รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report: SAR) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา วัดแม่ริม ตำบลริมใต้ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ สำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5 สำนักงานการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report: SAR) โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา ด้วยโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้จัดทำรายงานการประเมินตนเองฉบับนี้ เพื่อเป็นการรายงานผลการ ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ประจำปีการศึกษา 2565 ที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยสะท้อนคุณภาพความสำเร็จอย่างชัด เจรตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ และเพื่อให้การ ประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตามมาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐาน คณะกรรมการสถานศึกษามีความเห็นชอบในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองฉบับนี้ของโรงเรียน วัดแม่ริมวิทยา ที่สะท้อนคุณภาพผู้เรียน และผลสำเร็จของการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการ นำไปใช้พัฒนาการศึกษาในปีการศึกษาต่อไป และเตรียมรับการประเมินคุณภาพต่อไป (พระครูสิริอาภากร) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report: SAR) โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาฉบับนี้ เป็นการสรุปผลการดำเนินงานในรอบปีการศึกษาที่ สะท้อนให้เห็นภาพความสำเร็จที่เกิดขึ้นตามบริบทของสถานศึกษา ซึ่งมีองค์ประกอบของรายงานการประเมิน คุณภาพภายในสถานศึกษา 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ส่วนที่ 2 ผลการประเมิน คุณภาพภายในสถานศึกษา ส่วนที่ 3 สรุปผล จุดเด่น จุดพัฒนาและแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่วนที่ 4 ภาคผนวก โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา เป็นข้อมูล ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา เตรียมความพร้อมในการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา วัดแม่ริม สำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5 30 เมษายน 2566
ข รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report: SAR) โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข บทสรุปผู้บริหาร 1 บทสรุปรายงานผลการประเมินตนเอง ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 3 1.1 ข้อมูลทั่วไป 3 1.2 ข้อมูลบุคลากรทางการศึกษา 4 1.3 ข้อมูลนักเรียน 5 1.4 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 5 1.5 ข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศึกษา 2564 12 1.6 ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ ของโรงเรียน 13 1.7 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีที่ผ่านมา 13 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา 14 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน 14 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา 32 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 41 ส่วนที่ 3 สรุปผล จุดเด่น จุดพัฒนาและแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 49 ส่วนที่ 4 ภาคผนวก 51
1 บทสรุปผู้บริหาร โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ตั้งเลขที่ 240 หมู่ 1 ถนนเชียงใหม่-ฝาง ตำบลริมใต้ อำเภอแม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50180 โทรศัพท์ 052-000-133 E-mail : [email protected] สังกัด สำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5 สำนักงานการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา ดำเนินการจัดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้รับ ใบอนุญาตให้เปิดดำเนินการ เมื่อวันที่ 9 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ตามใบอนุญาตเลขที่ 33/2535 ซึ่ง โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา มีเขตพื้นที่บริการการศึกษาอยู่ 8 ตำบล ได้แก่ตำบลริมใต้ ตำบลขี้เหล็ก ตำบลสันโป่ง ตำบลริมเหนือ ตำบลห้วยทราย ตำบลสะลวง ตำบลแม่แรม ตำบลโป่งแยง ตำบลแม่สา ตำบลดอนแก้ว และ ตำบลเหมืองแก้ว นอกเขตพื้นที่บริการได้แก่ อำเภอแม่แตง อำเภอเชียงดาว อำเภอเมือง ปัจจุบันนี้ มี พระครู วิบูลธรรมพัฒน์ เป็นผู้จัดการโรงเรียนและมี พระครูสาสนกิจโกศล ดร. เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน มีจำนวน นักเรียน 209 รูป ผู้บริหาร 6 รูป/คน ครูผู้สอน 11 รูป/คน ครูพิเศษ 2 รูป/คน เจ้าหน้าที่ 3 คน จากการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปี การศึกษา 2565 พบว่า ภาพรวมผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา อยู่ในระดับ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มีการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยการบริหาร หลักสูตรและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที ่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและจัด แผนการเรียนที่ตอบสนองต่อศักยภาพและความต้องการของนักเรียน และชุมชนท้องถิ่น จัดให้มีระบบการ เรียนรู้ ส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วย Active Learning ในบริบทของการศึกษายุค Thailand 4.0 ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศที่ถูกต้อง สร้างสรรค์ผล สื่อสาร และมีคุณธรรม จัดให้มีระบบนิเทศติดตามการนำหลักสูตรไปใช้ใน การจัดการเรียนการสอนรวมถึงส่งเสริมให้ครูผลิต พัฒนาสื่อ และนวัตกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนา นักเรียนให้เต็มศักยภาพ จัดตั้งและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก โรงเรียน ให้ครอบคลุมภูมิปัญญาท้องถิ่น และส่งเสริมให้ครูจัดการวัดและประเมินผลให้เป็นไปตามหลักการวัด และประเมินผลหลักสูตร นอกจากนี้ยังจัดกิจกรรมที ่หลากหลายส ่งเสริมให้นักเรียนแสดงออกอย ่างเต็ม ศักยภาพ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีให้แก่นักเรียน มาตรฐานที ่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยู ่ในระดับ ดีเลิศ โรงเรียนวัดแม ่ริมวิทยามี เป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่ชัดเจน ได้รับความเห็นชอบจากผู้เกี ่ยวข้องทุกฝ ่าย เป็นทิศทางของการ บริหารจัดการ มีการติดตาม ตรวจสอบและรายงานผลการดำเนินงานอย ่างต่อเนื ่อง มีการบริหารและการ จัดการโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล จัดกิจกรรมการเรียนการสอนรวมไปถึง โครงการ กิจกรรม ต่าง ๆ โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามอัตลักษณ์ของโรงเรียน คือ “ผู้เรียนมีระเบียบวินัย มีความรู้ มีคุณธรรม” มี การดำเนินการโครงการ/กิจกรรมโดยใช้วงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) และมีการบริหารจัดการอย่าง
2 เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังส ่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาให้มีความ เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มาตรฐานที ่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที ่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู ่ในระดับ ดีเลิศ มี กระบวนการจัดการเรียนการสอนโดย มีหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน และชุมชน ท้องถิ่น ตอบสนองความต้องการของนักเรียน ครูผู้สอนมีความตั้งใจมุ่งมั่นในการจัดการเรียนการสอนโดยมีการ จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning จัดกิจกรรมที ่เน้นการคิด การปฏิบัติจริง มีวิธีการและแหล ่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ครูมีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับนักเรียน การจัดการศึกษาของโรงเรียนมีมีจุดเด่น คือ นักเรียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในทุกรายวิชามีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับ สังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห ่งชาติ และในรายวิชาสังคมศึกษาฯ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ นักเรียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านพระพุทธศานา (B-NET) ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาธรรม พุทธประวัติ วินัยมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนน เฉลี่ยระดับประเทศ โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาจะพัฒนาตนเองต่อไปให้ได้มาตรฐานที่ดีขึ้นกว่าเดิม คือ พัฒนาคุณภาพของ ผู้เรียนตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นการจัดการศึกษาของผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีการเรียนรู้เชิงรุก ส่งเสริมกระบวนการ คิดและปฏิบัติจริง โดยใช้กลยุทธ์และวิธีการสอนที ่เหมาะสม และนำวิสัยทัศน์มากำหนดเป็นพันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดคุณภาพแก่ผู้เรียนและบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ดำเนินงาน พัฒนาวิชาการโดยเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ต่อยอดการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการอ่าน การเขียน การคิด วิเคราะห์ การใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ และยกระดับคุณลักษณะของผู้เรียนด้วยการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมตามหลักพระพุทธศาสนา ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อออกแบบการจัดการ เรียนการสอนที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ของผู้เรียน พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เสริมทักษะการคิดขั้นสูง ให้มากยิ่งขึ้น มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น มีจินตนาการและสามารถแสวงหาความรู้ เพื่อให้ได้คำตอบที่เชื่อถือได้
3 ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 1.1 ข้อมูลทั่วไป โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ตั้งเลขที่ 240 หมู่ 1 ถนนเชียงใหม่-ฝาง ตำบลริมใต้ อำเภอแม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50180 โทรศัพท์ 052-000-133 E-mail : [email protected] สังกัด สำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5 สำนักงานการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา ดำเนินการจัดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้รับ ใบอนุญาตให้เปิดดำเนินการ เมื่อวันที่ 9 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ตามใบอนุญาตเลขที่ 33/2535 ตาม แนวนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และพระราชบัญญัติ การศึกษาพระปริยัติธรรม พ.ศ.2562 โดยให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพเพื่อเป็นศาสนทายาทที่ดี ของพระพุทธศาสนา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ เพื่อให้พระภิกษุ-สามเณร เป็นศาสนทายาทที่ดี เก่ง และดำรงสืบทอดพระพุทธศาสนาอย่างมีความสุข ซึ่งโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา มีเขต พื้นที่บริการการศึกษาอยู่ 8 ตำบล ได้แก่ตำบลริมใต้ ตำบลขี้เหล็ก ตำบลสันโป่ง ตำบลริมเหนือ ตำบลห้วย ทราย ตำบลสะลวง ตำบลแม่แรม ตำบลโป่งแยง ตำบลแม่สา ตำบลดอนแก้ว และตำบลเหมืองแก้ว นอกเขต พื้นที ่บริการได้แก่ อำเภอแม ่แตง อำเภอเชียงดาว อำเภอเมือง ปัจจุบันนี้ มี พระครูวิบูลธรรมพัฒน์เป็น ผู้จัดการโรงเรียนและมี พระครูสาสนกิจโกศล ดร. เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน สีประจำโรงเรียน สีเหลืองทอง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองของพระภิกษุ-สามเณร ในพระพุทธศาสนา ลักษณะ/ขนาด เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ขนาดใหญ่พิเศษ ปรัชญาโรงเรียน “ ปญญาย ปริสุทชติ ” บุคคลย่อมบริสุทธิ์ด้วยปัญญา คำขวัญโรงเรียน “ ทรงศีลจริยวัตรงาม ทรงศาสตร์ทันสมัย ทรงธรรมประจำใจ ”
4 ที่ตั้ง โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ตั้งอยู่ ณ วัดแม่ริม บ้านน้ำงาม หมู่ที่ 1 ตำบลริมใต้ อำเภอแม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ ห่างจากที่ว่าการอำเภอแม่ริม ประมาณ ๓๕๐ เมตร ห่างจากศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ 10 กิโลเมตร ❖ ทิศเหนือ ศูนย์การค้าแม่ริมพลาซ่า ❖ ทิศใต้ติด ถนน น้ำตกแม่สาสายเก่า ❖ ทิศตะวันออก ถนน โชตนา เชียงใหม่-ฝาง ❖ ทิศตะวันตก ศูนย์การค้าแม่ริมพลาซ่า แผนผังบริเวณโรงเรียน 1.2 ข้อมูลบุคลากรทางการศึกษา จำนวนบุคลากรจำแนกตามตำแหน่ง เพศ และระดับการศึกษา ประเภทบุคลากร เพศ (รูป/คน) รวม ระดับการศึกษา (รูป/คน) บรรพชิต ชาย หญิง ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก ผู้จัดการ 1 1 1 ผู้อำนวยการ 1 1 1 รองผู้อำนวยการ 2 2 4 4 ครูประจำ 5 6 11 8 3 ครูพิเศษ 2 2 2 เจ้าหน้าที่ 1 2 3 3 รวม 7 11 4 22 - 13 8 1 - จำนวนครูที่สอนวิชาตรงเอก 7 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 31.82 - จำนวนครูที่สอนตรงความถนัด 10 รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 45.45 - สาขาที่ขาดแคลนครูวิชา - จำนวน - รูป/คน
