The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SARโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tum.0068, 2022-06-07 22:20:20

SARโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ปีการศึกษา 2564

SARโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ปีการศึกษา 2564

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self – Assessment Report: SAR)
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
ปีการศกึ ษา 2564

โรงเรยี นวดั แมร่ ิมวทิ ยา วดั แม่ริม
ตำบลริมใต้ อำเภอแม่รมิ จังหวัดเชียงใหม่
สำนกั เขตการศกึ ษาพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา เขต 5
สำนักงานการศึกษาพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา

ด้วยโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้จัดทำรายงานการประเมินตนเองฉบับนี้ เพื่อเป็นการรายงานผลการ
ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ประจำปีการศึกษา 2563 ที่สอดคล้องกับ
สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบ โดยสะท้อนคณุ ภาพความสำเรจ็ อย่างชัด
เจรตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซ่ึงมีเปา้ หมายเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ และเพื่อให้การ
ประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตามมาตรฐานการศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน

คณะกรรมการสถานศกึ ษามีความเห็นชอบในการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองฉบับนี้ของโรงเรียน
วัดแม่ริมวิทยา ที่สะท้อนคุณภาพผู้เรียน และผลสำเร็จของการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการ
นำไปใช้พัฒนาการศึกษาในปีการศึกษาตอ่ ไป และเตรยี มรับการประเมนิ คุณภาพต่อไป

(พระครสู ริ อิ าภากร)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report: SAR) โรงเรียนวัดแม่รมิ วทิ ยา



คำนำ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาฉบับนี้ เปน็ การสรุปผลการดำเนนิ งานในรอบปีการศึกษาที่
สะท้อนให้เห็นภาพความสำเรจ็ ที่เกิดขึ้นตามบริบทของสถานศึกษา ซึ่งมีองค์ประกอบของรายงานการประเมิน
คุณภาพภายในสถานศึกษา 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ส่วนที่ 2 ผลการประเมิน
คุณภาพภายในสถานศึกษา ส่วนที่ 3 สรุปผล จุดเด่น จุดพัฒนาและแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก โดยมวี ัตถุประสงค์ เพอ่ื นำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผา่ นมา เป็นข้อมูล
ในการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา เตรยี มความพร้อมในการประเมินคณุ ภาพภายนอกตอ่ ไป

โรงเรยี นวดั แม่ริมวทิ ยา วัดแม่ริม
สำนกั เขตการศึกษาพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา เขต 5

30 เมษายน 2565

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report: SAR) โรงเรียนวัดแมร่ มิ วทิ ยา

สารบญั ข

คำนำ หน้า
สารบัญ ก
บทสรปุ ผู้บริหาร ข
บทสรปุ รายงานผลการประเมินตนเอง 1

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานของสถานศึกษา 3
1.1 ขอ้ มูลทว่ั ไป 3
1.2 ขอ้ มูลบุคลากรทางการศึกษา 4
1.3 ข้อมลู นักเรียน 5
1.4 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผูเ้ รียน 5
1.5 ข้อมูลการใช้แหล่งเรยี นรู้ภายในและภายนอกโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2564 13
1.6 ปรชั ญา วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ อตั ลกั ษณ์ และเอกลักษณ์ ของโรงเรียน 14
1.7 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีทผี่ า่ นมา 15
16
สว่ นท่ี 2 ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา 16
 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผูเ้ รยี น 33
 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา 43
 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ 51
53
สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล จุดเด่น จดุ พัฒนาและแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report: SAR) โรงเรยี นวัดแม่รมิ วทิ ยา

1

บทสรุปผู้บรหิ าร

โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ตั้งอยู่เลขที่ 240 หมู่ท่ี 1 ถนนเชียงใหม่-ฝาง ตำบลริมใต้ อำเภอแม่ริม
จงั หวดั เชียงใหม่ สงั กัดสำนักเขตการศึกษาพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5 สำนักงานการศึกษาพระ
ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เปิดสอนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีจำนวน
นักเรียน 243 รูป ผู้บริหาร 6 รูป/คน ครูผู้สอน 12 รูป/คน ครูพิเศษ 2 รูป/คน เจ้าหน้าที่ 3 คน ผู้จัดการ
โรงเรียน คอื พระครูวิบลู ธรรมพพิ ัฒน์ ผู้อำนวยการโรงเรียน คอื พระครศู าสนกจิ โกศล

จากการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปี
การศึกษา 2564 พบว่า ภาพรวมผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา อยู่ในระดับ
ดีเลศิ ในมาตรฐานท่ี 1 คณุ ภายผเู้ รยี น อยู่ในระดบั ดเี ลศิ มกี ารพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยการบริหารหลักสูตร
และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาท่สี อดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานและจัดแผนการเรียนที่
ตอบสนองต่อศักยภาพและความต้องการของนักเรียน และชุมชนท้องถิ่น จัดให้มีระบบการเรียนรู้ ส่งเสริมให้
ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือ
ปฏิบตั จิ ริงด้วย Active Learning ในบรบิ ทของการศึกษายุค Thailand 4.0 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีถูกต้อง
สร้างสรรค์ผล สื่อสาร และมีคุณธรรม จัดให้มีระบบนิเทศติดตามการนำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนการ
สอนรวมถึงส่งเสรมิ ให้ครูผลิต พัฒนาสื่อ และนวัตกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนานักเรียนให้เตม็ ศักยภาพ
จัดตั้งและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูใช้แหล่งเรยี นรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ให้ครอบคลุมภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น และส่งเสริมให้ครูจัดการวัดและประเมินผลให้เป็นไปตามหลักการวัดและประเมินผลหลักสูตร
นอกจากนี้ยังจัดกิจกรรมที่หลากหลายส่งเสริมให้นักเรียนแสดงออกอย่างเต็มศักยภาพ และปลูกฝังคุณธรรม
จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทีด่ ใี หแ้ กน่ ักเรียน

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับ ดีเลิศ โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยามี
เป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่ชัดเจน มีการบริหารและการจัดการโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิ
บาล และแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จัดกิจกรรมการเรียนการสอนรวมไปถึง โครงการ กิจกรรมต่าง ๆ
โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามอัตลักษณ์ของโรงเรียน คือ “ผู้เรียนมีระเบียบวินัย มีความรู้ มีคุณธรรม” มีการ
ดำเนินการโครงการ/กิจกรรมโดยใช้วงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) และมีการบริหารจัดการอย่างเป็น
ระบบ อีกทงั้ ยงั สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ครูและบคุ ลากรได้รบั การพัฒนาใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวิชาชพี

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระ ดับ ดีเลิศ มี
กระบวนการจัดการเรียนการสอนโดย มีหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน และชุมชน
ทอ้ งถ่ิน ตอบสนองความต้องการของนักเรียน ครผู ู้สอนมคี วามตั้งใจม่งุ มัน่ ในการจดั การเรียนการสอนโดยมีการ
จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning จัดกิจกรรมที่เน้นการคิด การปฏิบัติจริง มีวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย มกี ารบริหารจัดการช้นั เรียนเชิงบวก ครูมกี ารใช้สอ่ื และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกับนกั เรยี น

การจัดการศึกษาของโรงเรียนมีมีจดุ เด่น คือ นักเรยี นมากกว่าร้อยละ 60 มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสูง
กว่าเป้าหมายที่โรงเรียนตั้งไว้ มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้ัน

2

มัธยมศึกษาปีที่ 3 ในรายวิชาภาษาอังกฤษมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัดฯ และในระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาภาษาไทยและวิทยาศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัดฯ จุด
พัฒนา คือ พัฒนาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) ให้สูงขึ้น เพิ่มจุด
บริการศูนย์คอมพิวเตอร์ เพื่อรองรับการใช้งานด้วยการสืบค้นข้อมูล และการใช้สื่อของนักเรียน กระบวนการ
บริหารและการจัดการพัฒนาโปรแกรมระบบการบริหารจัดการด้วย ICT และพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ข้อมลู สารสนเทศด้วย ICT ใหส้ ามารถนำข้อมูลไปใช้ได้ทุกที่ทุกเวลา พฒั นาศกั ยภาพของครใู ห้สามารถผลิตสื่อ
และใชเ้ ทคโนโลยีสมยั ใหม่ในการจดั การเรียนการสอน เพ่อื เพมิ่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนให้แกน่ ักเรียนมากข้ึน

3

ส่วนท่ี 1
ข้อมลู พื้นฐานของสถานศึกษา

1.1 ขอ้ มูลทัว่ ไป
ชือ่ โรงเรยี นวดั แม่ริมวิทยา ตง้ั เลขท่ี 240 หมู่ 1 ถนนเชยี งใหม่-ฝาง ตำบลรมิ ใต้ อำเภอแม่ริม จังหวัด

เชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50180 โทรศัพท์ 052-000-133 E-mail : [email protected] สังกัด
สำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5 สำนักงานการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศึกษา เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้รับใบอนุญาตให้เปิดดำเนินการ
เมื่อวนั ท่ี 9 เดอื น กรกฎาคมพ.ศ. 2535 ตามใบอนญุ าตเลขที่ 33/2535 ปัจจบุ ันนี้ มี พระครูวิบูลธรรมพัฒน์
เป็นผจู้ ัดการและมี พระครสู าสนกิจโกศล เปน็ ผ้อู ำนวยการ

ตราสญั ลักษณ์ประจำโรงเรยี น

สีประจำโรงเรียน

สเี หลืองทอง หมายถงึ ความเจรญิ รุ่งเรอื งของพระภิกษุ-สามเณร ในพระพุทธศาสนา

ลกั ษณะ/ขนาด เป็นโรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา ขนาดใหญ่พิเศษ

ปรัชญาโรงเรยี น “ ปญญาย ปริสทุ ชติ ” บุคคลยอ่ มบรสิ ทุ ธด์ิ ้วยปญั ญา

คำขวัญโรงเรียน “ ทรงศลี จรยิ วตั รงาม ทรงศาสตรท์ นั สมยั ทรงธรรมประจำใจ ”

ทตี่ ั้ง

โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ตั้งอยู่ ณ วัดแม่ริม บ้านน้ำงาม หมู่ที่ 1 ตำบลริมใต้ อำเภอแม่ริม จังหวัด

เชยี งใหม่ หา่ งจากทีว่ า่ การอำเภอแมร่ ิม ประมาณ ๓๕๐ เมตร หา่ งจากศูนยร์ าชการจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ

10 กโิ ลเมตร

❖ ทศิ เหนอื ศนู ย์การค้าแม่ริมพลาซา่

❖ ทิศใตต้ ดิ ถนน น้ำตกแมส่ าสายเก่า

❖ ทิศตะวันออก ถนน โชตนา เชยี งใหม่-ฝาง

❖ ทศิ ตะวันตก ศนู ย์การค้าแมร่ ิมพลาซา่

4

1.2 ขอ้ มูลบุคลากรทางการศกึ ษา

1.2.1 จำนวนบคุ ลากรจำแนกตามตำแหน่ง เพศ ระดับการศกึ ษา และประสบการณใ์ นตำแหน่ง

ประสบการณ์

เพศ (รูป/คน) ระดับการศกึ ษา (รปู /คน) ในตำแหน่ง
(เฉลีย่ )

ประเภทบคุ ลากร รวม (ปี)

บรรพชติ ชาย หญิง ตำ่ ป. ป. ป.
กว่า ตรี โท เอก
ป.ตรี

ผูจ้ ดั การ 1 1 1 19

ผู้อำนวยการ 1 1 1 20

รองผอู้ ำนวยการ 22 4 4 27

ครูประจำ 57 12 93 16

ครูพเิ ศษ 22 2 6

เจ้าหน้าที่ 12 3 3 4

อ่ืน ๆ (ระบุ .................)

รวม 7 12 4 23 - 14 9 - 13.67

- จำนวนครูท่ีสอนวิชาตรงเอก 9 รปู /คน คิดเป็นร้อยละ 47.36
รปู /คน คดิ เป็นร้อยละ 100
- จำนวนครทู สี่ อนตรงความถนัด 19
จำนวน - รูป/คน
- สาขาทีข่ าดแคลนครูวชิ า -

1.2.2 สาขาท่ีจบการศึกษาและภาระงานท่ีสอน

สาขาวิชา จำนวน(รปู /คน) ภาระงานสอนเฉลย่ี ของครู 1 คนในแต่
ละสาขาวิชา (ชม./สัปดาห)์
1. การบริหารองค์กร 1 -
2. บริหารการศกึ ษา 6 16.17
3. คณิตศาสตร์ 1 35.00
4. ฟสิ กิ ส์ 1 20.00
5. ภาษาองั กฤษ 1 15.00
6. สารสนเทศศาสตร์ แขนงประยุกต์ 1 22.00
7. รฐั ศาสตร์การปกครอง 1 14.00
8. ศาสนาศกึ ษา 1 14.00
9. Communication 1 14.00
10. เทคโนอตุ สาหกรรม 1 14.00
12. เศรษฐศาสตร์สหกรณ์ 1 18.00
13. สหวทิ ยาการเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น 1 20.00
13. ปรัชญา 1 27.00
14. พทุ ธศาสนา 1 17.00
15. บรหิ ารธรุ กจิ 1 12.00
16. การบญั ชี 1 -
21 12.29
รวม

5

1.3 ข้อมูลนักเรียน

จำนวนนกั เรยี นปีการศึกษา 2564

ระดับชัน้ เรียน ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวมทั้งหมด

จำนวนห้อง 1 2 2 1 2 2 10

พระภิกษุ ------ -

สามเณร 23 58 57 36 34 35 243

รวมเฉลยี่ ต่อหอ้ ง 23.0 29.0 28.5 36.0 17.0 17.5 24.3

1.4 ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รียน

1.4.1 ร้อยละของผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ (รายวิชาพื้นฐาน) ตั้งแต่

2.0 ข้นึ ไป

ร้อยละผเู้ รยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ต้ังแต่ 2.0 ขน้ึ ไป
ชัน้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษาฯ สขุ ศกึ ษาฯ
ศิลปะ การงานอาชพี ฯ ภาษาต่าง
ประเทศ

