The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) เรื่อง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ วิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phop Ktp, 2024-01-28 22:41:50

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) เรื่อง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ วิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) เรื่อง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ วิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

91 เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 25 - 36 ดี 13 - 24 พอใช้ ต่ำกว่า 12 ปรับปรุง


92 ภาคผนวก ค แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน


93 โรงเรียนท่าบ่อ อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน-หลังเรียน รายวิชาภูมิศาสตร์ (ส32101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูผู้สอน นายกิตติภพ สนมศรี คำชี้แจง 1. ข้อสอบ เป็นข้อสอบปรนัย จำนวน 30 ข้อ 2. นักเรียนมีเวลาทำข้อสอบ 45 นาที 3. ให้นักเรียนดึงกระดาษคำตอบออกจากชุดข้อสอบ เขียนชื่อ - นามสกุล ชั้น และเลขที่ ให้ เรียบร้อย 4. ห้ามนักเรียนทุจริตในการสอบ และห้ามนักเรียนนำเครื่องมือสื่อสารทุกชนิดเข้าห้องสอบ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ส 5.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์อิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ ซึ่งทำให้เกิดปัญหาทางกายภาพ หรือ ภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภารคต่าง ๆ ของโลก ส 5.2 ม.4-6/2 ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา บทบาทองค์การและการประสาน ความร่วมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม และการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (นายกิตติภพ สนมศรี) (นางอนันท์ ศรีโคตร) ผู้ตรวจ/ทาน/ออกข้อสอบ ผู้ตรวจ (นางรัชนี กุลสิทธาวิเวท) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


94 คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวลงในกระดาษคำตอบ 1.ข้อใดไม่ใช่สาเหตุการเกิดสึนามิ 1.การเคลื่อนตัวของภูเขาน้ำแข็งขนาดใหญ่ 2.แผ่นดินไหวใต้ทะเล 3.ภูเขาไฟปะทุใต้ทะเลอย่างรุนแรง 4.แผ่นดินถล่มขนาดใหญ่ใต้ทะเล 2.ภูเขาไฟ แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง 1. 3 ประเภท ได้แก่ ภูเขาไฟมีพลัง ภูเขาไฟสงบ ภูเขาไฟดับสนิท 2. 3 ประเภท ได้แก่ ภูเขาไฟมีพลังงาน ภูเขาไฟสงบ ภูเขาไฟกึ่งสงบ 3. 4 ประเภท ได้แก่ ภูเขาไฟมีพลังงาน ภูเขาไฟสงบ ภูเขาไฟกึ่งสงบ ภูเขาไฟดับสนิท 4. 4 ประเภท ได้แก่ ภูเขาไฟมีพลังงาน ภูเขาไฟสงบ ภูเขาไฟกึ่งสงบ ภูเขาไฟดับไม่สนิท 3.สึนามิ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเป็นภัยพิบัติที่มีสาเหตุการเกิดสัมพันธ์กับข้อใด 1.แผ่นดินถล่มบริเวณเชิงเขา 2.แผ่นดินไหวขนาดเล็กพร้อมกับภูเขาไฟปะทุ 3.แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปเคลื่อนที่เข้าหากัน 4.แผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟปะทุรุนแรงใต้ท้องทะเล 4.หากเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.5 ริกเตอร์ จะส่งผลกระทบอย่างไร 1.สิ่งก่อสร้างเสียหายมาก แผ่นดินแยก วัตถุที่พื้นถูกเหวี่ยงกระเด็น 2.สั่นไหวรุนแรงมาก อาคารเริ่มเสียหายพังทลาย 3.ผู้คนเริ่มรู้สึกถึงการสั่นสะเทือน วัตถุที่ห้อยแขวนแกว่งไปมา 4.สิ่งก่อสร้างถูกทำลายหมด 5.เมื่อเกิดเหตุการณ์ภูเขาไฟปะทุรุนแรงขึ้น จะก่อให้เกิดภัยใดตามมา 1.พายุไซโคลน 2.ทีฟรา 3.อาฟเตอร์ช็อก 4.ฝนทิ้งช่วง 6.การกระทำของมนุษย์ ที่เป็นสาเหตุการเกิดแผ่นดินถล่มเกิดจากสาเหตุใดเป็นสำคัญ 1.แผ่นดินไหวที่รุนแรง 2.การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 3.ตัดไม้ทำลายป่า 4.การถางหญ้าบริเวณเนินเขา 7.นักเรียนสามารถสาธิตวิธีปฏิบัติตนขณะเกิดแผ่นดินไหวได้อย่างไร 1.ใช้ลิฟต์ลงจากอาคารโดยเร็วที่สุด 2.หากอยู่ในอาคารให้หลบใต้โต๊ะหรือเตียงที่แข็งแรง 3.ขณะเกิดเหตุ ควรออกจากอาคารให้เร็วที่สุด 4.หลบอยู่ในอาคารที่มั่งคง แข็งแรง


95 8.การปะทุของภูเขาไฟก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศของอุทกภาคได้อย่างไร 1.หินหนืดไหลลงสู่ทะเลส่งผลให้ลักณะชายฝั่งเกิดการเปลี่ยนแปลง 2.อาคารบ้านเรือนและพื้นที่ทางการเกษตรถูกทำลายเสียหาย 3.เถ้าถ่านที่ปกคลุมท้องฟ้าทำให้แสงแดดและความร้อนไม่สามารถส่องลงมาถึงผิวน้ำได้ 4.แก๊สและควันที่พวยพุ่งจากการปะทุทำให้สัตว์น้ำสูญพันธุ์ 9.พายุดีเปรสชัน มีความเร็วลมที่เท่าใด 1.ไม่เกิน 50 กม/ชม 2.50 – 112 กม/ชม 3.ไม่เกิน 61 กม/ชม 4.61 – 117 กม/ชม 10.พายุหมุนเขตร้อนมีกี่ประเภท อะไรบ้าง 1. 3 ประเภท ได้แก่ พายุไต้ฝุ่น พายุไซโคลน พายุโซนร้อน 2. 3 ประเภท ได้แก่ พายุดีเปรสชัน พายุโซนร้อน พายุเฮอร์ริเคน 3. 3 ประเภท ได้แก่ พายุไต้ฝุ่น พายุเฮอร์ริเคน พายุไซโคลน 4. 4 ประเภท ได้แก่ พายุดีเปรสชัน พายุไซโคลน พายุโซนร้อน พายุเฮอร์ริเคน 11.พายุไต้ฝุ่น และ เฮอร์ริเคน ต่างกันอย่างไร 1.ต่างกันที่ความเร็วลม พายุไต้ฝุ่นมีความเร็วลมมากกว่าพายุเฮอร์ริเคน 2.ต่างกันที่ความเร็วลม พายุเฮอร์ริเคนมีความเร็วลมมากกว่าพายุไต้ฝุ่น 3.ต่างกันที่สถานที่เกิด พายุเฮอร์ริเคนเกิดที่มหาสมุทรแอตแลนติก พายุไต้ฝุ่นเกิดที่มหาสมุทร แปซิฟิก 4.ต่างกันที่สถานที่เกิด พายุเฮอร์ริเคนเกิดที่มหาสมุทรแปซิฟิก พายุไต้ฝุ่นเกิดที่มหาสมุทร แอตแลนติก 12.บริเวณใดของพายุ ที่เรียกว่า ตาพายุ 1.บริเวณจุดศูนย์กลางของพายุ 2.บริเวณใกล้จุดศูนย์กลาง 3.บริเวณที่ฝนตกหนักที่สุด 4.บริเวณหางพายุ 13.นักเรียนจะมีวิธีการหลีกเลี่ยงและป้องกันอันตรายจากพายุฝนฟ้าคะนองได้อย่างไร 1.หากจำเป็นที่ต้องอยู่ที่กลางแจ้งควรนอนราบลงกับพื้นให้ต่ำที่สุด 2.หลบใต้ต้นไม้ใหญ่เพื่อความปลอดภัย 3.ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าได้ตามปกติ 4.หากจำเป็นต้องอยู่ที่โล่งแจ้ง ควรนั่งยอง ๆ เท้าชิดเขย่งปลายเท้า 14.พายุหมุนเขตร้อน มักจะเกิดขึ้นที่มหาสมุทรเขตใด 1.มหาสมุทรเขตร้อน 2.มหาสมุทรเขตอบอุ่น 3.มหาสมุทรเขตหนาว 4.พบได้ทั่วไปในทุกเขตพื้นที่


