46 ประสิทธิภาพ ทำให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการกำหนดนโยบายและแผน ครูได้ข้อมูลที่เป็นการ สะท้อนผลจากการจัดการเรียนรู้ในครั้งก่อนเกี่ยวกับความรู้และความสามารถของผู้เรียน เพื่อพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ในครั้งถัดไป คิดเป็นร้อยละ 85 4) โรงเรียนมีงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน โดยครูผู้สอนได้จัดทำการวิจัยเพื่อพัฒนา คุณภาพของผู้เรียน เพื่อแก้ปัญหาในชั้นเรียน ส่งผลให้ครูสามารถใช้นวัตกรรม วิธีการ เทคนิคการสอนหรือ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่มีคุณภาพผ่านกระบวนการตรวจสอบที่เชื่อถือได้มาใช้แก้ปัญหาในชั้นเรียนโดยตรง ส่งผลให้ การจัดการเรียนการสอนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรยิ่งขึ้น และนำข้อมูลที่ค้นพบของการวิจัยมา ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ทำให้การพัฒนางานของครูมี มาตรฐานสูงขึ้น ส ่งเสริมหรือพัฒนาผู้เรียนได้ตรงตามตามสภาพความเป็นจริงของผู้เรียนแต ่ละคน ทำให้ นักเรียนได้รับการส่งเสริมจนบรรลุศักยภาพสูงสุด ช่วยแก้ปัญหาในห้องเรียน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทาง ที่ดี ช่วยตรวจสอบวิธีการทำงานของครูให้มีประสิทธิภาพ คิดเป็นร้อยละ 80 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง 1) รายงานผลการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม 2) รายงานการตรวจสอบ กำกับ ติดตามแผนการจัดการเรียนรู้และผลการจัดการเรียนรู้ 3) รายงานการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้ 4) แผนการจัดการรัยนรู้และผลการจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 4. จุดเด่น ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยจัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ได้เรียนรู้โดยการคิด และลงมือปฏิบัติจริง มีการใช้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย น่าสนใจ ช่วยส่งเสริม การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้เป็นอย่างดี โรงเรียนมีการดำเนินโครงการพัฒนาบุคลากรเป็นประจำทุกปี โดยมีการ จัดอบรม ศึกษาดูงาน เพื่อพัฒนาครูในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเสมอ ครูมีการทำวิจัยใน ชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน และมีระบบติดตาม ประเมินผลเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการ สอน โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 5. จุดที่ควรพัฒนา ส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีระบบติดตามนักเรียน การให้ข้อมูลย้อนกลับของนักเรียน โดยนำเทคโนโลยีมาใช้ ให้เต็มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 1. กระบวนการพัฒนา 1) ครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้มีการรวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน โครงการ กิจกรรม เพื่อให้ได้ ข้อมูลสะท้อนกลับ และนำไปใช้ปรับปรุงพัฒนางาน เปิดโอกาสให้นักเรียนสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ว่ามี
47 ปัญหาที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขหรือไม่อย่างไร เช่น แบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรีนการ สอน กิจกรรมการแข่งขันทักษะแต่ละรายกาย 2) ครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ให้ผู้รับผิดชอบโครงการ กิจกรรม จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน เพื่อรวบรวมผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ เพื่อนำมาสะท้อนและนำผลที่ได้จากการสะท้อนไปใช้ในการพัฒนา และปรับปรุงการดำเนินงานในครั้งต่อไป 3) มีการจัดทำหลักสูตรที ่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรังปรุง พ.