ม.1 77.80 75.23 52.33 76.24 71.04 88.12 96.04 82.14

ม.2 74.14 60.34 67.24 91.38 88.79 89.66 67.24 83.62

ม.3 56.14 71.93 57.02 63.16 79.82 82.46 79.82 52.63

ม.4 84.72 55.56 43.06 48.61 81.94 41.67 77.78 51.39

ม.5 100.00 69.12 100.00 86.76 79.41 57.35 85.29 58.82

ม.6 87.14 48.57 34.29 70.00 77.14 40.00 70.00 87.14

เฉลยี่ 79.99 63.46 58.99 72.69 79.69 66.54 79.36 69.29

1.4.2 คา่ เฉลี่ยของผลการทดสอบการศึกษาระดบั ชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน O-NET ม.3 (จำนวน 41 รปู )

รายวชิ า คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลี่ย สังกดั คะแนนเฉล่ยี
ของโรงเรียน ระดับจังหวัด สำนักงานพระพุทธฯ ระดับประเทศ

(1) ภาษาไทย 34.62 54.40 36.32 51.19

(2) คณิตศาสตร์ 18.80 26.05 19.07 24.47

(3) วทิ ยาศาสตร์ 27.46 32.74 28.02 31.45

(4) ภาษาอังกฤษ 26.30 33.85 25.26 31.11

6

100

90

80

70

60 34.62
54.4
50
36.32
40 51.19

30 18.8
26.05
20
19.07
24.47
27.46
32.74
28.02
31.45
26.3
33.85
25.26
31.11

10

0 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
ภาษาไทย

คะแนนเฉล่ียของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยระดับจงั หวดั
คะแนนเฉลย่ี สังกัดสานกั งานพระพทุ ธฯ คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ

แผนภูมิที่ 1.1 เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ของนักเรยี น

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้ืนฐาน O-NET ม.6 (จำนวน 24 รปู )

รายวิชา คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลี่ย สงั กัด คะแนนเฉลี่ย
ของโรงเรยี น ระดับจงั หวัด สำนักงานพระพทุ ธฯ ระดบั ประเทศ

(1) ภาษาไทย 37.90 50.27 36.06 46.40

(2) คณิตศาสตร์ 15.05 23.81 15.28 21.28

(3) วทิ ยาศาสตร์ 24.77 30.55 24.65 28.65

(4) สังคมศกึ ษาฯ 32.77 38.70 32.77 36.87

(5) ภาษาอังกฤษ 19.11 29.40 19.63 25.56

7

100 37.9
90 50.27
80
70 36.06
60 46.4
50
40 15.05
30 23.81
20
10 15.28
0 21.28
24.77
ภาษาไทย 30.55
24.65
28.65
32.77
38.7
32.77
36.87
19.11
29.4
19.63
25.56

คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษาฯ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉลีย่ ของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยระดับจงั หวดั
คะแนนเฉล่ยี สงั กดั สานกั งานพระพทุ ธฯ คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ

แผนภูมทิ ี่ 1.2 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ของนักเรยี น
ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2564

1.4.3 ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) ปีการศึกษา

2564

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพทุ ธศาสนา B-NET ม.3 (จำนวน 41 รปู )

รายวชิ า คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลยี่ สงั กดั คะแนนเฉล่ีย
ของโรงเรียน ระดับจงั หวัด สำนักงานกลุ่ม ระดบั ประเทศ

(1) ภาษาบาลี 27.90 31.34 31.18 33.51

(2) ธรรม 29.85 31.12 31.00 32.48

(3) พุทธประวัติ 30.83 32.92 32.86 34.96

(4) วินยั 31.66 37.10 38.15 42.74

8

100

90

80

70

60

50 27.9
31.34
40 31.18
33.51
30 29.85
31.12
31
32.48
30.83
32.92
32.86
34.96
31.66
37.1
38.15
42.74

20

10

0 ธรรม พุทธประวัติ วนิ ยั
ภาษาบาลี

คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวดั
คะแนนเฉลี่ย สังกดั สานักงานกลุม่ คะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ

แผนภูมิที่ 1.3 เปรยี บเทียบค่าเฉล่ียของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นพระพทุ ธศาสนา
(B-NET) ของนกั เรยี นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นพระพทุ ธศาสนา B-NET ม.6 (จำนวน 24 รูป)

รายวิชา คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลยี่ สงั กดั คะแนนเฉลีย่
ของโรงเรียน ระดับจงั หวดั สำนกั งานกล่มุ ระดับประเทศ

(1) ภาษาบาลี 21.33 25.74 26.75 29.48

(2) ธรรม 26.17 27.57 28.04 29.71

(3) พุทธประวัติ 29.58 29.51 30.41 33.01

(4) วนิ ยั 27.75 30.13 31.27 37.00

9

100

90

80

70

60

50

40 21.33
25.74
30 26.75
29.48
26.17
27.57
28.04
29.71
29.58
29.51
30.41
33.01
27.75
30.13
31.27
37

20

10

0 ธรรม พุทธประวัติ วินยั
ภาษาบาลี

คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรยี น คะแนนเฉลยี่ ระดบั จังหวัด
คะแนนเฉลยี่ สังกดั สานกั งานกลุม่ คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ

แผนภูมิท่ี 1.4 เปรียบเทยี บค่าเฉล่ียของผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ด้านพระพทุ ธศาสนา
(B-NET) ของนกั เรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2564

1.4.4 เปรียบเทยี บพฒั นาการการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน O-NET

ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

ค่าเฉล่ีย ค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีมคี ะแนน
สูงกว่าคะแนนเฉลยี่ ระดับสังกดั
รายวิชา
ปีการศึกษา ปีการศึกษา +เพม่ิ /-ลด ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา +เพม่ิ /-ลด

2563 2564 2563 2564

ภาษาไทย 42.95 34.62 - 54.54 41.46 -

คณติ ศาสตร์ 19.64 18.80 - 40.91 26.83 -

วทิ ยาศาสตร์ 28.41 27.46 - 63.64 29.27 -

ภาษาอังกฤษ 26.25 26.30 + 63.64 43.90 -

10

60

50

40

30

20

10

0 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564
49.27 42.95 34.62
ภาษาไทย 21.94 19.64 18.8
คณติ ศาสตร์ 26.35 28.41 27.46
วิทยาศาสตร์ 28.06 26.25 26.3
ภาษาองั กฤษ

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

แผนภูมทิ ่ี 1.5 เปรยี บเทยี บพัฒนาการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พ้นื ฐาน O-NET
ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2562-2564

ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6

ค่าเฉลี่ย คา่ ร้อยละของจำนวนนกั เรียนทีม่ คี ะแนน

รายวชิ า ปกี ารศึกษา สงู กวา่ คะแนนเฉลย่ี ระดับสังกัด
2564
ภาษาไทย ปกี ารศกึ ษา 37.90 +เพ่ิม/-ลด ปีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา +เพ่มิ /-ลด
คณิตศาสตร์ 2563 15.05
วทิ ยาศาสตร์ 36.09 24.77 + 2563 2564
สังคมศึกษาฯ 15.40 32.77 -
ภาษาอังกฤษ 26.26 19.11 - 71.43 54.17 -
31.79 +
23.17 - 32.14 37.5 -

46.43 41.67 -

46.43 45.83 -

64.28 50.00 -

11

40 ปีการศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564
35 31.93 36.09 37.9
30 15.43 15.4 15.05
25 24.74 26.26 24.77
20 32.7 31.79 32.77
15 21.58 23.17 19.11
10
5
0

ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
ภาษาองั กฤษ

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษาฯ ภาษาองั กฤษ

แผนภมู ิที่ 1.6 เปรยี บเทยี บพฒั นาการการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน O-NETระดบั ชน้ั
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ระหวา่ งปีการศึกษา 2562-2564

1.4.5 เปรียบเทยี บพัฒนาการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพทุ ธศาสนา B-NET

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3

คา่ เฉล่ยี คา่ ร้อยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมีคะแนน

รายวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ
ปีการศึกษา ปกี ารศึกษา +เพม่ิ /-ลด ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา +เพิ่ม/-ลด

2563 2564 2563 2564

ภาษาบาลี 27.60 27.90 + 16.00 17.07 +

ธรรม 33.68 29.85 - 56.00 31.71 -

พุทธประวัติ 30.96 30.83 - 40.00 39.02 -

วนิ ัย 30.40 31.66 + 40.00 19.51 -

12

50 ปีการศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564
45 28.24 27.6 27.9
40 44.55 33.68 29.85
35 34.73 30.96 30.83
30 33.45 30.4 31.66
25
20
15
10
5
0

ภาษาบาลี
ธรรม
พทุ ธประวตั ิ
วินัย

ภาษาบาลี ธรรม พุทธประวัติ วินยั

แผนภมู ทิ ่ี 1.7 เปรยี บเทียบพัฒนาการการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ดา้ นพระพุทธศาสนา
B-NET ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2562-2564

ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

ค่าเฉลย่ี ค่าร้อยละของจำนวนนักเรยี นที่มคี ะแนน

รายวิชา ปีการศกึ ษา สงู กวา่ คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
2564
ภาษาบาลี ปกี ารศึกษา 25.74 +เพ่มิ /-ลด ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา +เพมิ่ /-ลด
ธรรม 2563 27.57
พทุ ธประวัติ 29.79 29.51 - 2563 2564
วินยั 31.50 30.13 -
35.86 - 17.86 12.50 -
31.57 -
50.00 37.50 -

21.43 29.17 +

10.71 8.33 -

13

40
35
30
25
20

15 ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564
22.61 29.79 25.74
10 34.00 31.50 27.57
35.74 35.86 29.51
5 32.35 31.57 30.13

0

ภาษาบาลี
ธรรม
พทุ ธประวตั ิ
วนิ ยั

ภาษาบาลี ธรรม พุทธประวตั ิ วนิ ัย

แผนภูมิท่ี 1.8 เปรยี บเทียบพัฒนาการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นพระพุทธศาสนา
B-NET ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ระหวา่ งปีการศึกษา 2562-2564

1.5 ข้อมลู การใชแ้ หล่งเรียนรภู้ ายในและภายนอกโรงเรยี น ปีการศกึ ษา 2564

แหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรยี น

ข้อ ชือ่ แหล่งเรยี นรู้
1 หอ้ งสมดุ
2 อาคารเรียนโรงเรยี นวดั แมร่ ิมวทิ ยา
3 อาคาร ๙๐ ปี พระครูอมรธรรมประยตุ
4 ห้องวทิ ยาศาสตร์
5 หอ้ งคอมพวิ เตอร์
6 หอ้ งเรียนอัจฉริยะ
7 ห้องพยาบาล
8 ห้องแสดงผลงาน
9 หอประชุมรัตนบุญญานศุ ิษย์

14

แหลง่ เรยี นรู้ภายนอกโรงเรยี น

ข้อ ชือ่ แหล่งเรยี นรู้
แหลง่ เรยี นรู(้ สถานที่)

1 วดั แม่ริม
2 วดั ปา่ ดาราภิรมย์ พระอารามหลวง
3 พพิ ิธภณั ฑ์พระตำหนกั ดาราภิรมย์
4 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำลริมใต้
5 สถานตี ำรวจภธู รแมร่ มิ
6 สวนพฤกษศาสตร์ ฯ
7 พิพิธภัณฑ์แมลงสยาม
8 สวนกลว้ ยไมแ้ ม่รมิ

แหล่งเรยี นรู้(วิทยากร) จำนวน
ครง้ั
1 วรรณกรรมลา้ นนา วทิ ยากร นางบุญยิ่ง พยอมยงค์ 40
2 งานดนุ ลายโลหะ วิทยากร พระอาจารย์สะอาด รตนวณโฺ ณ 60
3 การตัดตงุ ล้านนา วทิ ยากร นางสพุ รรณ ศรีไชยภา 20
4 การปฏิบัตติ นของสามเณร วิทยากร เจา้ อาวาสแต่ละวัดในอำเภอแมร่ ิม 20
5 สุขภาพกาย สขุ ภาพจิต วิทยากร เจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ อำเภอแมร่ มิ 20
6 ดา้ นกฎหมาย ปัญหาดา้ นยาเสพติด และดำรงชวี ติ วทิ ยากร เจา้ หน้าทต่ี ำรวจ สภ.แม่ริม 20
7 ช่างเชอ่ื ม ช่างไฟฟา้ ชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ วิทยากร อาจารย์จากวิทยาลยั สารพดั ชา่ ง 20

1.6 ปรัชญา วิสัยทศั น์ พันธกิจ อตั ลักษณ์ และเอกลักษณ์ ของโรงเรียน
ปรชั ญา : ปฏิบตั ดิ ี มีความรู้ เชดิ ชูพุทธศาสน์
วิสัยทศั น์ : ทรงศลี จรยิ วตั รงาม ทรงศาสนท์ ันสมยั ทรงธรรมประจำใจ พลานามยั สมบรู ณ์แข็งแรง
พันธกิจ : 1. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ข้นึ
2. ส่งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นให้ผู้เรยี นมีสมรรถนะ มคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และมีความ
เปน็ ผนู้ ำบนพืน้ ฐานหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มทุกภาคสว่ นในการบริหารจัดการการศึกษา
4. ส่งเสริมและพัฒนาสภาพแวดลอ้ มท่ีเออื้ ตอ่ การเรยี นรู้
5. ส่งเสริมและพฒั นานวตั กรรมและเทคโนโลยีเพื่อจดั การศกึ ษา
6. ส่งเสรมิ และพฒั นาครูและบุคลากรให้มศี กั ยภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
อัตลกั ษณโ์ รงเรยี น “ผู้เรียนมีระเบยี บวนิ ัย มีความรู้ มคี ุณธรรม”
เอกลักษณ์โรงเรยี น “นักเรยี นแต่กายเรยี บร้อย เป็นปรมิ ณฑล”

15

1.7 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีทผ่ี า่ นมา

ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ปีการศึกษา 2561

มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับคณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน ดเี ยี่ยม