96 15.ข้อใดคือแนวทางในการป้องกันผลกระทบจากวาตภัยต่ออาคารบ้านเรือน 1.ดูแลรักษาบ้านเรือนให้มั่นคง 2.สร้างบ้านด้วยวัสดุคุณภาพดีราคาแพง 3.สร้างบ้านอยู่หลังเขาเพื่อป้องกันลมปะทะ 4.เลือกทำเลพื้นที่สูงชันในการสร้างบ้านเรือน 16.เพราะเหตุใดเมื่อพายุสงบแล้วจึงไม่ควรออกเดินทางทันที 1.เพราะจะเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่าตามมาเสมอ 2.ต้องเผื่อเวลาวางแผนการเดินทางเพื่อความปลอดภัย 3.รอระดับน้ำลดลงและความเร็วลมคงที่เพื่อให้สามารถเดินทางได้อย่างปลอดภัย 4.มักมีลมแรงและฝนตกหนักอีกเมื่อศูนย์กลางพายุพัดผ่าน 17.ข้อใดให้ความหมายของคำว่า อุทกภัย ได้ถูกต้องที่สุด 1.เป็นภัยที่เกิดจากน้ำท่วมฉับพลันในพื้นที่หนึ่งๆ 2.เป็นภัยที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของมวลอากาศอย่างรุนแรงในพื้นที่หนึ่งๆ 3.เป็นภัยที่เกิดจากไฟไหม้ที่ก่อให้เกิดความเสียหายทางทรัพย์สิน 4.เป็นภัยที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของมวลดินซึ่งก่อให้เกิดความเสียหาย 18.ข้อใดให้ความหมายของคำว่า น้ำป่าไหลหลาก ได้ถูกต้องที่สุด 1.คือน้ำที่ไหลลงสู่พื้นที่ต่ำอย่างรวดเร็ว เนื่องจากฝนตกหนัก ดินอุ้มน้ำไว้ไม่ไหว 2.คือปริมาณน้ำสะสมจำนวนมาก เนื่องจากมวลน้ำไม่สามารถระบายออกได้ทัน 3.คือมวลน้ำที่ล้นตลิ่งออกมาจากแม่น้ำ เนื่องจากฝนตกหนัก ทำให้มวลน้ำไม่สามารถระบาย ออกสู่ทะเลได้ทัน 4.คือน้ำที่ไหลออกมาจากพื้นที่ต้นน้ำอย่างต่อเนื่องก่อให้เกิดความเสียหายทางทรัพย์สินและ สิ่งปลูกสร้าง 19.การเกิดอุทกภัยเกิดได้จากหลายสาเหตุ ข้อใดคือสาเหตุการเกิดอุทกภัยจากธรรมชาติ 1.การตัดไม้ทำลายป่า 2.การสร้างสิ่งปลูกสร้างกีดขวางทางน้ำ 3.การจัดการปัญหาน้ำที่ขาดประสิทธิภาพ 4.อิทธิพลจากมรสุม 20.การเกิดอุทกภัยเกิดได้จากหลายสาเหตุ ข้อใดคือสาเหตุการเกิดอุทกภัยจากมนุษย์ 1.การจัดการปัญหาน้ำที่ขาดประสิทธิภาพ 2.น้ำทะเลหนุน 3.อิทธิพลจากมรสุม 4.ฝนตกหนัก 21.บุคคลในข้อใดปฏิบัติตนเมื่อประสบอุทกภัยได้อย่างเหมาะสมที่สุด 1.มิกซ์อาศัยอยู่บนชั้นสองของบ้านเพราะหวงทรัพย์สิน 2.ลุคไปอยู่ศูนย์อพยพเพราะครอบครัวมีเด็กและคนชรา 3.เอิร์ทประดิษฐ์เครื่องตรวจจับกระแสไฟฟ้าด้วยตัวเอง 4.กันต์ซื้อแบตเตอรีเพื่อใช้ไฟในบ้านขณะน้ำท่วม


97 22.ข้อใดคือการป้องกันน้ำป่าไหลหลากอย่างยั่งยืน 1.การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ 2.การพยากรณ์เตือนภัยล่วงหน้า 3.การอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ 4.การสร้างฝายขนาดเล็กจำนวนมาก 23.ข้อใดให้ความหมายของคำว่า ไฟป่า ได้ถูกต้องที่สุด 1.คือไฟที่เผาไหม้เชื้อเพลิงในป่าและลุกลามโดยไม่มีขอบเขต 2.คือไฟที่ไหม้เศษไม้ เศษวัชพืช หลังจากฤดูการทำเกษตรกรรม 3.คือไฟที่ไหม้เศษไม้ เศษวัชพืช ก่อนเริ่มต้นฤดูการการทำเกษตรกรรม 4.ถูกทั้งข้อ 2 และ 3 24.ข้อใดกล่างถูกต้องเกี่ยวกับองค์ประกอบของการเกิดไฟป่า 1.เชื้อเพลง + ความร้อน 2.ความร้อน + ออกซิเจน 3.ความร้อน + ออกซิเจน + ลม 4.ความร้อน + ออกซิเจน + เชื้อเพลิง 25.แนวการเกิดของภูเขาไฟ มีชื่อเรียกว่าอย่างไร 1.วงแหวนมรณะ 2.วงแหวนการเกิดภูเขาไฟ 3.วงแหวนแห่งไฟ 4.วงแหวนรอยต่อ 26.ไฟป่าก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศ ยกเว้นข้อใด 1.แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าถูกทำลาย 2.มีความหลากหลายทางชีวภาพ 3.เกิดมลพิษทางอากาศ 4.ขาดแหล่งป่าไม้ที่เป็นต้นน้ำ 27.นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการป้องกันไฟป่าได้อย่างไร 1.เผาใบไม้แห้งที่อยู่ใกล้ชายป่า เพื่อป้องกันการเกิดไฟป่า 2.ก่อกองไฟในป่าที่มีความแห้ง เพื่อทำอาหาร 3.หลังจากก่อไฟ ไม่ต้องดับให้สนิทมาก เพราะฝนตก ไฟจะดับเอง 4.จัดทำแนวกันไฟ ร่วมกับคนในชุมชน 28.นักเรียนสามารถสาธิตวิธีปฏิบัติตนขณะเกิดภัยแล้งได้อย่างไร 1.นำน้ำจากการซักผ้าไปรดน้ำต้นไม้ 2.รดน้ำต้นไม้เฉพาะตอนเที่ยงวัน 3.สร้างอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ 4.วางแผนการแก้ปัญหาระยะยาว 29.นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการป้องกันภัยแล้งได้อย่างไร 1.สร้างฝายขนาดใหญ่จำนวนมาก 2.อนุรักษ์แหล่งต้นน้ำร่วมกับชุมชน 3.การสร้างเขื่อน 4.ออกมาตรการป้องกัน และจัดทำระบบชลประทานให้มีประสิทธิภาพ


