่องจากสหกรณ์มีทุนน้อยท าให้ไม่สามารถ จัดจ้างผู้จัดการสหกรณ์ที่มีความสามารถได้ในทางปฏิบัติจึงมักจะให้กรรมการสหกรณ์ท าหน้าที่การจัดการ ด้วยอีกต าแหน่งหนึ่ง ท าให้เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์มีจ านวนน้อย พนักงานสหกรณ์หนึ่งคนจึงต้องท างานหลาย หน้าที่ โอกาสทุจริตจึงมีได้โดยง่าย 3.2 การจัดการขาดการประสานงาน เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่ไม่รู้ขอบเขตอ านาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของแต่ละหน่วย ท าให้เกิดปัญหาการก้าวก่ายหน้าที่ซึ่งกันและกัน 4. ปัญหำด้ำนเจ้ำหน้ำที่ของทำงรำชกำร หน่วยงานที่รับผิดชอบต่อสหกรณ์โดยตรง ได้แก่ กรมส่งเสริมสหกรณ์เจ้าหน้าที่ที่ รับผิดชอบงานสหกรณ์ที่ท างานใกล้ชิดสมาชิกมากที่สุดในส่วนภูมิภาคได้แก่ สหกรณ์อ าเภอ เกษตรและ สหกรณ์จังหวัด ปัญหาที่เกิดขึ้นจากเจ้าหน้าที่ดังกล่าวพอสรุปได้ดังนี้ 4.1 การก าหนดขอบเขตหน้าที่กว้างเกินไปการที่เจ้าหน้าที่ของทาง ราชการมีความรับผิดชอบหลายด้านเกินไปท าให้ไม่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างครบทุกอย่าง ท าให้เจ้าหน้าที่ เหล่านี้ลืมหน้าที่ที่ส าคัญยิ่งประการหนึ่ง คือการให้การศึกษาอบรมหลักการสหกรณ์ให้แก่สมาชิกได้รับทราบ 4.2 ขาดความเข้มงวดในการตรวจสอบ สืบเนื่องมาจากเจ้าหน้าที่มีหน้าที่ที่ต้อง รับผิดชอบมากเกินไป ท าให้ไม่สามารถตรวจสอบ ก ากับ แนะน าทางด้านการบัญชีของสหกรณ์ได้อย่าง ละเอียด จึงเปิดโอกาสให้มีการทุจริตในสหกรณ์มากขึ้น 4.3 การโยกย้ายเจ้าหน้าที่บ่อยเกินไป การโยกย้ายข้าราชการบ่อยเกินไปท าให้ เกิดผลเสียต่อการประสานงานต่อระหว่างเจ้าหน้าที่คนเดิมกับเจ้าหน้าที่คนใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานสหกรณ์ เป็นงานที่จะต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาที่ต้องด าเนินการติดต่อกันเป็น เวลาหลายปี 5. ปัญหาด้านการด าเนินธุรกิจ ธุรกิจของสหกรณ์การเกษตรที่มีปัญหา มีดังนี้ 5.1 ธุรกิจการให้กู้ยืมเงิน มีปัญหาดังนี้ 5.2 จ านวนเงินที่ให้สมาชิกกู้ยืมน้อยเกินไปไม่เพียงพอต่อการด าเนินงาน สมาชิกไม่ส่งช าระหนี้ได้ตามสัญญา ซึ่งมีสาเหตุมาจากการประกอบการเกษตรที่ไม่ได้ผล ไม่เข้าใจหลักการ ด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ดีพอ น าเงินกู้ไปใช้ไม่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ 5.3 ธุรกิจการซื้อ คือ ธุรกิจในการจัดหาวัสดุการเกษตรมาจ าหน่ายแก่สมาชิกมีความส าคัญ รองลงมาจากธุรกิจการให้กู้เงิน ปัญหาที่เกิดขึ้นมีดังนี้ - สินค้าที่สหกรณ์จัดมาจ าหน่ายให้แก่สมาชิก มีมูลค่าเพียง เล็กน้อยเมื่อเทียบกับความต้องการซื้อสินค้าทั้งหมดของสมาชิก - การจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก ไม่ได้มีการส ารวจความต้องการของสมาชิกเสียก่อน ท าให้สินค้าบางรายการขายไม่ได้ เสื่อมคุณภาพ มีผลเสียต่อทุนหมุนเวียนของสหกรณ์


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 68 5.4 ธุรกิจการขาย มีปัญหาดังนี้ - สหกรณ์ไม่สามารถรับซื้อผลผลิตการเกษตรจากสมาชิกได้ตาม เป้าหมาย ทั้งนี้เนื่องจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น สหกรณ์ขาดเงินทุนด าเนินงาน สมาชิกสหกรณ์ไม่ให้ความ ร่วมมือ - สหกรณ์ขาดอุปกรณ์การตลาด เช่น รถยนต์ โรงสี โกดังเก็บสินค้า เครื่องชั่ง ตวง วัด ที่ได้มาตรฐานและทันสมัย ทั้งนี้เนื่องจากขาดเงินทุนในการจัดหา 6. ธุรกิจรับฝำกเงิน 1. สหกรณ์มีการรับฝากเงินจากบุคคลภายนอก ซึ่งการปฏิบัติดังกล่าวไม่เป็นไปตาม พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 46(5) และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตา 9 แห่งพระราชบัญญัติ สหกรณ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 ข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์ที่ก าหนดให้สหกรณ์รับฝากเงินจากสมาชิก หรือสหกรณ์ หรือสามาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ซึ่งมีสมาชิกของสมาคมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งเป็นสมาชิกของ สหกรณ์ผู้ฝากเงิน ทั้งนี้ ตามระเบียบของสหกรณ์ที่ได้รับความเห็นชอบของนายทะเบียนสหกรณ์เท่านั้น 7. ปัญหำอื่น ๆ 7.1 สมาชิกส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ระหว่างปีสมาชิกประสบปัญหาน้ าท่วมผลิตผลเสียหาย ปัญหาดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อการช าระหนี้ของลูกหนี้ได้ 7.2 ที่ตั้งส านักงานอยู่ห่างไกลชุมชน 7.3 การจัดเก็บเอกสารในส านักงานสหกรณ์ขาดความเป็นระเบียบ ยากแก่การค้นหา เปิด ช่องทางให้มีการทุจริตได้ง่าย ในกรณีที่เอกสารเกิดช ารุดหาย ข้อเสนอแนะ/แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ 1. การแก้ไขปัญหาด้านบุคคล 1.1 ด้านสมาชิก สมาชิกของสหกรณ์การเกษตรบางส่วนไม้ได้ประกอบอาชีพ ทางด้านเกษตร มีสาเหตุมาจากปัจจัย 2 ประการ คือ - ความรีบเร่งในการจัดตั้ง ขั้นแรกต้องหาสมาชิกให้ครบตามจ านวนเพื่อ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาล 2. การพิจารณาบุคคลเข้าเป็นสมาชิก มีการเล่นพรรคเล่นพวก วิธีการแก้ไขคือ ชี้แจงปัญหาและข้อเท็จจริงให้กับสมาชิกที่ไม่ได้ประกอบอาชีพ การเกษตรลาออกจากการเป็นสมาชิกเสีย เพราะมีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนตามระเบียบข้อบังคับ และในการ คัดเลือกสมาชิกครั้งต่อไปควรต้องเข้มงวดมากขึ้นส่วนปัญหาเกี่ยวกับสมาชิกขาดความภักดีไม่ให้ความร่วมมือ และไม่ศรัทธาในสหกรณ์ สามารถแก้ไขได้โดยจัดให้มีการศึกษาอบรมแก่สมาชิกโดยสม่ าเสมอ ด้านคณะกรรมการด าเนินการ ปัญหาที่ส าคัญ คือ คณะกรรมการขาดความรู้ ความสามารถในหลายด้าน ขาดความซื่อสัตย์ และไม่อุทิศเวลาให้กับงานสหกรณ์อย่างแท้จริง วิธีการแก้ไข คือ การเลือกตั้งคณะกรรมการจะต้องเลือกตั้งจากผู้ที่มีความรู้ความสามารถมีประสบการณ์เกี่ยวกับการ บริหารงานสหกรณ์ เป็นผู้ที่สามารถเสียสละเวลาให้กับสหกรณ์ได้อย่างเต็มที่มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความเต็มใจที่จะเข้ามาบริหารงานสหกรณ์ การเลือกตั้งคณะกรรมการแต่ละครั้งควรจะมีเจ้าหน้าที่ สหกรณ์อ าเภอ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดให้ค าแนะน าและควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 69 ปัญหาที่ส าคัญ คือ สหกรณ์ไม่มีทุนเพียงพอที่จะจัดจ้างผู้จัดการที่มีความรู้ ความสามารถได้ แนวทางแก้ปัญหา คือ รัฐบาลต้องให้ความช่วยเหลือโดยการให้เงินสนับสนุนสหกรณ์เพื่อใช้ ส าหรับเป็นเงินค่าจัดจ้างผู้จัดการ หรือเจ้าหน้าที่บางต าแหน่งที่มีความจ าเป็น ด้านเจ้าหน้าที่ คือ เจ้าหน้าที่ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับงานสหกรณ์ มีแนวทำงแก้ปัญหำดังนี้ 1. พิจารณา เพิ่มอัตราก าลังของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ให้มากยิ่งขึ้น เพื่อให้ เหมาะสมกับงานที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะอัตราก าลังในระดับอ าเภอ ไม่สมควรอย่างยิ่งที่จะปล่อยให้มี ต าแหน่งว่างโดยไม่มีผู้ปฏิบัติงาน 2. จัดให้การศึกษาอบรม และสัมมนาวิชาการแก่เจ้าหน้าที่เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน 3. ปัญหาเรื่องการโยกย้ายข้าราชการบ่อยเกินไป สามารถแก้ไขได้โดยคัดเลือก เจ้าหน้าที่ที่มีภูมิล าเนาอยู่ในต าบลนั้นให้ปฏิบัติงานสหกรณ์ในท้องที่นั้น ๆ เพื่อป้องกันการขอโยกย้ายภายหลัง หรืออาจก าหนดระยะเวลาน้อยที่สุดที่ข้าราชการจะต้องปฏิบัติงานในท้องที่นั้นๆไว้ตายตัวก็ได้ 4. การตรวจสอบแนะน า ควรเพิ่มอัตราก าลังในการตรวจสอบบัญชีของสหกรณ์ ให้มากขึ้นในการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ไม่ควรตรวจสอบเฉพาะเอกสารของสหกรณ์แต่เจ้าหน้าที่ควรออกเดิน สอบถามสมาชิกรายบุคคล ทั้งนี้เพื่อจะได้ทราบแนวทางการปฏิบัติงานของสหกรณ์ได้ดียิ่งขึ้น 2. การแก้ไขปัญหาด้านธุรกิจ 2.1 ธุรกิจการให้เงินกู้ ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ สมาชิกไม่ส่งช าระเงินกู้คืนตามสัญญา แนวทางแก้ปัญหา คือ - ก่อนถึงก าหนดช าระหนี้ไม่น้อยกว่า 15 วัน สหกรณ์ควรออกหนังสือเตือนให้ สมาชิกน าเงินมาช าระหนี้ - ให้ประธานกลุ่มช่วยออกติดตามเร่งรัดการช าระหนี้ - เจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมสหกรณ์เรียกประชุมกลุ่ม เพื่อเร่งรัดการช าระหนี้ - ออกติดตามถึงบ้านเรือนเป็นรายคน - ใช้หนังสือเรียกพบเป็นรายบุคคล ในกรณีที่สมาชิกยังฝ่าฝืนควรด าเนินคดี จนถึงที่สุด เพื่อไม่ให้เป็นตัวอย่างแก่สมาชิกคนอื่น ๆ ก่อนจะให้เงินกู้แก่สมาชิกแต่ละครั้งควรปฏิบัติดังนี้ - พิจารณาค าขอกู้โดยละเอียด - พิจารณาประวัติการช าระหนี้ - ตรวจสอบการใช้เงินของสมาชิก กรณีที่สมาชิกใช้เงินกู้ไม่ถูกต้องตาม วัตถุประสงค์ควรเรียกเงินกู้นั้นคืน 2.2 ธุรกิจการรับฝากเงิน สหกรณ์ควรหาวิธีการชักจูงให้สมาชิกน าเงินมาฝากไว้กับ สหกรณ์เพิ่มขึ้น เช่น จัดหารางวัลประจ าปีให้แก่สมาชิกที่น าเงินมาฝากกับสหกรณ์อย่างสม่ าเสมอ 2.3 ธุรกิจการขาย สหกรณ์การเกษตรจะสามารถรวบรวมผลผลิตออกขายได้มาก น้อยแค่ไหนนั้น ต้องแก้ไขปัญหาต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน คือ - สหกรณ์จะต้องมีเงินทุนพอเพียงในการรับซื้อ - มีตลาดขายสินค้า - มีอุปกรณ์การตลาดที่พร้อม เช่น โกดังเก็บสินค้า ยานพาหนะ


