The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรโรงเรียนบ้านม่วงดง ระดับประถมศึก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรโรงเรียนบ้านม่วงดง ระดับประถมศึก

หลักสูตรโรงเรียนบ้านม่วงดง ระดับประถมศึก

๑๐๑

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

รหัสวชิ า ง ๑๖๑๐๑ รายวชิ า การงานอาชพี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ชั่วโมง

ศึกษาแนวทางในการทางานและปรับปรงุ ทางานแตล่ ะขน้ั ตอน หลกั การเบ้ืองตน้ ของการแก้ปัญหา การ
สารวจตนเองในการเลือกอาชีพ ความรู้ ความสามารถ และคุณธรรมท่ีสัมพันธ์กบั อาชพี ที่สนใจทักษะการจดั การใน
การทางานและปฏบิ ตั ติ นอยา่ งมีมารยาทในการทางานกับครอบครวั และผู้อน่ื มจี ิตสานกึ ในการใชพ้ ลงั งานและ
ทรพั ยากรอยา่ งประหยดั และค้มุ คา่ ใชค้ อมพวิ เตอรช์ ่วยสรา้ งช้ินงานจากจินตนาการหรืองานทท่ี าในชีวิตประจาวัน
อย่างมีจติ สานึกและความรับผิดชอบ ทาใหผ้ ู้เรยี นทางานอย่างเป็นกระบวนการและชว่ ยเหลืองานในบา้ นการ
ประหยดั การออม การแบง่ ปนั สง่ิ ของใหผ้ ูอ้ น่ื การแปรรปู จากกล้วยการผลติ การใช้เคร่ืองจักสาน การผลติ การใช้
เครอ่ื งจักสานจากวัสดุเหลอื ใช้ อาชพี การทาสวนการปลูกพืชสวนครวั เล้ียงสตั ว์ เศรษฐกิจพอเพยี งผา่ นกิจกรรม
ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ สหกรณ์ การจดั การขยะ อาหารกลางวันโรงเรียน

เพ่ือให้รู้ เข้าใจทักษะการจัดการทางาน และมีทักษะการทางานร่วมกันปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการ
ทางานกับสมาชิกในครอบครัวและผู้อ่ืนนาความรู้และทักษะการสร้าง ช้ินงาน ไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของ
เคร่ืองใช้และการแก้ปัญหาวางแผนในการเลือกอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของ
เศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กับชวี ติ ประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั
ง ๑.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ง ๒.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
รวม ๒ มาตรฐาน ๕ ตัวชีว้ ดั

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๒

คาอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๓

คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหสั วชิ า อ ๑๑๑๐๑ รหัสวิชา ภาษาองั กฤษ กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง

เข้าใจและใช้ภาษาอังกฤษส่อื สาร แลกเปลีย่ นและนาเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร สรา้ งความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคล
ในเรื่องท่ีเก่ียวกับตนเอง บุคคล สัตว์ และเรื่องใกล้ตัว มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษใน การฟัง พูด อ่าน เขียน ใน
สถานการณ์ต่างๆที่เกิดข้ึนในห้องเรียนและสถานศึกษา ตามหัวเรื่องท่ีเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน
ส่ิงแวดล้อมใกล้ตัว อาหาร เคร่ืองด่ืม และนันทนาการ ภายในวงคาศัพท์ประมาณ ๑๕๐-๒๐๐ คา (คาศัพท์ท่ีเป็น
รูปธรรม) คาส่ังที่ใช้ในห้องเรียน ตัวอักษร (letter names) เสียงตัวอักษรและสระ (letter sounds) และการ
สะกดคา หลักการอ่านออกเสียง คา กลุ่มคา และความหมาย เก่ียวกับตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น บทอา่ นเกี่ยวกับ
เรื่องใกล้ตัว หรือนิทานท่ีมีภาพประกอบ บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ และประโยค/
ข้อความที่ใช้แนะนาตนเอง คาและประโยคท่ีใช้ในการพูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง บุคคล ใกล้ตัว และเร่ืองใกล้ตัว
มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกีย่ วกบั วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา คาศพั ท์เกยี่ วกบั เทศกาลสาคญั ของเจา้ ของภาษา

โดยการปฏิบัติตาม ระบุ อ่านออกเสียง เลือกภาพ ตอบคาถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก พูดขอ ให้ข้อมูล
ทาท่าประกอบ เข้าร่วม ฟัง/พูด เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เกิด
สมรรถนะตามความต้องการของหลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้ึนในตัวของผู้เรียน และสามารถอยรู่ ่วมกับ
ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ ับชีวิตประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั
ต ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๓ ป.๑/๑
ต ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ต ๒.๒ ป.๑/๑
ต ๓.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๒ ป.๑/๑

รวม ๘ มาตรฐาน ๑๖ ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๔

คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

รหัสวิชา อ ๑๒๑๐๑ รายวิชา ภาษาอังกฤษ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง

เขา้ ใจและใช้ภาษาองั กฤษส่ือสาร แลกเปลย่ี นและนาเสนอขอ้ มลู ขา่ วสาร สร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คล
มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการฟัง พูด อ่าน เขียน ในสถานการณ์ต่างๆที่เกิดข้ึนในห้องเรียนและสถานศึกษา
ตามหวั เร่ืองที่เก่ยี วกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น ส่งิ แวดล้อมใกลต้ ัว อาหาร เคร่ืองดื่ม และนันทนาการ ภายในวง
คาศัพท์ประมาณ ๒๕๐ - ๓๐๐ คา (คาศัพท์ที่เป็นรูปธรรม) คาส่ัง และคาขอร้องท่ีใช้ในห้องเรียน ประโยคเด่ียว
(simple sentence) และการสะกดคา หลักการอ่านออกเสียง คาศัพท์ สานวน และประโยคที่ใช้ขอและให้ข้อมูล
เกย่ี วกับตนเอง บอกความต้องการ คาและประโยคที่ใชใ้ น การพูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง บุคคลใกล้ตัว และเรอ่ื ง
ใกล้ตัว บทอ่านเกี่ยวกับเร่ืองใกล้ตัว หรือนิทานที่มีภาพประกอบ บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย กล่าวลา ขอบคุณ
ขอโทษ และประโยค/ข้อความท่ีใช้แนะนาตนเองมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา คาศัพท์
เกี่ยวกับเทศกาลสาคัญของเจ้าของภาษาปฏิบัติกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม ระบุตัวอักษรและเสยี งตัวอักษรของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย และใชภ้ าษาตา่ งประเทศ เพือ่ รวบรวมคาศัพทท์ ่ีเกยี่ วข้องใกล้ตวั

โดยการระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคาถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก ทาท่าทาง เข้าร่วม ฟัง เพื่อให้
ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจและนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั เกิดสมรรถนะตามความตอ้ งการของหลักสูตร มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ขึ้นในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถ
นาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับ
ชวี ิตประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ต ๑.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ต ๑.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ต ๑.๓ ป.๒/๑ , ป.๒/๑
ต ๒.๑ ป.๒/๒ , ป.๒/๓
ต ๒.๒ ป.๒/๑
ต ๓.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๒ ป.๒/๑

รวม ๘ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ชว้ี ัด

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๕

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

รหสั วิชา อ ๑๓๑๐๑ รายวิชา ภาษาองั กฤษ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง

เขา้ ใจและใช้ภาษาอังกฤษสื่อสาร แลกเปลี่ยนและนาเสนอข้อมูลข่าวสาร สร้างความสมั พันธ์ระหว่างบุคคล มี
ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการฟัง พูด อ่าน เขียน ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในห้องเรียนและสถานศึกษา ตาม
หัวเร่ืองที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว อาหาร เครื่องด่ืม และนันทนาการ ภายในวง
คาศัพท์ประมาณ ๓๕๐ -๔๕๐ คา (คาศัพท์ที่เป็นรูปธรรม) คาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน คาสั่งและ
คาขอร้องที่ใช้ ในห้องเรียน ประโยคเดี่ยว (simple sentence) ) การสะกดคา การใช้พจนานุกรม หลักการอ่าน
ออกเสียง เน้นหนัก-เบา ในคา ตามระดับเสียงสูง-ต่า อ่านออกเสียงคา สะกดคา อ่านกลุ่มคา ประโยคเด่ียว และบท
พูดเข้าจังหวะ (chant) ง่าย ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่านออกเสียง คาศัพท์ สานวน และประโยคท่ีใช้ขอและให้ข้อมูล
เก่ียวกับตนเอง แนะนาตนเอง บอกความต้องการ คาและประโยคที่ใช้ในการพูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง บุคคลและ
เรื่องใกล้ตัว บทอ่านเก่ียวกับเร่ืองใกล้ตัวหรือนิทานท่ีมีภาพประกอบ บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย กล่าวลา
ขอบคุณ ขอโทษ จัดหมวดหมู่คาตามประเภทของบุคคล สัตว์ และส่ิงของตามท่ีฟังหรืออ่าน ใช้ภาษาในการฟัง/พูด
ในสถานการณ์ง่าย ๆ ท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียนและใช้ภาษาต่างประเทศในการรวบรวมคาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องใกล้ตัวจากสื่อ
ตา่ งๆ มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา คาศพั ท์เกี่ยวกับเทศกาลสาคญั ของเจ้าของ
ภาษา ปฏิบัติกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม ระบุตัวอักษรและเสียงตัวอักษรของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
และใช้ภาษาต่างประเทศ เพอื่ รวบรวมคาศัพท์ทเ่ี กี่ยวข้องใกลต้ ัว

โดยการอ่านออกเสียง สะกดคา ฟัง พดู เลือก/ระบุ ตอบคาถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก จัดหมวดหมู่
ทาท่าประกอบ เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อให้มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาความรู้ไปปฏิบัติให้เกิด
ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยกุ ต์ใชก้ บั ชีวิตประจาวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ต ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ต ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕
ต ๑.๓ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ต ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ต ๒.๒ ป.๓/๑
ต ๓.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๒ ป.๓/๑
รวม ๘ มาตรฐาน ๑๘ ตัวชว้ี ัด

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๖

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รายวิชา อ ๑๔๑๐๑ รายวิชา ภาษาองั กฤษ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

ปฏิบัติตามคาสั่ง คาขอร้อง และคาแนะนา (instructions)ง่าย ๆท่ีฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียงคา สะกด
คา อ่านกลุ่มคา ประโยค ข้อความง่ายๆ และบทพูดเข้าจังหวะ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือก/ระบุภาพหรือ
สญั ลักษณ์ หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของประโยคและข้อความสั้นๆที่ฟังหรืออ่าน ตอบคาถามจากการ
ฟังหรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆ พูด/เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คาสั่ง คา
ขอร้อง และคาขออนุญาตง่าย ๆ พูด/เขียนแสดงความต้องการของตนเองตามและขอความช่วยเหลือใน
สถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูล เก่ียวกับตนเองเพ่ือน และครอบครัว พูดแสดงความรู้สึกของ
ตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว หรือกิจกรรมต่างๆ ตามแบบท่ีฟัง พูด/เขียนให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกับตนเองและ
เรื่องใกลต้ วั พูด/วาดภาพแสดงความสัมพันธ์ของสิง่ ต่างๆใกลต้ ัวที่ฟงั หรืออา่ น พูดแสดงความคิดเห็นง่ายๆ เก่ียวกับ
ตนเองและเร่ืองใกล้ตัว พูดและทาท่าประกอบอย่างสภุ าพตามมารยาทสังคม/วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ตอบ
คาถามเกี่ยวกับเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่ง่ายๆของเจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรม
ทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย บอกความแตกต่างของเสียงตัว อักษร คา กลุ่มคา ประโยค และ
ข้อความ ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างเทศกาล
และงานฉลองตามวัฒนธรรม ของเจา้ ของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อ่ืน และนาเสนอด้วยการพูด/การเขียน ฟัง/พูดในสถานการณ์ที่เกิดข้ึนในห้องเรียนและสถานศึกษา ใช้
ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาองั กฤษ)ในการสืบค้นและรวบรวมข้อมลู ตา่ งๆ

โดยการฟัง พูด อา่ น เขียน ระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคาถาม พูดโตต้ อบ ใช้ บอก ทาท่าทาง เข้า
รว่ ม เพ่ือให้ผเู้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เกิดสมรรถนะตามความตอ้ งการของ
หลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ขน้ึ ในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับ
ชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ต ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป๔/๔ , ป๔/๕
ต ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป๔/๔ ต ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ต ๑.๓ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ต ๔.๒ ป.๔/๑
ต ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ต ๓.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๑ ป.๔/๑

รวม ๘ มาตรฐาน ๒๐ ตัวชีว้ ัด

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๗

คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

รหัสวชิ า อ ๑๕๑๐๑ รายวิชา ภาษาอังกฤษ กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ

ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

ปฏิบัติตามคาสั่ง คาขอร้อง และคาแนะนา ท่ีฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียง ประโยค ข้อความ และบท

กลอนส้ันๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/วาดภาพสัญลักษณ์ หรือเคร่ืองหมายตรงตามความหมายของประโยค

