The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tonaorancharee, 2022-04-25 23:32:26

E-BOOK คู่มือ toolkit 4.0

E-BOOK คู่มือ toolkit 4.0

ค‹มู ือแนวทางการพฒั นาองคการ
สู‹ระบบราชการ 4.0

(Toolkit 4.0)

เลม‹ 1

คู่มอื

แนวทางการพัฒนาองค์การ
สู่ระบบราชการ 4.0
(Toolkit 4.0)

กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร
กรมควบคมุ โรค

คู่มือแนวทางการพฒั นาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

ISBN 978-616-11-4814-0
พมิ พ์ครงั้ ท่ี 1
จำ� นวนพมิ พ์ 230 เลม่
จัดท�ำโดย นางเบญจมาภรณ์ ภิญโญพรพาณิชย ์
ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพฒั นาระบบบบริหาร
นางสาวอัจฉรา บุญชุม
นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำ� นาญการพิเศษ
นายธีรวิทย์ ตง้ั จิตไพศาล
นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ
นางกนกนารถ สงค์วอน
นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน
นางสาวณฐั วรรณ สมรรคนฏั
นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน
ออกแบบและจัดพมิ พ์โดย บรษิ ัท ควิ คมั เบอร์ (ประเทศไทย) จำ� กัด
สงวนลิขสิทธิ์โดย กลุ่มพฒั นาระบบบริหาร กรมควบคมุ โรค

คำ� น�ำ

ค่มู ือแนวทางการพฒั นาองคก์ ารสูร่ ะบบราชการ 4.0 เป็นการยกระดับประสิทธภิ าพภาครฐั
ตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม
และสนับสนุนให้หน่วยงานยกระดับและพัฒนาสู่ระบบราชการ 4.0 ให้สามารถน�ำหลักการ
แนวคิดของการพัฒนาระบบราชการ 4.0 ไปปรับประยุกต์ใช้ในการพัฒนาองค์การท่ีมี
การท�ำงานอย่างเปิดกว้างและเช่ือมโยงถึงกัน โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตลอดจน
เป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย โดยอาศัยปัจจัยหลักท่ีส�ำคัญจากการประสาน
ทุกภาคส่วน มีการสร้างนวัตกรรมปรับเข้าสู่การเป็นดิจิทัลภายใต้หลักธรรมาภิบาลของ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ท่ีมุ่งเน้นประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก เพ่ือให้สามารถ
เปน็ ทไ่ี ว้วางใจของประชาชน รวมท้ังได้รวบรวมผลการด�ำเนนิ งานทสี่ อดคลอ้ งกับระบบราชการ
4.0 กรมควบคมุ โรค
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค จึงได้จัดท�ำคู่มือแนวทางการพัฒนาองค์การ
สู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) ซึ่งประกอบด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ
พ.ศ. 2564-2565 และแนวทางการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)
โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือแนวทางการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 ฉบับน้ี
จะเป็นประโยชนต์ ่อหน่วยงานในการพัฒนาระบบราชการต่อไป

คณะผูจ้ ดั ทำ�
กนั ยายน 2564

สารบัญ

เรือ่ ง หนา้

บทที่ 1 ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ พ.ศ. 2564-2565 1

- ความสอดคลอ้ งกบั แผน 3 ระดบั 1

- แนวโน้มการเปล่ยี นแปลงในปจั จุบนั ท่ีมีผลกระทบตอ่ การพฒั นาระบบราชการ 9

- ผลการพัฒนาระบบราชการท่ผี ่านมา 18

- ยุทธศาสตร์การพฒั นาระบบราชการ 26

- โครงการส�ำคัญเพ่ือรองรับยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบราชการ 32

บทท่ี 2 ผลการด�ำเนินงานทีส่ อดคลอ้ งกบั ระบบราชการ 4.0 กรมควบคุมโรค 36

บทท่ี 3 แนวทางการพฒั นาองค์การสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) 42
- การนำ� องคก์ ารสรู่ ะบบราชการ 4.0 42
- จากยทุ ธศาสตรข์ ององคก์ ารสกู่ ารพฒั นาประเทศทย่ี งั่ ยนื 69
- ระบบราชการ 4.0 เพอื่ ผรู้ ับบริการและผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสยี 94
- ความสำ� เร็จขององคก์ ารด้วยการบรหิ ารข้อมลู และองคค์ วามรู้ 117
- บุคลากร ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จท่ีแทจ้ ริงของระบบราชการ 139
- ระบบการปฏบิ ัตกิ ารเพื่อการพฒั นากระบวนการ และการสรา้ งนวตั กรรม 163

บทท่ี 1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ
พ.ศ. 2564-2565

1. ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดบั ตามนยั ยะของมติคณะรฐั มนตรี
เม่ือวนั ที่ 4 ธนั วาคม 2560

นโยบาย แผน และยุทธศาสตรท์ สี่ ำ� คญั ของประเทศ ไดก้ ล่าวถงึ ทศิ ทางการพฒั นาประเทศ
ที่สะท้อนให้เห็นความคาดหวังเก่ียวกับการพัฒนาระบบราชการไทยในอนาคตหลายประการ
ดงั นี้
1. ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ยทุ ธศาสตรช์ าติ ดา้ นการปรบั สมดลุ และ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
1.1 เป้าหมาย
1.1.1 ภาครัฐมีวัฒนธรรมการท�ำงานที่มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ส่วนรวม
ตอบสนองความต้องการของประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส
1.1.2 ภาครฐั มขี นาดทีเ่ ล็กลง พร้อมปรับตวั ให้ทนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลง
1.1.3 ภาครฐั มคี วามโปรง่ ใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมชิ อบ
1.1.4 กระบวนการยุตธิ รรม เปน็ ไปเพ่ือประโยชนต์ ่อสว่ นรวมของประเทศ
1.2 ประเด็นยุทธศาสตร์
1.2.1 ภาครัฐท่ียึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้
บริการอยา่ งสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
(1) การให้บริการสาธารณะของภาครัฐได้มาตรฐานสากลและเป็นระดับ
แนวหนา้ ของภูมิภาค
(2) ภาครฐั มคี วามเชอ่ื มโยงในการใหบ้ ริการสาธารณะต่าง ๆ ผา่ นการนาํ
เทคโนโลยีดิจิทลั มาประยุกต์ใช้
1.2.2 ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมาย
และเช่อื มโยงการพัฒนาในทกุ ระดับ ทุกประเดน็ ทุกภารกจิ และทกุ พืน้ ท่ี
(1) ให้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นกลไกขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ
(2) ระบบติดตามประเมินผลท่ีสะท้อนการบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ
ในทกุ ระดบั

คมู่ อื แนวทางการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 1

1.2.3 ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ ส่งเสริมให้ประชาชนและ
ทกุ ภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาประเทศ
(1) ภาครฐั มขี นาดทเ่ี หมาะสม
(2) ทกุ ภาคส่วนมีส่วนรว่ มในการพฒั นาประเทศ เปดิ โอกาสให้ทุกภาคส่วน
เข้ามามสี ่วนรว่ มในการดำ� เนินการบรกิ ารสาธารณะและกจิ กรรมสาธารณะอยา่ งเหมาะสม
(3) ส่งเสริมการกระจายอ�ำนาจและสนับสนุนบทบาทชุมชนท้องถ่ิน
ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ เป็นหน่วยงานทีม่ สี มรรถนะสูง ตัง้ อยูบ่ นหลักธรรมาภิบาล
1.2.4 ภาครฐั มีความทนั สมัย
(1) องค์กรภาครัฐมีความยืดหยุ่นเหมาะสมกับบริบทการพัฒนาประเทศ
ปรบั โครงสร้าง และระบบบรหิ ารงานราชการใหม่ในรปู แบบทมี่ คี วามหลากหลาย มกี ารดาํ เนนิ งาน
ทมี่ คี วามยืดหยุ่น
(2) พัฒนาและปรับระบบวธิ กี ารปฏบิ ตั ิราชการใหท้ นั สมยั
1.2.5 บุคลากรภาครัฐเป็นคนดแี ละเกง่ ยดึ หลกั คณุ ธรรม จริยธรรม มีจิตสาํ นกึ
มีความสามารถสงู ม่งุ มัน่ และเปน็ มืออาชีพ
(1) บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการท�ำงานเพ่ือประชาชน มีคุณธรรม
และมกี ารพัฒนาตามเส้นทางความกา้ วหน้าในอาชีพ
1.2.6 ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกภาคส่วน
รว่ มตอ่ ตา้ นการทจุ รติ
(1) การบรหิ ารจัดการ การปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ อยา่ งเป็นระบบ
แบบบรู ณาการ
1.2.7 กฎหมายมคี วามสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทตา่ ง ๆ และมีเทา่ ทีจ่ าํ เป็น
(1) มกี ฎหมายเทา่ ที่จาํ เปน็
2. แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580)
2.1 เป้าหมายระดับประเด็นของแผนแม่บทฯ ประเด็นการบริการประชาชนและ
ประสทิ ธภิ าพภาครัฐ
2.1.1 เป้าหมายที่ 1 บริการของรัฐมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเป็นท่ียอมรับ
ของผ้ใู ชบ้ รกิ าร
2.1.2 เป้าหมายที่ 2 ภาครัฐมีการด�ำเนินการที่มีประสิทธิภาพด้วยการน�ำ
นวัตกรรมเทคโนโลยีมาประยุกตใ์ ช้
2.2 แผนย่อย
2.2.1 แผนย่อยการพฒั นาบรกิ ารประชาชน
(1) แนวทางการพัฒนา - พัฒนารูปแบบบริการภาครัฐเพื่ออ�ำนวย
ความสะดวกในการให้บริการประชาชน - พัฒนาการให้บริการภาครัฐผ่านการน�ำเทคโนโลยี
ดจิ ิทลั มาประยุกตใ์ ช้ - ปรบั วิธีการท�ำงาน
2 | คู่มอื แนวทางการพฒั นาองค์การสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

(2) เป้าหมายของแผนยอ่ ย - งานบริการภาครัฐทีป่ รบั เปลีย่ นเป็นดิจทิ ัลเพ่มิ ขึน้
2.2.2 แผนยอ่ ยการปรบั สมดุลภาครัฐ
(1) แนวทางการพัฒนา - เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม
ในการด�ำเนนิ การบรกิ ารสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะอย่างเหมาะสม
(2) เป้าหมายของแผนย่อย - เปิดโอกาสให้ภาคส่วนต่าง ๆ มีส่วนร่วม
ในการจัดบรกิ ารสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะอยา่ งเหมาะสม - องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
ต้องมีสมรรถนะและสร้างความทันสมัยในการจัดบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ
ให้กบั ประชาชน
2.2.3 แผนยอ่ ยการพฒั นาระบบบริหารงานภาครฐั
(1) แนวทางการพัฒนา - พัฒนาหนว่ ยงานภาครัฐใหเ้ ปน็ “ภาครัฐทันสมยั
เปิดกว้าง เป็นองค์กรขีดสมรรถนะสูง” - ปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การและ
ออกแบบระบบการบรหิ ารงานใหมใ่ ห้มีความยืดหยุน่ คล่องตวั กระชบั ทันสมยั
(2) เป้าหมายของแผนย่อย - ภาครัฐมขี ดี สมรรถนะสงู เทยี บเทา่ มาตรฐานสากล
และมีความคลอ่ งตวั
2.2.4 แผนย่อยการสรา้ งและพัฒนาบคุ ลากรภาครัฐ
(1) แนวทางการพฒั นา - พฒั นาบคุ ลากรภาครัฐทุกประเภทใหม้ ีความรู้
ความสามารถสงู มีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ และการปรับตวั ใหท้ นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง - สรา้ งผ้นู �ำ
ทางยทุ ธศาสตรใ์ นหนว่ ยงานภาครฐั ทกุ ระดับอย่างต่อเน่ืองและเปน็ ระบบ
(2) เป้าหมายของแผนย่อย - บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการท�ำงาน
เพ่ือประชาชน ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตส�ำนึก มีความสามารถสูง มุ่งม่ัน และเป็น
มืออาชพี
3. แผนการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ีประกาศ
ราชกิจจานเุ บกษา เมอื่ เดือน เมษายน 2561)
3.1 ประเดน็ ปฏิรูปท่ี 1 บริการภาครัฐ สะดวก รวดเรว็ และตอบโจทย์ ชวี ิตประชาชน
กลยุทธ์ที่ 3 : ยกระดับการให้บริการประชาชนสู่การบริการท่ีเร็วขึ้น ง่ายข้ึน
และถกู ลง
แผนงานที่ 1 : ปรับปรงุ กระบวนการขออนุมัต/ิ อนุญาตจากภาครฐั เพือ่ อำ� นวย
ความสะดวกแก่ประชาชน
แผนงานที่ 2 : จัดให้มีการบริการแบบเบ็ดเสร็จผ่านช่องทางดิจิทัลและ
ศนู ย์บริการร่วม เปา้ หมาย : จำ� นวนระบบ/กระบวนการบริการประชาชนไดร้ ับการปรบั ปรุง
3.2 ประเด็นปฏิรูปท่ี 3 โครงสร้างภาครัฐกะทัดรัด ปรับตัวได้เร็วและระบบงาน
มีผลสมั ฤทธิส์ งู

คูม่ ือแนวทางการพฒั นาองคก์ ารสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 3