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 70 - เจ้าหน้าที่สหกรณ์มีความรู้เรื่องธุรกิจการค้าและมีความซื่อสัตย์ - ต้องได้รับความร่วมมือจากสมาชิก 3. การแก้ไขปัญหาด้านอื่น ๆ 3.1 สภาพดินฟ้าอากาศ สภาพพื้นที่ที่ขาดแคลนน้ า ควรแนะน าให้สมาชิกท า กิจกรรมอย่างอื่นที่ต้องการน้ าน้อย เช่น การปลูกผัก การเลี้ยงสัตว์ ในสภาพพื้นที่ที่มีปริมาณน้ ามาก สหกรณ์ ควรเร่งจัดระบบคันคลองส่งน้ า โดยขอความช่วยเหลือจากสมาชิกให้ช่วยเสียสละที่ดินบางส่วน 3.2 ที่ตั้งส านักงานของสหกรณ์ การจัดตั้งส านักงานสหกรณ์ควรค านึงถึงการคมนาคม ที่สะดวกติดต่อได้ง่าย มีความปลอดภัย 3.3 การจัดเก็บเอกสารในส านักงานสหกรณ์ เจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ควรให้ ค าแนะน าแก่เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์เกี่ยวกับ การจัดเก็บเอกสารตามระบบงานสารบัญ ตามความส าคัญของเอกสารและข้อมูล แต่ละประเภท สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีผลกำรด ำเนินงำนเด่น 1. สหกรณ์กำรเกษตรพังโคน จ ำกัด ๑. ปี ๒๕๕๓ ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ “สุดยอดนักขายน้ ามันใส ประเภทปั๊มน้ ามันชุมชน อันดับ ๒ จาก บริษัท บางจากปิโตเลียม จ ากัด (มหาชน) โครงการแข่งขันกิจกรรมตลาด ประจ าปี ๒๕๕๓ ๒. ปี ๒๕๕๔ ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ “สุดยอดนักขายน้ ามันใส ประเภทปั๊มน้ ามันชุมชน อันดับ ๓ จาก บริษัท บางจากปิโตเลียม จ ากัด (มหาชน) โครงการแข่งขันกิจกรรมตลาด ประจ าปี ๒๕๕๔ ๓. ปี ๒๕๕๖ ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ “สุดยอดนักขายน้ ามันใส ประเภทปั๊มน้ ามันชุมชน อันดับ ๓ จาก บริษัท บางจากปิโตเลียม จ ากัด (มหาชน) โครงการแข่งขันกิจกรรมตลาด ประจ าปี ๒๕๕๖ ๒. สหกรณ์กำรเกษตรเขตจัดรูปที่ดินพอกใหญ่ จ ำกัด ได้รับจัดสรรเงินอุดหนุนงบประมาณรายจ่ายจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ ตามโครงการดังนี้ ๑. ตลาดกลางข้าวเปลือกประจ าต าบล 1 แห่ง จ านวน 2,090,000.00 บาท ๒. โรงงานปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ จ านวน 13,171,000.00 บาท ๓. โรงหมักปุ๋ยพร้อมอุปกรณ์ จ านวน 165,900.00 บาท ๔. ห้องปฏิบัติการตรวจมาตรฐานเมล็ดพันธุ์ จ านวน 368,600.00 บาท รวมทั้งสิ้น จ านวน 15,795,500.00 บาท โครงกำรพัฒนำสหกรณ์ภำคกำรเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ ำเภอ สหกรณ์ภาคการเกษตรที่กระจายอยู่ทั่วประเทศไทยในปัจจุบัน เป็นองค์กรของประชาชนโดย ประชาชนและเพื่อประชาชน ซึ่งนับได้ว่าเป็นหน่วยเศรษฐกิจระดับฐานรากของภาคการเกษตรในระดับพื้นที่ได้ อย่างแท้จริง การบริหารงานของสหกรณ์ภาคการเกษตรมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนใน การประกอบอาชีพของมวลสมาชิกและชุมชน ใช้พลังของสมาชิกรวมตัวท าการผลิตแปลงใหญ่ สร้างอ านาจการ ต่อรองในการจัดหาปัจจัยการผลิต และก าหนดราคาขายผลผลิตในราคาที่ยุติธรรม เพื่อลดต้นทุน และรายได้ แก่สมาชิกเกษตรกร โดยใช้หลักการบริหารองค์กรด้วยวิธีการสหกรณ์ซึ่งมีความเป็นประชาธิปไตยและเน้นการ มีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์ในการก าหนดแนวทางการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 71 จากรายงานผลการด าเนินงานและฐานะการเงินของสหกรณ์ภาคการเกษตร ปี พ.ศ.2558 โดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์มีสหกรณ์การเกษตรทั้งสิ้น 4,337 แห่ง มีสหกรณ์ที่ด าเนินธุรกิจมีก าไรประมาณ ร้อยละ 71 ขณะที่ร้อยละ 29 ประสบปัญหาขาดทุนและมีข้อบกพร่องในการด าเนินงานโดยเฉพาะสหกรณ์ ภาคการเกษตรขนาดเล็ก ซึ่งมีความสามารถในการท าก าไรต่ า ท าให้ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ภาค การเกษตรในภาพรวมมีปัญหาต้นทุนในการด าเนินธุรกิจสูง ก าไรสุทธิลดลงจากปี 2557 ถึงร้อยละ 20.37 และมีความสามารถในการช าระหนี้ระยะยาวอยู่ในเกณฑ์ไม่ดีนัก ท าให้มีข้อจ ากัดในการพัฒนาสหกรณ์ ข้อมูลดังกล่าวสะท้อนว่าการจัดตั้งสหกรณ์ภาคการเกษตรขนาดเล็กในท้องถิ่นต่างๆ แม้จะ บริการสมาชิกได้อย่างใกล้ชิดและทั่วถึงทุกพื้นที่ในประเทศไทย แต่กลับประสบปัญหาการด าเนินงานมากขึ้น ขาดความเข้มแข็ง ท าให้ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในการสร้างอ านาจต่อรองของเกษตรกรได้ ซึ่งปัญหา เหล่านี้ นอกจากจะจ ากัดการเติบโตของสหกรณ์แล้ว ยังส่งผลจ ากัดผลสัมฤทธิ์ของนโยบายต่างๆ ของรัฐ เพราะ สหกรณ์ขนาดเล็กย่อมจะไม่สามารถใช้ทรัพยากรที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างมีประสิทธิภาพได้ และไม่ สามารถส่งผ่านนโยบายรัฐต่อชุมชนท้องถิ่นได้ดีเท่าสหกรณ์ขนาดใหญ่ ดังนั้น จึงเห็นควรใช้แนวทางการผลักดัน สหกรณ์ภาคการเกษตรในระดับอ าเภอให้มีความเข้มแข็ง เป็นตัวแทนส่งผ่านนโยบายของรัฐบาลไปช่วยเหลือ แก้ปัญหาให้แก่เกษตรกรในระดับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเป็นแกนหลักของการแก้ปัญหาและ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาท้องถิ่นและประสานความช่วยเหลือระหว่าง หน่วยงานภาครัฐกับเกษตรกร เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรให้ตรงเป้าหมาย และพัฒนาเศรษฐกิจฐาน รากเพื่อน าไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป และเพื่อให้การด าเนินงานตามโครงการดังกล่าวเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนด จึงได้จัดท า “โครงการพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอ าเภอ” ขึ้น


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 72 บุคลำกร ประกอบด้วย 1. นำยไพโรจน์ สีสด ต ำแหน่ง ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 2. นำยตระกูล กมลรัตน์ ต ำแหน่ง เจ้ำพนักงำนส่งเสริมสหกรณ์อำวุโส 3. นำยวิวัฒน์ สำนุศิษย์ ต ำแหน่ง นักวิชำกำรสหกรณ์ช ำนำญกำร 4. นำยสุขสันติจิตธรรม ต ำแหน่ง นักวิชำกำรสหกรณ์ปฏิบัติกำร 5. นำยปรำโมทย์ ค ำชมพู ต ำแหน่ง นักวิชำกำรสหกรณ์ 6. นำงสำวทิวำพร สำขำสุวรรณ ต ำแหน่ง เจ้ำพนักงำนส่งเสริมสหกรณ์ 7. นำยปัญญำวุฒิ อุ่นแก้ว ต ำแหน่ง พนักงำนบริกำรขับรถยนต์ 8. นำยเอก ศรีพรม ต ำแหน่ง พนักงำนบริกำรขับรถยนต์ ประกอบด้วย สหกรณ์ 24 แห่ง สมาชิก 15,009 คน กลุ่มเกษตรกร 22 แห่ง สมาชิก 2,217 คน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 อ ำเภอวำนรนิวำส, อ ำเภออำกำศอ ำนวย, อ ำเภอค ำตำกล้ำ, อ ำเภอบ้ำนม่วง, และอ ำเภอเจริญศิลป์


ประกอบด้วย สหกรณ์ 4 แห่ง สมาชิก 5,984 คน กลุ่มเกษ ผลกำรเข้ำแนะน ำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตำมระบบกำที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประเดจากา1 สหกรณ์การเกษตรวานรนิวาส จ ากัด 2 สหกรณ์ กรป.กลาง นพค. สกลนคร จ ากัด 3 สหกรณ์หมู่บ้านห้วยหิน จ ากัด 4 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนท่าแร่เพิ่มพูนทรัพย์ จ ากัด 5 กลุ่มเกษตรกรท านาหนองแวง 6 กลุ่มเกษตรกรท านาหนองแวงใต้ 7 กลุ่มเกษตรกรท านานาซอ 8 กลุ่มเกษตรกรท านาศรีวิชัย 9 กลุ่มเกษตรกรท านาคอนสวรรค์ 10 กลุ่มเกษตรกรท านาวานรนิวาส 11 กลุ่มเกษตรกรท านาขัวก่าย 12 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์คอนสวรรค์ อ าเภอวานรนิวาส


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 73 ษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 751 คน ำรส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) ด็นส่งเสริม รวิเคราะห์ สถานะ จ านวนแผน (ครั้ง) จ านวน รายงานผล แล้ว (ครั้ง) ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ด าเนินการ ยังไม่ ด าเนินการ 2 - 2 - 11 11 2 - 2 - 11 11 2 - 2 - 7 7 4 - 4 - 6 6 2 - 2 - 8 8 2 - 2 - 7 7 1 - 1 - 7 7 2 - 2 - 6 6 2 - 2 - 5 5 3 - 3 - 7 7 3 - 3 - 7 7 1 - 1 - 8 8 รายงานประจ าปี (Annual Report) 2560 73 Report14Report>


ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิก 2,968 คน กลุ่มเกษตรกร ผลกำรเข้ำแนะน ำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตำมระบบกำที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประเด็น ส่งเสริมจากวิเคราะห์1 สหกรณ์การเกษตรอากาศอ านวย จ ากัด 2 2 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนดอยทอย 2 3 สหกรณ์สมาพันธ์เกษตรกรอากาศ จ ากัด 1 4 กลุ่มเกษตรกรท านาโพนงาม 1 5 กลุ่มเกษตรกรท านาอากาศ 3 6 กลุ่มเกษตรกรท านาบะหว้า 2 อ าเภออากาศอ านวย


