The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการเรียนวิชาดนตรี 2

จัดทำโดย นางสาวนฤมล สุภัคศิริประสาน และนายเกียรติสิน เทพวารินทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เอกสารประกอบการเรียนวิชาดนตรี 2 ม.2

เอกสารประกอบการเรียนวิชาดนตรี 2

จัดทำโดย นางสาวนฤมล สุภัคศิริประสาน และนายเกียรติสิน เทพวารินทร์

ดนตรี ๒ รหัสวิชวิา ศ๒๒๑๐๑ ชั้น ชั้ มัธ มั ยมศึกษาปีที่ ปี ที่ ๒ หลักสูตสูรโรงเรียรีนวิทวิยาศาสตร์ภูร์มิภูภมิาค ระดับชั้นชั้มัธมัยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช ๒๕๕๔ (ฉบับบั ปรับรั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๑) จัด จั ทำ โดย นายเกียรติสินสิเทพวารินริทร์ นางสาวนฤมล สุภั สุ ภั คศิริปริระสาน ใบอนุญาตเลขที่ B09/2566 กลุ่มบริหารวิชาการ โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช


ใบอนุญาตใหใชสื่อการเรียนรูในสถานศึกษา -------------------------------------------------------- เลขที่ B09/2566 วันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2566 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาพื้นฐาน ศ22101 ดนตรี 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรโรงเรียนวิทยาศาสตรภูมิภาค ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2554 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2561) เรียบเรียงโดย นายเกียรติสิน เทพวารินทรและนางสาวนฤมล สุภัคศิริประสาน โรงเรียนวิทยาศาสตรจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราชไดพิจารณาแลว อนุญาตใหใช ในสถานศึกษาได (นายสันติ นาดี) ผูอำนวยการโรงเรียนวิทยาศาสตรจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช


ก คำนำ เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาดนตรี2 (ศ22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ฉบับนี้ทางคุณครู ประจำวิชาได้จัดทำขึ้นมาเพื่อเป็นเอกสารประกอบค้นคว้าหาความรู้สำหรับคุณครูและนักเรียน เพื่อช่วยในการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ และสร้างสรรค์ผลงานทางด้านดนตรีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตร โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช เอกสารประกอบการเรียนฉบับนี้ ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ จำนวน 9 หน่วย คุณครูประจำวิชาได้ รวบรวม เรียบเรียง และนำเสนอเนื้อหาพร้อมกับภาพประกอบ ให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ สาระมาตรฐาน การเรียนรู้ ตรงตามมาตรฐานตัวชี้วัด ซึ่งเทียบเคียงกับหลักสูตรแกนกลาง ครูผู้สอนหวังว่าเอกสารประกอบการเรียนรู้ ฉบับนี้ จะเป็นฐานในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้การศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ของนักเรียนในรายวิชาดนตรี2 (ศ22101) บรรลุวัตถุประสงค์อย่างดีที่สุด เกียรติสิน เทพวารินทร์ นฤมล สุภัคศิริประสาน ครูผู้สอน


ข สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ (ฉบับย่อ) ค หน่วยการเรียนรู้ที่1 ดนตรีมีวัฒนธรรม นำมาจัดองค์ประกอบ 1 องค์ประกอบดนตรีสากล 1 องค์ประกอบดนตรีไทย 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สัญลักษณ์ทางทางดนตรีเป็นคีย์สื่อความหมาย 11 พื้นฐานทฤษฎีดนตรีสากล 14 โน้ตเพลงไทย 21 หน่วยการเรียนรู้ที่3 อารมณ์และจินตนาการสืบสานเสียงดนตรี 24 ปัจจัยสำคัญที่อิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี 24 เทคนิคและการแสดงออกในการจินตนาการนการสร้างสรรค์บทเพลง 25 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เทคนิคการร้องเพลงและบรรเลงดนตรี 27 เทคนิคและการแสดงออกในการขับร้อง 27 เทคนิคและการแสดงออกในการบรรเลงดนตรีเดี่ยวและรวมวง 29 การบรรเลงเครื่องดนตรีไทย (ซออู้) 32 การบรรเลงเครื่องดนตรีสากล (คีย์บอร์ด) 34 หน่วยการเรียนรู้ที่5 เสน่ห์อารมณ์เพลง บรรเลงแล้วจับใจ 37 การถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกขงบทเพลง 37 หน่วยการเรียนรู้ที่6 พัฒนาการทักษะดนตรีและการขับร้อง คือวิถีสร้างคน 39 หลักการประเมินทักษะทางดนตรีและขับร้อง 39 หน่วยการเรียนรู้ที่7 อาชีพที่โด่งดังเป็นพลังจากดนตรี ธุรกิจทางดนตรีบนวิถีที่ หลากหลาย 41 อาชีพทางดนตรี 41 ธุรกิจทางดนตรี 46 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ดนตรีบนวิถีความเป็นไทย 48 ดนตรีกับวิถีชีวิตของคนไทย 48 ประวัติความเป็นมาของดนตรีไทย 49 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมดนตรีในประเทศต่างๆ 60 บรรณานุกรม 79


1 ดนตรีเปนศิลปะและเปนวิธีการแหงการสราง หรือทำ "เสียง" ใหอยูในระเบียบในดาน จังหวะ ทำนอง สีสันของเสียง และคีตลักษณไมวาดนตรีชาติใดจะตองอยูในพื้นฐานตางเหลานี้เหมือนกันทั้งสิ้น ใน ความแตกตางนั้นขึ้นอยูกับกรอบของวัฒนธรรมของแตละสังคมที่กำหนดใหเกิดรสนิยมของแตละวัฒนธรรม ซึ่งเปนตัวกำหนดใหเกิดความแตกตาง จนสามารถบงบอกไดวาดนตรีแตละแบบซึ่งแตกตางกันนั้นเปนของ ชาติหนึ่งชาติใดได ดังนั้นการศึกษาองคประกอบของดนตรี จึงควรศึกษาจากลักษณะทั้งหมดที่ไดกลาว มาแลว นอกจากนี้บทเพลง ๆ หนึ่ง ที่จะสื่อสารใหผูฟงเขาใจ จะตองมีองคประกอบของบทเพลงที่ สมบูรณ ซึ่งเมื่อเทียบกับรางกายของมนุษย ก็จะมีองคประกอบสำคัญที่เรียกวา “ธาตุ” ซึ่งมีอยู 4 ธาตุ คือ 1.ธาตุดิน 2.ธาตุน้ำ 3.ธาตุลม 4.ธาตุไฟ แตถาขาดธาตุใด ธาตุหนึ่ง รางกายของมนุษยก็จะเกิดอาการ ผิดปกติ นั้นเอง องคประกอบของดนตรี ก็เชนกัน คีตกวีผูสรางสรรคดนตรีเปนผูใชเสียงในการสรางสรรคผลิตงานศิลปะเพื่อรับใชสังคม ผูสรางสรรคดนตรีสามารถสรางเสียงที่หลากหลายโดยอาศัยวิธีการผลิตเสียงเปนปจจัยกำหนด เชน การดีด การสี การตี การเปา หนวยการเรียนรูที่ 1 ดนตรีมีวัฒนธรรม นำมาจัดองคประกอบ ตอนที่1 องคประกอบของดนตรีสากล องคประกอบของดนตรีสากล ประกอบดวย 1. เสียง (Tone)


2 เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของอากาศที่เปนไปอยางสม่ำเสมอสวนเสียงอึกทึก หรือเสียง รบกวน (Noise) เกิดจากการสั่นสะเทือนของอากาศที่ไมสม่ำเสมอ ลักษณะความแตกตางของเสียงขึ้นอยูกบ คุณสมบัติสำคัญ 4 ประการ คือ ระดับเสียง ความยาวของเสียง ความเขมของเสียง และคุณภาพของเสียง 1.1 ระดับเสียง (Pitch) หมายถึง ระดับความสูง-ต่ำของเสียง ซึ่งเกิดการจำนวนความถี่ของการ สั่นสะเทือน กลาวคือ ถาเสียงที่มีความถี่สูง ลักษณะการสั่นสะเทือนเร็ว จะสงผลใหมีระดับเสียงสูง แตถา หากเสียงมีความถี่ต่ำ ลักษณะการสั่นสะเทือนชาจะสงผลใหมีระดับเสียงต่ำ 1.2 ความสั้น-ยาวของเสียง (Duration) หมายถึง คุณสมบัติที่เกี่ยวกับความยาว-สั้นของเสียง ซึ่งเปนคุณสมบัติที่สำคัญอยางยิ่งของการกำหนดลีลา จังหวะ ในดนตรีตะวันตกการกำหนดความสั้น-ยาว ของเสียง สามารถแสดงใหเห็นไดจากลักษณะของตัวโนต เชน โนตตัวกลม ตัวขาว และตัวดำ เปนตน 1.3 ความเขมของเสียง (Intensity)ความเขมของสียงเกี่ยวของกับน้ำหนักของความหนักเบา ของเสียง ความเขมของเสียงจะเปนคุณสมบัติที่กอประโยชนในการเกื้อหนุนเสียงใหมีลีลาจังหวะที่สมบูรณ 1.4 คุณภาพของเสียง (Quality) เกิดจากคุณภาพของแหลงกำเนิดเสียงที่แตกตางกัน ปจจัยที่ ทำใหคุณภาพของเสียงเกิดความแตกตางกันนั้น เกิดจากหลายสาเหตุ เชน วิธีการผลิตเสียง รูปทรงของ แหลงกำเนิดเสียง และวัสดุที่ใชทำแหลงกำเนิดเสียง ปจจัยเหลานี้กอใหเกิดลักษณะคุณภาพของเสียงซึ่ง เปนหลักสำคัญใหผูฟงสามารถแยกแยะสีสันของสียง (Tone Color) ระหวางเครื่องดนตรีเครื่องหนึ่งกับ เครื่องหนึ่งไดอยางชัดเจน จังหวะเปนศิลปะของการจัดระเบียบเสียง ที่เกี่ยวของกับความชาเร็ว ความหนักเบาและความ สั้น-ยาว องคประกอบเหลานี้ หากนำมารอยเรียง ปะติดปะตอเขาดวยกันตามหลักวิชาการเชิงดนตรีแลว สามารถที่จะสรางสรรคใหเกิดลีลาจังหวะอันหลากหลาย ในเชิงจิตวิทยา อิทธิพลของจังหวะที่มีผลตอผูฟง จะปรากฏพบในลักษณะของการตอบสนองเชิงกายภาพ เชน ฟงเพลงแลวแสดงอาการกระดิกนิ้ว ปรบมือ รวมไปดวย เปนระบบการบันทึกแทนเสียงดนตรีที่มีมาตั้งศตวรรษที่ 11 โดย กวีโด เดอ อเรซโซ (Guido d’ Arezzo, 995-1050) บาทหลวงชาวอิตาเลียน ตอมาไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่องจนกระทั่งสมบูรณ อยางที่เราไดพบเห็นและใชกันในปจจุบัน ตัวโนตสามารถบอกหรือสื่อใหนักดนตรีทราบถึงความสั้น – ยาว, 2. พื้นฐานจังหวะ (Element of Time) 3. ตัวโนตดนตรี(Music Notation)