5 1.3 ข้อมูลนักเรียน จำนวนนักเรียนปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นเรียน ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวมทั้งหมด จำนวนห้อง 2 1 2 2 2 2 11 พระภิกษุ - - - - - 1 - สามเณร 23 21 55 50 35 24 209 รวมเฉลี่ยต่อห้อง 11.5 21.0 27.5 25.0 17.5 12.5 19.0 1.4 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.4.1 ร้อยละของผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป ชั้น จำนวน นักเรียน ร้อยละผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ ภาษาอังกฤษ บาลี พุทธประวัติ ธรรม วินัย ม.1 36 32 36 28 35 33 23 17 32 36 35 29 30 ม.2 24 24 14 18 24 24 10 14 16 16 20 18 20 ม.3 58 12 30 50 28 55 24 58 47 47 33 46 22 ม.4 57 57 38 38 55 47 11 55 28 44 39 39 19 ม.5 38 24 18 19 26 19 11 38 15 29 25 25 20 ม.6 34 34 28 33 23 27 25 25 27 34 34 34 34 รวม 247 183 164 186 191 205 104 207 165 206 186 191 145 ร้อยละ 100 74 66 75 77 83 42 84 67 83 75 77 59 ชั้น จำนวน นักเรียน ร้อยละผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ ภาษาอังกฤษ บาลี พุทธประวัติ ธรรม วินัย ม.1 23 22 11 8 19 15 10 10 14 12 8 22 10 ม.2 21 21 6 7 9 9 11 13 10 16 18 19 11 ม.3 55 18 19 46 55 47 21 45 40 45 55 55 15 ม.4 50 50 40 24 27 39 20 44 35 39 47 47 13 ม.5 35 16 27 25 26 26 16 27 30 33 32 32 18 ม.6 25 25 18 - 13 22 13 25 17 24 25 25 23 รวม 209 152 121 110 149 158 91 164 146 169 185 200 90 ร้อยละ 100 73 58 60 71 76 44 78 70 81 89 96 43 *หมายเหตุ รายวิชาวิทยาศาสตร์ คำนวณร้อยละโดยใช้จำนวนนักเรียน 184 รูป
6 1.4.2 ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ม.6 (จำนวน 25 รูป) รายวิชา คะแนนเฉลี่ย ของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ย ระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ย สังกัด สำนักงานพระพุทธฯ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ (1) ภาษาไทย 42.97 46.63 36.42 44.09 (2) คณิตศาสตร์ 20.45 23.24 16.75 21.61 (3) วิทยาศาสตร์ 25.20 29.43 24.81 28.08 (4) สังคมศึกษาฯ 34.36 34.55 30.75 33.00 (5) ภาษาอังกฤษ 20.65 25.39 20.29 23.44 แผนภูมิที่ 1.1 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 42.97 20.45 25.2 34.36 20.65 46.63 23.24 29.43 34.55 25.39 36.42 16.75 24.81 30.75 20.29 44.09 21.61 28.08 33 23.44 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ย สังกัดส านักงานพระพุทธฯ คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
7 1.4.3 ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) ปีการศึกษา 2565 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา B-NET ม.3 (จำนวน 23 รูป) รายวิชา คะแนนเฉลี่ย ของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ย ระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ย สังกัด สำนักงานกลุ่ม คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ (1) ภาษาบาลี 27.57 33.59 32.74 32.85 (2) ธรรม 33.57 33.73 32.86 32.31 (3) พุทธประวัติ 30.70 31.20 30.64 30.65 (4) วินัย 37.83 37.48 36.80 35.15 แผนภูมิที่ 1.2 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 27.57 33.57 30.7 37.83 33.59 33.73 31.2 37.48 32.74 32.86 30.64 36.8 32.85 32.31 30.65 35.15 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ภาษาบาลี ธรรม พุทธประวัติ วินัย คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ย สังกัดส านักงานกลุ่ม คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา B-NET ม.6 (จำนวน 25 รูป) รายวิชา คะแนนเฉลี่ย ของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ย ระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ย สังกัด สำนักงานกลุ่ม คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ (1) ภาษาบาลี 26.56 30.06 29.63 29.64 (2) ธรรม 39.20 35.31 35.79 34.62 (3) พุทธประวัติ 40.08 37.64 37.36 36.68 (4) วินัย 37.20 34.82 35.19 34.12 แผนภูมิที่ 1.3 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 26.56 39.2 40.08 37.2 30.06 35.31 37.64 34.82 29.63 35.79 37.36 35.19 29.64 34.62 36.68 34.12 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ภาษาบาลี ธรรม พุทธประวัติ วินัย คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ย สังกัดส านักงานกลุ่ม คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
9 1.4.4 เปรียบเทียบพัฒนาการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีคะแนน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัด ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 +เพิ่ม/-ลด ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 +เพิ่ม/-ลด ภาษาไทย 37.90 42.97 + 54.17 68.00 + คณิตศาสตร์ 15.05 20.45 + 37.50 64.00 + วิทยาศาสตร์ 24.77 25.20 + 41.67 56.00 + สังคมศึกษาฯ 32.77 34.36 + 45.83 80.00 + ภาษาอังกฤษ 19.11 20.65 + 50.00 52.00 + แผนภูมิที่ 1.4 เปรียบเทียบพัฒนาการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NETระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2563-2565 ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ภาษาไทย 36.09 37.9 42.97 คณิตศาสตร์ 15.4 15.05 20.45 วิทยาศาสตร์ 26.26 24.77 25.2 สังคมศึกษาฯ 31.79 32.77 34.36 ภาษาอังกฤษ 23.17 19.11 20.65 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ
10 1.4.5 เปรียบเทียบพัฒนาการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา B-NET ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รายวิชา ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีคะแนน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 +เพิ่ม/-ลด ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 +เพิ่ม/-ลด ภาษาบาลี 27.90 27.57 - 17.07 17.39 + ธรรม 29.85 33.57 + 31.71 69.57 + พุทธประวัติ 30.83 30.70 - 39.02 52.17 + วินัย 31.66 37.83 + 19.51 65.22 + แผนภูมิที่ 1.5 เปรียบเทียบพัฒนาการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา B-NET ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2563-2565 ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ภาษาบาลี 27.6 27.9 27.57 ธรรม 33.68 29.85 33.57 พุทธประวัติ 30.96 30.83 30.7 วินัย 30.4 31.66 37.83 0 5 10 15 20 25 30 35 40 ภาษาบาลี ธรรม พุทธประวัติ วินัย
11 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชา ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีคะแนน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 +เพิ่ม/-ลด ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 +เพิ่ม/-ลด ภาษาบาลี 25.74 26.56 + 12.50 36.00 + ธรรม 27.57 39.20 + 37.50 60.00 + พุทธประวัติ 29.51 40.08 + 29.17 52.00 + วินัย 30.13 37.20 + 8.33 60.00 + แผนภูมิที่ 1.6 เปรียบเทียบพัฒนาการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา B-NET ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2563-2565 ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ภาษาบาลี 29.79 25.74 26.56 ธรรม 31.50 27.57 39.20 พุทธประวัติ 35.86 29.51 40.08 วินัย 31.57 30.13 37.2 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 ภาษาบาลี ธรรม พุทธประวัติ วินัย
12 1.5 ข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศึกษา 2565 แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ข้อ ชื่อแหล่งเรียนรู้ 1 ห้องสมุด 2 อาคารเรียนโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา 3 อาคาร ๙๐ ปี พระครูอมรธรรมประยุต 4 ห้องวิทยาศาสตร์ 5 ห้องคอมพิวเตอร์ 6 ห้องเรียนอัจฉริยะ 7 ห้องพยาบาล 8 ห้องแสดงผลงาน 9 หอประชุมรัตนบุญญานุศิษย์ แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ข้อ ชื่อแหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้(สถานที่) 1 วัดแม่ริม 2 วัดป่าดาราภิรมย์ พระอารามหลวง 3 พิพิธภัณฑ์พระตำหนักดาราภิรมย์ 4 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำลริมใต้ 5 สถานีตำรวจภูธรแม่ริม 6 สวนพฤกษศาสตร์ ฯ 7 พิพิธภัณฑ์แมลงสยาม 8 สวนกล้วยไม้แม่ริม แหล่งเรียนรู้(วิทยากร) จำนวน ครั้ง 1 วรรณกรรมล้านนา วิทยากร นางบุญยิ่ง พยอมยงค์ 40 2 งานดุนลายโลหะ วิทยากร พระอาจารย์สะอาด รตนวณฺโณ 60 3 การตัดตุงล้านนา วิทยากร นางสุพรรณ ศรีไชยภา 20 4 การปฏิบัติตนของสามเณร วิทยากร เจ้าอาวาสแต่ละวัดในอำเภอแม่ริม 20 5 สุขภาพกาย สุขภาพจิต วิทยากร เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอแม่ริม 20 6 ด้านกฎหมาย ปัญหาด้านยาเสพติด และดำรงชีวิต วิทยากร เจ้าหน้าที่ตำรวจ สภ.แม่ริม 20 7 ช่างเชื่อม ช่างไฟฟ้า ช่างอิเล็กทรอนิกส์วิทยากร อาจารย์จากวิทยาลัยสารพัดช่าง 20
13 1.6 ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ ของโรงเรียน ปรัชญา : ปฏิบัติดี มีความรู้ เชิดชูพุทธศาสน์ วิสัยทัศน์ : ทรงศีลจริยวัตรงาม ทรงศาสน์ทันสมัย ทรงธรรมประจำใจ พลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง พันธกิจ : 1. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียนมีสมรรถนะ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีความ เป็นผู้นำบนพื้นฐานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการการศึกษา 4. ส่งเสริมและพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 5. ส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อจัดการศึกษา 6. ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ อัตลักษณ์โรงเรียน “ผู้เรียนมีระเบียบวินัย มีความรู้ มีคุณธรรม” เอกลักษณ์โรงเรียน “นักเรียนแต่กายเรียบร้อย เป็นปริมณฑล” 1.7 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีที่ผ่านมา ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2562 มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ ภาพรวมของ 3 มาตรฐาน ดีเลิศ ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ ภาพรวมของ 3 มาตรฐาน ดีเลิศ ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564 มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ ภาพรวมของ 3 มาตรฐาน ดีเลิศ
14 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการศึกษา ระดับคุณภาพ คุณภาพมาตรฐานการศึกษาโดยรวม ดีเลิศ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 /ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ สรุปผลการ เป้าหมาย ผลการประเมิน ประเมิน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ดี ยอดเยี่ยม สูงกว่าเป้าหมาย ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด อย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและแก้ปัญหา ดีเลิศ ยอดเยี่ยม สูงกว่าเป้าหมาย ๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย ๕) มีผลลัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร สถานศึกษา ดีเลิศ ดี ต่ำกว่าเป้าหมาย ๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดี ต่องานอาชีพ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่ สถานศึกษากำหนด ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย ๒) ความภูมิใจในท้องถิ ่นและความเป็น ไทย ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย ๓) การยอมรับที ่จะอยู ่ร ่วมกันบนความ แตกต่างและหลากหลาย ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย ๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย สรุปผลการประเมิน มาตรฐานที่ 1 ยอดเยี่ยม