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 74 ร 3 แห่ง สมาชิก 249 คน ำรส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) าร สถานะ จ านวนแผน (ครั้ง) จ านวนรายงาน ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ผลแล้ว (ครั้ง) ด าเนินการ ยังไม่ ด าเนินการ - 2 - 10 10 - 2 - 11 11 - 1 - 2 2 - 1 - 3 3 - 3 - 6 6 - 2 - 6 6 รายงานประจ าปี (Annual Report) 2560 74 Report14Report>


ประกอบด้วย สหกรณ์ 5 แห่ง สมาชิก 2,372 คน กลุ่มเกษตรกร ผลกำรเข้ำแนะน ำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตำมระบบกำที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประเด็น ส่งเสริมจากวิเคราะห์1 สหกรณ์การเกษตรค าตากล้า จ ากัด 1 2 สหกรณ์การเกษตรหนองพอกใหญ่เจริญยางพารา จ ากัด 1 3 สหกรณ์การเกษตรผู้ใช้น้ าอ่างเก็บน้ าห้วยเชือก จ ากัด 5 4 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนนาแต้ไทยเจริญ จ ากัด 1 5 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองพอกใหญ่สามัคคี จ ากัด 1 6 กลุ่มเกษตรกรท านาค าตากล้า 1 7 กลุ่มเกษตรกรท านาหนองบัวสิม 1 อ าเภอค าตากล้า


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 75 ร 2 แห่ง สมาชิก 341 คน ำรส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) าร สถานะ จ านวนแผน (ครั้ง) จ านวนรายงาน ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ผลแล้ว (ครั้ง) ด าเนินการ ยังไม่ ด าเนินการ - 1 - 10 10 - 1 - 9 9 - 5 - 6 6 - 1 - 12 12 - 1 - 8 8 - 1 - 9 9 - 1 - 7 7 รายงานประจ าปี (Annual Report) 2560 75 Report14Report>


ประกอบด้วย สหกรณ์ 7 แห่ง สมาชิก 2,415 คน กลุ่มเกษตรก ผลกำรเข้ำแนะน ำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตำมระบบกำที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประเด็น ส่งเสริมจากวิเคราะห์1 สหกรณ์การเกษตรบ้านม่วง จ ากัด 3 2 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนห้วยหลัวสามัคคี จ ากัด 2 3 สหกรณ์กองทุนสวนยางศิลาอาสน์ จ ากัด 1 4 สหกรณ์การเกษตรชุมชนยางพาราโนนสะอาด จ ากัด 1 5 สหกรณ์กองทุนสวนยางสามแยกพิทักษ์ใต้ จ ากัด 3 6 สหกรณ์การเกษตรสกลนครก้าวหน้า จ ากัด 1 7 สหกรณ์การเกษตรดงหม้อทองใต้ จ ำกัด 1 8 กลุ่มเกษตรกรท านาห้วยหลัว 2 9 กลุ่มเกษตรกรท านาห้วยรังแร้ง 1 10 กลุ่มเกษตรกรท านาโนนสะอาด 1 11 กลุ่มเกษตรกรท านาหนองกวั่ง 3 อ าเภอบ้านม่วง


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 76 กร 4 แห่ง สมาชิก 341 คน ำรส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) าร สถานะ จ านวนแผน (ครั้ง) จ านวนรายงาน ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ผลแล้ว (ครั้ง) ด าเนินการ ยังไม่ ด าเนินการ - 3 - 11 11 - 2 - 11 11 - 1 - 9 9 - 1 - 8 8 - 3 - 7 7 - 1 - 5 5 - 1 - 5 5 - 2 - 5 5 - 1 - 8 8 - 1 - 5 5 - 3 - 7 7 รายงานประจ าปี (Annual Report) 2560 76 Report14Report>


ประกอบด้วย สหกรณ์ 5 แห่ง สมาชิก 1,270 คน กลุ่มเกษ ผลกำรเข้ำแนะน ำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตำมระบบกำที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประเด็น ส่งเสริมจากวิเคราะห์1 สหกรณ์การเกษตรเจริญศิลป์ จ ากัด 1 2 สหกรณ์การเกษตรดงบาก จ ากัด 1 3 สหกรณ์การเกษตรเจริญศิลป์พัฒนา จ ากัด 1 4 สหกรณ์การเกษตรรักสันติสกลนคร จ ากัด 1 5 สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงสุกรเจริญศิลป์ จ ากัด 1 6 กลุ่มเกษตรกรท านาโคกศิลา 1 7 กลุ่มเกษตรกรท านาหนองแปน 1 8 กลุ่มเกษตรกรท านาทุ่งแก 1 9 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์โคกศิลา 1 10 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์เจริญศิลป์ 1 อ าเภอเจริญศิลป์


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 77 ษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 535 คน ำรส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) าร สถานะ จ านวนแผน (ครั้ง) จ านวนรายงาน ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ผลแล้ว (ครั้ง) ด าเนินการ ยังไม่ ด าเนินการ - 1 - 18 18 - 1 - 6 6 - 1 - 6 6 - 1 - 6 6 - 1 - 6 6 - 1 - 5 5 - 1 - 5 5 - 1 - 4 4 - 1 - 5 5 - 1 - 8 8 รายงานประจ าปี (Annual Report) 2560 77 Report14Report>


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 78 1. ปัญหำ/อุปสรรคในกำรด ำเนินงำนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหาด้านสมาชิก 1.1 ขาดคุณสมบัติตามข้อบังคับของสหกรณ์ สาเหตุมาจากการขาดความเข้มงวด ในการรับสมาชิก สหกรณ์ หรือมีการเล่นพรรคเล่นพวก ท าให้ได้สมาชิกที่ขาดคุณสมบัติตามข้อบังคับของ สหกรณ์ สมาชิกเหล่านี้มักจะเข้ามาแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวเป็นใหญ่ ขอกู้ยืมเงินแล้วไม่ส่งเงินตาม สัญญา ซื้อวัสดุการเกษตรจากสหกรณ์ไปจ าหน่าย ท าให้สมาชิกที่มีความต้องการใช้ปัจจัยการผลิตดังกล่าว ไม่มีโอกาสที่จะได้ ซึ่งเป็นผลเสียหายต่อสมาชิกและภาพพจน์ของสหกรณ์ 1.2 สมาชิกขาดความภักดีต่อสหกรณ์ สมาชิกไม่เข้าร่วมประชุมใหญ่ท าให้ไม่สามารถ รับรู้ความเป็นไปของสหกรณ์ เกี่ยวกับการจ าหน่ายผลิตผลก็เช่นกัน สมาชิกมักจะน าผลิตผลไปจ าหน่าย ให้แก่พ่อค้าคนกลางในกรณีที่พ่อค้าคนกลาง รับซื้อผลิตผลในราคาที่สูงกว่าที่สหกรณ์ตั้งไว้เพียง เล็กน้อย 1.3 สมาชิกขาดความร่วมมือและส่งเสริมงานสหกรณ์ ปัญหาที่ส าคัญคือ ธุรกิจการ ให้เงินกู้แก่สมาชิก ถ้าสมาชิกไม่ให้ความร่วมมือในการส่งเงินกู้คืนให้แก่สหกรณ์ ส่งเงินกู้ช้า ก็จะเป็นผลเสียต่อ สมาชิกโดยส่วนรวม เพราะสหกรณ์ไม่มีเงินที่จะน าไปส่งคืนแก่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และไม่ได้รับอนุมัติให้ขยายวงเงินกู้ในปีต่อไป ท าให้สถานการณ์ทางด้านการเงินของสหกรณ์ต้องชะงักตัว 1.4 สมาชิกไม่ศรัทธาในงานสหกรณ์เกษตรกรที่เข้ามาเป็นสมาชิกโดยการถูกชักจูง หลังจากที่เป็นสมาชิกแล้วเมื่อสหกรณ์ไม่สามารถอ านวยประโยชน์ให้ได้ในเวลาอันสมควรสมาชิกเหล่านี้ก็จะ เกิดความเบื่อหน่าย และขาดความศรัทธาในงานสหกรณ์ 2. ปัญหาด้านคณะกรรมการด าเนินการ 2.1 ขาดประสบการณ์ในการบริหารงานสหกรณ์ 2.2 ไม่อุทิศเวลาเพื่องานสหกรณ์ กรรมการบางคนแสวงหาผลประโยชน์จาก สหกรณ์ในทางการเงิน หรือเข้ามาเพื่อสร้างฐานอ านาจทางการเมืองท าให้กรรมการที่จะอุทิศตนเพื่องาน สหกรณ์มีน้อยมาก 2.3 ไม่ท าตัวให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่สมาชิก คณะกรรมการบางคนมีหนี้ค้างช าระ อยู่กับสหกรณ์ ท าให้สมาชิกเอาเป็นตัวอย่างที่ไม่ดี ท าให้คณะกรรมการไม่กล้าออกไปติดตามทวงหนี้จาก สมาชิกที่ค้างช าระ 2.4 ขาดความซื่อสัตย์ เช่น คณะกรรมการน าเงินมาใช้ส่วนตัว พิจารณาอนุมัติ เงินกู้เฉพาะญาติพี่น้องท าให้เกิดความไม่เป็นธรรม สมาชิกขาดความเลื่อมใส 2.5 คณะกรรมการด าเนินการส่วนใหญ่เป็นคณะกรรมการที่หมุนเวียนเข้ามาเป็นคณะกรรมการ ตามวาระที่กฎหมายก าหนด ไม่มีประสบการณ์ในการเป็นคณะกรรมการด าเนินงาน 2.6 ปัญหาอื่น ๆ o กรรมการได้รับเลือกตั้งโดยที่ตัวเองไม่สมัครใจ ท าให้ต้องเข้ารับ ต าแหน่งด้วยความจ าใจ o คณะกรรมการด าเนินการเข้ามาท างานในสหกรณ์วันละหลาย ๆ คน ทั้ง ๆ ที่งาน ในสหกรณ์มีน้อยมากท าให้ สหกรณ์มีค่าใช้จ่ายสูง