3 สูง – ต่ำ ของระดับเสียงได เราจึงควรมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะของตัวโนตดนตรี (Music Notation) พอสังเขปดังนี้ ทำนองเปนการจัดระเบียบของเสียงที่เกี่ยวของกับความสูง-ต่ำ ความสั้น-ยาว และความดัง-เบา คุณสมบัติเหลานี้เมื่อนำมาปฏิบัติอยางตอเนื่องบนพื้นฐานของความชา-เร็ว จะเปนองคประกอบของดนตรีที่ ผูฟงสามารถทำความเขาใจไดงายที่สุด ในเชิงจิตวิทยา ทำนองจะกระตุนผูฟงในสวนของสติปญญา ทำนองจะมีสวนสำคัญในการสราง ความประทับใจ จดจำ และแยกแยะความแตกตางระหวางเพลงหนึ่งกับอีกเพลงหนึ่ง “พื้นผิว” เปนคำที่ใชอยูทั่วไปในวิชาการดานวิจิตรศิลป หมายถึง ลักษณะพื้นผิวของสิ่งตาง ๆ เชน พื้นผิวของวัสดุที่มีลักษณะขรุขระ หรือเกลี้ยงเกลา ซึ่งอาจจะทำจากวัสดุที่ตางกัน ในเชิงดนตรีนั้น “พื้นผิว” หมายถึง ลักษณะหรือรูปแบบของเสียงทั้งที่ประสานสัมพันธและไม ประสานสัมพันธโดยอาจจะเปนการนำเสียงมาบรรเลงซอนกันหรือพรอมกัน ซึ่งอาจพบทั้งในแนวตั้งและ แนวนอน ตามกระบวนการประพันธเพลง ผลรวมของเสียงหรือแนวทั้งหมดเหลานั้น จัดเปนพื้นผิวตามนัย ของดนตรีทั้งสิ้น ลักษณะรูปแบบพื้นผิวของเสียงมีอยูหลายรูปแบบ ดังนี้ 5.1 Monophonic Texture เปนลักษณะพื้นผิวของเสียงที่มีแนวทำนองเดียว ไมมีเสียงประสาน พื้นผิวเสียงในลักษณะนี้ ถือเปนรูปแบบการใชแนวเสียงของดนตรีในยุคแรกๆ ของดนตรีในทุกวัฒนธรรม 4. ทำนอง (Melody) 5. พื้นผิวของเสียง (Texture)


4 5.2 Polyphonic Texture เปนลักษณะพื้นผิวของเสียงที่ประกอบดวยแนวทำนองตั้งแตสองแนวทำนองขึ้นไป โดยแต ละแนวมีความเดนและเปนอิสระจากกัน ในขณะที่ทุกแนวสามารถประสานกลมกลืนไปดวยกัน ลักษณะแนวเสียงประสานในรูปของ Polyphonic Texture มีวิวัฒนาการมาจากเพลงชานท (Chant) ซึ่งมีพื้นผิวเสียงในลักษณะของเพลงทำนองเดียว (Monophonic Texture) ภายหลังไดมีการเพิ่ม แนวขับรองเขาไปอีกหนึ่งแนว แนวที่เพิ่มเขาไปใหมนี้จะใชระยะขั้นคู 4 และคู 5 และดำเนินไปในทาง เดียวกับเพลงชานทเดิม การดำเนินทำนองในลักษณะนี้เรียกวา“ออรแกนนุม” (Organum) นับไดวาเปน ยุคเริ่มตนของการประสานเสียงแบบ Polyphonic Texture หลังจากคริสตศตวรรษที่ 14 เปนตนมาแนว ทำนองประเภทนี้ไดมีการพัฒนากาวหนาไปมาก ซึ่งเปนระยะเวลาที่การสอดทำนอง (Counterpoint) ได เขาไปมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในการตกแตงพื้นผิวของแนวทำนองแบบ Polyphonic Texture 5.3 Homophonic Texture เปนลักษณะพื้นผิวของเสียง ที่ประสานดวยแนวทำนองแนวเดียว โดยมี กลุมเสียง (Chords) ทำหนาที่สนับสนุนในคีตนิพนธประเภทนี้แนวทำนองมักจะเคลื่อนที่ในระดับเสียงสูงที่สุดในบรรดากลุม เสียงดวยกัน ในบางโอกาสแนวทำนองอาจจะเคลื่อนที่ในระดับเสียงต่ำไดเชนกัน ถึงแมวาคีตนิพนธประเภท นี้จะมีแนวทำนองที่เดนเพียงทำนองเดียวก็ตาม แตกลุมเสียง (Chords) ที่ทำหนาที่สนับสนุนนั้น มี ความสำคัญที่ไมนอยไปกวาแนวทำนอง การเคลื่อนที่ของแนวทำนองจะเคลื่อนไปในแนวนอน ในขณะที่ กลุมเสียงสนับสนุนจะเคลื่อนไปในแนวตั้ง 5.4 Heterophonic Texture เปนรูปแบบของแนวเสียงที่มีทำนองหลายทำนอง แตละแนวมีความสำคัญเทากันทุกแนว คำ วา Heteros เปนภาษากรีก หมายถึงแตกตางหลากหลาย ลักษณะการผสมผสานของแนวทำนองในลักษณะ นี้ เปนรูปแบบการประสานเสียง “สีสันของเสียง” หมายถึง คุณลักษณะของเสียงที่กำเนิดจากแหลงเสียงที่แตกตางกัน แหลงกำเนิดเสียงดังกลาว เปนไดทั้งที่เปนเสียงรองของมนุษยและเครื่องดนตรีชนิดตาง ๆ ความแตกตาง ของเสียงรองมนุษย ไมวาจะเปนระหวางเพศชายกับเพศหญิง หรือระหวางเพศเดียวกัน ซึ่งลวนแลวแตมี พื้นฐานของการแตกตางทางดานสรีระ เชน หลอดเสียงและกลองเสียง เปนตน ในสวนที่เกี่ยวของกับเครื่องดนตรีนั้น ความหลากหลายดานสีสันของเสียง ประกอบดวย ปจจัยที่แตกตางกันหลายประการ เชน วิธีการบรรเลง วัสดุที่ใชทำเครื่องดนตรี รวมทั้งรูปทรง และขนาด 6. สีสันของเสียง (Tone Color)


5 ปจจัยเหลานี้ลวนสงผลโดยตรงตอสีสันของเสียงเครื่องดนตรีทำใหเกิดคุณลักษณะของเสียงที่แตกตางกัน ออกไป 6.1 วิธีการบรรเลง อาศัยวิธีดีด สี ตี และเปา วิธีการผลิตเสียงดังกลาวลวนเปนปจจัยใหเครื่องดนตรีมี คุณลักษณะของเสียงที่ตางกัน 6.2 วัสดุที่ใชทำเครื่องดนตรี วัสดุที่ใชทำเครื่องดนตรีของแตละวัฒนธรรมจะแตกตางกันไปตามสภาพแวดลอมของสังคม และยุคสมัย วัสดุที่ใชทำเครื่องดนตรีที่แตกตางกัน นับเปนปจจัยที่สำคัญประการหนึ่ง ที่สงผลใหเกิดความ แตกตางในดานสีสันของเสียง 6.3 ขนาดและรูปทรง ลักษณะของเครื่องดนตรีที่มีรูปทรงและขนาดที่แตกตางกัน จะเปนปจจัยที่สงผลใหเกิดความ แตกตางกันในดานสีสันของเสียงในลักษณะที่มีความสัมพันธกัน คีตลักษณหรือรูปแบบของเพลง เปรียบเสมือนกรอบที่หลอมรวมเอาจังหวะ ทำนอง พื้นผิว และสีสันของเสียงใหเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน เพลงที่มีขนาดสั้น-ยาว วนกลับไปมา ลวนเปน สาระสำคัญของคีตลักษณทั้งสิ้น 7. คีตลักษณ(Forms)