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดเี ย่ียม

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ดีเยย่ี ม

ภาพรวมของ 3 มาตรฐาน ดีเยีย่ ม

ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ปกี ารศกึ ษา 2562

มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ระดบั คุณภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน ดเี ลศิ

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดเี ลิศ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ดเี ลศิ

ภาพรวมของ 3 มาตรฐาน ดีเลศิ

ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ปกี ารศกึ ษา 2563

มาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ระดบั คุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น ดเี ลิศ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดเี ลิศ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ดเี ลศิ

ภาพรวมของ 3 มาตรฐาน ดเี ลิศ

16

ส่วนที่ 2
ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ปีการศึกษา 2564

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับคณุ ภาพ
คณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาโดยรวม ดีเลศิ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น ดเี ลศิ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ดีเลศิ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรยี น

มาตรฐานท่ี 1 /ประเดน็ พิจารณา ระดบั คณุ ภาพ สรุปผลการ

เป้าหมาย ผลการประเมิน ประเมิน

1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน

๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น ดีเลิศ ดีเลิศ ตามเปา้ หมาย

การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ

๒) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิด

อย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม สูงกวา่ เปา้ หมาย

คิดเห็นและแก้ปญั หา

๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ดเี ลศิ ดีเลิศ ตามเป้าหมาย

๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดีเลศิ ยอดเยยี่ ม สงู กว่าเปา้ หมาย
สารสนเทศและการส่อื สาร

๕) มผี ลลัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสตู ร ดีเลิศ ผา่ น ตำ่ กวา่ เปา้ หมาย
สถานศึกษา

๖) มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดี ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม สงู กว่าเป้าหมาย
ต่องานอาชพี

1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผ้เู รยี น

๑) การมีคณุ ลกั ษณะและค่านิยมท่ดี ีตามท่ี ดีเลิศ ยอดเยีย่ ม สูงกว่าเป้าหมาย

สถานศึกษากำหนด

๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็น ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม สงู กวา่ เปา้ หมาย
ไทย

๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความ ดีเลศิ ดเี ลิศ ตามเปา้ หมาย
แตกต่างและหลากหลาย

๔) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม ดีเลศิ ดีเลิศ ตามเปา้ หมาย

สรปุ ผลการประเมิน มาตรฐานท่ี 1 ดีเลิศ

17

1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผ้เู รียน

๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคำนวณ
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนวัดแม่รมิ วิทยา จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนและกจิ กรรมทเ่ี น้นสง่ เสริมให้นักเรียนมีทักษะใน

การอ่าน เขยี น สอ่ื สารและคดิ คำนวณ โดยดำเนินการพัฒนาดังน้ี
1) การจดั การเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ม่งุ พัฒนานกั เรียนให้มีทักษะการอ่านและการ

เขียน ซึ่งเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ทำความเข้าใจของผู้ส่งสารและผู้รับสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ัง
พัฒนานักเรียนให้สามารถเขียนแสดงความคิดเห็น และสามารถเขียนจับใจความจากเรื่องทีศ่ ึกษาได้อย่างเป็น
ขั้นตอน โดยครูผู้สอนใช้แบบทดสอบทั้งปรนัยและอัตนัยเป็นเครื่องมือในการประเมินด้านการอ่านและการ
เขียนของนักเรียน และมีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นพัฒนานักเรียนให้มีทักษะในการสื่อสารตามหลักสูตร
สถานศึกษา โดยสังเกตพัฒนาการด้านการสื่อสารของนักเรียนจากการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการ
การพูด ดงั นั้นกิจกรรมในห้องเรียนจึงมีการจดั กิจกรรมให้ครบตามสาระท่ีสอดคล้องกบั การสื่อสาร เชน่ การพูด
เล่าประสบการณ์ พูดแนะนำตัวเอง เขียนเล่าเรื่อง เขียนบรรยาย เป็นต้น รวมทั้งการทำชิ้นงานโดยการเขียน
สรุปความ เขียนรายงานจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็นสำนวนภาษาของตนเองได้ การประเมินที่เดน่ ชดั ใน
เร่ืองการอา่ นและการเขียนตามหลักสูตรสถานศึกษาได้มุ่งเน้นพัฒนานักเรยี นให้มีทักษะการอา่ น และการเขียน
โดยเรมิ่ คดั กรองนักเรียนแรกเขา้ ทัง้ ระดับมธั ยมศึกษาปีที่ 1 และมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ทม่ี ีปญั หาด้านการอ่านและ
การเขยี น เพื่อนำมาพฒั นาทักษะการอ่านและการเขียนผ่านกิจกรรมในชั้นเรียน เชน่ การอ่านบทร้อยแก้ว บท
ร้อยกรอง การเขียนสรุปใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน การเขียนเรียงความ เป็นต้น อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้
นักเรียนทุกระดับชั้นเข้าร่วมการแข่งขันทักษะดังกล่าวในวันภาษาไทยแห่งชาติ เช่น การเขียนเรียงความคัด
ลายมือ การพูดสุนทรพจน์ การอ่านบทร้อยกรอง การแข่งขันตอบปัญหาภาษาไทย เป็นต้น อีกทั้งโรงเรียนวัด
แม่ริมวิทยายังส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าร่วมแข่งขันทักษะและแสดงความสามารถด้านภาษาไทย ในงานการ
เเข่งขันทกั ษะวชิ าการโรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5

2) การจัดการเรียนรู้ของกลุม่ สาระภาษาต่างประเทศมุ่งเน้นพัฒนาความสามารถของนักเรยี นในด้าน
การสื่อสารของนักเรียน ทำความเข้าใจของผู้ส่งสารและผู้รับสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการพัฒนา
นักเรียนให้สามารถติดต่อสื่อสารได้อย่างเป็นขั้นตอน โดยครูผู้สอนใช้แบบทดสอบทั้งปรนัยและอัตนัยเป็น
เครื่องมือในการประเมินด้านการสื่อสารของนักเรียนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 รวมทั้งภาระงานโดยการ
เขียนบทสนทนาและพูดสื่อสารตามหลักสูตรสถานศึกษา อีกทั้งโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยายังมีการจัดหลักสูตร
รายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เพื่อมุ่งเน้นพัฒนาทักษะด้าน
ภาษาอังกฤษของนักเรียนให้สูงขึ้น มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการสื่อสารด้านภาษาต่างประเทศ ท้ัง
ภาษาอังกฤษ และภาษาญี่ปุ่น เปิดโอกาสให้นักเรียนทุกระดับมีส่วนร่วมในการแข่งขันเพื่อพัฒนาทักษะการ
เรียนรู้ของนักเรียนในด้านการศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากนอกห้องเรียน เช่น การแข่งขันตอบปัญหา
ภาษาอังกฤษ การแข่งขันปาฐกถาภาษาอังกฤษ งานการเเข่งขันทักษะวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศกึ ษา เขต 5 ทกุ ปกี ารศกึ ษา

18

3) การพัฒนาความสามารถของนักเรียนในด้านการสื่อสารและการคิดคำนวณของกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์มุ่งเน้นการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถที่สำคัญของทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ซึ่งเป็นความสามารถในการใช้รูป ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สือ่ สาร สือ่ ความหมาย สรุปผล และนำเสนอได้อยา่ งถูกต้อง ชัดเจน และความสามารถด้านการคิดคำนวณเป็น
ทักษะที่สำคญั ในศตวรรษที่ 21 โดนท่กี ลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ได้ดำเนินการวางแผนกำหนดทิศทางใน
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามศักยภาพและความแตกต่างของแต่ละบุคคล โดยมีรูปแบบและกระบวนการใน
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่หลากหลายและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนากระบวนการคิด
วิเคราะห์แก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบและมขี ้ันตอน นอกจากนีโ้ รงเรยี นวดั แม่ริมวิทยายังได้มีหลักสูตรสถานศึกษา
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เพื่อเสริมสร้างความรู้พื้นฐาน เกิด
ความคดิ สรา้ งสรรค์ สามารถเชอื่ มโยงและนำความรู้ หลกั การ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับ
ความรูด้ า้ นอน่ื ๆ ได้

4) โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ได้จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น โดยมีชุมนุมที่ส่งเสริมทักษะด้านการอ่าน
การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ ไม่ว่าจะเป็น ชุมนุมภาษาล้านนา ชุมนุมภาษาญี่ปุ่น ชุมนุมวาทศิลป์
ชุมนุมคณิตคิดสนุก ชุมนุมEnglish communication เป็นต้น ซึ่งชุมนุมเหล่านี้ มุ่งเน้นพัฒนาทักษะ
ความสามารถที่นักเรียนสนใจ โดยมีครูประจำชุมนุมเป็นผู้ดูแล ให้คำปรึกษา และสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ
ภายในชมุ นุม เพือ่ ให้เกดิ ประโยชน์ต่อผู้เรียนอย่างสงู สุด

2. ผลการดำเนนิ งาน
ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของนักเรียน นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การ
เขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ ร้อยละ 72.23 ระดับคุณภาพ ดีเลิศ บรรลุตามเป้าหมายที่โรงเรียน
กำหนดไว้ โดยวัดจากร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการเรียนตั้งแต่ระดับน่าพอใจ (เกรด 2) ขึ้นไปในรายวิชา
ภาษาไทยพนื้ ฐาน ภาษาอังกฤษพื้นฐาน และคณิตศาสตรพ์ นื้ ฐานทุกระดบั ช้ัน และรอ้ ยละของผู้เรียนท่ีมีผลการ
ประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ด้านความสามารถในการสอ่ื สารระดบั ดขี ้ึนไป
ตารางที่ 2.1 แสดงผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการส่ือสาร ภาคเรียน

ท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

ชน้ั ด้านความสามารถในการส่ือสาร
ดเี ยย่ี ม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน

ม.1 71.15 20.88 7.97 0.00
ม.2 70.20 22.79 7.02 0.00
ม.3 75.79 19.45 4.76 0.00
ม.4 82.29 14.58 3.13 0.00
ม.5 72.36 24.89 2.75 0.00
ม.6 63.64 32.68 3.68 0.00
เฉล่ีย 72.57 22.55 4.89 0.00

19

จากตารางที่ 2.1 แสดงผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการสื่อสาร
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 พบว่า นักเรียนทุกชั้นปีมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ
95.12

ตารางท่ี 2.2 แสดงผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ดา้ นความสามารถในการสื่อสาร ภาคเรียน

ท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน

ชัน้ ดา้ นความสามารถในการสอื่ สาร

ดเี ยีย่ ม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น

ม.1 61.22 35.10 3.67 0.00

ม.2 59.88 29.37 10.75 0.00

ม.3 68.12 27.95 3.93 0.00

ม.4 70.83 29.17 0.00 0.00

ม.5 70.79 28.18 1.03 0.00

ม.6 60.95 30.79 8.25 0.00

เฉล่ยี 65.30 30.09 4.61 0.00

จากตารางที่ 2.2 แสดงผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการสื่อสาร

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 พบวา่ นกั เรียนทกุ ชัน้ ปมี ีผลการประเมินอยู่ในระดับดีข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ

95.39

ตารางท่ี 2.3 แสดงรอ้ ยละของผู้เรียนท่ีมผี ลการเรยี นตั้งแต่ระดับน่าพอใจ (เกรด 2) ข้นึ ไปในรายวชิ า

ภาษาไทยพน้ื ฐาน ภาษาองั กฤษพ้นื ฐาน และคณิตศาสตรพ์ ้นื ฐานทุกระดบั ชั้น

ชั้น ร้อยละผู้เรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ตงั้ แต่ 2.0 ข้นึ ไป

ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์

ม.1 77.80 82.14 75.23

ม.2 74.14 83.62 60.34

ม.3 56.14 52.63 71.93

ม.4 84.72 51.39 55.56

ม.5 100.00 58.82 69.12

ม.6 87.14 87.14 48.57

เฉลยี่ 79.99 69.29 63.46

จากตารางท่ี 2.3 แสดงร้อยละของผู้เรียนท่ีมีผลการเรียนตง้ั แต่ระดบั น่าพอใจ (เกรด 2) ขึน้ ไปในรายวิชา

ภาษาไทยพื้นฐาน ภาษาอังกฤษพื้นฐาน และคณิตศาสตร์พื้นฐานทุกระดับชัน้ พบว่า ร้อยละของผู้เรียนที่มผี ล

การเรยี นตง้ั แต่ระดบั น่าพอใจ (เกรด 2) ขึ้นไปทงั้ สามวชิ าเฉลยี่ คิดเปน็ ร้อยละ 70.91

20

2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ
แกป้ ัญหา

1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนานักเรยี นให้เป็นผู้ที่มีความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ
อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แก้ปัญหา และนำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เหมาะสม โดยมี
การจัดกจิ กรรมการเรยี นรหู้ ลากหลายวิชา รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี รายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ ทาง
สถานศกึ ษาไดจ้ ัดรายวชิ าดังกล่าวให้แก่นักเรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา
โครงงานเทคโนโลยี สำหรับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยมีครูประจำวชิ าดูแลใหค้ ำปรึกษาอย่างใกล้ชิด และเปิด
โอกาสให้นักเรียนนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ได้พัฒนานักเรียนที่มีความสนใจ
ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์โดยการจัดกิจกรรมชุมนุมโครงงานวิทยาศาสตร์ สง่ เสรมิ ความรู้แก่นักเรียน
ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งทำให้นักเรียนสามารถนำประสบการณ์จากทั้งการเรียนและจาก
กิจกรรมชุมนุมไปใช้ในการเรียนระดับสูงต่อไปได้ โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยายังได้ส่งเสริมให้นักเรียนแสดง
ความสามารถในด้านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยเข้าร่วมการเเข่งขันทักษะวิชาการโรงเรียนพระปริยัติ
ธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5 ทุกปีการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภท
สิ่งประดิษฐ์ โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสำรวจ การตอบคำถามวิชา
วิทยาศาสตร์ เป็นต้น และมีผลงานเชิงประจักษ์ทุกปีการศึกษา เช่น รางวัลชนะเลิศ รองชนะเลิศอันดับที่ 1
รองชนะเลิศอันดบั ท่ี 2 และรางวัลเหรียญทอง เป็นตน้