98 30.บุคคลในข้อใดปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมในการระวังไฟป่า 1.เอ๊ะจุดไฟเผาป่าเพื่อหาของป่าและล่าสัตว์ 2.บาสก่อกองไฟขณะพักแรมในป่าแล้วลืมดับ 3.ทิวสนพบเห็นไฟไหม้ข้างทาง แต่ละเลยไม่แจ้งเจ้าหน้าที่ 4.แป้งไถกลบวัชพืชแทนการเผาเพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูก


99 เฉลยคำตอบ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน-หลังเรียน รายวิชาภูมิศาสตร์ (ส32101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูผู้สอน นายกิตติภพ สนมศรี ข้อ 1 2 3 4 ข้อ 1 2 3 4 1 x 16 x 2 x 17 x 3 x 18 x 4 x 19 x 5 x 20 x 6 x 21 x 7 x 22 x 8 x 23 x 9 x 24 x 10 x 25 x 11 x 26 x 12 x 27 x 13 x 28 x 14 x 29 x 15 x 30 x


100 ภาคผนวก ง ผลการหาประสิทธิภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย


101 แบบประเมินการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ของเครื่องมือ (Index of Item Objective Congruence : IOC) ของแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง การพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) เรื่อง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ วิชาภูมิศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คำชี้แจง : ให้ผู้เชี่ยวชาญใส่เครื่องหมาย ✓ ลงในช่องตามความคิดเห็นของท่าน เพื่อเป็นประโยชน์ใน การประเมินครั้งนี้ เกณฑ์การประเมิน +1 หมายถึง เมื่อแน่ใจว่าประเด็นข้อความตรงตามจุดประสงค์ที่กำหนด 0 หมายถึง เมื่อไม่แน่ใจว่าประเด็นข้อความตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนด -1 หมายถึง เมื่อแน่ใจว่าประเด็นข้อความไม่ตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนด พร้อมทั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ ที่ท่านเห็นควรปรับปรุงแก้ไข ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงในความกรุณาของท่าน (นายกิตติภพ สนมศรี) นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


102 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ ขั้นตอนของแผนการจัดการเรียนรู้ ความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญ ข้อเสนอแนะ -1 0 +1 1. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5. สาระสำคัญ 6. สาระการเรียนรู้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล 2. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5. สาระสำคัญ 6. สาระการเรียนรู้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล 3. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5. สาระสำคัญ 6. สาระการเรียนรู้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้


103 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ ขั้นตอนของแผนการจัดการเรียนรู้ ความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญ ข้อเสนอแนะ -1 0 +1 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล 4. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5. สาระสำคัญ 6. สาระการเรียนรู้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล 5. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5. สาระสำคัญ 6. สาระการเรียนรู้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล 6. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5. สาระสำคัญ 6. สาระการเรียนรู้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


104 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ ขั้นตอนของแผนการจัดการเรียนรู้ ความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญ ข้อเสนอแนะ -1 0 +1 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล 7. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5. สาระสำคัญ 6. สาระการเรียนรู้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล 8. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5. สาระสำคัญ 6. สาระการเรียนรู้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ ………………………………………….. ผู้ประเมิน (……………….………………………………..)


105 แบบประเมินการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ของเครื่องมือ (Index of Item Objective Congruence : IOC) ของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) เรื่อง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ วิชาภูมิศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คำชี้แจง โปรดพิจารณาว่าข้อสอบแต่ละข้อสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กำหนดให้หรือไม่ โดยเขียน เครื่องหมาย ลงในช่อง “ระดับความคิดเห็น” ตามความคิดเห็นของท่าน ดังนี้ +1 ถ้าแน่ใจว่าข้อสอบมีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กำหนดให้ 0 ถ้าไม่แน่ใจหรือตัดสินใจไม่ได้ว่าข้อสอบมีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กำหนดให้ -1 ถ้าแน่ใจว่าข้อสอบไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กำหนดให้ พร้อมทั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ ที่ท่านเห็นควรปรับปรุงแก้ไข ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงในความกรุณาของท่าน (นายกิตติภพ สนมศรี) นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


106 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 1-2 1.นักเรียนสามารถ อธิบายลักษณะของ ภัยพิบัติธรรมชาติทาง ธรณีภาคแต่ละ ประเภทได้ (K) 1.ข้อใดไม่ใช่สาเหตุการเกิดสึนามิ 1.การแยกตัวของภูเขาน้ำแข็งขนาด ใหญ่ 2.แผ่นดินไหวใต้ทะเล 3.ภูเขาไฟปะทุใต้ทะเลอย่างรุนแรง 4.แผ่นดินถล่มขนาดใหญ่ใต้ทะเล 2.ภูเขาไฟ แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง 1. 3 ประเภท ได้แก่ ภูเขาไฟมีพลัง ภูเขาไฟสงบ ภูเขาไฟดับสนิท 2. 3 ประเภท ได้แก่ ภูเขาไฟมี พลังงาน ภูเขาไฟสงบ ภูเขาไฟกึ่งสงบ 3. 4 ประเภท ได้แก่ ภูเขาไฟมี พลังงาน ภูเขาไฟสงบ ภูเขาไฟกึ่งสงบ ภูเขาไฟดับสนิท 4. 4 ประเภท ได้แก่ ภูเขาไฟมี พลังงาน ภูเขาไฟสงบ ภูเขาไฟกึ่งสงบ ภูเขาไฟดับไม่สนิท 3.สึนามิที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเป็นภัย พิบัติที่มีสาเหตุการเกิดสัมพันธ์กับข้อใด 1.แผ่นดินถล่มบริเวณเชิงเขา 2.แผ่นดินไหวขนาดเล็กพร้อมกับภูเขา ไฟปะทุ 3.แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป เคลื่อนที่เข้าหากัน 4.แผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟปะทุ รุนแรงใต้ท้องทะเล