6 ดนตรีไทย หมายถึง เพลงไทยที่คีตกวีไทยแตงขึ้นเพื่อขับรอง หรือบรรเลงดวยเครื่องดนตรีไทย มี ทำนอง ลีลา จังหวะ ที่มีความเสนาะ ออนหวาน กอใหเกิดความรูสึกสุขสนาน รัก เศราโศก หรือปลุกจิตใจ ใหฮึกเหิม ดนตรีไทยมีความสำคัญตอการดำเนินวิถีชีวิตของคนไทยมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ใช บรรเลงในกิจกรรมตาง ๆของสังคมที่ตนอาศัยอยู เชน งานขึ้นบานใหม งานทำบุญ งานบวชนาค งาน มงคลสมรส งานเฉลิมฉลอง งานเทศกาลตาง ๆ ตลอดจนการบรรเลงประกอบการแสดง และการบรรเลง เพื่อการประกอบพิธีตามความเชื่อ เปนตน ดนตรีไทยในสวนที่เปนเนื้อดนตรีมีองคประกอบดังตอไปนี้ เสียงดนตรีไทยเปนเสียงที่เกิดจากการขับรองหรือการบรรเลงที่ไทยมีเอกลักษณเฉพาะ ดังนี้ 1.1 สีสันของเสียง ซึ่งสวนใหญทำดวยไมอันเปนวัสดุจากธรรมชาติเสียงดนตรีไทย จึงมี ความไพเราะนุมนวล 1.2 ระบบเสียงดนตรีไทยแบงออกเปน 7 เสียง ซึ่งอาจเรียกวาเปน 7 เสียงเต็ม เพราะ แบงระยะความถี่หรือระยะหางของระดับเสียงเทากันทุกเสียง ในปจจุบันดนตรีไทยยืมชื่อเรียกเสียงแบบ สากลมาใชคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที แตระดับเสียงมีแตกตางจากดนตรีสากล ทำนองคือเสียงสูง – ต่ำ สั้นบางยาวบางที่เรียบเรียงขึ้นอยางไดสัดสวน กลมกลืน ไพเราะ ตาม ความประสงคของผูแตง โดยปกติทำนองเพลงไทยจะใชเสียงสูงที่ไลเรียงกัน เชน 1. - - - ร - - - ม - - - ฟ - - - ซ - ล - ซ - ฟ ม ร ด ร ม ฟ - ซ - ม 2. ร ม ฟ ซ ล ซ ฟ ม ร ด ร ม ร ม ฟ ซ ล ซ ฟ ม ร ม ฟ ซ ท ล ซ ล ท ด ร ม ตอนที่2 องคประกอบของดนตรีไทย องคประกอบของดนตรีไทย ประกอบดวย 1. เสียง 2. ทำนอง


7 3. จังหวะ จังหวะในดนตรีไทย หมายถึง การแบงระยะเวลาอยางสม่ำเสมอ จังหวะจะมีความเกี่ยวพันกับ ประโยชนของทำนองเพลงอยางแยกกันไมไดแตเราสามารถเคาะจังหวะใหเห็นสัดสวนของทำนองเพลงได ลักษณะของจังหวะที่เคาะในดนตรีไทยจะแบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ 3.1 จังหวะในใจหรือจังหวะสามัญ เปนจังหวะพื้นฐานที่มีอยูในทุกคน คลายกับจังหวะการ เตนของหัวใจ หรือจังหวะการยางกาวที่เปนไปอยางปกติเชน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 3.2 จังหวะหนักเบาหรือจังหวะฉิ่ง เปนจังหวะที่เคาะใหเห็นตำแหนงของจังหวะจังหวะเบา โดยใชเสียงฉิ่ง กำกับในการใหเสียงดัง ฉิ่ง แทนจังหวะเบาและใหเสียงดัง ฉับ แทนจังหวะหนัก เชน - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ 3.3 จังหวะหนาทับจังหวะหนาทับ เปนกระสวนจังหวะที่ยาวคลายประโยคเพลง ใชเครื่องตี ที่ทำดวยหนัง เชน ตะโพน โทน – รำมะนา กลองแขก เปนเครื่องมือในการทำกระสวนจังหวะ ตัวอยางหนา ทับลาว ดังนี้ - ติง - โจะ - ติง - ติง - - ติง ทั่ง - ติง - ทั่ง เพลงไทยจัดแบงออกเปนทอน ๆ มีทั้งเพลงทอนเดียว เพลง 2 ทอน และเพลง 3 ทอน ในแตละ ทอนจะแบงออกเปนวรรคหรือประโยค ซึ่งมีความสอดคลองกับจังหวะหนาทับที่ตีประกอบ 4.คีตลักษณ หรือรูปแบบของทำนองเพลงไทย


8 การประสานเสียงในดนตรีไทยสวนใหญจะเปนไปอยางคอนขางอิสระบางเสียงเปนการประสาน เสียงอยางจงใจ บางเสียงประสานเสียงอยางไมจงใจ เปนการประสานเสียงในแนวนอนที่สากลเรียกวาแบบ เฮทโรโฟนี่ คูเสียงประสานที่สำคัญ คือ เสียงคู 8 คู4 คู5 และคู 3 เพลงไทยมีแนวทำนองที่กอใหเกิดอารมณความรูสึก ที่สามารถสัมผัสไดอยางหลากหลาย ดังนี้ 6.1 เพลงที่ใหความรูสึกขลัง นาเคารพ เชน เพลงสาธุการ เพลงมหาฤกษเพลงมหาชัย 6.2 เพลงที่ใหความรูสึกรื่นเริง สนุกสนาน เชน เพลงคางคาวกินกลวย และเพลงเขมรไล ควาย 6.3 เพลงที่ใหความรูสึกรักออนหวาน เชน เพลงลาวดวงเดือน และเพลงชมโฉม 6.4 เพลงที่ใหความรูสึกสุขใจจากสิ่งแวดลอมและธรรมชาติเชน เพลงเขมรไทรโยค 6.5 เพลงที่ใหความรูสึกโศกเศรา เชน เพลงธรณีกรรเเสง เพลงมอญรองไห 6.6 เพลงที่ใหความรูสึกฮึกเหิม องอาจ เราใจ เชน เพลงกราวใน และเพลงกราวนอก 5.การประสานเสียง 6.อารมณเพลง


9 เรื่อง การวิเคราะหเพลง (องคประกอบดนตรีสากล) คำชี้แจง นักเรียนฟงเพลง 1 เพลงแลวนำมาวิเคราะหเรื่ององคประกอบของดนตรีสากลอยางงาย โดยใสเครื่องหมาย ลงในชองที่คิดวาถูกตอง พรอมทั้งอธิบายถึงลักษณะเดนและบอกความรูสึกเมื่อได ฟงเพลงนั้น 1. ชื่อเพลง ................................................................................................................................................ - จังหวะ ชา เร็ว - ทำนอง สดใส ซึมเศรา - การรองประสานเสียง (Chorus) มี ไมมี - พื้นผิวของเสียง Monophonic Polyphonic Homophonic Heterophonic - คีตลักษณ …………………………………………………………………………………………………………………………………. - เครื่องดนตรี …………………………………………………………………………………………………………………………………. ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. - ลักษณะเดนและความรูสึกเมื่อไดฟงเพลงนี้ ........................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ใบงาน


10 เรื่อง การวิเคราะหเพลง (องคประกอบดนตรีไทย) คำชี้แจง นักเรียนฟงเพลง 1 เพลงแลวนำมาวิเคราะหเรื่ององคประกอบของดนตรีสากลอยางงาย โดยใสเครื่องหมาย ลงในชองที่คิดวาถูกตอง พรอมทั้งอธิบายถึงลักษณะเดนและบอกความรูสึกเมื่อได ฟงเพลงนั้น 1. ชื่อเพลง ................................................................................................................................................ - จังหวะ ชา เร็ว - ทำนอง สดใส ซึมเศรา - เครื่องดนตรี …………………………………………………………………………………………………………………………………. ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. - ลักษณะเดนและความรูสึกเมื่อไดฟงเพลงนี้ ........................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ใบงาน


11 ดนตรีศึกษาเปนศาสตรและศิลปที่มีความลึกซึ้งกวางไกล เปนสาระความรูที่เกี่ยวกับการจัด การศึกษาดนตรีแกผูเรียน การทราบถึงความรูพื้นฐานเกี่ยวกับดนตรีศึกษานั้น จะเปนรากฐานทางความคิด ในการศึกษาทางดนตรีในแงมุมตาง ๆ ในระดับที่สูงขึ้น และชวยใหเกิดความเขาใจและนำไปใชในการ จัดการเรียนรูดนตรีไดอยางเหมาะสม วิวัฒนาการของตัวโนต ตัวโนตที่ใชอยูในปจจุบันเริ่มใชมาตั้งแตศตวรรษที่ 17 กอนหนานี้ตั้งแตยุคโบราณมาถึงปลายยุค ฟนฟูในราว ค.ศ 1600. มีวิวัฒนาการของตัวโนตมาหลายรูปแบบที่แตกตางกันไปตามภูมิลำเนาในชวงทาย ของคริสตวรรษที่ 9 พระของโบสถโรมันคาทอลิกใชเครื่องหมายที่เปนจุดเสนขีดสั้น ๆ และเสนหยิกงอ ตาง ๆ บันทึกไวเหนือบทกวีเปนเนื้อรองของบทเพลงศักดิ์สิทธิ์เพื่อบอกทิศทางเดินของทำนองของเนื้อรอง นั้นพอสังเขปเรียกเครื่องหมายนั้นวา “นูมส” ดังภาพตอไปนี้ ภาพที่ 1.1 “นูมส” (Neumes, n.d. Online) หนวยการเรียนรูที่ 2 สัญลักษณทางดนตรีเปนคียสื่อความหมาย โนตดนตรีสากล ( Musical Notes )


12 สำเร็ต คำโมง (2553: 112-114) ไดกลาววา ตอมาประมาณ ค.ศ.900 ไดใชเสนสีแดงในแนวระนาบขีดบอกตำแหนงเสียง “F” แลวบันทึก เครื่องหมาย “นูมส” แทนเสียงที่ต่ำกวาเสียงเอฟไวใตเสนและสูงกวาไวเหนือเสนโดยกระระยะหางจากเสน มากนอยตางกันตามแนวเสียงทำนองเพลงหลังจากนั้นก็ไดเพิ่มเสนสีเหลืองหรือสีเขียวเพื่อแสดงตำแหนง เสียง C ดังภาพตอไปนี้ ภาพที่ 1.2 เสนสีแดงในแนวระนาบขีดบอกตำแหนงเสียง “F” (Neumes, n.d. : Online) ราว ค.ศ. 1030 พระนักวิชาการดนตรีชาวอิตาเลียน ชื่อ “กวีโด แหงอะเรทโซ” ไดบัญญัติใหใชเสนขนาดใน แนวนอน 4 เสน พรอมกับชองระหวางเสนเปนการบอกระดับเสียงสูงต่ำของดนตรี โดยใหบันทึก เครื่องหมาย “นูมส” คงคาบเสน และลงชองเพื่อบงบอกระดับเสียง ดังภาพตอไปนี้ ภาพที่ 1.3 เสนขนานในแนวนอน 4 เสน (Neumes, n.d. : Online) ราว ค.ศ. 1200 จึงเติมเสนขนานเขาไปอีกหนึ่งเสน รวมเปน 5 เสน เรียกวา “สตาฟ” (Staff) ดัง ภาพที่เราเห็นในปจจุบัน และเครื่องหมาย “นูมส” ก็ไดพัฒนารูปรางเปนรูปตาง ๆ และบางตัวมีกางหาง (Stem) เพื่อแสดงความยาวของเสียงดวย จนกระทั่งราว ค.ศ. 1400 จึงมีการใชเครื่องหมายนูมสเปนรูปตัว