2. ผลการดำเนินงาน
ในการพัฒนานักเรียนด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปล่ยี นความคิดเห็นและแกป้ ัญหา พบวา่
1) ผู้เรียนมีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ
92.72
2) ผ้เู รียนมีผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ดา้ นความสามารถในการคดิ ระดับดีข้ึนไป ร้อย
ละ 94.65
3) ผู้เรียนมีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการแก้ปัญหาระดับดีขึน้
ไป ร้อยละ 96.56
4) นกั เรียนได้เขา้ รว่ มแข่งขนั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และได้รับรางวลั ในระดับตา่ ง ๆ อาทิ

- รางวัลชนะเลิศ โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ การเเข่งขันทักษะวิชาการโรงเรียน
พระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา เขต 5 ปกี ารศึกษา 2564

- รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง การเเข่งขันทักษะ
วชิ าการโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา เขต 5 ปกี ารศกึ ษา 2564

- รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 กิจกรรมตอบปัญหาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาตอนปลาย การ
เเข่งขันทักษะวิชาการโรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา เขต 5 ปีการศึกษา 2564

21

3) ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้พัฒนาความสามารถในการสร้างนวัตกรรม โดยมีการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่ม

สาระการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ด้วย Active Learning จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ รวบรวมความรู้ สร้างองค์ความรู้ใหม่ให้เกิดขึ้นด้วยตนเองและทีม มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรคแ์ ล้วนำความร้แู ละประสบการณ์มาใชส้ รา้ งผลงานและนวัตกรรมใหม่ ๆ ขน้ึ มา นอกจากนโ้ี รงเรียนยัง
ได้พัฒนาความสามารถของนักเรียนผ่านกิจกรรมการแข่งโครงการต่าง ๆ เช่น การเเข่งขันทักษะวิชาการ
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5 การแข่งขันงานศิลปหตั ถกรรม เป็นตน้

2. ผลการดำเนนิ งาน
จากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้และกจิ กรรมโครงการต่าง ๆ สง่ ผลให้นักเรียนมี
ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ผลงาน การนำเสนอ และเผยแพร่จัดแสดงในกิจกรรมและการแข่งขันต่าง
ๆ โดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนฝึกทักษะกระบวนการคิด
วเิ คราะห์ และสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ชิน้ งาน รวมถึงโครงงานต่าง ๆ มากมาย อีกทง้ั โรงเรยี นวัดแม่รมิ วทิ ยายังได้จัด
ให้มีชุมนุมโครงงานวิทยาศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลอง สืบเสาะหาความรู้ และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
สนบั สนนุ ให้นักเรียนไดแ้ สดงทักษะ ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ในการแข่งขันตา่ ง ๆ ท้ังในระดับกลุ่มสังกัด
เขต และระดับจังหวัด ระดับภาค เป็นต้น พบว่าผู้เรียนมคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม ร้อยละ 71.29
บรรลตุ ามเปา้ หมายท่ีโรงเรยี นกำหนดไว้

4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนได้พัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักเรียน ด้วยการ

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกชั้นเรียน จัด
กิจกรรมที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกต้อง สร้างสรรค์ผลงาน การสื่อสาร และมี
คุณธรรม

2. ผลการดำเนินงาน
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ ใช้ทักษะ
เพ่ือการศึกษาคน้ ควา้ การเขียนรายงานและการอ้างอิงและสามารถใชท้ ักษะสอ่ื สารในดา้ นการพดู การฟัง การ
อ่าน การเขียน การติดต่อสื่อสารอย่างสร้างสรรค์และมีคุณธรรม พบว่า ผู้เรียนทมีความสามารถในการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร รอ้ ยละ 95.99 สงู กวา่ ค่าเป้าหมายท่โี รงเรยี นกำหนดไว้ ดงั ข้อมลู ตอ่ ไปน้ี

22

ตารางที่ 2.4 แสดงรอ้ ยละของผเู้ รียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ดา้ นความสามารถใน

การใช้เทคโนโลยใี นระดับดขี นึ้ ไป ทุกระดบั ชั้น ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564

ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

ชัน้ ดา้ นความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ดีเยยี่ ม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น

ม.1 75.00 19.78 5.22 0.00

ม.2 70.94 25.00 4.07 0.00

ม.3 68.53 26.16 5.32 0.00

ม.4 70.31 23.96 5.73 0.00

ม.5 79.54 17.30 3.17 0.00

ม.6 71.61 25.24 3.16 0.00

เฉล่ีย 72.66 22.91 4.45 0.00

จากตารางที่ 2.4 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้าน

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในระดับดีขึ้นไป ทุกระดับชั้น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 พบว่า

นักเรียนทกุ ช้ันปมี ีผลการประเมนิ อยู่ในระดบั ดีขึน้ ไป คดิ เป็นร้อยละ 95.57

ตารางที่ 2.5 แสดงรอ้ ยละของผเู้ รียนท่ีมผี ลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน ด้านความสามารถใน

การใชเ้ ทคโนโลยใี นระดับดขี ึ้นไป ทกุ ระดบั ช้นั ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ดา้ นความสามารถในการใช้

ช้นั เทคโนโลยี

ดเี ยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน

ม.1 64.49 33.47 2.04 0.00

ม.2 67.43 29.89 8.43 0.00

ม.3 69.52 23.68 6.80 0.00

ม.4 66.67 31.27 2.06 0.00

ม.5 80.39 18.95 0.65 0.00

ม.6 63.84 28.99 7.17 0.00

เฉลยี่ 68.72 27.71 4.53 0.00

จากตารางที่ 2.4 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้าน

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในระดับดีขึ้นไป ทุกระดับชั้น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 พบว่า

นักเรียนทกุ ช้ันปีมผี ลการประเมนิ อย่ใู นระดบั ดีข้ึนไป คดิ เป็นรอ้ ยละ 96.43

23

5) ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา โดยการเร่ิม

จากการบริหารหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักแกนกลางการศึกษาข้ึน
พนื้ ฐานและจัดแผนการเรียนที่ตอบสนองต่อศักยภาพและความต้องการของนักเรียน และชมุ ชนท้องถิ่น จัดให้
มีระบบการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา จัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ด้วย Active Learning จัดให้มีระบบนิเทศติดตามการนำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
รวมถึงส่งเสริมให้ครูผลิต พัฒนาสื่อ และนวัตกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาให้เต็มศักยภาพ จัดตั้งและ
พฒั นาแหล่งเรยี นรู้ สนับสนุนให้ครูใชแ้ หล่งเรยี นรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน ใหค้ รอบคลมุ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และ
ส่งเสริมให้ครูจัดการวัดประเมินผลให้เป็นไปตามหลักการวัดประเมินผลหลักสูตรและตามบริบทของ
สถานศกึ ษา

นอกจากนี้ยังได้จัดโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผล
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้าน
พระพุทธศาสนา (B-NET) โดยปรับหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา ตามความ
ต้องการของผู้เรียนและตามบริบทของสถานศึกษา โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ทั้งด้านวิชาสามัญและด้าน
พระพุทธศาสนา

2. ผลการดำเนนิ งาน

โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาสามารถจัดการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม

หลักสูตรสถานศึกษา ในระดับ ปานกลาง คือนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตัง้ แต่ระดับน่าพอใจ (เกรด 2)

ขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 60 แต่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) และผลการทดสอบ

ทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) ท่ี ตำ่ กว่าเปา้ หมายของโรงเรียนที่ต้ังไว้

ตารางที่ 2.6 แสดงร้อยละของผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ (รายวิชา

พน้ื ฐาน) ปกี ารศกึ ษา 2564 ตงั้ แต่ 2.0 ข้นึ ไป

ร้อยละผู้เรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ต้ังแต่ 2.0 ข้ึนไป
ชั้น ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ สุขศึกษาฯ
ศลิ ปะ การงานอาชพี ฯ ภาษาตา่ ง
ประเทศ

ม.1 77.80 75.23 52.33 76.24 71.04 88.12 96.04 82.14

ม.2 74.14 60.34 67.24 91.38 88.79 89.66 67.24 83.62

ม.3 56.14 71.93 57.02 63.16 79.82 82.46 79.82 52.63

ม.4 84.72 55.56 43.06 48.61 81.94 41.67 77.78 51.39

ม.5 100.00 69.12 100.00 86.76 79.41 57.35 85.29 58.82

ม.6 87.14 48.57 34.29 70.00 77.14 40.00 70.00 87.14

เฉลย่ี 79.99 63.46 58.99 72.69 79.69 66.54 79.36 69.29

24

จากตารางที่ 2.6 แสดงร้อยละของผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
(รายวิชาพื้นฐาน) ปีการศึกษา 2564 ตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ตง้ั แต่ 2.0 ข้ึนไป คิดเป็นรอ้ ยละ 71.27

ตารางที่ 2.7 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงกว่า

ค่าเฉลย่ี ระดับสงั กัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ช้ัน จำนวน วชิ า คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉล่ยี ร้อยละของนกั เรยี นทีค่ ะแนนสงู
นกั เรียน ของโรงเรยี น ระดบั สงั กดั ฯ กว่าคะแนนเฉลย่ี ระดับสงั กัดฯ

ภาษาไทย 34.62 36.32 41.46

ม.3 41 คณติ ศาสตร์ 18.80 19.07 26.83
วิทยาศาสตร์ 27.46 28.02 29.27

ภาษาองั กฤษ 26.30 25.26 43.90

ภาษาไทย 37.90 36.06 54.17

คณิตศาสตร์ 15.05 15.28 37.50

ม.6 24 วทิ ยาศาสตร์ 24.77 24.65 41.67

สังคมศึกษาฯ 32.77 32.77 45.83

ภาษาอังกฤษ 19.11 19.63 50.00

เฉลีย่ 41.18

จากตารางที่ 2.7 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มผี ลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET)

สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ

นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 เฉลี่ยร้อยละ 51.18 มีผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ขั้นพื้นฐาน (O-NET)

สูงกว่าคา่ เฉล่ยี ระดบั สงั กัดสำนกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ตารางที่ 2.8 แสดงร้อยละของผู้เรยี นท่มี ีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา

(B-NET) สงู กวา่ ค่าเฉลย่ี ระดบั ประเทศ

ชั้น จำนวน วชิ า คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละของนักเรียนที่คะแนนสงู
นักเรียน ของโรงเรยี น ระดบั สังกดั ฯ กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับสงั กัดฯ

ภาษาบาลี 27.90 33.51 17.07

ม.3 41 ธรรม 29.85 32.48 31.71
พุทธประวัติ 30.83 34.96 39.02

วนิ ัย 31.66 42.75 19.51

ภาษาบาลี 21.33 29.48 12.50

ม.6 24 ธรรม 26.17 29.71 37.50
พทุ ธประวตั ิ 29.58 33.01 29.17

วนิ ัย 27.75 37.00 8.33

เฉลยี่ 24.35

25

จากตารางที่ 2.8 แสดงร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้าน
พระพุทธศาสนา (B-NET) สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ พบว่า นักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 และนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 6 เฉลี่ยร้อยละ 24.35 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-
NET) สูงกว่าคา่ เฉลีย่ ระดบั ประเทศ

6) มคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐานแลเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งานอาชีพ
1. กระบวนการพัฒนา
นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ด้วยการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความร้ใู น

อาชีพที่ตนเองสนใจ เห็นคุณค่าและความสำคัญของอาชีพสุจริต เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายในการเตรียม
ความพรอ้ มในการศึกษาต่อ หรือการทำงาน โรงเรียนจึงได้ดำเนนิ การ ดังน้ี

1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญของทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ด้วยวิธีการอัน
หลากหลายตามธรรมชาติของแต่ละวิชา จัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง วัดและประเมินผลตามสภาพจริง ทำให้
ได้ฝึกประสบการณ์การทำงานทั้งในระบบกลุ่มและรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง ขั้นตอนและกระบวนการวัดและ
ประเมินผลจากสภาพจริง เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ทำงานอย่างสร้างสรรค์ มีการประเมินผลงานและ
ข้อเสนอแนะจากหลายฝา่ ยท้ังตนเอง เพื่อน และครู ทำให้นักเรียนมีโอกาสแก้ไขและพัฒนางาน มีความมุ่งมัน่
ความเพยี รพยายาม ความอดทนและมคี วามละเอยี ดรอบคอบ และภาคภมู ใิ จในผลงานของตนเอง

2) การจัดกิจกรรมแนะแนว ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์
สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียนและอาชีพ
สามารถปรบั ตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากน้ียังชว่ ยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรยี น ทัง้ ยังเปน็ กิจกรรมที่มุ่งส่งเสริม
พัฒนาผเู้ รียนใหพ้ ัฒนาตนเองอย่างเตม็ ศักยภาพ รกั และเหน็ คณุ ค่าในตนเองและผ้อู น่ื พง่ึ ตนเอง มที ักษะในการ
เลือกแนวทางการศึกษา อาชีพส่วนตัวและสังคม มีสุขภาพจิตที่ดี และมีจิตสำนึกในการทำประโยชน์ต่อ
ครอบครวั สังคม และประเทศชาติ

3) การจดั กิจกรรมชุมนุม ซง่ึ เป็นกจิ กรรมทส่ี ง่ เสริมและพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถตามความ
ถนัดและความสนใจของผู้เรียน เพื่อฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะที่หลากหลาย สามารถทำงานร่วมกันบนพื้นฐานของ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
อย่างเต็มที่และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงผลงาน ความสามารถของตนเองผ่านกิจกรรมชุมนุม ซึ่งเป็นที่
ยอมรับของตวั ผู้เรียน คณะครู ผ้ปู กครอง และชุมนุม

2. ผลการดำเนินงาน
นักเรียนมีความพร้อมในการศึกษาต่อ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเป้าหมายที่โรงเรียนตั้งไว้ มี
ทัศนคติที่ดีต่อการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ มีการวางแผนการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพใน
อนาคตอย่างชดั เจน ดงั สรุปผลดงั นี้