15 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมที่เน้นส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะใน การอ่าน เขียน สื่อสารและคิดคำนวณ โดยดำเนินการพัฒนาดังนี้ 1) การจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มุ่งพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการอ่านและการ เขียน ซึ่งเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ทำความเข้าใจของผู้ส่งสารและผู้รับสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง พัฒนานักเรียนให้สามารถเขียนแสดงความคิดเห็น และสามารถเขียนจับใจความจากเรื่องที่ศึกษาได้อย่างเป็น ขั้นตอน โดยครูผู้สอนใช้แบบทดสอบทั้งปรนัยและอัตนัยเป็นเครื่องมือในการประเมินด้านการอ่านและการ เขียนของนักเรียน และมีการจัดการเรียนรู้ที ่เน้นพัฒนานักเรียนให้มีทักษะในการสื ่อสารตามหลักสูตร สถานศึกษา โดยสังเกตพัฒนาการด้านการสื่อสารของนักเรียนจากการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการ การพูด ดังนั้นกิจกรรมในห้องเรียนจึงมีการจัดกิจกรรมให้ครบตามสาระที่สอดคล้องกับการสื่อสาร เช่น การพูด เล่าประสบการณ์ พูดแนะนำตัวเอง เขียนเล่าเรื่อง เขียนบรรยาย เป็นต้น รวมทั้งการทำชิ้นงานโดยการเขียน สรุปความ เขียนรายงานจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์เป็นสำนวนภาษาของตนเองได้ การประเมินที่เด่นชัดใน เรื่องการอ่านและการเขียนตามหลักสูตรสถานศึกษาได้มุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการอ่าน และการเขียน โดยเริ่มคัดกรองนักเรียนแรกเข้าทั้งระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีปัญหาด้านการอ่านและ การเขียน เพื่อนำมาพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนผ่านกิจกรรมในชั้นเรียน เช่น การอ่านบทร้อยแก้ว บท ร้อยกรอง การเขียนสรุปใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน การเขียนเรียงความ เป็นต้น นอกจากนี้โรงเรียนยังได้มี หลักสูตรสถานศึกษารายวิชาภาษาไทยเพิ่มเติมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 เพื่อเสริมสร้างความรู้ พื้นฐาน พัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกระดับชั้นเข้าร่วมการแข่งขัน ทักษะดังกล่าวในวันภาษาไทยแห่งชาติ เช่น การเขียนเรียงความคัดลายมือ การพูดสุนทรพจน์การอ่านบทร้อย กรอง การแข่งขันตอบปัญหาภาษาไทย เป็นต้น และทางโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยายังส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้า ร่วมแข่งขันทักษะและแสดงความสามารถด้านภาษาไทย ในงานการเเข่งขันทักษะวิชาการ งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ครั้งที่ 70 ระดับพื้นที่การศึกษา สหวิทยาเขตดอยสามหมื่น 2) การจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศมุ่งเน้นพัฒนาความสามารถของนักเรียนในด้าน การสื่อสารของนักเรียน ทำความเข้าใจของผู้ส่งสารและผู้รับสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการพัฒนา นักเรียนให้สามารถติดต ่อสื่อสารได้อย่างเป็นขั้นตอน โดยครูผู้สอนใช้แบบทดสอบทั้งปรนัยและอัตนัยเป็น เครื่องมือในการประเมินด้านการสื่อสารของนักเรียนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 รวมทั้งภาระงานโดยการ เขียนบทสนทนาและพูดสื่อสารตามหลักสูตรสถานศึกษา อีกทั้งโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยายังมีการจัดหลักสูตร รายวิชาภาษาอังกฤษเพิ ่มเติมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที ่ 1-3 เพื ่อมุ ่งเน้นพัฒนาทักษะด้าน ภาษาอังกฤษของนักเรียนให้สูงขึ้น มีโครงการ/กิจกรรมส ่งเสริมการสื ่อสารด้านภาษาต ่างประเทศ ทั้ง ภาษาอังกฤษ และภาษาญี่ปุ่น เปิดโอกาสให้นักเรียนทุกระดับมีส่วนร่วมในการแข่งขันเพื่อพัฒนาทักษะการ
16 เรียนรู้ของนักเรียนในด้านการศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากนอกห้องเรียน เช ่น การแข ่งขันตอบปัญหา ภาษาอังกฤษ การแข่งขันปาฐกถาภาษาอังกฤษ งานการเเข่งขันทักษะวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา เขต 5 ทุกปีการศึกษา และทางโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยายังส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าร่วมแข่งขัน ทักษะและแสดงความสามารถด้านภาษาอังกฤษและภาษาญี ่ปุ ่น ในงานการเเข ่งขันทักษะวิชาการ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ระดับพื้นที่การศึกษา สหวิทยาเขตดอยสามหมื่น ซึ่งโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ได้รับรางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรเหรียญทองในการแข่งขันเขียนภาษาญี่ปุ่น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 3) การพัฒนาความสามารถของนักเรียนในด้านการสื่อสารและการคิดคำนวณของกลุ ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์มุ ่งเน้นการสื ่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถที ่สำคัญของทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ซึ่งเป็นความสามารถในการใช้รูป ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และนำเสนอได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และความสามารถด้านการคิดคำนวณเป็น ทักษะที่สำคัญในศตวรรษที่ 21 โดยที่กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ดำเนินการวางแผนกำหนดทิศทางใน การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามศักยภาพและความแตกต่างของแต่ละบุคคล โดยมีรูปแบบและกระบวนการใน การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่หลากหลายและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนากระบวนการคิด วิเคราะห์แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ 4) โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ได้จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยมีชุมนุมที่ส่งเสริมทักษะด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ ไม่ว่าจะเป็น ชุมนุมภาษาล้านนา ชุมนุมภาษาญี่ปุ่น ชุมนุมวาทศิลป์ ชุมนุมคณิตคิดสนุก ชุมนุมEnglish communication เป็นต้น ซึ ่งชุมนุมเหล ่านี้ มุ ่งเน้นพัฒนาทักษะ ความสามารถที่นักเรียนสนใจ โดยมีครูประจำชุมนุมเป็นผู้ดูแล ให้คำปรึกษา และสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ภายในชุมนุม เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนอย่างสูงสุด 2. ผลการดำเนินงาน ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของนักเรียน นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การ เขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ ร้อยละ 81.45 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม สูงกว่าเป้าหมายที่โรงเรียน กำหนดไว้ โดยวัดจากร้อยละของผู้เรียนที ่มีผลการเรียนตั้งแต ่ระดับน ่าพอใจ (เกรด 2) ขึ้นไปในรายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน ภาษาอังกฤษพื้นฐาน และคณิตศาสตร์พื้นฐานทุกระดับชั้น และร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการ ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการสื่อสารระดับดีขึ้นไป
17 ตารางที่ 2.1 แสดงผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการสื่อสาร ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ชั้น ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการสื่อสาร ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ม.1 69.44 30.56 0 0 ม.2 100 0 0 0 ม.3 70.69 29.31 0 0 ม.4 50.88 19.30 29.82 0 ม.5 39.47 60.53 0 0 ม.6 76.47 23.53 0 0 เฉลี่ย 67.83 27.20 4.97 0 จากตารางที่ 2.1 แสดงผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการสื่อสาร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 พบว่า นักเรียนทุกชั้นปีมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 95.03 ตารางที่ 2.2 แสดงผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการสื่อสาร ภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ชั้น ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการสื่อสาร ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ม.1 65.22 34.78 0 0 ม.2 100 0 0 0 ม.3 70.91 29.09 0 0 ม.4 50 18 32 0 ม.5 42.86 57.14 0 0 ม.6 84 16 0 0 เฉลี่ย 68.83 25.84 5.33 0 จากตารางที่ 2.2 แสดงผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการสื่อสาร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 พบว่า นักเรียนทุกชั้นปีมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 94.67
18 ตารางที่ 2.3 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการเรียนตั้งแต่ระดับน่าพอใจ (เกรด 2) ขึ้นไปในรายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน ภาษาอังกฤษพื้นฐาน และคณิตศาสตร์พื้นฐานทุกระดับชั้น ชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด ร้อยละผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ม.1 59 54 46 47 ม.2 45 45 26 20 ม.3 113 30 87 49 ม.4 107 107 63 78 ม.5 73 40 45 45 ม.6 59 59 44 46 รวม 456 335 311 285 ร้อยละ 100 73.46 68.20 62.50 จากตารางที่ 2.3 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการเรียนตั้งแต่ระดับน่าพอใจ (เกรด 2) ขึ้นไปในรายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน ภาษาอังกฤษพื้นฐาน และคณิตศาสตร์พื้นฐานทุกระดับชั้น พบว่า ร้อยละของผู้เรียนที่มีผล การเรียนตั้งแต่ระดับน่าพอใจ (เกรด 2) ขึ้นไปทั้งสามวิชาเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 68.05 2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ แก้ปัญหา 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้ที่มีความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แก้ปัญหา และนำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เหมาะสม โดยมี การจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายวิชา รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาการคำนวณ ทาง สถานศึกษาได้จัดรายวิชาดังกล่าวให้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย และเปิด โอกาสให้นักเรียนนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ได้พัฒนานักเรียนที่มีความสนใจ ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์โดยการจัดกิจกรรมชุมนุมโครงงานวิทยาศาสตร์ ส่งเสริมความรู้แก่นักเรียน ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งทำให้นักเรียนสามารถนำประสบการณ์จากทั้งการเรียนและจาก กิจกรรมชุมนุมไปใช้ในการเรียนระดับสูงต ่อไปได้โรงเรียนวัดแม ่ริมวิทยายังได้ส ่งเสริมให้นักเรียนแสดง ความสามารถในด้านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยเข้าร่วมการเเข่งขันทักษะวิชาการงานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ครั้งที่ 70 ระดับพื้นที่การศึกษา สหวิทยาเขตดอยสามหมื่น ทุกปีการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขัน โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง และมีผลงานเชิงประจักษ์ทุก ปีการศึกษา เช่น รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญทอง การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ม.1-3 และรางวัลเกียรติบัตร เหรียญเงินการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ม.1-3
19 2. ผลการดำเนินงาน ด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ แก้ปัญหา พบว่านักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และแก้ปัญหาในระดับดี ร้อยละ 91.89 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม สูงกว่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด ไว้ โดยวัดจากร้อยละของผู้เรียนที่มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน การประเมินสมมรถนะ สำคัญของผู้เรียนด้านความสามารถในการคิด และด้านความสามารถในการแก้ปัญหาระดับดีขั้นไป ดังนี้ 1) ผู้เรียนมีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 87.97 ตารางที่ 2.4 แสดงผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ปีการศึกษา 2565 ชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ม.1 59 37 22 0 0 ม.2 45 39 6 0 0 ม.3 113 68 45 0 0 ม.4 107 53 19 35 0 ม.5 73 32 12 29 0 ม.6 59 42 17 0 0 รวม 456 271 121 64 0 ร้อยละ 100 59.43 26.54 14.04 0.00 จากตารางที่ 2.4 แสดงผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ปีการศึกษา 2565 พบว่า นักเรียนทุกชั้นปีมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 85.97 2) ผู้เรียนมีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการคิดระดับดีขึ้นไป ร้อย ละ 94.85 3) ผู้เรียนมีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการแก้ปัญหาระดับดีขึ้น ไป ร้อยละ 94.85 4) นักเรียนได้เข้าร่วมแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และได้รับรางวัลในระดับต่าง ๆ อาทิ - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 การแข่งขันโครงงานคณิตศาสตร์ประเภททฤษฎี หรือคำอธิบาย ทางคณิตศาสตร์ระดับ ม.1 – 3, โครงงานคณิตศาสตร์ประเภททฤษฎี หรือคำอธิบายทางคณิตศาสตร์ระดับ ม.4 – 6 การเเข่งขันทักษะวิชาการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ระดับพื้นที่การศึกษา สหวิทยาเขต ดอยสามหมื่น - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ม.4 – 6 การเเข่งขันทักษะวิชาการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ระดับพื้นที่การศึกษา สหวิทยาเขตดอยสาม หมื่น - รางวัลเกียรติบัตรเหรียญทอง การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ม.1-3,