และข้อความสั้นๆที่ฟังหรืออ่าน บอกใจความสาคัญและตอบคาถามจากการฟังหรืออ่านบทสนทนา และนิทาน

ง่ายๆหรือเรื่องสั้นๆ พูด/เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คาส่ัง คาขอร้อง คาขออนุญาตและให้

คาแนะนาง่าย ๆ พดู /เขียนแสดงความต้องการของตนเองตาม ขอความชว่ ยเหลอื ตอบรับและปฏิเสธการใหค้ วาม

ช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเองเพ่ือน ครอบครัว และเร่ืองใกล้ตัว

พดู แสดงความร้สู ึกของตนเองเกีย่ วกบั เร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว หรอื กิจกรรมต่างๆพร้อมท้ังใหเ้ หตุผลสั้นๆประกอบ พูด/

เขียนให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกับตนเองและเร่ืองใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมิแสดงข้อมูลต่างๆตามที่ฟัง

หรืออ่าน พูดแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเร่ืองต่างๆใกล้ตัว ใช้ถ้อยคา น้าเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพตาม

มารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ตอบคาถาม/บอกความสาคัญของเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลองและ

ชีวิตความเปน็ อยู่ง่ายๆของเจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความ

เหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครอ่ื งหมายวรรคตอน และการลาดับคาตาม

โครงสร้างของประโยคของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกความเหมือน/ความแตกต่าง

ระหว่างเทศกาลและงานฉลองตามวัฒนธรรม ของเจา้ ของภาษากับของไทย คน้ คว้ารวบรวม คาศัพท์ทเ่ี กย่ี วข้องกับ

กลุ่มสาระการเรียนรอู้ ืน่ และนาเสนอด้วยการพดู /การเขียน ฟงั พูด และอ่าน/เขยี นในสถานการณ์ตา่ งๆท่ีเกิดขน้ึ ใน

หอ้ งเรยี นและสถานศกึ ษา ใช้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ)ในการสบื คน้ และรวบรวมข้อมูลตา่ งๆ

โดยการฟัง พูด อ่าน เขียน ระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคาถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก ทาท่าทาง เข้า

ร่วม เพ่อื ให้ผู้เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจและนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวัน เกิดสมรรถนะตามความต้องการของ

หลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ขึ้นในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข

สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับ

ชวี ิตประจาวันได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด

ต ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ต ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕

ต ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓

ต ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ต ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒

ต ๓.๑ ป.๕/๑

ต ๔.๑ ป.๕/๑ ๔.๒ ป.๕/๑

รวม ๘ มาตรฐาน ๒๐ ตัวชว้ี ดั

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๘

คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน

รหัสวชิ า อ ๑๖๑๐๑ รายวชิ า ภาษาอังกฤษ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ปฏิบัติตามคาส่ัง คาขอร้อง และคาแนะนา ท่ีฟังและอ่าน อ่านออกเสียง ข้อความ นิทาน และบทกลอน

ส้นั ๆ ถูกต้องตามหลักการอา่ น เลือก/ระบุประโยค หรือ ข้อความสั้นๆ ตรงตามภาพ สญั ลกั ษณ์ หรือเครอ่ื งหมาย

ท่ีอ่าน บอกใจความสาคัญ และตอบคาถามจากการฟังหรืออ่าน บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆและเรื่องเล่า พูด/

เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คาส่ัง คาขอร้อง และคาขออนุญาตและให้คาแนะนา พูด/เขียน

แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรบั และปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียน

เพื่อขอและให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเร่ืองใกล้ตัว พูด/เขียนแสดงความรู้สึกของตนเอง

เกย่ี วกับเรื่องต่างๆ ใกลต้ ัว หรือกิจกรรมต่างๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลสนั้ ๆประกอบ พูด/เขียนให้ข้อมลู เกี่ยวกับตนเอง

เพื่อน และส่ิงแวดล้อมใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมิแสดงข้อมูลต่างๆตามท่ีฟังหรืออ่าน พูดเขียนแสดง

ความคิดเห็น เก่ียวกับเร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว ใช้ถ้อยคา น้าเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพ เหมาะสมตามมารยาท

สังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความเป็นอยู่ของ

เจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความเหมือน/ความแตกต่าง

ระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน และการลาดับคา ตามโครงสร้าง ประโยค

ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ)และภาษาไทย เปรยี บเทียบความเหมือน/ความแตกตา่ งระหว่างเทศกาลงาน

ฉลอง และประเพณีของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน

จากแหล่งการเรียนรู้ และนาเสนอดว้ ยการพูด/การเขียน ใช้ภาษาส่ือสารในสถานการณ์ต่างๆที่เกดิ ขึ้นในห้องเรียน

และสถานศกึ ษา ใช้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ)ในการสืบคน้ และรวบรวมข้อมูลตา่ งๆ

โดยการฟัง พดู อ่าน เขียน ระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคาถาม พูดโตต้ อบ เข้ารว่ ม เปรียบเทียบ

คน้ คว้า ใช้ บอก เพ่ือให้ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความเข้าใจและนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เกิดสมรรถนะตามความ

ตอ้ งการของหลักสูตร มีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ ้ึนในตัวของผู้เรยี น และสามารถอย่รู ว่ มกบั ผูอ้ ื่นในสงั คมได้อยา่ ง

มีความสุข สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไป

ประยกุ ต์ใชก้ บั ชีวิตประจาวันได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั

ต ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

ต ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕

ต ๑.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓

ต ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ต ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒

ต ๓.๑ ป.๖/๑

ต ๔.๑ ป.๖/๑ ต ๔.๒ ป.๖/๑

รวม ๘ มาตรฐาน ๒๐ ตวั ช้ีวดั

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๙

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

รหสั วิชา อ ๑๑๒๐๑ รายวชิ า ภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ใช้คาสัง่ ทีใ่ ชใ้ นห้องเรียน ตวั อักษร เสียงตวั อักษร สระ การสะกดคา ใหข้ ้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ประโยคบอก
ความต้องการเก่ียวกบั ตนเอง ประโยค ให้ข้อมลู เก่ยี วกับตนเอง คาสง่ั ท่ีใช้ในหอ้ งเรียน ข้อความท่ีใช้ในการพูดให้
ขอ้ มลู เก่ียวกบั ตนเอง และเรื่องใกลต้ วั คา ท่ีมีความหมายสัมพนั ธ์กบั สิง่ ต่างๆใกลต้ วั อาหาร เครื่องด่ืม วฒั นธรรม
เจา้ ของภาษาแสดงกิริยา การขอบคุณ ขอโทษ การพูดแนะนาตนเอง การใชภ้ าษาในการฟัง พูด อา่ นใน
สถานการณ์ทเี่ กดิ ขนึ้ ในห้องเรียน

โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูลและมที ักษะทางสงั คม มวี ิถีของระบอบ
ประชาธิปไตย ซือ่ สตั ย์ ใฝเ่ รียนรู้ แสดงออกถึงความเป็นไทย

เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถสอื่ สารส่ิงทเ่ี รียนรู้ และ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ใน
ชวี ิตประจาวนั
ผลการเรียนรู้

๑. ปฏบิ ตั ิตามคาสั่ง คาขอร้องทฟ่ี ัง
๒. อ่านออกเสียงตวั อกั ษร คา กลมุ่ คา ประโยคงา่ ยๆ และ บทพูดเข้าจงั หวะง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการ

อา่ น
๓. บอกความหมายของคาและกลุม่ คาท่ีฟังตรงตามความหมาย ตอบคาถามจากการฟงั หรอื อา่ นประโยค

บทสนทนาหรือนิทานงา่ ยๆ
รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรียนรู้

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๐

คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

รหัสวชิ า อ ๑๒๒๐๑ รายวิชา ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสาร ๒ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

สนทนาเกี่ยวกบั การทักทาย การกล่าวลา การแนะนาตนเองและผูอ้ ่นื การขอบคุณ การขอโทษ
การพดู สอดแทรกอย่างสุภาพ การขออนญุ าต การถามตอบเกี่ยวกบั เดือน ถามตอบเกีย่ วกับข้อมูลบคุ คล สถานท่ี
และการขอสงิ่ ของ

เพอ่ื ให้สามารถสนทนาเกีย่ วกับการทักทาย การกล่าวลา การแนะนาตนเองและผู้อ่ืน การขอบคุณ
การขอโทษ การพูดสอดแทรกอย่างสุภาพ การขออนญุ าตเพื่อเข้าสู่สังคมและวฒั นธรรม การถามตอบเกยี่ วกับ
เดอื น ข้อมูลบุคคล สถานท่ี และการขอสิง่ ของ ตลอดจนสามารถใช้ภาษาเพอื่ การสื่อสารไดเ้ หมาะสมตามวยั และมี
เจตคติทด่ี ีต่อภาษาอังกฤษ

ผลการเรียนร้ทู ีค่ าดหวงั
๑. ปฏบิ ัติตามคาสงั่ คาขอร้องทฟ่ี ัง
๒. อา่ นออกเสยี งตวั อักษร คากลุ่มคาประโยคง่ายๆและบทพดู เข้าจังหวะง่ายๆตามหลักการอา่ น
๓. บอกความหมายของคาและกลุ่มคาท่ีฟังตรงตามความหมายตอบคาถามการฟงั ที่มี ภาพประกอบ
หรอื อา่ นประโยคบทสนทนาหรือนิทานง่ายๆ
๔. พดู โต้ตอบด้วยคาสัน้ ๆ ง่ายๆในการสื่อสารระหวา่ งบุคคลตามแบบท่ีฟังใชค้ าสงั่ และ คาขอรอ้ งง่ายๆ
บอกความต้องการและความรู้สกึ ของตนเองพูดขอและใหข้ ้อมลู เกีย่ วกบั ตนเองและเพ่ือน
๕. พดู และทาท่าประกอบตามมารยาทสังคมวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเขา้ ร่วมกิจกรรมทาง ภาษา
และวฒั นธรรมท่ีเหมาะสมกับวยั

รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวัง

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๑

คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม

รหัสวิชา อ ๑๓๒๐๑ รายวิชา ภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ปฏบิ ตั ติ ามคาสง่ั คาขอร้องฟังและอา่ นตัวอักษรเสยี งตวั อักษรสระ การสะกดคาการอา่ นออกเสียงคา
กล่มุ คาบทอา่ นบทสนทนาประโยค ให้ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ตนเอง คาประโยค บทอา่ นบทสนทนา ประโยคให้ข้อมูล
เกีย่ วกับตนเอง ขอ้ ความทใี่ ช้ในการพดู ให้ข้อมูลเก่ยี วกบั ตนเองและเรื่องใกล้ตัวคาทมี่ ี ความหมายสมั พันธ์กับสิ่ง
ต่างๆ ใกลต้ วั เวลา สถานท่ี อาหาร เครื่องด่ืม วัฒนธรรมเจา้ ของภาษา แสดงกริ ิยาการขอบคณุ ขอโทษ การพูด
แนะนาตนเอง กจิ กรรมทางภาษา การรอ้ งเพลง การใช้ภาษาในการฟัง พดู อ่าน ในสถานการณ์ท่ีเกดิ ขึ้นใน
ห้องเรียน

โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสบื คน้ ข้อมูลและมที ักษะทางสังคมมีวิถขี องระบอบ
ประชาธิปไตย ซ่อื สัตย์ ใฝ่เรียนรู้ แสดงออกถงึ ความเปน็ ไทยเพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่งิ ที่
เรียนรู้ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ในชวี ติ ประจาวนั
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั

๑ .ปฏิบตั ติ ามคาสั่งคาขอร้องทีฟ่ ังหรืออา่ น
๒. อ่านออกเสยี งตัวอักษรคากลมุ่ คาประโยคงา่ ยๆ และบทพูดเขา้ จังหวะง่ายๆตามหลกั การอ่าน
๓. บอกความหมายของคาและกล่มุ คาที่ฟังตรงตามความหมายตอบคาถามการฟังท่ีมีภาพประกอบ
๔. เลือกระบุภาพหรือสัญลักษณต์ รงตามความหมายของกลุ่มคาและประโยคที่ฟัง
๕. ตอบคาถามจากการฟังหรืออ่านประโยคบทสนทนหรอื นทิ านงา่ ยๆหรอื อา่ นประโยค บทสนทนา

หรือนิทานง่ายๆ
๖. พูดขอและให้ข้อมลู งา่ ยๆเก่ยี วกับตนเองและเพ่ือนตามแบบท่ีฟงั
๗. พูดให้ขอ้ มูลเก่ยี วกบั ตนเองและเรือ่ งใกลต้ วั
๘. พูดโต้ตอบดว้ ยคาสน้ั ๆง่ายๆในการสื่อสารระหวา่ งบคุ คลตามแบบที่ฟังใช้คาสัง่ และคาขอร้องง่ายๆ

บอกความตอ้ งการและความรสู้ กึ ของตนเอง พดู ขอและให้ข้อมลู เก่ียวกับตนเองและเพื่อน
๙. พดู และทาท่าประกอบตามมารยาทสังคมวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษาเขา้ รว่ มกิจกรรม ทางภาษา

