The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของกรมบัญชีกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pramert.cgd, 2021-11-04 23:37:10

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของกรมบัญชีกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของกรมบัญชีกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

3.4 ประเภทการขอรบั บริการ
ผตู้ อบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 279 คน พบว่า เป็นผูร้ บั บรกิ ารประเภทระบบตรวจสอบสทิ ธิ

สวัสดิการรักษาพยาบาลผ่านทางเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง มากที่สุด จำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 40.41
รองลงมา คือ ประเภทระบบเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลข้าราชการ จำนวน 175 คน คิดเป็นร้อยละ 35.35
ประเภทระบบนายทะเบียนค่ารักษาพยาบาล จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33 และประเภท
ระบบให้บริการข้อมูลสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการผ่านทาง Mobile Application : CGD iHealthCare
จำนวน 54 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 10.91 ตามลำดับ แสดงตามภาพท่ี 109

ภาพที่ 109 : ประเภทการขอรับบรกิ ารของกองสวัสดิการรกั ษาพยาบาล

4) ความตอ้ งการกลบั มาใช้บริการของกองสวสั ดิการรักษาพยาบาล
ผ้ตู อบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 279 คน พบว่า มคี วามต้องการกลบั มาใชบ้ รกิ าร จำนวน 274 คน

คิดเป็นรอ้ ยละ 98.21 และไม่ต้องการกลบั มาใช้บริการ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.79 แสดงตามภาพท่ี 110

ภาพท่ี 110 : จำนวนผ้ทู ี่ต้องการกลับมาใชบ้ รกิ ารของกองสวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาล

5) การแนะนำให้มาใชบ้ ริการของกองสวสั ดิการรกั ษาพยาบาล
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจจำนวน 279 คน พบว่า แนะนำให้มาใช้บริการจำนวน 228 คน

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 81.72 และไม่แนะนำให้มาใชบ้ รกิ ารจำนวน 51 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18.28 แสดงตามภาพที่ 111

ภาพที่ 111 : จำนวนการแนะนำใหม้ าใชบ้ ริการของกองสวัสดิการรกั ษาพยาบาล

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี ทีม่ ตี อ่ การใหบ้ รกิ ารของกรมบญั ชกี ลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 92

6) ขอ้ เสนอแนะเพ่อื ปรบั ปรุงการให้บรกิ ารของกองสวัสดิการรักษาพยาบาล
แบบสำรวจความพึงพอใจที่ได้ตอบกลับ จำนวน 279 ฉบับ มีข้อเสนอแนะ จำนวน 49 ฉบับ

ซง่ึ สามารถสรปุ ตามประเด็นการสำรวจ ได้ดงั น้ี
1. ด้านเจา้ หนา้ ท/่ี ผูป้ ฏบิ ตั ิงาน (จำนวน 9 ฉบบั คดิ เป็นร้อยละ 18.37)
.1.1 เจ้าหน้าที่ควรตอบคำถามดว้ ยความสภุ าพ ไมใ่ ช้อารมณ์ และเตม็ ใจให้บริการ
1.2 เจา้ หนา้ ทคี่ วรมีความร้คู วามเชีย่ วชาญในงาน
1.3 ควรเพิม่ จำนวนเจา้ หน้าทีใ่ หเ้ พียงพอตอ่ การให้บริการ
2. ดา้ นกระบวนการ/ขัน้ ตอนปฏบิ ตั ิงาน (จำนวน 6 ฉบบั คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.24)
ระยะเวลาในการใหบ้ ริการควรมคี วามเหมาะสม ไม่ควรใชเ้ วลานานสำหรับแตล่ ะเร่ืองที่ตอ้ งขอหารอื

หรือขอทำความตกลง
3. ด้านช่องทางตดิ ต่อสอื่ สาร (จำนวน 28 ฉบับ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 57.15)
3.1 กรณปี ระสานงานทางโทรศัพท์ ติดต่อยาก เน่อื งจากคูส่ ายเตม็ ตลอด ควรเพม่ิ คู่สายโทรศพั ท์

ให้มากขน้ึ และควรเพม่ิ ช่องทางการติดต่อส่ือสารท่หี ลากหลาย เชน่ Application Line และ Facebook
3.2 การใช้งานระบบให้บริการข้อมูลสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการผ่านทาง Mobile

application : CGD iHealthCare ยงั เป็นทีร่ จู้ กั น้อย ควรมีการประชาสัมพนั ธ์สรา้ งการรับรู้ให้มากย่ิงขนึ้
4. ดา้ นสถานทแี่ ละเครอื่ งมือในการให้บริการ
ไม่มีขอ้ เสนอแนะ
5. ด้านการใหบ้ รกิ าร (จำนวน 6 ฉบบั คดิ เปน็ ร้อยละ 12.24)
5.1 ควรพัฒนาระบบให้บริการข้อมูลสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการผ่านทาง Mobile

application : CGD iHealthCare ใหม้ ากย่งิ ขน้ึ เพอื่ ให้เกดิ ความสะดวกแก่ผูใ้ ช้งาน
5.2 ตอ้ งการให้ระบบตรวจสอบสทิ ธิการรักษาพยาบาล สามารถตรวจสอบขอ้ มลู ไดว้ ่าในแต่ละรอบ

เป็นสิทธิค่ารกั ษาประเภทใด เช่น สิทธิประกันสังคม สิทธิข้าราชการ เพื่อเป็นขอ้ มูลในการตรวจสอบการย่นื
ขอเบิกเงนิ ค่ารักษาพยาบาลกบั ส่วนราชการต้นสังกดั ได้
แสดงตามภาพที่ 112

ภาพท่ี 112 : รอ้ ยละของข้อเสนอแนะเพ่อื ปรับปรงุ การใหบ้ รกิ ารของกองสวัสดกิ ารรักษาพยาบาล

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ท่มี ีต่อการใหบ้ ริการของกรมบญั ชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 93

2.14 กองกำกับและพฒั นาระบบเงินนอกงบประมาณ

1) ความพงึ พอใจเฉลี่ยภาพรวม
ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ

การให้บริการของกองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 3.95 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 79.00 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก
ประกอบด้วยผลคะแนน 2 ส่วน ดังน้ี

1.1 การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลีย่ 3.94 คะแนน คิดเปน็
ร้อยละ 78.80

1.2 การใหบ้ ริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลย่ี
3.96 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 79.20 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน
เรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน
ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ และด้านการให้บริการ คะแนนเฉล่ยี
4.00 3.97 3.96 3.94 และ 3.91 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 80.00 79.40 79.20 78.80 และ 78.20 ตามลำดับ
แสดงตามภาพที่ 113 และตารางท่ี 21

..ภาพท่ี 113 : ระดับความพึงพอใจเฉล่ียที่มีต่อการให้บริการของกองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ
.. .จำแนกตามประเด็นการสำรวจ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี ทม่ี ีต่อการใหบ้ รกิ ารของกรมบัญชกี ลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 94