20 - รางวัลเกียรติบัตรเหรียญเงิน การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ม.1-3 - รางวัลเกียรติบัตรเหรียญทองแดง การแข่งขันเวทคณิต ระดับ ม.1-3, การแข่งขันซูโดกุ ระดับ ม.1-3, การแข่งขันซูโดกุ ระดับ ม.4-6, การแข่งขันต่อสมการคณิตศาสตร์ (เอแม็ท) ระดับ ม.1-3, การแข่งขัน ต่อสมการคณิตศาสตร์ (เอแม็ท) ระดับ ม.4-6,การแข่งขันสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ระดับ ม.1-3 3) ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้พัฒนาความสามารถในการสร้างนวัตกรรม โดยมีการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ด้วย Active Learning จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ รวบรวมความรู้ สร้างองค์ความรู้ใหม ่ให้เกิดขึ้นด้วยตนเองและทีม มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์แล้วนำความรู้และประสบการณ์มาใช้สร้างผลงานและนวัตกรรมใหม่ ๆ ขึ้นมา นอกจากนี้โรงเรียนยัง ได้พัฒนาความสามารถของนักเรียนผ่านกิจกรรมการแข่งขันโครงการต่าง ๆ เช่น การเเข่งขันทักษะวิชาการ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5 การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน เป็นต้น 2. ผลการดำเนินงาน จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมโครงการต่าง ๆ ส่งผลให้นักเรียนมี ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ผลงาน การนำเสนอ และเผยแพร่จัดแสดงในกิจกรรมและการแข่งขันต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนฝึกทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ และสร้างสรรค์ผลงาน ชิ้นงาน รวมถึงโครงงานต่าง ๆ มากมาย อีกทั้งโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยายังได้จัด ให้มีชุมนุมโครงงานวิทยาศาสตร์เพื ่อให้ผู้เรียนได้ทดลอง สืบเสาะหาความรู้ และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สนับสนุนให้นักเรียนได้แสดงทักษะ ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ในการแข่งขันต่าง ๆ ทั้งในระดับกลุ่มสังกัด เขต และระดับจังหวัด ระดับภาค เป็นต้น พบว่าผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ร้อยละ 83.77 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม บรรลุตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนดไว้ 4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนได้พัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักเรียน ด้วยการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกชั้นเรียน จัด กิจกรรมที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกต้อง สร้างสรรค์ผลงาน การสื่อสาร และมี คุณธรรม โดยในปีการศึกษา 2565 นี้ทางโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ระบบเครือข่าย และคอมพิวเตอร์ จากกองคลัง สำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อใช้ในการปรับปรุงระบบ อินเทอร์เน็ตของโรงเรียน รองรับการใช้งานของคณะครูและนักเรียนอย ่างทั ่วถึง และเพิ ่มจุดบริการศูนย์
21 คอมพิวเตอร์ให้เพียงพอต่อความต้องการใช้งานของนักเรียน รองรับการใช้งานด้านการสืบค้นข้อมูลและการใช้ สื่อเทคโนโลยีของนักเรียนมากขึ้น 2. ผลการดำเนินงาน จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ ใช้ทักษะ เพื่อการศึกษาค้นคว้า การเขียนรายงานและการอ้างอิงและสามารถใช้ทักษะสื่อสารในด้านการพูด การฟัง การ อ่าน การเขียน การติดต่อสื่อสารอย่างสร้างสรรค์และมีคุณธรรม พบว่า ผู้เรียนที่มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ร้อยละ 92.73 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม บรรลุตามเป้าหมายที่โรงเรียน กำหนดไว้ดังข้อมูลต่อไปนี้ ตารางที่ 2.4 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถใน การใช้เทคโนโลยีในระดับดีขึ้นไป ทุกระดับชั้น ภาคเรียน 1 ปีการศึกษา 2565 ชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ม.1 36 24 12 0 0 ม.2 24 23 1 0 0 ม.3 58 38 20 0 0 ม.4 57 26 14 17 0 ม.5 38 23 15 0 0 ม.6 34 26 8 0 0 รวม 247 160 70 17 0 ร้อยละ 100 64.78 28.34 6.88 0 จากตารางที ่ 2.4 แสดงร้อยละของผู้เรียนที ่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้าน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในระดับดีขึ้นไป ทุกระดับชั้น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 พบว่า นักเรียนทุกชั้นปีมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 93.12 ตารางที่ 2.5 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถใน การใช้เทคโนโลยีในระดับดีขึ้นไป ทุกระดับชั้น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ม.1 23 15 8 0 0 ม.2 21 20 1 0 0 ม.3 55 37 18 0 0
22 ชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ม.4 50 23 11 16 0 ม.5 35 21 14 0 0 ม.6 25 21 4 0 0 รวม 209 137 56 16 0 ร้อยละ 100 65.55 26.79 7.66 0 จากตารางที ่ 2.5 แสดงร้อยละของผู้เรียนที ่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้าน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในระดับดีขึ้นไป ทุกระดับชั้น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 พบว่า นักเรียนทุกชั้นปีมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 92.34 5) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยการเริ่ม จากการบริหารหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที ่สอดคล้องกับหลักแกนกลางการศึกษาขึ้น พื้นฐานและจัดแผนการเรียนที่ตอบสนองต่อศักยภาพและความต้องการของนักเรียน และชุมชนท้องถิ่น จัดให้ มีระบบการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ด้วย Active Learning จัดให้มีระบบนิเทศติดตามการนำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน รวมถึงส่งเสริมให้ครูผลิต พัฒนาสื่อ และนวัตกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาให้เต็มศักยภาพ จัดตั้งและ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน ให้ครอบคลุมภูมิปัญญาท้องถิ่น และ ส ่งเสริมให้ครูจัดการวัดประเมินผลให้เป็นไปตามหลักการวัดประเมินผลหลักสูตรและตามบริบทของ สถานศึกษา นอกจากนี้ยังได้จัดโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้าน พระพุทธศาสนา (B-NET) โดยปรับหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา ตามความ ต้องการของผู้เรียนและตามบริบทของสถานศึกษา โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ทั้งด้านวิชาสามัญและด้าน พระพุทธศาสนา 2. ผลการดำเนินงาน โรงเรียนวัดแม ่ริมวิทยาสามารถจัดการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา ในระดับคุณภาพ ดีคือนักเรียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) สูงกว่าเป้าหมายของโรงเรียนที่ตั้ง ไว้แต่ร้อยละของผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่ระดับน่าพอใจ (เกรด 2) ขึ้นไป ต่ำกว่าเป้าหมายที่ โรงเรียนตั้งไว้
23 ตารางที่ 2.6 แสดงร้อยละของผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2565 ตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป ชั้น จำนวน นักเรียน ร้อยละผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ ภาษาอังกฤษ บาลี พุทธประวัติ ธรรม วินัย ม.1 59 54 47 36 54 48 33 27 46 48 43 51 40 ม.2 45 45 20 25 33 33 21 27 26 32 38 37 31 ม.3 113 30 49 96 83 102 45 103 87 92 88 101 37 ม.4 107 107 78 62 82 86 31 99 63 83 86 86 32 ม.5 73 40 45 44 52 45 27 65 45 62 57 57 38 ม.6 59 59 46 33 36 49 38 50 44 58 59 59 57 รวม 456 335 285 296 340 363 195 371 311 375 371 391 235 ร้อยละ 100 73.5 62.5 68.7 74.6 79.6 42.8 81.4 68.2 82.2 81.4 85.8 51.5 *หมายเหตุ รายวิชาวิทยาศาสตร์ คำนวณร้อยละโดยใช้จำนวนนักเรียน 431 รูป จากตารางที่ 2.6 แสดงร้อยละของผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปี การศึกษา 2565 ตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 71.00 ตารางที่ 2.7 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงกว่า ค่าเฉลี่ยระดับสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ชั้น จำนวน นักเรียน วิชา คะแนนเฉลี่ย ของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ย ระดับสังกัดฯ ร้อยละของนักเรียนที่คะแนนสูง กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัดฯ ม.6 25 ภาษาไทย 42.97 36.42 68.00 คณิตศาสตร์ 20.45 16.75 64.00 วิทยาศาสตร์ 25.20 24.81 56.00 สังคมศึกษาฯ 34.36 30.75 80.00 ภาษาอังกฤษ 20.65 20.29 52.00 เฉลี่ย 64.00 จากตารางที่ 2.7 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เฉลี่ยร้อย ละ 64.00 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับสังกัดสำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ
24 ตารางที่ 2.8 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ชั้น จำนวน นักเรียน วิชา คะแนนเฉลี่ย ของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ร้อยละของนักเรียนที่คะแนนสูง กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ม.3 23 ภาษาบาลี 27.57 32.85 17.39 ธรรม 33.57 32.31 69.57 พุทธประวัติ 30.70 30.65 52.17 วินัย 37.83 35.15 65.22 ม.6 25 ภาษาบาลี 26.56 29.64 36.00 ธรรม 39.20 34.62 60.00 พุทธประวัติ 40.08 36.68 52.00 วินัย 37.20 34.12 60.00 เฉลี่ย 51.54 จากตารางที ่ 2.8 แสดงร้อยละของผู้เรียนที ่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้าน พระพุทธศาสนา (B-NET) สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เฉลี่ยร้อยละ 51.54 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (BNET) สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 1. กระบวนการพัฒนา นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ด้วยการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ใน อาชีพที่ตนเองสนใจ เห็นคุณค่าและความสำคัญของอาชีพสุจริต เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายในการเตรียม ความพร้อมในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น หรือการประกอบอาชีพ โรงเรียนจึงได้ดำเนินการ ดังนี้ 1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญของทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ด้วยวิธีการอัน หลากหลายตามธรรมชาติของแต่ละวิชา จัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง วัดและประเมินผลตามสภาพจริง ทำให้ ได้ฝึกประสบการณ์การทำงานทั้งในระบบกลุ่มและรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง ขั้นตอนและกระบวนการวัดและ ประเมินผลจากสภาพจริง เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ทำงานอย ่างสร้างสรรค์ มีการประเมินผลงานและ ข้อเสนอแนะจากหลายฝ่ายทั้งตนเอง เพื่อน และครู ทำให้นักเรียนมีโอกาสแก้ไขและพัฒนางาน มีความมุ่งมั่น ความเพียรพยายาม ความอดทนและมีความละเอียดรอบคอบ และภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง 2) การจัดกิจกรรมแนะแนว ซึ ่งเป็นกิจกรรมที ่ส ่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียนและอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่มุ่งส่งเสริม พัฒนาผู้เรียนให้พัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ รักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น พึ่งตนเอง มีทักษะในการ เลือกแนวทางการศึกษา อาชีพส ่วนตัวและสังคม มีสุขภาพจิตที ่ดี และมีจิตสำนึกในการทำประโยชน์ต่อ ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ
25 3) การจัดกิจกรรมชุมนุม ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถตามความ ถนัดและความสนใจของผู้เรียน เพื่อฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะที่หลากหลาย สามารถทำงานร่วมกันบนพื้นฐานของ ความแตกต่างระหว่างบุคคล รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อย่างเต็มที่และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงผลงาน ความสามารถของตนเองผ่านกิจกรรมชุมนุม ซึ่งเป็นที่ ยอมรับของตัวผู้เรียน คณะครู ผู้ปกครอง และชุมนุม 2. ผลการดำเนินงาน นักเรียนมีความพร้อมในการศึกษาต ่อ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเป้าหมายที ่โรงเรียนตั้งไว้ มี ทัศนคติที่ดีต่อการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ มีการวางแผนการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพใน อนาคตอย่างชัดเจน ดังสรุปผลดังนี้ ตารางที่ 2.9 แสดงข้อมูลการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ปี การศึกษา 2565 ที่ ข้อมูลการศึกษา/ประกอบอาชีพ จำนวน (รูป/คน) ร้อยละ 1 โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา 42 52.5 2 วิทยาลัยเทคนิค เชียงใหม่ 2 2.5 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 4 5.0 4 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2 2.5 5 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ 5 6.25 6 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา 5 6.25 7 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1 1.25 8 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1 1.25 9 โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม 4 5.0 10 ประกอบอาชีพ 12 15.0 11 ดำรงสมณเพศ 2 2.5 รวม 80 100 จากตารางที่ 2.9 แสดงข้อมูลการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ปีการศึกษา 2565 พบว่า นักเรียนร้อยละ 83.00 สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น นักเรียน ร้อยละ 15.00 สามารถประกอบอาชีพตามความสามารถและความสนใจของตนเองได้ และนักเรียนร้อยละ 2.5 ดำรงสมณเพศ เป็นศาสนทายาท ช่วยดำรง รักษาและเผยแผ่หลักธรรม คำสอนของพุทธศาสนาต่อไป ตารางที่ 2.10 แสดงรายชื่อกิจกรรมชุมนุมของโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ที่ รายชื่อชุมนุม จำนวนสมาชิก จำนวนนักเรียนที่ผ่าน กิจกรรมชุมนุม 1 ช่างจักสาน 10 10 2 เชิดชูพุทธศาสตร์ 10 10 3 ภาษาล้านนา 10 10 4 English communication 12 12 5 ภาษาญี่ปุ่น 10 10 6 วาทศิลป์ 10 10