และวฒั นธรรมทเ่ี หมาะสมกับวยั
รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๒

คาอธบิ ายรายวชิ าเพม่ิ เติม

รหัสวชิ า อ ๑๔๒๐๑ รายวชิ าภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ

ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง

เขา้ ใจคาส่งั คาขอร้อง รปู ประโยคและโครงสร้างประโยค คากลุ่มคาและประโยคการ ถ่ายโอนเป็นภาพ
สญั ลกั ษณเ์ รื่องราวบทอ่าน สนทนา เรอื่ งสัน้ เรื่องเลา่ นทิ าน บทกลอนส้นั ๆการใชถ้ ้อยคา สานวนท่ีใช้ ใน
เทศกาล ในเรื่องเสยี งสระพยัญชนะ คาวลีประโยค และข้อความทซ่ี บั ซ้อน ประโยคเดย่ี วและประโยคผสม อ่าน
ออกเสียงคากลุ่มคา ประโยค ข้อความ บทอา่ นได้ถูกต้องตามหลักการออกเสยี ง และการใชถ้ อ้ ยคา นา้ เสยี ง
การพดู เขยี น โต้ตอบในการส่ือสารระหว่างบุคคล ใช้คา ส่ัง คาขอร้องและให้คาแนะนา แสดงความตอ้ งการ แสดง
ความรสู้ ึก แสดงความชว่ ยเหลอื ตอบรบั และปฏิเสธ ในสถานการณง์ า่ ยๆ พดู เขยี นเพอ่ื ขอและให้ขอ้ มูลเกยี่ วกบั
ตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรอื่ งใกล้ตัว ซ่ึงอยู่ในท้องถ่ินของตน มีทักษะการใช้ภาษาตา่ งประเทศ (เน้นการฟัง
พูด อา่ น เขยี น)

สนุกสนานและเพลดิ เพลินจากกจิ กรรมภาษาต่างประเทศเห็นประโยชนก์ ารเรียนภาษาตา่ งประเทศ
ในการแสวงหาความรู้ความบันเทิง และสนใจเขา้ ร่วมกจิ กรรม ทางภาษาและวัฒนธรรมมีความขยนั ซ่ือสตั ย์ อดทน
เสียสละและมสี ัมมาคารวะ

ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง
๑. เขา้ ใจและปฏบิ ตั ติ ามคาสั่งคาขอรอ้ งและคาแนะนาง่ายๆ ตามที่ฟงั และอ่านได้ถูกต้อง
๒. รูจ้ กั ชนดิ ของคาศัพท์รปู ประโยคและกรลาดบั คา(order)ตามโครงสร้างประโยคสามารถนาไปใชพ้ ูด
หรือเขียนในสถานการณ์ตา่ งๆได้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ทางภาษา
๓. พดู /อา่ นออกเสยี งคาวลปี ระโยคข้อความสน้ั ๆบทสนทนาได้ถูกต้องตามหลกั การออกเสยี ง
๔. พูด/เขยี นคาวลีประโยคถาม-ตอบ แลกเปล่ยี นขอ้ มูล สือ่ สารสร้างสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคล
ในสถานการณต์ ่างๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง ตามหลักโครงสร้างไวยากรณ์ และโครงสร้างของกาลTense
๕. ฟงั /อา่ นคา วลี ขอ้ ความสน้ั ๆ บทสนทนาแล้วสามารถบอกความหมาย สรปุ ความหมาย
และตอบคาถามจากการฟังหรอื อ่านไดถ้ ูกตอ้ ง

รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๓

คาอธบิ ายรายวิชาเพมิ่ เติม

รหัสวิชา อ ๑๕๒๐๑ รายวิชาภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร ๕ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

เข้าใจคาสั่งคาขอร้องรูปประโยคและโครงสร้างประโยคคากลุ่มคาและประโยการถ่ายโอนเป็น ภาพ
สัญลักษณ์เรอื่ งราวบทอา่ นบทสนทนาเรอื่ งสนั้ เรอื่ งเลา่ นทิ าน บทกลอนสั้นๆการใช้ประโยคเด่ียวและประโยคผสม

อ่านออกเสียงคา กลุ่มคา ประโยค ข้อความ บทอ่านได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียงและการใช้
ถ้อยคา น้าเสยี งการพูด เขยี น โต้ตอบในการส่ือสารระหว่างบุคคล ใช้คาส่งั คาขอร้อง และให้คาแนะนาแสดง
ความต้องการ แสดงความรู้สึก ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในสถานการณ์ง่ายๆ พูดเขียนเพื่อขอและ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองเพื่อนครอบครัวและเร่ืองใกล้ตัวซ่ึงอยู่ในท้องถิ่นของตน มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ
(เนน้ การฟัง พูด อ่านเขยี น)

สนุกสนานและเพลิดเพลินจากกิจกรรมทางภาษาต่างประเทศเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษา
ต่างประเทศในการแสวงหาความรู้ ความบันเทิงและสนใจเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม มีความขยัน
ซ่อื สัตย์ อดทน เสียสละ และมีสมั มาคารวะ

ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง
๑. เขา้ ใจและปฏิบตั ิตามคาส่งั คาขอรอ้ งและคาแนะนาง่ายๆตามท่ีฟงั และอา่ นได้ถูกตอ้ ง
๒. รจู้ กั ชนดิ ของคาศพั ท์รปู ประโยคและการลาดับคา(order)ตามโครงสร้างประโยค สามารถ นาไปใช้

พูดหรอื เขียนในสถานการณต์ ่างๆได้ถกู ต้องตามหลกั ไวยากรณท์ างภาษา
๓. พดู /อา่ นออกเสยี งคา วลี ประโยคข้อความสน้ั ๆ บทสนทนาได้ถกู ต้องตามหลักการออกเสยี ง
๔. พดู /เขยี นคา วลี ประโยคถาม-ตอบ แลกเปล่ียนข้อมูลสอื่ สารสร้างสัมพันธ์ระหว่างบคุ คล ใน

สถานการณ์ต่างๆ ไดถ้ ูกต้องตามหลักโครงสร้างไวยากรณ์และโครงสร้างของกาล(Tense]
๕. ฟัง/อา่ นคา วลี ข้อความสั้นๆบทสนทนาแล้วสามารถบอกความหมายสรุปความหมายและ ตอบคาถาม

จากการฟังหรอื อ่านไดถ้ ูกตอ้ ง
รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๔

คาอธบิ ายรายวิชาเพ่มิ เติม

รหัสวชิ า อ ๑๖๒๐๑ รายวิชา ภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร ๖ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

เข้าใจคาสั่งคาขอร้องรูปประโยคและโครงสรา้ งประโยคคากลุม่ คาแลประโยค การถ่ายโอนเป็น ภ าพ
สัญลักษณ์เรอื่ งราว บทอา่ น บทสนทนา เรอื่ งส้นั เรอ่ื งเลา่ นทิ าน บทกลอนส้ันๆ การใช้ถ้อยคา สานวน ที่ใช้ใน
เทศกาล ในเรอื่ งเสยี ง สระพยัญชนะ คา วลี ประโยค และ ขอ้ ความที่ซบั ซ้อนประโยคเดย่ี วและประโยคผสม

อ่านออกเสียงคา กลุ่มคา ประโยค ข้อความ บทอ่านได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง และการใช้
ถ้อยคาน้าเสียงการพูดเขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คาส่ัง คาขอร้องและให้คาแนะนา แสดงความ
ตอ้ งการ แสดงความร้สู ึกขอความชว่ ยเหลือ ตอบรบั และปฏเิ สธในสถานการณ์ง่ายๆพูด เขยี น เพอ่ื ขอ และ
ให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเร่ืองใกล้ตัว ซึ่งอยู่ในท้องถิ่นของตน มีทักษะ การใช้
ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง พูด อ่าน เขียน)

สนุกสนานและเพลิดเพลินจากกิจกรรมทางภาษาต่างประเทศ เห็นประโยชน์ของการเรียนรู้
ภาษาตา่ งประเทศ ในการแสวงหาความรู้ ความบันเทงิ และสนใจเขา้ ร่วมกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม
มีความ ขยัน ซื่อสตั ย์ อดทน เสยี สละ และมสี มั มาคารวะ

ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวงั
๑. ฟัง พูด อา่ น เขยี น และ บอกความหมายของคาประโยค ข้อความบทสนทนา
๒. อธิบายประเภทของคาและนาไปใชใ้ นประโยคต่างๆ
๓. เขา้ ใจโครงสร้างประโยคตามหลักไวยากรณ์ (Tense)
๔. เขยี นประโยคคาส่งั คาขอรอ้ ง การขออนญุ าต ประโยคบอกเล่า ประโยคคาถาม ประโยคปฏเิ สธ

ตามโครงสรา้ งประโยค
๕. อ่านตอบคาถามจากเร่อื ง

รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๕

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๖

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น

โรงเรียนบา้ นม่วงดง จัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนโดยมงุ่ ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์ตรง ได้ฝึก
ปฏิบัติจริงและค้นพบความถนัดของตนเอง สามารถค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมตามความสนใจจากแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย บาเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม มีทักษะในการดาเนินงาน ส่งเสริมให้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ สังคม
ศีลธรรม จรยิ ธรรม ให้ผเู้ รยี นรู้จักและเข้าใจตนเอง สามารถวางแผนชีวิตและอาชพี ได้อยา่ งเหมาะสม

กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี นโรงเรียนบ้านม่วงดง

๑. กิจกรรมแนะแนว โรงเรียนบ้านม่วงดง ได้จัดกิจกรรมแนะแนวเพ่ือช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียน ใน
ระดับชั้นประถมศกึ ษา ดงั นี้

๑. จัดกิจกรรมเพื่อให้ครูได้รู้จักและช่วยเหลือผู้เรียนมากข้ึน โดยใช้กระบวนการทางจิตวิทยา
การจัดบริการสนเทศ โดยจัดใหม้ เี อกสารเพื่อใช้สารวจข้อมลู เก่ียวกบั ตัวผู้เรียน ด้วยการสงั เกต การสัมภาษณ์ การ
ใช้แบบสอบถาม การเขียนประวัติ การพบผู้ปกครองก่อนและระหว่างเรียน การเย่ียมบ้านนักเรียน การให้ความ
ช่วยเหลือผู้เรียนในเร่ืองสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การจัดทาระเบียนสะสม สมุดรายงานประจาตัวนักเรียน และบัตร
สุขภาพ

๒. จัดกิจกรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ โดยทาแบบทดสอบเพ่ือรูจ้ กั และเขา้ ใจ
ตนเอง มีทักษะในการตัดสินใจ การปรบั ตัว และการวางแผนเพอ่ื เลือกศกึ ษาตอ่ เลือกอาชีพ

๓. จัดบรกิ ารให้คาปรกึ ษาแก่ผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล และรายกลุ่ม ในด้านการศกึ ษา
อาชพี และสว่ นตัว โดยมผี ูใ้ ห้คาปรกึ ษาท่ีมีคณุ วุฒิ และมีความเช่ยี วชาญในเรือ่ งการให้คาปรกึ ษา ตลอดจนมีห้อง
ให้คาปรกึ ษาที่เหมาะสม

๓.๑ ชว่ ยเหลือผเู้ รียนที่ประสบปญั หาดา้ นการเงิน โดยการให้ทุนการศกึ ษาแกผ่ เู้ รียน
๓.๒ ตดิ ตามเก็บข้อมลู ของนักเรยี นทสี่ าเรจ็ การศึกษา

๒. กิจกรรมนกั เรียน เปน็ กิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวนิ ัย ความเป็นผูน้ าผูต้ ามท่ีดี
มีความรับผิดชอบการทางานรว่ มกนั การรู้จักแกป้ ญั หา การตดั สินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชว่ ยเหลือ
แบง่ ปันกัน เอ้ืออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความถนดั และความสนใจ
ของผเู้ รียน ให้ได้ปฏบิ ัติดว้ ยตนเองในทุกข้นั ตอน ได้แก่ การศึกษาวเิ คราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและ
ปรบั ปรงุ การทางาน เนน้ การทางานรว่ มกนั เป็นกล่มุ ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒภิ าวะ
ของผเู้ รียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถนิ่ กิจกรรมนักเรยี นประกอบดว้ ย

๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี นกั เรยี นทุกคนตอ้ งเข้าร่วมกจิ กรรมลกู เสอื /เนตรนารี ๔๐ ชว่ั โมงตอ่
ปีการศกึ ษา (ระดับประถมศึกษา) ๒๐ ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรยี น (ระดับมัธยมศึกษา)

การจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี มแี นวทางการจดั กิจกรรมตามวธิ ีการลูกเสือ (Scout
Method) ซึ่งมีองคป์ ระกอบ ๗ ประการ คอื