3.2.1 กลยุทธท่ี 1 : ปรับปรุงและพฒั นาโครงสรา้ งและระบบบรหิ ารงานของรัฐ
และลด/ละลาย ความเปน็ นติ บิ คุ คลของกรม
แผนงานที่ 1 : การด�ำเนนิ การจดั ทำ� แผนปฏริ ปู องค์กร เป้าหมาย : ความส�ำเรจ็
ของการดำ� เนินการตามแผนปฏริ ูปองค์กร
3.2.2 กลยุทธที่ 2 : เพ่ิมประสิทธิภาพและสรางความเขมแข็งของการบริหาร
จดั การ เชิงพนื้ ท่ี
แผนงานที่ 1 : การปฏิรูปโครงสร้างและระบบการบริหารราชการของ
สวนราชการในภมู ิภาค
เปา หมาย : ความส�ำเร็จของการดำ� เนนิ การตามแผนการเพมิ่ ประสทธิภาพ
การบรหิ ารราชการของจงั หวัด (จงั หวดั พันธใุ หม่ : High Performance Province (HPP))
3.2.3 กลยทุ ธท ี่ 5 : สรางระบบธรรมาภบิ าลทยี่ ง่ั ยนื ในหนว ยงานภาครัฐ
แผนงานที่ 1 : การด�ำเนินการยกระดับหนว ยงานภาครฐั สรู ะบบราชการ 4.0
เปาหมาย : รอยละของหนว ยงานภาครัฐทไี่ ดรบั การรับรองสถานะเปน 4.0
3.2.4 กลยุทธ์ท่ี 6 : พัฒนากฎหมายเก่ียวกับระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ แผนงานท่ี 1 : ปรบั ปรงุ พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน ดิน
พ.ศ. 2534 และทแี่ กไขเพมิ่ เติม
เปาหมาย : รา ง พ.ร.บ. ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ...
4. แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบับปรบั ปรุง) กิจกรรมปฏิรปู
ท่ีจะสงผลใหเกดิ การเปลีย่ นแปลงตอประชาชนอยางมนี ัยส�ำคัญ (Big Rock)
4.1 กิจกรรมปฏิรูปที่ 1 ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานและการบริการภาครัฐ
ไปสู่ระบบดิจิทัล
4.1.1 เปา หมายของกิจกรรมปฏริ ปู
(1) ประชาชนไดร้ บั การดแู ล เข้าถงึ และไดร้ บั บริการ รวมถึงข้อมลู ดิจิทัลสำ� คัญ
ของภาครัฐท่ีมีคุณภาพ โดยสะดวก รวดเร็ว เสียคาใชจายนอย และตรงตามความจ�ำเปน
ทั้งในสภาวการณปกตแิ ละฉกุ เฉินเรง ดว น
(2) ภาครัฐมีดิจิทัลแพลตฟอรม (Digital Platform) และบริการดิจิทัล
รวมถึงระบบขอมูล และข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) ส�ำหรับการตัดสินใจ การบริหารจัดการ
การดำ� เนินงาน และการกำ� กบั ติดตาม ประเมนิ ผลบนระบบนเิ วศดา้ นดจิ ิทัลท่ีสรา้ งความเชือ่ มนั่
ความไววางใจ และการยอมรับระหวางกันที่ตอบสนองความตองการพื้นฐานของประชาชน
และภาคธุรกิจเอกชนในระยะฟนตัวของประเทศ ใน 5 ดาน ไดแก่ (1) ดานการมีรายได
และมีงานท�ำ (2) ดานสุขภาพและการสาธารณสุข (3) ด้านเกษตรและการบริหารจัดการน้�ำ
(4) ดานการท่องเที่ยว และ (5) ด้านการตลาดและการกระจายสินค้าส�ำหรับเกษตรกร
วสิ าหกจิ ชมุ ชน วสิ าหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) และธุรกิจทเี่ กิดขนึ้ ใหม่ (Startups)
4 | คมู่ ือแนวทางการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

(3) ภาครัฐพัฒนาสูการเปนองคกรขีดสมรรถนะสูงเทียบเท่ามาตรฐานสากล
สามารถปรับเปล่ียนได้อยางคล่องตัวตามบริบทและสภาวการณที่แปรเปล่ียนอยางรวดเร็ว
และเปนพลวัตในยุคชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) เป็นภาครัฐเพ่ือประชาชนและขับเคลื่อน
โดยความต้องการและการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน สังคม ชุมชน และประชาชน อย่างแท้จรงิ
(4) ประชาชน และทุกภาคสว่ น มคี วามเช่อื ม่ันและไวว างใจในการท�ำงาน
ของภาครัฐ
4.1.2 ตวั ชีว้ ดั :
(1) ระดับความส�ำเร็จของการพัฒนาข้อมูลดิจิทัลและข้อมูลขนาดใหญ่
(Big Data) ภาครฐั ให้พรอ มสำ� หรบั การใชป้ ระโยชน
(2) จ�ำนวนแพลตฟอรมการจัดบริการแบบบูรณาการและบริการส�ำคัญ
ท่ีภาครัฐพัฒนาเองหรือใหการสนับสนุนการพัฒนา ซ่ึงอยูในรูปแบบการบริการแบบครบวงจร
(End-to-End Service) มคี ณุ ภาพ ตรงตามความจ�ำเปนทั้งในสภาวการณ์ปกติและฉุกเฉินเรงดวน
และสอดคลองกบั ความตองการพ้ืนฐานทีแ่ ท้จริงของประชาชน ชุมชน และภาคธรุ กิจเอกชน
(3) จำ� นวนระบบกลาง หรอื แอปพลิเคชัน่ (Application) สนับสนนุ กลาง
รวมถึงหลักเกณฑ์ มาตรฐานที่เก่ียวของส�ำหรับการพฒั นาระบบการบรหิ ารงานและบรกิ าร
ด้านดิจิทัลของภาครัฐทีม่ กี ารพฒั นาเสรจ็ สนิ้ และเริ่มตน ใชง านจริง
(4) จ�ำนวน (ดาน) ประเด็นส�ำคัญท่มี ีการน�ำระบบขอมลู ดิจิทลั และข้อมูล
ขนาดใหญ (Big Data) ภาครัฐมาบรู ณาการ เปดเผย แลกเปลย่ี น เชื่อมโยง สำ� หรบั การตดั สนิ ใจ
เชิงนโยบาย การบริหารจัดการ การด�ำเนินงาน การก�ำกับติดตาม และการให้ข้อเสนอแนะ
ทเ่ี ชอ่ื มต่ออยางเปนระบบกับศูนยป์ ฏิบตั ิการนายกรัฐมนตรี (Pirme Minister Operation Center :
PMOC) และศูนยขอมูลและวิเคราะห์ เสนอแนะการออกแบบนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับ
กระทรวง ระดับหนวยงาน และระดับจังหวัด ทั้งนี้ เพื่อการแกไขปญหาและเยียวยาประเทศ
และตอบสนองความตองการของประชาชนและสังคมอยา งตรงประเด็น และทันตอเหตุการณ์
(5) ระดับความส�ำเร็จในการยกระดับความสามารถหนวยงานภาครัฐ
รวมทั้งการพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐเพ่ือไปสูการเปนรัฐบาลดิจิทัล โดยมี
Digital Government Maturity Model (Gartner) ระดบั 2
(6) อัตราการเขารับบริการดิจิทัลภาครัฐเพ่ิมข้ึน (Digital Service
Adoption Rate)
4.2 กิจกรรมปฏิรูปที่ 2 การจัดโครงสรางองคกรและระบบงานภาครัฐให้มี
ความยดื หยนุ คล่องตวั และเปลีย่ นแปลงไดต ามสถานการณ์
4.2.1 เปา หมายของกจิ กรรมปฏิรปู
โครงสรางและระบบการบริหารราชการของส่วนราชการระดับกระทรวง
มีความยืดหยุ่น คล่องตัว ทันตอการเปล่ียนแปลง สามารถบูรณาการระบบงาน เงิน คน

คู่มอื แนวทางการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 5

ได้อยางมีประสิทธิภาพสอดคลองกับนโยบายของรัฐและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
เพอี่ ตอบสนองความตอ งการของประชาชนและประโยชนสูงสุดของประเทศ
4.2.2 ตัวชว้ี ดั
(1) ข้อเสนอการปรับเปล่ียนระบบการบริหารราชการของส่วนราชการ
ระดบั กระทรวงและกรม และลดสถานะความเปน นิติบุคคลของสว นราชการระดบั กรม
(2) มีหลกั เกณฑ์และวิธกี ารจดั โครงสรา้ งองคก รบริหารเฉพาะกจิ (Ad hoc)
และร่างกฎหมาย หรือระเบียบท่ีสามารถใช้อ�ำนาจของฝ่ายบริหารในการบริหารราชการ
ทีม่ คี วามจ�ำเปน็ ฉกุ เฉิน เรง ดว น และรูปแบบ Agile Organization
(3) มีหลักเกณฑ์และวิธีมอบอ�ำนาจการจัดสวนราชการ พร้อมระบบ
ประเมินความเหมาะสม การจัดสวนราชการรวมท้ังการประเมินประสิทธิภาพและความคุมคา
การจัดสวนราชการและการบริหารงานภาครัฐท่ีตอบสนองความตองการของประชาชนและ
ประโยชนสงู สุดของประเทศ
(4) มีแนวทางการปฏบิ ัตงิ านนอกสถานท่ีตงั้ (Work From Anywhere)
ท่ีรองรับวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) เหมาะสมกับสถานการณปจจุบันและลักษณะงาน
ขององคก ร
4.3 กิจกรรมปฏิรูปท่ี 3 ปรับเปลี่ยนการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐสูระบบเปิด
เพ่ือใหไ ดม าและรกั ษาไวซง่ึ คนเกง ดี และมีความสามารถอยา งคลองตวั ตามหลกั คุณธรรม
4.3.1 เปา หมายของกิจกรรมปฏิรูป
ภาครฐั สามารถบริหารจัดการกำ� ลงั คนไดอยา งมีเอกภาพ มปี ระสิทธภิ าพ
และความคลองตัว สามารถสรรหา รักษา เคล่ือนยาย และใชประโยชนก�ำลังคนใหตรงกับความรู
ความสามารถ เพอื่ ตอบสนองต่อการพฒั นาประเทศในดา นตาง ๆ และสถานการณท ่เี ปลยี่ นแปลง
อยา งรวดเรว็
4.3.2 ตัวชว้ี ัด
(1) ขอเสนอการปรับเปล่ียนระบบการบริหารจัดการก�ำลังคนภาครัฐ
ใหเปนระบบเปดิ ดำ� เนนิ การแลว เสร็จ และผานการพจิ ารณาของ ก.พ. อยา งนอ ย 2 เรอื่ ง
(2) กฎหมาย กฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคลได้รับ
การแกไ้ ข เพ่ือเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารงานบคุ คลภาครัฐ อยา งนอ ย 5 เร่อื ง
(3) ขอ้ เสนอในการจดั องค์กร ระบบ หรอื กลไกการบรหิ ารจัดการกำ� ลงั คน
ภาครฐั ที่มเี อกภาพและเปน มาตรฐานทีเ่ ทียบเคียงกันไดร ะหวา งบคุ ลากรภาครฐั แตละประเภท
(4) รอยละของบุคลากรในส่วนราชการและหนวยงานของรัฐแตละแห่ง
ที่มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และกรอบความคิด (Mindset) ในการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัลและ
ภาวะชีวติ วถิ ีใหม่ รวมทัง้ รองรบั การเปล่ียนแปลง
6 | คมู่ อื แนวทางการพฒั นาองคก์ ารสูร่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

(5) สัดสวนคาใชจายดานบุคลากรตองบประมาณรายจายประจ�ำเพ่ิมข้ึน
ในอตั ราทล่ี ดลง
(6) มีมาตรการที่เพ่ิมประสิทธิภาพการใชอัตราก�ำลังหรือลดคาใชจาย
ดา นบุคลากร
4.4 กิจกรรมปฏิรูปที่ 4 สรางความเขมแข็งในการบริหารราชการในระดับพ้ืนที่
โดยการมีสวนรวมของประชาชน
4.4.1 เปา หมายของกจิ กรรมปฏิรปู
สรางความเขมแข็งของระบบการบริหารราชการเชิงพื้นที่ใหราชการ
ในสวนภูมิภาคมีความคลองตัว สามารถบูรณาการระบบงาน ระบบแผนและงบประมาณ
และระบบบริหารงานบุคคลได้อยางมีประสิทธิภาพ โดยใหเกิดการสานพลัง (Collaboration)
ระหวางภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคเอกชนเพ่ือให้เปนไปตามหลักธรรมาภิบาลของ
การบรหิ ารกิจการบานเมอื งทด่ี ี
4.4.2 ตวั ชี้วดั
(1) มีรูปแบบการท�ำงานท่ีเนนการบูรณาการในประเด็นนโยบายส�ำคัญ
(Agenda) ของกรม และหนว ยงานท่ีเกย่ี วของในพ้นื ที่ (ระบบการบริหารงาน โครงสราง)
(2) กรมและจังหวัดน�ำรูปแบบการท�ำงานเชิงบูรณาการตามข้อ (1)
ไปปรับใช้ให้สอดคล้องกับบทบาทภารกิจ และสอดคลองกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติและ
แผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาตทิ ีเ่ ก่ียวของ
(3) จ�ำนวนจังหวัดท่ีมีการพัฒนารูปแบบการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารราชการ
ในจังหวดั ที่มีผลสัมฤทธ์ิสงู
(4) ระดับความพึงพอใจของประชาชนท่ีมีต่อการให้บริการประชาชน
ของศนู ยด�ำรงธรรมของจังหวัด
5. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติฉบบั ท่ี 12 พ.ศ. 2560 - 2564
5.1 วัตถุประสงคท่ี 1.5 เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส
ทันสมัยและมีการทำ� งานเชิงบรู ณาการของภาคีการพัฒนา
5.2 เปา หมายรวมท่ี 2.6 มรี ะบบบรหิ ารจัดการในภาครัฐทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ ทันสมยั
โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ กระจายอ�ำนาจและมีส่วนรว มจากประชาชน
5.3 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 การบริหารจดั การในภาครฐั การปอ งกนั การทจุ รติ ประพฤติ มิชอบ
และธรรมาภิบาล ในสังคมไทย
เปาหมายระดับยุทธศาสตร์ท่ี 1 ลดสัดส่วนคาใช้จ่ายดานบุคลากร และ
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และการใหบริการของภาครัฐ และประสิทธิภาพ
การประกอบธุรกิจของประเทศ
- แนวทางการพัฒนาที่ 3.1 ปรบั ปรงุ โครงสรา งหนว ยงาน บทบาท ภารกิจ และ
คุณภาพบคุ ลากร ภาครฐั ใหม คี วามโปรง ใส ทันสมัย คลอ งตวั มีขนาดท่เี หมาะสมเกิดความคุมค่า