26

ตารางท่ี 2.9 แสดงข้อมลู การศึกษาต่อและการประกอบอาชพี ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 และ 6 ปี

การศึกษา 2564

ที่ ข้อมูลการศึกษา/ประกอบอาชพี จำนวน (รปู /คน) รอ้ ยละ

1 โรงเรยี นวดั แมร่ มิ วทิ ยา 54 58.70

2 วิทยาลยั เทคนคิ เชียงใหม่ 2 2.17

3 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่ 4 4.35

4 มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ 1 1.09

5 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตเชียงใหม่ 2 2.17

6 มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา 2 2.17

7 ประกอบอาชีพ 16 17.39

8 ดำรงสมณเพศ 11 11.96

รวม 92 100

จากตารางที่ 2.9 แสดงข้อมูลการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3

และ 6 ปกี ารศึกษา 2564 พบวา่ นกั เรยี นร้อยละ 70.65 สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับท่สี งู ขึ้น นกั เรียนร้อย

ละ 17.39 สามารถประกอบอาชีพตามความสามารถและความสนใจของตนเองได้ และนักเรียนร้อยละ

11.96 ดำรงสมณเพศ เป็นศาสนทายาท ชว่ ยดำรง รักษาและเผยแผ่หลักธรรม คำสอนของพทุ ธศาสนาต่อไป

ตารางท่ี 2.10 แสดงรายช่ือกจิ กรรมชมุ นุมของโรงเรยี นวัดแมร่ ิมวทิ ยา

ที่ รายชือ่ ชุมนมุ จำนวนสมาชกิ จำนวนนกั เรยี นท่ีผา่ น
กจิ กรรมชมุ นมุ
1 ชา่ งจักสาน 12 12
2 เชิดชพู ทุ ธศาสตร์ 13 13
3 ภาษาลา้ นนา 13 13
4 English communication 13 13
5 ภาษาญ่ปี นุ่ 12 12
6 วาทศิลป์ 13 13
7 คณิตคดิ สนุก 13 13
8 English games 13 13
9 ช่างดลุ ลาย 12 12
10 ชา่ งดอกไม้ไหว 12 12
11 โครงงานสุขศกึ ษา 10 10
12 อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 12 12
13 ยุวบรรณารักษ์ 12 12
14 สวดมนต์ลา้ นนา 13 13
15 ถา่ ยภาพ 12 12
16 DIY 12 12
17 โครงงานวิทยาศาสตร์ 10 10
18 สตารอ์ พั (Start-Up) 12 12
19 ดาราศาสตร์ 12 12
20 ชา่ งปนั้ 12 12
243 243
รวม

27

จากตารางที่ 2.10 แสดงรายชื่อกิจกรรมชุมนุมของโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา พบว่า นักเรียนที่ผ่าน
กจิ กรรมชมุ นมุ คิดเป็นร้อยละ 100

3. เอกสาร หลักฐาน รอ่ งรอยเชิงประจกั ษ์ท่เี ก่ยี วข้อง (มาตรฐานที่ 1.1)
1) โครงการยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน

• กจิ กรรมทดสอบความร้พู ื้นฐาน
• กิจกรรมติว/สง่ (O-net)
• กิจกรรมติว/สง่ (B-net)
• กิจกรรมแขง่ ขันทกั ษะวิชาการวนั สำคญั ระดับโรงเรยี น
• กจิ กรรมสง่ เสริมนิสัยรักการอา่ น(ห้องสมดุ )
• กจิ กรรมโครงงานนักเรยี น
• กจิ กรรมประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี นสื่อความ
• กจิ กรรมประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น
2) โครงการความเปน็ เลิศทางวชิ าการ
• ส่งเสริมความเป็นเลศิ ทางวิชาการและทกั ษะสงิ่ ประดิษฐ์
• ส่งนักเรียนเข้าแข่งขันระดับเขตการศกึ ษาพระปรยิ ัติธรรม เขต 5
• สง่ นักเรียนเขา้ แข่งขันระดับประเทศ
• ประกาศผลการแขง่ ขัน ยกย่องชมเชย มอบเกียรตบิ ตั ร รางวลั และ ทุนการศึกษา

4. จดุ เดน่
1) มีการจัดกิจกรรมในห้องเรียน โครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย ส่งเสริมพัฒนาการอ่าน การ
เขยี น การสอ่ื สารและคดิ คำนวณของนักเรียน และส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นรจู้ ักศึกษาค้นควา้ ข้อมลู จากแหลง่ ต่าง ๆ
2) นกั เรียนไดร้ บั การพัฒนาจากกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มีการประเมนิ นกั เรยี นโดยใช้การเขียน
เป็นเครื่องมือในการทดสอบความเข้าใจของนักเรียน ฝึกฝนให้นักเรียนสามารถเรียบเรียงประโยคในการส่ือ
ความเพื่อใหผ้ ู้อ่านเขา้ ใจเนือ้ หาทีต่ นเองได้ถ่ายทอด อกี ทง้ั ยังให้นักเรียนได้ฝกึ เขยี นสรปุ ความจากการศึกษาด้วย
ตนเอง ผา่ นกิจกรรมส่งเสรมิ นิสัยรักการอา่ น(ห้องสมดุ ) ทำใหน้ กั เรียนสามารถเขียนสรุปองค์ความรู้ท่ีได้รับจาก
การศึกษาค้นคว้าเรื่องที่ตนเองสนใจ นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมพัฒนา สนับสนุนนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน
ดา้ นภาษาไทย เพอ่ื ให้นกั เรยี นแสดงศักยภาพของตนเองอย่างเตม็ ความสามารถ
3) นักเรียนสามารถนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั รวมถงึ
เห็นคุณค่าและมีเจตคติทด่ี ีต่อวชิ าวิทยาศาสตร์และวชิ าคณิตศาสตร์ เนอ่ื งด้วยกลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ได้รับการสนับสนุนในการดำเนินโครงการและกจิ กรรมต่าง ๆ อย่างเหมาะสม อีกทั้งมีโคงการ
ยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนกั เรยี นให้สามารถพฒั นาตนเองได้ตามศักยภาพของนักเรยี น

28

4) นักเรียนสามารถเรียนรู้ ฝึกฝนการสนทนาสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาญี่ปุ่น โดยมีครูที่จบ
การศึกษาระดับปริญญาตรีจากประเทศออสเตรเลีย และพระอาจารย์จากประเทศญี่ปุ่นเป็นผู้คอยแนะนำ
ส่งเสริมและฝึกฝนนักเรียนเพื่อให้มีความสามารถในการสื่อสารและสร้างทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่อ
เทคโนโลยี สร้างบรรยากาศในการเรียนร้อู ย่างสนุกสนาน ผ่อนคลาย ทำใหผ้ ู้เรยี นมีความคิดเชิงบวกกบั รายวิชา
ภาษาต่างประเทศ

5) นักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกว่าเกณฑ์ทโ่ี รงเรยี นตงั้ ไว้ อกี ท้ังนำความรูไ้ ปใชใ้ นการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) และนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 6 เฉลี่ยร้อยละ 51.18 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับ
สงั กัดสำนักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ

5. จุดควรพัฒนา
1) การจัดการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเอง ครูจึงต้องมีการตรวจสอบ
ข้อมูลอย่างแท้จริง ว่าชิ้นงานที่นักเรียนทำ เป็นสำนวนภาษาของนักเรียนจริง ไม่คัดลอกข้อมูลของผู้อื่นมาส่ง
โดยที่ไม่มีการนำข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ จึงต้องใช้เวลาในการตรวจชิ้นงานมากขึ้น ส่วนการนำเสนอและการ
สื่อสารนักเรียนบางคนไม่กล้าแสดงออก จึงมีปัญหาในการพูดต่อหน้าชุมชน หรือบางคนยังไม่สามารถพูดและ
สื่อสารภาษาไทยไดค้ ล่อง จึงมปี ัญหาในการเรยี นการสอนในบางรายวิชา
2) เพิ่มจุดบริการศนู ยค์ อมพิวเตอร์ให้เพียงพอต่อความตอ้ งการใช้งานของนักเรียน เพื่อรองรับการใช้
งานด้านการสืบคน้ ข้อมลู และการใช้ส่ือเทคโนโลยีของนกั เรียน
3) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรีนให้สูงยิ่งขึ้น และพัฒนาผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) ให้สูงยิ่งขน้ึ
ตามเป้าหมายท่โี รงเรียนกำหนด

1.2 คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผ้เู รียน

๑) มีคุณลักษณะและค่านิยมทีด่ ีตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด
1. กระบวนการพัฒนา
การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา นอกจากจะได้รับการ

ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีให้แก่นักเรียนในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ ยั งมีการ
สอดแทรกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านทางกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนรวมทั้งงานสภานักเรี ยน เช่น
โครงการพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรม กิจกรรมเสริมสรา้ งวนิ ยั ในโรงเรียน กิจกรรมสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตย กจิ กรรม
ฐานความดีสภานักเรียน กิจกรรมไหว้ครู กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
กจิ กรรมจิตอาสา เป็นต้น กจิ กรรมเหล้านถ้ี อื เปน็ กิจกรรมท่ีนักเรยี นโรงเรยี นวัดแมร่ ิมวทิ ยามีสว่ นร่วมในการทำ
กิจกรรม ส่งเสริมให้นักเรียนมีความสนใจในเรือ่ งการเห็นประโยชน์ส่วนรวมมาเป็นหนึ่งก่อนประโยชนส์ ่วนตน
โดยกจิ กรรมนไ้ี ดร้ บั การกล่นั กรองและพจิ ารณาจากคณะผู้บรหิ าร ฝ่ายกจิ การนักเรียน คณะครูและผปู้ กครอง

29

โรงเรียนได้จัดให้มีกิจกรรมสาธยายธรรมในตอนเช้าของทุกวัน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบใน
ตนเอง มีคุณธรรมประจำใจ ฝึกฝนจิตใจและสมาธิให้ตั้งมั่นอยู่กับตนเองอยู่ตลอดเวลา อีกทั้งยังเป็น
กระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนขั้นสูงสุด สั่งสมสุตตะและเจริญจิตภาวนา ก่อนเริ่มกิจกรรมการเรียนการ
สอน

2. ผลการดำเนนิ งาน
จากการทน่ี กั เรยี นได้เขา้ รว่ มโครงการ กจิ กรรมตา่ ง ๆ เชน่ โครงการพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรม กิจกรรม
เสริมสร้างวินัยในโรงเรียน กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย กิจกรรมฐานความดีสภานักเรียน กิจกรรมไหว้ครู
กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา กิจกรรมจิตอาสา โครงการปฏิบัติธรรมนำสุข
เป็นต้น ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิมยมที่ดีสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีคุณธรรม
จริยธรรมเคารพในกฎกติกา มีค่านิมและจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนดโดยไม่ขัดกับกฎหมายแล ะ
วฒั นธรรมอนั ดขี องสงั คม โดยมรี ายละเอยี ดข้อมูลคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ดงั นี้

ตารางที่ 2.11 แสดงผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

ชัน้ ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รฯ

ดีเย่ียม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น

ม.1 88.46 9.62 1.92 0.00

ม.2 85.10 10.96 3.95 0.00

ม.3 83.71 12.79 3.51 0.00

ม.4 69.62 26.74 3.64 0.00

ม.5 79.33 18.13 2.54 0.00

ม.6 78.99 17.86 3.16 0.00

เฉล่ยี 80.87 16.02 3.12 0.00

จากตารางที่ 2.11 แสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา

2564 พบว่า นักเรียนร้อยละ 96.89 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น

พนื้ ฐานในระดบั ดขี ึน้ ไป

ตารางท่ี 2.12 แสดงผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564

ชัน้ ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สตู รฯ

ดเี ย่ยี ม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน

ม.1 81.22 17.96 0.82 0.00

ม.2 75.82 18.73 5.45 0.00

ม.3 89.24 10.76 0.00 0.00

ม.4 64.71 31.89 3.41 0.00

ม.5 77.06 22.06 0.88 0.00

ม.6 80.95 14.60 4.44 0.00

เฉลี่ย 78.17 19.33 2.50 0.00

30

จากตารางที่ 2.12 แสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2564 พบว่า นักเรียนร้อยละ 97.50 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พน้ื ฐานในระดับดีขึ้นไป

2) มคี วามภูมใิ จในท้องถ่ินและความเป็นไทย
1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนไดเ้ ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ฝึกฝนทักษะความสามารถในรายวชิ าช่างสิบหมู่ เป็นประจำ

ทุกปีตลอดจนจัดกิจกรรมชุมนุมที่ส่งเสริม สนับสนุนและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีของไทยและของท้องถิ่น
ภาคเหนือ ยกตัวอย่าง ชุมนุมช่างจักสาน ชุมนุนภาษาล้านนา ชุมนุมช่างดุลลาย ชุมนุมดอกไม้ไหว ชุมนุมสวด
มนตล์ า้ นนา เป็นต้น และโรงเรียนได้มีโอกาสให้นักเรียนได้แสดงผลงาน ทกั ษะ ความสามารถทตี่ นเองได้เรียนรู้
ในกิจกรรมสำคัญภายในโรงเรียนและชุมชนของหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก การแต่งกายท่ี
เรียบร้อยเป็นปริมณฑล ตามเอกลักษณ์ของโรงเรียนที่ว่า “นักเรียนแต่กายเรียบร้อย เป็นปริมณฑล” และนำ
ผ้เู รยี นไปทศั นศึกษาแหลง่ เรยี นร้ปู ระวัติศาสตร์ทีส่ ำคัญ ๆ ในจังหวัดเชียงใหม่

2. ผลการดำเนนิ งาน
ผู้เรียนร้อยละ 90.53 มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย เข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญตาม
ประเพณีของท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาไทยแ ละแสดงออกได้
เหมาะสมในชวี ติ ประจำวัน

3) ยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
1. กระบวนการพฒั นา
ส่งเสริมกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมและการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้สามารถปรับตัวเข้ากับ