๑. คาปฏญิ าณและกฎ ถือเป็นหลกั เกณฑ์ทลี่ ูกเสือทุกคนใหค้ าม่นั สัญญาว่าจะปฏิบัติตามกฎของ
ลูกเสือ กฎของลูกเสอื มีไว้ให้ลกู เสือเป็นหลกั ในการปฏิบัติไม่ได้ “หา้ ม” ทาหรือ “บงั คบให้” ทาแต่ถ้า “ท” ก็จะ
ทาใหเ้ กดิ ผลดแี กต่ ัวตวั เอง เป็นคนดี ไดร้ ับการยกย่องวา่ เปน็ ผ้มู ีเกียรติเชือ่ ถือได้

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๗

๒. เรียนรูจ้ ากการกระทา เปน็ การพฒั นาสว่ นบุคคลความสาเร็จหรอื ไม่สาเร็จของผลงานอยทู่ ี่
การกระทาของตนเอง ทาให้มีความร้ทู ช่ี ัดเจนและสามารถแก้ปัญหาตา่ งๆ ได้ตวั เองและท้าทายความสามารถของ
ตนเอง

๓. ระบบหมู่ เป็นรากฐานอันแท้จริงของการลูกเสือเป็นพืน้ ฐานในการอยรู่ ่วมกันการยอมรับซง่ึ
กันและกัน การแบ่งหน้าทร่ี ับผดิ ชอบการช่วยเหลือซงึ่ กนั และกนั ซึ่งเปน็ การเรียนรกู้ ารใช้ประชาธิปไตยเบื้องต้น

๔. การใช้สัญลักษณ์ร่วมกนั ฝึกใหม้ คี วามเปน็ หน่งึ เดยี วในการเป็นสมาชกิ ลูกเสอื เนตรนารีดว้ ย
การใช้สญั ลักษณ์ร่วมกัน ไดแ้ ก่ เคร่ืองแบบ เครอ่ื งหมาย การทาความเคารพ รหสั คาปฏิญาณ กฎ คตพิ จน์
คาขวญั ธง เปน็ ตน้ วธิ กี ารนจ้ี ะช่วยให้ผ้เู รียนตระหนกั และภาคภมู ิใจในการเป็นสมาชกิ ขององค์การลูกเสือแห่ง
โลก ซง่ึ มสี มาชกิ ทว่ั โลก และเปน็ องคก์ รท่ีมีจานวนสมาชิกมากที่สุดในโลก

๕. การศกึ ษาธรรมชาติ คอื ส่งิ สาคัญอันดับ ๑ ในกิจกรรมของลูกเสือธรรมชาติอันโปรง่ ใส
ตามชนบท ป่าเขา ป่าละเมาะ และพุ่มไม้ เป็นทีป่ รารถนาอย่างย่ิงมีการในการไปทากิจกรรมกบั ธรรมชาตกิ าร
ปีนเขาตงั้ ค่ายพักแรมในทสี่ ุดสัปดาห์ หรอื ตามวาระของการอยู่ค่ายพักแรมตามกฎระเบยี บเปน็ ท่เี สน่หาแก่เดก็ ทกุ
คนถา้ ขาดส่ิงนี้แล้วกไ็ ม่เรยี กว่าใชช้ ีวติ แบบลกู เสือ

๖. ความกา้ วหน้าในการเขา้ รว่ มกิจกรรม กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่จี ดั ให้เดก็ ทาต้องมีความก้าวหนา้
และดึงดดู ใจ สร้างใหเ้ กดิ ความกระตอื รือรน้ อยากทจี่ ะทาและวัตถุประสงคใ์ นการจัดแตล่ ะอยา่ งให้สัมพันธ์กบั
ความหลากหลายในการพัฒนาตนเองเกมการเลน่ ทส่ี นกุ สนาน การแข่งขนั กันก็เปน็ สิ่งดงึ ดดู ใจและเปน็ การจูงใจ

๗. การสนับสนนุ โดยผใู้ หญ่ ผใู้ หญเ่ ป็นผทู้ ีช่ ีแ้ นะหนทางท่ถี ูกต้องใหแ้ กเ่ ด็กเพื่อให้เกดิ ความ
มั่นใจในการทจ่ี ะตัดสินใจกระทาส่งิ ใดลงไปทัง้ คู่มีความต้องการซงึ่ กนั และกนั เดก็ ก็ตอ้ งการใหผ้ ูใ้ หญ่นาพาไปสู่
หนทางท่ีดี ใหไ้ ดร้ บั การพัฒนาอย่างถูกต้องและดที สี่ ดุ จงึ เป็นการรว่ มมือกนั ท้ังสองฝ่าย

๒.๒ กิจกรรมชุมนมุ นกั เรียนทกุ คนต้องเข้าร่วมกจิ กรรมชุมนุม ๓๐ ช่วั โมงต่อปีการศึกษา (ระดบั
ประถมศกึ ษา) ๒๕ ชั่วโมงตอ่ ภาคเรยี น (ระดบั มธั ยมศึกษา)

แนวทางการจัดกิจกรรมชุมนุม
โรงเรียนบ้านมว่ งดง จดั กิจกรรมชุมนุมตามความเหมาะสมกับบริบทและสภาพของโรงเรียนดังน้ี
๑. จัดกิจกรรมชุมนมุ ใหผ้ ู้เรยี นเข้ารว่ มกจิ กรรมตามความรู้ความถนดั และความสนใจของผู้เรยี น
เปน็ กจิ กรรมระยะเวลา ๑ ปกี ารศึกษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถึง มธั ยมศึกษาปท่ี ่ี ๓ ได้แก่

๑.๑ ชุมนมุ กฬี าและนนั ทนาการ
๑.๒ ชุมนมุ ห้องสมดุ และรกั การอา่ น
๑.๓ ชุมนุมส่งเสริมงานอาชีพนวดฝา่ เท้า
๑.๔ ชมุ นมุ ดนตรีนาฏศลิ ป์

วตั ถุประสงค์
๑. เพื่อใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามความสนใจ ความถนดั และความต้องการของตน
๒. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิด

ประสบการณ์ทัง้ ทางวิชาการและวชิ าชีพตามศักยภาพ

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๘

๓. เพอ่ื สง่ เสริมให้ผเู้ รียนใช้เวลาใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อตนเองและสว่ นรวม
๔. เพ่ือให้ผูเ้ รยี นทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื ไดต้ ามวิถีประชาธปิ ไตย

๓. กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กจิ กรรมท่สี ่งเสริมให้ผู้เรยี นบาเพ็ญตนให้เป็น

ประโยชน์ตอ่ สงั คม ชมุ ชน และท้องถ่ินตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร เพอ่ื แสดงถงึ ความรบั ผดิ ชอบ ความดี

งาม ความเสียสละต่อสงั คม มีจติ สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาตา่ ง ๆ กิจกรรมสร้างสรรคส์ งั คม

โรงเรียนบ้านมว่ งดง จดั กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธรณประโยชน์ โดยนักเรยี นทุกคนตอ้ งเข้า

รว่ มกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชั่วโมงต่อปกี ารศกึ ษา

แนวการจดั กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
การจัดกจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรยี นได้ทาประโยชน์

ตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม

ความเสยี สละตอ่ สังคม มีจติ ใจมุง่ ทาประโยชนต์ ่อครอบครวั ชุมชนและสังคมกิจกรรมสาคัญ ไดแ้ ก่ กจิ กรรมบาเพ็ญ

ประโยชน์ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม กิจกรรมดารงรักษา สืบสาน ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กิจกรรมพัฒนา

นวตั กรรมและเทคโนโลยี

๑. จดั กจิ กรรมในลกั ษณะบูรณาการใน ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมลักษณะโครงการ
กิจกรรมร่วมกับองค์กรอ่ืน เป็นกิจกรรมลักษณะเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ โดยให้ผู้เรียนสามารถเลอื กเขา้
รว่ มกจิ กรรมตามความสนใจ ตามความถนดั ของผู้เรยี น

๑. กจิ กรรมอนรุ กั ษส์ ิง่ แวดล้อม
๒. กจิ กรรมทาความสะอาดห้องน้าในโรงเรยี นและท่ีสาธรณ
๓. กิจกรรมจิตสาธารณะ
๔. กจิ กรรมเลี้ยงปลาเพ่ืออาหารกลางวัน
๕. กิจกรรมโรงเรียนสะอาดสวยดว้ ยมอื เรา
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพื่อให้ผเู้ รยี นบาเพ็ญตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อครอบครัว โรงเรียน ชมุ ชน และประเทศชาติ
๒. เพ่ือให้ผเู้ รียนออกแบบกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารประโยชน์อยา่ งสรา้ งสรรค์ตามความถนัดและ
ความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร
๓. เพ่ือให้ผู้เรียนพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
๔. เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์จนเกิดคุณธรรม จริยธรรมตาม
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

๕. เพื่อใหผ้ ้เู รียนมีจิตสาธารณะและใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์
แนวทางการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน

โรงเรียนบ้านมว่ งดง กาหนดแนวทางในการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นดงั นี้

๑. การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนรายกจิ กรรม มีแนวทางปฏบิ ตั ิดงั นี้

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๙

๑.๑ การตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนตลอด
ปกี ารศกึ ษา

๑.๒ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิ้นงานของผู้เรียน ผู้เรียน
ตอ้ งได้รับการประเมินทกุ ผลการเรียนรู้ และผ่านทุกผลการเรียนรู้ โดยแต่ละผลการเรียนรู้ผ่านไมน่ ้อยกล่าร้อยละ
๕๐ หรือมีคณุ ภาพในระดับ ๑ ข้ึนไป

๑.๓ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ช้ินงานของผู้เรียนตามเกณฑ์
ข้อ ๑.๑ และข้อ ๑.๒ ถือว่าผู้เรียนมีผลการเรียน “ผ” ผ่านการประเมินกิจกรรมและนาผลการประเมินไป
บนั ทึกในระเบยี นแสดงผลการเรยี น

๑.๔ ผ้เู รียนมเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน การปฏิบัติกจิ กรรมและผลงานไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์
ขอ้ ๑.๑ และขอ้ ๑.๒ ถือว่าผู้เรียนมผี ลการเรยี น “มผ” โรงเรียนต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรยี นทากิจกรรมในสว่ น
ทผี่ ู้เรยี นไมไ่ ด้เข้ารว่ มหรือไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงเปล่ียนผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” และนาผลการ
ประเมนิ ไปบันทกึ ในระเบยี นแสดงผลการเรียน

๒. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นเพ่อื การตดั สิน มแี นวปฏิบตั ดิ ังนี้
๒.๑ กาหนดให้ผู้รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียน

ทกุ คนตลอดระดับการศกึ ษา
๒.๒ ผู้รับผดิ ชอบสรุปและตัดสินการรว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนของผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคลตามเกณฑ์ที่

โรงเรยี นกาหนด ผเู้ รียนจะต้องผา่ นกจิ กรรม ๓ กิจกรรมสาคัญดังนี้
๒.๒.๑ กิจกรรมแนะแนว
๒.๒.๒ กจิ กรรมนักเรียน ไดแ้ ก่
๑. กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี
๒. กิจกรรมชมุ นมุ
๒.๒.๓ กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์

๒.๓ การนาเสนอผลการประเมนิ ต่อคณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรแู้ ละกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
๒.๔ เสนอผู้บริหารโรงเรียนพิจารณาอนุมัติผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์การจบ
แตล่ ะระดบั การศกึ ษา

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๐

การจดั การเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสาคัญหในลักกาสรูตนราโหรงลเักรสียตู นรบส้าู่กนารปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการมเ่รวียงนดรงู้ สพมุทรธรถศนักะรสาาชคัญ๒แ๕ละ๖ค๑ุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็น
เป้าหมายสาหรบั พัฒนาเดก็ และเยาวชน ต า ม ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง

ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมกบาัติตราศมึ เกป้าษหามาขย้ั นหลพัก้ื สนูตฐร าผนู้สอนพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่าพนุทสธาศรักะทรา่ีกชาหน๒ด๕ไว๕้ใ๑นหกลาักหสนูตดร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมท้ังปลูกฝัง
เสรมิ สร้างคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ พฒั เกนณาทฑัก์สษาะหตรา่ ับงๆกาอรนั จเบปก็นาสรมศรึกรษถนาะสาคัญให้ผู้เรียนบรรลตุ ามเปา้ หมาย

๑. หลักการจัดการเรยี นรู้ ดังนี้

การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน๑ม.ีควเากมณรู้ฑคว์กาามรสจาบมราะรดถับตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีกาหนปดไรวะ้ใถนมหศลกึ ักษสาูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมี
ความสาคัญท่ีสุด เช่ือว่าทุกคนมีความสามารถเรียนร(ู้แ๑ล)ะพผัฒู้ เรนี ยาตนนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน
กระบวนการจัดการเรยี นรู้ต้องส่งเสริมใหเ้ผรเู้ียรียนนราสยามวาิชรถาพัฒื้ นนฐาาตนามแธรลระมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ คานงึ ถงึ ความ
แตกต่างระหว่างบคุ คลและพฒั นาการทารงสายมวอิชงเาน/น้กใิจหก้ครวรามมเสพา่ิมคเัญตทิม้ังตคาวมามรู้ และคุณธรรม