คูม่ อื แนวทางการพัฒนาองค์การส่รู ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 7

- แนวทางการพัฒนาท่ี 3.3 เพ่ิมประสิทธิภาพและยกระดับการใหบริการ
สาธารณะ ใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล
6. คําแถลงนโยบายของคณะรฐั มนตร รฐั บาลพลเอก ประยุทธ จันทรโ อชา
นโยบายรฐั บาลไดก�ำหนดวสิ ัยทศั นในการขบั เคลื่อนประเทศ “มงุ มั่นใหประเทศไทย
เปน ประเทศท่ีพฒั นาแลว ในศตวรรษที่ 21” โดยกาํ หนดนโยบายในการบริหารราชการแผนดนิ
ออกเปนนโยบายหลกั 12 ดา น และนโยบายเรง ดว่ น 12 เรอื่ ง โดยนโยบายหลกั เรอ่ื งการปฏิรูป
การบรหิ ารจัดการภาครฐั มุง เนนการน�ำเทคโนโลยีดิจทิ ัลเขามาชว ยในการใหบ รกิ ารของภาครฐั
และการบรู ณาการการทํางานของหนว ยงานตาง ๆ กำ� หนดนโยบายดำ� เนินการ ดังน้ี
1) พัฒนาโครงสร้างและระบบการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหมโดยพัฒนาใหภาครัฐ
มีขนาดที่เหมาะสม การจัดรปู แบบองคก รใหมท ่มี คี วามยดื หยนุ คลอ งตัวและเหมาะสมกบั บริบท
ของประเทศ
2) ปรับเปล่ียนกระบวนการอนุมัติอนุญาตของทางราชการท่ีมีความสําคัญตอ
การประกอบธุรกิจและการดําเนินชีวิตของประชาชนใหเปนระบบดิจิทัล และสามารถเช่ือมโยงขอมูล
ตอเนือ่ งกนั ตง้ั แตตน จนจบกระบวนการ
3) พฒั นาระบบขอมลู ขนาดใหญใ นการบรหิ ารราชการแผนดิน
4) เปดเผยข้อมูลภาครัฐสู่สาธารณะ โดยหน่วยงานของรัฐในทุกระดับตองเปดเผย
และเชื่อมโยงข้อมูลซ่ึงกันและกันทั้งในระหวางหนวยงานของรัฐดวยกันเองและระหวาง
หนวยงานรัฐกับประชาชน
5) ส่งเสริมระบบธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการภาครัฐ โดยสรางความเชื่อม่ัน
ศรทั ธา และสง่ เสริม ใหเ กดิ การพัฒนาขา ราชการ บุคลากร และเจา หนาที่ของรัฐอยา งจริงจงั
6) พัฒนากลไกใหประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนาบริการสาธารณะและการตรวจสอบ
ภาครัฐ
7) ปรับปรุงระเบียบ กฎหมายท่ีเอื้อตอการทําธุรกิจและการใชชีวิตประจําวัน
ชว ยอ�ำนวยความสะดวกในการใหบรกิ ารแก่ประชาชน
8 | ค่มู อื แนวทางการพฒั นาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

2. แนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงในปจั จบุ นั ท่มี ีผลกระทบต่อการพัฒนาระบบราชการ

โลกปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเต็มไปดวยความผันผวน (Volatility)
ความไมแ่ นน่ อน (Uncertainty) ความซบั ซอน (Complexity) และความกำ� กวม (Ambiguity)
ซ่ึงเปนผลมาจากพัฒนาการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีซึ่งสงผลให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ
ท่ีเขามาสนับสนุนและอ�ำนวยความสะดวกในการด�ำรงชีวิตของคนในสังคม ส่งผลให้พฤติกรรม
การด�ำรงชีวิตของผู้คนในสังคมนั้นเปล่ียนแปลงไปจากเดิมอย่างมาก เรียกไดว่าเปน
การเปลี่ยนแปลงแบบฉับพลัน (Disruptive) ตัวอย่างเช่น การใช้บริการผ่านระบบออนไลน์
ทั้งในแง่การท�ำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสและการใชเทคโนโลยีการส่ือสารออนไลนเพื่อเช่ือมตอ
ผคู นในสงั คมเขา ไวด วยกนั
พฤติกรรมของผู้คนในสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไปพรอมกับพัฒนาการทางเทคโนโลยีท�ำให้
เกิดท้ังผลดีและความท้าทายตอการด�ำเนินงานของภาครัฐและระบบราชการ ผลดีที่เกิดขึ้นคือ
เทคโนโลยีนวัตกรรมที่ทันสมัยชวยสร้างความหลากหลายให้กับสินค้าและบริการที่ตอบสนอง
ความต้องการของผูบริโภคในหลากหลายกลุ่ม โดยเฉพาะเม่ือประเทศไทยถูกคาดการณ์ว่า
จะเข้าสูการเปนสังคมสูงวัยระดับสุดยอดในปี พ.ศ. 2574 (ส�ำนักงานเลขานุการของ
คณะกรรมการยทุ ธศาสตรช าติ, 2561) การพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมยั ใหม่จึงชว่ ยทำ� ให้
ผสู ูงอายสุ ามารถเข้าถึงบริการทางการแพทยแ ละสาธารณสขุ รวมท้งั การบริการออนไลนต์ าง ๆ
ที่สนบั สนุนให้ผูสูงอายมุ ีคุณภาพชีวติ ทด่ี ขี ้นึ
อยางไรก็ตามพัฒนาการทางเทคโนโลยีก็ท�ำใหเกิดความทาทายตอการด�ำเนินงาน
ของภาครัฐดวย ได้แก่เกิดภัยคุกคามจากการใช้ระบบออนไลน์ในแง่ความเสี่ยงจากอาชญากรรม
ทางไซเบอร์ การก่อสงครามในรูปแบบใหม่ผานการใชเทคโนโลยี หรือแมแตการส่งขอมูล
ผา่ นระบบออนไลนอ ย่างรวดเร็วซึง่ เป็นท่มี าของขาวปลอม (Fake News) ทท่ี �ำใหเกดิ ความสับสน
ตอ ผูคนในสงั คมนน้ั เอง
ยิ่งไปกวาน้ันความทาทายส�ำคัญที่เกิดขึ้นในป พ.ศ. 2563 คือสถานการณ
การแพรร ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สง่ ผลใหพฤตกิ รรมของผคู นแตกตา่ ง
ไปจากเดิมอยางฉับพลันเกิดเปนชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ไมวาจะเปนการเวนระยะห่าง
ทางสังคม (Social Distancing) การกกั ตวั (Quarantine) และเกิดการท�ำงานในรูปแบบใหม่
การท�ำงานที่ใดก็ได้ (Work from Anywhere : WFA) จึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงในการน�ำ
เทคโนโลยีการส่ือสารผ่านระบบออนไลน์ หรือการส่งผานข้อมูลในรูปแบบดิจิทัลมาใช้เพื่อให้
สามารถด�ำเนินชีวิตวถิ ใี หมใ่ นสถานการณนไ้ี ด้
สถานการณ์ของโลกที่เปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วในปจจุบันถือเป็นชนวนส�ำคัญที่ภาครัฐ
และระบบราชการไทยจะตองทบทวนการด�ำเนินงานวาสามารถรับมือกับความทาทาย
ท่ีเกิดขึน้ ไดหรอไม่ และสามารถเตรยี มรับมอื กับความทาทายที่อาจเกิดขน้ึ ในอนาคตของโลกพลวตั น้ี

คมู่ อื แนวทางการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 9

ไดหรือไม่ เพ่ือให้สามารถวางแนวทางการพัฒนาระบบราชการท่ีมีประสิทธิภาพได้เริ่มจาก
การศึกษาทิศทางการพัฒนาระบบราชการท่ีส�ำคัญและกรณีศึกษาที่ดีจากต่างประเทศ
เพือ่ ประกอบการวางแนวทางการพัฒนาระบบราชการไทยใหเ้ ทยี บเท่ามาตรฐานสากลตอ ไป
ทิศทางการพฒั นาระบบราชการทส่ี �ำคญั และกรณศี ึกษาตา่ งประเทศ
ระบบราชการในอนาคตจ�ำเปนจะต้องมีโครงสร้างท่ีมีความยืดหยุ่นข้ึนกับเปาหมาย
และลักษณะบทบาท ภารกิจที่แตกตางกันเพื่อใหสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงแบบพลวัต
นอกจากน้ีตองให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ภาคประชาชนในการก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินกิจการสาธารณะรวมกัน รวมทั้งมีการแบง
บทบาทภารกิจ ความรับผิดชอบตามความเหมาะสม ซึ่งแนวโนมในการพัฒนาระบบราชการ
เพ่ือสรางขีดความสามารถให้กับระบบราชการไทยและน�ำไปสูระบบราชการในอนาคต
จำ� เปนตองดำ� เนนิ การในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
1) การสรางรัฐบาลดิจิทัล (Digital Government) ดวยการประยุกตใชเทคโนโลยี
ดิจิทัลและการบริการทางออนไลน์เพื่อพัฒนาการบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ (Public
Service Efficiency) โดยตองพัฒนาระบบขอมูลภาครัฐที่มุงเนนประชาชนเปนศูนยกลาง
(Citizen Centric) ขอมูลมีการเก็บอยางเปนระบบ เช่ือมโยงทุกหนวยงานรัฐอยางครบวงจร
และสามารถเปดใหสาธารณะตรวจสอบเพื่อปรับปรุงไดอย่างตอเน่ืองตามหลักการเปดเผยและ
โปรงใสในภาครฐั (Openness and Transparency)
กรณีศึกษาท่ีดีในการด�ำเนินงานดานสร้างรัฐบาลดิจิทัล คือ การด�ำเนินงานของ
ประเทศเอสโตเนีย (Estonia) ดานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิค (Development
of Technical Infrastructure) ที่ส�ำคัญ ไดแก่ การวางระบบระบุตัวตนอิเล็กทรอนิกส์
(e-Identification) และบตั รประชาชนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic ID Card) ซึง่ สามารถอ�ำนวย
ความสะดวกใหกับประชาชนในประเทศเอสโตเนียเขาถึงบริการออนไลน์ตาง ๆ รวมท้ัง
การพัฒนาโครงขายเชื่อมโยงขอมูลแห่งชาติ หรือ The X-Road Platform ในปี ค.ศ. 2001
เพื่อเปนตัวกลางในการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหนวยงาน (Data Exchange Platform)
ทั้งขอมูลของหนวยงานภาครัฐและเอกชน และรวมไปถึงฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรของประชากร
เพ่ือใหสามารถเชื่อมโยงข้อมูลด้านการให้บริการสาธารณะในรูปแบบบริการออนไลน์
แก่ประชาชนได้อยางมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยสูงสุด อยางไรก็ตาม การให้บริการ
ออนไลน์แกประชาชนก็สร้างความทาทายในการด�ำเนินงานในแงของการปรับตัวของประชากร
ผู้สูงอายแุ ละประชากรในชนบทหางไกลทข่ี าดทักษะหรอื บางกลุ่มไมเ่ ชอ่ื ม่นั ตอ การใชเ ทคโนโลยี
ใหม่ ๆ ท่ีภาครัฐใหบรกิ าร
2) การแกไข ทบทวน รายละเอียดของกฎหมาย กฎระเบียบ โดยกอนออกกฎหมาย
ตอ งดำ� เนินการ ประเมนิ ผลกระทบกฎหมาย (Regulatory Impact Assessment: RIA) และ
หลังออกกฎหมายมีการประเมินผลสัมฤทธ์ิของการด�ำเนินการการยกเลิกการบังคับใชกฎหมาย
10 | ค่มู ือแนวทางการพฒั นาองค์การสูร่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