13 ขาว และราว ค.ศ. 1500 รูปของเครื่องหมายนูมส จึงกลายเปนรูปสี่เหลี่ยมและรูปเพชร และบางตัวมีกาน หางดวย ภาพที่ 1.4 เสนขนานในแนวนอน 5 เสน (Neumes, n.d. : Online) ตอมาราว ค.ศ. 1600 รูปรางของเครื่องหมายนูมส ไดเปลี่ยนมาเปนรูปทรงหัวกลม บางตัวมีหาง บางตัวมีทั้งกานหางและธง บางตัวก็มีหัวขาว บางตัวหัวดำ เราเรียกเครื่องหมายนั้นวา “ตัวโนต” (Note) เหมือนกับที่ใชอยูในปจจุบัน ดังตัวอยางตอไปนี้ ภาพที่ 1.5 เสนขนานในแนวนอน 5 เสน (นายไชยยงค พวงแกว : 2564) ในสวนชื่อของตัวโนตพระนักวิชาการดนตรีชาวอิตาเลียน “กวีโด แหงอเรทโซ” (Guido d’Arezzo 990 – 1050) ไดนำเอาพยางคแรกของวรรค 7 วรรค จากบทสวด (Hymn) ที่ใชสวดสรรเสริญเซนจอหน (St.john) มาเรียกชื่อตัวโนต ดังตารางตอไปนี


14 บทสวด (Hymn) พยางคแรกของวรรค 7 จากบทสวด (Hymn) Ut Queant Laxis Ut (อุต) Reronare fibris Re (เร) Mira gestorum Mi (มี) Famuli tuorum Fa (ฟา) Solve poluti So (โซ/ซอล) Labii reatum La (ลา) Sancte Johannes Sanc (ซาง) ตารางที่ 1.1 ที่มาของชื่อตัวโนต ตอมาภายหลังจึงเปลี่ยน Ut เปน “โด” (Do) และเปลี่ยน Sanc เปน “ซี” (Si) แลวเปลี่ยนมาเปน “ที” (Ti) ในระบบอเมริกัน ดังที่เราใชเรียกชื่อตัวโนตอยูในปจจุบัน คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที 1. บรรทัด 5 เสน (Staff) คือ เสนตรงแนวนอนขนานกัน มีระยะหางระหวางเสนเทากัน ประกอบดวยเสนบรรทัดจำนวน 5 เสนและชองบรรทัด 4 ชอง โดยกำหนดใหเสนบรรทัดลางสุดเปนเสนที่ 1 แลวไลตามลำดับจากลางขึ้นบน สัญลักษณและรายละเอียดตาง ๆ ที่ใชสื่อภาษาดนตรีจะบันทึกไวบน บรรทัดหาเสนหรือบริเวณใกลเคียง ตัวอยาง บรรทัดหาเสน 2. ตัวโนต (Note) เปนสัญลักษณทางดนตรีที่บันทึกไวบนบรรทัดหาเสน เพื่อแสดงระดับเสียงสูง ต่ำ ตำแหนงของตัวโนตมี 2 ลักษณะคือ ตัวโนตที่อยูในชองบรรทัดหรืออยูคาบบนเสนบรรทัดหรือลางเสน บรรทัดที่มีชื่อเรียกวา เสนนอย ลักษณะของตัวโนตมีลักษณะ ดังนี้ พื้นฐานทฤษฎีดนตรีสากล


15 ลักษณะของ ตัวโนต ชื่อภาษาไทย ชื่อระบบอเมริกัน คาความยาวของตัวโนต ตัวกลม Whole note มีคามากที่สุด ตัวขาว Half note มีคาครึ่งหนึ่งของโนตตัวกลม ตัวดำ Quarter note มีคาครึ่งหนึ่งของโนตตัวขาว ตัวเขบ็ต 1 ชั้น Eight note มีคาครึ่งหนึ่งของโนตตัวดำ


16 ตัวเขบ็ต 2 ชั้น Sixteenth note มีคาครึ่งหนึ่งของโนตตัวเขบ็ต 1 ชั้น ตัวเขบ็ต 3 ชั้น Thirty second note มีคาครึ่งหนึ่งของโนตตัวเขบ็ต 2 ชั้น ตารางที่ 1.2 ชื่อเรียกตัวโนตและคาความยาว 3. ตัวหยุด (Rest) หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณชนิดหนึ่งที่ใชบันทึกแทนเสียงดนตรี หรือเสียงขับรอง เพื่อใหเสียงดนตรีหรือเสียงขับรองเงียบเสียงลงชั่วขณะหนึ่งตามอัตราของตัวหยุด ที่มีคา เทียบเทากับตัวโนต มีชื่อเรียกตามลักษณะตาง ๆ ดังนี้ ลักษณะของ ตัวโนต ชื่อภาษาไทย ชื่อระบบอเมริกัน คาความยาวของตัวโนต ตัวหยุดตัวกลม Whole Rest มีคาหยุดเสียงมากที่สุด ตัวหยุดตัวขาว Half Rest มีคาหยุดเสียงครึ่งหนึ่งของโนตตัวกลม ตัวหยุดตัวดำ Quarter Rest มีคาหยุดเสียงครึ่งหนึ่งของโนตตัวขาว


17 ตัวหยุดตัวเขบ็ต 1 ชั้น Eight Rest มีคาหยุดเสียงครึ่งหนึ่งของโนตตัวดำ ตัวหยุดตัวเขบ็ต 2 ชั้น Sixteenth Rest มีคาหยุดเสียงครึ่งหนึ่งของโนตตัว เขบ็ต 1 ชั้น ตัวหยุดตัวเขบ็ต 3 ชั้น Thirty second Rest มีคาหยุดเสียงครึ่งหนึ่งของโนตตัว เขบ็ต 2 ชั้น ตารางที่ 1.3 ชื่อเรียกตัวหยุดและคาในการหยุดเสียง 4.กุญแจเสียง (Clef) หมายถึง เครื่องหมายที่ใชกำหนดชื่อตัวโนต ตำแหนง และระดับเสียง บันทึกอยูตอนตนของบทเพลง กุญแจประจำเสียงที่ควรรูจัก มีดังนี้ 4.1 กุญแจซอล (G clef) จะตองมีตำแหนงอยูบนเสนบรรทัดที่ 2 เสมอ ซึ่งจะทำใหโนตที่ คาบอยูบนเสนบรรทัดที่ 2 เปนโนตตัวซอล (G) 4.2 กุญแจฟา (F clef) จะตองมีตำแหนงอยูบนเสนบรรทัดที่ 4 เสมอ ซึ่งจะทำใหโนตที่คาบ อยูบนเสนบรรทัดที่ 4 เปนโนตตัวฟา (F) 4.3 กุญแจโด (C clef) เปนกุญแจประเภทเคลื่อนที่ได กุญแจโดจะมีตำแหนงคาบอยูบนเสน บรรทัดใดก็ได ซึ่งจะทำใหโนตที่คาบอยูบนเสนบรรทัดนั้นเปนโนตโด-กลาง (Middle C)


18 5.การอานโนต 5.1 การอานโนตบนกุญแจซอล (G clef) 5.2 การอานโนตบนกุญแจฟา (F clef) 6.เครื่องหมายแปลงเสียง (Accidental) หมายถึง เครื่องหมายที่บันทึกอยูดานหนาของตัวโนต ที่ทำใหตัวโนตตัวนั้น ๆ มีระดับเสียงเปลี่ยนแปลงไปจากปกติตามลักษณะของเครื่องหมายนั้น ๆ ซึ่งมีอยู 5 ชนิดดังนี้ 6.1 เครื่องหมายแปลงเสียงชารป (Sharp) หรือ # เมื่อบันทึกเครื่องหมายแปลงเสียงชาร ปอยูดานหนาของตัวโนต จะทำใหโนตตัวนั้นมีระดับเสียงสูงขึ้นครึ่งเสียง (Semitone) เชน เมื่อบันทึกอยู ดานหนาของโนตตัว F จะทำใหเสียงของโนตตัว F สูงขึ้นครึ่งเสียง จะกลายเปน F# (เอฟชารป) ดังตัวอยาง ตอไปนี้ เรียกวา “ F# ” (เอฟชารป) 6.2 เครื่องหมายแปลงเสียงเเฟลต (Flat) หรือ เมื่อบันทึกเครื่องหมายแปลงเสียง แฟลต อยูดานหนาของตัวโนต จะทำใหโนตตัวนั้นมีระดับเสียงต่ำลงครึ่งเสียง (Semitone) เชน เมื่อบันทึก


19 อยูดานหนาของโนตตัว G จะทำใหเสียงของโนตตัว G ต่ำลงครึ่งเสียง จะกลายเปน Gb (จีแฟลต) ดังตัวอยางตอไปนี้ เรียกวา “ Gb ” (จีแฟลต) 6.3 เครื่องหมายแปลงเสียงเนเจอรัล (Naturat) หรือ เมื่อบันทึกเครื่องหมายแปลง เสียงเนเจอรัลอยูดานหนาของตัวโนต จะทำใหตัวโนตตัวนั้นมีระดับคงเดิมหรือกลับคงสภาพเดิม เชน เมื่อ บันทึกอยูดานหนาของโนตตัว A จะทำใหเสียงของโนตตัว A กลับสูสภาพเดิมจากที่ถูกเครื่องหมายแปลง เสียงอื่น ๆ บังคับไว เรียกวา “ A ” (เอเนเจอรัล) ดังตัวอยางตอไปนี้ เรียกวา “ A ” (เอเนเจอรัล) 6.4 เครื่องหมายแปลงเสียงชารปคู (Double Sharp) หรือ เมื่อบันทึกเครื่องหมาย แปลงเสียงชารปคู อยูดานหนาของตัวโนต จะทำใหโนตตัวนั้นมีระดับเสียงสูงขึ้นสองครึ่งเสียง (2 Semitone) เชน เมื่อบันทึกอยูดานหนาของโนตตัว E จะทำใหเสียงของโนตตัว E สูงขึ้นสองครึ่งเสียง เรียกวา “ E ” (อีดับเบิ้ลชารป) ดังตัวอยางตอไปนี้ เรียกวา “ E ” (อีดับเบิ้ลชารป)