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 79 3. ปัญหำด้ำนกำรจัดกำร 3.1 การจัดการขาดประสิทธิภาพและทุจริต งานจัดการเป็นงานที่ต้องใช้ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีความรับผิดชอบจึงต้องจ้างในอัตราเงินเดือนสูง เนื่องจากสหกรณ์มีทุนน้อยท าให้ไม่สามารถจัด จ้างผู้จัดการสหกรณ์ที่มีความสามารถได้ในทางปฏิบัติจึงมักจะให้กรรมการสหกรณ์ท าหน้าที่การจัดการด้วยอีก ต าแหน่งหนึ่ง ท าให้เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์มีจ านวนน้อย พนักงานสหกรณ์หนึ่งคนจึงต้องท างานหลาย หน้าที่ โอกาสทุจริตจึงมีได้โดยง่าย 3.2 การจัดการขาดการประสานงาน เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่ไม่รู้ขอบเขตอ านาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของแต่ละหน่วย ท าให้เกิดปัญหาการก้าวก่ายหน้าที่ซึ่งกันและกัน 4. ปัญหำด้ำนเจ้ำหน้ำที่ของทำงรำชกำร หน่วยงานที่รับผิดชอบต่อสหกรณ์โดยตรง ได้แก่ กรมส่งเสริมสหกรณ์เจ้าหน้าที่ที่ รับผิดชอบงานสหกรณ์ที่ท างานใกล้ชิดสมาชิกมากที่สุดในส่วนภูมิภาคได้แก่ สหกรณ์อ าเภอ เกษตรและ สหกรณ์จังหวัด ปัญหาที่เกิดขึ้นจากเจ้าหน้าที่ดังกล่าวพอสรุปได้ดังนี้ 4.1 การก าหนดขอบเขตหน้าที่กว้างเกินไปการที่เจ้าหน้าที่ของทาง ราชการมีความรับผิดชอบหลายด้านเกินไปท าให้ไม่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างครบทุกอย่าง ท าให้เจ้าหน้าที่ เหล่านี้ลืมหน้าที่ที่ส าคัญยิ่งประการหนึ่ง คือการให้การศึกษาอบรมหลักการสหกรณ์ให้แก่สมาชิกได้รับทราบ 4.2 ขาดความเข้มงวดในการตรวจสอบ สืบเนื่องมาจากเจ้าหน้าที่มีหน้าที่ที่ต้อง รับผิดชอบมากเกินไป ท าให้ไม่สามารถตรวจสอบ ก ากับ แนะน าทางด้านการบัญชีของสหกรณ์ได้อย่าง ละเอียด จึงเปิดโอกาสให้มีการทุจริตในสหกรณ์มากขึ้น 4.3 การโยกย้ายเจ้าหน้าที่บ่อยเกินไป การโยกย้ายข้าราชการบ่อยเกินไปท าให้ เกิดผลเสียต่อการประสานงานต่อระหว่างเจ้าหน้าที่คนเดิมกับเจ้าหน้าที่คนใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานสหกรณ์ เป็นงานที่จะต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาที่ต้องด าเนินการติดต่อกันเป็น เวลาหลายปี 5. ปัญหำด้ำนกำรด ำเนินธุรกิจ ธุรกิจของสหกรณ์การเกษตรที่มีปัญหา มีดังนี้ 5.2 ธุรกิจการให้กู้ยืมเงิน มีปัญหาดังนี้ o จ านวนเงินที่ให้สมาชิกกู้ยืมน้อยเกินไปไม่เพียงพอต่อการด าเนินงาน o สมาชิกไม่ส่งช าระหนี้ได้ตามสัญญา ซึ่งมีสาเหตุมาจากการประกอบการเกษตรที่ไม่ได้ผล ไม่เข้าใจหลักการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ดีพอ น าเงินกู้ไปใช้ไม่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ o ธุรกิจการซื้อ คือ ธุรกิจในการจัดหาวัสดุการเกษตรมาจ าหน่ายแก่สมาชิกมีความส าคัญ รองลงมาจากธุรกิจการให้กู้เงิน ปัญหาที่เกิดขึ้นมีดังนี้ - สินค้าที่สหกรณ์จัดมาจ าหน่ายให้แก่สมาชิก มีมูลค่าเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับความ ต้องการซื้อสินค้าทั้งหมดของสมาชิก - การจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก ไม่ได้มีการส ารวจความต้องการของสมาชิกเสียก่อน ท าให้สินค้าบางรายการขายไม่ได้ เสื่อมคุณภาพ มีผลเสียต่อทุนหมุนเวียนของสหกรณ์


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 80 o ธุรกิจการขาย มีปัญหาดังนี้ - สหกรณ์ไม่สามารถรับซื้อผลผลิตการเกษตรจากสมาชิกได้ตาม เป้าหมาย ทั้งนี้เนื่องจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น สหกรณ์ขาดเงินทุนด าเนินงาน สมาชิกสหกรณ์ไม่ให้ความ ร่วมมือ - สหกรณ์ขาดอุปกรณ์การตลาด เช่น รถยนต์ โรงสี โกดังเก็บสินค้า เครื่องชั่ง ตวง วัด ที่ได้มาตรฐานและทันสมัย ทั้งนี้เนื่องจากขาดเงินทุนในการจัดหา 6. ธุรกิจรับฝำกเงิน 6.1 สหกรณ์มีการรับฝากเงินจากบุคคลภายนอก ซึ่งการปฏิบัติดังกล่าวไม่เป็นไปตาม พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 46 (5) และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตา 9 แห่งพระราชบัญญัติ สหกรณ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 ข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์ที่ก าหนดให้สหกรณ์รับฝากเงินจากสมาชิก หรือสหกรณ์ หรือสามาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ซึ่งมีสมาชิกของสมาคมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งเป็นสมาชิกของ สหกรณ์ผู้ฝากเงิน ทั้งนี้ ตามระเบียบของสหกรณ์ที่ได้รับความเห็นชอบของนายทะเบียนสหกรณ์ เท่านั้น 7. ปัญหำอื่น ๆ 7.1 สมาชิกส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ระหว่างปีสมาชิกประสบปัญหาน้ าท่วมผลิตผลเสียหาย ปัญหาดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อการช าระหนี้ของลูกหนี้ได้ 7.2 ที่ตั้งส านักงานอยู่ห่างไกลชุมชน 7.3 การจัดเก็บเอกสารในส านักงานสหกรณ์ขาดความเป็นระเบียบ ยากแก่การค้นหา เปิด ช่องทางให้มีการทุจริตได้ง่าย ในกรณีที่เอกสารเกิดช ารุดหาย ข้อเสนอแนะ/แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ 1. การแก้ไขปัญหาด้านบุคคล - ด้านสมาชิก สมาชิกของสหกรณ์การเกษตรบางส่วนไม้ได้ประกอบอาชีพ ทางด้านเกษตร มีสาเหตุมาจากปัจจัย 2 ประการ คือ 1. ความรีบเร่งในการจัดตั้ง ขั้นแรกต้องหาสมาชิกให้ครบตามจ านวนเพื่อ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาล 2. การพิจารณาบุคคลเข้าเป็นสมาชิก มีการเล่นพรรคเล่นพวก วิธีการแก้ไขคือ ชี้แจงปัญหาและข้อเท็จจริงให้กับสมาชิกที่ไม่ได้ประกอบอาชีพ การเกษตรลาออกจากการเป็นสมาชิกเสีย เพราะมีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนตามระเบียบข้อบังคับ และในการ คัดเลือกสมาชิกครั้งต่อไปควรต้องเข้มงวดมากขึ้นส่วนปัญหาเกี่ยวกับสมาชิกขาดความภักดีไม่ให้ความร่วมมือ และไม่ศรัทธาในสหกรณ์ สามารถแก้ไขได้โดยจัดให้มีการศึกษาอบรมแก่สมาชิกโดยสม่ าเสมอ ด้านคณะกรรมการด าเนินการ ปัญหาที่ส าคัญ คือ คณะกรรมการขาดความรู้ ความสามารถในหลายด้าน ขาดความซื่อสัตย์ และไม่อุทิศเวลาให้กับงานสหกรณ์อย่างแท้จริง วิธีการแก้ไข คือ การเลือกตั้งคณะกรรมการจะต้องเลือกตั้งจากผู้ที่มีความรู้ความสามารถมีประสบการณ์เกี่ยวกับการ บริหารงานสหกรณ์ เป็นผู้ที่สามารถเสียสละเวลาให้กับสหกรณ์ได้อย่างเต็มที่มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความเต็มใจที่จะเข้ามาบริหารงานสหกรณ์ การเลือกตั้งคณะกรรมการแต่ละครั้งควรจะมีเจ้าหน้าที่ สหกรณ์อ าเภอ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดให้ค าแนะน าและควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 81 ปัญหาที่ส าคัญ คือ สหกรณ์ไม่มีทุนเพียงพอที่จะจัดจ้างผู้จัดการที่มีความรู้ ความสามารถได้ แนวทางแก้ปัญหา คือ รัฐบาลต้องให้ความช่วยเหลือโดยการให้เงินสนับสนุนสหกรณ์เพื่อใช้ ส าหรับเป็นเงินค่าจัดจ้างผู้จัดการ หรือเจ้าหน้าที่บางต าแหน่งที่มีความจ าเป็น ด้านเจ้าหน้าที่ คือ เจ้าหน้าที่ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับงานสหกรณ์ มีแนวทำงแก้ปัญหำดังนี้ 1. พิจารณา เพิ่มอัตราก าลังของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ให้มากยิ่งขึ้น เพื่อให้ เหมาะสมกับงานที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะอัตราก าลังในระดับอ าเภอ ไม่สมควรอย่างยิ่งที่จะปล่อยให้มี ต าแหน่งว่างโดยไม่มีผู้ปฏิบัติงาน 2. จัดให้การศึกษาอบรม และสัมมนาวิชาการแก่เจ้าหน้าที่เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน 3. ปัญหาเรื่องการโยกย้ายข้าราชการบ่อยเกินไป สามารถแก้ไขได้โดยคัดเลือก เจ้าหน้าที่ที่มีภูมิล าเนาอยู่ในต าบลนั้นให้ปฏิบัติงานสหกรณ์ในท้องที่นั้น ๆ เพื่อป้องกันการขอโยกย้ายภายหลัง หรืออาจก าหนดระยะเวลาน้อยที่สุดที่ข้าราชการจะต้องปฏิบัติงานในท้องที่นั้นๆไว้ตายตัวก็ได้ 4. การตรวจสอบแนะน า ควรเพิ่มอัตราก าลังในการตรวจสอบบัญชีของสหกรณ์ ให้มากขึ้นในการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ไม่ควรตรวจสอบเฉพาะเอกสารของสหกรณ์แต่เจ้าหน้าที่ควรออกเดิน สอบถามสมาชิกรายบุคคล ทั้งนี้เพื่อจะได้ทราบแนวทางการปฏิบัติงานของสหกรณ์ได้ดียิ่งขึ้น กำรแก้ไขปัญหำด้ำนธุรกิจ 1. ธุรกิจการให้เงินกู้ ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ สมาชิกไม่ส่งช าระเงินกู้คืนตามสัญญา แนวทางแก้ปัญหา คือ 1.1 ก่อนถึงก าหนดช าระหนี้ไม่น้อยกว่า 15 วัน สหกรณ์ควรออกหนังสือเตือนให้ สมาชิกน าเงินมาช าระหนี้ 1.2 ให้ประธานกลุ่มช่วยออกติดตามเร่งรัดการช าระหนี้ 1.3 เจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมสหกรณ์เรียกประชุมกลุ่ม เพื่อเร่งรัดการช าระหนี้ 1.4 ออกติดตามถึงบ้านเรือนเป็นรายคน 1.5 ใช้หนังสือเรียกพบเป็นรายบุคคล ในกรณีที่สมาชิกยังฝ่าฝืนควรด าเนินคดี จนถึงที่สุด เพื่อไม่ให้เป็นตัวอย่างแก่สมาชิกคนอื่นๆ ก่อนจะให้เงินกู้แก่สมาชิกแต่ละครั้งควรปฏิบัติดังนี้ - พิจารณาค าขอกู้โดยละเอียด - พิจารณาประวัติการช าระหนี้ - ตรวจสอบการใช้เงินของสมาชิก กรณีที่สมาชิกใช้เงินกู้ไม่ถูกต้องตาม วัตถุประสงค์ควรเรียกเงินกู้นั้นคืน 1.2 ธุรกิจการรับฝากเงิน สหกรณ์ควรหาวิธีการชักจูงให้สมาชิกน าเงินมาฝากไว้กับ สหกรณ์เพิ่มขึ้น เช่น จัดหารางวัลประจ าปีให้แก่สมาชิกที่น าเงินมาฝากกับสหกรณ์อย่างสม่ าเสมอ