หรือระเบียบท่ีไมจ�ำเปน (Regulatory Guillotine) พรอมทั้งเรงพัฒนาขีดความสามารถ
ของเจาหน้าท่ีใหมีความรูความเข้าใจในหลักการของ RIA และ Regulatory Guillotine
รวมทงั้ ใหมกี ารพัฒนาหนว ยงานกลางในการตรวจสอบมาตรฐานรายงาน RIA และ Regulatory
Guillotine เพ่ือใหเกิดการประเมินที่สมบูรณมากย่ิงขึ้น นอกจากนี้ ควรมีการพัฒนาระบบ
ขอมูลกลางที่เชื่อมโยงกฎหมายของทุกหนวยงานและใหประชาชนมีสวนรวมในการเสนอ
ความคิดเห็นตอ รางกฎหมายไดส ะดวก ตลอดจนใชท างเลือกอ่ืนแทนการออกกฎหมาย
การยกเลกิ การบงั คบั ใชก ฎหมายหรอื ระเบียบท่ไี มจ�ำเปน (Regulatory Guillotine)
ประเทศเกาหลีใต้ ถือเปนกรณีศึกษาที่ดีในแงของการด�ำเนินการโดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการ
ปฏริ ูปกฎระเบยี บ (Regulatory Reform Commission: RRC) เพือ่ สนับสนนุ และติดตามการ
ยกเลิกกฎระเบียบที่ไม่จ�ำเปน พร้อมท้ังมีหน้าที่ประเมินคุณภาพของกฎระเบียบที่รัฐบาลกลาง
ออกประกาศอีกดวย โดยผลของการด�ำเนินการ Regulatory Guillotine ในภาพรวมพบวา
ณ สิ้นปี ค.ศ. 2002 (4 ปี หลังจากการด�ำเนินมาตรการพิจารณาเฉพาะกระทรวงส�ำคัญ)
มีจ�ำนวนกฎระเบียบที่ถูกยกเลิกไปคิดเปนร้อยละ 33.17 ของจ�ำนวนกฎระเบียบท้ังหมด
(Jacobs and Astrakhan, 2006) อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินงานดังกล่าวก็มีความท้าทายท่ี
ตองใหความใสใจ เน่ืองจากมีการต้ังขอสังเกตวา การด�ำเนินงานท่ีเนนแตปริมาณหรือจ�ำนวน
ของกฎระเบียบท่ีถูกยกเลิกมากกวาการใหความใสใจกับคุณภาพในแงของความจ�ำเปนวาตองมี
กฎระเบียบน้ันตอ ไปหรือไม่
3) การสรางสภาพแวดล้อมในการเสริมสร้างความรวมมือกับทุกภาคสวนที่เก่ียวข้อง
มีการกระจายอ�ำนาจ ใหสังคมริเร่ิมและรัฐเข้าไปเก้ือหนุนโดยภาครัฐไมควรเขาไปด�ำเนินการ
ในสง่ิ ท่ภี าคสว นตาง ๆ สามารถท�ำไดด อี ยแู ลว ใหมองภาคสงั คมเปน ภาคที ีท่ ำ� งานรว มกัน
กรณีศึกษาท่ีดีดานการสร้างความรวมมือกับทุกภาคสวน คือ การด�ำเนินงานของ
สหราชอาณาจักร (United Kingdom) ดา นการพฒั นาระบบบรกิ ารสาธารณะแบบเปด (Open
Public Service) เพื่อปรับปรุงคุณภาพของการให้บริการสาธารณะให้มีความโปร่งใส
สามารถตรวจสอบได้ พรอ้ มท้ังสามารถใหบ้ ริการประชาชนไดอ ยางทัว่ ถงึ และเท่าเทียม ซ่ึงเปน
ความร่วมมือระหวางหน่วยงานภาครัฐ (ทั้งส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น) องค์กร ภาคเอกชน
และภาคประชาชน โดยมีแนวทางในการปฏบิ ัติทสี่ ำ� คญั 5 ประการ ไดแ ก่ 1) การเพ่ิมทางเลอื ก
ในการรับบริการใหแก่ประชาชน 2) การกระจายอ�ำนาจสู่หนวยงานขนาดเล็กและส่วนท้องถิ่น
3) การเสรมิ สรางความหลากหลายของผ้ใู ห้บรกิ ารสาธารณะ 4) การเสริมสร้างความเท่าเทยี ม
ในการเขา้ ถึงบริการสาธารณะ และ 5) การเปน ผูใ้ ห้บริการท่ีมคี วามรบั ผดิ ชอบ
4) การปรับวัฒนธรรมการท�ำงานที่มุงเนนนวัตกรรมและความคิดสรางสรรคในการ
ท�ำงานปรับเปลี่ยนทัศนคติในการท�ำงาน ได้แก่ การน�ำ Sandbox มาขับเคลื่อนการท�ำงาน
รวมกัน ซึ่งจะยึด Agenda Based เป็นหลัก เพ่ือตอบโจทย Area Based ไมติดกฎระเบียบ
เพ่ิมความยืดหยุน เปดโอกาสใหทุกภาคส่วนเขามามีส่วนรวมในการวางแผนการท�ำงาน และ
จะตอ งรองรบั ดวยกฎหมายเพ่ือใหเกดิ ความตอ เน่ืองและปกปองผู้มีสวนรวม

คมู่ ือแนวทางการพฒั นาองคก์ ารสูร่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 11

กรณีศึกษาวัฒนธรรมการท�ำงานท่ีมีความยืดหยุน และมีวัตถุประสงคหลักที่จะท�ำ
ส่ิงที่เปนไปไม่ได้ใหเปนไปได คือ กรณีศึกษากระทรวงแหงความเปนไปได (Ministry of Possibilities)
ของสหรัฐอาหรับเอมเิ รตส์ (United Arab Emirates : UAE) ซึ่งเป็นการดำ� เนินงานในรปู แบบ
กระทรวงเสมอื นทป่ี ระกอบด้วย 4 กรมชวั่ คราว และใชเครอื่ งมอื /หลักการทำ� งานดว ยกระบวนการ
คิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) และการท�ำงานแบบคลองตวั (Agility)
โดยสรุปแนวโน้มทิศทางการพัฒนาระบบราชการท่ีส�ำคัญและกรณีศึกษาตางประเทศ
มีประเด็นที่ส�ำคัญประกอบดวยการมุงเนนประชาชนเป็นศูนยกลาง การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
โดยการน�ำเทคโนโลยมี าประยุกต์ใช้ การสรางรัฐบาลท่เี ปดกวา้ ง การทบทวนปรบั ปรงุ กฎหมาย
การสร้างระบบนิเวศให้ทุกภาคส่วนเขามามีสวนรวมในการบริหารงานภาครัฐรวมกัน เสริมสราง
การมีสวนรวมของทุกภาคส่วน การปรับวัฒนธรรมการท�ำงานใหมีความยืดหยุนคลองตัว
การใชนวัตกรรมเปนตัวขับเคล่ือนใหเกิดการพัฒนางานบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ มุงเนน
ประชาชนเปนศนู ยกลาง และการทบทวนปรบั ปรงุ กฎหมาย
นอกจากศกึ ษาทศิ ทางการพฒั นาระบบราชการทสี่ �ำคัญแลว การทบทวน การดำ� เนนิ งาน
ของภาครัฐ/ระบบราชการไทยเพื่อประกอบการวางแนวทางการพัฒนาระบบราชการท่ีมีประสิทธิภาพ
ก็มีความส�ำคัญเช่นเดียวกัน โดยการด�ำเนินงานของภาครัฐ/ระบบราชการไทยมีการพัฒนา
มาอยางต่อเนื่องแต่ที่ถือเปนจุดเปลี่ยนส�ำคัญท่ีท�ำใหการปฏิรูประบบบริหารราชการไทย
ถูกด�ำเนินการอยางจรงิ จัง คือ ชว งวกิ ฤตการณ์ทางเศรษฐกจิ ปี พ.ศ. 2540 หรอื “วิกฤตตม้ ย�ำ
กุ้ง” ซึ่งส่งผลให้รัฐบาลในขณะนั้นขาดแคลนงบประมาณท่ีจะน�ำมาใช้ในการบริหารประเทศ
จึงจ�ำเปนต้องขอรับความชวยเหลือจากกองทุนการเงินระหวางประเทศ (International
Monetary Fund : IMF) โดย IMF ไดย่ืนเงื่อนไขให้ประเทศไทยด�ำเนินการ 3 ประการ คือ
1) จะตองทำ� การปฏริ ปู ระบบการเงินของประเทศ 2) กำ� หนดนโยบายมหภาคทม่ี ีผลตอ การฟน ฟู
เศรษฐกจิ และ 3) ปฏริ ปู โครงสรา งการบรหิ ารงานภาครฐั จึงถอื เปน ยคุ แห่งการปฏริ ูประบบราชการ
ตามแนวทางการบรหิ ารภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ท่มี กี ารปฏริ ปู
การด�ำเนินการในแงมุมตาง ๆ ได้แก่ การปรับเปล่ียนระบบงบประมาณแบบมุ่งเนนผลงาน
และผลสัมฤทธ์ิ การปรับเปลี่ยนระบบบริหารบุคคล การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและคานิยม
ในการบรหิ ารงานภาครฐั และพัฒนาใหเกดิ การบริหารกจิ การบา้ นเมืองที่ดี (Good Governance)
ตอมาเม่ืออิทธิพลของเทคโนโลยีดิจิทัลสงผลกระทบตอพฤติกรรมของผูคนในสังคม
มากยง่ิ ขึ้น ภาครัฐจงึ ไดประกาศนโยบายประเทศไทย 4.0 เพือ่ ใชเ ปนแนวคดิ ในการพฒั นาประเทศ
ใหกาวไปสูการเปนประเทศในโลกท่ีหนึ่ง โดยเนนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหมีประสิทธิภาพ
ดวยการน�ำนวัตกรรมใหมเขาสูกระบวนการคิดและการผลิต น�ำไปสูแนวคิดการพัฒนารัฐบาล
ดิจิทัลซึ่งไดด�ำเนินการมาอยางตอเนื่องถึงปจจุบัน ความพยายามในการพัฒนาภาครัฐ/ระบบ
ราชการสะท้อนให้เห็นผ่านดัชนีช้ีวัดนานาชาติ (International Index) ท่ีเกี่ยวข้องกับ
การด�ำเนนิ งานของภาครฐั /ราชการไทยที่ส�ำคัญในมติ ิตา ง ๆ ดงั น้ี
12 | คมู่ อื แนวทางการพฒั นาองคก์ ารสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

มิตดิ านขดี ความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศ
การรายงานขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยสภาเศรษฐกิจโลก
(The Global Competitiveness Report by World Economic Forum) พบวา่ ผลการจัดอนั ดบั
(Ranking) ของประเทศไทยเมือ่ ปี ค.ศ. 2018 อยูอนั ดับท่ี 38 และปี ค.ศ. 2019 อยอู ันดบั ที่ 40
(World Economic Forum, 2019)

ภาพ 1 ขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศไทย รายงานโดยสภาเศรษฐกจิ โลก
ท่ีมา: http://www3.weforum.org/docs/WEF_TheGlobalCompetitivenessReport2019.pdf
ส่วนผลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขัน โดย World Competitiveness Center
ของ International Institute for Management Development หรอื IMD ของประเทศ
สวติ เซอรแ ลนด พบวาผลการจดั อันดับ (Ranking) ของประเทศไทยเมือ่ ป ค.ศ. 2018 อยูอ ันดับท่ี 30
ป ค.ศ. 2019 อันดับดีข้นึ อยางมาก โดยอยใู นอันดับที่ 25 และ ปี ค.ศ. 2020 ตกลงมาอยใู นอันดบั ที่ 29
แตดีกวา ในปี ค.ศ. 2018 (International Institute for Management Development,
2019 and 2020)

คู่มือแนวทางการพัฒนาองค์การสูร่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 13

ดีกวา ในปี 2018 (International Institute for Management Development, 2019
and 2020)

ทมม่ีติ ิดาา:นhปtรทtภะpมี่สาาิทsพ::ธ/hภิร/t2ภาาtspาพtยพอsaกง:ท/ันnาาร/่ีราsgดน2จtย.aบัดัโอsงnดากcนัคgนาย.ด.วmโsรบั ดcาภWค.ยaมาmวคhoWสาaรมirhาoัฐdสliมrddาoldoามllCาร.C.aรaถooถccใm.ใm.tนนthphกก/peาp/าteรdpiรแttfid/ขvแitre่งขafiขnv/nง่ันerekขaขsinnsนัnอgeงCk/ขปtseihอnรsnaะงtgiเCelปท/aretศnรhไndะทa2tเย0ทiel2arศ0n.ไpทdd2ยf 020.pdf
มDิตeดิ vาeนloปกpารCmระoรmสeาทิnpยetธงtภิาiหtกนiาvราeผพือรnลกรeกIาsาMsายรรDงจCจาัดeนมดั nกผอีดtาลeันชrรกดนภาบัขรีายคจค่ออัดวรยอางัฐทัมบี่สชดIาัnี้บวมtัคดeาrวรnราะaถมtดใiสoนับnากaมปlาารรรIะแnถสขsใtนิงทitขกuธtานั eิภรโแาดfขพยorงภWขาMันoคaโrnรดlaัdฐยgeWC(mGooeormnlvdteprentmitiveenntess
CอทEทยe่ชีf่ี fใู่n2้ีวiนc3tดั อieeรนัซrnะึ่งดขดcมบัอyบั ีสทง)ปว่ีซI2นรn่ึง0ะtทใeสนำสrทิใปn่วหธนีa2อิภtใ0นiนัาo1ปดพn9ีบัภaคlปา.ศIครn.ะรs2ใฐัเtน0ทit2(ภศuG0าไtoทeพอvยรันfeoอวดrมrยnับตMู่ใmตนกกaอeลลnันnงงatดมgับาeEอmทffยi่ี ecูท2inี่0e2tn3สDc่วซeyน่งึ)vใมeซนสี lง่ึปoวในีpน2ทmป0ำ� ี2eใค0หn.อศtอัน.หันด2รดบั0ือับ1ใIนตM9ภกDปาลพรงมมะรีดวเาัชทมอนศตยยีกไู ทอ่ลยยง

