The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1.หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tem.sasitorn23, 2022-07-03 22:23:54

ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

1.หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

วธิ ีกำรเทียบหน่วย

วธิ กี ำรเทียบหน่วย (factor label method) ทาไดโ้ ดยการคูณปริมาณ
ในหน่วยเร่ิมต้นด้วยแฟกเตอร์เปลยี่ นหนว่ ยท่ีตอ้ งการอยดู่ ้านบน ตาม
สมการ

ปรมิ ำณและหน่วยทต่ี อ้ งกำร = ปรมิ ำณและหน่วยเริม่ ตน้ หน่วยทต่ี อ้ งกำร
หน่วยเร่มิ ต้น

1. 3.0 x 103 กรมั มกี ่กี ิโลกรมั

2. 2.5 x 105 มลิ ลิลติ ร มกี ี่ลติ ร

2. สำร A มคี วำมหนำแนน่ 1.20 g/mL จะมคี วำม
หนำแน่นก่ี kg/dm3

3. สำรละลำยกรดไฮโดรคลอรกิ มวล 20 กรัม ควำมหนำแน่น
1.18 กรมั ต่อลกู บำศก์เซนตเิ มตร สำรละลำยมีปรมิ ำตร
เท่ำใด

แบบฝึกหดั เรอ่ื ง แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย

1. นำ้ มวล 100 กิโลกรมั มีกมี่ ิลลกิ รัม
2. นำ้ ปรมิ ำตร 2,500 มิลลิลติ ร มกี ล่ี ติ ร
3. นำ้ ปรมิ ำตร 10.00 มิลลลิ ิตร ท่ีอณุ ภมู ิ 20 องศำ

เซลเซยี ส มมี วลเทำ่ ใด ถำ้ ควำมหนำแน่นของน้ำท่ี
อุณภมู ิ 20 องศำเซลเซยี ส มคี วำมหนำแน่น
0.9982 กรมั ตอ่ มิลลลิ ิตร

ทำแบบฝกึ หดั ท่ี 1.4

➢ในหนงั สือเรยี น หน้า 35
ทาข้อ 1 – 4 ใหน้ ักเรียนทาลงในสมดุ













https://www.youtube.com/
watch?v=C5tOEBmBAHg

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (science process skill)

จติ วทิ ยาศาสตร์ (Scientific mind)

วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)

➢ เปน็ กระบวนการศกึ ษาหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ท่มี แี บบ
แผนขนั้ ตอน

วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)

1. การสงั เกต
➢ เป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ของกำรได้ข้อมลู เกี่ยวกับส่งิ ทตี่ อ้ งกำรศึกษำ โดย

อาศยั ประสำทสัมผัสท้งั 5 คือ การมองเหน็ การฟังเสียง การได้
กลน่ิ การรบั รส และการสมั ผัส

ขอ้ สงสยั หรือตง้ั เปน็ คำถำมทต่ี อ้ งการคำตอบ

วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (scientific method)

2. การตัง้ สมมตฐิ าน

➢ เป็นการคาดคะเนคาตอบของคาถามหรือปัญหา โดยมพี นื้ ฐานจาก
การสังเกต ความรู้ หรอื ประสบการณ์เดิม

➢ เขยี นในรูปของข้อความที่แสดงเหตแุ ละผลทเี่ กดิ ขึ้น หรืออีกนยั
หนงึ่ จะเปน็ ความสมั พันธข์ องตวั แปรต้นและตัวแปรตาม

วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (scientific method)

3. การตรวจสอบสมมตฐิ าน

➢ เป็นกระบวนการหาคาตอบของสมมติฐาน โดยมกี ารออกแบบ
การทดลองใหม้ กี ารควบคมุ ปัจจัยตา่ ง ๆ ทม่ี ีผลตอ่ การทดลอง
➢ มขี น้ั ตอนการทดลองท่ีชดั เจน

วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)

4. การรวบรวมข้อมลู และวิเคราะห์ผล

➢ เป็นการนาขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการสังเกต การตรวจสอบ สมมตฐิ าน
มารวบรวม วิเคราะห์ และอธบิ ายขอ้ เทจ็ จริง

วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)

5. การสรปุ ผล

➢ เปน็ การสรุปความรหู้ รอื ข้อเท็จจริงทีไ่ ดจ้ ากการตรวจสอบ
สมมตฐิ าน และมกี ารเปรยี บเทียบกบั สมมติฐานทต่ี ้ังไว้กอ่ นหน้า

123

วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (scientific method)

การศกึ ษาหาความร้ทู างวทิ ยาศาสตรน์ นั้ ไม่มีรปู แบบท่ตี ำยตวั

อาจมรี ายละเอยี ดท่แี ตกตา่ งกัน
ขน้ึ อยกู่ ับคำถำม บริบท หรอื วธิ ีกำร

ท่ีใชใ้ นการสารวจตรวจสอบ

ตรวจสอบความเขา้ ใจ

นักเรยี นคนหน่ึงดื่มนำ้ อัดลม

แล้วพบวา่ น้ำอดั ลมที่แชเ่ ย็น
มีควำมซ่ำมำกกวำ่ น้ำอดั ลมท่ี
ไม่แชเ่ ย็น จึงเกิดความสงสยั ว่า

เพราะเหตใุ ดจงึ เปน็ เชน่ น้ัน ?