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 82 1.3 ธุรกิจการขาย สหกรณ์การเกษตรจะสามารถรวบรวมผลผลิตออกขายได้มากน้อยแค่ไหนนั้น ต้อง แก้ไขปัญหาต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน คือ 1. สหกรณ์จะต้องมีเงินทุนพอเพียงในการรับซื้อ 2. มีตลาดขายสินค้า 3. มีอุปกรณ์การตลาดที่พร้อม เช่น โกดังเก็บสินค้า ยานพาหนะ 4. เจ้าหน้าที่สหกรณ์มีความรู้เรื่องธุรกิจการค้าและมีความซื่อสัตย์ 5. ต้องได้รับความร่วมมือจากสมาชิก กำรแก้ไขปัญหำด้ำนอื่นๆ 1. สภาพดินฟ้าอากาศ สภาพพื้นที่ที่ขาดแคลนน้ า ควรแนะน าให้สมาชิกท า กิจกรรมอย่างอื่นที่ต้องการน้ าน้อย เช่น การปลูกผัก การเลี้ยงสัตว์ ในสภาพพื้นที่ที่มีปริมาณน้ ามาก สหกรณ์ ควรเร่งจัดระบบคันคลองส่งน้ า โดยขอความช่วยเหลือจากสมาชิกให้ช่วยเสียสละที่ดินบางส่วน 2. ที่ตั้งส านักงานของสหกรณ์ การจัดตั้งส านักงานสหกรณ์ควรค านึงถึงการคมนาคม ที่สะดวกติดต่อได้ง่าย มีความปลอดภัย 3. การจัดเก็บเอกสารในส านักงานสหกรณ์ เจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ควรให้ค าแนะน าแก่ เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์เกี่ยวกับการจัดเก็บเอกสารตามระบบงานสารบัญ ตามความส าคัญของเอกสารและ ข้อมูล แต่ละประเภท โครงกำรพัฒนำสหกรณ์ภำคกำรเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ ำเภอ สหกรณ์ภาคการเกษตรที่กระจายอยู่ทั่วประเทศไทยในปัจจุบัน เป็นองค์กรของประชาชน โดยประชาชนและเพื่อประชาชน ซึ่งนับได้ว่าเป็นหน่วยเศรษฐกิจระดับฐานรากของภาคการเกษตรในระดับ พื้นที่ได้อย่างแท้จริง การบริหารงานของสหกรณ์ภาคการเกษตรมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อแก้ไขปัญหาความ เดือดร้อนในการประกอบอาชีพของมวลสมาชิกและชุมชน ใช้พลังของสมาชิกรวมตัวท าการผลิตแปลงใหญ่ สร้างอ านาจการต่อรองในการจัดหาปัจจัยการผลิต และก าหนดราคาขายผลผลิตในราคาที่ยุติธรรม เพื่อลด ต้นทุน และรายได้แก่สมาชิกเกษตรกร โดยใช้หลักการบริหารองค์กรด้วยวิธีการสหกรณ์ซึ่งมีความเป็น ประชาธิปไตยและเน้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์ในการก าหนดแนวทางการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ จากรายงานผลการด าเนินงานและฐานะการเงินของสหกรณ์ภาคการเกษตร ปี พ.ศ.2558 โดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์มีสหกรณ์การเกษตรทั้งสิ้น 4,337 แห่ง มีสหกรณ์ที่ด าเนินธุรกิจมีก าไรประมาณ ร้อยละ 71 ขณะที่ร้อยละ 29 ประสบปัญหาขาดทุนและมีข้อบกพร่องในการด าเนินงานโดยเฉพาะสหกรณ์ ภาคการเกษตรขนาดเล็ก ซึ่งมีความสามารถในการท าก าไรต่ า ท าให้ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ภาค การเกษตรในภาพรวมมีปัญหาต้นทุนในการด าเนินธุรกิจสูง ก าไรสุทธิลดลงจากปี 2557 ถึงร้อยละ 20.37 และมีความสามารถในการช าระหนี้ระยะยาวอยู่ในเกณฑ์ไม่ดีนัก ท าให้มีข้อจ ากัดในการพัฒนาสหกรณ์ ข้อมูลดังกล่าวสะท้อนว่าการจัดตั้งสหกรณ์ภาคการเกษตรขนาดเล็กในท้องถิ่นต่างๆ แม้จะ บริการสมาชิกได้อย่างใกล้ชิดและทั่วถึงทุกพื้นที่ในประเทศไทย แต่กลับประสบปัญหาการด าเนินงานมากขึ้น ขาดความเข้มแข็ง ท าให้ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในการสร้างอ านาจต่อรองของเกษตรกรได้ ซึ่งปัญหา เหล่านี้ นอกจากจะจ ากัดการเติบโตของสหกรณ์แล้ว ยังส่งผลจ ากัดผลสัมฤทธิ์ของนโยบายต่างๆ ของรัฐ เพราะ สหกรณ์ขนาดเล็กย่อมจะไม่สามารถใช้ทรัพยากรที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างมีประสิทธิภาพได้ และไม่


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 83 สามารถส่งผ่านนโยบายรัฐต่อชุมชนท้องถิ่นได้ดีเท่าสหกรณ์ขนาดใหญ่ ดังนั้น จึงเห็นควรใช้แนวทางการผลักดัน สหกรณ์ภาคการเกษตรในระดับอ าเภอให้มีความเข้มแข็ง เป็นตัวแทนส่งผ่านนโยบายของรัฐบาลไปช่วยเหลือ แก้ปัญหาให้แก่เกษตรกรในระดับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเป็นแกนหลักของการแก้ปัญหาและ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาท้องถิ่นและประสานความช่วยเหลือระหว่าง หน่วยงานภาครัฐกับเกษตรกร เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรให้ตรงเป้าหมาย และพัฒนาเศรษฐกิจฐาน รากเพื่อน าไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป และเพื่อให้การด าเนินงานตามโครงการดังกล่าวเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนด จึงได้จัดท า “โครงการพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอ าเภอ” ขึ้น


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 84 ผลกำรปฏิบัติงำน/โครงกำรตำมแผนปฏิบัติงำนและงบประมำณรำยจ่ำย ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 งำน/โครงกำรเด่น ๑. โครงกำรพัฒนำกลุ่มอำชีพสร้ำงมูลค่ำเพิ่มในสังกัดสถำบันเกษตรกร จังหวัดสกลนคร ประจ ำปีงบประมำณ ๒๕60 วัตถุประสงค์ของโครงกำร ตามที่รัฐบาลมีนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนโดยส่งเสริมการรวมกลุ่ม ร่วมกันพัฒนาการประกอบอาชีพทั้งด้านการผลิต การตลาด มุ่งเน้นกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น สร้างชุมชนให้แข็งแรง พึ่งตนเองได้ และนโยบายของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ซึ่งมุ่งเน้นความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) และสถานที่ประกอบการและกระบวนการผลิต ให้ได้การรับรองมาตรฐานตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ( Good Manufacturing Practice : GMP ) ส าหรับกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มที่ใช้วัตถุดิบหลักจากพืช ปศุสัตว์และและสัตว์น้ า รวมทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต ตั้งแต่การพัฒนาวัตถุดิบ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์นั้น สอดคล้องกับนโยบายกรมส่งเสริมสหกรณ์ ที่ได้ส่งเสริมกลุ่มผู้ผลิต โดยใช้หลักการ วิธีการสหกรณ์ ที่มีจุดหมาย ให้สมาชิกมีความเป็นอยู่หรือคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยการรวมกลุ่มร่วมมือกันพึ่งพาตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกัน และกันภายในชุมชน สร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มผู้ผลิต รวมไปถึงชุมชน ท าให้เกิดการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจ และสังคมโดยรวม จนปัจจุบัน มีกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีคุณสมบัติความเป็นกลุ่มจ านวน ๓,๖๕๗ กลุ่ม (ข้อมูลจากการส ารวจของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ณ เมษายน ๒๕๕๗) แต่เนื่องจากกลุ่มเหล่านี้ มีการด าเนินธุรกิจหลากหลายประเภท มีศักยภาพการผลิต การตลาดแตกต่างกันหลายระดับ ปัจจุบันหลาย กลุ่มจึงยังคงมีปัญหาด้านการควบคุมคุณภาพให้มีความสม่ าเสมอ การผลิตไม่ต่อเนื่อง ซึ่งปัญหาดังกล่าวข้างต้น โดยเฉพาะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์มีความหลากหลาย ทั้งด้านเกี่ยวกับพืช ปศุสัตว์ และประมง มีความเกี่ยวข้องกับหน่วยงานภาครัฐต่างๆ เช่น กรมการข้าว กรมปศุสัตว์ กรมประมง กรม วิชาการเกษตร อุตสาหกรรมจังหวัด และพาณิชย์จังหวัดเป็นต้น ดังนั้น หากมีการส่งเสริมพัฒนาการด าเนิน ธุรกิจ ทั้งด้านการผลิต การตลาด การสร้างมูลค่าเพิ่มให้ตัวสินค้า รวมถึงการบริหารจัดการองค์กร การเงินและ บัญชี โดยบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะท าให้กลุ่มผู้ผลิตสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดี เป็นที่ ยอมรับของผู้บริโภค กลุ่มผู้ผลิตก็จะมีรายได้เพิ่มขึ้น สามารถประกอบอาชีพได้อย่างต่อเนื่อง และแก้ไขปัญหา ความยากจนและลดความเหลื่อมล้ า กรมส่งเสริมสหกรณ์จึงได้จัดท าโครงการพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่ม ในสังกัดสถาบันเกษตรกร โดยให้ภาครัฐสนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จะช่วยสร้างมูลค่าเพิ่ม และส่งเสริมแนะน า ในการผลิต การสร้างมูลค่าเพิ่ม สถาบันเกษตรกรต้นสังกัดมีบทบาทในการรวมซื้อปัจจัยการผลิต การรวบรวม ผลผลิตไปจกหน่าย การส่งเสริมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ การให้สินเชื่อ การเป็นที่ปรึกษาในการบริหารจัดการ การเงิน บัญชี ฯลฯ รวมทั้งเชื่อมโยงกับภาคเอกชน อาทิ หอการค้า สมาคม สมาพันธ์ ห้างสรรพสินค้า แบบ เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน สร้างความร่วมมือ ลดการแข่งขัน และช่วยเหลือกันในการด าเนินธุรกิจ ท าให้ทุก ฝ่ายสามารถด าเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน รวมทั้งเป็นการลดต้นทุนการผลิตการตลาด และเพิ่มปริมาณ


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 85 ธุรกิจ เพิ่มรายได้ สร้างความเข้มแข็งกลุ่มผู้ผลิต/สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร อันเป็นองค์กรของประชาชนในชุมชน เป็นการส่งเสริมให้พึ่งพากันเองในชุมชน ก่อให้เกิดการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่าง ยั่งยืน รวมทั้งเป็นการลดภาระของรัฐบาลในอนาคตต่อไป ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ได้รับการจัดสรรงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ รายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานพัฒนาเศรษฐกิจระดับฐานราก และชุมชนเข้มแข็ง กิจกรรมหลักพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัดสถาบันเกษตรกร กิจกรรมรองพัฒนา กลุ่มอาชีพในสถาบันเกษตรกรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม เพื่อให้ส านักงานสหกรณ์จังหวัดด าเนินการจัดประชุมท า แผนพัฒนาธุรกิจ ของกลุ่ม พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าของกลุ่มอาชีพให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน และสนับสนุนเงิน อุดหนุนปัจจัยพื้นฐานการผลิต การตลาด และการแปรรูปสินค้ากลุ่มอาชีพในสังกัดสถาบันเกษตรกร สร้าง มูลค่าเพิ่มสินค้าของกลุ่มอาชีพในสังกัดสถาบันเกษตรกร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการจัดท าแผนพัฒนากลุ่มผู้ผลิตในสังกัดสถาบันเกษตรกรอย่างมีทิศทาง 2. เพื่อสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานพัฒนาให้กลุ่มอาชีพในสังกัดสถาบันเกษตรกรในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ ได้คุณภาพและมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 3. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าของกลุ่มอาชีพในสังกัดสถาบันเกษตรกร กิจกรรม/วิธีกำรด ำเนินงำน กิจกรรม 1. การส ารวจข้อมูลสมาชิกกลุ่มอาชีพ เช่น การประกอบอาชีพ รายได้ครัวเรือน เพื่อจัดท าฐานข้อมูล สมาชิกกลุ่ม 2. การจัดเวทีประชุมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์กลุ่ม จัดท าแผนพัฒนาธุรกิจเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้ คุณภาพ และมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของกลุ่ม 3. การสนับสนุนเงินอุดหนุนเพื่อพัฒนาปัจจัยพื้นฐานให้กลุ่มอาชีพ ผ่านทางสถาบันเกษตรกรต้นสังกัด ของกลุ่ม ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของตลาด รวมทั้ง สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของกลุ่ม 4. ประสานงาน ติดตาม ประเมินผลการด าเนินกิจกรรมการพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขปัญหาอุปสรรค และรายงานผลการด าเนินงาน และสรุปผลโครงการ วิธีกำรด ำเนินงำน กิจกรรม การจัดเวทีประชุมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์กลุ่ม จัดท าแผนพัฒนาธุรกิจของกลุ่ม การด าเนินการ/หัวข้อการประชุม 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจของกลุ่ม 2. มุ่งเน้นการระดมความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และด าเนินการจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจ เป้าหมาย กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ จ านวน 2 กลุ่มๆ ละ 1 ครั้งๆ ละ 20 คน รวม 40 คน 1. กลุ่มสตรีและเยาวชนแปรรูปผลิตภัณฑ์บ้านขาไก่ จ านวน 20 คน 2. กลุ่มผลิตข้าวฮางบ้านนาเลา จ านวน 20 คน ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินการ วันที่ 3 – 4 พฤศจิกายน 2559 ณ ที่ท าการกลุ่มอาชีพ ทั้งนี้ วัน เวลา และสถานที่ อาจเปลี่ยนแปลง ได้ตามความเหมาะสม