107 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 4.แผ่นดินไหวขนาด 6.5 ริกเตอร์จะ ส่งผลกระทบอย่างไร 1.สิ่งก่อสร้างเสียหายมาก แผ่นดินแยก วัตถุที่พื้นถูกเหวี่ยงกระเด็น 2.สั่นไหวรุนแรงมาก อาคารเริ่ม เสียหายพังทลาย 3.ผู้คนเริ่มรู้สึกถึงการสั่นสะเทือน วัตถุ ที่ห้อยแขวนแกว่งไปมา 4.สิ่งก่อสร้างถูกทำลายหมด 5.เมื่อเกิดเหตุการณ์ภูเขาไฟปะทุรุนแรง ขึ้น จะก่อให้เกิดภัยใดตามมา 1.พายุไซโคลน 2.ทีฟรา 3.อาฟเตอร์ช็อก 4.ฝนทิ้งช่วง 6.ข้อใดคือมาตราวัดขนาดแผ่นดินไหว 1.เมตริก 2.เอเคอร์ 3.ปอนด์ 4.ริกเตอร์ 2.นักเรียนสามารถ นำเสนอภัยพิบัติ ธรรมชาติทางธรณี ภาคแต่ละประเภท ผ่านแผนผังความคิด ได้ (P) 7.การกระทำของมนุษย์ ที่เป็นสาเหตุการ เกิดแผ่นดินถล่ม เกิดจากสาเหตุใดเป็น สำคัญ 1.แผ่นดินไหวที่รุนแรง 2.การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 3.ตัดไม้ทำลายป่า 4.การถางหญ้าบริเวณเนินเขา


108 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 8.นักเรียนสามารถสาธิตวิธีปฏิบัติตนขณะ เกิดแผ่นดินไหวได้อย่างไร 1.ใช้ลิฟต์ลงจากอาคารโดยเร็วที่สุด 2.หากอยู่ในอาคารให้หลบใต้โต๊ะ หรือเตียงที่แข็งแรง 3.ขณะเกิดเหตุ ควรออกจากอาคารให้ เร็วที่สุด 4.หลบอยู่ในอาคารที่มั่งคง แข็งแรง 9.นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการ ป้องกันแผ่นดินถล่มได้อย่างไร 1.ไม่ตัดไม้ทำลายป่า และหมั่นปลูก พืชคลุมดินอยู่เสมอ 2.สร้างบ้านบนไหล่เขาเพื่อเสริมความ แข็งแรง 3.สนับสนันการสร้างเหมืองแร่ 4.สร้างถนนตัดผ่านภูเขา 10.การปะทุของภูเขาไฟก่อให้เกิด ผลกระทบต่อระบบนิเวศของอุทกภาคได้ อย่างไร 1.หินหนืดไหลลงสู่ทะเลส่งผลให้ ลักณะชายฝั่งเกิดการเปลี่ยนแปลง 2.อาคารบ้านเรือนและพื้นที่ทางการ เกษตรถูกทำลายเสียหาย 3.เถ้าถ่านที่ปกคลุมท้องฟ้าทำให้ แสงแดดและความร้อนไม่สามารถส่องลง มาถึงผิวน้ำได้ 4.แก๊สและควันที่พวยพุ่งจากการปะทุ ทำให้สัตว์น้ำสูญพันธุ์


109 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 3.นักเรียน กระตือรือร้นในการ เรียน เรื่อง ภัยพิบัติ ธรรมชาติทางธรณี ภาค (A) 11.ข้อใดเป็นสิ่งที่ควรกระทำเป็นอับดับ แรกเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนภัยสึนามิ 1.ตะโกนร้องขอความช่วยเหลือ 2.รีบเคลื่อนย้ายไปยังที่สูงพร้อม สัมภาระที่จำเป็น 3.เปิดโทรทัศน์ดูประกาศจากทาง ราชการ 4.วิ่งลงไปชายหาดเพื่อดูน้ำทะเล 12.บุคคลใดปฏิบัติตนตามแนวทางการ ระวังภัยจากแผ่นดินไหวได้อย่างถูกต้อง 1.ภพรีบลงจากตึกสูงโดยใช้ลิฟต์ 2.แพมหลบภัยบริเวณชายฝั่งทะเล 3.ค็อปแค็ปเข้าร่วมฝึกซ้อมการหลบ ภัยแผ่นดินไหว 4.วินนี่หลบอยู่ใต้อาคารสูงขณะเกิด แผ่นดินไหว 3-4 1.นักเรียนสามารถ อธิบายลักษณะของ ภัยพิบัติธรรมชาติทาง บรรยากาศภาคแต่ละ ประเภทได้ (K) 13.พายุดีเปรสชัน มีความเร็วลมที่เท่าใด 1.ไม่เกิน 50 กม/ชม 2.50 – 112 กม/ชม 3.ไม่เกิน 61 กม/ชม 4.61 – 117 กม/ชม 14.พายุหมุนเขตร้อนมีกี่ประเภท อะไรบ้าง 1. 3 ประเภท ได้แก่ พายุไต้ฝุ่น พายุ ไซโคลน พายุโซนร้อน 2. 3 ประเภท ได้แก่ พายุดีเปรสชัน พายุโซนร้อน พายุเฮอร์ริเคน


110 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 3. 3 ประเภท ได้แก่ พายุไต้ฝุ่น พายุ เฮอร์ริเคน พายุไซโคลน 4. 4 ประเภท ได้แก่ พายุดีเปรสชัน พายุไซโคลน พายุโซนร้อน พายุเฮอร์ริ เคน 15.พายุไต้ฝุ่น และ เฮอร์ริเคน ต่างกัน อย่างไร 1.ต่างกันที่ความเร็วลม พายุไต้ฝุ่นมี ความเร็วลมมากกว่าพายุเฮอร์ริเคน 2.ต่างกันที่ความเร็วลม พายุเฮอร์ริ เคนมีความเร็วลมมากกว่าพายุไต้ฝุ่น 3.ต่างกันที่สถานที่เกิด พายุเฮอร์ริ เคนเกิดที่มหาสมุทรแอตแลนติก พายุ ไต้ฝุ่นเกิดที่มหาสมุทรแปซิฟิก 4.ต่างกันที่สถานที่เกิด พายุเฮอร์ริเคน เกิดที่มหาสมุทรแปซิฟิก พายุไต้ฝุ่นเกิดที่ มหาสมุทรแอตแลนติก 16.ข้อใดกล่าวถึงอันตรายที่เกิดจากพายุ ฝนฟ้าคะนองไม่ถูกต้องทั้งหมด 1.ลมกระโชกแรง ลูกเห็บ ไฟฟ้า ลัดวงจร 2.ฟ้าผ่า ต้นไม้หักโค่น น้ำท่วมฉับพลัน 3.ต้นไม้หักโค่น หลุมยุบ ลูกเห็บ 4.ลมกระโชกแรง ต้นไม้หักโค่น น้ำป่า ไหลหลาก 17.บริเวณใดของพายุ ที่เรียกว่า ตาพายุ 1.บริเวณจุดศูนย์กลางของพายุ 2.บริเวณใกล้จุดศูนย์กลาง