ตรวจสอบความเขา้ ใจ

นักเรยี นสงั เกตวา่ เม่ือด่มื นา้ อัดลมที่

แชเ่ ย็นแล้วรสู้ กึ ว่ามีความซา่ มากกวา่
น้าอดั ลมท่ไี ม่แช่เย็น .
นกั เรยี นคดิ ว่ำ ความเขม้ ข้นของ
กรดคารบ์ อนกิ ที่อยูใ่ นน้าอดั ลมเป็น
สาเหตใุ หน้ ้าอดั ลมมคี วามซ่า

ตรวจสอบความเขา้ ใจ

ต้งั สมมตฐิ ำนว่า

"นา้ อัดลมท่ีแชเ่ ยน็ จะมคี วามเขม้ ขน้
ของกรดคาร์บอนกิ มากกว่าน้าอดั ลมที่
ไม่แชเ่ ย็น"

ตรวจสอบความเข้าใจ

วำงแผนการทดลองโดยการวัดคำ่ pH ของนา้ อัดลมท่เี พง่ิ เปิดขวดทั้งที่แชเ่ ยน็

และไมแ่ ชเ่ ยน็

ทำการทดลอง พบว่า นำ้ อัดลมทแ่ี ช่เยน็ มีคำ่ pH เท่ำกับ 2 และน้ำอดั ลมท่ี
อุณหภมู ิหอ้ งมีคา่ pH เทำ่ กับ 3 ซึ่งสอดคล้องกบั สมมติฐานท่ตี งั้ ไว้

เขาจึงสรปุ ผลกำรทดลองว่า น้ำอดั ลมทีแ่ ชเ่ ยน็ มีควำมเข้มขน้ ของ
กรดคำร์บอนิกมำกกวำ่ จึงมคี วำมซ่ำมำกกวำ่ น้ำอัดลมท่ีไมแ่ ช่เย็น

➢ 1. การออกแบบการทดลองสอดคลอ้ งกบั สมมติฐานที่ตงั้ ไวห้ รอื ไม่
อยา่ งไร

➢ 2. การสรปุ ผลการทดลองสอดคล้องกบั ข้อเท็จจรงิ ที่ไดจ้ ากการ
ตรวจสอบสมมติฐานหรือไม่ อย่างไร

➢ 3. สมมตฐิ านทตี่ ้ังไว้ สอดคลอ้ งกบั ส่งิ ท่สี งั เกตไดว้ า่ นา้ อัดลมทแี่ ช่เยน็ มี
ความซา่ มากกวา่ นา้ อดั ลมท่ไี มแ่ ช่เย็น หรอื ไม่ อย่างไร

➢ 4. ถา้ นักเรียนต้องการออกแบบการทดลองเพื่อตอบคาถามวา่ เพราะ
เหตใุ ด เม่ือดืม่ น้าอดั ลมทีแ่ ชเ่ ย็นจึงรู้สกึ ว่ามคี วามซา่ มากกว่านา้ อดั ลมที่
ไมแ่ ชเ่ ย็น นักเรยี นคิดวา่ ควรมขี ้อมลู ใดเพ่ิมเตมิ บ้าง

➢ 1. การออกแบบการทดลองสอดคลองกบั สมมตฐิ านท่ีตั้งไวห้ รอื ไม่
อย่างไร

สอดคล้อง เนอ่ื งจาก pH เปน็ คา่ ท่บี อกความเขม้ ขน้ ของกรดใน
สารละลายการเปรยี บเทียบคา่ pH จึงสามารถบอกความเขม้ ข้นของ
กรดคาร์บอนกิ ทอ่ี ยู่ในน้าอดั ลม

➢ 2. การสรปุ ผลการทดลองสอดคลอ้ งกับขอ้ เท็จจรงิ ที่ไดจ้ ากการ
ตรวจสอบสมมตฐิ านหรอื ไม่ อยา่ งไร

❑ สอดคลอ้ งกับข้อเทจ็ จริงที่ระบุว่าน้าอดั ลมท่ีแช่เย็นมคี วามเข้มข้นของ
กรดคารบ์ อนกิ มากกวา่

❑ ไมส่ อดคล้องกับขอ้ เท็จจรงิ ท่ีสรปุ วา่ นา้ อัดลมท่แี ชเ่ ยน็ มีความซ่ามากกวา่
เนือ่ งจากเปน็ การสรุปที่เกนิ กวา่ ขอ้ เทจ็ จริงท่ไี ด้จากการตรวจสอบ

➢ 3. สมมตฐิ านทตี่ ัง้ ไว้ สอดคลอ้ งกับสิ่งทีส่ งั เกตได้วา่ น้าอัดลมทีแ่ ชเ่ ยน็ มี
ความซ่ามากกว่าน้าอัดลมที่ไมแ่ ชเ่ ย็น หรอื ไม่ อยา่ งไร