ตารางที่ 21 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการของกองกำกับและพัฒนา
.ระบบเงนิ นอกงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประเด็น ระดับความพึงพอใจ
คะแนน ร้อยละ
ระดับความพึงพอใจเฉล่ียภาพรวมฯ (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 3.95 79.00
ความพึงพอใจท่ีมตี ่อการให้บริการภาพรวม (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 3.94 78.80
ความพึงพอใจท่ีมตี ่อการให้บริการ 5 ด้าน (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 3.96 79.20
ด้านเจา้ หน้าท/่ี ผู้ปฏิบัติงาน 4.00 80.00
1) เจ้าหน้าท่ีใช้คาพดู และกริ ิยาที่สภุ าพ 4.00 80.00
2) เจ้าหนา้ ท่ีให้คาแนะนาหรอื ตอบข้อซักถามได้ตรงประเด็น 4.00 80.00
3) เจ้าหนา้ ที่รับฟงั ปัญหาหรอื ข้อซักถามของผรู้ ับบริการอย่างเต็มใจ 4.00 80.00
ด้านกระบวนการ/ขน้ั ตอนปฏิบัติงาน 3.97 79.40
1) การให้บรกิ ารเป็นไปตามลาดับกอ่ น - หลงั 3.99 79.80
2) ขนั้ ตอนการให้บริการไม่ยงุ่ ยากซับซอ้ น 4.00 80.00
3) ระยะเวลาในการให้บรกิ ารมีความเหมาะสม 3.92 78.40
ด้านชอ่ งทางติดต่อสื่อสาร 3.96 79.20
1) Website ใช้งานงา่ ย เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว 3.98 79.60
2) การให้บรกิ ารด้านการรับ - สง่ หนังสอื 4.01 80.20
3) โทรศัพท์กลางติดต่องา่ ย การโอนสายไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบ ถูกต้อง และรวดเร็ว 3.95 79.00
4) มีช่องทางให้เลือกใช้บรกิ ารที่หลากหลาย 3.91 78.20
ด้านสถานท่ีและเครื่องมอื ในการให้บริการ 3.94 78.80
1) มีสง่ิ อานวยความสะดวกเพียงพอต่อการให้บรกิ าร เช่น มีท่ีนง่ั คอยรับบริการ เป็นต้น 3.91 78.20
2) สถานที่ให้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย 3.96 79.20
ด้านการให้บริการ 3.91 78.20
1) การตอบข้อหารือ/การให้คาปรกึ ษา/ข้อเสนอแนะ ชัดเจน มีมาตรฐาน เข้าใจงา่ ย และสามารถนาไปปฏิบัติงานได้ 4.00 80.00
2) การสบื ค้นกฎหมาย/หนงั สือเวียนเกยี่ วกบั ทุนหมุนเวียน มีความสะดวกและคลอ่ งตัว 3.85 77.00
3) การสง่ ข้อมูลผ่านระบบบริหารจัดการเงนิ นอกงบประมาณ (NBMS) ไม่ซับซ้อนเข้าใจงา่ ย 3.88 77.60

จากตารางแสดงผลสำรวจระดบั ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมท่ีมีตอ่ การให้บริการของกองกำกบั และพฒั นา
ระบบเงนิ นอกงบประมาณ โดยพจิ ารณาเป็นรายดา้ น ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สามารถสรุปผลการสำรวจ ดงั นี้

• ผลคะแนนการสำรวจสงู สดุ 3 อันดับแรก
1) การให้บรกิ ารดา้ นการรบั - ส่งหนังสอื คะแนนเฉลี่ย 4.01 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.20
2) เจ้าหน้าที่ใช้คำพูด และกิริยาที่สุภาพ เจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำหรือตอบข้อซักถามได้ตรงประเด็น

เจ้าหน้าที่รับฟังปัญหาหรือข้อซักถามของผู้รับบริการอย่างเต็มใจ ขั้นตอนการให้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อน
การตอบขอ้ หารือ/การให้คำปรกึ ษา/ขอ้ เสนอแนะ ชดั เจน มีมาตรฐาน เข้าใจง่าย และสามารถนำไปปฏิบัติงานได้
คะแนนเฉลยี่ 4.00 คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ 80.00

3) การใหบ้ รกิ ารเป็นไปตามลำดบั ก่อน - หลงั คะแนนเฉลีย่ 3.99 คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ 79.80

• ผลคะแนนการสำรวจตำ่ สุด 3 อนั ดับแรก
1) การสืบค้นกฎหมาย/หนังสือเวียนเกี่ยวกับทุนหมุนเวียน มีความสะดวกและคล่องตัว คะแนนเฉล่ีย

3.85 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 77.00
2) การสง่ ข้อมูลผ่านระบบบรหิ ารจดั การเงินนอกงบประมาณ (NBMS) ไมซ่ ับซ้อนเขา้ ใจง่าย คะแนนเฉล่ีย

3.88 คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ 77.60
3) มีช่องทางให้เลือกใช้บริการที่หลากหลาย และมีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอต่อการให้บริการ

คะแนนเฉลย่ี 3.91 คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ 78.20

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการใหบ้ ริการของกรมบญั ชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 95

2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของกองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564
พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเพิ่มข้ึน
คิดเปน็ ร้อยละ 0.76 1.79 และ 6.53 ตามลำดับ พบว่าด้านที่มรี ะดับความพึงพอใจสงู ท่ีสดุ คอื ด้านเจ้าหนา้ ท่ี/
ผู้ปฏบิ ตั งิ าน สำหรบั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระดบั ความพึงพอใจเฉล่ียลดลง
คิดเป็นร้อยละ 2.25 และ 6.84 ตามลำดับ พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจต่ำที่สุด คือ ด้านช่องทาง
ติดต่อสื่อสาร และด้านการให้บริการ และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของกองกำกับและพฒั นาระบบเงนิ นอกงบประมาณมีแนวโน้มการเปล่ียนแปลงท่ีลดลง แสดงตามภาพที่ 114

ภาพที่ 114 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉล่ียภาพรวมที่มีต่อการให้บรกิ าร
.ของกองกำกบั และพฒั นาระบบเงนิ นอกงบประมาณ ต้ังแตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผูม้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสียท่มี ตี ่อการใหบ้ ริการของกรมบัญชกี ลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 96

3) ขอ้ มูลทัว่ ไปของผู้รับบรกิ ารของกองกำกับและพฒั นาระบบเงนิ นอกงบประมาณ
จากแบบสำรวจความพึงพอใจทีไ่ ดต้ อบกลบั จำนวน 67 ฉบับ มีข้อมลู ทว่ั ไปของผู้รับบรกิ าร ดังน้ี
3.1 อายุ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 67 คน พบว่า อยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป มากที่สุด

จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 44.78 รองลงมาคือ อยู่ในช่วงอายุ 31 - 40 ปี จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 35.82
และอย่ใู นชว่ งอายุ 20 - 30 ปี จำนวน 13 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 19.40 ตามลำดบั แสดงตามภาพท่ี 115

ภาพท่ี 115 : อายผุ ้รู บั บริการของกองกำกบั และพฒั นาระบบเงนิ นอกงบประมาณ

3.2 เพศ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 67 คน พบว่า เป็นเพศชาย จำนวน 7 คน คิดเปน็

ร้อยละ 10.45 และเป็นเพศหญงิ จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 89.55 แสดงตามภาพท่ี 116

ภาพที่ 116 : เพศผู้รับบริการของกองกำกบั และพัฒนาระบบเงนิ นอกงบประมาณ

3.3 จำนวนครัง้ ในการเข้ารบั บริการ
.ผูต้ อบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 67 คน พบว่า เปน็ ผูท้ ่ีเขา้ รับบรกิ ารมากกว่า 2 ครงั้ ข้ึนไป