๒. กระบวนการเรียนรู้ โครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตร
การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนโเรปง็นเรสยี านคกัญาหผนู้เดรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เป็น
เคร่ืองมือท่ีจะนาพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูต(๒ร)กผรู้เระยี บนวตน้อกงมาีรเรียนรู้ท่ีจาเป็นสาหรับผู้เรียน อาทิ
กระบวนการเรยี นรู้แบบบูรณาการ กระบผวลนกกาารรปสรระ้าเงมคินวราามยรวู้ ิชการพะบื้นวฐนานการคดิ กระบวนการทางสังคม กระบวนการ
เผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบผว่านนกเกาณรเฑรีย์กนารปู้จราะกเปมรนิ ะตสาบมทก่ีารณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง
กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กรโะรงบเวรนียนกากราเหรนยี นดร้กู ารเรยี นรู้ของตนเอง กระบวนการพฒั นาลกั ษณะนสิ ัย
กระบวนการเหล่าน้ีเป็นแนวทางในการจัดการเ(๓รีย) นผ้เูรรู้ทยี ่ีผนู้เมรี ยนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะ
สามารถชว่ ยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดผี ลบกรารรลปุเประ้าเหมมินากยาขรอองา่ หนลคักิดสูตร ดังนั้น ผู้สอน จึงจาเปน็ ต้องศึกษาทาความ
เขา้ ใจในกระบวนการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เพื่อใหวส้เิ คารมาาะรหถ์เแลลือะกเใขชยี ใ้ นกในาระจดั บักระบวนการเรยี นรไู้ ด้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
๓. การออกแบบการจดั การเรียผนา่ นรเู้ กณฑ์การประเมินตามที่
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานโรศงึกเรษียานใกหา้เหข้านใดจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนร(๔ู้ท่ีเ)หผมู้เาระียสนมกมับี ผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการ
จัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทผคลนกิคากราปรสระอเนมินสค่ือุณ/แลหักลษ่งณเระียอนันรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้
พัฒนาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลุตามเปพ้าหึงปมรายะทสงี่กคา์หในนรดะดับผ่านเกณฑ์
๔. บทบาทของผู้สอนและผเู้ รียกนารประเมินตามที่สถานศึกษา
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนกมาีคหุณนภดาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียนควรมีบทบาท
ดังน้ี (๕) ผู้เรยี นเข้า

๔.๑ บทบาทของผสู้ อน รว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมี
๑) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรผียลนกเปา็นรปรารยะบเมุคินคลผ่านแลเกว้ ณนาฑข์ก้อามรูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ที่

ท้าทายความสามารถของผเู้ รียน ประเมินตามทีโ่ รงเรียนกาหนด

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๒๕๖.๒ เตกามหณลกั สฑูตร์ แกกนากลรางจการบศึกรษาะข้นั ดพ้ืนั บฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
มัธยมศกึ ษาตอนต้น

๑๒๑

๒) กาหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่เป็น
ความคิดรวบยอด หลกั การ และความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ
พัฒนาการทางสมอง เพ่อื นาผู้เรยี นไปสูเ่ ปา้ หมาย

๔) จดั บรรยากาศทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้ และดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
๕) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่
เหมาะสมมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรียนการสอน
๖) ประเมนิ ความกา้ วหน้าของผูเ้ รยี นดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติของวิชา
และระดับพฒั นาการของผเู้ รยี น
๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังปรับปรุงการจัดการ
เรยี นการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบาทของผ้เู รยี น
๑) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรบั ผิดชอบการเรยี นรขู้ องตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ต้ังคาถาม คิดหา
คาตอบหรือหาแนวทางแก้ปญั หาดว้ ยวธิ ีการต่างๆ
๓) ลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ สรุปสิง่ ทไ่ี ดเ้ รียนรูด้ ้วยตนเอง และนาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นสถานการณต์ า่ งๆ
๔) มปี ฏิสัมพนั ธ์ ทางาน ทากิจกรรมรว่ มกบั กลมุ่ และครู
๕) ประเมินและพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ของตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง

สอื่ การเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้
ทักษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สอื่ การเรียนรู้มหี ลากหลาย
ประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ ส่ือส่ิงพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่าย การเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถ่ิน การเลือกใช้สื่อ
ควรเลือกให้มคี วามเหมาะสมกับระดบั พัฒนาการ และลลี าการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายของผเู้ รยี น

การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมี
คุณภาพจากสื่อต่างๆ ท่ีมีอยู่รอบตัวเพื่อนามาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
สถานศกึ ษา เขตพื้นท่ีการศกึ ษา หน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ งและผู้มีหน้าทีจ่ ดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ควรดาเนนิ การดังน้ี

๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย
การเรยี นร้ทู ่ีมีประสิทธภิ าพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่อื การศกึ ษาค้นควา้ และการแลกเปล่ียนประสบการณ์
การเรยี นรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชมุ ชน สังคมโลก

๒. จัดทาและจัดหาสื่อการเรียนรู้สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมท้ังจัดหา
สง่ิ ทีม่ อี ยู่ในท้องถน่ิ มาประยกุ ต์ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๒

๓. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวิธีการ
เรยี นรู้ ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของผู้เรยี น

๔. ประเมนิ คณุ ภาพของสื่อการเรยี นรูท้ ี่เลอื กใชอ้ ยา่ งเป็นระบบ
๕. ศกึ ษาคน้ ควา้ วิจัย เพ่อื พัฒนาสือ่ การเรียนรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกบั กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น
๖. จัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณ ภาพและประสิทธิภาพเก่ียวกับส่ือและการใช้สื่อ
การเรียนรู้เป็นระยะๆ และสมา่ เสมอ
ในการจดั ทา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพส่ือการเรียนร้ทู ่ีใช้ในสถานศึกษา ควรคานงึ ถงึ หลักการ
สาคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความม่ันคงของชาติ ไม่ขัดต่อ
ศลี ธรรม มีการใช้ภาษาท่ถี กู ต้อง รปู แบบการนาเสนอที่เข้าใจง่าย และนา่ สนใจ

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๓

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรหยี ลนักตส้อูตงรอโยรู่บงเนรหียลนักบก้าานรมพ่วื้นงฐดางนสองประการ คือ การประเมินเพ่ือ

พัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียพนุทใธนศกัการาพชัฒน๒า๕ค๖ุณ๑ภาตพากมาหรเลรักียสนูตรู้ขรองผู้เรียน ให้ประสบผลสาเร็จนั้น

ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเแมกินนตากมลตาัวงชกี้วัดาเรพศ่ือึ กใหษ้บารขรั้ลนุตพา้ื นมมฐาตนรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ

สาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ขพอุงทผธู้เศรียักนรซาึ่งชเป๒็นเ๕ป๕้าห๑มกายาหลนักดใเนกกณารฑว์ ัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุก

ระดับไม่ว่าจะเป็นระดับช้ันเรียน ระดสับาสหถรบัานกาศรึกจษบาการระศดกึ ับษเาขดตังพน้ืนี้ ท่ีการศึกษา และระดับชาติ การวัดและ

ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการ๑พ.ัฒนเกาณคุณฑภ์กาารพจผบู้เรรียะนดับโดปยรใะชถ้ผมลศกึกาษรปาระเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศท่ี
แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการ(เร๑ีย)นขผอู้งเรผีู้เยรนยี นเรี ยตลนอดจนข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการ
ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นเกดิ การพัฒนาและเรยี รนารยอู้ วยิชา่ างพเตื้นม็ ฐตาานมศแกัลยะภราายพวชิ า/กจิ กรรม

การวัดและประเมินผลการเรียนเพรู้ิ่มแเบต่งิมอตอากมเปโ็นคร๔งสรระ้าดงับเวไลด้แาเกร่ ียระนดทับี่ ช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับ
เขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา และระดับชาติ มีรายหลละักเสอูตียรดโรดงงั เนรียี้ นกาหนด

๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดแล(ะ๒ป) รผะเู้ รเมยี ินนผตลอ้ ทงม่ีอีผยลู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน
ดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในกากราจรัดปกราะรเเมรินียรนากยาวรชิ สาอพนืน้ ฐใาชน้เทผค่านนิคเกกณารฑป์ ระเมินอย่างหลากหลาย เช่น การ
ซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน กการาปรปรระะเมเมินนิ โคตรางมงทา่ีโนรงกเรายีรปนรกะาเหมนินดชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การ
ใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเป(ิด๓โ)อผก้เู ารสียนใหม้ผีผู้เลรกียานรประเมินตนเอง เพ่ือนประเมินเพ่ือน
ผปู้ กครองร่วมประเมิน ในกรณีท่ีไม่ผ่านตปัวรชะีว้ เัดมในิ หก้มาีกราอรา่ สนอนคิดซวอ่ เิมคเรสาระิมห์ และ

การประเมินระดับช้ันเรียนเเขปยี็นนกใานรรตะรดวบั จผสา่อนบเวก่าณผฑู้เ์กราียรนปมรีพะัฒเมนนิ าการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อัน
เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนตากมาทรสโ่ี รองนเรหยี รนือกไามห่ นแดละมากน้อยเพียงใด มีสิ่งท่ีจะต้องได้รับการพัฒนา
ปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให(้ผ๔สู้ )อผนู้เใรชีย้ปนรบัมปีผรลุงกกาารรเรยี นการสอนของตนด้วย ท้ังน้ีโดย
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวปชรีว้ ะดั เมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน

๒. การประเมินระดับสถานศึกรษะาดับเปผ่็นานกาเกรปณรฑะเ์กมานิ รทป่ีสรถะาเนมศินึกตษาามดทาเ่ี นินการเพ่ือตัดสินผล การเรยี นของ
ผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประสเถมาินนกศากึ รษอา่ากนาหคนิดดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพ่ือให้ได้ข้อมูลเก่ียวก(๕ับ)กผารู้เรจียัดนกาเขร้ศารึก่วษมา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ กผิจู้เรกียรนรมมีจพุดัฒพัฒนานผาู้เใรนียดน้านแใลดะรมวีผมลทกั้งาสรามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนใน
สถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับปชราะตเมิ ผินลผก่าานรเปกรณะฑเม์กินารระปดรับะสเมถินาตนาศมึกทษ่ี าจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือ
การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงกโารรงเหรรียือนวกิธาีกหานรดจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการจัดทาแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัด

การศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษ๒า.สเากนณักฑงา์กนาเขรจตบพื้รนะทด่ีกับารมศัธึกยษมาศึกสษาานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน ผู้ปกครองและชมุ ชน
ตอนตน้
๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป(็น๑ก)ารปผรู้ เะรเมี ยินนคุณเรภี ยานพผู้เรียนในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรรแากยนวกิชลาางพก้ืนาฐรศาึนกษแาลขะ้ันเพพื้่ินมฐเตานิม เพ๘ื่อ๑ใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษหนา ่วตยากมิตภโาดรยะเคปว็นารมารยับวผิชิดาชพอื้นบฐาสนาม๖า๖รถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสมั ฤทธิ์ของผ้เู รยี นด้วยขอ้ สอบมาตรฐาหนนท่วีจ่ ยัดกทิตาแแลละะดราาเนยวินิชกาารเพโด่ิมยเเตขิมตพ๑้นื ท๕่กี ารศกึ ษา หรือด้วยความรว่ มมอื กับ

หนว่ ยกิตหลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

(๒ ) ผู้ เรีย น ต้ อ งได้

๑๒๔

หน่วยงานต้นสังกัด ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากน้ียังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมิน
ระดบั สถานศึกษาในเขตพน้ื ที่การศึกษา

๔. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนท่ีเรียน ในชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ ช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาใน
ระดับต่าง ๆ เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการ
ตดั สินใจในระดับนโยบายของประเทศ

ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข
ส่งเสริมสนับสนุนเพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จาแนกตาม
สภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนท่ัวไป กลุ่มผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มี
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตา่ กลมุ่ ผู้เรียนท่ีมีปัญหาดา้ นวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนท่ีปฏเิ สธโรงเรียน กลุ่มผู้เรยี น
ท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็น
หัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและ
ประสบความสาเรจ็ ในการเรียน

สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีเป็นข้อกาหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน เพื่อใหบ้ คุ ลากรท่เี ก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ยถือปฏบิ ตั ริ ว่ มกัน

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๕

เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการเรียน

ห ลั ก สู ต ร โรงเรีย น บ้ าน ม่ ว งด ง

๑. การตัดสนิ การใหร้ ะดบั พแุทลธะศกัการรารชายง๒า๕น๖ผ๑ลกตาารมเรหยี ลนักรสะูตดรบั แปกรนะกถลมาศงกึ ษา
๑.๑ การตดั สนิ ผลกากราเรรศียึนกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ในการตัดสินผลการเรกยี านหขนอดงเกกลณุ่มฑส์สาารหะกรบัารกเารรยี จนบรกู้ กาารรศอกึ า่ษนา คดดิ งั วนิเ้ีคราะหแ์ ละเขยี น คุณลกั ษณะ

อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผูเ้ ร๑ยี น. น้นัเกณผสู้ ฑอก์นาตรอ้ จงบคราะนดึงบัถงึปกราะรถพมฒั ศนึกาษผา้เู รยี นแตล่ ะคนเปน็ หลกั และต้องเกบ็