ไมส่ อดคล้องกบั ขอ้ สังเกตเน่ืองจากไมท่ ราบความสัมพนั ธ์ระหว่าง
ความซา่ กบั ความเขม้ ข้นของกรดคาร์บอนกิ

➢ 4. ถ้านกั เรียนตอ้ งการออกแบบการทดลองเพือ่ ตอบคาถามว่า เพราะ
เหตใุ ด เมื่อดื่มน้าอดั ลมทแ่ี ชเ่ ยน็ จึงรู้สกึ วา่ มีความซา่ มากกวา่ นา้ อัดลมท่ี
ไมแ่ ชเ่ ยน็ นกั เรียนคดิ ว่าควรมขี ้อมลู ใดเพ่มิ เตมิ บ้าง

องคป์ ระกอบในน้าอดั ลม ปจั จยั ทท่ี าใหเ้ กดิ ความซ่า

กำรเขียนรำยงำนกำรทดลอง

➢ ช่วยให้ผู้ทาการทดลองมขี อ้ มูลไว้อา้ งองิ
➢ เป็นเครอื่ งมอื สอ่ื สารที่ผ้อู ่นื สามารถนาไปศกึ ษาและปฏิบตั ติ ามได้

กำรเขยี นรำยงำนกำรทดลอง

➢ หวั ข้อในการเขยี นรายงานการทดลอง

1. ช่อื การทดลอง
2. จุดประสงค์
3. สมมติฐานและการกาหนดตวั แปร
4. อุปกรณ์และสารเคมี
5. วิธีการทดลอง
6. ผลการทดลอง
7. อภิปรายและสรุปผลการทดลอง

กำรศกึ ษำหำ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ควำมรทู้ ำงวทิ ยำศำสตร์ (scientific process skill)

จติ วิทยาศาสตร์
(scientific mind)

ทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ (scientific process skill)

มที ัง้ หมด 14 ทักษะ

ทักษะกระบวนการข้ันพน้ื ฐาน มี 8 ทักษะ ทกั ษะกระบวนการขัน้ ผสมหรอื บรู ณาการ มี 6 ทกั ษะ
1) ทกั ษะการสงั เกต 1) ทกั ษะการกาหนดและควบคมุ ตวั แปร
2) ทักษะการวดั 2) ทักษะการต้งั สมมตฐิ าน
3) ทกั ษะการจาแนก 3) ทักษะการกาหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ตั ิการ
4) ทกั ษะการหาความสมั พนั ธ์ 4) ทักษะการทดลอง
5) ทักษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และการลงข้อสรุป
ระหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา 6) การสร้างแบบจาลอง
5) ทักษะคานวณ
6) ทักษะการจดั กระทาและสื่อความหมาย

ขอ้ มูล
7) ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมลู
8) ทกั ษะการพยากรณ์

จติ วทิ ยำศำสตร์ (scientific mind)

➢ เปน็ ความรูส้ กึ นึกคดิ พฤติกรรมหรอื ลักษณะนสิ ัย ที่เปน็ ผลมาจากประสบการณ์
และการเรียนรซู้ ่ึงมีอทิ ธิพลต่อความคิด การตดั สนิ ใจ หรือพฤติกรรมของบุคคลตอ่
ความรู้หรือส่งิ ทมี่ คี วามเกี่ยวข้องกบั วิทยาศาสตร์

จติ วทิ ยำศำสตร์ (scientific mind)

➢ ความอยากรู้อยากเห็น
➢ การใช้วิจารณญาณ
➢ ความใจกวา้ ง
➢ ความซอ่ื สัตย์
➢ ความมงุ่ มั่นอดทน
➢ ความรอบคอบ
➢ การเหน็ ความสาคญั และคุณค่าของวิทยาศาสตร์

กำรศึกษำหำ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ควำมรทู้ ำงวทิ ยำศำสตร์ (scientific process skill)

จติ วิทยาศาสตร์
(scientific mind)

คานงึ ถึงจรยิ ธรรมซึ่งเกี่ยวข้องกบั ความถกู ต้องในการศกึ ษาวิทยาศาสตร์

ทม่ี ีต่อตนเอง ผอู้ ่ืน และสงิ่ แวดล้อม

จรยิ ธรรมทำงวิทยำศำสตร์

➢ ความซือ่ สตั ย์ในการรายงานข้อมลู ทางวิทยาศาสตร์

➢ การวิเคราะหแ์ ละแปลความหมายข้อมูลอยา่ งอสิ ระบนพ้นื ฐานของขอ้ มูลท่ีมีอยู่
โดยไม่ให้ข้อมลู จากแหล่งภายนอกมอี ทิ ธิพลตอ่ การวิเคราะห์และการตีความ
การอา้ งองิ แหลง่ ของข้อมูลตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม

➢ ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมหรือสภาพแวดล้อม


Click to View FlipBook Version