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 86 งบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 แผนงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชน เข้มแข็ง กิจกรรมหลักพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัดสถาบันเกษตรกร กิจกรรมรองพัฒนากลุ่มอาชีพ ในสถาบันเกษตรกรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม เป็นเงิน 10,800 บาท (หนึ่งหมื่นแปดร้อยบาทถ้วน) โดยทุกรายการ สามารถถัวจ่ายกันได้ภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัติ รายละเอียดดังนี้ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คนๆละ ๒ มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท ๒. ค่าอาหารกลางวัน 40 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 13๐ บาท เป็นเงิน 5,200 บาท 3. ค่าวัสดุอบรม 40 คนๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท รวมทั้งสิ้น เป็นเงิน 10,800 บาท กิจกรรม สนับสนุนเงินอุดหนุนเพื่อพัฒนาปัจจัยพื้นฐานให้กลุ่มอาชีพ ผ่านทางสถาบันเกษตรกร ต้นสังกัดของกลุ่ม การด าเนินการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสนับสนุนเงินอุดหนุนเพื่อพัฒนาปัจจัยพื้นฐานให้กลุ่มอาชีพ ผ่านทางสถาบันเกษตรกรต้นสังกัดของกลุ่ม ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน สอดคล้อง กับความต้องการของตลาด รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของกลุ่ม เป้าหมาย กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ จ านวน 2 กลุ่ม 1. กลุ่มสตรีและเยาวชนแปรรูปผลิตภัณฑ์บ้านขาไก่ สังกัดสหกรณ์การเกษตรกุสุมาลย์ จ ากัด 1.1 จักรพ่วง จ านวน 1 เครื่อง 1.2 เครื่องตัดผ้า จ านวน 1 เครื่อง 1.3 เตารีด จ านวน 2 เครื่อง 2. กลุ่มผลิตข้าวฮางบ้านนาเลา สังกัดสหกรณ์ผลิตข้าวครบวงจรศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน จ ากัด 2.1 เครื่องสีข้าวกล้อง ข้าวขาว จ านวน 1 เครื่อง ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินการ : เดือนธันวาคม 2559 งบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 แผนงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และชุมชนเข้มแข็ง กิจกรรมหลักพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัดสถาบันเกษตรกร กิจกรรมรองพัฒนา กลุ่มอาชีพในสถาบันเกษตรกรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม กิจกรรมสนับสนุนเงินอุดหนุนเพื่อพัฒนาปัจจัยพื้นฐานให้ กลุ่มอาชีพ ผ่านทางสถาบันเกษตรกร ต้นสังกัดของกลุ่มเป็นเงิน 86,00 บาท (แปดหมื่นหกพันบาทถ้วน) รายละเอียดดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรกุสุมาลย์ จ ากัด กลุ่มสตรีและเยาวชนแปรรูปผลิตภัณฑ์บ้านขาไก่ จ านวน 28,000 บาท ประกอบด้วย 1.1 จักรพ่วง จ านวน 1 เครื่อง 1.2 เครื่องตัดผ้า จ านวน 1 เครื่อง 1.3 เตารีด จ านวน 2 เครื่อง 2. สหกรณ์ผลิตข้าวครบวงจรศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานสกลนคร จ ากัด กลุ่มผลิตข้าวฮาง บ้านนาเลาจ านวน 58,000 บาท 2.1 เครื่องสีข้าวกล้อง ข้าวขาว จ านวน 1 เครื่อง


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 87 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ๑) กลุ่มอาชีพในสังกัดสถาบันเกษตรกรมีแผนการพัฒนาอย่างมีทิศทาง จ านวน 2 กลุ่ม 2) กลุ่มอาชีพในสังกัดสถาบันเกษตรกรได้รับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ านวน 2 ผลิตภัณฑ์ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1) มูลค่าของผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพเพิ่มขึ้น 2) ครัวเรือนสมาชิกลุ่มอาชีพมีรายได้เฉลี่ยต่อปีเพิ่มขึ้น ผลส ำเร็จของงำน / โครงกำร กลุ่มมีแผนการพัฒนากลุ่มอาชีพในสังกัดสถาบันเกษตรกรอย่างมีทิศทาง ยั่งยืน สอดคล้องกับความ ต้องการของชุมชน การด าเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน เกิดมูลค่าเพิ่มสินค้าในท้องถิ่นของกลุ่มอาชีพใน สังกัดสถาบันเกษตรกร ตลอดจนสร้างรายได้และความมั่นคงในการด าเนินธุรกิจ ให้แก่กลุ่มและสหกรณ์ ท าให้ สามารถด าเนินธุรกิจ ได้อย่างต่อเนื่อง สร้างความเข้มแข็งแก่องค์กรชุมชนให้เป็นที่พึ่งของชุมชน ภำพประกอบกำรจัดเวทีส ำรวจเชิงลึก การส ารวจข้อมูลสมาชิกกลุ่มอาชีพ เช่น การประกอบอาชีพ รายได้ครัวเรือน เพื่อจัดท า ฐานข้อมูลสมาชิกกลุ่มเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 ณ ที่ท าการกลุ่มสตรีและเยาวชนตัดเย็บและแปรรูป บ้านขาไก่ อ าเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร ภำพกำรจัดเวทีประชุมเพื่อวิเครำะห์สถำนกำรณ์กลุ่ม โดยจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานที่สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของกลุ่ม และสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานพัฒนาให้กลุ่มอาชีพ ผ่านทางสถาบันเกษตรกรต้นสังกัดของกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของกลุ่ม เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 ณ ที่ท า การกลุ่มสตรีและเยาวชนตัดเย็บและแปรรูปบ้านขาไก่อ าเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 88 ภำพประกอบกำรจัดกิจกรรมตำมแผน/โครงกำร โครงการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานพัฒนาให้กลุ่มสตรีและเยาวชนตัดเย็บและแปรรูป ผลิตภัณฑ์บ้านขาไก่ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของกลุ่ม เครื่องจักร จ านวน 1 เครื่อง เครื่องตัดผ้า จ านวน 1 เครื่อง เตารีด จ านวน 2 เครื่อง ภำพกำรประสำนงำน ติดตำม ประเมินผลกำร ด ำเนินกิจกรรมกำรพัฒนำ


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 89 ภำพประกอบกำรจัดเวทีส ำรวจเชิงลึก การส ารวจข้อมูลสมาชิกกลุ่มอาชีพ เช่น การประกอบอาชีพ รายได้ครัวเรือน เพื่อจัดท าฐานข้อมูลสมาชิกกลุ่ม เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 ณ ที่ท าการกลุ่มอาชีพสหกรณ์ผลิตข้าวฮางบ้านนาเลา ต าบลบึงทวาย อ าเภอ เต่างอย จังหวัดสกลนคร ภำพกำรจัดเวทีประชุมเพื่อวิเครำะห์สถำนกำรณ์กลุ่ม โดยจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของกลุ่ม และสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานพัฒนาให้กลุ่มอาชีพผ่านทางสถาบัน เกษตรกรต้นสังกัดของกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของกลุ่ม เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 ณ ที่ท าการกลุ่มอาชีพ สหกรณ์ผลิตข้าวฮางบ้านนาเลา ต าบลบึงทวาย อ าเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 90 2. โครงกำรส่งเสริมกำรผลิตและกระจำยเมล็ดพันธุ์ดีแก่เกษตรกรในสถำบันเกษตรกร (เมล็ดพันธุ์ข้ำวและถั่วเหลือง) ประจ ำปีงบประมำณ ๒๕60 วัตถุประสงค์ของโครงกำร กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้ด าเนินโครงการส่งเสริมการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดีแก่เกษตรกรใน สถาบันเกษตรกร ปี 2560 (ส่งเสริมการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวและถั่วเหลือง) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตเมล็ดพันธุ์และยกระดับการผลิตเมล็ดพันธุ์ดีมีคุณภาพของสหกรณ์ และกระจายเมล็ด พันธุ์ดีให้เกษตรกรสมาชิกและเกษตรกรทั่วไปได้อย่างทั่วถึง อีกทั้งเป็นการประชาสัมพันธ์สื่อสารภาพลักษณ์ เมล็ดพันธุ์สหกรณ์ สร้างความรู้ความเข้าใจแก่เกษตรกรในการใช้เมล็ดพันธุ์ดี จากผลการด าเนินงานที่ผ่านมา สหกรณ์ได้ผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพออกจ าหน่ายซึ่งเป็นที่ยอมรับและต้องการของตลาดทั้งจากสมาชิกของ สหกรณ์เองและจากเกษตรกรทั่วไป ทั้งนี้ เนื่องจากสหกรณ์มีประสบการณ์ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ให้ได้คุณภาพ ตรงตามมาตรฐานที่ก าหนด และศักยภาพทั้งในด้านบุคลากรของสหกรณ์และเครื่องจักรกลต่าง ๆ ตลอดจน เงินทุนในการสนับสนุนให้สมาชิกสหกรณ์ผลิตเมล็ดพันธุ์ให้ได้คุณภาพ แต่ยังจ าเป็นที่จะต้องพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อให้มีขีดความสามารถที่สูงขึ้น สามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพป้อนสู่เกษตรกรสมาชิกให้เพียงพอกับ ความต้องการ กิจกรรม/งำนที่ด ำเนินกำร 1. สร้างเครือข่ายการผลิตและการตลาดเมล็ดพันธุ์สหกรณ์ 1.1 ประชุมสมาชิกผู้ผลิต สหกรณ์ละ 10 คน จ านวน 2 สหกรณ์ ได้แก่ สหกรณ์การเกษตร วานรนิวาส จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรเขตจัดรูปที่ดินพอกใหญ่ จ ากัด 1.2 ประชุมเครือข่ายกลุ่มผู้ผลิตและจ าหน่ายเมล็ดพันธุ์ 1.3 ประชุมเครือข่ายสหกรณ์ (ด้านการตลาดและกระจายเมล็ดพันธุ์) 2. การสื่อสารประชาสัมพันธ์สื่อสารภาพลักษณ์เมล็ดพันธุ์สหกรณ์จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ ประโยชน์การใช้เมล็ดพันธุ์ดี ในกิจกรรมของจังหวัด เช่น โครงการจังหวัดเคลื่อนที่ โครงการอ าเภอเคลื่อนที่ (อ าเภอยิ้ม) 3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ประโยชน์การใช้เมล็ดพันธุ์ดีการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ สื่อสาร ภาพลักษณ์เมล็ดพันธุ์สหกรณ์ ผลส ำเร็จของงำน/โครงกำร ร้อยละของผลการรวบรวมเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพของสหกรณ์เมื่อเทียบกับแผน ร้อยละ 80 ปัญหำอุปสรรคในกำรด ำเนินงำน/โครงกำร 1. มาตรฐานการผลิตของสมาชิก 2. การตรวจติดตามของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ที่ยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ 3. ภัยธรรมชาติที่ไม่สามารถควบคุมได้