ขอ้ มูลของผ้เู รียนทุกด้านอยา่ งสม่าเสมอและต่อเน่ืองในแต(่ล๑ะ)ภาผคู้เรยี นนรเรวียมทนั้งรสาอยนวซิช่อามเสริมผู้เรยี นใหพ้ ัฒนาจนเตม็

ตามศักยภาพ พื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติมตาม

ระดบั ประถมศึกษา โครงสร้างเวลาเรียนท่ีหลักสูตรโรงเรียน

(๑) ผู้เรยี นต้องมเี วลากเราียหนไดม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทงั้ หมด

(๒) ผเู้ รยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ ทุกตัว(ช๒้ีว)ัดผู้เแรลียะนผต่า้อนงตมาผี มลเกาณรฑท์ ่สี ถานศกึ ษากาหนด

(๓) ผู้เรียนต้องได้รับกปารระตเมัดินสินราผยลวกชิ าารพเรนื้ ียฐนาทนุกผรา่ นยเวกิชณาฑ์การ

(๔) ผู้เรยี นต้องไดร้ ับกปารระปเมระินเตมานิ มทแล่โี ระงมเรผี ียลนกกาารหปนระดเมินผา่ นตามเกณฑท์ ่สี ถานศึกษากาหนด ใน

การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประส(ง๓ค)์ ผแ้เูลระยี กนจิ มกผี รลรกมาพรัฒปนระาเผมู้เินรียน

การพิจารณาเล่ือนช้ันทั้งกราะรดอับ่าปนรคะิดถวมิเศคึกราษะาหถ์ แ้าลผะู้เรเขียียนนมใีขน้อรบะกดพบั ผร่อานงเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษา

พิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอเกนณซ่อฑม์กเาสรรปิมรไะดเ้มใินหต้อายมู่ในทดี่โรุลงพเรินียิจนขกอางหสนถดานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้

แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจานวนมาก และมีแน(ว๔โ)นผ้มู้เวร่าียจนะมเีผปล็นกปาัรญปหราะตเม่อินการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น

สถานศกึ ษาอาจต้ังคณะกรรมการพิจารคณุณาลใักหษ้เรณียะนอซันา้ พชั้นึงปไดร้ะทส้ังงนค้ีใ์ หน้คราะนดึงับถผึงา่ วนุฒเกิภณาวฑะ์ และความรู้ความสามารถของ

ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ การประเมินตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด

๑.๒ การใหร้ ะดบั ผลการเรียน (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม

ระดบั ประถมศึกษา พัฒนาผู้เรยี นและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์

ในการตัดสินเพ่ือให้ระดกับาผรลปกราะรเมเรินียตนารมาทย่ีโวริชงาเรียสนถากนาหศนึกษดาสามารถให้ระดับผลการเรียนหรือระดับ

คุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ และระบบที่ใช้คาสาคัญสะท้อน

มาตรฐาน ๒. เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ(เ๑ขีย) นผแู้เลรีะยคนุณเรลียักษนณราะยอันวิชพึงาประสงค์นั้น ให้ระดับผล การ

ประเมนิ เปน็ ดเี ย่ียม ดี ผ่าน และไมผ่ พา่ นื้ ฐานและเพ่ิมเติม ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็น

การประเมนิ กจิ กรรมพัฒรานยาวผิชู้เราียพนื้นจฐะาตน้อ๖งพ๖ิจาหรนณ่วายทก้ังิตเวแลลากะารราเยขว้าิชร่วามกิจกรรม การปฏิบตั ิกิจกรรม

และผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถาเพนม่ิศเึกตษิมาก๑าห๕นดหนแว่ ลยะกใติหผ้ ลการเข้ารว่ มกจิ กรรมเป็นผา่ น และไม่ผา่ น

๑.๓ การรายงานผลการเรยี น (๒) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตต

การรายงานผลการเรียนเลปอ็นดกหารลสักอ่ื สสูตารใไหม้ผ่นู้ป้อกยคกรวอ่างแล๗ะ๗ผู้เรยีหนนท่วรยากบิตความกา้ วหน้าในการเรียนรขู้ อง

ผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการปโดรยะเปม็นิ รแาลยะวจิชัดาทพา้ืนเอฐกานสาร๖ร๓ายหงานน่วใยหก้ผิตู้ปกแคลระองทราบเป็นระยะๆ หรืออย่าง

นอ้ ยภาคเรียนละ ๑ คร้ัง รายวิชาเพ่มิ เติมไม่น้อยกว่า ๑๔ หน่วยกติ

การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเ(ป๓น็ ) ระผดู้เรับียคนุณมภีผาลพกกาารรปปรฏะิบเมัตินของผูเ้ รียนทสี่ ะทอ้ นมาตรฐาน

การเรยี นรกู้ ลุม่ สาระการเรยี นรู้ การอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน ในระดับผา่ น

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดงเก๒ณ๕๖ฑ๒์กตาารมหปลรกั สะูตเรมแินกนตกลาามงกทาร่สี ศกึถษาาขน้นั ศพ้ืนึกฐษานาพกุทาธหศกั นราดช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมิน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่าน

๑๒๖

๒ . เกณฑ์การจบการศกึ ษา
หลกั สตู รโรงเรียนบ้านม่วงดง กาหนดเกณฑ์สาหรบั การจบการศึกษาเป็น ๒ ระดับคือ ระดับ

ประถมศกึ ษา และระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
เกณฑ์การจบระดบั ประถมศกึ ษา
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ี

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานกาหนด
(๒) ผูเ้ รยี นตอ้ งมผี ลการประเมนิ รายวิชาพน้ื ฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
(๓) ผู้เรียนมผี ลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามที่สถานศึกษากาหนด
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่

สถานศึกษากาหนด
(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี

สถานศึกษากาหนด
สาหรับการจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรับผู้มี

ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้คณะกรรมการ
ของสถานศึกษา เขตพื้นท่ีการศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ใน
แนวปฏิบัติการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสาหรับกลุ่มเป้าหมาย
เฉพาะ

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๗

เอกสารหลกั ฐานการศึกษา

เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญท่ีบันทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องกับ
พฒั นาการของผเู้ รยี นในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเหป็นลัก๒สูปตรระโเรภงทเรดียงั นนบี้ ้านม่วงดง

๑. เอกสารหลักฐานการศพกึ ุทษาธทศ่ีกักรระาทชรวง๒ศกึ๕ษ๖า๑ธิกตารากมาหหนลัดกสูตร
๑.๑ ระเบียนแสดแงกผลนกกาลรเารงียกนาเรป็ศนึเกอษกสาาขร้ั แนสพดื้ นงผฐลากนารเรียนและรับรองผลการเรียนของ

ผเู้ รียนตามรายวิชา ผลการประเมินกพาุรทอธ่าศนักคริดาวชิเคร๒าะ๕ห๕แ์ ล๑ะเกขาียหนนผดลกเการณปฑระ์ เมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของ
สถานศึกษา และผลการประเมินกิจกสรารหมรพบั ัฒกนาราจผบู้เรกียานรศสึกถษาานศดกึ ังษน้ีาจะต้องบันทกึ ข้อมลู และออกเอกสารนใ้ี ห้ผ้เู รยี น
แมเเขชปล้อธั ่น็นยะมรมลู เาแศอขยบึกกอบเบษงสปุคผา๒รา็นคจู้ราป.อลเยบทีอ่ืนงเกี่เกอา๓ๆมาสนกร๑่ือ)าปสศผต.ร๒ารกึ ู้เาทระรษม่ีสหีแยจาวถานลบรตั ตาะกัจบถนวัดบฐปุรนศบัาการกัึกนปายะเษกรรงสรศะาาายีงจึกรถนคนศัด๑ปหเปรษม์ขผพากึแทลรรศ.อาู้สิ่ยะะบษรมกักึางาวเเะกขบสษาเเเมมิดชากร้ึนตทตูบานิินร็จับาณิเรส่ีมันรตนพ(พกโปถชาทฑาตราื่อา้ืนรย้นัามงเึก์กราบะอนวเฐปทผศรามถันิชกศารีโ่ียลรึกมาสทโนระกึจนกษพคศงาถึกษบ((ากเรึแก๒ืน้ามร๑พรราารไษลฐีย)งศเปกัฒหะเรา)นะาสปผกึดาในียนนชรกู้เษห็นรับ(นดราา้ชา้านาเผผียปปกยอหั้นปงาู่้นดรารวเกนปนีทเะตระริชสวดรเ่ีถจีอ้ ก๖ายาผะลมางรณ/ถล)ารมนศกอมกาจฑเีผกึิจนรยศาเบล์กษกุีมรรวยึกกกาีเาริชัตษยนารราราิกรียราทนมศาปนร่ีรกึะีทรจษเู้ี่ บบแ๖าียลหภ)นะลาขสคจัก้อะบบสมสกังูตคมูลารับสรโใดศาบคึยกรบัษญบั ันารเภอทกางึกี่ยคผรวบลากกังยับคาชผรับื่อู้เเรแร(ียชยีลนั้นนะ

(๓) ผูเ้ รยี นมีผลการ
ประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น
ในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่
โรงเรียนกาหนด

(๔ ) ผู้ เรีย น มี ผ ล ก าร
ป ร ะ เมิ น คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ งป ร ะ ส งค์ ใน
ระดับผ่านเกณ ฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาหนด

(๕ ) ผู้ เรี ย น เข้ า ร่ว ม
กิจกรรมพัฒ นาผู้เรียนและมีผลการ
ป ร ะ เมิ น ผ่ า น เก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เมิ น ต าม ที่
โรงเรยี นกาหนด

๒. เกณ ฑ์การจบระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน้

(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชา
พ้ืนฐานและเพิ่มเติม ๘๑ หน่วยกิต โดย
เป็นรายวิชาพ้ืนฐาน ๖๖ หน่วยกิต และ
หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วรงดางย๒ว๕ิช๖า๒เพตาิ่มมเหตลกัมิ สูตร๑แก๕นกลหางกนารว่ ศยึกษกาติข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

(๒) ผู้เรียนต้องได้หน่วย

๑๒๘

การเทยี บโอนผลการเรียน

สถานศกึ ษาสามารถเทยี บโอนผลการเรียนของผเู้ รยี นในกรณตี ่างๆได้แก่ การยา้ ยสถานศึกษา การเปลี่ยน

อทรแรัปูบล่นื่ีรแผัะบๆขบ้ขูเทเออบชียเเก่นขทบกาา้ียาสโรศบอรศถึกเนโึากทษอนอษียนายปาบตเ่ารป่อโกงะอน็ในากนนผร้ออปผยู้เยรบล้ารียกยะก๑นาหเาทรรภลทศเักาสรงั้ คสนถียนเูตานี้อรผบรพพแสคกียเู้ นัาุุวจรนกกททหศียราาธนธดรกนารโศบัศสานอทดกเัันกกอก้ีี่ไยนลยหดาากรสรินังรร้ากลาถาสสกจับลงัชาชกถาบากานกมราสกางบใศาูาตาคร๒น๒รึกันรเันรรชถท๕ษศ๕กแโศว่เียกึาาทร๕ล๖งึบรทกษงยีกะ๑ฝ๑โเ่ีราบอ่ขษอรกึับนโอีดนยอกาอตผกเังผบนปนาู้ขเานลรลรหิดบคั้มบั้ีนียกมภว้านเนหาอาพขานรจดามล้คา้ืเมชนารรรัเเกกกรีพ่ับู้ยีวฐทสยีกนณงกูกาักนาตดตาารษฑแนรรอ้งรเรศะ์ทงจกึกศียดัปษกึ บหกรษาาะโรตอารือสอ่ตศนตบ่อกึคน้กกเษวภาานรารราื่อกโศณคงดาึกใเจ์ยหรนษาคยีนสากรนดถจแอแาารหบรนกาลคกยตศง่รว่ากึกทัวิชงษาี่สปาราา/รเนจระยีาศเทนนึกศวรษนู้ า
หน่วยกติ ทจ่ี ะรบั เทยี บโอนตามควา๑มเ.หมเากะณสฑม์การจบระดับประถมศกึ ษา
การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดาเนินก(๑ารไ)ด้ ผดู้ งัเนรี้ี ย น เรี ย น
๑. พจิ ารณาจากหลักฐานรกาายรวศิชกึ าษพาื้นแฐลาะนเอแกสลาะรรอานื่ ยๆวิชทาใี่ /หกข้ ิจ้อกมรูลรแมสดงความรู้ ความสามารถของผเู้ รียน
๒. พิจารณาจากความรู้ เคพวิ่ มามเตสิามมตาารถมขโอคงรผงู้เสรียรน้าโงดเยวกลาารเทรีดยสนอทบ่ี ด้วยวิธีการต่างๆ ท้ังภาคความรู้และ
หลักสูตรโรงเรยี นกาหนด
ภาคปฏิบตั ิ
๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบ(๒ัต)ิในผูเ้สรภียานพตจอ้ รงิงมผี ลการ
การเทียบโอนผลการเรยี นปใหร้เะปเมน็ นิไปรตายามวชิ ปาพระน้ื กฐาาศนหผรา่ ือนเแกนณวฑป์กฏาบิ รตั ิ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ประเมนิ ตามทโ่ี รงเรียนกาหนด