20 6.5 เครื่องหมายแปลงเสียงดับเบิ้ลแฟลต (Flat) หรือ เมื่อบันทึกเครื่องหมาย แปลงเสียงแฟลต อยูดานหนาของตัวโนต จะทำใหโนตตัวนั้นมีระดับเสียงต่ำลงสองครึ่งเสียง (2 Semitone) เชน เมื่อบันทึกอยูดานหนาของโนตตัว B จะทำใหเสียงของโนตตัว B ต่ำลงสองครึ่งเสียง เรียกวา บี ดับเบิ้ลแฟลต ดังตัวอยางตอไปนี้ เรียกวา “ B ” (บีดับเบิ้ลแฟลต) ตัวอยาง เครื่องหมายแปลงเสียงกับตัวโนต


21 1.ระดับเสียงและสัญลักษณที่ใชแทนเสียง ดนตรีไทยใชเสียงทั้งหมด 7 เสียง คือ เสียง โด เร มี ฟา ซอล รา ทีในปจจุบันการบันทึกเสียงเพลงไทยเพื่อใหสื่อระดับเสียงตรงกันนิยมใชอักษร ด ร ม ฟ ซ ล ท เปนตัวโนตหรือสัญลักษณแทนเสียงผูฝกหัด ดนตรีไทยควรฝกใหมีเสียงในใจถูกตองตามระดับเสียง 2.ลักษณะการบันทึกโนตเพลงไทย โนตไทยใน 1 บรรทัดจะแบงออกเปน 8 หอง ในแตละหอง จะแบงออกเปน 4 ตำแหนง จังหวะตกจะอยูที่ตำแหนงที่4 และจังหวะยกจะอยูที่ตำแหนงที่ 2 ดังนี้ - ด - ร - ม - ฟ - ซ - ล - ท - ด - ด - ท - ล - ซ - ฟ - ม - ร - ด 3.การฝกอานโนตและการควบคุมจังหวะ การฝกอานโนตและการควบคุมจังหวะมี ขั้นตอนดังนี้ 1. ผูฝกตองเริ่มจากการฝกเปลงเสียงใหตรงตามระดับเสียงที่ไดยิน จนกระทั่งมี เสียงในใจที่ถูกตอง 2. ในการฝกหัดดนตรีเบื้องตน ผูเรียนตองมีความสามารถควบคุมจังหวะสามัญ หรือจังหวะในใจ ไดอยางสม่ำเสมอจนกระทั่งมีจังหวะในใจที่สามารถใชไดโดยอัตโนมัติโดยการฝกเคราะ อยางเดียวและการฝกเคราะพรอมกับการเปลงเสียงทำนองดนตรีใหสัมพันธกับจังหวะเคาะ 3.ฝกอานโนตที่มีระดับเสียงไลเรียงกัน 4.อานโนตในทำนองเพลงที่คุนเคย 5. ฝกอานโนตเพลงที่ไมคุน 4. การฝกเขียนโนตเพลงไทย กอนการฝกเขียน นักเรียนตองสามารถอานโนตเพลงไทยไดอยางชำนาญ ที่สำคัญตอง สามารถเคาะจังหวะตกและจังหวะยกไดอยางถูกตอง จึงจะสามารถเขียนโนตไดอยางถูกตอง 5. การฝกรองโนตเพลงไทย การฝกรองโนต คือ การอานโนตอยางถูกทำนองและจังหวะ ผูฝกควรฝกไปพรอม ๆ กับ การฝกหัดหดนตรีหรือฝกหัดขับรองโดยกระทำอยางตอเนื่อง โนตเพลงไทย


22 ใบงาน เรื่อง โนตสากล


23 ใหนักเรียนฝกปฏิบัติอานโนตเพลงไทยตอไปนี้ เพลงลาวคำหอม ทอน ๑ - - - ม - ซ ซ ซ - ม - ล ซ ซ ซ ซ - ล - ซ - ม - ซ - - - ล ดํ ซ ล ดํ - - - - - - - ดํ - ดํ ดํ ดํ - ดํ - ดํ - - - ดํ - - - ซ - - ดํ ล ซ ม - ซ - - - - - - - ดํ - - - - - ร - ม - - - ซ - - - ร - ม - ร ด ด ด ด - - - ร ม ร ด ล ซ ม ซ ล - ดํ - รํ - - - - - - - ม - - - ซ - ล - ดํ - - - - - - - ดํ - ดํ ดํ ดํ - ดํ - ดํ - - - ดํ - - - ซ - - ดํ ล ซ ม - ซ - - - - - - - ซ - ซ ซ ซ - ซ - ซ - ฟ - ม - ร - ด - - - - - ร - ม - - - ซ - - - ร - ม - ร ด ด ด ซ - - - - - - - ซ - ซ ซ ซ - ซ - ซ - ท - ล - ซ - ดํ - - - - - ร - ม - - - ซ - - - ร - ม - ร ด ด ด ด หมายเหตุ...สแกนคิวอารโคดเพื่อรับฟงดนตรีบรรเลงประกอบ ใบงาน เรื่อง โนตเพลงไทย


24 การสรางสรรคบทเพลง หรือประพันธเพลงไทยแตละเพลง เปรียบไดกับการประพันธบทรอย กรองในลักษณะตางๆ เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน เปนตน เพราะการสรางสรรคบทเพลงไทยจะตอง พิจารณษนำเสียงแตละเสียงมาเรียบเรียงใหสอดประสานกลมกลืนกันอยางเหมาะสมสามารถสื่ออารมณ ความรูสึกตางๆ ตามที่ตนตองการถายทอดใหแกผูฟงได ขณะเดียวกันตองคำนึงถึงรูปแบบของเพลงแตละ ประเภทใหเปนไปตามแบบแผนที่กำหนดไวดวย เชนเดียวกับการประพันธบทรอยกรองตางๆ ที่ผูประพันธ ตองคัดสรรคำแตละใหมีทั้งเสียงและความหมาที่สัมผัสคลองจองกัน มีสัมผัสใน สัมผัสนอก แบงวรรค ตอนใหครบถวนตามแบบแผนที่กำหนดไว โดยปจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลตอการสรางสรรคงานดนตรี มีดังนี้ 1) ธรรมชาติเปนสิ่งหนึ่งที่มีอิทธิพลอยางยิ่งตอจินตนาการของผูประพันธบทเพลงไทย การได เห็นธรรมชาติที่สวยงามไมวาจะเปนภูเขา นำตก ทะเล ตนไม ดอกไม หรือไดยินไดฟงเสียงของสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เชน เสียงคลื่น ลม น้ำตก ฝน ฟารอง ฟาผา เสียงรองของสัตวตางๆ เปนตน ยอม ทำใหศิลปน หรือผูที่ไดสัมผัสสิ่งตางๆเหลานั้น เกิดจินตนาการขึ้นและถายทอดออกมาเปนทวงทำนอง เพลง เพื่อใหผูฟงไดสัมผัสถึงธรรมชาตินั้นๆ เชนเดียวกับตนได เชน เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝงสามชั้น บทพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๗) ที่สื่อใหผูฟงจินตนาการถึง ลักษณะของระลอกคลื่นที่คอยๆ เคลื่อนเขาหาฝงไดอยางชัดเจน เปนตน . ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวาผูประพันธเพลงไดพยายามใชเสียงดนตรีสื่อถึงความงามของธรรมชาติและ เลียนแบบเสียงของธรรมชาติที่ไดยินใหออกมาเปนบทเพลง เพื่อใหผูฟงเพลงเกิดอารมณและความรูสึก ตางๆตามจุดมุงหมายของผูประพันธเพลง 2) วิถีชีวิต มีอิทธิพลมากตอการสรางสรรคบทเพลงไทย แตเดิมอาชีพหลักของคนไทย คือ อาชีพเกษตรกรรม เชน ทำนา ทำไร ทำสวน เปนตน โดยในขณะที่ทำงานอาจรูสึกเหน็ดเหนื่อย ออนลา หนวยการเรียนรูที่ 3 อารมณและจินตนาการสืบสานเสียงดนตรี ปจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลตอการสรางสรรคงานดนตรี


25 ดังนั้น เมื่อถึงชวงเวลาพักผอนก็ยอมตองมีการสรางสรรคสิ่งที่จะชวยใหคนทำงานเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลินจึงเปนเหตุใหมีผูคิดสรางสรรคบทเพลงไทยขึ้นเพื่อใชในกิจกรรมนันทนาการหลังจากการทำงาน ตัวอยางบทเพลงที่ถูกสรางสรรคขึ้นในลักษณะนี้ เชน เพลงเกี่ยวขาว เพลงเรือ เพลงลาวกระทบไม เพลง อีแซว เปนตน 3) ศาสนาและความเชื่อถือเปนสิ่งหนึ่งที่มีอิทธิพลตอจินตนาการในการสรางสรรคบทเพลง ไทย ทั้งนี้ เพราะอิทธิพลจากศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ - ฮินดู ไดสงผลทำใหเกิดประเพณี พิธีกรรม หลายอยางขึ้นในสังคมไทย ขณะเดียวกันก็ทำใหมีผุ็ประพันธบทเพลงไทยที่เกี่ยวของกับศาสนาและความ เชื่อขึ้น เพื่อใชประกอบพิธีกรรมความเชื่อทางศาสนา . บทเพลงที่เกี่ยวของกับศาสนาและความเชื่อ จะใชบทเพลงหนาพาทยที่จัดเปนเพลงชั้นสูงมี ทวงทำนองและจังหวะหนาทับที่ตางไปจากบทเพลงไทยโดยทั่วไป เมื่อไดฟงจึงกอใหเกิดความรูสึกนา เคารพ นาเกรงขาม แฝงไวดวยความสงางามและความศักดิ์สิทธิ์ เชนเพลงสาธุการ เพลงตระนิมิตร เพลง บาทสกุณี เพลงสมอขามสมุทร เปนตน 4) อารมณและความรูสึก มีอิทธิพลอยางยิ่งตอการสรางสรรคบทเพลงไทยซึ่งจะเห็นไดวา เพลง ไทยมีทวงทำนองที่ฟงแลวใหอารมณที่หลากหลาย ทั้งสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน โศกเศรา หรือฮึก เหิม ซึ่งอารมณเพลงเหลานี้ลวนเกิดขึ้นจากอารมณและความรูสึกตางๆที่สงผลใหผูประพันธเพลง ถายทอดออกมาเปนทำนองเพลงตางๆ เชน เพลงคางคายวกินกลวย เพลงนางครวญ เพลงทยอย เพลงลาว ดวงเดือน เปนตน . โดยทวงทำนองเพลงตางๆ เหลานั้นไดถูกสรางสรรคขึ้นจากจินตนาการที่หลากหลายของผูประพันธ เพลง และการถายทอดเรื่องราวความคิดของผูประพันธเพลงแตละทาน ตางมีเทคนิคและการแสดงออก ทางจินตนาการในการสรางสรรคบทเพลง และการถายทอดเรื่องราวความคิดในบทเพลงที่อาจเหมือน หรือ แตกตางกันออกไป ในการประพันธเพลงแตละเพลง ผูประพันธจำเปนตองใชเทคนิคในการถายทอดอารมณความรูสึก ของตนลงในบทเพลง เพื่อใหผูฟงเกิดอามรมณและความรูสึกคลอยตาม เทคนิคและการแสดงออกในการ จินตนาการในการสรางสรรคบทเพลงประกอบดวยสิ่งตางๆดังนี้ 1) เสียง เปนเทคนิคที่สำคัญประการหนึ่งในการสื่อใหเกิดอารมณตางๆ เชน บทเพลงที่ตองการ แสดงออกถึงความสนุกสนาน ปลุกใจ ผูประพันธจะเลือกใชเสียงที่อยูในระดับปานกลาง ไมสูง หรือต่ำ จนเกินไป มีการสลับเสียงสูง - ต่ำ เพื่อใหเกิดสีสันของบทเพลง รวมทั้งเปนกระตุนอารมณ ความรูสึกของ ผูฟงใหรูสึกคึกคักและสนุกสนานตามไปดวย บทเพลงที่เกี่ยวของกับความรัก ความงาม ความสุข ความ เทคนิคและการแสดงออกในการจินตนาการในการสรางสรรคบทเพลง


26 โศกเศรา การสูญเสีย หรือการพลัดพราก ผูประพันธจะเลือกใชเสียงในระดับเสียงเดียวกัน ไมสลับเสียงสูง - ต่ำ โลดโผนดังบทเพลงที่ใหอารมณสนุกสนาน บทเพลงที่ตองการสื่อถึงความสวยงามและเสียงของ ธรรมชาติผูประพันธยังจำเปนตองคัดสรรเสียงใหใกลเคียงกับเสียงธรรมชาติ ผูประพันธยังจำเปนตองคัด สรรเสียงใหใกลเคียงกับเสียงธรรมชาติที่ตองการถายทอด เชนเสียงนกรอง เสียงน้ำตก เสียงคลื่น 2) จังหวะ เปนเทคนิคที่ผูประพันธตองคำนึงถึงในการประพันธเพลง โดยบทเพลงที่ สนุกสนาน จังหวะที่ใชก็จำเปนตองเปนจังหวะที่กระชับ สั้น ไมเชื่องชา ซึ่งแตกตางกับบทเพลงที่เกี่ยวของ กับความรัก ความงาม ความสุข ความโศกเศรา การสูญเสีย หรือการพลัดพราก ก็ตองใชจังหวะชา มีการ ทอดจังหวะ เพื่อใหผูฟงเขาถึงอารมณเพลงไดงายขึ้น 3) รูปแบบ นอกจากจะใชรูปแบบตามที่กำหนดเปนแบบทฤษฎีดนตรีไทยแลว ผูประพันธอาจ ตองปรับเปลี่ยนรูปแบบบทเพลง เพื่อใหเกิดความแปลกใหมในวงการดนตรีไทย ซึ่งจะทำใหบทเพลงไทย ไดรับความสนใจและความนิยมมากขึ้น เชน เพลงโหมโรงมหาราช ผลงานประพันธของอาจารยมนตรีตรา โมท ที่ไดแตงขึ้นเพื่อทูลเกลา ฯ ถวายแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ฯ (รัชกาลที่๙) เนื่องในวโรกาสทรง พระเจริญพระชนมพรรษา ๖ รอบ โดยรูปแบบของเพลงนี้มีลักษณะแตกตางไปจากเพลงโหมโรงเดิม ผูประพันธไดกราบบังคมทูลขอพระบรมราชานุญาต อัญเชิญทำนองบทเพลงพระราชนิพนธใกลรุงและเพลง เราสูมาแปลงเปนเพลงอัตราจังหวะสองชั้น สอดแทรกทำนอง ลูกลอ ลูกขัด ลูกเหลื่อม ผสมผสานกันอยาง ลงตัวและจบดวยทำนองเพลงพระราชนิพนธสายฝน ๓ วรรคบทเพลงจึงมีความไพเราะ แปลกหูไปจากเดิม มาก 4) สำเนียงภาษา ศิลปนดนตรีไทยมีความสามารถในการเลียนสำเนียงชาติตางๆ ดังจะเห็นไดจาก ชื่อเพลงสวนใหญที่ขึ้นตนดวยชื่อของชชนชาติตางๆ เชน จีน แขก ฝรั่ง มอญ เขมร ลาว พมา เปน ตน ดังนั้น ในการประพันธเพลงผูประพันธเพลงจึงจำเปนตองใชเทคนิคในการถายทอดใหบทเพลงนั้นมี สำเนียงคลายคลึงกับทำนองและสำเนียงเพลงของแตละชาติใหไดมากที่สุด


27 การขับรองเปนการสรางสรรคทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใชวิธีเปลงเสียงออกมาใหเปนเพลงตาง ๆ โดยอาศัยองคประกอบทางดนตรี เพื่อทำใหเพลงที่รองมีความไพเราะขึ้น ซึ่งการขับรองอาจจะแบงออกเปน 3 ประเภท คือ การขับรองเดี่ยวและการขับรองหมู และการขับรองกับวงดนตรี การขับรองเดี่ยว หมายถึง การรองเพลงโดยบุคคลเพียงคนเดียว อาจมีดนตรีประกอบหรือไมมีก็ได การขับรองหมู หมายถึง การรองเพลงโดยบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป อาจมีดนตรีประกอบหรือไมมีก็ ได ซึ่งการขับรองแบบหมูนี้อาจจะรองแบบเปนทำนองเดียวกันหรือรองแบบประสานเสียงกันก็ได การขับรองกับวงดนตรี หมายถึง การขับรองเดี่ยวหรือการขับรองหมูที่มีเครื่องดนตรีหรือวงดนตรี บรรเลงประกอบเปนฉากหลัง (Back-up) ผูชับรองตองอาศัยทักษะ ประสบการณอยางมากในเรื่องของลีลา ทาทาง จังหวะ และบันไดเสียงใหสอดคลองกับการบรรเลงจากวงดนตรีประกอบ สวนใหญเพื่อสรางความ บันเทิงใหกับผูฟง การขับรองเดี่ยว หนวยการเรียนรูที่ 4 เทคนิคการรองเพลง และบรรเลงดนตรี เทคนิคและการแสดงออกในการขับรอง


28 การขับรองหมู การขับรองกับวงดนตรี เทคนิคในการขับรองเพลง 1. นั่งหรือยืนรองดวยทาทางสำรวม หรือเคลื่อนไหวทาทางใหเหมาะสมกับประเภทของบทเพลง 2. ควบคุมระดับเสียงใหเพมาะสมกับเพลง 3. ออกเสียงถูกตอง ชัดเจนตามอักขรวิธี 4. ศึกษา ทำความเขาใจเกี่ยวกับเนื้อหาเพลงกอนขับรอง เพื่อการถายทอดอารมณของบทเพลง ไดถูกตอง ไพเราะ และเหมาะสม 5. ฝกผอนลมหายใจใหสัมพันธกับวรรคตอนของบทเพลง


29 1. การบรรเลงเดี่ยว คือ การบรรเลงดวยเครื่องดนตรีชิ้นเดียว เปนการบรรเลงคนเดียว แสดงถึง ความสามารถของผูบรรเลงทั้งในเรื่องความแมนยำในดานจังหวะ ทำนองเพลง เทคนิคในการบรรเลงเดี่ยว 1.1 ผูบรรเลงตองมีความสามารถและฝมือในการบรรเลง 1.2 ผูบรรเลงตองฝกจดจำจังหวะทำนองของบทเพลงเพื่อใหบรรเลงไดถูกตอง 1.3 ผูบรรเลงตองฝกอานโนตกอนการบรรเลงเสมอ 1.4 ผูบรรเลงตองมีปฏิภาณไหวพริบในการบรรเลงเพราะการบรรเลงเดี่ยว บางครั้ง มีการประชันฝมือในการบรรเลงโตตอบกัน จึงตองบรรเลงเพลงที่มีความเหนือชั้นกวา 1.5 ผูบรรเลงตองมีสมาธิในการบรรเลงเพื่อใหการบรรเลงดนตรีไดถูกตองตามจังหวะและ ทำนองเพลง 2. การบรรเลงรวมวง หรือการผสมวง เปนการบรรเลงพรอม ๆ กันทั้งวงดนตรี โดยนำเครื่อง ดนตรีแตละประเภทมาบรรเลงรวมกันเปนวง ซึ่งในการผสมวงจะตองเลือกเครื่องดนตรีที่มีความเหมาะสม กลมกลืนกัน เทคนิคและการแสดงออกในการบรรเลงดนตรีเดี่ยวและรวมวง