111 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 3.บริเวณที่ฝนตกหนักที่สุด 4.บริเวณหางพายุ 2.นักเรียนสามารถ นำเสนอภัยพิบัติ ธรรมชาติทาง บรรยากาศภาคแต่ละ ประเภทผ่านแผนผัง ความคิดได้ (P) 18.นักเรียนจะมีวิธีการหลีกเลี่ยงและ ป้องกันอันตรายจากพายุฝนฟ้าคะนองได้ อย่างไร 1.หากจำเป็นที่ต้องอยู่ที่กลางแจ้งควร นอนราบลงกับพื้นให้ต่ำที่สุด 2.หลบใต้ต้นไม้ใหญ่เพื่อความ ปลอดภัย 3.ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าได้ตามปกติ 4.หากจำเป็นต้องอยู่ที่โล่งแจ้ง ควร นั่งยอง ๆ เท้าชิด เขย่งปลายเท้า 19.เมื่อเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง นักเรียนจะ ได้เห็นฟ้าร้องหรือฟ้าแลบก่อนเป็นอันดับ แรก 1.ฟ้าร้อง เนื่องจาก เมื่อมีความชื้น มากเสียงจะเดินทางได้เร็วกว่าแสง 2.ฟ้าร้อง ถ้าหากเกิดฟ้าผ่าตอน กลางวัน 3.ฟ้าแลบ ถ้าหากเกิดฟ้าผ่าตอน กลางคืน 4.ฟ้าแลบ เนื่องจาก แสงเดินทาง เดินทางเร็วกว่าเสียง 20.พายุหมุนเขตร้อน มักจะเกิดขึ้นที่ มหาสมุทรเขตใด 1.มหาสมุทรเขตร้อน 2.มหาสมุทรเขตอบอุ่น


112 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 3.มหาสมุทรเขตหนาว 4.พบได้ทั่วไปในทุกเขตพื้นที่ 21.ข้อใดเรียงลำดับความเร็วลมใกล้จุด ศูนย์กลางของพายุหมุนเขตร้อน จาก มากไปน้อย ได้ถูกต้อง 1.พายุดีเปรสชัน พายุโซนร้อน พายุ ไต้ฝุ่น 2.พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุ่น พายุ ดีเปรสชัน 3.พายุไต้ฝุ่น พายุโซนร้อน พายุ ดีเปรสชัน 4.พายุไต้ฝุ่น พายุดีเปรสชัน พายุโซน ร้อน 3.นักเรียน กระตือรือร้นในการ เรียนเรื่องภัยพิบัติ ธรรมชาติทาง บรรยากาศภาค (A) 22.ข้อใดคือแนวทางในการป้องกัน ผลกระทบจากวาตภัยต่ออาคารบ้านเรือน 1.ดูแลรักษาบ้านเรือนให้มั่นคง 2.สร้างบ้านด้วยวัสดุคุณภาพดีราคา แพง 3.สร้างบ้านอยู่หลังเขาเพื่อป้องกันลม ปะทะ 4.เลือกทำเลพื้นที่สูงชันในการสร้าง บ้านเรือน 23.เพราะเหตุใดเมื่อพายุสงบแล้วจึงไม่ ควรออกเดินทางทันที 1.เพราะจะเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า ตามมาเสมอ 2.ต้องเผื่อเวลาวางแผนการเดินทาง เพื่อความปลอดภัย


113 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 3.รอระดับน้ำลดลงและความเร็วลม คงที่เพื่อให้สามารถเดินทางได้อย่าง ปลอดภัย 4.มักมีลมแรงและฝนตกหนักอีกเมื่อ ศูนย์กลางพายุพัดผ่าน 5-6 1.นักเรียนสามารถ อธิบายลักษณะของ ภัยพิบัติธรรมชาติทาง อุทกภาคแต่ละ ประเภทได้ (K) 24.ข้อใดให้ความหมายของคำว่า อุทกภัย ได้ถูกต้องที่สุด 1.เป็นภัยที่เกิดจากน้ำท่วมฉับพลันใน พื้นที่หนึ่งๆ 2.เป็นภัยที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของ มวลอากาศอย่างรุนแรงในพื้นที่หนึ่งๆ 3.เป็นภัยที่เกิดจากไฟไหม้ที่ก่อให้เกิด ความเสียหายทางทรัพย์สิน 4.เป็นภัยที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของ มวลดินซึ่งก่อให้เกิดความเสียหาย 25.ข้อใดให้ความหมายของคำว่า น้ำท่วม ขัง ได้ถูกต้องที่สุด 1.คือน้ำที่ไหลลงสู่พื้นที่ต่ำอย่างรวดเร็ว เนื่องจากฝนตกหนัก ดินอุ้มน้ำไว้ไม่ไหว 2.คือปริมาณน้ำสะสมจำนวนมาก เนื่องจากมวลน้ำไม่สามารถระบายออก ได้ทัน 3.คือมวลน้ำที่ล้นตลิ่งออกมาจากแม่น้ำ เนื่องจากฝนตกหนัก ทำให้มวลน้ำไม่ สามารถระบายออกสู่ทะเลได้ทัน 4.คือน้ำที่ไหลออกมาจากพื้นที่ต้นน้ำ อย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดความเสียหายทาง ทรัพย์สินและสิ่งปลูกสร้าง


114 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 26.ข้อใดให้ความหมายของคำว่า น้ำป่า ไหลหลาก ได้ถูกต้องที่สุด 1.คือน้ำที่ไหลลงสู่พื้นที่ต่ำอย่าง รวดเร็ว เนื่องจากฝนตกหนัก ดินอุ้มน้ำ ไว้ไม่ไหว 2.คือปริมาณน้ำสะสมจำนวนมาก เนื่องจากมวลน้ำไม่สามารถระบายออกได้ ทัน 3.คือมวลน้ำที่ล้นตลิ่งออกมาจากแม่น้ำ เนื่องจากฝนตกหนัก ทำให้มวลน้ำไม่ สามารถระบายออกสู่ทะเลได้ทัน 4.คือน้ำที่ไหลออกมาจากพื้นที่ต้นน้ำ อย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดความเสียหายทาง ทรัพย์สินและสิ่งปลูกสร้าง 27.ข้อใดให้ความหมายของคำว่า น้ำล้น ตลิ่ง ได้ถูกต้องที่สุด 1.คือน้ำที่ไหลลงสู่พื้นที่ต่ำอย่างรวดเร็ว เนื่องจากฝนตกหนัก ดินอุ้มน้ำไว้ไม่ไหว 2.คือปริมาณน้ำสะสมจำนวนมาก เนื่องจากมวลน้ำไม่สามารถระบายออกได้ ทัน 3.คือมวลน้ำที่ล้นตลิ่งออกมาจาก แม่น้ำ เนื่องจากฝนตกหนัก ทำให้มวล น้ำไม่สามารถระบายออกสู่ทะเลได้ทัน 4.คือน้ำที่ไหลออกมาจากพื้นที่ต้นน้ำ อย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดความเสียหายทาง ทรัพย์สินและสิ่งปลูกสร้าง