ภาพทภ่ีา3พอัน3ดอับนัดดัชนับียดอัชยนชยี้วอดั รยะชด้วี บั ัดปรระะดสับิทปธภิราะพสภิทาธคภิรฐัาพ(Gภoาvคerรnฐั m(eGnotvEeffricniemnceyn)tขอEงfปfiรcะieเทnศcไyท)ย
ททม่ี ่ีมา:า:IMIMDDWWoorlrdขldอCงoCปmoรmะpเeทpteศittไiivทteiยvneensessCseCnetnetrer

โ ปใสสลดรไ(CแอนIนดnUหทว่งัชี าันPนอคยแdเนชnนปยรIด.กงว)eศใกiอ่ือรีรTข่ tับนโจxโ.ะาeัฐยยอrนดทปาa2รชบdูใง:ผ้ยๆกม0nใีน่กาEาค9นล2NนชsจาอลTG(9.กแ0pรผTศา้ีaะมับrอDสงาrตaลat.สขีอกดaิเ่ขรIรinrิก2)ลo่วัน้ายnัาบeจอ(s0า็นกnโงUดรsัnงดัทบpดก1รsทpใจกับncอaี่าจยล9,นัาaดร7ขyiรrันัtอด2งปรerอ-3ยรอeดe0เงสอIบัn2ับนndัรนค2n1บัรแันรc0เ่ืtิกอด้าก80พcลูด้ดeyด2Nงสยy1าับะา้ม่ิัชr0ับกaaI์รnน9nสนInาtดๆ(nอสดภaitูงEรภีdo-ัชนัหtetขาัชร-e(inา2พนGrน้ึดoับปT2นnพrs0ลีภอับonnร0รrี:รaลa2ักปู้ยดะ2avาตaัฐtUn0กัษาีชพi้าle0tกบo2sงiNษนณา)roลลสอpnมา0nภช)ณ์คnงาักันลาaa2mาามอมซกaษlrค์0ดอตพeาร่งึlาeสอิณับเ,มิรอลใnอรลn(ารน2ัปตายถัก์cUันค็กมรtอ0ชปกyทูษสอดnปัาทย1นั ีละี่ณDรับรiIูทช18ครtnงทถรeeซข0์นัค,ีอ่อ.มtัปศ้อส่งึvdeย12อนั นาใะ.นชerับ0(รนดอิแกNnCทันlกร21เับปยลoสaพaoัป้อ0า9ีูทะtp์t(5rร1ิน่ชมคiC(iraีo่mo7ด1E8ัน.uสก1oศnnn-�ำ0ูงpา0(e.GrdซปUaเs4ขรr1tนn2o:ulึ่งรnดiึ้น2,ตo0นิใtUะvpแiำ0นอ2t1าneงเtเNลe2Iทมยป80iนาnrodะ)0nาลนศีP1ินdปn2)งซmำ�ไNeข81งe0รมทนดึ่งrPอาa0,ะ1xeาcใยับอนte4งเ2น8nกeiทอกภorข:0แปtมpcตศปยจnอา1ลEeาีtDไาใูราsคง2ทiะนอ9Gpมo,ะกeภร0มยยอt2เDลnvนัฐาทa1iอแีูท0ับoeำ/Iคีม้ nย8ศ)น1รด่ีอดnIlรกีnใู่doไ8ะวัันับบนโปัฐทาdIpดโบnอ/2aดทรรยนemแยรบnนัdจะ0ับอี่ ม้xะลอd7ดeรเัดย2eจบทะง5า3ับxอู่ใn:02ะคบมชศน7ทนัt)0:ขCแกีก่ี 2ดยลP9าา0บัับ9ะIรร))
14 | คมู่ อื แนวทางการพฒั นาองคก์ ารสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

ไทยอยูในอับดับที่ 73 และ ปี 2020 อันดับขยับเพิ่มสูงขึ้นอยางมากมาอยูที่อันดับ 57
(United Nations, 2018 and 2020)

ภาพท่ี 4 อันดับดชั นรี ัฐบาลอิเลก็ ทรอนกิ ส์ของประเทศไทย
ทมี่ า: https://publicadministration.un.org/egovkb/en-us/Data/Country-
ภInาfพorm4aอtiนัonด/ับidด/1ัช6น9ีร-Tัฐhบaาilลanอdเิ ล/d็กaทtaรYอeนarิก/2ส0์ข2อ0งประเทศไทย
ทมี่ า: httpsกม:/าติ /รดิ pจาuัดนอbกันlาiดรcบับaรคdิกวmาารมinยiiาdsกt/r-1งa่า6tยi9oใ-นnTก.huาaรnปi.loรaะrngกd/อe/บgdธoaุรvtกakิจYb(e/Deaonrin/-2gu0Bs2/uDs0ianetass/C: oDuB)nใtนryป-Information/
มติ 82ิด00า2.1น00กปคาระะรแเบทนรศนกิไทโาดยรยอมยีดู่ใน้านอทัน่ีตดิดับอทัน่ี ด2ั1บ สูงขึ้นจากป 2019 ถึง 6 อันดับ โดยมีคะแนนเท่ากับ
TOP 10 ของโลก 2 ดาน ไดแก่ ดานการคุมครองผู
ลงทนุ การจเสัดยี องขันาดงับน้อคยวาอมยใูยนาอกัน-ดงับ่าทย่ี ใ3นแกลาะรดปานรกะากรอขบอใธชุรไฟกฟิจา (อEยaใู นseอันoดบัf ทD่ี 6oขinอgงโลBกusiness : DB)
ในป ค.ศ. 2020 ประเทศไทยอยใู่ นอนั ดับท่ี 21 สงู ขึน้ จากป 2019 ถงึ 6 อันดับ โดยมคี ะแนน
เท่ากับ 80.10 คะแนน ซ่งึ มีด้านท่ตี ิดในสิบอันดับแรก (TOP 10) ของโลก 2 ดา น ไดแ ก่ ดา นการคมุ ครอง
ผลู งทนุ เสยี งขางน้อย อยใู นอนั ดับที่ 3 และดานการขอใชไ ฟฟา อยูในอันดบั ที่ 6 ของโลก

ภาภพาพ5ทกี่ 5ารกจารดั จอดั 2นัอ0นัด2ดบั0บัทคทคี่มวมี่วาาาม::มhยยhtาาtกptก-ps-ง:ง่าs/่าย/:/wยใ/นwใwกนwาwกร.oาปwpรร.dปะoกcรp.อgะdบoกcธ.tอรุ.hgบก/oิจcธo.รุt(nDhกto/ิจeicnn(ogtD/nNBotuDiensMingnteB/sNsuDs: iDMnBe)sใsนป: DB) ในป 2020
จากการศึกษาดัชนีช้ีวคัดู่มนอื าแนนาวชทาตาิใงนกขา้ารงพตฒั้นสนะาทอ้องนคใก์ หา้เรหส็น่รู วะ่าบปบรระาเทชศกไาทรย4จ.ำ0เป(นTตoolkit 4.0) | 15

องพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งนั้นรวมถึงการพัฒนา
ประสิทธิภาพภาครัฐดานการสร้างภาพลักษณ์ในด้านคอรรัปชันใหดีขึ้น ในส่วนของ

จากการศึกษาดัชนีชี้วัดนานาชาติในข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่าประเทศไทยจ�ำเปนตอง
พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศให้ดียิ่งข้ึน ซ่ึงรวมถึงการพัฒนา
ประสิทธิภาพภาครัฐดานการสร้างภาพลักษณ์ในด้านคอรรัปชันใหดีข้ึน ในส่วนของสภาพแวดล้อม
ในการประกอบธรุ กิจและการพฒั นาไปสูร ัฐบาลอิเลก็ ทรอนิกส์ ประเทศไทยมีผลการดำ� เนนิ การ
คอ นขางดอี ยูแ ลว แตยังมคี วามจำ� เปนท่ีจะตอ งดำ� เนนิ การพัฒนาตอ ไป
ความทา้ ทายทีส่ ำ� คัญของการดำ� เนนิ งานของภาครฐั /ระบบราชการไทย
แม้ว่าประเทศไทยจะมีการพัฒนาและปฏิรประบบบริหารราชการมาอยางต่อเน่ือง
แต่ด้วยสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกปัจจุบันเน่ืองจากการพัฒนา
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงในยุคที่โลกต้องเผชิญกับสถานการณ์
การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สงผลให้การด�ำเนินงานของ
ภาครฐั ไทยตองพบกบั ความทา ทายในการด�ำเนินงานหลากหลายแง่มมุ
1) การเปล่ียนแปลงอยางฉับพลันทางเทคโนโลยี (Technology Disruption)
ที่สรางการเปล่ียนแปลงใหกับการด�ำเนินชีวิตของผูคนในสังคม ท�ำให้การรับบริการ การท�ำ
ธุรกรรม การสือ่ สาร การส่งผา่ นขอ มูลตา ง ๆ ท�ำไดอ ยา่ งรวดเรว็ คลองตัว และมคี วามยดื หยนุ่
จนผูบริโภคเกดิ ความคุ้นชนิ ดงั นนั้ ประชาชนจึงเกิดความคาดหวังตอบริการตา ง ๆ จากภาครฐั
ในรูปแบบออนไลน์ ซ่ึงหนวยงานภาครัฐในปจจุบันได้ปรับเปลี่ยนบริการเปนการใหบริการ
ออนไลน์ รวมท้ังปรับเปลี่ยนการด�ำเนินงานไปสู่ระบบดิจิทัลมากข้ึน แตยังมีอีกหลายหน่วยงานที่
ไมสามารถพัฒนาไปสูระบบดิจิทัลท่ีมีประสิทธิภาพได เนื่องจากมีเงื่อนไขการด�ำเนินงาน
ในแง่ของกฎระเบียบที่ยังไม่รองรับ หรือทรัพยากรด้านบุคลากรที่ยังมีความเช่ียวชาญและ
งบประมาณในการดำ� เนนิ งานไมเ่ พียงพอ
2) ความไว้วางใจของสาธารณะ (Public Trust) เนื่องจากการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัล
เข้ามาใชใ้ นการปฏิบตั งิ านของภาคราชการ และการใหบริการออนไลนส ปู ระชาชนส่งผลใหภ้ าครฐั
ไดรับขอมูลสวนบุคคลหรือขอมูลการใช้บริการของประชาชนในรูปแบบดิจิทัล ซ่ึงสามารถน�ำข้อมูล
ดังกลาวไปวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และพัฒนากระบวนงานของภาครฐั /ภาคราชการใหมีประสิทธภิ าพ
มากยิ่งขึ้นได แตความทาทายส�ำคัญ คือ การเก็บรักษาขอมูลใหปลอดภัยจากอาชญากรรม
ทางไซเบอร์ รวมไปถึงวิธีท่ีจะรักษาสมดุลของความปลอดภัย (Security) กับความเปนสวนตัว
(Privacy) ของประชาชนและผรู ับบริการจากภาครฐั นอกจากนกี้ ารส่งผ่านขอ้ มลู ทร่ี วดเร็วดว ย
เทคโนโลยีการส่ือสารท่ีทันสมัยอาจก่อใหเกิดการสรางขาวปลอม (Fake News) ดังนั้นจึงเป็น
ความทาทายของภาคราชการที่ตองสร้างแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือและเปนท่ีไววางใจของประชาชน
ในการนำ� ข้อมูลไปใช้ ซึง่ การด�ำเนินการดงั กลา่ วกเ็ พือ่ สรา้ งความไวว างใจของสาธารณะ (Public
Trust) ของประชาชนตอ ภาคราชการ
3) การเผชิญกับสังคมผู้สูงวัย (Aging Society) ดังท่ีกล่าวไปแล้วว่าประเทศไทยก�ำลัง
จะเข้าสูการเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอดในปี พ.ศ. 2574 ความทาทายคือจะเตรียมพร้อม
16 | คู่มอื แนวทางการพฒั นาองคก์ ารสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