มากที่สุด จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 56.72 รองลงมาคือ เข้ารับบริการ 1 ครั้ง จำนวน 26 คน คิดเป็น
ร้อยละ 38.80 และเข้ารบั บริการ 2 ครัง้ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 4.48 ตามลำดบั แสดงตามภาพท่ี 117

ภาพที่ 117 : จำนวนครั้งในการเข้ารบั บริการของกองกำกับและพัฒนาระบบเงนิ นอกงบประมาณ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสียท่มี ตี ่อการใหบ้ รกิ ารของกรมบัญชกี ลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 97

4) ความต้องการกลบั มาใชบ้ ริการของกองกำกับและพฒั นาระบบเงินนอกงบประมาณ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 67 คน พบว่า มีความต้องการกลบั มาใช้บรกิ าร จำนวน 65 คน

คิดเป็นรอ้ ยละ 97.01 และไม่ต้องการกลบั มาใช้บริการ จำนวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.99 แสดงตามภาพท่ี 118

ภาพที่ 118 : จำนวนผทู้ ่ีต้องการกลับมาใชบ้ รกิ ารของกองกำกับและพัฒนาระบบเงนิ นอกงบประมาณ

5) การแนะนำใหม้ าใชบ้ ริการของกองกำกบั และพัฒนาระบบเงนิ นอกงบประมาณ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 67 คน พบว่า แนะนำให้มาใช้บริการจำนวน 51 คน

คิดเป็นร้อยละ 76.12 และไมแ่ นะนำให้มาใช้บรกิ าร จำนวน 16 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 23.88 แสดงตามภาพที่ 119

ภาพท่ี 119 : จำนวนการแนะนำให้มาใช้บริการของกองกำกับและพฒั นาระบบเงินนอกงบประมาณ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียที่มตี อ่ การใหบ้ ริการของกรมบัญชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 98

6) ข้อเสนอแนะเพอื่ ปรับปรงุ การให้บรกิ ารของกองกำกับและพฒั นาระบบเงินนอกงบประมาณ
แบบสำรวจความพึงพอใจที่ได้ตอบกลับ จำนวน 67 ฉบับ มีข้อเสนอแนะ จำนวน 5 ฉบับ

ซึ่งสามารถสรปุ ตามประเดน็ การสำรวจ ได้ดังนี้
1. ด้านเจ้าหน้าท/ี่ ผูป้ ฏิบัติงาน
ไมม่ ีข้อเสนอแนะ
2. ดา้ นกระบวนการ/ขน้ั ตอนปฏิบัตงิ าน (จำนวน 1 ฉบับ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20.00)
ควรมกี ระบวนการ และขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงานทช่ี ดั เจน เพอื่ ให้ง่ายตอ่ การปฏิบตั ิงาน
3. ด้านชอ่ งทางตดิ ตอ่ สอ่ื สาร (จำนวน 3 ฉบับ คิดเป็นรอ้ ยละ 60.00)
ติดต่อทางโทรศพั ท์ไดย้ าก ควรเพม่ิ คู่สายโทรศพั ท์ และมชี อ่ งทางการตดิ ต่อส่ือสารทีห่ ลากหลาย
4. ด้านสถานท่แี ละเคร่ืองมอื ในการใหบ้ รกิ าร
ไม่มีข้อเสนอแนะ
5. ดา้ นการใหบ้ ริการ (จำนวน 1 ฉบบั คิดเปน็ ร้อยละ 20.00)
ควรตอบคำถาม ขอ้ หารือ หรอื แนะนำข้อกฎหมายแก่ผูร้ บั บรกิ ารให้ชัดเจน และเปน็ บรรทดั ฐาน

เดียวกนั
แสดงตามภาพที่ 120

ภาพท่ี 120 : รอ้ ยละของข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรงุ การให้บรกิ ารของกองกำกับและพฒั นาระบบเงนิ นอกงบประมาณ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสียท่มี ีต่อการใหบ้ ริการของกรมบญั ชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 99

2.15 กองตรวจสอบภาครฐั

1) ความพงึ พอใจเฉล่ียภาพรวม
ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ

การให้บริการของกองตรวจสอบภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย
4.15 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.00 อยใู่ นระดบั พงึ พอใจมาก ประกอบด้วยผลคะแนน 2 สว่ น ดังนี้

1.1 การให้บรกิ ารภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลีย่ 4.18 คะแนน คิดเป็น
ร้อยละ 83.60

1.2 การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย
4.12 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 82.40 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน
เรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่/ผูป้ ฏิบตั ิงาน ด้านการให้บริการ ด้านกระบวนการ/ขัน้ ตอน
ปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร และด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ คะแนนเฉล่ีย
4.21 4.18 4.09 4.07 และ 4.07 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 84.20 83.60 81.80 81.40 และ 81.40 ตามลำดบั
แสดงตามภาพที่ 121 และตารางที่ 22

.ภาพที่ 121 : ระดับความพึงพอใจเฉล่ยี ทม่ี ีต่อการใหบ้ รกิ ารของกองตรวจสอบภาครฐั
..จำแนกตามประเด็นการสำรวจ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียท่ีมีตอ่ การใหบ้ ริการของกรมบญั ชกี ลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 100

ตารางท่ี 22 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลยี่ ภาพรวมท่ีมีต่อการใหบ้ ริการของกองตรวจสอบภาครัฐ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประเด็น ระดับความพึงพอใจ
คะแนน ร้อยละ

ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมฯ (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 4.15 83.00
ความพึงพอใจท่ีมีต่อการให้บริการภาพรวม (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 4.18 83.60

ความพึงพอใจท่ีมตี ่อการให้บริการ 5 ด้าน (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 4.12 82.40
ด้านเจา้ หน้าท่ี/ผู้ปฏิบัติงาน 4.21 84.20
1) เจ้าหนา้ ที่มีความร/ู้ ความเช่ียวชาญในงาน 4.22 84.40

2) เจ้าหนา้ ท่ีให้บริการด้วยความรวดเรว็ และตรงความต้องการ 4.14 82.80
3) เจ้าหนา้ ท่ีใช้คาพูด และกริ ิยาท่ีสุภาพ 4.26 85.20
4) เจ้าหนา้ ท่ีปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ ไม่เลอื กปฏิบัติ 4.23 84.60

ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน 4.09 81.80

1) ข้ันตอนการให้บริการไม่ยุ่งยากซบั ซ้อน 4.08 81.60
2) ระยะเวลาในการให้บริการมีความเหมาะสม 4.10 82.00
ด้านชอ่ งทางติดต่อส่ือสาร 4.07 81.40

1) เจ้าหน้าท่ีรบั โทรศัพท์รวดเร็ว และให้บรกิ ารจบในสายเดียว 4.05 81.00
2) การรบั เรอื่ ง ประสานงาน และติดต่อกลบั อย่างรวดเรว็ 4.06 81.20
3) มีช่องทางในการให้บริการที่หลากหลาย เช่น Facebook Line เป็นต้น 4.10 82.00

ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ 4.07 81.40
1) มีส่ิงอานวยความสะดวกเพียงพอต่อการให้บรกิ าร เช่น มีที่น่ังคอยรบั บรกิ าร เป็นต้น 4.04 80.80
2) สถานที่ให้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบรอ้ ย 4.09 81.80