ศ. 2560) โดยส่งเสริมให้ครูในกลุ ่มสาระการ เรียนรู้มีกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้นักเรียนพัฒนา ตนเองตามศักยภาพ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิดแก้ปัญหาและประชุมวางแผน เลือกสถานที่แหล่งเรียนรู้ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและสถานที่ในการนำนักเรียนไป วิเคราห์เนื้อหาที่ เกี่ยวข้องกับกิจกรรม กำหนดใบงาน ชิ้นงาน นำนักเรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ ประเมินผลการดำเนินการจัด กิจกรรม 2. ผลการดำเนินงาน 1) ครูร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ รวมทั้งให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อนำไปใช้ในการ ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 2) ครูมีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยครูทุกคนในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ได้สังเกตการณ์จัดการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และนิเทศการสอน คิดเป็นร้อยละ 80 3. เอกสาร หลักฐาน ร่องรอยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง 1) รายงานผลการดำเนินกิจกรรม 2) รูปภาพการจัดการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการนิเทศการจัดการเรียนรู้ 3) การรายงานการจัดกิจกรรมนิเทศการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4. จุดเด่น 1) ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง ส่งเสริมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ครูมีความรู้และ ทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อนำมาช่วยในการประเมินผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และรายงานผลการประเมิน ให้ผู้เรียนได้ทันท่วงที 2) นักเรียนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ ได้พร้อมกัน โดยสามารถใช้งานผ ่าน โทรศัพท์มือถือส่วนตัวได้ทันที 3) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีการจัดการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการนิเทศการจัดการเรียนรู้ ทุกภาคเรียน
48 5. จุดที่ควรพัฒนา 1) มีการพัฒนาครูด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนการสอน การวัดผลและประเมิน อย่างสม่ำเสมอ 6. แนวทางการพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้น 1) ควรจัดการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพครูในการผลิตและใช้เทคโนโลยีในการจัดการ เรียนการสอนให้มากยิ่งขึ้น 2) จัดวางแนวทางการดำเนินงานที่ชุดเจน เป็นระบบ มีการชี้แจง การกำกับดูแล การติดตาม การ ตรวจสอบและการประเมินการจัดการเรียนการสอนที่ครบวงจร 3) สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
49 ส่วนที่ 3 สรุปผล จุดเด่น จุดพัฒนาและแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1. สรุปผล ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องนำไปวิเคราะห์ สังเคราะห์เพื ่อสรุปนำไปสู่การเชื ่องโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผลการ ดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด ่น จุดควรพัฒนาของแต ่ละ มาตรฐาน พร้อมทั้งแนวทางการพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้นในอนาคต ดังนี้ จุดเด่น จุดควรพัฒนา ด้านคุณภาพผู้เรียน 1) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่ระดับ น่าพอใจ (เกรด 2) คิดเป็นร้อยละ 71.00 2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทุกรายวิชามีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับ สังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 3) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน พ ร ะพ ุ ท ธ ศ า ส น า (B-NET) ข อง นั ก เ รี ย น ชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ในรายวิชาธรรมและวินัยมีคะแนน เฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 4) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน พ ร ะพ ุ ท ธ ศ า ส น า (B-NET) ข อง นั ก เ รี ย น ชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาธรรม พุทธประวัติและ วินัยมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 4) นักเรียนร้อยละ 83.00 สามารถศึกษาต่อใน ระดับที่สูงขึ้นได้ 5) นักเรียนร้อยละ 92.73 มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด ด้านคุณภาพผู้เรียน 1) พัฒนาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) ให้ สูงขึ้นทุกรายวิชาอย่างสม่ำเสมอ 2) เพิ่มจุดบริการคอมพิวเตอร์ เพื่อรองรับการ ใช้งานด้านการสืบค้นข้อมูล และการใช้สื่อ เทคโนโลยีของนักเรียน 3) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนให้สูงขึ้น ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ 1) ผู้บริหารมีความตั้งใจ มีความมุ่งมั่น มีหลักการ บริหาร และมีวิสัยทัศน์ที่ดีในการบริหารงาน สามารถ เป็นแบบอย่างที่ดีในการทำงาน และคณะกรรมการ โรงเรียนมีความตั้งใจและมีความพร้อมในการปฏิบัติ หน้าที่ตามบทบาท ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ 1) ควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วน เกี ่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มี ความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัด การศึกษา และการขับเคลื ่อนคุณภาพการจัด การศึกษา
50 จุดเด่น จุดควรพัฒนา 2) มีโครงการในการบริหารและการจัดการเพื่อ คุณภาพการศึกษาอย่างเพียงพอ 2) งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรไม่เพียงพอ ต่อการดำเนินงาน/โครงการ 3) พัฒนาโปรแกรมระบบบริหารจัดการด้วย ICT และพัฒนาโปรแกรมระบบบริหารจัดการ ข้อมูลสารสนเทศด้วย ICT ให้สามารถนำข้อมูล ไปใช้ได้ทุกที่ทุกเวลา ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ 1) ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความตั้งใจมุ่งมั่นใน การปฏิบัติหน้าที ่อย ่างเต็มเวลาและเสียสละอย ่าง จริงใจ 3) ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้จากการคิด ได้ ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย 4) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงทักษะด้านต ่าง ๆ ตามความสนใจและความถนัดรายบุคคล ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ 1) ครูทุกคนควรจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนแบบ Active Learning เน้นผู้เรียนให้มี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ อย ่างหลากหลาย และใช้แหล ่งเรียนรู้ในการ พัฒนาตนเอง 2) ครูควรจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ เทคโนโลยีให้มากขึ้น และพัฒนาสื่อแหล่งเรียนรู้ จัดเตรียมห้องปฏิบัติการให้อยู ่ในสภาพดีและ พร้อมใช้งานเสมอ
51 ภาคผนวก
52
53
54
55
56
57
58
59 สรุปผลการแข่งขันทักษะวิชาการ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ประจำปีการศึกษา 2565 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา สหวิทยาเขตดอยสามหมื่น ที่ รายการแข่งขัน ผลการแข่งขัน 1 การแข่งขันกวีเยาวชนคนรุ่นใหม่ กาพย์ยานี 11 (6 บท) ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 2 การแข่งขันกวีเยาวชนคนรุ่นใหม่ โครงสี่สุภาพ (4 บท) ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 3 การแข่งขันคัดลายมือสื่อภาษาไทย ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญเงิน 4 การแข่งขันคัดลายมือสื่อภาษาไทย ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 5 การแข่งขันต่อคำศัพท์ภาษาไทย (คำคมเดิม) ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญเงิน 6 การแข่งขันต่อคำศัพท์ภาษาไทย (คำคมเดิม) ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญเงิน 7 การแข่งขันท่องอาขยานทำนองเสนาะ ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 8 การแข่งขันรายการพินิจวรรณคดี ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 9 การแข่งขันรายการพินิจวรรณคดี ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 10 การแข่งขันเรียงร้อยถ้อยความ (การเขียนเรียงความ) ระดับ ม.1-3 สละสิทธิ์ 11 การแข่งขันเรียงร้อยถ้อยความ (การเขียนเรียงความ) ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญเงิน 12 การแข่งขันวรรณกรรมพิจารณ์ ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญเงิน 13 การแข่งขันวรรณกรรมพิจารณ์ ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 14 การแข่งขันอัจฉริยะภาพทางคณิตศาสตร์ ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเข้าร่วม 15 การแข่งขันเวทคณิต ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 16 การแข่งขันซูโดกุ ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง
60 ที่ รายการแข่งขัน ผลการแข่งขัน 17 การแข่งขันซูโดกุ ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 18 การแข่งขันต่อสมการคณิตศาสตร์ (เอแม็ท) ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 19 การแข่งขันต่อสมการคณิตศาสตร์ (เอแม็ท) ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 20 การแข่งขันสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 21 การแข่งขันสร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ระดับ ม.4-6 สละสิทธิ์ 22 การแข่งขันการประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ประเภททฤษฎี หรือ คำอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับ ม.1-3 รองชนะเลิศอันดับที่ 1 เกียรติบัตรเหรียญทอง 23 การแข่งขันการประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ประเภททฤษฎี หรือ คำอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับ ม.4-6 รองชนะเลิศอันดับที่ 1 เกียรติบัตรเหรียญทอง 24 การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญเงิน 25 การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ม.4-6 สละสิทธิ์ 26 การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญทอง 27 การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ม.4-6 รองชนะเลิศอันดับที่ 2 เกียรติบัตรเหรียญเงิน 28 การแข่งขันเครื่องบินพลังยาง ประเภทบินนานปล่อยอิสระ ระดับ ม.1- 3 สละสิทธิ์ 29 การแข่งขันโครงงานคุณธรรม ม.1-3 รองชนะเลิศอันดับที่ 1
61 ที่ รายการแข่งขัน ผลการแข่งขัน เกียรติบัตรเหรียญทอง 30 การแข่งขันเล่านิทานคุณธรรม ม.1-3 รองชนะเลิศอันดับที่ 2 เกียรติบัตรเหรียญทอง 31 การแข่งขันเล่านิทานคุณธรรม ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญทอง 32 การแข่งขันการประกวดโครงงานอาชีพ ระดับ ม.1-3 รางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรเหรียญทอง 33 การแข่งขันการประกวดโครงงานอาชีพ ระดับ ม.4-6 รางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรเหรียญทอง 34 การแข่งขันจักสานไม้ไผ่ ระดับ ม.1-3 รางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรเหรียญทอง 35 การแข่งขันจักสานไม้ไผ่ ระดับ ม.4-6 รองชนะเลิศอันดับที่ 1 เกียรติบัตรเหรียญเงิน 36 การแข่งขันประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ระดับ ม.1-3 รองชนะเลิศอันดับที่ 2 เกียรติบัตรเหรียญทอง 37 การแข่งขันประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ระดับ ม.4-6 รองชนะเลิศอันดับที่ 2 เกียรติบัตรเหรียญทอง 38 การแข่งขันจัดสวนถาดแบบชื้น ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญทอง 39 การแข่งขันจัดสวนถาดสวนแก้ว ระดับ ม.4-6 สละสิทธิ์
62 ที่ รายการแข่งขัน ผลการแข่งขัน 40 การแข่งขันการพูดภาษาอังกฤษ Impromptu Speech ระดับ ม.4-6 ประเภทเดี่ยว เกียรติบัตรเข้าร่วม 41 การแข่งขันต่อคำศัพท์ภาษาอังกฤษ (ครอสเวิร์ด) ระดับ ม.1-3 ประเภท ทีม 2 คน เกียรติบัตรเหรียญทองแดง 42 การแข่งขันต่อคำศัพท์ภาษาอังกฤษ (ครอสเวิร์ด) ระดับ ม.4-6 ประเภท เดี่ยว รองชนะเลิศอันดับที่ 2 เกียรติบัตรเหรียญทอง 43 การแข่งขันเขียนภาษาญี่ปุ่น ระดับ ม.4-6 ประเภท เดี่ยว รางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตรเหรียญทอง 44 การแข่งขันออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเหรียญเงิน 45 การแข่งขันออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญเงิน 46 การแข่งขันตัดต่อภาพยนตร์ ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเหรียญทอง 47 การแข่งขันวาดภาพลายเส้น ระดับ ม.4-6 สละสิทธิ์ 48 การแข่งขันเขียนภาพไทยสีเอกรงค์ ระดับ ม.4-6 สละสิทธิ์ 49 การแข่งขันการเขียนภาพไทยประเพณี ระดับ ม.4-6 สละสิทธิ์ 50 การแข่งขันวาดภาพระบายสี ระดับ ม.1-3 สละสิทธิ์ 51 การแข่งขันวาดภาพระบายสี ระดับ ม.4-6 สละสิทธิ์ 52 การแข่งขันศิลป์สร้างสรรค์ ระดับ ม.1-3 สละสิทธิ์
63 ที่ รายการแข่งขัน ผลการแข่งขัน 53 การแข่งขันศิลป์สร้างสรรค์ ระดับ ม.4-6 สละสิทธิ์ 54 การแข่งขันตอบปัญหาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับ ม.1-3 เกียรติบัตรเข้าร่วม 55 การแข่งขันตอบปัญหาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับ ม.4-6 เกียรติบัตรเข้าร่วม