26 ที่ รายชื่อชุมนุม จำนวนสมาชิก จำนวนนักเรียนที่ผ่าน กิจกรรมชุมนุม 7 คณิตคิดสนุก 10 10 8 English games 11 11 9 ช่างดุลลาย 10 10 10 ช่างดอกไม้ไหว 13 13 11 โครงงานสุขศึกษา 10 10 12 อิเล็กทรอนิกส์ 10 10 13 ยุวบรรณารักษ์ 12 12 14 สวดมนต์ล้านนา 10 10 15 ถ่ายภาพ 11 11 16 DIY 10 10 17 โครงงานวิทยาศาสตร์ 10 10 18 สตาร์อัพ (Start-Up) 10 10 19 ดาราศาสตร์ 10 10 20 ช่างปั้น 10 10 รวม 209 209 จากตารางที่ 2.10 แสดงรายชื่อกิจกรรมชุมนุมของโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา พบว่า นักเรียนที่ผ่าน กิจกรรมชุมนุม คิดเป็นร้อยละ 100 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง (มาตรฐานที่ 1.1) 1) โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน • จัดทำหลักสูตรและปรับพื้นฐานความรู้ทุกกลุ่มสาระ • จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้โดยสอดแทรกแนวข้อสอบวิชาพระพุทธศาสนา (B-net) และ วิชา สามัญ(O-net) • จัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ • จัดสอบความรู้พื้นฐาน • จัดสอบความรู้วิชาพระพุทธศาสนา (B-net) และวิชาสามัญ (O-net) • นักเรียนทดสอบระดับชาติวิชาพระพุทธศาสนา (B-net) และวิชาสามัญ(O-net) 2) แบบรายงานการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (ปพ.5) 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกรายวิชา 4) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) และผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) 4. จุดเด่น 1) ด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทย และการคิดคำนวณ มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ของ โรงเรียน ได้ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม โดยในแต่ละระดับการศึกษามีกระบวนการพัฒนาทักษะต่าง ๆ อย่างเป็น
27 ระบบ มีการจัดกิจกรรมในห้องเรียน โครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย ส่งเสริมพัฒนาการอ่าน การเขียน การสื่อสารและคิดคำนวณของนักเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ 2) ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ คิดอย ่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี ่ยนความคิดเห็น และ แก้ปัญหา ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกัน ส่งเสริมให้เกิดทักษะการทำงาน ร่วมกัน 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที ่ 6 เฉลี ่ยร้อยละ 64.00 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้น พื้นฐาน (O-NET) สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เฉลี่ยร้อยละ 51.54 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้าน พระพุทธศาสนา (B-NET) สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายของโรงเรียนที่ตั้งไว้ 5. จุดควรพัฒนา 1) การจัดการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเอง ครูจึงต้องมีการตรวจสอบ ข้อมูลอย่างแท้จริง ว่าชิ้นงานที่นักเรียนทำ เป็นสำนวนภาษาของนักเรียนจริง ไม่คัดลอกข้อมูลของผู้อื่นมาส่ง โดยที่ไม่มีการนำข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์จึงต้องใช้เวลาในการตรวจชิ้นงานมากขึ้น ส่วนการนำเสนอและการ สื่อสารนักเรียนบางคนไม่กล้าแสดงออก จึงมีปัญหาในการพูดต่อหน้าชุมชน หรือบางคนยังไม่สามารถพูดและ สื่อสารภาษาไทยได้คล่อง จึงมีปัญหาในการเรียนการสอนในบางรายวิชา 3) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงยิ่งขึ้นและพัฒนาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) ให้สูงยิ่งขึ้น 6. แนวทางการพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้น 1) จัดให้มีการอบรม เสริมสร้างทักษะ ความรู้ความสามารถของครูผู้สอนทั้งในด้านการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษา สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน อีกทั้งปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความทันสมัย ทันต่อความ เปลี ่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี ด้านเนื้อหาวิชาการ มุ ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ ่านประสบการณ์ตรง มี ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ นำไปประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน ในการศึกษาต่อใน ระดับที่สูงขึ้นและในการประกอบอาชีพ 2) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผลการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) ตามโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้าน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดทำหลักสูตรและปรับพื้นฐานความรู้ทุกกลุ่มสาระ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ โดยสอดแทรกแนวข้อสอบวิชาพระพุทธศาสนาและวิชาสามัญ จัดการนิเทศภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง เป็นระบบขั้นตอน และเปิดโอกาสให้ครูผู้สอนทุกท่านมีส่วนร่วมในการนิเทศภายในสถานศึกษา เพื่อร่วมกัน พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมและสถานศึกษา
28 3) ส่งเสริมต่อยอดนักเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน และการสื่อสารให้คล่องมากขึ้น โดยการ สร้างโอกาสให้นักเรียนได้แสดงว ่าสามารถในการสื ่อสารด้วยความเชื ่อมั ่นในตนเองอย ่างต ่อเนื ่อง ทั้งใน ห้องเรียนและนอกห้องเรียนอย่างเหมาะสม 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ๑) มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 1. กระบวนการพัฒนา การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนวัดแม ่ริมวิทยา นอกจากจะได้รับการ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีให้แก่นักเรียนในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ ยังมีการ สอดแทรกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ ่านทางกิจกรรมต ่าง ๆ ของโรงเรียนรวมทั้งงานสภานักเรียน เช่น โครงการปฏิบัติธรรมประจำปีโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย กิจกรรมไหว้ ครู กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา กิจกรรมจิตอาสาและสาธารณประโยชน์เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้ถือ เป็นกิจกรรมที่นักเรียนโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ส่งเสริมให้นักเรียนมีความสนใจใน เรื ่องการเห็นประโยชน์ส ่วนรวมมาเป็นหนึ ่งก ่อนประโยชน์ส ่วนตน โดยกิจกรรมนี้ได้รับการกลั ่นกรองและ พิจารณาจากคณะผู้บริหาร ฝ่ายกิจการนักเรียน คณะครูและผู้ปกครอง โรงเรียนได้จัดให้มีกิจกรรมสาธยายธรรมในตอนเช้าของทุกวัน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบใน ตนเอง มีคุณธรรมประจำใจ ฝึกฝนจิตใจและสมาธิให้ตั้งมั ่นอยู ่กับตนเองอยู ่ตลอดเวลา อีกทั้งยังเป็น กระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนขั้นสูงสุด สั่งสมสุตตะและเจริญจิตภาวนา ก่อนเริ่มกิจกรรมการเรียนการ สอน 2. ผลการดำเนินงาน จากการที่นักเรียนได้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ เช่นโครงการปฏิบัติธรรมประจำปี โครงการ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมส ่งเสริมประชาธิปไตย กิจกรรมไหว้ครู กิจกรรมวันสำคัญทาง พระพุทธศาสนา กิจกรรมจิตอาสาและสาธารณประโยชน์เป็นต้น พบว่าผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิมยมที่ดี ตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรมเคารพในกฎ กติกา มีค่านิมและจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนดโดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม โดยมี รายละเอียดข้อมูลคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ดังนี้ ตารางที่ 2.11 แสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรฯ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ม.1 36 23 13 0 0 ม.2 24 22 2 0 0 ม.3 58 49 9 0 0 ม.4 57 37 3 17 0
29 ชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรฯ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ม.5 38 23 15 0 0 ม.6 34 23 11 0 0 รวม 247 177 53 17 0 ร้อยละ 100 71.66 21.46 6.88 0 จากตารางที ่ 2.11 แสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคเรียนที ่ 1 ปีการศึกษา 2565 พบว ่า นักเรียนร้อยละ 93.12 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐานในระดับดีขึ้นไป ตารางที่ 2.12 แสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรฯ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ม.1 23 13 10 0 0 ม.2 21 19 2 0 0 ม.3 55 47 8 0 0 ม.4 50 31 3 16 0 ม.5 35 21 14 0 0 ม.6 25 19 6 0 0 รวม 209 150 43 16 0 ร้อยละ 100 71.77 20.57 7.66 0 จากตารางที่ 2.12 แสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 พบว่า นักเรียนร้อยละ 92.34 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานใน ระดับดีขึ้นไป 2) มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนได้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ฝึกฝนทักษะความสามารถในรายวิชาช่างสิบหมู่ เป็นประจำ ทุกปีตลอดจนจัดกิจกรรมชุมนุมที่ส่งเสริม สนับสนุนและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีของไทยและของท้องถิ่น ภาคเหนือ ยกตัวอย่าง ชุมนุมช่างจักสาน ชุมนุนภาษาล้านนา ชุมนุมช่างดุลลาย ชุมนุมดอกไม้ไหว ชุมนุมสวด มนต์ล้านนา เป็นต้น และโรงเรียนได้มีโอกาสให้นักเรียนได้แสดงผลงาน ทักษะ ความสามารถที่ตนเองได้เรียนรู้ ในกิจกรรมสำคัญภายในโรงเรียนและชุมชนของหน ่วยงานภายในและหน ่วยงานภายนอก การแต ่งกายที่ เรียบร้อยเป็นปริมณฑล ตามเอกลักษณ์ของโรงเรียนที่ว่า “นักเรียนแต่งกายเรียบร้อย เป็นปริมณฑล” และนำ ผู้เรียนไปทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่สำคัญ ๆ ในจังหวัดเชียงใหม่
30 2. ผลการดำเนินงาน ผู้เรียนร้อยละ 95.69 มีความภูมิใจในท้องถิ ่นและความเป็นไทย เข้าร ่วมกิจกรรมวันสำคัญตาม ประเพณีของท้องถิ ่น มีส ่วนร ่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาไทยและแสดงออกได้ เหมาะสมในชีวิตประจำวัน 3) ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 1. กระบวนการพัฒนา ส่งเสริมกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมและการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้สามารถปรับตัวเข้ากับ เพื ่อนในโรงเรียนได้อย ่างมีความสุข นำไปสู ่งการยอมรับที ่จะอยู ่ร ่วมกันบนความแตกต ่างของบุคคลต ่าง วัฒนธรรมและความหลากหลายและยอมรับฟังเหตุผลซึ่งกันและกัน อีกทั้งได้มีส่วนร่วมในการระดมความคิด รวบยอดสร้างมนุษยสัมพันธ์อันดีในการร ่วมมือกันปฏิบัติทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนได้อย ่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โรงเรียนมีสภานักเรียน กิจกรรมปฐมนิเทศนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 กิจกรรมไหว้ครู กิจกรรมแห่เทียนพรรษา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกัน ปรับตัวเข้าหากันและ สามารถอยู่ร่วมกันภายในโรงเรียนได้อย่างมีความสุข 2. ผลการดำเนินงาน ผู้เรียนร้อยละ 91.87 ยอมรับที ่จะอยู ่ร ่วมกันบนความแตกต ่างและหลากหลายในระดับ ดีขึ้นไป นักเรียนเข่าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ส่งเสริมให้เกิดการยอมรับเหตุผล มีมนุษยสัมพันธ์อันดีในการอยู ่ร่วมกัน ปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน ทำให้นักเรียนสามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อน ปรับตัวอยู่ในโรงเรียนได้อย่าง มีความสุข นำไปสู่การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลายระหว่างบุคคลในด้านวัย เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม และประเพณี 4) มีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม 1. กระบวนการพัฒนา สร้างภูมิทัศน์ บรรยากาศ สิ่งแวดล้อม ปรับปรุงอาคารสถานที่ให้สวยงาม สะอาดและทันสมัย เอื้อให้ เกิดการเรียนรู้และประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โรงเรียนมี ครูประจำห้องพยาบาลที่คอยแนะนำเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง มีกิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ อนามัย กิจกรรมคัดกรองสุขภาพ กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักรักและดูแลรักษาตนเอง 2. ผลการดำเนินงาน ผู้เรียนร้อยละ 94.26 มีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคมในระดับดีขึ้นไป นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน นักเรียนรู้จักการดูแลตนเอง รักษาความสะอาดของร่างกาย แต่งกายเรียบร้อย มี ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ส่งผลให้มีทักษะการจัดการกับอารมณ์และความเครียด ส่งผลให้มีอารมณ์และ