ด้านการให้บริการ 4.18 83.60
1) การตอบข้อหารอื /การให้คาปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจน มีมาตรฐาน เข้าใจงา่ ย และเช่ือมั่นที่จะนาไปปฏิบัติงาน 4.25 85.00
2) มาตรฐานและหลกั เกณฑ์ปฏิบัติด้านการตรวจสอบภายในสาหรับหน่วยงานของรฐั สามารถนาไปปฏิบัติได้ 4.28 85.60

และช่วยให้การตรวจสอบภายในมีประสทิ ธิภาพมากข้ึน 4.19 83.80
3) การจัดทาแบบประเมินภายในองค์กร : แบบประเมินตนเองเป็นระยะ (Periodic Self Assessments) 4.19 83.80
สาหรับหนว่ ยตรวจสอบภายในผา่ น Google Form มีความสะดวกรวดเรว็
4) มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติด้านการควบคุมภายใน สาหรับหนว่ ยงานของรฐั สามารถนาไปปฏิบัติได้
และช่วยให้การควบคุมภายในมีประสทิ ธิภาพมากข้ึน

5) ความเข้าใจในการกรอกแบบประเมินการควบคุมภายใน (แบบ ปค.) 4.06 81.20

6) มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติด้านการบรหิ ารจัดการความเสี่ยง สาหรับหนว่ ยงานของรฐั สามารถนาไปปฏิบัติได้ 4.13 82.60

และช่วยให้การบริหารจัดการความเส่ียงมีประสทิ ธิภาพมากข้ึน

จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการของกองตรวจสอบภาครฐั

โดยพจิ ารณาเปน็ รายดา้ น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สามารถสรุปผลการสำรวจ ดงั นี้

• ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดับแรก

1) มาตรฐานและหลกั เกณฑ์ปฏิบัติด้านการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ สามารถนำไป

ปฏิบตั ิได้ และชว่ ยให้การตรวจสอบภายในมปี ระสิทธภิ าพมากขึน้ คะแนนเฉลี่ย 4.28 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 85.60

2) เจ้าหน้าทใี่ ชค้ ำพดู และกิรยิ าที่สภุ าพ คะแนนเฉลยี่ 4.26 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 85.20

3) การตอบข้อหารือ/การให้คำปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจน มีมาตรฐาน เข้าใจง่าย และเชื่อม่ัน

ทจ่ี ะนำไปปฏิบตั ิงาน คะแนนเฉลี่ย 4.25 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 85.00

• ผลคะแนนการสำรวจต่ำสดุ 3 อนั ดบั แรก

1) มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอตอ่ การใหบ้ รกิ าร คะแนนเฉล่ยี 4.04 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ 80.80

2) เจา้ หน้าที่รับโทรศัพท์รวดเรว็ และให้บรกิ ารจบในสายเดยี ว คะแนนเฉลยี่ 4.05 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 81.00

3) การรับเรื่อง ประสานงาน และติดต่อกลับอย่างรวดเร็ว ความเข้าใจในการกรอกแบบประเมิน

การควบคมุ ภายใน (แบบ ปค.) คะแนนเฉลี่ย 4.06 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 81.20

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ท่ีมีตอ่ การใหบ้ ริการของกรมบัญชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 101

2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของกองตรวจสอบภาครัฐ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564 พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
และปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ระดับความพึงพอใจเฉลีย่ เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 5.54 และ 8.25 ตามลำดับ
พบว่าดา้ นทีม่ ีระดับความพงึ พอใจสงู ที่สดุ คือ ดา้ นเจา้ หน้าท/ี่ ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน สำหรบั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - 2562
และปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระดับความพึงพอใจเฉลีย่ ลดลง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.25 0.77 และ 1.19 ตามลำดบั
พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจต่ำที่สุด คือ ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร และด้านสถานที่และเครื่องมือ
ในการใหบ้ ริการ และคาดว่าระดับความพงึ พอใจเฉลีย่ ภาพรวมที่มตี ่อการให้บริการของกองตรวจสอบภาครฐั
มีแนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงท่ีเพ่ิมข้นึ แสดงตามภาพท่ี 122

ภาพที่ 122 : ร้อยละของระดบั ความพึงพอใจเฉลีย่ ภาพรวมทมี่ ีตอ่ การใหบ้ ริการของกองตรวจสอบภาครฐั
.......................................ตัง้ แต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ที่มตี ่อการใหบ้ ริการของกรมบญั ชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 102

3) ข้อมูลทัว่ ไปของผู้รับบริการของกองตรวจสอบภาครฐั
จากแบบสำรวจความพึงพอใจท่ไี ดต้ อบกลับ จำนวน 107 ฉบบั มขี ้อมลู ทั่วไปของผูร้ บั บรกิ าร ดงั น้ี
3.1 อายุ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 107 คน พบว่า อยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป มากที่สุด

จำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 58.88 รองลงมาคือ อยู่ในช่วงอายุ 31 - 40 ปี จำนวน 36 คน คิดเป็น
ร้อยละ 33.64 และอยู่ในชว่ งอายุ 20 - 30 ปี จำนวน 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 7.48 ตามลำดบั แสดงตามภาพท่ี 123

ภาพท่ี 123 : อายุผ้รู ับบริการของกองตรวจสอบภาครฐั

3.2 เพศ
ผูต้ อบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 107 คน พบวา่ เปน็ เพศชาย จำนวน 12 คน คิดเปน็

รอ้ ยละ 11.21 และเปน็ เพศหญงิ จำนวน 95 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 88.79 แสดงตามภาพท่ี 124

ภาพที่ 124 : เพศผูร้ ับบรกิ ารของกองตรวจสอบภาครฐั

3.3 จำนวนคร้ังในการเขา้ รบั บริการ
.ผู้ตอบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 107 คน พบวา่ เปน็ ผู้ทเ่ี ข้ารับบริการมากกวา่ 2 คร้ังข้ึนไป

มากที่สุด จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 52.34 รองลงมาคือ เข้ารับบริการ 1 ครั้ง จำนวน 39 คน คิดเป็น
ร้อยละ 36.45 และเขา้ รบั บริการ 2 คร้งั จำนวน 12 คน คดิ เป็นร้อยละ 11.21 ตามลำดบั แสดงตามภาพท่ี 125

ภาพที่ 125 : จำนวนคร้ังในการเขา้ รบั บรกิ ารของกองตรวจสอบภาครัฐ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียทมี่ ีต่อการใหบ้ รกิ ารของกรมบัญชกี ลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 103

4) ความตอ้ งการกลบั มาใช้บริการของกองตรวจสอบภาครัฐ
ผูต้ อบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 107 คน พบว่า มคี วามต้องการกลับมาใช้บริการ จำนวน 105 คน

คิดเปน็ รอ้ ยละ 98.13 และไม่ต้องการกลับมาใช้บรกิ าร จำนวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 1.87 แสดงตามภาพที่ 126

ภาพท่ี 126 : จำนวนผทู้ ่ีตอ้ งการกลบั มาใชบ้ ริการของกองตรวจสอบภาครฐั

5) การแนะนำให้มาใชบ้ ริการของกองตรวจสอบภาครัฐ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 107 คน พบว่า แนะนำให้มาใช้บริการจำนวน 81 คน