115 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 2.นักเรียนสามารถ นำเสนอภัยพิบัติ ธรรมชาติทางอุทก ภาคแต่ละประเภท ผ่านแผนผังความคิด ได้ (P) 28.ข้อใดไม่ใช่สาเหตุการเกิดอุทกภัย 1.การขยายตัวของเขตเมือง 2.การสร้างเขื่อนกักเก็บน้ำ 3.การสร้างสิ่งปลูกสร้างขวางทางน้ำ 4.การตัดไม้ทำลายป่า 29.การเกิดอุทกภัยเกิดได้จากหลาย สาเหตุ ข้อใดคือสาเหตุการเกิดอุทกภัย จากธรรมชาติ 1.การตัดไม้ทำลายป่า 2.การสร้างสิ่งปลูกสร้างกีดขวางทางน้ำ 3.การจัดการปัญหาน้ำที่ขาด ประสิทธิภาพ 4.อิทธิพลจากมรสุม 30.การเกิดอุทกภัยเกิดได้จากหลาย สาเหตุ ข้อใดคือสาเหตุการเกิดอุทกภัย จากมนุษย์ 1.การจัดการปัญหาน้ำที่ขาด ประสิทธิภาพ 2.น้ำทะเลหนุน 3.อิทธิพลจากมรสุม 4.ฝนตกหนัก 3.นักเรียน กระตือรือร้นในการ เรียนเรื่องภัยพิบัติ ธรรมชาติทางอุทก ภาค (A) 31.บุคคลในข้อใดปฏิบัติตนเมื่อประสบ อุทกภัยได้อย่างเหมาะสมที่สุด 1.มิกซ์อาศัยอยู่บนชั้นสองของบ้าน เพราะหวงทรัพย์สิน 2.ลุคไปอยู่ศูนย์อพยพเพราะ ครอบครัวมีเด็กและคนชรา


116 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 3.เอิร์ทประดิษฐ์เครื่องตรวจจับ กระแสไฟฟ้าด้วยตัวเอง 4.กันต์ซื้อแบตเตอรีเพื่อใช้ไฟในบ้าน ขณะน้ำท่วม 32.ข้อใดคือการป้องกันน้ำป่าไหลหลาก อย่างยั่งยืน 1.การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ 2.การพยากรณ์เตือนภัยล่วงหน้า 3.การอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ 4.การสร้างฝายขนาดเล็กจำนวนมาก 7-8 1.นักเรียนสามารถ อธิบายลักษณะของ ภัยพิบัติธรรมชาติทาง ชีวภาคแต่ละประเภท ได้ (K) 33.ข้อใดให้ความหมายของคำว่า ไฟป่า ได้ถูกต้องที่สุด 1.คือไฟที่เผาไหม้เชื้อเพลิงในป่าและ ลุกลามโดยไม่มีขอบเขต 2.คือไฟที่ไหม้เศษไม้ เศษวัชพืช หลังจากฤดูการทำเกษตรกรรม 3.คือไฟที่ไหม้เศษไม้ เศษวัชพืช ก่อน เริ่มต้นฤดูการการทำเกษตรกรรม 4.ถูกทั้งข้อ 2 และ 3 34.องค์ประกอบของการเกิดไฟป่า 1.เชื้อเพลง + ความร้อน 2.ความร้อน + ออกซิเจน 3.ความร้อน + ออกซิเจน + ลม 4.ความร้อน + ออกซิเจน + เชื้อเพลิง 35.แนวการเกิดของภูเขาไฟ มีชื่อเรียกว่า อย่างไร 1.วงแหวนมรณะ


117 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 2.วงแหวนการเกิดภูเขาไฟ 3.วงแหวนแห่งไฟ 4.วงแหวนรอยต่อ 36.ไฟป่าก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบ นิเวศ ยกเว้นข้อใด 1.แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าถูก ทำลาย 2.มีความหลากหลายทางชีวภาพ 3.เกิดมลพิษทางอากาศ 4.ขาดแหล่งป่าไม้ที่เป็นต้นน้ำ 2.นักเรียนสามารถ นำเสนอภัยพิบัติ ธรรมชาติทางชีวภาค แต่ละประเภทผ่าน แผนผังความคิดได้ (P) 37.นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการ ป้องกันไฟป่าได้อย่างไร 1.เผาใบไม้แห้งที่อยู่ใกล้ชายป่า เพื่อ ป้องกันการเกิดไฟป่า 2.ก่อกองไฟในป่าที่มีความแห้ง เพื่อ ทำอาหาร 3.หลังจากก่อไฟ ไม่ต้องดับให้สนิท มาก เพราะฝนตก ไฟจะดับเอง 4.จัดทำแนวกันไฟ ร่วมกับคนใน ชุมชน 38.นักเรียนสามารถสาธิตวิธีปฏิบัติตน ขณะเกิดภัยแล้งได้อย่างไร 1.นำน้ำจากการซักผ้าไปรดน้ำต้นไม้ 2.รดน้ำต้นไม้เฉพาะตอนเที่ยงวัน 3.สร้างอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ 4.วางแผนการแก้ปัญหาระยะยาว 39.นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการ ป้องกันภัยแล้งได้อย่างไร


118 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 1.สร้างฝายขนาดใหญ่จำนวนมาก 2.อนุรักษ์แหล่งต้นน้ำร่วมกับชุมชน 3.การสร้างเขื่อน 4.ออกมาตรการป้องกัน และจัดทำ ระบบชลประทานให้มีประสิทธิภาพ 40.สาเหตุการเกิดไฟป่าในไทย เกิดจาก สาเหตุใดมากที่สุด 1.เผาด้วยความคึกคะนอง 2.เผาเพื่อเก็บหาของป่า 3.ประมาท ก่อไฟแล้วลืมดับ 4.ฟ้าผ่า 3.นักเรียน กระตือรือร้นในการ เรียนเรื่องภัยพิบัติ ธรรมชาติทางชีวภาค (A) 41.บุคคลในข้อใดปฏิบัติตนได้อย่าง เหมาะสมในการระวังไฟป่า 1.เอ๊ะจุดไฟเผาป่าเพื่อหาของป่าและ ล่าสัตว์ 2.บาสก่อกองไฟขณะพักแรมในป่า แล้วลืมดับ 3.ทิวสนพบเห็นไฟไหม้ข้างทาง แต่ ละเลยไม่แจ้งเจ้าหน้าที่ 4.แป้งไถกลบวัชพืชแทนการเผาเพื่อ เตรียมพื้นที่เพาะปลูก 42.ข้อใดกล่าวถึงปัญหาภัยแล้งที่ส่งผล กระทบต่อการดำรงชีวิตของผู้คนได้ ถูกต้อง 1.เมื่อเกิดภัยแล้งจะได้เห็นความมี น้ำใจต่อเพื่อนมนุษย์มากขึ้น 2.มีการสนับสนุนให้ปลูกพืชที่ใช้น้ำ น้อยมากขึ้น ทำให้ราคาพืชชนิดนั้นถูกลง