เพ่ือรองรับกลุมผูสูงอายุอย่างไร เพ่ือพัฒนาให้กลุมผูสูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและเปนผูสูงอายุ
ท่ีมคี ุณภาพและมีทักษะท่ีสามารถเปน สวนหนง่ึ ของการขับเคลื่อนประเทศตอไป
4) ความขัดแยงทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) ปญหาการแบงข้ัวอ�ำนาจออกเป็น
หลายขั้วอ�ำนาจ การแยงชิงทรัพยากรและการแผ่ขยายอาณาเขตมีรูปแบบที่เปล่ียนแปลงไป
ความท้าทายคือภาครัฐตองตามการพัฒนาของรูปแบบท่ีเปลี่ยนแปลงไปใหเทาทัน เพื่อพัฒนา
การจัดการท่ีเหมาะสม
5) การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ส่งผลกระทบต่อปัญหา
ในหลากหลายมิติ อาทิ ปญหาภัยพิบัติตาง ๆ การยายถ่ิน การอพยพ การสาธารณสุข
การประกอบอาชพี ดังนั้นการแก้ปญหาจงึ จ�ำเปน ตองมองแบบองค์รวม (Holistic) โดยเครอื ขาย
ภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาความยั่งยืนระดับโลก Partnering for Green Growth and
The Global Goals 2030 (P4G) ได้ใหค้ วามส�ำคัญกบั การแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว อย่างไรก็ตาม
ความท้าทายคือภาครัฐต้องสร้างระบบการท�ำงานท่ีเปดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม
อย่างแท้จรงิ และการสรางการท�ำงานในรูปแบบบูรณาการแบบข้ามหนว ยงานใหเ กดิ ขน้ึ จรงิ
6) การท�ำงานแบบบรู ณาการข้ามหนว่ ยงาน (Integrated Work System) เพือ่ ตอบสนอง
ความต้องการของประชาชน ภาครัฐจ�ำเปนต้องบูรณาการการท�ำงานข้ามหน่วยงานเพื่อพัฒนา
การให้บริการประชาชนเปนไปในทิศทางเดียวกันและไม่เกิดความซ�้ำซอน แต่การท�ำงานในรูปแบบ
การบรู ณาการข้ามหน่วยงานมีความทาทายท้งั ในแงมมุ ของกฎระเบยี บการก�ำหนดมาตรฐานตา ง ๆ
ท้ังมาตรฐานขอมูล มาตรฐานในการเช่ือมโยงขอมูล และมาตรฐานในการรักษาความม่ันคง
ปลอดภัยของระบบ รวมถึงการท่ีระบบเทคโนโลยีของแต่ละหน่วยงานมีระดับการพัฒนา
ท่ีไมเทากันท�ำใหเกิดความทาทายในแง่ของโครงสรางพื้นฐาน ดานเทคโนโลยีในการท�ำงาน
บรู ณาการแบบขามหนว ยงาน
นอกจากน้ีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ก็สรางความท้าทายในแง่ของการบริหารราชการอย่างมาก โดยความทาทายคือการสราง
การมีส่วนรวมเพื่อใหทุกภาคสวนสามารถเขามารวมแสดงความคิดเห็นและลงมือปฏิบัติ
เพ่อื แกไขปัญหารว มกนั
ความท้าทายในการด�ำเนินงานของภาครัฐและระบบราชการไทยท่ีกล่าวไปในข้างต้น
ถือเปนแรงผลักดันท่ีภาครัฐ/ราชการ จ�ำเปนตองน�ำไปทบทวนและวางแนวการพัฒนาระบบ
ราชการไทย โดยสามารถศึกษาทิศทางการพัฒนาระบบราชการที่ส�ำคัญของตางประเทศ
เพื่อประกอบการวางแนวการพฒั นาระบบราชการไทยให้เทยี บเทามาตรฐานสากลตอไป
การทบทวนความสอดคล้องของแผนในระดับต่าง ๆ และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
ในปัจจุบันที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาระบบราชการในข้างต้น สามารถน�ำไปสูการพัฒนา
แนวทางการพัฒนาระบบราชการไทยที่มีมาอยางตอเน่ือง ในสวนตอไปจะกล่าวถึงผลการพัฒนา
ระบบราชการท่ผี า นมาเพ่อื ใหเข้าใจการพฒั นาระบบราชการไทยมากยงิ่ ขนึ้

คมู่ ือแนวทางการพัฒนาองคก์ ารสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 17

3. ผลการพัฒนาระบบราชการท่ผี ่านมา

จากการดำ� เนนิ การพัฒนาระบบราชการตามแผนยุทธศาสตรการพฒั นาระบบราชการไทย
(พ.ศ. 2556 - 2561) ทผ่ี านมา ส�ำนกั งาน ก.พ.ร. ไดข บั เคลื่อนการด�ำเนนิ การในหลายประเดน็
สามารถสรุปตามตัวช้ีวัดผลการด�ำเนินงานตามยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทยฯ
ไดดงั น้ี

ตวั ชวี้ ดั และเปาหมาย ผลการด�ำเนนิ การทสี่ ำ� คัญ

เปา ประสงคเ ชิงยุทธศาสตร์ 1 การสรางความเชอ่ื ถอื ไววางใจ (Trustworthy)

• ความพึงพอใจของประชาชนตอ ผลการส�ำรวจความพึงพอใจตอการบริการของภาครัฐ (ตามพระราช
การใหบ รกิ าร และการดำ� เนินงาน บัญญัติการอ�ำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทาง
ของภาครฐั ไมนอ ยกวา รอยละ 80 ราชการ พ.ศ. 2558) ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2560

• ความเช่ือม่ันของประชาชนท่ีมี พบว่า ประชาชนมีความพึงพอใจ ต่อการบริการของหน่วยงาน
ตอสวนราชการและหนวยงาน ภาครฐั ร้อยละ 79 เพ่ิมขนึ้ จากปี 2559 ร้อยละ 6.2 และในการสำ� รวจ
ของรัฐ ไมน อยกวารอยละ 80 ระหว่างเดอื นพฤษภาคม-มิถนุ ายน 2562 ประชาชนมีความพึงพอใจ
รอ้ ยละ 84.75 เพิ่มขึน้ จากปี 2560 รอยละ 5.75

เปาประสงคเชงิ ยุทธศาสตร์ 2 พัฒนาสุขภาวะ (Healthy)

• ผลิตภาพของภาครัฐเพ่ิมข้ึน การดำ� เนินการเพอ่ื เพ่มิ ผลิตภาพและขดี สมรรถนะของภาครัฐ ไดแ ก่
ไม่นอ้ ยกวา่ รอยละ 30 1) การจัดต้ังศูนยบริการรวมในหางสรรพสินค้า (Government
• สวนราชการสามารถพัฒนา Service Point) จ�ำนวน 3 แหง่ ไดแก่ ศูนยการคาเซ็นทรลั เวลิ ดิ์
ขีดสมรรถนะของการบริหาร เซน็ ทรลั พลาซ่า ศาลายา และธัญญาพาร์ค (ปจจุบันท่ีเซน็ ทรัลฯ
จัดการองค์การ ไมนอยกวา ศาลายา จ.นครปฐม ดำ� เนนิ การเอง)
รอ ยละ 80 2) การพัฒนาระบบใหบริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จทางอิเล็กทรอนิกส์
(Biz Portal) รวมกับส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัลและหน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวข้องให้บริการดานการออกหนังสือรับรอง ใบอนุญาต
และเอกสารต่าง ๆ ปจจุบันกรุงเทมหนครเปิดให้บริการ 78
ใบอนุญาต ใน 25 ประเภทธุรกิจท่ัวประเทศ เปดให้บริการ
18 ใบอนญุ าต ใน 10 ประเภทธุรกิจ
3) การปรับปรุงประสิทธิภาพและพัฒนางานบริการตามรายงาน
ผลการจัดอันดับความยาก-งายในการประกอบธุรกิจ (Ease
of Doing Business) ของธนาคารโลก ในป 2561 (DB 2019)
ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 27 ของโลกได้คะแนน 78.45
คะแนน จากที่เคยได 77.44 คะแนนใน DB 2018 และ
จากการจัดอันดับล่าสุดในรายงาน DB 2020 ประเทศไทย
อยู่ในอันดบั ที่ 21 ซึง่ ดขี ้นึ ถงึ 6 อันดบั (80.1 คะแนน)

18 | คู่มือแนวทางการพฒั นาองคก์ ารส่รู ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

ตัวชว้ี ัดและเปาหมาย ผลการด�ำเนินการทสี่ ำ� คญั

4) การปรับปรุงบทบาทภารกิจและโครงสร้างของหน่วยงานภาครัฐ
ใหทันสมัย มีระบบการท�ำงานท่ีคล่องตัว สอดคล้องกับ
บทบาทภารกิจท่ีเปล่ียนแปลงไป และให้ส่วนราชการจัดท�ำ
แผนปฏิรูปองค์กรตามมาตรการ ปรับปรุงประสิทธิภาพ
การปฏิบัตริ าชการ ใหสอดรับกับระบบราชการ 4.0

5) การติดตามประเมินการปฏิบัติราชการตามมาตรการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจ�ำป
งบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสวนราชการและจังหวดั พบวา
มีหน่วยงานร้อยละ 89.43 ที่มีผลการประเมินอยูในระดับ
มาตรฐานขึน้ ไป

6) การตรวจรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพ้ืนฐาน
(Certified Fundamental Level) ในปี พ.ศ. 2561
ส่วนราชการและจังหวัดผ่านการรับรอง Certified Funda-
mental Level ฉบบั ที่ 1 ไดค รบรอ ยละ 100

เปา ประสงคเ ชิงยทุ ธศาสตร์ 3 มุง สูความยงั่ ยืน (Sustainable)

• ความส�ำเร็จของการถ่ายโอน ตงั้ แตปี พ.ศ. 2553-2560 มภี ารกจิ ทส่ี ามารถดำ� เนินการถายโอนแลว
และท�ำงานรวมกับภาคสวนอ่ืน เสร็จ 83 งาน จาก 141 งาน (รอ้ ยละ 58.87 ของภารกิจทต่ี อ้ งถา่ ย
ในสงั คม ไมน อยกวารอ ยละ 80 โอนท้งั หมด) แบงเปนงานตรวจสอบและรับรองคุณภาพมาตรฐาน
50 งาน งานอ่ืน ๆ 33 งาน ส�ำหรับภารกิจทย่ี งั ไมส่ ามารถถา ยโอน
ได้พบปญหาและข้อจ�ำกัดบางประการ ไดแก่ ปญหาผูรับโอนงาน
(ภาคเอกชน) ไมมคี วามพรอ้ ม การอย่รู ะหวางการแกไขกฎหมาย
เพ่ือให้เอ้ือตอการถ่ายโอนงาน และภารกิจบางส่วน ควรให้
ด�ำเนินงานโดยเปล่ียนสถานภาพหรือปรับเปลี่ยนเป็นหน่วยงาน
รปู แบบอนื่ เชน องคก์ ารมหาชน หรอื หนว่ ยบริการรปู แบบพิเศษ
(SDU) ซึง่ ตองมกี ารศกึ ษาความเปนไปได้ตอไป

ส่วนการทำ� งานรว่ มกบั ภาคส่วนอน่ื ในสังคม ไดสง่ เสรมิ การบรหิ าร
ราชการให้มีระบบหรือวิธีการท�ำงานท่ีตระหนักถึงความส�ำคัญ
ของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ และ
เพื่อให้เกิดการท�ำงานรวมกันในลักษณะหุนสวนความรวมมือ
รวมทง้ั เกดิ การบูรณาการการทำ� งานระหวางหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วของ

คู่มอื แนวทางการพัฒนาองค์การสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 19

นอกจากนี้ สำ� นักงาน ก.พ.ร. ยังมุงมั่นและดำ� เนนิ การพฒั นาระบบราชการอยางต่อเนื่อง
โดยเน้นการทำ� งานตามทศิ ทางของแผนท่สี �ำคัญของประเทศ ไดแก่ ยทุ ธศาสตรช าติ แผนแมบ ท
ภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
และนโยบายรฐั บาล ซง่ึ มผี ลการดำ� เนินงานทส่ี �ำคัญสามารถสรปุ ได ดังนี้
1. ด้านพฒั นาการใหบ้ ริการประชาชน
1.1 การพฒั นาการบรกิ ารภาครฐั ผานระบบอิเลก็ ทรอนิกส์
1.1.1 พัฒนาระบบศูนย์กลางการบริการประชาชนในการติดต่อราชการแบบ
เบ็ดเสร็จครบวงจร (Citizen Portal) รว่ มกบั ส�ำนักงานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ัล (องคการมหาชน)
(สพร.) เพอื่ ใหบ ริการบน Mobile Application ประชาชนสามารถติดตอรบั บรกิ ารจากภาครัฐ
ไดทุกที่ ทุกเวลา ด้วยความสะดวก รวดเร็ว และประหยัดคาใชจ่าย โดยมีหน่วยงานน�ำร่อง
ส�ำหรับให้บริการในระบบตนแบบจ�ำนวน 19 หนวยงาน และมีเปาหมายในการให้บริการ
ประชาชน ในระบบตน้ แบบไดจ ำ� นวน ไมน อ้ ยกว่า 20 งานบรกิ าร
1.1.2 พัฒนาระบบการให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จทางอิเล็กทรอนิกส์
(Biz Portal) รวมกับ สพร. โดยให้บริการรวม 78 ใบอนุญาต ใน 25 ประเภทธุรกิจ ในเขต
กรุงเทพมหานคร เชน่ ธุรกจิ เสริมความงาม Co-Working Space โรงแรมและรีสอร์ตขนาดเลก็
กอสราง/รับเหมาก่อสร้าง ซอม/ขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ใหค�ำปรึกษาดานกฎหมายและ
บัญชีแปรรูปสินค้าเกษตรขนาดเล็ก ร้านอาหารและเครื่องดื่ม e-Commerce ดานเส้ือผา
ขนสงสินคา ขายเครื่องส�ำอางออนไลน์ รานคาปลีก สปา และใหบริการ 18 ใบอนุญาต
ใน 10 ประเภทธุรกิจ ใน 76 จังหวัดท่ัวประเทศ ครอบคลุมการให้บริการขออนุญาตรายใหม่
ตออายุ แกไ ข/ เปลยี่ นแปลง และยกเลกิ มีหน่วยงานท่ใี ห้บรกิ ารผา่ นระบบทง้ั สนิ้ 32 หนว่ ยงาน
ทง้ั ในเขตกรงุ เทพมหานครและตางจังหวัด
1.1.3 ขับเคลื่อนการใหบ ริการประชาชนผา นระบบอิเล็กทรอนกิ ส (e-Service)
โดยเตรียมความพรอมใหสวนราชการสามารถน�ำไปพัฒนาตอยอดหรือยกระดับงานบริการ
ของหนวยงานให้สามารถใหบริการผาน e-Service ไดแบบเบ็ดเสร็จ มีการอบรมเจาหน้าที่
ที่เก่ียวของ พรอมท้ังเขาพบผูบริหารระดับกระทรวงท้ัง 20 กระทรวง และหนวยงานในสังกัด
เพ่ือชี้แจงวัตถุประสงคและเป้าหมายการด�ำเนินการ ทั้งนี้มีสวนราชการท่ีเสนองานบริการ
เพอื่ นำ� มาพฒั นาเปน e-Service จำ� นวน 79 หนว ยงาน 80 งานบริการ (ขอ มูล ณ วนั ที่ 30
ตลุ าคม 2563) นอกจากน้ี สำ� นกั งาน ก.พ.ร. ไดร วบรวมขอ มลู เพ่อื ใหประชาชนสามารถเขา้ ถงึ
ชองทางการเขาถึงบริการภาครัฐที่เปน e-Service รวม 325 งานบริการ เผยแพร
บนเว็บไซตส�ำนักงาน ก.พ.ร. ประกอบดวย (1) งานบริการเพ่ือประชาชน 87 งานบริการ
(2) งานบริการสำ� หรับผู้ประกอบธุรกิจ/SMEs 192 งานบริการ และ (3) งานบรกิ ารดานแรงงาน
หรือส่งเสริมการมีงานทำ� 46 งานบรกิ าร
20 | คู่มือแนวทางการพัฒนาองค์การส่รู ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