คิดเปน็ รอ้ ยละ 75.70 และไม่แนะนำให้มาใชบ้ รกิ าร จำนวน 26 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 24.30 แสดงตามภาพที่ 127

ภาพท่ี 127 : จำนวนการแนะนำให้มาใชบ้ รกิ ารของกองตรวจสอบภาครัฐ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี ท่มี ตี ่อการใหบ้ ริการของกรมบญั ชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 104

6) ข้อเสนอแนะเพือ่ ปรบั ปรุงการใหบ้ ริการของกองตรวจสอบภาครฐั
แบบสำรวจความพึงพอใจที่ได้ตอบกลับ จำนวน 107 ฉบับ มีข้อเสนอแนะ จำนวน 12 ฉบับ

ซึ่งสามารถสรุปตามประเดน็ การสำรวจ ได้ดงั น้ี
1. ดา้ นเจ้าหน้าท/่ี ผู้ปฏบิ ตั ิงาน (จำนวน 2 ฉบับ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16.67)
1.1 ควรเพิ่มเจ้าหนา้ ผ้ใู ห้บริการเพ่อื รองรับจำนวนผูใ้ ชบ้ ริการใหม้ ากขึน้
1.2 เจา้ หน้าทีบ่ างท่านควรพดู จาสุภาพและเป็นมิตร
2. ดา้ นกระบวนการ/ข้นั ตอนปฏิบตั ิงาน (จำนวน 1 ฉบบั คดิ เป็นรอ้ ยละ 8.33)
ควรจัดทำตัวอยา่ งข้ันตอนและกระบวนการปฏิบตั งิ านด้านการควบคุมภายในหรือการบริหาร

ความเสีย่ งใหห้ น่วยงานได้ใช้เปน็ กรณศี ึกษา
3. ดา้ นชอ่ งทางติดต่อส่ือสาร (จำนวน 7 ฉบบั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58.33)
การติดต่อทางโทรศัพท์ค่อนขา้ งยาก เนือ่ งจากสายไม่ว่าง ไม่มีผู้รับสาย และหมายเลขโทรศพั ท์

ท่ีแจง้ ไวม้ จี ำนวนน้อย ควรเพ่มิ ช่องทางในการตดิ ต่อส่ือสารใหห้ ลากหลายและสะดวกขึ้น
4. ด้านสถานทีแ่ ละเครื่องมอื ในการใหบ้ รกิ าร (จำนวน 2 ฉบบั คิดเปน็ ร้อยละ 16.67)
4.1 ควรจดั ใหม้ ีท่ีนงั่ สำหรบั ผรู้ บั บรกิ ารอยา่ งเพยี งพอ
4.2 ควรจดั ใหม้ ีสถานทจ่ี อดรถเพียงพอแกผ่ ู้ติดต่อ
5. ดา้ นการให้บรกิ าร
ไม่มีขอ้ เสนอแนะ

แสดงตามภาพท่ี 128

ภาพท่ี 128 : รอ้ ยละของข้อเสนอแนะเพอื่ ปรับปรุงการให้บริการของกองตรวจสอบภาครัฐ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ทีม่ ตี อ่ การใหบ้ รกิ ารของกรมบัญชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 105

2.16 กลมุ่ พฒั นาระบบลูกจา้ ง

1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม
ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ

การให้บริการของกลุ่มพัฒนาระบบลูกจ้าง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน
ไดค้ ะแนนเฉลยี่ 4.00 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 80.00 อยใู่ นระดับพงึ พอใจมาก ประกอบด้วยผลคะแนน 2 ส่วน ดังนี้

1.1 การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลีย่ 3.96 คะแนน คิดเป็น
รอ้ ยละ 79.20

1.2 การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย
4.03 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 80.60 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน
เรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ
ด้านการให้บริการ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน และด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร คะแนนเฉล่ีย
4.11 4.05 4.03 3.97 และ 3.97 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 82.20 81.00 80.60 79.40 และ 79.40 ตามลำดบั
แสดงตามภาพที่ 129 และตารางที่ 23

.ภาพที่ 129 : ระดบั ความพงึ พอใจเฉลีย่ ท่ีมีต่อการให้บรกิ ารของกล่มุ พัฒนาระบบลูกจา้ ง
จำแนกตามประเดน็ การสำรวจ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสียท่มี ีต่อการใหบ้ ริการของกรมบญั ชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 106

ตารางที่ 23 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการของกลุ่มพัฒนาระบบลูกจ้าง
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ประเด็น ระดับความพึงพอใจ
คะแนน ร้อยละ
ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมฯ (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 4.00 80.00
ความพึงพอใจท่ีมีต่อการให้บริการภาพรวม (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 3.96 79.20
ความพึงพอใจท่ีมีต่อการให้บริการ 5 ด้าน (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 4.03 80.60
ด้านเจ้าหน้าท/่ี ผู้ปฏิบัติงาน 4.11 82.20
1) เจ้าหนา้ ที่มีความร/ู้ ความเชยี่ วชาญในงาน 4.07 81.40
2) เจ้าหนา้ ท่ีให้บริการด้วยความรวดเรว็ และตรงความต้องการ 4.06 81.20
3) เจ้าหน้าที่ใช้คาพดู และกริ ิยาที่สภุ าพ 4.19 83.80
4) เจ้าหนา้ ท่ีปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ ไม่เลือกปฏิบัติ 4.13 82.60
ด้านกระบวนการ/ขน้ั ตอนปฏิบัติงาน 3.97 79.40
1) ขนั้ ตอนการให้บรกิ ารไม่ยงุ่ ยากซบั ซ้อน 3.96 79.20
2) ระยะเวลาในการให้บริการมีความเหมาะสม 3.97 79.40
ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร 3.97 79.40
1) เจ้าหนา้ ที่รบั โทรศัพท์รวดเรว็ และให้บรกิ ารจบในสายเดียว 4.01 80.20
2) การรบั เรอ่ื ง ประสานงาน และติดต่อกลับอย่างรวดเร็ว 4.01 80.20
3) การรบั - ส่งหนังสือราชการ/หนังสอื เวียนรวดเรว็ 3.96 79.20
4) มีช่องทางในการให้บรกิ ารท่ีหลากหลาย เช่น Facebook เป็นต้น 3.91 78.20
ด้านสถานที่และเคร่ืองมอื ในการให้บริการ 4.05 81.00
1) มีสงิ่ อานวยความสะดวกเพียงพอต่อการให้บริการ เช่น มีท่ีนง่ั คอยรับบรกิ าร เป็นต้น 4.04 80.80
2) สถานท่ีให้บริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย 4.06 81.20
ด้านการให้บริการ 4.03 80.60
1) การตอบข้อหารือ/การให้คาปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจน มีมาตรฐาน เข้าใจงา่ ย และเชอ่ื มั่นท่ีจะนาไปปฏิบัติงาน 4.00 80.00
2) หลักเกณฑ์/แนวปฏิบัติทาให้การบรหิ ารงานบุคคลลกู จ้างของสว่ นราชการ ได้สะดวก คลอ่ งตัว และรวดเร็ว 4.06 81.20

จากตารางแสดงผลสำรวจระดบั ความพงึ พอใจเฉล่ียภาพรวมทมี่ ีตอ่ การใหบ้ ริการของกลุ่มพัฒนาระบบลกู จา้ ง
โดยพิจารณาเปน็ รายดา้ น ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สามารถสรปุ ผลการสำรวจ ดังน้ี