119 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ จุดประสงค์ข้อที่ ข้อสอบ ระดับ ความคิด ข้อเสนอแนะ +1 0 -1 3.คนและสัตว์ขาดแคลนน้ำ ทำให้ เกิดความเสียหายเป็นวงกว้าง 4.สุขอนามัยดีขึ้น เนื่องจาก มีปริมาณ น้ำน้อยทำให้ควบคุมโรคที่มากับน้ำได้ดี ข้อเสนอ ลงชื่อ ………………………………………….. ผู้ประเมิน (……………….………………………………..) ตารางที่ ง.1 การพิจารณาความสอดคล้องระหว่างแผนการจัดการเรียนรู้กับจุดประสงค์ การเรียนรู้ของผู้เชี่ยวชาญ แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ ขั้นตอนของแผนการจัดการเรียนรู้ ความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ รวม ค่า IOC สรุป ผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 5. สาระสำคัญ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 6. สาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 2. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้


120 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ ขั้นตอนของแผนการจัดการเรียนรู้ ความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ รวม ค่า IOC สรุป ผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 5. สาระสำคัญ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 6. สาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 3. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 5. สาระสำคัญ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 6. สาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 4. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 5. สาระสำคัญ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 6. สาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้


121 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ ขั้นตอนของแผนการจัดการเรียนรู้ ความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ รวม ค่า IOC สรุป ผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 5. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 5. สาระสำคัญ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 6. สาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 6. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 5. สาระสำคัญ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 6. สาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 7. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 5. สาระสำคัญ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 6. สาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้


122 แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ ขั้นตอนของแผนการจัดการเรียนรู้ ความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ รวม ค่า IOC สรุป ผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 8. 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 3. คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 5. สาระสำคัญ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 6. สาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้


123 ตารางที่ ง.2 การพิจารณาความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนกับ เนื้อหาการเรียนรู้ของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 42 ข้อ ข้อที่ คะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวม ค่าเฉลี่ย IOC สรุปผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 2 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 3 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 4 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 5 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 6 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 7 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 8 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 9 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 10 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 11 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 12 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 13 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 14 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 15 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 16 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 17 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 18 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 19 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 20 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 21 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 22 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 23 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 24 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 25 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 26 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้


124 ตารางที่ ง.2 การพิจารณาความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนกับ เนื้อหาการเรียนรู้ของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 42 ข้อ (ต่อ) ข้อที่ คะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวม ค่าเฉลี่ย IOC สรุปผล คนที่ 1 คนที่ 1 คนที่ 1 27 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 28 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 29 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 30 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 31 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 32 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 33 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 34 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 35 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 36 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 37 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 38 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 39 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 40 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 41 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 42 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้


ตารางที่ ง.3 คะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ฉบับทดลองที่อยู่ในเกณฑ์จำนวน 30 ข้อ (จำนวน 39 คน)คน/ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9101112131415161718192021221 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 02 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 03 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 04 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 15 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 16 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 17 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 08 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 1 1 0 19 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 110 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 011 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 112 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 0 1 1 1 113 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 0 1 114 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 0 1 1 1 1 1 015 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 016 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 017 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 0 1 1 1 0 0 018 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 019 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 0 1 1 0 0 120 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 0 1 1 1 1 0 121 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 0 1 1 1 1 1 022 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 0 0 0 0 1 1 1 1 023 1 1 1 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 0 0 0 0 0 0 1 1 024 1 1 0 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 1 0


125 งใช้ เพื่อหาค่าความยากง่าย (p) และอำนาจจำแนก (r) และคัดเลือกข้อสอบ 222324252627282930313233343536373839404142 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 0 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 0 1 0 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 1 1 0 1 1 1 1 0 1 0 0 0 1 1 1 1


ตารางที่ ง.3คะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ฉบับทดลองใช้ เพื่อหเกณฑ์จำนวน 30 ข้อ (จำนวน 39 คน) (ต่อ)คน/ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 91011121314151617181920212225 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 1 026 1 0 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 027 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 1 0 1 028 1 1 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 0 1 129 1 0 0 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 0 1 0 1 130 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 1 031 1 1 0 1 0 1 0 1 1 0 0 1 1 1 0 0 0 1 1 0 1 132 0 0 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 1 0 0 0 0 1 0 1 033 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 0 1 034 1 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 0 0 0 0 1 1 0 1 1 0 035 1 0 0 0 1 1 0 1 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 1 0 0 036 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 0 0 0 1 0 1 037 0 0 1 0 0 1 0 1 0 0 1 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 038 0 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 0 0 0 0 1 0 0 1 0 1 039 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 1 0 1 0Ph 11 11 9 9 9 11 10 10 11 11 11 11 11 9 4 1 11 10 10 10 10 6Pl 6 4 4 6 5 10 5 7 9 4 9 8 4 6 1 2 5 2 11 1 9 2p 0.77 0.68 0.59 0.68 0.63 0.96 0.68 0.77 0.91 0.68 0.91 0.86 0.68 0.68 0.22 0.14 0.72 0.54 0.95 0.5 0.86 0.r 0.45 0.63 0.45 0.27 0.36 0.1 0.45 0.27 0.18 0.63 0.18 0.27 0.63 0.27 0.27 -0.1 0.54 0.72 -0.1 0.81 0.1 0.สรุปผล ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ ใช้ ไม่ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ ใช้


126 หาค่าความยากง่าย (p) และอำนาจจำแนก (r) และคัดเลือกข้อสอบที่อยู่ใน 222324252627282930313233343536373839404142 0 0 1 1 1 1 0 1 0 1 0 0 0 1 1 0 0 1 0 1 1 0 0 0 1 0 1 0 0 0 1 1 1 0 1 1 0 0 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 0 0 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 0 0 0 0 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 0 0 0 0 0 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 0 0 0 1 1 1 1 0 0 1 0 0 0 0 0 0 1 1 0 0 1 0 1 0 0 1 1 1 0 0 1 1 0 1 0 0 0 1 1 1 0 1 1 0 0 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 1 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 1 1 1 0 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 1 1 0 1 1 0 0 1 1 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1 1 1 0 1 0 1 0 1 0 0 1 0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 0 6 9 11 10 8 11 2 7 11 10 7 8 5 11 11 11 10 9 10 10 11 2 6 5 9 2 9 5 2 4 7 4 5 2 5 6 8 4 6 9 7 9 36 0.68 0.72 0.86 0.45 0.91 0.31 0.41 0.68 0.77 0.5 0.59 0.31 0.72 0.77 0.86 0.63 0.68 0.86 0.77 0.91 72 0.27 0.54 0.1 0.54 0.18 -0.270.45 0.63 0.27 0.27 0.27 0.27 0.54 0.45 0.27 0.54 0.27 0.1 0.27 0.1 ช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ ใช้ ไม่ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้