30 การบรรเลงดนตรีรวมวง มีเทคนิคที่ใชในการบรรเลงดังนี้ 2.1 ฝกฟงจังหวะเพื่อใหสามารถบรรเลงดนตรีไดถูกตองตามจังหวะและชวยใหวงบรรเลง ไดอยางราบรื่น 2.2 ผูบรรเลงจะตองฝกการอานโนตเพลงที่จะบรรเลงเพื่อใหบรรเลงไดถูกตอง 2.3 ผูบรรเลงจะตองมีความรับผิดชอบตอกลุมในการบรรเลงดนตรีรวมกัน 2.4 ฝกฟงทำนองเพลงแนวอื่น ๆ เพื่อใหทราบถึงการเรียบเรียงเสียงประสานและบรรเลง ไดหลากหลาย เขาใจบทเพลงไดงายขึ้น 2.5 ผูบรรเลงตองมีความมั่นใจขณะบรรเลง และบรรเลงไดเขาจังหวะ ทำนองกับผูอื่น


31 คำชี้แจง ใหนักเรียนเลือกบทเพลงพระราชนิพนธของในหลวงรัชกาลที่ 9 มา 1 บทเพลง หลังจากนั้นเขียน บรรยายอารมณและความรูสึกที่ไดรับจากเพลงที่เลือก แลวจึงสอบปฏิบัติขับรอง 1. เพลง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. อารมณและความรูสึกที่ไดรับจากเพลง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ใบงานการขับรองเพลง


32 การบรรเลงเครื่องดนตรี


33


34


35


36


37 การถายทอดอารมณความรูสึกของบทเพลง 1. จังหวะกับอารมณเพลง จังหวะ มีสวนประกอบในตัวจังหวะเอง 3 สวนคือ กลุมจังหวะนับลักษณะการเคาะจังหวะ และอัตราชา- เร็วของการดำเนินจังหวะทั้ง 3 สวนประกอบ ตองบรรเลงไปพรอมกันเปน จังหวะ เดียวกัน มีอิทธิพลตอการถายทอดออารมณตางๆได เชน จุดเนนหนัก - เบา ที่สม่ำเสมอของจังหวะ เปรียบเสมือนชีพจรของบทเพลง และดนตรี ทำใหรูสึกมีชีวิตชีวา หรือลักษณะการเคาะจังหวะตามแบบรูป ของสไตลเพลง และดนตรี สามารถถายทอดใหเกิดอารมณราเริง ตื่นเตน ผอนคลาย หรือโศกเศราไดตาม สไตลนั้นๆ เปนตน 2. ความดัง - เบากับอารมณเพลง ความดัง - เบากับอารมณเพลงเกิดจากเนื้อดนตรีที่มีความหนาแนนของตัวโนต หรือของแนว ดนตรีที่แตกตางกัน ยิ่งหนาแนนมากยิ่งดังมาก และอารมณของผูฟงก็จะวน หรือเปลี่ยนแปลงตาม เชน ยิ่ง เสียงดังยิ่งถายทอดอารมณเครียด และตื่นเตน เสียงที่คอยๆ เบาลง จะถายทอดอารมณคอยๆ คลาย ความเครียด หรือ รูสึกสบาย เปนตน 3. การประพันธทำนองและคำรองกับอารมณเพลง การประพันธทำนองและคำรองของเพลงเปรียบเหมือนกับการปรุงอาหาร สื่อใหผูชิมรับรสชาติ ตามที่ผูประพันธตองการ ทำใหผูฟงเกิดอารมณและความรูสึกคลอยตาม เชน 3.1 รสแหงความรัก เปนรสที่ใหอารมณและความรูสึกออนหวานในจิตใจของผูฟง เชนเพลงรักคุณ เขาแลว ประพันธคำรองโดย สุนารียา ณ เวียงกาญจน เปนตน 3.2 รสแหงความขบขัน เปนรสที่ใหอารมณและความรูสึกตลก ขบขันและสนุกสนาน เชน เพลงไม อวนเอาเทาไร ของวงมะลิลา บาซิเลียน เปนตน 3.3 รสแหงความโกรธ เปนรสที่ใหอารมณโกรธแคน ชิงชัง ตัดพอตอวา เชน เพลงผูชนะสิบทิศ ประพันธโดย ครูไสล ไกรเลิศ เปนตน หนวยการเรียนรูที่ 5 เสนหอารมณเพลง บรรเลงแลวจับใจ


38 3.4 รสแหงความกลา เปนรสที่ใหอารมณและความรูสึกกลา หาวหาญ และฮึกเหิม เชน เพลงเจา ตาก ของวงคาราบาว เปนตน 3.5 รสแหงความสงบ เปนรสที่ใหอารมณและความรูสึกสงบ สนติ รมเย็น เชน เพลงโลกแสนสวย ประพันธโดย ครูสำเร็จ คำโมง เปนตน 4. ความแตกตางของอารมณเพลง เมื่อเราฟงเพลงที่มีโครงสราง หรือสวนประกอบแตกตางกันยอมจะทำใหเกิดอารมณความรูสึก แตกตางกันไปในแตละเพลง ซึ่งอารมณที่จะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลังเพลง ถาจำแนกเปนกลุมใหญๆ จะได 2 อารมณ คือ - อารมรดานบวก Positive feeling ไดแก อารมณที่เปนสุขตางๆ เชน รางเริง เบิกบาน หวาน รัก มีกำลังใจ เปนตน - อารมณดานลบ Negative feeling ไดแก อารมณที่เปนทุกขตางๆ เชน เศรา เครียด ทอถอย เปนตน ซึ่งบทเพลงทุกเพลงจะมีอารมณใดอารมณหนึ่งดังกลาวนี้ เปนแกนสารของเพลง


39 หลักการประเมินทักษะทางดนตรีและขับรอง การวัดและประเมินพัฒนาการทักษะทางดนตรีและขับรองเปนสิ่งหนึ่งที่สำคัญอยางยิ่ง ของ กระบวนการทางการเรียนทักษะในวิชาดนตรี โดยระบบการศึกษาเมื่อมีการเรียนยอมมีการวัดและการ ประเมินผลการเรียน เพื่อใหทราบวา ผูเรียนไดเรียนสิ่งใดไปบาง มากนอยเพียงใด และไดปฏิบัติตาม วัตถุประสงคหรือผลการเรียนรูที่กำหนดไวอยางไร สำหรับผูสอน การวัดและประเมินผลทำใหทราบดวยวา กระบวนการเรียนการสอนประสบความสำเร็จเพียงใด มีสิ่งใดที่ดีหรือสิ่งใดควรปรับปรุงแกไขเพื่อทำใหการ เรียนการสอนในครั้งตอไปพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น การวัดและประเมินผลจึงควรมีหลักการ มีระบบ มีการ จัดการที่ครอบคลุม มีความรัดกุม ความสะดวก และใหผลตามที่ตั้งวัตถุประสงคไว การวัดและประเมินผล ดนตรี จึงเปนเรื่องสำคัญและสามารถทำใหเกิดประโยชนไดในหลายแงมุม ในกระบวนการเรียนดนตรีนั้นผลลัพธสุดทายที่เราคาดหวังคือการแสดงออกถึงประสิทธิภาพที่ เกิดขึ้นในภาพรวมทั้งหมด อาจเปนการแสดงดนตรีเพื่อสอบ หรือการสอบเนื้อหาวิชาดนตรีในชวงปลายภาค เรียน เพื่อสามารถนำมาใชเปนขอมูลในการปรับปรุงการเรียนการสอนในครั้งตอไปที่ผูสอน สอนในวิชานั้นๆ อีกครั้งหนึ่งในอนาคตได และใหผูเรียนไดทราบวาผลการเรียน ดนตรีของผูเรียนนั้นอยูในระดับใดควร ปรับปรุงแกไขในสวนใด การประเมินผลในกระบวนการจึงนาจะเปนสิ่งที่สำคัญในการเรียนทักษะดนตรี เนื่องจากเปนชวงเวลาที่ใชในการพัฒนาความสามารถ ของนักเรียน ซึ่งผูสอนสามารถประเมิน และปรับปรุง แกไขปญหาของผูเรียนไดทันทวงที ดังนั้นในการประเมินทักษะทางดนตรีเราจะตองพิจารณาจากลักษณะ และความสามารถของผู ขับรองและผูบรรเลงดนตรีซึ่งจะมีหลักที่จะใชในการประเมินมีดังนี้ หนวยการเรียนรูที่ 6 พัฒนาการทักษะดนตรีและการขับรอง คือวิถีสรางคน


40 1. ความถูกตองในการบรรเลง จะตองพิจารณาวาผูบรรเลงดนตรีนั้น มีความสามารถในการถายทอด การบรรเลงดนตรีที่ถูกตองตามจังหวะ ทวงทำนองของบทเพลง ถายทอดอารมณของบทเพลง ทั้งสามารถ บรรเลงเพลงไดเหมาะสมกลมกลืน และไพเราะ ไมมีลักษณะณะดอยของการบรรเลง เชน เพี้ยน หลุด พลาด เปนตน 2. ความแมนยำในการอานเครื่องหมาย และสัญลักษณทางดนตรีในการขับรองและการบรรเลงดนตรี นั้น ผูบรรเลงดนตรีและผูขับรองจะตอง มีความเขาใจในการอานเครื่องหมายและสัญลักษณทางดนตรี มี ความสามารถที่จะอานโนตเพลงไดอยางถูกตองตามที่ผูประพันธไดประพันธไว ทำใหบทเพลงนั้นไพเราะ และสมบูรณ 3. การควบคุมคุณภาพเสียงในการรองและบรรเลง ในการขับรองเพลงนั้นเราสามารถที่จะประเมิน คุณภาพของผูขับรองไดจากการฟง วาผูขับรองสามารถที่จะใชน้ำเสียงและควบคุมเสียงรองไดมากนอย เพียงใด เสียงจะตองไมขาด ไมเกิน เหมาะสมกับทำนองดนตรี ทั้งยังตองออกเสียงขับรองนั้นใหถูกตองตาม อักขระวิธีของภาษาที่ใชขัยรองนั้นๆ สวนผูบรรเลงดนตรีจะตองควบคุมคุณภาพเสียงของเครื่องดนตรีได อยางถูกตองชัดเจน กลาวคือการขับรองและการบรรเลงดนตรีไทยและสากล ผูขับรองและผูบรรเลงควรมีเทคนิค ในการขับรอง บรรเลง ใหถูกตองตามเกณฑของหลักดุริยางคศิลป จะสามารถทำใหการขับรองและการ บรรเลงดนตรีนั้นออกมาไดอยางมีคุณภาพ ไพเราะ เปนที่ประทับใจแกผูฟง และตองเขาใจในหลักของการ ประเมิน เพื่อที่จะประเมินการขับรองและการบรรเลงไดอยางถูกตอง เขาใจในบทเพลงและอารมณของบท เพลงไดงายขึ้น .