• ผลคะแนนการสำรวจสงู สดุ 3 อนั ดับแรก
1) เจ้าหน้าที่ใช้คำพดู และกริ ิยาที่สภุ าพ คะแนนเฉลี่ย 4.19 คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ 83.80
2) เจา้ หน้าทีป่ ฏิบตั งิ านด้วยความเตม็ ใจ ไม่เลอื กปฏบิ ัติ คะแนนเฉลย่ี 4.13 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.60
3) เจา้ หน้าท่ีมคี วามร้/ู ความเชี่ยวชาญในงาน คะแนนเฉล่ีย 4.07 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 81.40

• ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อนั ดับแรก
1) มีชอ่ งทางในการให้บริการที่หลากหลาย คะแนนเฉลี่ย 3.91 คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ 78.20
2) ขั้นตอนการให้บริการไม่ยุ่งยากซับซ้อน และการรับ - ส่งหนังสือราชการ/หนังสือเวียนรวดเร็ว

คะแนนเฉล่ีย 3.96 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 79.20
3) ระยะเวลาในการให้บริการมีความเหมาะสม คะแนนเฉลีย่ 3.97 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 79.40

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียท่มี ตี ่อการใหบ้ ริการของกรมบัญชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 107

2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของกลุ่มพัฒนาระบบลูกจ้าง ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564 พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2561
และปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 3.62 1.25 และ 8.16 ตามลำดับ
พบวา่ ด้านท่ีมีระดบั ความพึงพอใจสงู ทส่ี ดุ คือ ด้านกระบวนการ/ขนั้ ตอนปฏิบัติงาน ด้านเจา้ หนา้ ที่/ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน
และด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ระดบั ความพงึ พอใจเฉลย่ี ลดลง คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.40 และ 2.68 ตามลำดบั พบวา่ ดา้ นท่ีมรี ะดบั ความพึงพอใจ
ต่ำที่สุด คือ ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร และด้านการให้บริการ และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม
ทมี่ ีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของกลมุ่ พฒั นาระบบลูกจ้างมีแนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงทีเ่ พม่ิ ข้นึ แสดงตามภาพท่ี 130

ภาพที่ 130 : ร้อยละของระดบั ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมท่มี ีตอ่ การใหบ้ ริการของกลุ่มพฒั นาระบบลกู จ้าง
.ตั้งแต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการใหบ้ รกิ ารของกรมบญั ชกี ลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 108

3) ขอ้ มลู ทั่วไปของผู้รับบรกิ ารของกล่มุ พัฒนาระบบลูกจ้าง
จากแบบสำรวจความพงึ พอใจทไี่ ด้ตอบกลับ จำนวน 69 ฉบบั มีข้อมูลทั่วไปของผู้รับบริการ ดงั น้ี
3.1 อายุ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 69 คน พบว่า อยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป มากที่สุด

จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 43.48 รองลงมาคือ อยู่ในช่วงอายุ 31 - 40 ปี จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 37.68
และอยู่ในชว่ งอายุ 20 - 30 ปี จำนวน 13 คน คดิ เป็นร้อยละ 18.84 ตามลำดบั แสดงตามภาพท่ี 131

ภาพท่ี 131 : อายผุ ้รู บั บริการของกลมุ่ พัฒนาระบบลูกจา้ ง

3.2 เพศ
ผ้ตู อบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 69 คน พบวา่ เปน็ เพศชาย จำนวน 11 คน คดิ เป็น

ร้อยละ 15.94 และเป็นเพศหญิง จำนวน 58 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 84.06 แสดงตามภาพที่ 132

ภาพที่ 132 : เพศผรู้ ับบริการของกลุ่มพฒั นาระบบลกู จา้ ง

3.3 จำนวนครง้ั ในการเข้ารับบริการ
.ผู้ตอบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 69 คน พบว่า เป็นผู้ท่ีเข้ารับบริการ 1 ครั้ง มากที่สุด

จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 49.27 รองลงมาคือ เข้ารับบริการมากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป จำนวน 29 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 42.03 และเข้ารับบริการ 2 ครง้ั จำนวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 8.70 ตามลำดบั แสดงตามภาพที่ 133

ภาพท่ี 133 : จำนวนคร้ังในการเข้ารับบรกิ ารของกลุ่มพัฒนาระบบลูกจา้ ง

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่มี ีต่อการใหบ้ รกิ ารของกรมบัญชกี ลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 109

4) ความตอ้ งการกลับมาใช้บรกิ ารของกลมุ่ พัฒนาระบบลูกจ้าง
ผู้ตอบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 69 คน พบวา่ มีความตอ้ งการกลับมาใชบ้ ริการ จำนวน 68 คน

คดิ เป็นรอ้ ยละ 98.55 และไม่ต้องการกลบั มาใชบ้ ริการ จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.45 แสดงตามภาพที่ 134

ภาพที่ 134 : จำนวนผู้ท่ีตอ้ งการกลับมาใชบ้ รกิ ารของกล่มุ พัฒนาระบบลกู จ้าง

5) การแนะนำใหม้ าใช้บรกิ ารของกลุ่มพัฒนาระบบลูกจา้ ง
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 69 คน พบว่า แนะนำให้มาใช้บริการ จำนวน 49 คน

คิดเปน็ รอ้ ยละ 71.01 และไม่แนะนำให้มาใชบ้ รกิ าร จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 28.99 แสดงตามภาพท่ี 135

ภาพที่ 135 : จำนวนการแนะนำใหม้ าใชบ้ รกิ ารของกลุ่มพัฒนาระบบลกู จา้ ง

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสียทีม่ ีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของกรมบัญชกี ลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 110

6) ขอ้ เสนอแนะเพื่อปรับปรงุ การใหบ้ ริการของกลุ่มพัฒนาระบบลกู จ้าง
แบบสำรวจความพึงพอใจทไี่ ด้ตอบกลับ จำนวน 69 ฉบับ มีขอ้ เสนอแนะ จำนวน 2 ฉบับ ซึ่งสามารถ

สรปุ ตามประเดน็ การสำรวจ ได้ดังน้ี
1. ด้านเจา้ หน้าท/ี่ ผู้ปฏบิ ัตงิ าน
ไม่มีข้อเสนอแนะ
2. ดา้ นกระบวนการ/ขั้นตอนปฏบิ ัตงิ าน (จำนวน 2 ฉบบั คิดเป็นรอ้ ยละ 100.00)
ควรมกี ระบวนการ/ข้ันตอนปฏบิ ัตงิ านทชี่ ัดเจน เพอ่ื ให้ง่ายต่อการปฏิบตั งิ าน
3. ดา้ นช่องทางติดต่อสือ่ สาร
ไม่มีขอ้ เสนอแนะ
4. ด้านสถานทีแ่ ละเครือ่ งมือในการให้บริการ
ไม่มีขอ้ เสนอแนะ
5. ดา้ นการให้บรกิ าร
ไม่มีข้อเสนอแนะ

แสดงตามภาพท่ี 136

ภาพที่ 136 : รอ้ ยละของขอ้ เสนอแนะเพ่อื ปรบั ปรุงการให้บริการของกลมุ่ พัฒนาระบบลกู จ้าง