ตารางที่ ง.4 การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) หลังจากคัดเลือกข้อสอบที่อคน/ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 171 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 3 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 4 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 5 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 6 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 7 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 0 0 1 8 1 1 0 1 0 1 1 1 1 0 1 1 0 1 1 1 1 9 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 10 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 11 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 1 13 1 1 1 1 0 0 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 1 14 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 0 1 15 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 0 1 16 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 0 0 1 17 1 1 0 1 0 1 1 1 0 1 0 1 1 0 0 1 1 18 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 0 0 1 19 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 0 1 1 1 20 1 1 1 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 21 1 1 0 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 0 0 1 22 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 0 1 1 0 0 1 23 1 1 1 1 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 1 1 24 1 1 0 1 0 1 0 0 1 1 1 0 1 0 0 1 0 25 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 0 0 1 26 1 0 1 0 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 0


127 อยู่ในเกณฑ์จำนวน 30 ข้อ 7 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 X X 2 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 28 784 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 28 784 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 27 729 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 27 729 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 27 729 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 25 625 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 24 576 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 24 576 1 0 1 0 1 0 0 1 1 1 1 1 1 23 529 0 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 1 23 529 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 24 576 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 0 1 22 484 1 0 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1 1 21 441 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 24 576 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1 0 23 529 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 21 441 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 21 441 1 0 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 20 400 1 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 22 484 0 1 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 23 529 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 20 400 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 0 0 20 400 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 22 484 0 0 1 1 1 1 0 1 0 0 0 1 1 16 256 1 1 0 1 0 0 0 1 1 0 0 1 1 19 361 0 0 0 1 1 1 0 1 1 0 0 1 1 17 289


ตารางที่ ง.4การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) หลังจากคัดเลือกข้อสอบที่อยู่ในเกณคน/ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 27 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 0 0 0 1 28 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 0 0 1 0 1 1 1 29 1 0 0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 0 0 1 0 1 30 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 0 31 1 1 0 1 0 0 1 0 1 1 0 0 1 0 1 1 1 32 0 0 0 1 1 1 1 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 33 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 0 0 1 0 0 0 1 34 1 0 1 1 0 1 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 35 1 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 36 0 1 0 1 0 1 1 1 0 1 0 0 0 0 0 1 0 37 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 38 0 0 1 1 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 39 0 0 0 0 1 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0 1 รวม 34 31 24 27 24 29 32 31 27 23 9 26 26 22 13 23 31 Ph 11 11 9 9 9 10 10 11 11 9 4 11 10 10 6 9 11 Pl 6 4 4 6 5 5 7 4 4 6 1 5 2 1 2 6 5 p 0.87 0.79 0.62 0.69 0.62 0.74 0.82 0.79 0.69 0.59 0.23 0.67 0.67 0.56 0.33 0.59 0.79r 0.45 0.64 0.45 0.27 0.36 0.45 0.27 0.64 0.64 0.27 0.27 0.55 0.73 0.82 0.36 0.27 0.55q 0.13 0.21 0.38 0.31 0.38 0.26 0.18 0.21 0.31 0.41 0.77 0.33 0.33 0.44 0.67 0.41 0.21pq 0.1118 0.1631 0.2367 0.2130 0.2367 0.1907 0.1473 0.1631 0.2130 0.2419 0.1775 0.2222 0.2222 0.2459 0.2222 0.2419 0.1631


128 ณฑ์จำนวน 30 ข้อ(ต่อ) 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 X X 2 1 0 1 1 1 1 0 0 0 1 0 0 1 18 324 0 0 0 0 0 1 0 1 1 1 1 0 1 18 324 0 0 1 0 1 0 0 0 0 1 1 1 1 14 196 0 0 0 1 0 0 0 0 1 1 1 1 0 15 225 0 0 0 0 0 1 0 1 1 1 0 1 1 16 256 0 0 1 1 0 1 0 1 0 0 0 0 1 11 121 0 0 0 1 1 0 0 1 0 1 0 0 0 14 196 0 0 0 1 1 1 0 1 1 0 0 1 1 14 196 1 1 1 0 0 0 0 0 0 1 1 0 1 10 100 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 1 11 121 0 0 1 1 0 1 1 0 1 1 0 0 1 10 100 0 1 0 1 1 1 0 1 0 1 0 1 0 11 121 1 0 0 1 0 0 0 0 1 0 1 1 0 9 81 23 16 28 30 24 25 10 32 32 33 23 24 29 ∑x=761 ∑x2=15995 8 7 11 10 7 8 5 11 11 11 10 9 10 2 2 4 7 4 5 2 5 6 8 4 6 7 9 0.59 0.41 0.72 0.77 0.62 0.64 0.26 0.82 0.82 0.85 0.59 0.62 0.74 5 0.55 0.45 0.64 0.27 0.27 0.27 0.27 0.55 0.45 0.27 0.55 0.27 0.27 1 0.41 0.59 0.28 0.23 0.38 0.36 0.74 0.18 0.18 0.15 0.41 0.38 0.26 0.1631 0.2419 0.2419 0.2025 0.1775 0.2367 0.2301 0.1907 0.1473 0.1473 0.1302 0.2419 0.2367 0.1907 ∑pq = 6.0276


129 ค่าความแปรปรวนของแบบทดสอบ 2 = n (∑x 2 )−(∑x) n 2 2 = 42(15995) − (761) 2 1764 2 = 671790 − 579121 1764 2 = 92669 1764 2 = 52.5334 ดังนั้น ค่าความแปรปรวนของแบบทดสอบทั้งฉบับ เท่ากับ 52.5334 ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สูตร KR-20 ของคูเดอร์ ริชาร์ดสัน (Kuder Richardson) ดังนี้ rtt = n n−1 [1 − ∑pq st 2 ] rtt = 30 30−1 [1 − 6.0276 52.5334 ] rtt = 1.0344 (1 – 0.1147) rtt = 1.0344 (0.8853) rtt = 0.9158


130 ดังนั้น แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ วิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) มีดัชนีความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.9158


131 ภาพที่ ง.1 รายชื่อนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนขาดเรียนนาน นักเรียนขาดเรียนนาน


132 ภาคผนวก จ ภาพประกอบการวิจัย


133 ภาพที่ จ.1 การทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน


134 ภาพที่ จ.2 การทำกิจกรรมในชั้นเรียน


135 ภาพที่ จ.3 การนำเสนอผลงานในชั้นเรียน


136 ภาพที่ จ.4 ตัวอย่างผลงานนักเรียน


Click to View FlipBook Version