(๓) ผูเ้ รียนมีผลการ

ประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น

ในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมินตามท่ี

โรงเรยี นกาหนด

(๔ ) ผู้ เรีย น มี ผ ล ก าร

ป ร ะ เมิ น คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ งป ร ะ ส งค์ ใน

ระดับผ่านเกณ ฑ์การประเมินตามที่

สถานศกึ ษากาหนด

(๕ ) ผู้ เรี ย น เข้ า ร่ว ม

กิจกรรมพัฒ นาผู้เรียนและมีผลการ

ป ร ะ เมิ น ผ่ า น เก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เมิ น ต าม ท่ี

โรงเรยี นกาหนด

๒. เกณ ฑ์การจบระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน้

(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชา
พื้นฐานและเพ่ิมเติม ๘๑ หน่วยกิต โดย
เป็นรายวิชาพ้ืนฐาน ๖๖ หน่วยกิต และ
รายวชิ าเพิม่ เตมิ ๑๕ หนว่ ยกติ
หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหล(กั ๒สูต)รแกผนู้เกรลีายงกนารตศกึ้อษงาขไ้นัดพ้ห้ืนฐนาน่วพยทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
กิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗ ๗

การบริหารจดั การหลักสูตร ๑๒๙

ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอานาจให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น
หน่วยงานตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องในแต่ละระดับ ต้ังแต่ระดับชาติ ระดับทอ้ งถ่ิน จนถึงระดับสถานศึกษา มีบทบาทหน้าที่
และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน หส่งลเัสกรสิมูตรกโารรงใชเร้แียลนะพบ้ัฒานนมา่หวงลดักงสูตรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เพอ่ื ให้การดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถพาุทนธศศกึ ัษการแาลชะกา๒ร๕จัด๖ก๑ารเตรียานมกหาลรัสกอสนูตขรองสถานศึกษามีประสทิ ธิภาพสงู สุด
อนั จะสง่ ผลให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี แนบกรนรลกตุ ลามามงากตารฐราศนึ กกาษรเารขีย้ันนรพทู้ ้ืี่กนาหฐนาดนไว้ในระดบั ชาติ

ระดับท้องถ่ิน ได้แก่ สานักงาพนเุทขตธพศัื้นกทรี่กาาชรศ๒ึกษ๕า๕ห๑น่วกยางหานนตด้นเสกังณกัดฑอ์ ื่น ๆ เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทใน
การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกสษาาหรเับปก็นาตรัวจกบลกาางรทศกึ่ีจษะเาชด่ือังมนโ้ียงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ี
เกขสสคปพคปเพพอถถอืวารนื้ร่มิิ่มหาะงาาะฐพผนมเนพเนกามมู้เตศนูนศูานรดินิน้กึอหคึกียใคผแผสษงุณนนนษุณลลกถลาดราภะาาสภวะเโใารนรปาดิเดนาสพาคใมศ้ายัพบนย่งกรกหากึทเลรากชาารสษมุกะะะรรถาาราาภหเดพใตรเิมอยมชพาั์บใัิฒใกแียหีแ้หชคิม่หชลาดลนน้ลสหเ้สารตะทะักา้่วาลตอใจิมร่เีทหนสชัิกขดุดาใพ่ีสเูต้ลแตนยสคขเารััลนกฒงพูสต้าลคดะาส้นม่ว้ืนน้รอัญว้นพูตกนาดทางยผใมัฒราทส้กวก่ีกนลรสสี เัี่ายบนาากพคก่วถรปปใ๑หเโปรรรกาสารนพุณย่ีนฒัาาะศวลรรร.หรางภวรน่ิยระะะิจมึภกักนพเรลกะกว่ารวเเเัศยษสวาาฒัเมเมมัดกามบัียพิชแกึตกพิคตูจารินนิินบัสนใสนแาลณิษัรณุยขนเมรตูกตผกภพราละโอหแากาฑภาาตรา่รีหายาพะื้นตงยลรารมงนใหพาน์กลาผคัฒนร้ืวอเออฐะทพเนราักปรมเู้พวชิกหา่รงาพนร่โียีผรู้ดทสัญานาณพะฒัโนรนียจานัู้ฒเตู้พอมคงดรินหจ่วฑบ(น(กคเร(กงแยี๒้นืตับนร๑ยรา๓าาาสร์ถกดิานล้ฐอยีร)ใงงสาหห)ะถ่ิานรวนา)าณนะสงผถดรนลผปิเานนกชกรคก้เูใปรปานบัากู้เัดรรนุามาารรา้นใราผผสศับสรยีปรียรยรชาหหะศะงาู่้ังตูกึนปพระะขนนวเน้เสกนเเึกษระตดหมรรอัิมชมฒแวดดัอเสษถงุี้อาบัิน์งกิีผนลายลอดถแแนมงาททตณ/ละกคื่นาลาลคมนศาก้าอ้อสกาใุนณฑๆะะเผีลบึกิมหจรังงางรเศพเล้์กอภุษคถวทครถขก้ปีรใยึกกฒัางาน่นิม่ิียาีนาี่ลรรยษนรงาพรนโรนะากแรภาดะเทนมกสกาับผพูยมดหี่บารนหื่พอปิบัรลคแลสนิจญัศทักวลักนาึาก้อสญาะรสไัษบงมูตดณปาูถตาสรสทาส่นิราใจาเนอ้นู่กใแนไัดเหุนดงรรากินทถ็้สจจ้ะรนกา่นิสอดัจดรกาโ่งดทัดับดะรแลเคาใทเสทยลาบชเลมราะ้องพห้ยีอ้ิหมกคีภงิ่มบลงถาวลาเกักกตราติ่นรักบัสามศิิมดกสรสตูตึกิจตูรตวร่ิงรอ้ษสวาดัทวรงามมามแขี่เกกคขปทผลทอาาัญ้ัน็นะ้ัลงรรงั้ง

(๔ ) ผู้ เรีย น มี ผ ล ก าร
ป ร ะ เมิ น คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ งป ร ะ ส งค์ ใน
ระดับผ่านเกณ ฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากาหนด

(๕ ) ผู้ เรี ย น เข้ า ร่ว ม
กิจกรรมพัฒ นาผู้เรียนและมีผลการ
ป ร ะ เมิ น ผ่ า น เก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เมิ น ต าม ที่
โรงเรยี นกาหนด

๒. เกณ ฑ์การจบระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น

(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชา
พื้นฐานและเพ่ิมเติม ๘๑ หน่วยกิต โดย
เป็นรายวิชาพ้ืนฐาน ๖๖ หน่วยกิต และ
หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดรง า๒ย๕ว๖ิช๒าตเาพมหิ่มลเกั ตสูิมตรแก๑นก๕ลางกหารนศึก่วษยาขก้นั ติ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

(๒) ผู้เรียนต้องได้หน่วย

๑๓๐

คำสัง่ สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำประถมศกึ ษำอดุ รธำนี เขต ๒

ที่ ๒๐๒ / ๒๕๖๒

เรอื่ ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมกำรบริหำรหลักสูตรและงำนวชิ ำกำรของสถำนศึกษำข้นั พื้นฐำน

*********************************

เพื่อให้การบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม หมวด ๔ มาตรา ๒๗ ท่ี

กาหนดใหส้ ถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐานมีหน้าท่ีจดั ทาสาระของหลกั สูตรเพอ่ื ความเปน็ ไทย ความเป็นพลเมอื งทดี่ ีของชาติ

การดารงชีวิต และการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ ในส่วนที่เก่ียวกบั สภาพของปัญหาในชุมชน และ

สังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและ

ประเทศชาติ

อาศัยระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าดว้ ยคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและงานวชิ าการสถานศกึ ษาขั้น

พืน้ ฐาน พ.ศ.๒๕๔๔ ข้อ ๕ และประกาศใชห้ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เมื่อวันท่ี

๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต ๒ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการ

บริหารหลกั สตู ร และงานวชิ าการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานของโรงเรยี นบ้านม่วงดง ดงั นี้

๑. นายอนนั ต์ รามโคตร ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านมว่ ง ประธานกรรมการ

๒. นางมยรุ ี ขาวชู หัวหนา้ การเรียนรูป้ ฐมวยั กรรมการ

๓. นางสาวสภุ ัทรา สรุ พล หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

๔. นางสาวสภุ าภรณ์ ศรไี พร หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ กรรมการ

๕. นางสาวมนิ ตรา สายแสน หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ กรรมการ

๖. นางสาวทัศดาพร ศรีสุโคตร หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา กรรมการ

๗. นายศุภชยั วงษ์คาผาย หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาพลศึกษา กรรมการ

๘. นายจริ ายทุ ธ ไชยชาญ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ กรรมการ

๙. นายอสิ สระ นาคะประเวศน์ หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ กรรมการ

และเทคโนโลยี

๑๐. นางสาวปยิ ะพจน์ แรมจบก หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ กรรมการ

๑๑. นายภูมนิ ทร์ ภธู นกานต์ หวั หนา้ งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กรรมการ

๑๒ นางหนสู ิน นาคะประเวศน์ หัวหน้างานวชิ าการ กรรมการและเลขานุการ

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๓๑

คณะกรรมกำรบรหิ ำรหลกั สูตร มีหนำ้ ท่ี
๑. วางแผนการดาเนินงานวิชาการ กาหนดสาระรายละเอียดของหลักสูตรระดับสถานศึกษาและแนว
ทางการจัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และสภาพเศรษฐกิจ สังคม ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ
๒. จัดทาคู่มือการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการของสถานศึกษา นิเทศ กากับ ติดตาม ให้คาปรึกษา
เก่ียวกับการพัฒนาหลกั สูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลและการแนะแนวให้สอดคลอ้ งและ
เป็นไปตามหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
๓. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวน การเรียนรู้ การวัด
และประเมินผลและการแนะแนวให้เป็นไปตามจุดหมายและแนวทางการดาเนินการของหลักสูตร
๔. ประสานความร่วมมือจากบุคคล หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ และชุมชน เพ่ือให้การใช้หลักสูตรเป็นไป
อย่างมีประสทิ ธภิ าพและมคี ณุ ภาพ
๕. ประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการใช้หลักสูตรแก่นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องและนา
ขอ้ มลู ป้อนกลับจากฝา่ ยต่าง ๆ มาพิจารณาเพื่อปรบั ปรุงและพฒั นาหลกั สตู รของสถานศึกษา
๖. สง่ เสรมิ สนบั สนุนการวิจยั เกย่ี วกบั การพัฒนาหลกั สูตร และกระบวนการเรยี นรู้
๗. ติดตามผลการเรียนของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล ระดับชั้น และช่วงชน้ั ระดับวิชา กล่มุ วชิ า ในแตล่ ะปี
การศกึ ษา เพื่อปรบั ปรุงแกไ้ ข และพฒั นาการดาเนนิ งานด้านตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษา
๘. ตรวจสอบทบทวน ประเมินมาตรฐาน การปฏิบัติงานของครู และการบริหารหลักสูตรระดับ
สถานศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา แล้ว ใช้ผลการประเมิน เพื่อวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงานของครูและการบริหาร
หลกั สูตรปีการศึกษาต่อไป
๙. รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการบรหิ ารหลักสูตรของสถานศกึ ษา โดยเนน้ ผลการพัฒนาคุณภาพ
นักเรียนต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับเหนือสถานศึกษา
สาธารณชน และผู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง
๑๐. ให้ดาเนนิ การประชมุ คณะกรรมการอย่างน้อยภาคเรยี นละ ๒ ครั้ง

ทงั้ นี้ให้ผไู้ ด้รบั การแต่งตง้ั ปฏบิ ัติหนา้ ทท่ี ไ่ี ด้รบั มอบหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และบรรลุตามวตั ถุประสงค์
ทีต่ ัง้ ไว้ ตง้ั แตบ่ ัดน้ีเปน็ ตน้ ไป

สงั่ ณ วันท่ี ๑๑ เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๒

(ลงชอ่ื )
(นายพรชยั โพคันโย)

ผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๒

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๓๒

คำสง่ั โรงเรยี นบ้ำนม่วงดง
ที่ ๑๘ / ๒๕๖๒

เรือ่ ง แต่งตั้งคณะกรรมกำรบริหำรหลกั สูตรและงำนวิชำกำรของสถำนศกึ ษำขั้นพื้นฐำน
*********************************

เพือ่ ให้การบรหิ ารหลกั สูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพสอดคลอ้ ง
กับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม หมวด ๔ มาตรา ๒๗ ที่กาหนดให้
สถานศึกษาข้ันพื้นฐานมีหน้าที่จัดทาสาระของหลักสูตรเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองท่ีดีของชาติ การ
ดารงชีวิต และการประกอบอาชีพตลอดจนเพ่ือการศึกษาต่อ ในส่วนท่ีเก่ียวกับสภาพของปัญหาในชุมชน และ
สังคม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและ
ประเทศชาติ

อาศัยระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าดว้ ยคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและงานวิชาการสถานศกึ ษาข้ัน
พนื้ ฐาน พ.ศ.๒๕๔๔ ข้อ ๕ และประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เมื่อวนั ที่
๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โรงเรียนบ้านม่วงดง จึงแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการ
สถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานและกลุ่มสาระการเรียนรู้ของโรงเรียนบ้านมว่ งดง ดังนี้

๑ คณะกรรมกำรทป่ี รกึ ษำ ประกอบดว้ ยผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ดังน้ี

๑.๑ นายสดุ ใจ คาออ้ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

๑.๒ นายอุดม ภูบุญลาภ ผทู้ รงคณุ วุฒิ

๑.๓ นายสุภยี ์ พิลาชยั ผู้แทนชุมชน

๑.๔ นายไพรัช ลุนทงุ่ ผู้แทนองค์กรการปกครองสว่ นท้องถ่นิ

๑.๕ นางทัศนยี า เดชแพง ผแู้ ทนศษิ ย์เก่า

๑.๖ นางอบุ ลรตั น์ แรมลี ผู้แทนผ้ปู กครอง

๑.๗ พระอธกิ ารสบุ นิ อชิโต ผแู้ ทนพระสงฆ์

๑.๘ นางสาวสภุ ัทรา สุรพล ผแู้ ทนครู

มีหนำ้ ท่ี ใหค้ าปรึกษาเก่ยี วกับนโยบายการจดั การศึกษาของโรงเรียนบ้านม่วงดง

๒. คณะอนกุ รรมกำรบรหิ ำรหลกั สตู รระดบั กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ประกอบด้วย

๒.๑ คณะอนกุ รรมกำรกลมุ่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย มีรำยนำมดงั น้ี

นางสาวสุภัทรา สรุ พล ประธานอนุกรรมการ

นางพิศรานชุ โคตรวฒั น์ อนุกรรมการ

นางหนสู ิน นาคะประเวศน์ อนกุ รรมการและเลขานุการ

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๓๓

๒.๒ คณะอนุกรรมกำรกลมุ่ สำระกำรเรียนรู้คณติ ศำสตร์ มีรำยนำมดงั น้ี

นางสาวสภุ าภรณ์ ศรไี พร ประธานอนุกรรมการ

นางสาวองั คณา คาคณู อนุกรรมการ

นางสาวมนิ ตรา สายแสน อนกุ รรมการและเลขานุการ

๒.๓ คณะอนุกรรมกำรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ รำยนำมดงั นี้

นางสาวมนิ ตรา สายแสน ประธานอนุกรรมการ

นางสาวสภุ าภรณ์ ศรีไพร อนกุ รรมการ

นางมยุรี ขาวชู อนกุ รรมการและเลขานุการ

๒.๔ คณะอนุกรรมกำรกล่มุ สำระกำรเรียนร้งู คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม รำยนำมดังนี้

นางสาวทัศดาพร ศรีสุโคตร ประธานอนกุ รรมการ

นายอสิ สระ นาคะประเวศน์ อนกุ รรมการ

นางพิศรานชุ โคตรวัฒน์ อนกุ รรมการและเลขานกุ าร

๒.๕ คณะอนกุ รรมกำรกล่มุ สำระกำรเรียนรู้สขุ ศกึ ษำและพลศกึ ษำ รำยนำมดงั น้ี

นายศภุ ชัย วงษ์คาผาย ประธานอนกุ รรมการ

นางสาวสุภัทรา สุรพล อนุกรรมการ

นายภมู นิ ทร์ ภูธนกานต์ อนุกรรมการและเลขานกุ าร

๒.๖ คณะอนุกรรมกำรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำตำ่ งประเทศ รำยนำมดังน้ี

นางสาวปิยะพจน์ แรมจบก ประธานอนุกรรมการ

นางหนสู ิน นาคะประเวศน์ อนกุ รรมการ

นางสาวกรรณกิ า กองแก้ว อนุกรรมการและเลขานุการ

๒.๗ คณะอนุกรรมกำรกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้กำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี รำยนำมดงั น้ี

นายอิสสระ นาคะประเวศน์ ประธานอนุกรรมการ

นายศภุ ชยั วงษค์ าผาย อนกุ รรมการ

นายภมู ินทร์ ภธู นกานต์ อนุกรรมการและเลขานกุ าร

๒.๘ คณะอนกุ รรมกำรกลมุ่ สำระกำรเรยี นรศู้ ิลปะ รำยนำมดงั น้ี

นายจริ ายทุ ธ ไชยชาญ ประธานอนกุ รรมการ

นางพศิ รานุช โคตรวัฒน์ อนุกรรมการ

นางสาวสภุ ัทรา สรุ พล อนกุ รรมการและเลขานกุ าร

๒.๙ คณะอนุกรรมกำรกจิ กรรมพัฒนำผ้เู รยี น รำยนำมดงั นี้

นายภูมินทร์ ภูธนกานต์ ประธานอนกุ รรมการ

นางเบญจนาถ สุขเกตุ อนุกรรมการ

นางสาวสภุ ทั รา สรุ พล อนุกรรมการและเลขานกุ าร

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๓๔

คณะอนุกรรมกำรบรหิ ำรหลักสตู รระดับกลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ มีหน้ำท่ี
๑. กาหนดสดั ส่วนสาระการเรยี นรู้กลุม่ วชิ า และพัฒนาหลกั สตู รรายวิชาของกลมุ่ วชิ า ในสาระการเรียนรู้
แกนรว่ ม แกนเลือก และเลอื กเสรตี ามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
๒. ดาเนินการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญที่สุดและ การวัดและ ประเมินผล
การเรียนรรู้ ายวชิ าต่าง ๆ เพือ่ ให้ได้ข้อมลู ทแี่ สดงความสามารถท่แี ท้จริงของนักเรียน
๓. พัฒนาแผนการสอนรายวิชาท่ีเป็นมาตรฐานกลาง เพื่อให้ผู้สอนสามารถปรับใช้ตามความเหมาะสม
และใหก้ ารสอนนาไปสูก่ ารเรียนรู้มากท่สี ดุ
๔. พัฒนาส่ือการเรียนรู้ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญที่สุด
๕. กาหนดแนวทางพัฒนาเครื่องมือและกากับ ติดตามการดาเนินการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ของ
นักเรียนใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการเรยี นรกู้ ล่มุ วชิ าทกี่ าหนด
๖. วิเคราะห์พัฒนาการของนักเรยี นเป็นรายบคุ คลและรายกลุ่ม
๗. ดาเนินการวิจัยการศึกษาในช้ันเรียนเพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนากระบวนการเรียนรู้และการ วัดและ
ประเมินผล
๘. นิเทศภายในแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดาเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน และ
ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั งิ าน
๙. รวบรวมข้อมลู เพ่ือการปรับปรงุ และพัฒนาหลักสูตรรายวชิ าและการจัดกระบวนการ เรยี นรู้ตลอดจน
ตรวจสอบและประเมินการบริหารหลักสูตรรายวิชาและกลุ่มวิชาในภาคเรียนท่ีผ่านมาและวางแผนพัฒนาการ
บรหิ ารหลกั สูตรในภาคเรียนต่อไป
๑๐. รายงานผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของครู– อาจารย์และผลการ บริหาร
หลกั สูตรของกลุ่มวิชาโดยเน้นผลท่ีเกิดข้นึ กับผเู้ รียนตอ่ คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและงาน วิชาการสถานศกึ ษา
ขน้ั พน้ื ฐาน และผู้เกี่ยวข้อง

๓. คณะอนกุ รรมคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผูเ้ รียน ประกอบด้วย

นางสาวทศั ดาพร ศรีสุโคตร ประธานอนกุ รรมการ

นายอิสสระ นาคะประเวศน์ อนกุ รรมการ

นางพศิ รานุช โคตรวัฒน์ อนุกรรมการและเลขานกุ าร

คณะอนุกรรมการคณุลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน มบี ทบาทและหน้าท่ี ดงั นี้

๑. กาหนดแนวทางการพัฒนาและการประเมิน เกณฑ์การประเมินและแนวทางการปรับปรุงแก้ไข

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

๒. พิจารณาตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายปี รายภาค และการจบการศึกษาแต่ละ

ระดับช้ัน

๓. จดั ระบบการปรับปรุงแก้ไขคณุลักษณะอนั พึงประสงค์ด้วยวิธีการอันเหมาะสมและส่งต่อขอ้ มลู เพ่ือการ

พัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง

๔. คณะอนกุ รรมกำร กำรอ่ำน คิดวิเครำะห์ และเขียน ประกอบด้วย

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๓๕

นางหนสู ิน นาคะประเวศน์ ประธานอนกุ รรมการ
นายภมู นิ ทร์ ภูธนกานต์ อนุกรรมการ
นางสาวมินตรา สายแสน อนุกรรมการและเลขานกุ าร

คณะอนุกรรมการ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นของผเู้ รียน มีบทบาทและหน้าท่ี ดังน้ี
๑. กาหนด แนวทางในการพัฒนา การประเมิน การปรับปรุงแก้ไข และการตัดสิน ความสามารถในการ
อา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียนของผ้เู รียน
๒. ดาเนินการประเมินความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น
๓. ตัดสินผลการพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน รายปี รายภาค และการจบ
การศึกษาแตล่ ะระดับชั้น

๕. คณะอนกุ รรมกำรเทียบโอนผลกำรเรยี น ประกอบดว้ ย

นางสาวปิยะพจน์ แรมจบก ประธานอนุกรรมการ

นางภมู ินทร์ ภธู นกานต์ อนุกรรมการ

นางมยุรี ขาวชู อนุกรรมการ

นางหนสู นิ นาคะประเวศน์ อนกุ รรมการและเลขานุการ

คณะอนกุ รรมการการเทยี บโอนผลการเรยี น มบี ทบาทและหน้าที่ ดงั นี้

๑. จัดทาสาระ เครื่องมือ และวิธีการเทียบโอน ให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเทียบโอนผลการ

เรียนเข้าสู่การศึกษา ในระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงจัดทาโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้ น

พ้ืนฐาน

๒. ดาเนินการเทียบโอนผลการเรยี นใหก้ บั ผ้เู รียนทีร่ ้องขอ

๓. ประมวลผลและตัดสนิ ผลการเทยี บโอน

๔. เสนอผลการเทียบโอนต่อคณะกรรมการบริหารหลักสตูรและวิชาการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือให้

ความเห็นชอบ และเสนอผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาตัดสนิ อนมุ ตั ิการเทียบโอน

ทั้งน้ีให้ผู้ได้รับการแต่งต้ังปฏิบัติหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุตามวัตถุประสงค์
ทต่ี ัง้ ไว้ ตั้งแตบ่ ัดน้ีเปน็ ตน้ ไป

สง่ั ณ วนั ที่ ๑๖ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

(ลงชอ่ื )
(นายอนันต์ รามโคตร)

ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นมว่ งดง

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๓๖

คณะกรรมการดาเนินงาน

๑. คณะกรรมการที่ปรึกษา

๑.๑ นายอนนั ต์ รามโคตร ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านม่วงดง
๑.๒ นายสดุ ใจ คาออ้ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นม่วงดง

๒. คณะทางาน

๒.๑ นางหนูสนิ นาคะประเวศน์ ครู คศ.๓ ประธาน
ครู คศ.๓ กรรมการ
๒.๒ นายอสิ สระ นาคะประเวศน์ ครู คศ.๓ กรรมการ
ครู คศ.๓ กรรมการ
๒.๔ นางสาวสภุ ัทรา สุรพล ครู คศ.๓
ครู คศ.๒ กรรมการ
๒.๕ นางสาวทัศดาพร ศรีสุโคตร ครู คศ.๑ กรรมการ
ครู คศ.๑ กรรมการ
๒.๖ นางมยุรี ขาวชู ครูผู้ชว่ ย กรรมการ
ครผู ชู้ ่วย กรรมการ
๒.๓ นางพศิ รานุช โคตรวัฒน์ พนักงานราชการ กรรมการ
พนกั งานราชการ กรรมการ
๒.๖ นายจิรายุทธ ไชยชาญ ลูกจ้างช่วั คราว กรรมการและเลขานุการ
ครู คศ.๑ ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
๒.๗ นางสาวมนิ ตรา สายแสน เจา้ หน้าท่ีธุรการ

๒.๙ นางสาวสภุ าภรณ์ ศรไี พร

๒.๙ นายศุภชยั พงษ์คาผาย

๒.๑๐นายภมู นิ ทร์ ภธู นกานต์

๒.๑๑นางสาวอังคนา คาคูณ

๒.๑๓ นางสาวกรรณกิ า กองแก้ว

๒.๑๔ นางสาวปยิ พจน์ แรมจบก

๒.๑๖ นายสุรสทิ ธิ์ แสงภักดิ์

หลกั สูตรระดบั ประถมศึกษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๓๗

ภาคผนวก

หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษาโรงเรียนบา้ นม่วงดง ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)


Click to View FlipBook Version