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสียทมี่ ตี ่อการใหบ้ ริการของกรมบัญชกี ลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 111

2.17 สถาบนั พัฒนาบุคลากรด้านการคลงั และบญั ชีภาครัฐ

1) ความพึงพอใจเฉลย่ี ภาพรวม
ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ

การให้บริการของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.00 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 80.00 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก
ประกอบดว้ ยผลคะแนน 2 ส่วน ดงั น้ี

1.1 การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 3.97 คะแนน คิดเป็น
ร้อยละ 79.40

1.2 การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลย่ี
4.02 คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ 80.40 เม่อื พิจารณาความพงึ พอใจเฉลยี่ ที่มตี อ่ การใหบ้ รกิ ารเปน็ รายดา้ นเรียงลำดบั
จากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการให้บริการ ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าท่ี/
ผ้ปู ฏิบัติงาน ด้านช่องทางตดิ ตอ่ ส่อื สาร และดา้ นกระบวนการ/ข้นั ตอนปฏบิ ัตงิ าน คะแนนเฉลย่ี 4.08 4.02 4.01
4.01 และ 3.97 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 81.60 80.40 80.20 80.20 และ 79.40 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 137
และตารางที่ 24

.ภาพที่ 137 : ระดบั ความพึงพอใจเฉล่ียท่ีมีต่อการใหบ้ รกิ ารของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ
..จำแนกตามประเดน็ การสำรวจ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี ทีม่ ีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของกรมบัญชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 112

ตารางที่ 24 : รายละเอียดผลสำรวจระดบั ความพึงพอใจเฉล่ยี ภาพรวมทีม่ ีต่อการให้บริการของสถาบนั พฒั นาบุคลากร
ด้านการคลังและบัญชภี าครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประเด็น ระดับความพึงพอใจ
คะแนน ร้อยละ
ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมฯ (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 4.00 80.00
ความพึงพอใจท่ีมตี ่อการให้บริการภาพรวม (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 3.97 79.40
ความพึงพอใจท่ีมีต่อการให้บริการ 5 ด้าน (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 4.02 80.40
ด้านเจ้าหน้าท/ี่ ผู้ปฏิบัติงาน 4.01 80.20
1) เจ้าหน้าที่ให้บรกิ ารด้วยความรวดเร็ว และตรงความต้องการ 3.97 79.40
2) เจ้าหน้าที่ใช้คาพดู และกิริยาที่สภุ าพ 4.04 80.80
3) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ ไม่เลอื กปฏิบัติ 4.01 80.20
ด้านกระบวนการ/ขนั้ ตอนปฏิบัติงาน 3.97 79.40
1) ขน้ั ตอนการให้บรกิ ารด้านการฝึกอบรมไม่ยงุ่ ยากซบั ซอ้ น 3.97 79.40
2) ระยะเวลาในการให้บรกิ ารด้านการขอสนบั สนุนวิทยากร มีความเหมาะสม 3.97 79.40
ด้านชอ่ งทางติดต่อส่ือสาร 4.01 80.20
1) เจ้าหน้าท่ีรับโทรศัพท์รวดเร็ว และให้บรกิ ารจบในสายเดียว 4.03 80.60
2) การรับเรอื่ ง ประสานงาน และติดต่อกลบั อย่างรวดเรว็ 4.03 80.60
3) การรับ-ส่งหนังสอื ราชการรวดเร็ว เช่น หนงั สือแจ้งโครงการฝกึ อบรม และเชิญวิทยากร เป็นต้น 4.01 80.20

4) มีช่องทางในการให้บรกิ ารท่ีหลากหลาย เช่น โทรศัพท์ Facebook และ Line เป็นต้น 3.98 79.60
ด้านสถานท่ีและเครื่องมอื ในการให้บริการ 4.02 80.40
3.96 79.20
1) ห้องฝึกอบรมมีสง่ิ อานวยความสะดวกเพยี งพอต่อการให้บริการฝกึ อบรม เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเลต็ และอุปกรณ์
ในการฝกึ อบรม เป็นต้น 4.07 81.40
4.08 81.60
2) สถานท่ีให้บรกิ ารสะอาด เป็นระเบียบเรียบรอ้ ย 4.10 82.00
ด้านการให้บริการ 4.10 82.00
1) การให้คาแนะนาการเข้ารับการฝึกอบรมชัดเจน 4.02 80.40
2) หลกั สูตรการฝึกอบรมมีความสอดคลอ้ งต่อการพฒั นาความรู้ ทักษะ และสมรรถนะท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติงาน 4.09 81.80
3) มีการประชาสมั พันธ์การจัดฝึกอบรมลว่ งหนา้ 4.09 81.80
4) การติดตามประเมินผลภายหลงั การฝึกอบรมมีประสิทธิภาพ
5) มีเกณฑ์การคัดเลอื กผมู้ ีสิทธิเข้ารับการฝึกอบรมท่ีชัดเจน

จากตารางแสดงผลสำรวจระดบั ความพงึ พอใจเฉลีย่ ภาพรวมทีม่ ีตอ่ การให้บริการของสถาบันพัฒนาบุคลากร
ด้านการคลงั และบัญชภี าครัฐ โดยพิจารณาเป็นรายดา้ น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สามารถสรุปผลการสำรวจ ดงั น้ี

• ผลคะแนนการสำรวจสูงสุด 3 อันดบั แรก
1) การใหค้ ำแนะนำการเขา้ รบั การฝกึ อบรมชัดเจน หลกั สูตรการฝกึ อบรมมคี วามสอดคล้องตอ่ การพัฒนา

ความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะที่จำเป็นต่อการปฏบิ ัตงิ าน คะแนนเฉลยี่ 4.10 คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ 82.00
2) การตดิ ตามประเมินผลภายหลงั การฝกึ อบรมมีประสิทธิภาพ และมเี กณฑ์การคัดเลือกผู้มีสิทธิเข้ารับ

การฝึกอบรมทช่ี ัดเจน คะแนนเฉลี่ย 4.09 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 81.80
3) สถานท่ใี หบ้ ริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย คะแนนเฉล่ีย 4.07 คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ 81.40

• ผลคะแนนการสำรวจตำ่ สดุ 3 อนั ดบั แรก
1) ห้องฝึกอบรมมสี งิ่ อำนวยความสะดวกเพยี งพอตอ่ การใหบ้ ริการฝึกอบรม คะแนนเฉลี่ย 3.96 คะแนน

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 79.20
2) เจา้ หนา้ ที่ใหบ้ ริการดว้ ยความรวดเรว็ และตรงความต้องการ ข้นั ตอนการให้บรกิ ารดา้ นการฝึกอบรม

ไม่ยงุ่ ยากซบั ซอ้ น และระยะเวลาในการให้บรกิ ารด้านการขอสนับสนุนวิทยากร มคี วามเหมาะสม คะแนนเฉลีย่
3.97 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 79.40

3) มชี อ่ งทางในการใหบ้ ริการท่หี ลากหลาย คะแนนเฉลย่ี 3.98 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 79.60

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ท่มี ีต่อการใหบ้ ริการของกรมบญั ชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 113