31 สุขภาพจิตที่ดีอยู่เสมอ สามารถรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์และสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสม ในแต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้งกับผู้อื่น 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง (มาตรฐาน 1.2) 1) รายงานสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2) ผลงานการจัดกิจกรรมชุมนุมช่างจักสาน ชุมนุนภาษาล้านนา ชุมนุมช่างดุลลาย ชุมนุมดอกไม้ไหว ชุมนุมสวดมนต์ล้านนา 3) รายงานสรุปโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4) รายงานสรุปโครงการปฏิบัติธรรมประจำปี 5) รายงานสรุปโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัย 6) กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย 4. จุดเด่น 1) โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้ดำเนินการปลูกฝังคุณลักษณะและค่านิยมอันพึงประสงค์ โดยสอดแทรก ในกิจวัตรประจำวัน ตั้งแต่กิจกรรมเข้าแถว สาธยายธรรม การนั่งสมาธิเจริญสติ การจัดกระบวนการเรียนรู้ การให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่าง ๆ การปฏิบัติตามข้อตกลง ระเบียบ ข้อบังคับของโรงเรียน การดูแลรักษา สุขภาพร่างกายของตนเอง การรักษาความสะอาด การแต่งกายเรียบร้อยเป็นปริมณฑลที่แสดงถึงความเป็น เอกลักษณ์ของนักเรียนโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาที่ปรากฏชัดเจนเป็นรูปธรรมเป็นที่ยอมรับของชุมชนโดยรอบ 2) นักเรียนเกิดการเรียนรู้ สู่ทักษะการปฏิบัติจริง มีโอกาสแสดงความสามารถและแสดงผลงานของ ตนเองผ่านกิจกรรมชุมนุมที ่หลากหลายตามความสนใจของนักเรียน เช่น ชุมนุมช่างจักสาน ชุมนุนภาษา ล้านนา ชุมนุมช่างดุลลาย ชุมนุมดอกไม้ไหว ชุมนุมสวดมนต์ล้านนา เป็นต้น 3) มีกระบวนการและกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ตามบริบท ของสถานศึกษาและมีอัตลักษณ์ของนักเรียน กล่าวคือ ผู้เรียนมีระเบียบวินัย มีความรู้ มีคุณธรรม 5. จุดควรพัฒนา 1) ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้แก่นักเรียนใหม่ โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เพื่อให้รับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรม ความเป็นมาและรูปแบบกิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียนได้จัดขึ้น 2) กิจกรรมเสริมในการเสริมสร้างและพัฒนาผู้เรียนควรมีความใหม ่ ตรงประเด็น ทันสมัยและ เชื่อมโยงกันทั้งระบบ 6. แนวทางการพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้น 1) จัดกิจกรรมที่ตรงตามความต้องการของนักเรียนโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยามากขึ้น เพื่อให้นักเรียนเกิด ความสนใจ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และกล้าแสดงศักยภาพของตนเองอย่างเหมาะสม 2) จัดทำโครงการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมให้แก่นักเรียน โดยเน้นการมีส่วนร่วม ของนักเรียนให้มากขึ้น
32 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 2 /ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ สรุปผลการ เป้าหมาย ผลการประเมิน ประเมิน 2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ สถานศึกษากำหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของ สถานศึกษา ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพ ผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ ทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ต่ำกว่าเป้าหมาย 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม ดี ต่ำกว่าเป้าหมาย 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ต่ำกว่าเป้าหมาย สรุปผลการประเมิน มาตรฐานที่ 2 ดีเลิศ 2.1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนวัดแม ่ริมวิทยาได้มีการวางแผนการทำงานอย ่างเป็นระบบ โดยแต ่งตั้งคณะกรรมการ วิเคราะห์ SWOT สำรวจปัญหาและความต้องการตามบริบทของโรงเรียนกำหนดภาพความสำเร็จ เป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ รวมทั้งเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของโรงเรียน จากการระดมความคิดของบุคลากรที่มี ส่วนได้ส่วนเสียในโรงเรียน ดำเนินการตามแผนงาน โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ จัดโครงการกิจกรรมการเรียน การสอนเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ มีการวางแผน/โครงการ/กิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น เพื่อ พัฒนาและส ่งเสริมโรงเรียนให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น โดยบุคลากรทุกฝ่ายที ่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนประชุม ร่วมกันกำหนดแนวทางในการพัฒนา ส่งเสริม ป้องกันและแก้ปัญหา ซึ่งบุคลากรทุกฝ่ายให้การสนับสนุนและให้ ความร่วมมือเป็นอย่างดี และมีการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถและทักษะที่จำเป็น ต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เช่น ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ได้แก ่ นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ (Creativity and Innovation) การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ก า รสื ่อส า รแล ะก า ร ร ่วมมือกัน (Communication and Collaboration) ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี (information Media and Technology Skills) และทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพ (Life and Career Skills) โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาตามประเด็น พิจารณาไว้ดังนี้
33 1) กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาของ โรงเรียน ความต้องการของชุมชนท้องถิ่น และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา เขต 5 2) มีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับ การพัฒนาผู้เรียน ทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ข้อมูลสารสนเทศ ดำเนินการอย่างเป็นระบบมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้และมีการจัดสภาพแวดล้อม ทางกายภาพและแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ที่กระตุ้นผู้เรียนให้ไฝ่เรียนรู้ 3) มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพ ปัญหา ความต้องการพัฒนาและตามนโยบาย โดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการปรับปรุงพัฒนาและร ่วม รับผิดชอบ 4) โรงเรียนมีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสม เป็นระบบและต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 6) โรงเรียนมีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางวิสัยทัศน์ อัตลักษณ์และ เอกลักษณ์ของโรงเรียน 2. ผลการดำเนินงาน ผลจากระบวนการบริหารที่มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ตรงกับวัตถุของ แผนการศึกษาระดับชาติ ยุทธศาสตร์ของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห ่งชาติ ยุทธศาสตร์ของสำนักเขต การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5 รวมทั้งทันต ่อการเปลี ่ยนแปลงของสังคม รวมถึง สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น การบริหารงานของโรงเรียนแบ่งโครงสร้างการบริหารงานที่ ชัดเจน มีการจัดวางตัวบุคคลเข้าปฏิบัติงาน มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับภาระงานของทุกฝ่าย เป็นไป ในทางที่ส่งเสริมให้เกิดผลสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการและบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ มีการ ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานต่าง ๆ นำมาปรับปรุงการทำงาน การปฏิบัติงาน ผู้บริหารสามารถปฏิบัติงาน ตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง 1) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2) แผนปฏิบัติการประจำปี 3) โครงการพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการ 4. จุดเด่น 1) โรงเรียนมีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางวิสัยทัศน์ อัตลักษณ์และ เอกลักษณ์ของโรงเรียน
34 2) โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมรส่วนร่วม การประชุม ระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มี การปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพ ปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายของต้นสังกัด ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน การเรียนรู้ของสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. จุดควรพัฒนา 1) พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและรวดเร็วใน การสื่อสาร 2) ให้มีการวางแผน ดำเนินการ กำกับ ติดตาม และตรวจสอบการนำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาไป ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ 3) การวางแผนการบริหารและจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ในการจัดการเรียนการสอน กิจกรรมและโครงการต ่าง ๆ เพื ่อให้ผู้บริหาร ครู และผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจอย ่างเป็นรูปธรรมและ ต่อเนื่อง 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ตะหนักถึงความสำคัญของการจัดระบบบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา จึงได้นำกระบวนการบริหารงานแบบมีส ่วนร ่วม และน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ภายใต้วงจรคุณภาพ (PDCA) จัดโครงสร้างการบริหารที่สอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจและเป้าหมาย ของสถานศึกษา แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องและเชื่อมโยงของสายงาน มีความครอบคลุมขอบข ่ายและ ภารกิจหลักของสถานศึกษา มอบหมายงานแก่บุคลากรตามโครงสร้างการบริหารงาน ร่วมวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี มีการจัดสรรทรัพยากร สนับสนุนการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ และจัดให้มีระบบควบคุมภายใน นิเทศ กับกำ ติดตาม ประเมินผล รายงานการปฏิบัติงาน นำผลที ่ได้มา ปรับปรุงและพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้บรรลุเป้าหมายและมี คุณภาพ ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และประสิทธิผลของโรงเรียนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 2. ผลการดำเนินงาน โรงเรียนบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ ทั้งในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การ นำแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่าง ต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศ ภายใน การนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนา และร่วมรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษา
35 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง 1) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2) แผนปฏิบัติการประจำปี 3) รายงานสารสนเทศประจำปีของโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา 4) โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 4. จุดเด่น โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยามีการบริหารและการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ เน้นการมีส่วนร่วมทุกภาค ส่วน เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดำเนินการ นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา 5. จุดควรพัฒนา 1) ประสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนให้ผู้ปกครอง ชุมชนและทุกภาคส่วนได้รับรู้และชื่นชม ประสิทธิภาพที่เกิดจากการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ 2.3 ดำเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษา 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรังปรุง พ.ศ. 2560) เนื่องจากเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการขับเคลื่อนประเทศไทยโดยการสร้าง รายได้จากนวัตกรรมเป็นหลัก หรือที่เรียกว่า ไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งจำเป็นต้องสร้างกำลังคนที่มีความเข้มแข็ง เป็น ฐานในการสร้างนวัตกรรม โรงเรียนจึงปรับหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ ที่ประกอบด้วยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้แก่ ผู้อำนวยการ โรงเรียน รองผู้อำนวยการ หัวหน้ากลุ ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้างานต ่าง ๆ ที ่เกี ่ยวข้อง จัดทำและพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษาที่มีโครงสร้าง องค์ประกอบของหลักสูตรครบถ้วน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการ ศึกษาชาติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรังปรุง พ.ศ. 2560) สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดเน้นของสถานศึกษา ผ่าน ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนและนำไปสู่การปฏิบัติ โดยครูนำไปจัดทำ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ลำดับเนื้อหาสาระตามกระบวนการเรียนรู้ บูรณาการสภาพปัญหาและความ ต้องการของท้องถิ ่นในรายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชาเพิ ่มเติมอย ่างเหมาะสม กำหนดรายวิชาเพิ ่มเติมและ