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 91 3. โครงกำรสร้ำงเครือข่ำยพัฒนำกำรผลิตกำรตลำดสินค้ำเกษตรมันส ำปะหลัง จังหวัดสกลนคร ประจ ำปีงบประมำณ ๒๕60 วัตถุประสงค์ของโครงกำร มันส าปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรไทยเป็นอันดับ 3 รองจากข้าว และยางพารา รวมทั้งเป็นพืชที่แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์และสามารถส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ติดต่อกันมาเป็น ระยะเวลานาน โดยในปีการผลิต 2558/59 ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้ประมาณการพื้นที่เก็บเกี่ยวมัน ส าปะหลัง มีประมาณ 8.713 ล้านไร่ ผลผลิตประมาณ 31.040 ล้านตัน ซึ่งยุทธศาสตร์มันส าปะหลังและ ผลิตภัณฑ์ (Road Map) ได้วางเป้าหมายไว้ว่าประเทศไทยจะเป็นผู้น าด้านการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์มัน ส าปะหลังของโลก โดยมีเป้าหมายว่าจะสามารถเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยมันส าปะหลังเป็น 5 ตัน/ไร่ ในปี 2562 และ 7 ตัน/ไร่ ในปี 2569 มีการบริหารจัดการพื้นที่ปลูกมันส าปะหลังในพื้นที่ 8.5 ล้านไร่ ซึ่งมาตรการระยะสั้น (1-3 ปี) ที่จะด าเนินการในด้านการผลิตและเกี่ยวข้องกับสถาบันเกษตรกร คือ การเพิ่มประสิทธิภาพและลด ต้นทุนการผลิต โดยพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกรและสหกรณ์ ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของ นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ซึ่งต้องการพัฒนาสหกรณ์ให้เข้มแข็ง เพื่อเพิ่มศักยภาพในบทบาท หน้าที่ช่วยเหลือเกษตรกร และใช้ระบบสหกรณ์เป็นกลไกส าคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ได้รับการจัดสรรงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ รายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานพื้นฐานด้านการสร้าง ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ความ เข้มแข็ง กิจกรรมรองพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร โครงการสร้างเครือข่าย พัฒนาการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรมันส าปะหลัง เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ให้เป็นไปตาม ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์ตามนโยบายกรมส่งเสริมสหกรณ์ จึงได้จัดท า โครงการสร้างเครือข่ายการผลิตการตลาดสินค้าเกษตรมันส าปะหลังขึ้น เพื่อให้สหกรณ์ผู้ผลิตมันส าปะหลังเพิ่ม ช่องทางและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต และสมาชิกสหกรณ์สามารถลดต้นทุนการผลิตต่อไร่ สร้างความ เข้มแข็งให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตมันส าปะหลัง ภายใต้ยุทธศาสตร์และ แนวทางการพัฒนาความ เข้มแข็งของสหกรณ์ตามนโยบายกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรม/งำนที่ด ำเนินกำร 6.1 จัดประชุมเสริมสร้างกลุ่มผู้ผลิตคุณภาพและเครือข่ายมันส าปะหลังของจังหวัด เป้าหมาย สหกรณ์การเกษตรกุสุมาลย์ จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. สกลนคร จ ากัด จ านวน สหกรณ์ละ 20 คน ระหว่างวันที่ 8 - 9 ธันวาคม 2559 ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจาก พระราชด าริ จังหวัดสกลนคร 6.2 จัดประชุมถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรของสหกรณ์ในการวางแผนการผลิตมันส าปะหลังให้ สอดคล้องกับสถานการณ์การผลิตการตลาดในประเทศ ผลส ำเร็จของงำน/โครงกำร 1. สมาชิกของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดต้นทุนการผลิตไร่ละไม่น้อยกว่า 200 บาท 2. สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีผลการรวบรวม/แปรรูป มากขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 92 รูปภำพประกอบกิจกรรม ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ด าเนินงานตามโครงการฯ โดยน าสมาชิกสหกรณ์การเกษตร กุสุมาลย์ จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. สกลนคร จ ากัด จ านวน 20 คน เข้าร่วม การประชุมและศึกษาดูงาน ระหว่างวันที่ 8 - 9 ธันวาคม 2559 ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอัน เนื่องมาจากพระราชด าริ จังหวัดสกลนคร 4. โครงกำร “ประกวดผลงำนกำรขับเคลื่อนปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงใน สหกรณ์ทุกประเภทและ กลุ่มเกษตรกร” ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 วัตถุประสงค์ กรมส ่งเสริมสหกรณ์ได้ด าเนินโครงการขับเคลื ่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2551 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร น าแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมทั้งให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการด าเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงในลักษณะความ พอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน โดยใช้เงื่อนไขความรู้คู่คุณธรรม ท าให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมี ความเข้มแข็ง มั่นคงยั่งยืน สามารถพึ่งตนเองและแก้ไขปัญหาของสมาชิกได้อย่างยั่งยืน และเพื ่อเป็นการ เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยตัวอย่างความส าเร็จของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่ได้น้อม น าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารจัดการจนเกิดผลส าเร็จและยั ่งยืน และสร้าง จิตส านึกให้บุคลากรของสหกรณ์ประพฤติปฏิบัติตามรอยพระยุคลบาท ด าเนินตามพระราชกรณียกิจ สืบสาน พระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชสืบต่อไป กรมส่งเสริมสหกรณ์ จึงได้ ด าเนินการจัดประกวดสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 93 ดังนั้น เพื่อให้เกิดการด าเนินกิจกรรมการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรเป็นไปอย่างต่อเนื่อง กองประสานงานโครงการพระราชด าริจึงได้จัดท าโครงการประกวด ผลงานการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีกิจกรรม รูปแบบการท างาน และผลงาน ดีเด่น เป็นตัวอย่างส าหรับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นในการน าไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินงานการส่งเสริม สหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร และการสนับสนุนให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการด าเนินชีวิต แบบเศรษฐกิจพอเพียงต่อไป และเพื่อให้การด าเนินงานตามโครงการดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กรม ส่งเสริมสหกรณ์ก าหนด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร จึงได้จัดท า “โครงการประกวดผลงานการขับเคลื่อน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร” ขึ้นวัตถุประสงค์ 1. เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่น าแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในการบริหารองค์กรได้อย่างโดดเด่น ให้ได้รับรางวัล และสามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรอื่นน าไปประยุกต์ใช้ในองค์กรได้ 2. เพื่อเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่ม เกษตรกร น าแนวทางตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินงาน และส่งเสริม สนับสนุน ให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการด าเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลำด ำเนินงำน จัดประชุมคณะกรรมการเพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นด้านการ ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสกลนคร จ านวน 1 ครั้ง ภายในเดือนเมษายน 2560 ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร อ าเภอเมือง จังหวัดสกลนคร เป้ำหมำย สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จ านวน 6 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรเมืองสกลนคร จ ากัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลสกลนคร จ ากัด 3. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเลิงฮังสามัคคี จ ากัด 4. สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงโคกระบือสร้างดู่ จ ากัด 5. ร้านสหกรณ์ครูสว่างแดนดิน จ ากัด 6. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ปลาโหล รำยละเอียดงำนที่ท ำ/ตัวชี้วัด/ผลส ำเร็จที่เกิดขึ้น 1. แต่งตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัด 2. ประชาสัมพันธ์โครงการให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในจังหวัดทราบ 3. รับสมัครสหกรณ์ทุกประเภท/กลุ่มเกษตรกรเข้าประกวด 4. คัดเลือกสหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกรจังหวัดละ 1 แห่ง/ประเภท โดยคณะกรรมการเพื ่อ คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นด้านการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสกลนคร 5. ส่งรายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร พร้อมทั้งสรุปผลการให้คะแนนสหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกร ที่ผ่านการคัดเลือกให้คณะกรรมการระดับเขต ภายในวันจันทร์ที่ 1 พฤษภาคม 2560


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 94 ตัวชี้วัดผลส ำเร็จ จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการคัดเลือกในระดับจังหวัด ไม่น้อยกว่า 3 ประเภท ประโยชน์ที่กลุ่มเป้ำหมำยได้รับ และที่เกิดขึ้นกับหน่วยงำน 1. เพื่อน าแนวทางรูปแบบ วิธีการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ชนะการ ประกวดใช้เป็นตัวอย่างให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นน าไปประยุกต์และปฏิบัติในการด าเนินงานต่อไป 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับแรงจูงใจ ส่งผลให้มีการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในการด าเนินงาน และส่งผลต่อสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีการด าเนินชีวิตแบบ เศรษฐกิจพอเพียง 3. ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่มีความตื่นตัวในการท างานตามโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมทั้งการสร้างขวัญและก าลังใจแก่ข้าราชการในส านักงาน สหกรณ์จังหวัด/พื้นที่ที่มีผลงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์กับสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรต่อไป วันที่ 22 สิงหำคม 2560 ณ ห้องประชุมร้ำนสหกรณ์ครูสว่ำงแดนดิน และห้องประชุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเลิงฮังสำมัคคี จ ำกัด จังหวัดสกลนคร


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 95 ภำพกิจกรรม ผลงำนดีเด่น ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดสกลนคร เป็นหน่วยงำนที่ให้กำรแนะน ำ ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นแบบอย่ำงที่ดีในกำรด ำเนินตำมแนวทำงปรัชญำของ เศรษฐกิจพอเพียง ประจ ำปี 2560 ประเภทร้ำนค้ำ ได้แก่ ร้ำนสหกรณ์ครูสว่ำงแดนดิน จ ำกัด


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 96 5. โครงกำรประชุมคณะกรรมกำรระดับจังหวัด เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชำติ หลักกำรและเหตุผล กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้ก าหนดแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนงาน พื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรได้รับการพัฒนาสู่ความเข้มแข็ง กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ความ เข้มแข็ง กิจกรรมรอง พัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น ส าหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการส่งเสริม และจัดประชุมคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด จัดประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัด จ านวน ๑ ครั้ง กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย คณะกรรมการฯ ตามค าสั่งจังหวัดสกลนคร ที่ 2752/2560 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดเพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2560 เพื่อ ๑) พิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นในพื้นที่รับผิดชอบ โดย ใช้หลักเกณฑ์ และวิธีการคัดเลือกที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนด ๒) รายงานผลการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีผลงานดีเด่น ถึงกรมส่งเสริมสหกรณ์ภายในเวลาที่ก าหนด ๓) พิจารณาแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หรือคณะท างานตามที่เห็นสมควร ๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย งบประมาณประจ าปี 2560 จ านวน 13,500 บาท (หนึ่งหมื่นสามพันห้าร้อยบาทถ้วน) โดยมีตัวชี้วัด/เป้าหมาย คือ 1) สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงาน จ านวน 4 แห่ง 2) ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณ ตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กรมก าหนด ร้อยละ 97 ด้วยเหตุนี้ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร จึงได้จัดท า “โครงการประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดเพื่อคัดเลือก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ” ขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด ระยะเวลำด ำเนินงำน จัดประชุมเพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น จ านวน 1 ครั้ง ภายในเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2560 ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร เป้ำหมำย คณะกรรมการระดับจังหวัดฯ จ านวน 11 คน และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย ประจ าปี 2560 จ านวน 10 คน รวมทั้งสิ้น 21 คน ผลส ำเร็จที่เกิดขึ้น คณะกรรมการระดับจังหวัด ร่วมกันพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นใน พื้นที่รับผิดชอบตามหลักเกณฑ์ และวิธีการคัดเลือกที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนด และส่งผลการพิจารณาคัดเลือก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่น ให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ ภายในวันที่ 1 ตุลาคม 2560 ตัวชี้วัดผลส ำเร็จ 1) สหกรณ์ดีเด่นระดับจังหวัดที่ได้รับคัดเลือก จะต้องมีคะแนนรวมทุกหมวดไม่น้อยกว่าร้อยละ 7๐ 2) กลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัดที่ได้รับคัดเลือก จะต้องมีคะแนนรวมทุกหมวดไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 97 ปัญหำ/อุปสรรค 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งยังไม่เคยมีประสบการณ์เรื่องสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติจึงท าให้ยัง ไม่เข้าใจรูปแบบการจัดท าและหลักเกณฑ์การคัดเลือก ๒) หลักเกณฑ์การคัดเลือก และเอกสารที่ต้องจัดท าเป็นรูปเล่มเพื่อเสนอคณะกรรมการฯ มีเยอะเกินไป ท าให้สหกรณ์บางแห่งไม่อยากเข้าร่วมโครงการ 3) พื้นที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแต่ละแห่งที่เข้าร่วมโครงการ อยู่ห่างไกลกันจึงเป็นปัญหาและ อุปสรรคเวลาจัดประชุม 4) กรมฯ ควรมีการจัดสรรงบประมาณ เพื่อจัดอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้า ร่วมโครงการ เพื่อให้เข้าใจเรื่องสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติมากยิ่งขึ้น