2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564
พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คิดเป็น
ร้อยละ 0.25 และ 11.20 ตามลำดับ พบวา่ ด้านท่ีมีระดบั ความพึงพอใจสงู ท่ีสดุ คอื ดา้ นเจา้ หน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน
สำหรบั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - 2562 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระดบั ความพึงพอใจเฉลีย่ ลดลง คิดเปน็
ร้อยละ 0.75 1.01 และ 8.47 ตามลำดับ พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจต่ำที่สุด คือ ด้านช่องทาง
ติดต่อสื่อสาร และด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม
ที่มีต่อการให้บริการของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชีภาครัฐมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
ทเ่ี พ่ิมขนึ้ แสดงตามภาพที่ 138

ภาพที่ 138 : .รอ้ ยละของระดบั ความพึงพอใจเฉล่ยี ภาพรวมท่ีมีตอ่ การให้บริการของสถาบันพฒั นาบุคลากร
ด้านการคลังและบัญชีภาครฐั ตง้ั แตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ที่มตี ่อการใหบ้ รกิ ารของกรมบญั ชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 114

3) ข้อมลู ท่ัวไปของผู้รับบรกิ ารของสถาบนั พฒั นาบคุ ลากรดา้ นการคลงั และบัญชภี าครัฐ
จากแบบสำรวจความพงึ พอใจท่ไี ด้ตอบกลับ จำนวน 67 ฉบบั มขี ้อมลู ท่ัวไปของผูร้ ับบริการ ดังน้ี
3.1 อายุ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 67 คน พบว่า อยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป มากที่สุด

จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 41.79 รองลงมาคือ อยู่ในช่วงอายุ 31 - 40 ปี จำนวน 26 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 38.81
และอยู่ในชว่ งอายุ 20 - 30 ปี จำนวน 13 คน คิดเปน็ ร้อยละ 19.40 ตามลำดบั แสดงตามภาพที่ 139

ภาพที่ 139 : อายผุ ู้รบั บรกิ ารของสถาบนั พฒั นาบุคคลากรด้านการคลังและบัญชภี าครัฐ

3.2 เพศ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 67 คน พบว่า เป็นเพศชาย จำนวน 9 คน คิดเปน็

รอ้ ยละ 13.43 และเป็นเพศหญงิ จำนวน 58 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 86.57 แสดงตามภาพท่ี 140

ภาพท่ี 140 : เพศผูร้ ับบริการของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบัญชภี าครัฐ

3.3 จำนวนคร้งั ในการเขา้ รับบริการ
.ผตู้ อบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 67 คน พบว่า เปน็ ผู้ทเ่ี ขา้ รบั บรกิ ารมากกวา่ 2 ครงั้ ขน้ึ ไป

มากที่สุด จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 55.22 รองลงมาคือ เข้ารับบริการ 1 ครั้ง จำนวน 23 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 34.33 และเข้ารบั บริการ 2 คร้ัง จำนวน 7 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 10.45 ตามลำดับ แสดงตามภาพท่ี 141

ภาพที่ 141 : จำนวนคร้ังในการเข้ารบั บรกิ ารของสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการคลังและบญั ชีภาครฐั

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ทม่ี ตี อ่ การใหบ้ ริการของกรมบญั ชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 115

4) ความตอ้ งการกลบั มาใชบ้ ริการของสถาบันพฒั นาบุคลากรดา้ นการคลังและบญั ชีภาครฐั
.. ผ้ตู อบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 67 คน พบวา่ มคี วามตอ้ งการกลบั มาใชบ้ รกิ าร จำนวน 67 คน
คิดเป็นร้อยละ 100.00 แสดงตามภาพท่ี 142

ภาพที่ 142 : จำนวนผทู้ ่ีตอ้ งการกลบั มาใชบ้ ริการของสถาบันพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการคลังและบัญชีภาครฐั

5) การแนะนำใหม้ าใช้บริการของสถาบันพฒั นาบุคลากรด้านการคลังและบญั ชีภาครฐั
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 67 คน พบว่า แนะนำให้มาใช้บริการ จำนวน 55 คน

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.09 และไมแ่ นะนำใหม้ าใช้บริการ จำนวน 12 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.91 แสดงตามภาพท่ี 143

ภาพที่ 143 : จำนวนการแนะนำใหม้ าใช้บริการของสถาบันพฒั นาบคุ ลากรด้านการคลังและบัญชภี าครฐั

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผ้มู ีส่วนไดส้ ่วนเสียทม่ี ตี อ่ การใหบ้ รกิ ารของกรมบญั ชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 116

6) ขอ้ เสนอแนะเพ่ือปรับปรุงการใหบ้ รกิ ารของสถาบันพฒั นาบคุ ลากรด้านการคลงั และบัญชภี าครฐั
แบบสำรวจความพึงพอใจที่ได้ตอบกลับ จำนวน 67 ฉบับ มีข้อเสนอแนะ จำนวน 11 ฉบับ

ซง่ึ สามารถสรปุ ตามประเด็นการสำรวจ ได้ดงั น้ี
1. ดา้ นเจ้าหนา้ ท/ี่ ผู้ปฏบิ ัตงิ าน
ไม่มีข้อเสนอแนะ
2. ดา้ นกระบวนการ/ขน้ั ตอนปฏิบัติงาน (จำนวน 2 ฉบบั คิดเป็นรอ้ ยละ 18.18)
2.1 ควรลดขั้นตอนและกระบวนการท่ียุ่งยากซบั ซอ้ น
2.2 ควรมีกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงานที่ชัดเจน เนื่องจากได้รับหนังสือประชาสัมพันธ์

หลกั สตู รอบรม (ดว่ นท่ีสดุ ) จำนวนหลายครงั้ ซึ่งทำใหม้ ีระยะเวลาในการดำเนนิ การทีก่ ระชั้นชิด
3. ดา้ นช่องทางติดตอ่ สอ่ื สาร (จำนวน 8 ฉบบั คิดเปน็ รอ้ ยละ 72.73)
3.1 ควรเพิม่ ชอ่ งทางการตดิ ต่อสื่อสารท่ีหลากหลาย
3.2 ควรเพม่ิ คู่สายโทรศัพทใ์ นการแนะนำปรกึ ษาให้มากขน้ึ เนื่องจากบางกรณไี มส่ ามารถติดตอ่

ตามหมายเลขโทรศัพทท์ แี่ จง้ ได้
4. ดา้ นสถานทแี่ ละเครอ่ื งมือในการใหบ้ ริการ (จำนวน 1 ฉบับ คิดเปน็ รอ้ ยละ 9.09)
ควรจดั ห้องสำหรับใหค้ ำปรกึ ษาโดยเฉพาะ เพื่อไมใ่ ห้มเี สียงดงั รบกวน
5. ดา้ นการใหบ้ รกิ าร
ไม่มีข้อเสนอแนะ

แสดงตามภาพที่ 144

ภาพท่ี 144 : รอ้ ยละของขอ้ เสนอแนะเพ่อื ปรับปรงุ การใหบ้ รกิ ารของสถาบนั พฒั นาบคุ ลากรด้านการคลงั และบัญชีภาครัฐ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียทีม่ ตี ่อการใหบ้ ริการของกรมบัญชีกลาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 117

กลมุงานประเมินผลกองยทุธศาสตรและแผนงานกรมบัญชีกลาง
ถนนพระรามท่ี6แขวงพญาไทเขตพญาไทกรงุเทพฯ10400

โทร.02-127-7218www.cgd.go.th


Click to View FlipBook Version