41 พัฒนาการของดนตรีเริ่มจากวัฒนธรรมในทองถิ่นกาวสูดนตรีที่ผูคนในสังคมเกิดความสนใจเสพ ผลงานทางดนตรีเพื่อความสุข ความบันเทิง จนเกิดเปนอาชีพทางดานดนตรีขึ้นและมีความหลากหลายตาม ลักษณะของการประกอบกิจกรรมในอาชีพนั้นๆ ซึ่งเปนชองทางหารายไดและเสริมสรางความสุขในชีวิต ตนเอง สังคม และเปนที่ยอมรับของผูคนอีกอาชีพหนึ่ง อาชีพทางดานดนตรีที่มีบทบาทในสังคมไทย และ เปนที่รูจักโดยทั่วไปมีดังนี้ เปนอาชีพที่แสดงความสามารถทางดานทักษะดนตรีที่ดีเยี่ยมของศิลปน มีความชำนาญในการ บรรเลงดนตรี สามารถอานโนตเพลงไดอยางคลองแคลว เพื่อสื่อความไพเราะของบทเพลงตามที่นัก ประพันธเพลงไดสรางสรรคไว ซึ่งนักดนตรีแตละคนอาจตองผานการฝกฝนที่แตกตางกัน โดยบางรายฝก จากครูหรือนักดนตรีที่มีประสบการณ บางรายเรียนดนตรีจากสถาบันการศึกษาดนตรีเอกชนทั่วไป บาง รายเรียนดนตรีตามระบบในสถานศึกษา นักดนตรีอาชีพจำนวนมากประสบความสำเร็จและมีรายไดตอบ แทนคอนขางสูง 1. นักดนตรี หนวยการเรียนรูที่ 7 อาชีพที่โดงดัง เปนพลังจากดนตรี ธุรกิจทางดนตรี บนวิถีที่หลากหลาย อาชีพทางดนตรี


42 ภาพที่ 5.1 นักดนตรี (อาจารยหนึ่ง จักรวาล) เปนอาชีพทางดานดนตรีที่สรางชื่อเสียงใหแกศิลปนอยางมาก ในบางรายเมื่อมีชื่อเสียงทางดานการ ขับรองแลวยังมีโอกาสเขาวงการละครและภาพยนตรดวย ซึ่งชวยเสริมใหศิลปนเหลานี้มีรายไดจากการ นำเสนอผลงานการขับรองมากยิ่งขึ้น บางรายกลายเปนขวัญใจของประชาชน ภาพที่ 5.2 นักรอง (The toys) 2. นักรองอาชีพ


43 เปนอาชีพหนึ่งที่มีความสำคัญในวงการดนตรีโดยเฉพาะทางดานดนตรีแนวตะวันตก นอกจากจะ เปนนักดนตรีแลว ยังตองมีความรอบรูทางดานทฤษฎีดนตรีดวย โดยจะตองมีความสามารถในการแยกแนว ดนตรีแตละประเภท ทำสกอร (Score) เพลงไดอยางชำนาญ หนาที่หลัก คือ การนำเพลงมาเรียบเรียงตามองคประกอบของดนตรีใหเหมาะสมกับการบรรเลงของ วงดนตรีลักษณะตาง ๆ ภาพที่ 5.3 นักเรียบเรียงดนตรี (บอย โกสิยพงษ) เปนอาชีพของนักดนตรีที่ตองใชจินตนาการและการสรางสรรคทำหนาที่ ประพันธเพลงตาง ๆ เชน เพลงลูกกรุง เพลงไทยสากล เพลงลูกทุง คุณสมบัติของคนที่จะเปนนักประพันธเพลงที่ดีตองมี ความสามารถในการเลนดนตรีเปนอยางดี มีความรอบรูในทฤษฎีดนตรี รูและชำนาญโครงสรางทางดนตรี สามารถบันทึกโนตและอานโนตดนตรีไดอยางคลองแคลว มีความสามารถในการประพันธคำรอง เปนผูที่ใช ภาษาไดดี มีความสามารถทางวรรณศิลป 3. นักเรียบเรียงเพลง และ นักเรียบเรียงเสียงประสาน 4. นักประพันธเพลง


44 ภาพที่ 5.4 นักประพันธเพลง (ฟองเบียร) นักอำนวยเพลง หรือวาทยกร (Conductor) เปนอาชีพทางดานดนตรีอีกอาชีพหนึ่งที่เปนที่รูจักและ ประสบความสำเร็จ ทั้งในระดับประเทศและระดับโลก คนไทยที่ประสบความสำเร็จในฐานะนักอำนวย เพลงหรือวาทยกร เชน พลเรือตรีวีระพันธ วอกลาง , บัณฑิต อึ้งรังสีกอนจะกาวสูอาชีพนี้ไดตองผานการ ฝกปฏิบัติเครื่องดนตรี เรียนรูทำนองเพลง อารมณเพลง รวมทั้งศึกษาวัตถุประสงคของนักประพันธเพลง บทบาท คือ กำกับและควบคุมวงดนตรีขนาดใหญใหดำเนินการบรรเลงไดอยางถูกตองและสมบูรณ ภาพที่ 5.5 Conductor (บัณฑิต อึ้งรังสี) 5. ผูอำนวยเพลง


45 เปนอาชีพที่มีความสำคัญมากของวงการดนตรี เพราะครูดนตรีทำหนาที่ที่ถายทอดความรูและ ทักษะกระบวนการทางดนตรีใหกับผูเรียนดนตรีเปนจำนวนมาก ครูดนตรีจะปฏิบัติหนาที่ใน สถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน ครูดนตรีเปนผูมีความรูความเขาใจในการปฏิบัติเครื่องดนตรี หลัก วิชาดนตรี มีความชำนาญในการสอน สามารถถายทอดความรูดานดนตรีใหแกศิษยไดอยางถูกตองครบถวน ภาพที่ 5.6 ครูสอนดนตรี (ออนไลน) มีความหมายครอบคลุมถึงวิจัยดนตรี นักวิชาการดนตรีมีบทบาทอยางมากในการศึกษาความรู เกี่ยวกับดนตรี เพื่อเสนอองคความรู ใหขอมูลทางดานดนตรีและสวนตาง ๆ ที่อยูรายรอบแกระบบ การศึกษาวิชาดนตรีหรือหนวยงานที่นำดนตรีไปประกอบกิจการในดานตาง ๆ นักวิชาการสวนใหญ จะอยู ในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่จัดการเรียนการสอน บางสวนเปนนักวิจัยของสำนักวิจัย ภาพที่ 5.7 นักวิชาการทางดานดนตรี (รศ. ดร. สุกรี เจริญสุข) 6. ครูดนตรี 6. นักวิชาการดนตรี


46 ธุรกิจบันเทิง คือ การประกอบกิจการหรือการคาขาย,การประกอบอาชีพเกี่ยวกับความบันเทิง ซึ่งในการประกอบอาชีพธุรกิจบันเทิง จะตองมีดนตรีเขามาเกี่ยวของในการประกอบธุรกิจอยูเสมอ ดนตรีจึง มีบทบาทที่สำคัญตอธุรกิจบันเทิงดังนี้ 1. ดนตรีสามารถสรางความสุข ความบันเทิงใหกับผูชมในงานและสถานบันเทิงตางๆเพื่อผอนคลาย ความตึงเครียด 2. ดนตรีสามารถที่จะสรางรายไดใหกับนักดนตรี 3. ดนตรีสามารถที่จะบอกความกาวหนาของธุรกิจบันเทิงได 4. ดนตรีมีสวนสำคัญที่จะทำใหเกิดรางวัลตางๆที่เกี่ยวของกับธุรกิจบันเทิง 5. ดนตรีสามารถตอบสนองความตองการของคนในสังคม จึงทำใหเกิดการประกอบอาชีพที่เกี่ยวกับ ธุรกิจบันเทิงและดนตรีตางๆ เชน วงดนตรีลูกทุง ลิเก หมอลำ เปนตน 2.1 ธุรกิจโรงเรียนสอนดนตรี 2.2 ธุรกิจหองบันทึกเสียง 2.3 ธุรกิจรับงานดนตรี 2.4 ธุรกิจผลิตมิวสิกวีดีโอ 2.5 ธุรกิจผลิตรายการโทรทัศนดานดนตรีและสื่อการแสดง 2.6 ธุรกิจอุตสาหกรรมผลิตเครื่องดนตรี 2.7 ธุรกิจจำหนายผลิตภัณฑเครื่องดนตรี โดยสรุปอาชีพทางดานดนตรีนั้นมีมากมายหลากหลายอาชีพ ซึ่งในแตละอาชีพจะมีบทบาทและ หนาที่ ที่แตกตางกันออกไป ซึ่งสามารถที่จะสรางรายไดใหกับผูประกอบอาชีพ และสรางความสุข ความ บันเทิง ใหกับคนในสังคม อีกทั้งดนตรียังชวยสงเสริมใหธุรกิจบันเทิงมีความหลากหลายเพื่อที่จะตอบสนอง คนในสังคม ธุรกิจทางดนตรี 1. บทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง 2. ธุรกิจบันเทิงที่เกี่ยวของกับดนตรี


Click to View FlipBook Version