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 98 6. ชื่อโครงกำร ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนตำมพระรำชด ำริ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี วัตถุประสงค์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้สนองพระราชด าริ โดยจัดท าแผนปฏิบัติงาน การส่งเสริมกิจกรรม สหกรณ์ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ(การส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ตามพระราชด าริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความรู้ และทักษะด้านสหกรณ์ และสร้าง ลักษณะนิสัยที่สอดคล้องกับอุดมการณ์สหกรณ์ให้แก่เด็กนักเรียน จึงได้จัดกิจกรรมที่ส าคัญ ได้แก่ การจัด กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมที่เน้นการปลูกฝังลักษณะนิสัยการช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตาม อุดมการณ์สหกรณ์ จัดกิจกรรมสหกรณ์ ดังนี้ กิจกรรมร้านค้า กิจกรรมออมทรัพย์ เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ เบื้องต้นของเด็กนักเรียน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ได้รับจัดสรรงบประมาณเพื่อด าเนินกิจกรรม ดังกล่าวในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕60 เป็นเงิน 2,138,400 บาท พื้นที่เป้าหมาย ๑. โรงเรียนในสังกัดกองบัญชาการต ารวจตระเวนชายแดน (ตชด.) กองก ากับการต ารวจตระเวนชายแดนที่ ๒๓ จ านวน ๑ แห่ง ๒. โรงเรียนในสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๑ จ านวน ๒๖ แห่ง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร เขต ๒๓ จ านวน ๓ แห่ง ผลการด าเนินงานที่ผ่านมา ส านักงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ได้ด าเนินกิจกรรมในรูปคณะท างาน มีกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์เป็นเจ้าภาพ ด าเนินการแนะน าส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน ได้แก่ ๑) ก า รป ร ะส านง าน กับค รู ผู้ ส อนเ กี่ ย ว กับ ก า ร ส อน วิ ช า สห ก รณ์ในโ รง เ รี ย น จ านวน ๓๐ โรงเรียน ๒) แนะน าการจัดท าบัญชีสหกรณ์ให้เป็นปัจจุบันและปิดบัญชีทุกภาคเรียนภาคเรียน ละ ๑ ครั้ง/๑ โรงเรียน ๓) แนะน าการจัดให้มีการประชุมใหญ่ประจ าภาคเรียนภาคเรียนละ ๑ ครั้ง / ๑ โรงเรียน พร้อมทั้งมีการเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน ๔) จัดทัศนศึกษาดูงาน เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์งานสหกรณ์ให้กับนักเรียนที่เป็น กรรมการสหกรณ์ผู้สังเกตการณ์และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ จ านวน 4 รุ่นๆ รวมทั้งสิ้น ๓80 คน ในวันที่ 29-31 พฤษภาคม 2560 และ 1 มิถุนายน 2560 ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจาก พระราชด าริ จังหวัดสกลนคร และสหกรณ์การเกษตรเขตจัดรูปที่ดินพอกใหญ่ จ ากัด ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เด็ก นักเรียนให้ความสนใจเป็นพิเศษ ได้รับทั้งความสนุกสนาน และความรู้ที่ไม่มีในห้องเรียน ๕) จัดให้มีการประกวดการบันทึกรายงานการประชุมและการประกวดการบันทึกบัญชีใน สหกรณ์นักเรียน เพื่อสร้างแรงจูงใจแก่นักเรียนในการด าเนินกิจกรรม และเด็กนักเรียนสามารถบันทึกรายงาน การประชุมและบันทึกบัญชีได้ถูกต้อง ด าเนินการในรูปของคณะกรรมการ โดยแบ่งการประกวดเป็นโรงเรียน ขนาดเล็ก จ านวน ๙ โรงเรียน ,โรงเรียนขนาดกลาง จ านวน ๑๓ โรงเรียน และระดับมัธยมศึกษาและขยาย โอกาส จ านวน ๘ โรงเรียน รางวัลชนะเลิศ จ านวน ๖ รางวัล ๆ ละ 1,๐๐๐ บาท พร้อมโล่และใบ ประกาศเกียรติคุณ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ จ านวน ๖ รางวัล ๆ ละ 8๐๐ บาท พร้อมใบประกาศเกียรติ คุณ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ จ านวน ๖ รางวัล ๆ ละ 5๐๐ บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณและ รางวัลชมเชย จ านวน ๑๒ และใบประกาศเกียรติคุณ


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 99 ๖) สนับสนุนการก่อสร้าง/ปรับปรุงอาคารสหกรณ์นักเรียน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕60 จ านวน ๔ โรงเรียน ได้แก่ - โรงเรียนบ้านกุดสะกอย จ านวน 250,000 บาท - โรงเรียนไพศาลวิทยา จ านวน 140,000 บาท - โรงเรียนนาเพียงเก่า จ านวน 137,4๐๐ บาท - โรงเรียนอนุบาลกุสุมาลย์ จ านวน 208,6๐๐ บาท - โรงเรียนชุมชนนิรมัย จ านวน 112,4๐๐ บาท - โรงเรียนชุมชนบ่อแสนพันมิตรภาพฯ จ านวน 400,๐๐๐ บาท - โรงเรียนบ้านบอนสหราษฎร์อุทิศ จ านวน 400,๐๐๐ บาท และสนับสนุนชั้นวางสินค้าและตู้เก็บสินค้าเข้าห้องสหกรณ์นักเรียน จ านวน 3 โรงเรียน - โรงเรียนไพศาลวิทยา จ านวน 28,000 บาท - โรงเรียนบ้านม่วงวิทยา จ านวน 16,500 บาท - โรงเรียนนาเพียงเก่า จ านวน 3,0๐๐ บาท ตัวชี้วัด/เป้ำหมำยควำมส ำเร็จ ๑. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนสามารถปิดบัญชี และจัดประชุมใหญ่สามัญได้ทุกภาคเรียน ๒. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนมีการประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ และสามารถ บันทึกรายงานการประชุมได้ถูกต้อง ๓. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนมีการเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์ทุกภาคเรียน รำยละเอียดงำนที่ท ำ ๑. แจ้งโรงเรียนในโครงการฯทราบ คัดเลือกนักเรียนพร้อมแจ้งรายชื่อนักเรียนและ ครูที่รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ที่จะไปศึกษาดูงาน ตามจ านวนที่ก าหนด ๒. ประสานงานเกี่ยวกับสถานที่ที่จะไปทัศนศึกษาดูงาน ๓ ประสานงานจัดเตรียมเรื่องพาหนะในการเดินทางไปศึกษาดูงาน ๔. จัดเตรียมและประสานงานในเรื่องอาหาร / เครื่องดื่ม ๕. ประสานและติดต่อท าประกันชีวิตส าหรับคณะศึกษาดูงาน ๖. ประชุมชี้แจงและซักซ้อมท าความเข้าใจแนวทางปฏิบัติกับคณะท างานเกี่ยวกับการ ไปศึกษาดูงาน ๗. น านักเรียนที่เป็นคณะกรรมการสหกรณ์/ผู้สังเกตการณ์และครูที่รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ ไปทัศนศึกษาดูงาน ๘. สรุปผลการไปศึกษาดูงานรายงานสหกรณ์จังหวัดสกลนคร ผลส ำเร็จที่เกิดขึ้น การท างานแบบมีส่วนร่วม - ระหว่างกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ที่เป็นเจ้าภาพ และอ าเภอที่รับผิดชอบใน พื้นที่โครงการพระราชด าริ ร่วมถึงฝ่ายบริหารงานทั่วไป - ระหว่างผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมสหกรณ์ โดยการจัดการประชุมเพื่อรับทราบแผนการปฏิบัติงาน ร่วมเสนอความคิดเห็น และรูปแบบ ของกิจกรรมที่จะด าเนินการ


รำยงำนประจ ำปี 2560 (Annual Report) | 100 - ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สกลนครเขต ๑, ส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สกลนคร, กองก ากับการต ารวจตระเวนชายแดนที่ ๒๓, ประธาน กรรมการชุมนุมสหกรณ์การเกษตรสกลนคร จ ากัด, ประธานกรรมการกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด - การท างานในรูปของคณะท างาน ในกิจกรรมที่ต้องใช้บุคลากรหลากหลายความรู้ ความสามารถ ได้แก่ การประกวดการบันทึกรายงานการประชุมและการประกวดการบันทึกบัญชีในสหกรณ์ นักเรียน, การจัดกิจกรรมทัศนศึกษาดูงาน - มีการจัดอบรมครูผู้สอนวิชาสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ในการจัดท า แผนการสอน และกิจกรรมการเรียนการสอนสหกรณ์นักเรียน โดยศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ ๘ ขอนแก่นเป็นการเพิ่มทักษะครูผู้สอนและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ประโยชน์ที่กลุ่มเป้ำหมำยได้รับและที่เกิดขึ้นกับหน่วยงำน เด็กนักเรียนได้รับความรู้ และทักษะด้านสหกรณ์ มีลักษณะนิสัยที่สอดคล้องกับอุดมการณ์สหกรณ์ ปัญหำ/อุปสรรค ๑. มีการสับเปลี่ยนครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์บ่อยและมีการโอนย้ายครูผู้รับผิดชอบท า ให้การด าเนินงานของร้านสหกรณ์ไม่ต่อเนื่องต้องเริ่มนับหนึ่งใหม่ ๒. บางโรงเรียนครูผู้รับผิดชอบไม่ค่อยดูแลตรวจสอบการท างานของคณะกรรมการสหกรณ์ นักเรียนท าให้มีสินค้าหาย จนท าให้สหกรณ์มีผลขาดทุน ๓. บางโรงเรียนมีห้องสหกรณ์นักเรียน แต่ไม่น าสินค้ามาจ าหน่ายที่ห้องสหกรณ์ ไปจ าหน่ายที่ ห้องเรียนแทน ๔. บางโรงเรียนมีคณะกรรมการที่เป็นเด็กโตคือชั้น ป.๖ อย่างเดียวไม่มีคละชั้นคือชั้นป.๓ – ป. ๖ ท าให้ต้องมีการสอนเริ่มต้นใหม่ตลอด ๕. บางโรงเรียนไม่มีกิจกรรมทางการเกษตรผ่านสหกรณ์ โดยทางกิจกรรมทางการเกษตร ขายผ่านตรงกับกิจกรรมอาหารกลางวัน ก็เพราะเนื่องจากครูไม่ค่อยถูกกัน ๖. โรงเรียนส่วนมากจะท าการปิดบัญชีไม่ค่อยได้ ส่วนมากจะให้ส านักงานสหกรณ์จังหวัดปิด บัญชีให้ทุกภาคเรียน โรงเรียนที่สามารถด าเนินการเองคือโรงเรียนบ้านกุงศรี ๗. บางโรงเรียนครูผู้รับผิดชอบสหกรณ์สอนนักเรียนอนุบาล จึงไม่สามารถใช้คณะกรรมการ ได้ เนื่องจากครูผู้รับผิดชอบไม่ได้เป็นครูประจ าชั้นของคณะกรรมการ ๘. บางโรงเรียนมีอาคารสหกรณ์นักเรียน แต่ไม่ดูแลรักษาอาคารสหกรณ์นักเรียน ท าให้ อาคารสหกรณ์นักเรียนเก่าและช ารุด ๙. บางโรงเรียนมีเด็กนักเรียนมัธยมศึกษา เด็กนักเรียนไม่ค่อยมีเวลาลงมาช่วยกิจกรรม สหกรณ์นักเรียน เพราะเด็กนักเรียนต้องเรียนเป็นคาบไม่เหมือนเด็กนักเรียนประถมศึกษา


Click to View FlipBook Version