เพื่อนในโรงเรียนได้อย่างมีความสุข นำไปสู่งการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างของบุคคลต่าง
วัฒนธรรมและความหลากหลายและยอมรับฟังเหตุผลซึ่งกันและกัน อีกทั้งได้มีส่วนร่วมในการระดมความคิด
รวบยอดสร้างมนุษย สัมพันธ์อัน ดีในการร่ว มมือกันป ฏิบัติทั้งในห ้องเร ียน แล ะน อกห้องเรีย นได้อย ่ าง มี
ประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผล โรงเรียนมสี ภานักเรียน กิจกรรมปฐมนิเทศนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่
1 และ 4 กจิ กรรมไหว้ครู กิจกรรมแห่เทยี นพรรษา เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนสามารถทำงานร่วมกัน ปรบั ตวั เขา้ หากันและ
สามารถอยู่รว่ มกนั ภายในโรงเรยี นไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

2. ผลการดำเนนิ งาน
ผู้เรียนร้อยละ 77.22 ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายในระดับ ดีขึ้นไป
นักเรียนเข่าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ส่งเสริมให้เกิดการยอมรับเหตุผล มีมนุษยสัมพันธ์อันดีในการอยู่ร่วมกัน
ปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน ทำให้นักเรียนสามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อน ปรับตัวอยู่ในโรงเรียนได้อย่างมีความสุข
นำไปสู่การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลายระหว่างบุคคลในด้านวัย เชื้อชาติ
ภาษา วฒั นธรรม และประเพณี

31

4) มสี ุขภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจิตสังคม
1. กระบวนการพฒั นา
สร้างภูมิทัศน์ บรรยากาศ สิ่งแวดล้อม ปรับปรุงอาคารสถานทีใ่ หส้ วยงาม สะอาดและทันสมัย เอื้อให้

เกิดการเรียนรู้และประสทิ ธิภาพในการจัดการเรียนการสอนอยา่ งมีคุณภาพทกุ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ โรงเรียนมี
ครูประจำห้องพยาบาลที่คอยแนะนำเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง มีกิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ
อนามยั กิจกรรมคัดกรองสขุ ภาพ กจิ กรรมตรวจสขุ ภาพนักเรียน จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ จดั ป้ายนิเทศให้ความรู้
สง่ เสริมให้ผเู้ รยี นรู้จักรักและดูแลรกั ษาตนเอง

2. ผลการดำเนินงาน
ผู้เรยี นร้อยละ 83.54 มีสขุ ภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคมในระดับดีขึ้นไป นักเรียนมีน้ำหนัก
ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน นักเรียนรู้จักการดูแลตนเอง รักษาความสะอาดของร่างกาย แต่งกายเรียบร้อย มี
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ส่งผลให้มีทักษะการจัดการกับอารมณ์และความเครียด ส่งผลให้มีอารมณ์และ
สขุ ภาพจิตทด่ี ีอยเู่ สมอ สามารถรกั ษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์และสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสม
ในแตล่ ะช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกบั ผ้อู ่นื อย่างมีความสขุ เขา้ ใจผอู้ ่ืน ไมม่ ีความขดั แย้งกบั ผู้อืน่

3. เอกสาร หลักฐาน รอ่ งรอยเชงิ ประจกั ษ์ท่เี ก่ยี วข้อง (มาตรฐาน 1.2)
1) รายงานสรปุ ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
2) ผลงานการจัดกจิ กรรมชุมนุมชา่ งจักสาน ชุมนุนภาษาล้านนา ชุมนุมช่างดุลลาย ชุมนุมดอกไม้ไหว
ชมุ นุมสวดมนตล์ ้านนา
3) รายงานสรุปโครงการพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรม
4) รายงานสรปุ โครงการปฏิบัตธิ รรมนำสุข
5) รายงานสรปุ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามยั

4. จดุ เดน่
1) โรงเรียนวดั แม่ริมวิทยาได้ดำเนินการปลูกฝงั คุณลักษณะและคา่ นิยมอันพงึ ประสงค์ โดยสอดแทรก
ในกิจวัตรประจำวัน ตั้งแต่กิจกรรมเข้าแถว สาธยายธรรม การนั่งสมาธิเจริญสติ การจัดกระบวนการเรียนรู้
การให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่าง ๆ การปฏิบัติตามข้อตกลง ระเบียบ ข้อบังคับของโรงเรียน การดูแลรักษา
สุขภาพร่างกายของตนเอง การรักษาความสะอาด การแต่งกายเรียบร้อยเป็นปริมณฑลที่แสดงถึงความเป็น
เอกลกั ษณข์ องนกั เรียนโรงเรยี นวัดแม่ริมวทิ ยาทปี่ รากฏชดั เจนเปน็ รปู ธรรมเป็นทย่ี อมรบั ของชมุ ชนโดยรอบ
2) นักเรียนเกิดการเรียนรู้ สู่ทักษะการปฏิบัติจริง มีโอกาสแสดงความสามารถและแสดงผลงานของ
ตนเองผ่านกิจกรรมชุมนุมที่หลากหลายตามความสนใจของนักเรียน เช่น ชุมนุมช่างจักสาน ชุมนุนภาษา
ล้านนา ชมุ นุมชา่ งดลุ ลาย ชมุ นมุ ดอกไม้ไหว ชมุ นมุ สวดมนตล์ า้ นนา เปน็ ตน้

32

5. จดุ ควรพัฒนา
1. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้แก่นักเรียนใหม่ โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เพ่ือใหร้ ับรู้ข้อมลู เกยี่ วกับกจิ กรรม ความเป็นมาและรูปแบบกิจกรรมต่าง ๆ ทีโ่ รงเรยี นได้จดั ขน้ึ
2. ครูในโรงเรยี นควรให้ความรว่ มมือ อนุเคราะห์เวลาเรียนและสนับสนนุ นักเรียนในการแข่งขันทักษะ
ทางวิชาการ

6. แผนการพัฒนาให้มมี าตรฐานสูงขนึ้ ในปีต่อไป
1) จดั กจิ กรรมที่ตรงตามความตอ้ งการของนกั เรยี นโรงเรียนวัดแมร่ มิ วิทยามากขึน้ เพ่อื ให้นักเรียนเกิด
ความสนใจ ใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์และกลา้ แสดงศกั ยภาพของตนเองอย่างเหมาะสม
2) จดั ทำโครงการส่งเสรมิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์และคา่ นยิ มใหแ้ ก่นักเรียน โดยเน้นการมีส่วนร่วม
ของนกั เรียนใหม้ ากขน้ึ

33

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

มาตรฐานที่ 2 /ประเดน็ พจิ ารณา ระดบั คณุ ภาพ สรปุ ผลการ

เปา้ หมาย ผลการประเมนิ ประเมิน

2.1 มเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกจิ ที่ ยอดเยยี่ ม ยอดเยยี่ ม ตามเปา้ หมาย
สถานศึกษากำหนดชดั เจน

2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของ ยอดเย่ยี ม ยอดเย่ยี ม ตามเป้าหมาย
สถานศกึ ษา

2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพ ยอดเยย่ี ม ยอดเย่ยี ม ตามเปา้ หมาย
ผู้เรยี นรอบด้านตามหลักสูตรสถานศกึ ษา

2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชยี่ วชาญ ยอดเย่ียม ดีเลิศ ตำ่ กว่าเปา้ หมาย
ทางวชิ าชพี

2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคม ยอดเยีย่ ม ดี ต่ำกวา่ เป้าหมาย
ท่ีเอ้ือตอ่ การจัดการเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพ

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ

สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ ยอดเยยี่ ม ดี ต่ำกว่าเปา้ หมาย

เรยี นรู้

สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 2 ดีเลิศ

2.1 การมเี ปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกิจ ทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน
1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้มีการวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ โดยแต่งตั้งคณะกรรมการ

วิเคราะห์ SWOT สำรวจปัญหาและความต้องการตามบริบทของโรงเรียนกำหนดภาพความสำเร็จ เป้าหมาย
วิสัยทัศน์ และพันธกิจ รวมทั้งเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของโรงเรียน จากการระดมความคิดของบุคลากรที่มี
สว่ นไดส้ ่วนเสียในโรงเรียน ดำเนินการตามแผนงาน โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ จัดโครงการกิจกรรมการเรียน
การสอนเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ มีการวางแผน/โครงการ/กิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น เพื่อ
พัฒนาและส่งเสริมโรงเรียนให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น โดยบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนประชุม
ร่วมกันกำหนดแนวทางในการพัฒนา สง่ เสรมิ ปอ้ งกันและแก้ปญั หา ซงึ่ บุคลากรทกุ ฝา่ ยให้การสนบั สนนุ และให้
ความร่วมมือเป็นอย่างดี และมีการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถและทักษะที่จำเป็น
ต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เช่น ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills)
ได้แก่ นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ (Creativity and Innovation) การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา
(Critical Thinking and Problem Solving) การสื่อสารและการร่วมมือกัน (Communication and
Collaboration) ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี (information Media and Technology Skills)
และทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพ (Life and Career Skills) โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาตามประเด็น
พจิ ารณาไว้ดงั นี้

34

1) กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาของ
โรงเรียน ความต้องการของชุมชนท้องถิ่น และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศกึ ษา เขต 5

2) มีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับ การพัฒนาผู้เรียน
ทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ข้อมูลสารสนเทศ
ดำเนินการอย่างเป็นระบบมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้และมีการจัดสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพและแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น ที่กระตุ้นผูเ้ รียนให้ไฝเ่ รยี นรู้

3) มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพ
ปัญหา ความต้องการพัฒนาและตามนโยบาย โดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการปรับปรุงพัฒนาและร่วม
รับผดิ ชอบ

4) โรงเรียนมีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสม
เปน็ ระบบและต่อเน่ือง เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ก่ยี วขอ้ งมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา

6) โรงเรียนมีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบโดยทกุ ฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภบิ าล
และแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางวิสัยทัศน์ อัตลักษณ์และ
เอกลักษณ์ของโรงเรยี น

2. ผลการดำเนนิ งาน
ผลจากระบวนการบริหารที่มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ตรงกบั วัตถขุ อง
แผนการศึกษาระดับชาติ ยุทธศาสตร์ของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ของสำนักเขต
การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 5 รวมทั้งทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม รวมถึง
สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและท้องถน่ิ การบรหิ ารงานของโรงเรียนแบง่ โครงสร้างการบริหารงานท่ี
ชัดเจน มีการจัดวางตัวบุคคลเข้าปฏิบัติงาน มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับภาระงานของทุกฝ่าย เป็นไป
ในทางทีส่ ่งเสริมให้เกดิ ผลสำเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ท่ีต้องการและบรรลุวัตถปุ ระสงค์อย่างมปี ระสิทธิภาพ มีการ
ตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานต่าง ๆ นำมาปรบั ปรุงการทำงาน การปฏิบัติงาน ผู้บรหิ ารสามารถปฏิบัติงาน
ตามบทบาทหนา้ ทอ่ี ยา่ งมีประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล

3. เอกสาร หลักฐาน รอ่ งรอยเชิงประจักษ์ทเี่ กยี่ วข้อง
1) แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
2) แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี
3) โครงการพฒั นาระบบการบรหิ ารและการจดั การ

4. จุดเด่น
1) โรงเรียนมีรูปแบบการบรหิ ารและการจัดการเชิงระบบโดยทกุ ฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภบิ าล
และแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางวิสัยทัศน์ อัตลักษณ์และ
เอกลักษณข์ องโรงเรยี น

35

2) โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมรส่วนร่วม การประชุม
ระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มี
การปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพ
ปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายของต้นสังกัด ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน
การเรยี นรขู้ องสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

3) มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน มีกระบวนการวิจัยในการ
รวบรวมข้อมลู เพ่อื ใช้เป็นฐานในการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา

4) โรงเรียนแบ่งโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน มีการจัดวางตัวบุคคลเข้าปฏิบัติงาน มีความรู้
ความสามารถเหมาะสมกับภาระงาน กางวางแผนและดำเนินการครบวงจร PDCA การปฏิบัติงานผู้บริหาร
สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ส่งผลให้นักเรียน ผู้ปกครอง
และชมุ ชนพงึ พอใจผลการบรหิ ารการจดั การศึกษา

5. จุดควรพัฒนา
1) พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยใช้เทคโนโลยที ่ีทันสมัย เพ่ือให้เกิดความคล่องตวั และรวดเร็วใน
การสอื่ สาร
2) ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ
เพือ่ พัฒนาสู่ความเป็นเลศิ ทีย่ งั่ ยืน โดยมีการกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลอยา่ งมคี ณุ ภาพ
3) การวางแผนการบริหารและจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ในการจัดการเรียนการสอน
กิจกรรมและโครงการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้บริหาร ครู และผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจอย่างเป็นรูปธรรมและ
ต่อเนือ่ ง

6. แผนการพฒั นาเพ่อื ใหไ้ ด้มาตรฐานที่สูงข้ึนในปตี ่อไป
1) โครงการพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการ

- งานจัดหาและจัดชื้อวัสดุ/อุปกรณ์และงานพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ
คอมพิวเตอร์

- พัฒนาระบบงานแผนงาน
- พัฒนาระบบงานสารสนเทศ

2.2 มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยา ตะหนักถึงความสำคัญของการจัดระบบบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาของ

สถานศึกษา จึงได้นำกระบวนการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม และน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
ภายใต้วงจรคุณภาพ (PDCA) จัดโครงสร้างการบริหารที่สอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจและเป้าหมาย
ของสถานศึกษา แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องและเชื่อมโยงของสายงาน มีความครอบคลุมขอบข่ายและ

36

ภารกิจหลักของสถานศึกษา มอบหมายงานแกบุคลากรตามโครงสร้างการบริหารงาน ร่วมวางแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี มีการจัดสรรทรัพยากร สนับสนุนการดำเนินงานตามแผนท่ีวางไว้
และจัดให้มีระบบควบคุมภายใน นิเทศ กับกำ ติดตาม ประเมินผล รายงานการปฏิบัติงาน นำผลที่ได้มา
ปรับปรุงและพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้บรรลุเป้าหมายและมี
คุณภาพ สง่ ผลตอ่ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และประสทิ ธิผลของโรงเรียนอยา่ งต่อเนื่องและยง่ั ยนื