1.1.4 ก�ำหนดแนวทางการทบทวนกฎหมาย เป็นอุปสรรคต่อการให้บริการ
e-Service ของหน่วยงานน�ำรองในการพัฒนาการออกเอกสารหลักฐานด้วยระบบดิจิทัล
จำ� นวน 84 ฉบบั ใหแล้วเสรจ็ ภายใน พ.ศ. 2563 (มติคณะรฐั มนตรีเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2563)
โดยผลการด�ำเนินการพบว่า หน่วยงานได้ทบทวนหรือแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบแล้วเสร็จ
จ�ำนวน 42 ฉบบั อย่รู ะหวา่ งดำ� เนนิ การ 42 ฉบับ ซง่ึ สำ� นักงาน ก.พ.ร. อยูร ะหวางการจัดท�ำ
รายงานเสนอคณะรัฐมนตรตี อ ไป
1.2 การพัฒนาการบรกิ ารภาครัฐ
1.2.1 ยกระดบั การบรกิ ารภาครัฐตามพระราชบัญญตั ิ การอำ� นวยความสะดวก
ในการพจิ ารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 มีผลการดำ� เนนิ การทีส่ �ำคญั ดังนี้
(1) ไมเรยี กสำ� เนาเอกสารท่ีราชการออกใหจ ากประชาชน โดยมีหนว ยงาน
ยกเลิกการขอส�ำเนาเอกสารบัตรประจ�ำตัวประชาชน และส�ำเนาทะเบียนบ้านครบถ้วน
ทุกกระบวนงาน 60 หนว่ ยงาน
(2) ทบทวนค่าธรรมเนียมในการอนุมัติ อนุญาต ของทางราชการ
โดยพบว่า สามารถยกเลิกใบอนุญาตได 6 ใบอนุญาต ยกเลิกการจัดเก็บคาธรรมเนียมได
89 ใบอนญุ าต และลดอตั ราการจัดเก็บคา ธรรมเนยี มได 5 ใบอนญุ าต ซึง่ จะสามารถลดภาระแก่
ประชาชนรวมประมาณ 416 ลา นบาทตอ ปี
(3) จดั ท�ำเอกสารราชการ 2 ภาษา สามารถลดภาระค่าใชจา ยของประชาชน
ประมาณ 40 ลานบาท ในการจางแปลเอกสาร ลดขั้นตอน และกระบวนการรับรองเอกสารส�ำคญั
1.2.2 สงเสริมหนวยงานของรัฐในการพัฒนาองคกรดานตาง ๆ ใหมีคุณภาพ
และประสิทธิภาพ ท้ังการยกระดับบริการประชาชน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
และการเปด โอกาสใหป้ ระชาชนเขา มามสี วนรว มในการบริหารราชการ และเสนอขอรับรางวลั เลิศรฐั
โดยมีหนว ยงานส่งผลงานรวม 1,463 ผลงาน ผา นเกณฑการตรวจประเมนิ และไดร บั รางวัลเลศิ รฐั
ประจ�ำปี 2563 รวม 198 ผลงาน ใน 3 สาขา ไดแก่ รางวัลบริการภาครัฐ รางวัลคุณภาพ
การบรหิ ารจัดการภาครฐั และรางวลั การบริหารราชการแบบมสี ่วนรว ม
2. การปรับบทบาท ภารกิจและโครงสรา งหนว่ ยงานภาครฐั
2.1 การด�ำเนินการในหนว่ ยงานราชการส่วนกลาง
2.1.1 จัดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการในกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วจิ ยั และนวัตกรรม โดยให้ความส�ำคญั ตอ่ การขับเคลื่อนการวิจัยและพฒั นาเพอื่ เร่งสรา งองค์ความรู้
ดานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ควบคู่ไปกับการพัฒนาคนอย่างเป็นเอกภาพ
เพือ่ สรา้ งพลังประสาน รวมถึงการตอ่ ยอดเพ่ือการใชป ระโยชนอยา งจริงจงั และเพ่ิมประสทิ ธิภาพ
ในการขับเคลื่อนใหเกิดประโยชนสูงสุด ท้ังน้ี เพื่อน�ำไปสู่การปฏิรูปใน 3 เร่ืองส�ำคัญ ไดแก่
(1) การปฏิรูปการบริหารราชการใหมีการบูรณาการการท�ำงานในด้านวิจัยและการสรางบุคลากรรวมกัน
(2) การปฏิรูปกฎระเบียบเพ่ือใหงานวิจัยเกิดประโยชน์ตอท้ังเศรษฐกิจ สังคม และชุมชน

คมู่ อื แนวทางการพัฒนาองคก์ ารสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 21

และ (3) การปฏิรูประบบงบประมาณให้มีประสิทธิภาพผ่านกองทุน โดยจัดสรรงบประมาณ
ในลกั ษณะ Block Grant ตอบโจทยท่สี �ำคัญและสามารถท�ำการวิจัยไดอยางตอ เน่ือง
2.1.2 ปรับปรุงบทบาทภารกิจ และโครงสร้างของส�ำนักงานคณะกรรมการ
สงเสริมการลงทุนตามหลักการมอบอ�ำนาจการแบ่งส่วนราชการภายในกรม เพ่ือรองรับภารกิจ
ในการพัฒนาผปู้ ระกอบการไทย ไดแ้ ก่ การพฒั นาความรว่ มมอื และเช่อื มโยงระหวา งผู้ประกอบการ
และเครือข่ายองคความรู้ในเทคโนโลยีเปาหมายและนวัตกรรม ซ่ึงเปนกลไกขับเคล่ือนเศรษฐกิจ
เพ่ืออนาคต เพ่ือใหผูประกอบการไทยไดเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันดวยเทคโนโลยี
เปาหมายและนวัตกรรมที่มีการพัฒนาตอยอดในประเทศไทย ตลอดจนส่งเสริมและผลักดัน
ใหผ้ ปู้ ระกอบการไทยไปลงทนุ ในตา่ งประเทศเพอื่ ขยายตลาดไปยังนานาประเทศ
2.2 การดำ� เนนิ การในหน่วยงานราชการสว่ นภมู ภิ าค
สรา งความเขม แข็งในการบริหารเชิงพ้ืนที่และพัฒนาระบบการบริหารงานจังหวัด
และกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ โดยน�ำขอเสนอรูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการ
ในจงั หวัดทมี่ ผี ลสัมฤทธส์ิ ง่ ไปทดลองน�ำรอ่ งใน 6 จงั หวดั ไดแก่ สมทุ รสาคร ชยั นาท ขอนแกน
ราชบุรี นครพนม และสระบุรี ซ่ึงมุ่งเน้นประเด็นการยกระดับศูนย์ด�ำรงธรรมอ�ำเภอ ใหเปน
ศูนยบรกิ ารเบ็ดเสรจ็ โดยนำ� งานบรกิ ารผา่ นระบบ e-Service ไปทดลองให้บรกิ าร ผลการดำ� เนินการ
พบว่า งานบรกิ าร e-Service ทศ่ี นู ยด�ำรงธรรมอ�ำเภอและองค์กรปกครองสว นทอ้ งถนิ่ สามารถ
ด�ำเนินการไดดี คือ การขอบัตรประจ�ำตัวคนพิการ (กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพกิ าร) การขน้ึ ทะเบียนผูประกนั ตน มาตรา 40 และการขอรับประโยชนท ดแทน กรณวี างงาน
(ส�ำนกั งานประกนั สังคม) การขึ้นทะเบียนผวู างงาน (กรมการจัดหางาน) การตดิ ตามสถานะคดี
(กรมบังคับคดี) การขอเงินชวยเหลือทางคดี (ส�ำนักงานกองทุนยุติธรรม) และการจองคิว
ท�ำใบขับขี่ (กรมการขนส่งทางบก) ซึ่งจะเป็นตนแบบในการขยายผลในจังหวัดอ่ืน ๆ ตอไป
ท้งั นี้ ในปี 2564 จะดำ� เนนิ การอีกอยางนอ ย 14 จังหวดั
2.3 การด�ำเนินการในองคก์ ารมหาชน
2.3.1 จัดท�ำแนวทางการจัดท�ำบัญชีรายช่ือผูทรงคุณวุฒิท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสม
ทีจ่ ะดำ� รงต�ำแหน่งกรรมการองค์การมหาชน (Director’s pool) และการปรบั ปรุงมติคณะรฐั มนตรี
เมื่อวนั ท่ี 11 กรกฎาคม 2560 เรื่อง หลักเกณฑก์ ารสรรหาประธานกรรมการ กรรมการในคณะกรรมการ
องค์การมหาชน และผู้อ�ำนวยการองค์การมหาชน เพื่อสรรหาบุคคลจากบัญชีรายช่ือ
ผูทรงคุณวุฒิท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมกับต�ำแหนงกรรมการองคการมหาชนทั้งด้านความรูความเชี่ยวชาญ
และประสบการณต ามแตล ะดา นท่กี �ำหนดไว้ รวมทง้ั มกี ระบวนการสรรหาผูทรงคุณวฒุ ิจากบัญชีรายชอ่ื
ท่สี ะดวก รวดเรว็ และโปรงใส
2.3.2 จัดท�ำแนวทางการทบทวนกรอบอัตราก�ำลังขององค์การมหาชน เพ่ือให้
การก�ำหนดอัตราก�ำลังขององคก์ ารมหาชนท่ีจัดตงั้ ตามพระราชบัญญัติองคก์ ารมหาชน พ.ศ. 2542
และท่แี กไขเพิม่ เติมตามมติคณะรัฐมนตรเี มอื่ วนั ท่ี 20 มิถนุ ายน 2560 ที่กำ� หนดไมใ หมีการเพมิ่
22 | คู่มือแนวทางการพัฒนาองค์การสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