36 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่มีเนื้อหา สาระการเรียนรู้ กิจกรรมเหมาะสมตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาของ นักเรียนทุกระดับชั้นอย่างหลากหลาย เพียงพอตามความต้องการ ความถนัดและความสนใจ และตืดตาม ประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา นำข้อมูลผลการประเมินไปทบทวน ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา 2. ผลการดำเนินงาน ในด้านคุณภาพ โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที ่ประกอบด้วยโครงสร้าง และองค์ประกอบของ หลักสูตรครบถ้วน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรังปรุง พ.ศ. 2560) สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดเน้นของสถานศึกษา กำหนดเวลาเรียนเหมาะสมกับระดับชั้นเรียน และครูนำไปจัดทำ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ลำดับเนื้อหาสาระตามกระบวนการเรียนรู้ บูรณาการสภาพปัญหาและความ ต้องการของท้องถิ่นอย่างเหมาะสม นักเรียนได้มีส่วนร่วมทุกรายวิชา มีโอกาสลงมือปฏิบัติกิจกรรม มีผลงาน โครงงาน โครงการที่แสดงให้เห็นการอธิบายวิธีคิดและสรุปความคิดของผู้เรียน ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทุกด้าน ความศักยภาพ ความถนัดและความสนใจ และมีการติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา นำข้อมูล การประเมินไปทบทวน ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ในด้านปริมาณ บรรลุผลดังนี้ 1) ผู้เรียนร้อยละ 100 ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมชุมนุม มีความกระตือรือร้นและสนใจเข้า ร่วมกิจกรรมที่ตนเองถนัดและสนใจ 2) ผู้เรียนร้อยละ 95.69 ให้ความร่วมในการทำกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้น 3) ผู้เรียนร้อยละ 92.77 ที่เป็นตัวแทนโรงเรียนเข้าแข่งขันทักษะวิชาการได้ประสบความสำเร็จได้รับ เหรียญรางวัล 3. เอกสาร หลักฐาน ร้องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง 1) หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา 2) ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3) ผลการประเมินทักษะการอ่าน การคิด วิเคราะห์ 4) โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5) โครงการปฏิบัติธรรมประจำปี 6) โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4. จุดเด่น 1) โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่มีรายวิชาเพิ่มเติมหลากหลาย ส่งเสริมพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถตามความต้องการของผู้เรียน 2) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน ความศักยภาพ ความถนัดและความสนใจ
37 5. จุดควรพัฒนา 1) ควรมีการกับ ติดตาม และประเมินผลอย่างมีคุณภาพ โดยมีร่องรอย 2) ควรนำระบบตรวจสอบการนำข้อมูลย้อนกลับไปพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนมีการวางแผนและดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาร่วมกันระหว่างโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทาง ในการวางแผนพัฒนาครูและบุคลากร ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาให้มีความ เชี ่ยวชาญทางวิชาชีพ โดยการเข้าร ่วมอบรม ประชุม สัมมนาทางวิชาการ จากหน ่วยงานทั้งภายในและ ภายนอกอย่างสม่ำเสมอ สนับสนุนให้ครูใช้เทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และสนับสนุนให้ทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ส่งเสริมให้ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้สร้างนวัตกรรม เพื่อใช้ในการเรียนการสอน เช่น บทเรียนสำเร็จรูป เอกสารประกอบการเรียน ชุดกิจกรรม ฯลฯ ส ่งเสริมให้ บุคลากรศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น โรงเรียนได้จัดระบบการเรียนรู้และพัฒนาของโรงเรียนโดยคำนึงถึงสมรรถนะหลัก คือสอนตรงตาม วิชาเอก ปฏิบัติงานตามความรู้ความสามารถและเต็มศักยภาพ มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี มีกิจกรรม งานพัฒนาครูและบุคลากร 2. ผลการดำเนินงาน จากการดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครูให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามวิชาเอกและ ความถนัด ทำให้นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และประสบความสำเร็จ มีผลงานเชิงประจักษ์ที่ นักเรียนได้รับรางวัลจากการเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาการ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ประจำปี การศึกษา 2565 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา สหวิทยาเขตดอยสามหมื่น เช่น 1) รางวัลชนะเลิศ - การแข่งขันการประกวดโครงงานอาชีพ ระดับ ม.1-3 ครูที่ปรึกษา นางจีราวรรณ์ อังศุสิงห์ และนายก มลชัย กิติทรัพย์ - การแข่งขันการประกวดโครงงานอาชีพ ระดับ ม.4-6 ครูที่ปรึกษา นางจีราวรรณ์ อังศุสิงห์ และนายก มลชัย กิติทรัพย์ - การแข่งขันเขียนภาษาญี่ปุ่น ระดับ ม.4-6 ประเภท เดี่ยว ครูที่ปรึกษา พระโนบูยูกิ ถาวรสทฺโท - การแข่งขันจักสานไม้ไผ่ ระดับ ม.1-3 ครูที่ปรึกษา นางจรัสศรี จินาจันทร์ 2) รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 - การแข่งขันการประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ประเภททฤษฎี หรือคำอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับ ม. 1-3 ครูที่ปรึกษา นายกิตติศักดิ์ จิตรานุกูลกิจ
38 - การแข่งขันการประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ประเภททฤษฎี หรือคำอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับ ม. 4-6 ครูที่ปรึกษา นายกิตติศักดิ์ จิตรานุกูลกิจ - การแข่งขันโครงงานคุณธรรม ม.1-3 ครูที่ปรึกษา พระสมุห์ฐิติกร ฐิตว โส - การแข่งขันจักสานไม้ไผ่ ระดับ ม.4-6 ครูที่ปรึกษา นางจรัสศรี จินาจันทร์ 3) รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 - การแข่งขันเล่านิทานคุณธรรม ม.1-3 ครูที่ปรึกษา พระสมุห์ฐิติกร ฐิตว โส - การแข่งขันประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ระดับ ม.1-3 ครูที่ปรึกษา นายเกียรติ อังศุสิงห์ - การแข่งขันประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ระดับ ม.4-6 ครูที่ปรึกษา นายเกียรติ อังศุสิงห์ - การแข่งขันต่อคำศัพท์ภาษาอังกฤษ (ครอสเวิร์ด) ระดับ ม.4-6 ประเภท เดี่ยว ครูที่ปรึกษา พระอรัญ อภิปุญโญ 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง 1) โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 2) ผลการแข่งขันทักษะวิชาการ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ประจำปีการศึกษา 2565 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา สหวิทยาเขตดอยสามหมื่น 4. จุดเด่น ครูและบุคลากรมีความรู้ ความสามารถ ด้านเทคนิคการสอน สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน การสอน และการนำเทคโนโลยีเข้ามามีบาบาทในการทำกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนำความรู้ที่ได้จากการอบรม พัฒนา มาใช้ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง มี ผลงานเชิงประจักษ์ 5. จุดควรพัฒนา วัยวุฒิของครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน มีความหลากหลาย ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนาแนวคิดและการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทางการศึกษา อันจะนำมาใช้ในการพัฒนาบริหารจัดการ เรียนรู้เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพที่สูงขึ้น 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนวัดแม ่ริมวิทยาจัดให้มีการพัฒนาอาคารสถานที ่ สภาพแวดล้อมและแหล ่งเรียนรู้ ตาม แผนปฏิบัติการประจำปี สู่เป้าหมายในการพัฒนา ปรับปรุง ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ทุกกลุ ่มสาระการเรียนรู้ สภาพอาคารเรียนมีความแข็งแรง มั ่นคง ปลอดภัย พร้อมใช้งานได้เสมอ ภายใน ห้องเรียนจัดเตรียมอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกในการให้บริการอาคารสถานที่เป็นไปตามความเหมาะสม และจัดให้เพียงพอต่อการให้บริการ เช่น 1) ห้องเรียนบางห้องจัดให้มีสื่ออุปกรณ์ เครื่องเสียง เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
39 2) ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ จัดให้มีสื่อ อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ 3) หอประชุม ห้องประชุม มีอุปกรณ์ โปรเจคเตอร์เครื่องเสียง พร้อมให้บริการในการประชุม สัมมนา จัดกิจกรรม 4) ห้องพยาบาลมีเตียงนอน อุปกรณ์ ยาและเวชภัณฑ์พื้นฐาน ที่พร้อมบริการด้านพยาบาลเบื้องต้น 5) จัดสภาพบริเวณโรงเรียนให้สะอาดเป็นระเบียบ ร่มรื่น สวยงาม มีไม้ยืนต้นและไม้ประดับเมหัสม กับอาคารสถานที่ ด้านอาคารเรียน โรงเรียนได้มีแผนตรวจสอบและซ่อมแซ่ม บำรุงรักษา ระบบน้ำ ระบบ ไฟฟ้าภายในโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ มีการปรับปรุงโรงอาหารให้มีความสะอาด เพียงพอกับการบริการนักเรียน จัดห้องสุขาให้มีจำนวนห้องสุขาที่เพียงพอและถูกสุขลักษณะ ปรับปรุงห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้เพื่อรองรับการ ใช้งานของนักเรียน 2. ผลการดำเนินงาน โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทาง สังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย ห้องเรียนหรืออาคารปฏิบัติการได้รับการพัฒนาปรับปรุง อยู่เสมอส่งผลให้การประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ ดี 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง 1) สรุปผลการดำเนินงานอาคารสถานที่และงานดูแลอาคารสถานที่ 2) โครงการพัฒนาภูมิทัศน์สิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 4. จุดเด่น โรงเรียนมีแผนนำทางสู่เป้าหมาย เพื่อพัฒนา ปรับปรุง อาคารสถานที่ต่าง ๆ ภายในโรงเรียนให้มี สภาพที่ดีอยู่เสมอ มีอาคารเพียงพอกับจำนวนนักเรียนและเหมาะสม สอดรับกับงานหรือกิจกรรมการเรียนการ สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามโครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 5. จุดควรพัฒนา 1) ควรพัฒนาห้องคอมพิวเตอร์และสิ ่งอำนวยความสะดวก สื ่อและบริการให้ครูและผู้เรียนใช้ ประโยชน์ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ 1.กระบวนการ การบริหารจัดการภายในโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้บริหารงานโรงเรียน โดยพัฒนาโปรแกรมขึ้นมาใช้งานภายในโรงเรียน ได้แก่ โปรแกรมสแกนบัตรนักเรียนเพื่อเช็คการมาเรียน/เข้า ร่วมกิจกรรม โปรแกรมลงคะแนน ปพ.5 โปรแกรมลงคะแนน ปพ.6 ระบบการประเมินครูผู้สอนออนไลน์ การ ติดต่อสื่อสารกับบุคลากรโดยใช้ แอพลิเคชั่น Line, Messenger และระบบ Google Apps for Education มาใช้ในการบริหารจัดการเรียนการสอน เป็นต้น
40 2. ผลการดำเนินงาน โรงเรียนได้จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื ่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ที่ เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน มีระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในโรงเรียน นำผลจากการประเมินการใช้ เทคโนโลยีไปพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง 1) โครงการพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการ 2) กิจกรรมงานจัดหาและจัดชื้อวัสดุ/อุปกรณ์และงานพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ คอมพิวเตอร์ 3) การนำ Google Apps for Education มาใช้ในการบริหารจัดการเรียนการสอน 4. จุดเด่น โรงเรียนได้พัฒนาระบบโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาประยุกต์ใช้ เช ่น โปรแกรมสแกนบัตร นักเรียนเพื่อเช็คการมาเรียน/เข้าร่วมกิจกรรม โปรแกรมลงคะแนน ปพ.5 โปรแกรมลงคะแนน ปพ.6 ระบบ การประเมินครูผู้สอนออนไลน์ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว อีกทั้งยังมีการติดต่อสื่อสารกับ บุคลากรโดยใช้ แอพลิเคชั่น Line, Messenger สร้างความสะดวก รวดเร็วในการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ประเด็น การสนทนาที่สำคัญ เร่งด่วน 5. จุดควรพัฒนา 1) พัฒนาโปรแกรมสำหรับการบริหารที่สามารถบูรณาการกับทุกระบบงานในโรงเรียน และมีระบบ รวบรวมข้อมูลเป็นฐานข้อมูลกลางที่ครอบคลุมระบบสารสนเทศของทุกฝ่าย/งาน/กลุ่มสาระการเรียนรู้ 6. แนวทางการพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้น 1) ให้มีการวางแผน ดำเนินการ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบการนำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาไป ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ และสนับสนุน ส่งเสริมให้การบริหารจัดการแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและจุดเน้น การจัดการศึกษาให้บรรลุตามเป้าหมาย 2) จัดโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน เหมาะสม และมีการบริหารจัดการในแต่ละสายงานอย่าง เป็นระบบ 3) สถานศึกษาต้องมีการจัดหาและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้อย่างเพียงพอและเหมาะสม
41 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ 3 /ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ สรุปผลการ เป้าหมาย ผลการประเมิน ประเมิน 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและ ปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่ง เรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ต่ำกว่าเป้าหมาย 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็น ระบบ ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ต่ำกว่าเป้าหมาย 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูล สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ ดีเลิศ ดีเลิศ ตามเป้าหมาย สรุปผลการประเมิน มาตรฐานที่ 3 ดีเลิศ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต 1. กระบวนการพัฒนา 1) โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีการศึกษา โดยอบรมทักษะการ จัดทำและพัฒนาโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชา หน ่วยการเรียนรู้และแผนจัดการเรียนรู้ ออกแบบ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล ที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดการปฏิบัติ จริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้แก่คณะครูนอกจากนี้ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้จัด ประชุมกลุ่มย่อยเพื่อออกแบบหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา 2) โรงเรียนให้ครูผู้สอนใช้แผนจัดการเรียนรู้แบบ Active Leaning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และได้ลงมือปฏิบัติจริงในแต่ละรายวิชาที่สอน 3) โรงเรียนมีการตรวจสอบ กำกับ ติดตาม แผนการจัดการเรียนรู้และผลการจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อีกทั้งมีการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้สะท้อนผลการจัดการ เรียนรู้ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยนำผลที่ได้เขียนเป็น รายงานการนิเทศติดตาม รายงานการสังเกตการณ์จัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายงานผลการประเมินแผนการ จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 2. ผลการดำเนินงาน 1) ครูผ่านการอบรมและพัฒนาหลักสูตรในทุกปีการศึกษา เพื่อจัดทำและพัฒนา โครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ การวัดผล และประเมินผล คิดเป็นร้อยละ 100