2. ผลการดำเนนิ งาน
โรงเรียนบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ ทั้งในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การ
นำแผนไปปฏบิ ัตเิ พื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มกี ารติดตามตรวจสอบประเมนิ ผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่าง
ต่อเนื่อง มกี ารบรหิ ารอตั รากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น มรี ะบบการนิเทศ
ภายใน การนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน ปรับปรุง
พฒั นา และรว่ มรับผิดชอบต่อการจัดการศกึ ษา

3. เอกสาร หลกั ฐาน รอ่ งรอยเชิงประจกั ษท์ ่ีเกยี่ วข้อง
1) แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา
2) แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี
3) รายงานสารสนเทศประจำปขี องโรงเรียนวัดแม่รมิ วิทยา
4) โครงการพฒั นาระบบการบรหิ ารและการจัดการ

4. จดุ เดน่
โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยามีการบริหารและการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ เน้นการมีส่วนร่วมทุกภาค
ส่วน เช่น การประชุมแบบมีส่วนรว่ ม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนรว่ มในการ
กำหนดวสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มกี ารปรบั แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจำปี
ทีส่ อดคลอ้ งกับผลการจดั การศึกษา สภาพปญั หา ความต้องการพัฒนา ทม่ี ุ่งเน้นการพฒั นาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการเรยี นร้ตู ามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ครสู ามารถจัดการเรยี นรู้ได้อย่างมคี ุณภาพ มีการดำเนินการ
นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานและจดั ทำรายงานผลการจดั การศกึ ษา

5. จุดควรพัฒนา
1) ประสัมพันธผ์ ลการดำเนนิ งานของโรงเรียนให้ผู้ปกครอง ชุมชนและทุกภาคส่วนได้รับรู้ และชื่นชม
ประสิทธภิ าพทเี่ กิดจากการบรหิ ารจดั การศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ

2.3 ดำเนินการพฒั นาวชิ าการท่ีเนน้ คุณภาพผูเ้ รยี นรอบดา้ น ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ

ปรังปรุง พ.ศ. 2560) เนื่องจากเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลทีต่ ้องการขับเคล่ือนประเทศไทยโดยการสร้าง

37

รายไดจ้ ากนวตั กรรมเปน็ หลกั หรือทเ่ี รยี กวา่ ไทยแลนด์ 4.0 ซงึ่ จำเป็นตอ้ งสรา้ งกำลังคนท่ีมคี วามเข้มแข็ง เป็น
ฐานในการสร้างนวัตกรรม โรงเรียนจึงปรับหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
และทกุ กลุม่ เปา้ หมาย

โรงเรียนดำเนนิ การแต่งตัง้ คณะกรรมการ ทีป่ ระกอบดว้ ยผู้มสี ว่ นเก่ียวข้องทุกฝา่ ย ไดแ้ ก่ ผู้อำนวยการ
โรงเรียน รองผู้อำนวยการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้างานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง จัดทำและพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาท่มี ีโครงสร้าง องค์ประกอบของหลักสูตรครบถว้ น สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคข์ องแผนการ
ศึกษาชาติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรังปรุง พ.ศ. 2560)
สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดเน้นของสถานศึกษา ผ่าน
ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานของโรงเรยี นและนำไปสู่การปฏิบัติ โดยครูนำไปจัดทำ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ลำดับเนื้อหาสาระตามกระบวนการเรียนรู้ บูรณาการสภาพปัญหาและความ
ต้องการของท้องถิ่นในรายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชาเพิ่มเติมอย่างเหมาะสม กำหนดรายวิชาเพิ่มเติมและ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่มีเนื้อหา สาระการเรียนรู้ กิจกรรมเหมาะสมตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาของ
นักเรียนทุกระดับชั้นอย่างหลากหลาย เพียงพอตามความต้องการ ความถนัดและความสนใจ และตืดตาม
ประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา นำข้อมูลผลการประเมินไปทบทวน ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา

2. ผลการดำเนนิ งาน
ในด้านคุณภาพ โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่ประกอบด้วยโครงสร้าง และองค์ประกอบของ
หลักสูตรครบถ้วน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการศกึ ษาชาติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรังปรุง พ.ศ. 2560) สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ตอบสนองวิสัยทัศน์
พันธกิจ และจุดเน้นของสถานศึกษา กำหนดเวลาเรียนเหมาะสมกับระดับชั้นเรียน และครูนำไปจัดทำ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ลำดับเนื้อหาสาระตามกระบวนการเรียนรู้ บูรณาการสภาพปัญหาและความ
ต้องการของท้องถิ่นอย่างเหมาะสม นักเรียนได้มีส่วนร่วมทุกรายวิชา มีโอกาสลงมือปฏิบัติกิจกรรม มีผลงาน
โครงงาน โครงการทีแ่ สดงให้เห็นการอธิบายวธิ ีคดิ และสรุปความคดิ ของผู้เรียน ผเู้ รียนไดร้ ับการพัฒนาทุกด้าน
ความศักยภาพ ความถนัดและความสนใจ และมีการติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา นำข้อมูล
การประเมินไปทบทวน ปรบั ปรุงพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
ในดา้ นปริมาณ บรรลุผลดังน้ี
1) ผู้เรียนร้อยละ 100 ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมชุมนุม มีความกระตือรือร้นและสนใจเข้า
ร่วมกิจกรรมท่ีตนเองถนดั และสนใจ
2) ผู้เรยี นร้อยละ 90 ให้ความรว่ มในการทำกิจกรรมท่โี รงเรยี นจดั ขึ้น
3) ผเู้ รยี นร้อยละ 60 ทีเ่ ปน็ ตัวแทนโรงเรยี นเขา้ แขง่ ขนั ทักษะวชิ าการไดป้ ระสบความสำเรจ็

38

3. เอกสาร หลักฐาน รอ้ งรอยเชงิ ประจักษ์ทีเ่ กยี่ วข้อง
1) หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั แม่รมิ วิทยา
2) ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
3) ผลการประเมนิ ทักษะการอ่าน การคิด วิเคราะห์
4) โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
5) โครงการโครงการพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรม
6) โครงการความเป็นเลิศทางวชิ าการ
7) โครงการโครงการปฏิบตั ิธรรมนำสุข

4. จุดเดน่
1) โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาทีม่ ีรายวิชาเพิ่มเตมิ หลากหลาย ส่งเสริมพัฒนานักเรียนให้มีความรู้
ความสามารถตามความต้องการของผูเ้ รยี น
2) กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน มุ่งเนน้ พัฒนาผเู้ รียนรอบด้าน ความศักยภาพ ความถนัดและความสนใจ

5. จุดควรพฒั นา
1) ควรมีการกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลอย่างมคี ณุ ภาพ โดยมรี ่องรอย
2) ควรนำระบบตรวจสอบการนำขอ้ มลู ย้อนกลับไปพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นอย่างเป็นรปู ธรรม

2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนมีการวางแผนและดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาร่วมกันระหว่างโรงเรียน

คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทาง
ในการวางแผนพัฒนาครูและบุคลากร ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาให้มีความ
เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ โดยการเข้าร่วมอบรม ประชุม สัมมนาทางวิชาการ จากหน่วยงานทั้งภายในและ
ภายนอกอย่างสม่ำเสมอ สนับสนุนให้ครูใช้เทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
และสนับสนนุ ให้ทำงานวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นการสอน ส่งเสริมให้ครูทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้สร้างนวัตกรรม
เพื่อใช้ในการเรียนการสอน เช่น บทเรียนสำเร็จรูป เอกสารประกอบการเรียน ชุดกิจกรรม ฯลฯ ส่งเสริมให้
บุคลากรศึกษาตอ่ ในระดับท่ีสูงข้ึน

โรงเรียนได้จัดระบบการเรียนรู้และพัฒนาของโรงเรียนโดยคำนึงถึงสมรรถนะหลัก คือสอนตรงตาม
วิชาเอก ปฏิบัติงานตามความรูค้ วามสามารถและเต็มศักยภาพ มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี มีกิจกรรม
งานพฒั นาครูและบุคลากร

39

2. ผลการดำเนินงาน
จากการดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครูให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามวิชาเอกและ
ความถนัด ทำให้นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และประสบความสำเร็จ มีผลงานเชิงประจักษ์ท่ี
นักเรยี นได้รบั รางวลั จากการเข้ารว่ มการแขง่ ขันทักษะวชิ าการ เชน่
1) รางวัลชนะเลิศ โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ในการแข่งขันทักษะวิชาการโรงเรียน
พระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา เขต 5 ครั้งที่ 14 ครทู ี่ปรกึ ษา นายเกียรติ องั ศสุ ิงห์
2) รางวัลชนะเลิศ โครงงานสุขศึกษา ในการแข่งขันทักษะวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศกึ ษา เขต 5 คร้งั ที่ 14 ครูทป่ี รึกษานางจรัสศรี จนิ าจนั ทร์
3) รางวัลรองชนะเลิศอันดับท่ี 2 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง ในการแขง่ ขนั ทักษะวิชาการ
โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา เขต 5 ครั้งท่ี 14 ครทู ป่ี รึกษา นายรณชยั เลือดไทย
4) รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ตอบปัญหา 8 กลุ่มสาระ ม.ต้น ในการแข่งขันทักษะวิชาการ
โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา เขต 5 ครง้ั ท่ี 14 ครทู ่ีปรึกษา นางสาวอัจฉริญา ศรธี ิ ครูที่ปรึกษา
พเิ ศษ นายกิตติศกั ดิ์ จติ รานุกลู กจิ
5) รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ตอบปัญหาวิทยาศาสตร์ ม.ปลาย ในการแข่งขันทักษะวิชาการ
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา เขต 5 คร้งั ที่ 14 ครูทปี่ รึกษา นายรณชัย เลือดไทย
6) รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ตอบปัญหาพระพุทธศาสนา ม.ต้น ในการแข่งขันทักษะวิชาการ
โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา เขต 5 คร้งั ท่ี 14 ครทู ี่ปรกึ ษา พระปรเมศวร์ ปรมสิ สฺ โร

3. เอกสาร หลกั ฐาน รอ่ งรอยเชิงประจกั ษ์ทเี่ ก่ยี วข้อง
1) โครงการพัฒนาระบบการบริหารและการจดั การ
2) ผลการแข่งขนั ทักษะวิชาการโรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา เขต 5 ครั้งที่ 14

4. จดุ เดน่
ครูและบุคลากรมีความรู้ ความสามารถ ด้านเทคนิคการสอน สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน
การสอน และการนำเทคโนโลยีเข้ามามีบาบาทในการทำกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนำความรู้ที่ได้จากการอบรม พัฒนา มาใช้ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง มี
ผลงานเชงิ ประจักษ์

5. จุดควรพฒั นา
วัยวุฒิของครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน มีความหลากหลาย ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการ
พัฒนาแนวคิดและการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทางการศึกษา อันจะนำมาใช้ในการพัฒนาบริหารจัดการ
เรยี นรเู้ พื่อใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชีพทีส่ งู ข้ึน

40

2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่เี ออื้ ตอ่ การจัดการเรยี นรูอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ
1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาจัดให้มีการพัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ ตาม

แผนปฏิบัติการประจำปี สู่เป้าหมายในการพัฒนา ปรับปรุง ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สภาพอาคารเรียนมีความแข็งแรง มั่นคง ปลอดภัย พร้อมใช้งานได้เสมอ ภายใน
ห้องเรียนจัดเตรียมอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกในการให้บริการอาคารสถานที่เป็นไปตามความเหมาะสม
และจดั ใหเ้ พียงพอตอ่ การให้บริการ เชน่

1) หอ้ งเรียนบางหอ้ งจัดใหม้ สี ือ่ อปุ กรณ์ เครอื่ งเสียง เพื่อใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
2) หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ จดั ใหม้ สี ือ่ อปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ ใช้ในการจัดการเรยี นรู้
3) หอประชมุ หอ้ งประชุม มอี ุปกรณ์ โปรเจคเตอร์ เคร่อื งเสยี ง พรอ้ มใหบ้ ริการในการประชุม สมั มนา
จัดกิจกรรม
4) ห้องพยาบาลมเี ตียงนอน อปุ กรณ์ ยาและเวชภัณฑพ์ นื้ ฐาน ทพ่ี รอ้ มบริการดา้ นพยาบาลเบ้ืองตน้
จัดสภาพบริเวณโรงเรียนให้สะอาดเป็นระเบียบ ร่มรื่น สวยงาม มีไม้ยืนต้นและไม้ประดับเมหัสมกับ
อาคารสถานท่ี ด้านอาคารเรียน โรงเรียนได้มีแผนตรวจสอบและซ่อมแซ่ม บำรุงรักษา ระบบน้ำ ระบบไฟฟ้า
ภายในโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ มีการปรับปรุงโรงอาหารให้มีความสะอาด เพียงพอกับการบริการนักเรียน จัด
หอ้ งสุขาใหม้ ีจำนวนห้องสุขาท่ีเพียงพอและถูกสุขลกั ษณะ ปรบั ปรุงหอ้ งสมุดและแหล่งเรียนรู้เพ่ือรองรับการใช้
งานของนกั เรยี น
ให้ความรู้ในเรื่องสุขภาพ อนามัย การป้องกันโรค โดยได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลและสถานี
อนามัย เช่น การรักษาสุขภาพฟัน การห้องกันไข้เลือดออก การพ่นหมอกควันในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย การ
พ่นนำ้ ยาฆ่าเชือ้ ปอ้ งกันโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019

2. ผลการดำเนนิ งาน
โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทาง
สงั คมท่เี อือ้ ตอ่ การจัดการเรียนรู้ และมคี วามปลอดภยั หอ้ งเรยี นหรอื อาคารปฏิบัตกิ ารไดร้ บั การพฒั นาปรับปรุง
อย่เู สมอส่งผลใหก้ ารประเมินอยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดี

3. เอกสาร หลักฐาน รอ่ งรอยเชิงประจักษท์ เี่ กย่ี วข้อง
1) สรุปผลการดำเนินงานอาคารสถานที่และงานดแู ลอาคารสถานท่ี
2) กจิ กรรมพฒั นาสภาพแวดล้อม แหล่งเรยี นรูใ้ นโรงเรียนและพฒั นาหอ้ งสมดุ

4. จุดเด่น
โรงเรียนมีแผนนำทางสู่เป้าหมาย เพื่อพัฒนา ปรับปรุง อาคารสถานที่ต่าง ๆ ภายในโรงเรียนให้มี
สภาพทดี่ อี ยเู่ สมอ มอี าคารเพียงพอกับจำนวนนักเรียนและเหมาะสม สอดรับกับงานหรอื กจิ กรรมการเรียนการ
สอนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ตามโครงการและกจิ กรรมท่เี กีย่ วขอ้ ง

41

5. จุดควรพัฒนา
1) ควรพัฒนาห้องคอมพิวเตอร์และสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อและบริการให้ครูและผู้เรียนใช้
ประโยชน์

6. แผนการพฒั นาเพอื่ ใหไ้ ด้มาตรฐานทส่ี งู ข้นึ ในปตี ่อไป
1) ปรับปรุงห้องคอมพิวเตอร์ และพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ในทันสมัย รองรับการใช้งานของ
นักเรียนในการสืบคน้ และกจิ กรรมการเรียนการสอน
2) กิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ สง่ เสริมความร้คู วามเขา้ ใจในการจัดการขยะแก่คณะครู บุคลากรและ
นกั เรียน

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การ และการจดั การเรยี นรู้
1.กระบวนการ
การบริหารจัดการภายในโรงเรียนวัดแม่ริมวิทยาได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้บริหารงานโรงเรียน

โดยพัฒนาโปรแกรมขึ้นมาใช้งานภายในโรงเรียน ได้แก่ โปรแกรมสแกนบัตรนักเรียนเพื่อเชค็ การมาเรียน/เขา้
ร่วมกิจกรรม โปรแกรมลงคะแนน ปพ.5 โปรแกรมลงคะแนน ปพ.6 ระบบการประเมินครูผสู้ อนออนไลน์ การ
ติดต่อสื่อสารกับบุคลากรโดยใช้ แอพลิเคชั่น Line, Messenger และระบบ Google Apps for Education
มาใช้ในการบริหารจดั การเรียนการสอน เปน็ ตน้

2. ผลการดำเนนิ งาน
โรงเรียนได้จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ท่ี
เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน มีระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในโรงเรียน นำผลจากการประเมินการใช้
เทคโนโลยไี ปพัฒนางานใหม้ ีประสิทธิภาพยิง่ ขนึ้

3. เอกสาร หลกั ฐาน ร่องรอยเชงิ ประจกั ษ์ที่เกยี่ วข้อง
1. โครงการพัฒนาระบบการบริหารและการจดั การ
2. กิจกรรมงานจัดหาและจัดชื้อวัสดุ/อุปกรณ์และงานพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ
คอมพิวเตอร์
3. การนำ Google Apps for Education มาใชใ้ นการบริหารจัดการเรยี นการสอน

4. จดุ เด่น
โรงเรียนได้พัฒนาระบบโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาประยุกต์ใช้ เช่น โปรแกรมสแกนบัตร
นักเรียนเพื่อเช็คการมาเรียน/เข้าร่วมกิจกรรม โปรแกรมลงคะแนน ปพ.5 โปรแกรมลงคะแนน ปพ.6 ระบบ
การประเมินครูผู้สอนออนไลน์ ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว อีกทั้งยังมีการติดต่อสื่อสารกับ
บุคลากรโดยใช้ แอพลิเคชั่น Line, Messenger สร้างความสะดวก รวดเร็วในการแจง้ ข้อมลู ข่าวสาร ประเด็น
การสนทนาท่ีสำคญั เรง่ ด่วน

42

5. จดุ ควรพัฒนา
1. พฒั นาโปรแกรมสำหรับการบริหารทสี่ ามารถบูรณาการกับทกุ ระบบงานในโรงเรียน และมรี ะบบ
รวบรวมขอ้ มูลเปน็ ฐานข้อมลู กลางทีค่ รอบคลุมระบบสารสนเทศของทุกฝา่ ย/งาน/กลุม่ สาระการเรยี นรู้
2. พฒั นาระบบอนิ เทอร์เนต็ ให้ครอบคลุมทั้งโรงเรียน เพอื่ ส่งเสริมกจิ กรรมการเรยี นการสอนและการ
ปฏิบตั งิ านของบุคลากร

6. แผนการพฒั นาเพื่อให้ไดม้ าตรฐานที่สงู ขน้ึ ในปีตอ่ ไป
1. จัดทำโครงการส่งเสริมและพัฒนาโปรแกรมสำหรับการบริหารจัดการเชิงบูรณาการครอบคลุม
ระบบสารสนเทศทั้งโรงเรยี น
2. จดั ทำโครงการพฒั นาระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ให้ครอบคลุมการใชง้ านทั้งโรงเรยี น

43

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ

มาตรฐานท่ี 3 /ประเดน็ พิจารณา ระดบั คุณภาพ สรปุ ผลการ

เป้าหมาย ผลการประเมนิ ประเมิน

3.1 จัดการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย
ปฏิบัตจิ ริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิต

3.2 ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่ง ยอดเยี่ยม ดเี ลิศ ตำ่ กว่าเป้าหมาย
เรยี นร้ทู เี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้

3.3 มีการบริหารจดั การชัน้ เรยี นเชิงบวก ยอดเยยี่ ม ยอดเย่ียม ตามเป้าหมาย

3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเป็น ยอดเยี่ยม ดีเลศิ ตำ่ กวา่ เป้าหมาย
ระบบ

3.5 มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นร้แู ละให้ข้อมูล

สะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การ ยอดเยย่ี ม ดีเลิศ ตำ่ กว่าเปา้ หมาย

เรียนรู้

สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 3 ดเี ลิศ

3.1 จัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ
1. กระบวนการพัฒนา
1) โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีการศึกษา โดยเชิญวิทยากร

ผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำและพัฒนาโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้
และแผนจดั การเรยี นรู้ ออกแบบกจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ การวดั ผลและประเมินผล ทีเ่ นน้ ใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรู้
ผ่านกระบวนการคิดการปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ในแต่ละกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ได้จัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อออกแบบหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร
สถานศกึ ษา

2) โรงเรียนให้ครูผู้สอนใช้แผนจัดการเรียนรู้แบบ Active Leaning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้
นกั เรียนมีสว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ และไดล้ งมือปฏบิ ัตจิ ริงในแต่ละรายวชิ าทส่ี อน

3) โรงเรียนมีการตรวจสอบ กำกับ ติดตาม แผนการจัดการเรียนรู้และผลการจัดการเรียนรู้ แบบ
Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อีกทั้งมีการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้สะท้อนผลการจัดการ
เรียนรภู้ ายในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพื่อใชใ้ นการปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ โดยนำผลที่ได้เขียนเป็น
รายงานการนิเทศติดตาม รายงานการสังเกตการณ์จัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายงานผลการประเมินแผนการ
จดั การเรียนรูแ้ บบ Active Learning

2. ผลการดำเนินงาน
1) ครูผ่านการอบรมและพัฒนาหลักสูตรในทุกปีการศึกษา เพื่อจัดทำและพัฒนา โครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรยี นรูแ้ ละแผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ การวัดผล
และประเมินผล คิดเปน็ ร้อยละ 100

44

2) ครูผู้สอนใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คิดเป็นร้อยละ
80

3) โรงเรียนมีการตรวจสอบ กำกับ ติดตาม แผนการจัดการเรียนรู้และผลการจัดการเรียนรู้ แบบ
Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อีกทั้งมีการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้ สะท้อนผลการจัดการ
เรียนรู้ภายในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คดิ เป็นร้อยละ 100

3. เอกสาร หลกั ฐาน รอ่ งรอยเชิงประจกั ษ์ทเ่ี กีย่ วข้อง
1) รายงานการตรวจสอบ กำกบั ตดิ ตามแผนการจัดการเรียนรู้และผลการจดั การเรียนรู้ และรายงาน
การนิเทศ ติดตามการจดั การเรียนรู้สะท้อนผลการจดั การเรียนรู้ ภายในกลุ่มสาระการเรยี นรู้
2) แผนการจัดการเรียนรู้และผลการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ท่เี น้นผ้เู รียนเป็นสำคญั
3) ภาพการจัดการเรยี นรู้ การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และการนิเทศการจัดการเรียนรู้

4. จดุ เดน่
โรงเรียนวดั แม่ริมวทิ ยาส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูทุกคนจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่เน้นให้นักเรียน
เรยี นรูผ้ ่านทกั ษะกระบวนการคดิ จัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ิจริง แสวงหา
ความรู้จากสื่อเทคโนโลยีที่หลากหลาย สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง และโรงเรียนได้จัดกิจกรรม
ชุมนมุ ทหี่ ลากหลายและสอดคลอ้ งกับความต้องการของนกั เรยี นมาทส่ี ุด

5. จุดที่ควรพัฒนา
พัฒนาให้ครทู ุกคนสามารถจัดทำแผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่เนน้ ใหน้ ักเรียนเรยี นร้ผู ่านทักษะกระบวนการ
คดิ จัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรสถานศึกษาและบริบทของโรงเรียน

6. แผนการพฒั นาใหม้ ีมาตรฐานสูงขนึ้ ในปตี อ่ ไป
1) ควรมีการจัดนิทรรศการแสดงผลงานของชุมนุมแต่ละชุมนุมหรือประกวดผลงานของแต่ละชุมนุม
เพือ่ เปน็ การส่งเสริมขวญั และกำลงั ใจใหก้ บั สมาชกิ ชุมนุม
2) พัฒนาศักยภาพของครูผู้สอนให้สามารถใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน เพื่อเพิ่ม
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นให้แก่นกั เรียนมากขน้ึ

3.2 การใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ีเ่ อือ้ ตอ่ การเรยี นรู้
1. กระบวนการพัฒนา
1) โรงเรยี นสนบั สนนุ ให้บุคลากรในโรงเรยี นจดั หา/ผลิตสื่อ มาประยุกตใ์ ช้ในการจัดการเรียนการสอน

ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลคุ้มค่ามากที่สุด เช่น การใช้งาน Google Apps For Education ที่ใช้
สำหรับเป็นเครื่องมือประกอบการเรียนการสอนแบบออนไลน์และบุคลากรนำไปประยุกต์ใช้ ประกอบด้วย
google classroom, google drive, google doc, google form เป็นต้น และซอฟแวร์อื่น ๆ นำมาผลิตสื่อ
การเรียนการสอน

45

2) โรงเรยี นไดส้ นับสนุนด้านงบประมาณดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อส่งเสริม
และสนับสนุนให้ครู จัดหา/ผลิต/สร้าง สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และ
สามารถนำมาใช้พัฒนาการจักการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เช่น กิจกรรมศึกษาดูงานนักเรียน ระดับชั้น
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย, กิจกรรมศกึ ษาดูงานนักเรียน ระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนต้น, กิจกรรมงานจัดหาและจัด
ชื้อวัสดุ/อุปกรณ์และงานพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์, กิจกรรมพัฒนาสภาพแวดล้อม
แหลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรียนและพฒั นาหอ้ งสมุด เปน็ ตน้

2.ผลการดำเนินงาน
1) นักเรียนได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อเสริมประสบการณ์ให้นักนักเรียน เช่น พิพิธภัณฑ์
พระตำหนักดาราภิรมย์, สวนพฤกษศาสตร์ ฯ, พิพิธภัณฑ์แมลงสยาม, สวนกล้วยไม้แม่รมิ เป็นต้น คิดเป็นร้อย
ละ 75
2) โรงเรียนมีห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มสี ารสนเทศครอบคลุมทุกดา้ น สถานที่เอื้อตอ่ การเรียนรู้ต่อ
บุคลากรและนกั เรียนของโรงเรียนมาใชบ้ รกิ าร มงี บประมาณสนับสนุนเหมาะสมเพยี งพอ คิดเปน็ ร้อยละ 80
3) ครูมีสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ทั้งด้านเอกสาร และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งออนไลน์และออฟไลน์
คดิ เป็นร้อยละ 75
4) นักเรียนไดศ้ ึกษาเรียนรนู้ อกสถานที่ ทุกระดบั ช้ันอย่างมีคณุ ภาพ คดิ เป็นรอ้ ยละ 75

3. เอกสาร หลกั ฐาน ร่องรอยเชิงประจักษท์ ีเ่ กยี่ วข้อง
1) รายงานผลการดำเนินงาน/โครงการ/กจิ กรรม
2) ตวั อยา่ งส่อื ของครู
3) หลกั สูตรสถานศึกษา
4) ภาพสถานที่ บรรยากาศของแหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรียน

4. จดุ เด่น
ครูทุกคนได้รับการสนับสนุนในการจัดหา/ผลิต สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และพัฒนาแหล่งเรียนรู้
อย่างเพยี งพอ อกี ท้งั นักเรียนมโี อกาสเข้าถึงสอ่ื เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรยี นรอู้ ย่างเท่าเทยี ม

5. จุดทค่ี วรพัฒนา
1) สนับสนุนให้หอ้ งสมดุ มรี ะบบเทคโนโลยีในการสืบคน้ ท่รี องรับการใชง้ านของนักเรยี นอย่างเพียงพอ
2) ส่งเสริมให้ครูทุกคนใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาประยุกต์ใช้ในกอจกรรมการเรียนการสอน
แบบ Active Learning ท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ
3) ส่งเสริมให้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จัดกิจกรรมศึกษาเรียนรู้นอกสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้างความรู้
ทักษะและประสบการณ์ของนักเรียน


Click to View FlipBook Version