42 2) ครูผู้สอนใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คิดเป็นร้อยละ 70 3) โรงเรียนมีการตรวจสอบ กำกับ ติดตาม แผนการจัดการเรียนรู้และผลการจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อีกทั้งมีการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้ สะท้อนผลการจัดการ เรียนรู้ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 100 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง 1) รายงานการตรวจสอบ กำกับ ติดตามแผนการจัดการเรียนรู้และผลการจัดการเรียนรู้ และรายงาน การนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้สะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2) แผนการจัดการเรียนรู้และผลการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3) ภาพการจัดการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการนิเทศการจัดการเรียนรู้ 4. จุดเด่น 1) มีกระบวนการสังเกตชั้นเรียน นิเทศ ติดตาม ดูแล ให้คำแนะนำและช่วยเหลือครูในการจัดการ เรียนรู้ให้กับผู้เรียนอย่างเป็นระบบ 2) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนเรียนรู้ผ่านทักษะ กระบวนการคิด จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ส่งเสริมให้นักเรียนปฏิบัติจริง แสวงหาความรู้จากสื่อ เทคโนโลยีที่หลากหลาย 5. จุดที่ควรพัฒนา 1) ควรมีการวางแผน การออกแบบและพัฒนาสื ่อการเรียนรู้อย ่างเป็นระบบซึ ่งจะส ่งผลถึง ประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ 2) ควรวางแผนบูรณาการในการวัดผลชิ้นงาน ในสาระหรือข้ามสาระร ่วมกันเพื ่อลดภาระการทำ ชิ้นงานที่ซ้ำซ้อน 3.2 การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 1. กระบวนการพัฒนา 1) โรงเรียนสนับสนุนให้บุคลากรในโรงเรียนจัดหา/ผลิตสื่อ มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลคุ้มค ่ามากที ่สุด เช ่น การใช้งาน Google Apps For Education ที ่ใช้ สำหรับเป็นเครื่องมือประกอบการเรียนการสอนแบบออนไลน์และบุคลากรนำไปประยุกต์ใช้ ประกอบด้วย google classroom, google drive, google doc, google form เป็นต้น และซอฟแวร์อื่น ๆ นำมาผลิตสื่อ การเรียนการสอน 2) โรงเรียนได้สนับสนุนด้านงบประมาณดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนให้ครู จัดหา/ผลิต/สร้าง สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และ สามารถนำมาใช้พัฒนาการจักการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เช่น กิจกรรมศึกษาดูงานนักเรียน ระดับชั้น
43 มัธยมศึกษาตอนปลาย, กิจกรรมศึกษาดูงานนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น, กิจกรรมงานจัดหาและจัด ชื้อวัสดุ/อุปกรณ์และงานพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์, กิจกรรมพัฒนาสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและพัฒนาห้องสมุด เป็นต้น 2.ผลการดำเนินงาน 1) นักเรียนได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อเสริมประสบการณ์ให้นักนักเรียน เช่น พิพิธภัณฑ์ พระตำหนักดาราภิรมย์, สวนพฤกษศาสตร์ ฯ เป็นต้น คิดเป็นร้อยละ 80 2) โรงเรียนมีห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีสารสนเทศครอบคลุมทุกด้าน สถานที่เอื้อต่อการเรียนรู้ต่อ บุคลากรและนักเรียนของโรงเรียนมาใช้บริการ มีงบประมาณสนับสนุนเหมาะสมเพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 80 3) ครูมีสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ทั้งด้านเอกสาร และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ คิดเป็นร้อยละ 70 4) นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่ ทุกระดับชั้นอย่างมีคุณภาพ คิดเป็นร้อยละ 100 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง 1) รายงานผลการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม 2) ตัวอย่างสื่อของครู 3) หลักสูตรสถานศึกษา 4) ภาพสถานที่ บรรยากาศของแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน 4. จุดเด่น ครูทุกคนได้รับการสนับสนุนในการจัดหา/ผลิต สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ อย่างเพียงพอ อีกทั้งนักเรียนมีโอกาสเข้าถึงสื่อ เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้อย่างเท่าเทียม 5. จุดที่ควรพัฒนา 1) สนับสนุนให้ห้องสมุดมีระบบเทคโนโลยีในการสืบค้นที่รองรับการใช้งานของนักเรียนอย่างเพียงพอ 2) ส่งเสริมให้ครูทุกคนใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาประยุกต์ใช้ในกอจกรรมการเรียนการสอน แบบ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3) ส่งเสริมให้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จัดกิจกรรมศึกษาเรียนรู้นอกสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะและประสบการณ์ของนักเรียน 3.3 การบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 1. กระบวนการพัฒนา 1) โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้ตะหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ทั้งการ สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูและนักเรียน การส่งเสริมสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพื่อเอื้อต่อการเรียนการ สอน โดยทางโรงเรียนได้ส่งเสริมและพัฒนาให้ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การ สร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวกให้แก่นักเรียน โดยมีการจัดการเรียนการสอนที่มีความหลากลายเน้นให้นักเรียนได้ลง
44 มือปฏิบัติจริง ส่งเสริมให้นักเรียนมีกระบวนการคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นกลุ่มผ่านการจัดการเรียนรู้ใน ห้องเรียนและผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงออกด้านความคิด กล้าพูด กล้าตัดสินใจ มี การสร้างบรรยากาศในห้องเรียนและนอกห้องเรียนให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียน ครูผู้สอนนำ จิตวิทยามาใช้ในการจัดการเรียนรู้โดยมีการเสริมแรงบวกให้แก่นักเรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสุข สามารถ เรียนรู้ได้อย่างเต็มกำลังสามารถ อีกทั้งยังมีการใช้เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งมีการวัด ประเมินผลผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ทุกกลุ่มสาระมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้เทคนิควิธรการสอน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 2) โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยามีการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการชั้นเรียน โดย ตระหนักถึงการนำประโยชน์ของเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการเรียนการสอน อีกทั้งยังสามารถจัดระบบ สารสนเทศแบบออนไลน์เพื่อการบริหารจัดการชั้นเรียน เช่น ระบบสแกนบัตรเช็คชื่อ การประเมินผลความพึง พอใจในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน ระบบข่าวสารข้อมูลจากกลุ่มสนทนาระหว่างครู นักเรียน เป็นต้น 2. ผลการดำเนินงาน 1) ครูผู้สอนมีการจัดการบริการชั้นเรียนเชิงบวก คิดเป็นร้อยละ 90 2) ครูผู้สอนมีผลการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนักเรียนในระดับดีขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 100 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง 1) รายงานการจัดโครงการ/กิจกรรม 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) รายงานการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรู้ 4) ผลการประเมินครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนักเรียน 4. จุดเด่น 1) ครูมีการจัดการชั้นเรียนเชิงบวก สร้างข้อตกลงในการเรียน ใช้คำพูดเชิงบวก สร้างแรงจูงใจในการ เรียน และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม เป็นการสร้างบรรยากาศเชิงบวกที่ดี 2) ส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนในการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียน เกิดความสนใจ รวมทั้งการเสริมแรงให้แก่ครูในการจัดระบบดูแลนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 3) ส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีการจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ บริหารจัดการชั้น เรียนเชิงบวก สร้างความสัมพันธ์อันดีให้แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีความสุขในการเรียน รักในการเรียนรู้และ มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. จุดที่ควรพัฒนา เสริมแรงให้นักเรียนในกิจกรรมการเรียนการสอน กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในกิจกรรม การเรียนการสอน ตื่นตัวในการเรียนเสมอและรับผิดชอบการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
45 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 1. กระบวนการพัฒนา 1) โรงเรียนดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในทุกปีการศึกษา โดยการนำผลการประเมินการใช้ หลักสูตร ผลจาการดำเนินโครงการ/กิจกรรมมาใช้ โดยมีหัวใจสำคัญของการพัฒนาคือ คุณภาพของผู้เรียน เน้นการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที ่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และขยายผลการพัฒนาจากหลักสูตร สถานศึกษาลงสู่การพัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ ซึ่งใช้ผลจากการตรวจสอบ ผลจากการ ประเมินผู้เรียนโดยครู นักเรียน โดยวิธีการที่หลากหลาย นำผลที่ได้ไปพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ 2) โรงเรียนดำเนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยการส่งเสริมให้ครูผู้สอนพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ในด้านการจัดการเรียนรู้และด้านการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงที่หลากหลาย โดยนำเทคโนโลยีและ สารสนเทศมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยโรงเรียนเล็งเห็นถึงความสำคัญของการวัดประเมินผลอย่างเป็น ระบบ เพื่อนำผลที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนสูงสุด 3) โรงเรียนมีการส่งเสริมการสร้างสื่อการเรียนการสอนของครูในโรงเรียน การใช้แหล่งเรียนรู้ทั้ง ภายในและภายนอกโรงเรียน โดยจัดการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับบริบทของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น นักเรียนมี ส่วนร่วมในการสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ทั้งภายในห้องเรียน และในโรงเรียนสะท้อนแลและนำผลมาใช้ ในการพัฒนาสื่อ และแหล่งเรียนรู้ให้มีคุณภาพ 4) โรงเรียนมีการตรวจสอบความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนอยู่ตลอด ผ่านการวัดประเมินในห้องเรียน และการจัดการวัดและประเมินผลร่วมกันทั้งระดับชั้น ทั้งการสอบวัดประเมินผลกลางภาค ปลายภาค การ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเข่าร่วมแข่งขันกับโรงเรียนในระดับต่าง ๆ พร้อมทั้งนำผลที่ได้มา พัฒนานักเรียนอย่างต่อเนื่อง 2. ผลการดำเนินงาน 1) ผลจากการดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในทุกปีการศึกษา โดยการกำหนดสาระการ เรียนรู้และผลการเรียนรู้ที ่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ที ่กำหนดไว้ตามเป้าหมายและวิสัยทัศน์ของ สถานศึกษาควบคู ่กันไป ส ่งผลให้โรงเรียนมีหลักสูตรที ่สามารถสนองความต้องการ ความถนัด และ ความสามารถของผู้เรียนได้อย่างแท้จริง ซึ่งเป็นผลจากการวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน ตรวจสอบและ ประเมินผลอย่างเป็นระบบและครูผู้สอนมีบทบาทโดยตรงในการร่วมพัฒนาหลักสูตร โดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ของการกำหนดจุดหมายของการพัฒนาหลักสูตร 2) ครูผู้สอนได้จัดการเรียนรู้โดยใช้สื ่อการเรียนการสอนที ่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลาง ดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ส่งเสริมกระบวนการคิด สามารถนำไปใช้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ครูผู้สอนส่งเสริมให้นักเรียนใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ใน ท้องถิ่น ช่วยส่งเสริมการเรียรู้ ทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน คิดเป็นร้อยละ 80 3) ผลจากการวัดและประเมินผลในโรงเรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสินผลการเรียน ครูผู้สอนได้ ประเมินตามสภาพจริงด้วยวิธีการที ่หลากหลาย เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินมีคุณภาพ ผู้บริหารมี บทบาทในการนิเทศ กำกับ ติดตามการวัดและประเมินการจัดการเรียนการสอนอย ่างเป็นระบบและมี