อัตราก�ำลังเกินกรอบอัตราก�ำลัง และองคการมหาชนท่ีจัดตั้งตามพระราชบัญญัติเฉพาะเปนไป
ในแนวทางเดียวกัน สอดคล้องกับภารกิจและบริบทของการบริหารภาครัฐภายใตระบบราชการ
4.0 และ New Normal ของวิถีชีวิตประชาชนและการปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรภาครัฐ รวมท้งั
ลดภาระงบประมาณภาครัฐในดานคาใชจายบุคลากร ทั้งนี้ ใหน�ำแนวทางขางต้นไปใชกับ
องคการมหาชนทีจ่ ดั ต้งั ตามพระราชบัญญตั เิ ฉพาะ โดยเร่ิมตนตั้งแตปง บประมาณ พ.ศ. 2564
2.3.3 เผยแพร่สารสนเทศส�ำคัญขององคการมหาชนผ่านระบบ Web Portal
ประกอบดวย ขอ มลู ทั่วไปขององคการมหาชน ขอ มูลงานบรกิ ารขององคก ารมหาชน และขอ มูล
เพอ่ื การบรหิ ารองคการมหาชน ซง่ึ เปน ระบบที่สามารถรองรบั การใชงานจากผูใชง านหลายกลุม่
และสามารถแยกหนาจอแสดงผลตามกลุ่มผูใช้งานได้ เพื่อใหประชาชนสามารถเขาถึงข้อมูล
เก่ียวกับงานบริการและผลการดำ� เนินงานท่ีส�ำคัญขององค์การมหาชนในรูปแบบ One Portal
และฝายนโยบายมีผลการวิเคราะหขอมูลเพ่ือใชประกอบการก�ำหนดนโยบาย เก่ียวกับองคการ
มหาชนไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ
2.3.4 จัดท�ำหลักเกณฑ์กลางในการประเมินความคุ้มค่าขององค์การมหาชน
เพ่อื ใชท้ บทวนความคงอยหู รอื ยุบเลิกองคก ารมหาชน และการประเมนิ ความคุมคาในการจดั ตัง้
องค์การมหาชน โดยจะทดลองน�ำรองการประเมินความคุมคาองค์การมหาชนตามกรอบ
การประเมินกับองค์การมหาชนจ�ำนวน 2 แหง ไดแก่ ศูนยความเปนเลิศดานชีววิทยาศาสตร์
(องคการมหาชน) และส�ำนักงานส่งเสริมการจัดประชุม และนิทรรศการ (องคการมหาชน)
กอนทีจ่ ะขยายผลการประเมนิ ความคุม คาไปยังองคก์ ารมหาชนทกุ แหง ตอไป
3. การเพม่ิ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การ
3.1 ปรับแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการ
3.1.1 ปรับแนวทางการประเมนิ สว่ นราชการฯ ประจำ� ปง บประมาณ พ.ศ. 2563
เปนการติดตามผลการด�ำเนินงาน (Monitoring) แต่ไม่น�ำมาประเมินผล และให้ถอดบทเรียน
การบริหารจดั การ และแกไ ขปญ หาในสถานการณ์ COVID-19 เนอ่ื งจากหนว ยงานตองเผชญิ กับ
วิกฤติดังกล่าวและมุ่งแก้ไขปัญหา จึงอาจไมสามารถประเมินผลตามกรอบการประเมินที่
กำ� หนดไวเ ดมิ ได
3.1.2 ก�ำหนดแนวทางการประเมนิ ส่วนราชการฯ ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ใหส อดคลอ งกบั การทำ� งานในรปู แบบ New Normal โดย (1) ประเมินประสทิ ธผิ ลการด�ำเนินงาน
มุ่งเน้นการขับเคล่ือนภารกิจของภาครัฐให้มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงกับเปาหมาย
ของแผนส�ำคัญระดับชาติในมิติ Function, Area, Agenda, Joint (2) ประเมินศักยภาพ
ในการด�ำเนินงานสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 ซึ่งวัดจากการพัฒนาองค์การในประเด็นต่าง ๆ
เช่น e-Service การพัฒนาระบบข้อมูลให้เปนดิจิทัล การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล การน�ำ
เทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นกลไกหลักในการด�ำเนินงาน รวมท้ังวัดผลการประเมินสถานการณ์
เปน็ ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)

คูม่ อื แนวทางการพฒั นาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 23

3.2 ก�ำหนดมาตรการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานภาครัฐในการบริหารราชการ
และใหบริการประชาชนในสภาวะวิกฤติ (รองรับสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019) (มตคิ ณะรฐั มนตรเี ม่อื วนั ที่ 31 มนี าคม 2563) ซงึ่ หนึ่งในมาตรการดังกล่าว
คือ การใหทุกหน่วยงานของรัฐทบทวน และปรับปรุงแผนบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤติ
(Business Continuity Plan : BCP) ใหเปนปจจุบันและรองรับกรณีเกิดโรคระบาดต่อเน่ือง
และเหตวุ กิ ฤติอน่ื มงุ เนน การน�ำ e-Service รวมทงั้ เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใช้ในการบรหิ ารงานและ
ให้บริการประชาชน ผลการดำ� เนนิ การ ณ วนั ที่ 31 สิงหาคม 2563 มีหนวยงานของรัฐจดั ท�ำ
แผน BCP แล้ว 3,616 แหง โดยรอยละ 96.97 เปนแผนที่รองรับ COVID-19 นอกจากน้ี
ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ไดเสนอแนวทางการยกระดับประสิทธิภาพการบริการภาครัฐที่มีเป้าหมาย
ใหประชาชนได้รับบริการภาครัฐอยางตอเน่ืองแมในสภาวะวิกฤติตอคณะรัฐมนตรี (มติคณะ
รัฐมนตรีเม่ือวันที่ 8 ธนั วาคม 2563)
3.3 พัฒนารูปแบบและวิธีการท�ำงานแนวใหม่และพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้เป็นไป
ในทศิ ทางเดยี วกัน
3.3.1 กำ� หนดแนวปฏิบัติในการรับ - ส่งหนังสอื ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ระหว่างส่วนราชการ
ทเ่ี ปนนติ ิบคุ คล ดำ� เนินการรว่ มกบั ส�ำนกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) และ สพร.
(มติคณะรฐั มนตรีเม่อื วันที่ 2 มิถุนายน 2563)
3.3.2 ก�ำหนดแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานนอกสถานท่ีต้ัง
(Work From Anywhere) ด�ำเนนิ การรวมกบั สำ� นักงาน ก.พ. ประกอบดว ย ปจจัยส�ำคัญ 3 เรือ่ ง
ไดแก่ การปรับปรุงกฎระเบียบใหเอื้อตอการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้ง
ของหนวยงานภาครัฐ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานและ
การใหบริการประชาชน การพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานภาครัฐใหมีศักยภาพ และทักษะ
ทีส่ ามารถปฏิบัตงิ านไดจากทุกสถานที่
3.3.3 จดั ท�ำแพลตฟอรมดิจิทลั กลาง ด�ำเนนิ การรวมกับ สพร. เพอ่ื ใหส้ ว นราชการ
ใช้ในการบริการประชาชนและการติดตอประสานงานระหวางกันได ใหการรับ - ส่งเอกสาร
ระหวางหนวยงานของรัฐ และประชาชนเปน ไปในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Document)
และการออกใบอนญุ าตอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-License) เปนมาตรฐานเดียวกนั
ทั้งน้ี ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ไดน�ำแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
ขางตน มาทดลองใช้ภายในหน่วยงานเพื่อเปนแนวทางการขับเคลื่อนใหแกสวนราชการและ
จงั หวดั ตอไป ดงั นี้
(1) การรับ-ส่งหนังสือราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ ส�ำนักงาน ก.พ.ร.
ไดเริ่มใช้การ รับ-ส่งหนังสือราชการผานไปรษณียอิเล็กทรอนิกส์ [email protected]
ต้ังแตวันที่ 1 กันยายน 2563 เปนตนมา (ตอมาไดเปลี่ยนไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เปน
[email protected] ตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี 4)
24 | คมู่ ือแนวทางการพฒั นาองคก์ ารส่รู ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

พ.ศ. 2564) ผลการด�ำเนินการพบวา ในระหวา่ งวนั ท่ี 1 กันยายน - 30 ธันวาคม 2563 สามารถ
ลดคา สงไปรษณียล งได 66,154 บาท หรือลดลงรอ ยละ 67.19 จากชวงเวลาเดียวกนั ในปี 2562
(2) การใชระบบอิเล็กทรอนิกสในการบริหารจัดการและการประสานงาน
ไดแก่ ระบบการประชุมทางไกล ระบบ Smart OPDC (ระบบสารบรรณ การลา การจอง/
ใช้ทรัพยากร การบริหารโครงการ การเก็บและแชรข้อมูล) การแจงเชิญประชุมทางไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ แจ้งเวียนและประชาสัมพันธ์ ผ่านแอปพลิเคชัน LINE รวมทั้งส่ือสารกับบุคคล
ภายนอกผานทาง Facebook และ LINE เชน เครือขายกลุมพฒั นาระบบบรหิ ารในกลมุ่ LINE
(3) การเชอ่ื มโยงระบบสารบรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ โดยไดร ว มลงนามในบันทกึ
ขอตกลง ความรวมมือการเชื่อมโยงระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระหวาง 7 หนวยงาน
ไดแก่ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ส�ำนักเลขาธิการ
คณะรฐั มนตรี สำ� นักงาน ก.พ. ส�ำนักงาน ก.พ.ร. สพธอ. และ สพร. เม่ือวนั ที่ 24 ธันวาคม 2563
ซึ่งท้ัง 7 หน่วยงานจะใช้ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์รับ - สงหนังสือราชการระหวางกัน
ภายในเดือนมกราคม 2564 และผลักดันใหหนวยงานอีกอยางน้อย 8 หนวยงาน เขามารวม
ด�ำเนนิ การภายในเดอื นกุมภาพนั ธ์ 2564
(4) การปรับเปลี่ยนขอมูลใหอยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Digitize Data)
จัดทำ� มาตรฐานของขอมูล เชน การจดั ท�ำระบบบัญชีขอ มูล (Data Catalog) ค�ำอธบิ ายข้อมูล
(Metadata) และการเปดเผยขอมูล (Open Data) ซึง่ ปจจุบนั สำ� นักงาน ก.พ.ร. ไดพ ัฒนาระบบ
บัญชีข้อมูล โดยใช้แพลตฟอรม CKAN เปนเครื่องมือ และได้มีการจัดอบรมให้เจ้าหน้าที่มีความรู
ความเข้าใจ และสามารถใชงานระบบบัญชีข้อมูลดังกล่าวได้ รวมท้ังอยู่ระหว่างการพัฒนา
ศูนยข์ อ้ มูลการพัฒนาระบบราชการเพ่ือเปน็ ฐานข้อมูลขนาดใหญท่ ี่สามารถวิเคราะหป์ ระมวลผลข้อมลู
ประกอบการตดั สนิ ใจในระดบั ตาง ๆ ไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ

คู่มือแนวทางการพฒั นาองค์การสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 25

4. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาระบบราชการ

ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทยฉบับน้ีไดท�ำการวิเคราะห์ความเช่ือมโยง
ของแผนกับนโยบายและยุทธศาสตร์ท่ีส�ำคัญของประเทศในสวนท่ีเก่ียวของกับการพัฒนา
ระบบราชการไทย ประกอบกับการศึกษาแนวโนม การเปลี่ยนแปลงในปจจุบันที่มีผลกระทบ
ตอการพัฒนาระบบราชการและการพัฒนาระบบราชการไทยในชวงที่ผานมาท�ำใหเกิดเปน
ยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาระบบราชการไทยฉบับนี้
วสิ ยั ทศั น์หลักของยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบราชการ (พ.ศ. 2564 - 2565) เพ่อื สร้าง
ให้เกิดเป็นระบบราชการที่ส่งเสริมให้ประชาชนอยู่ดีกินดี ท�ำมาหากินได้ และเชื่อม่ันในภาครัฐ
โดยประกอบดว ยประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 3 ประเด็น ดงั น้ี
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 : การพฒั นาบรกิ ารภาครฐั เพื่อประชาชน
เป้าหมาย : ภาครัฐมีบริการท่ีเปนมาตรฐานสากล ตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนในฐานะผรู บั บริการได้อยางทันที ทกุ ท่ี ทุกเวลา ผา นบรกิ ารภาครฐั ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์
มกี ารเช่ือมโยงบริการของทุกหนวยงานแบบเบด็ เสร็จ โดยการนำ� เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ระบบฐานข้อมูล
ขนาดใหญ่ (Big Data) และนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการใหบริการประชาชน พรอมท้ัง
เปิดโอาสให้ประชาชนเขา มสี วนรวมในการพฒั นาบรกิ ารภาครฐั
ตัวชวี้ ัด :
1. ระดับความพึงพอใจของประชาชนตอคุณภาพและประสิทธิภาพการใหบริการ
สาธารณะของภาครฐั รอยละ 85
2. จ�ำนวนประเด็นส�ำคัญเรงดวนท่ีสรางรูปแบบการมีส่วนรวมตามองค์ประกอบของ
Open Government and Meaningful Participation Ecosystem: OG&MP) ไมนอยกวา
2 ประเดน็
3. งานบริการภาครฐั ไดร ับการปรับเปลย่ี นใหเ ปน ดจิ ิทัลและใหบ รกิ ารไดแ บบเบ็ดเสร็จ
3.1 งานบริการของหน่วยงานภาครัฐท่ีส่งผลกระทบสูงตอประชาชนและภาคธุรกิจ
(170 งานบริการ)
3.2 งานบรกิ ารประชาชนในระบบศนู ย์กลางการบรกิ ารประชาชนในการติดตอ่ ราชการ
แบบเบด็ เสรจ็ ครบวงจร (Citizen Portal) (110 บริการ)
3.3 งานบริการภาคธุรกิจในระบบการใหบริการภาครัฐแกนิติบุคคลแบบเบ็ดเสร็จ
ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Biz Portal) (60 ใบอนุญาต)
กลยทุ ธ์ :
1. พฒั นาบรกิ ารภาครัฐทีเ่ ชื่อมโยงทุกหนว ยงานแบบเบด็ เสรจ็ (End to End Service)
โดยใหบ รกิ ารผา่ นระบบกลางการให้บริการและมีแอปพลิเคชนั ทท่ี นั สมัยสนับสนุนการดำ� เนนิ งาน
ดังกลาว (Shared Application Enabling Service) เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกให้ภาคธุรกิจ

26 | คู่มอื แนวทางการพัฒนาองคก์ ารส่รู ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

สามารถเข้าถึงบริการของภาครัฐได้อย่างทันทีทุกช่องทาง (Omni Channel) ทุกเวลา
ดวยมาตรฐานเดยี วกัน
2. สงเสริมและผลกั ดันการใหบรกิ ารภาครัฐทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Service) และยกระดับ
ศูนยบริการรวม (One Stop Service) ไดแก่ (1) ศูนยบริการประชาชน ส�ำนักงานปลัด
สำ� นกั นายกรัฐมนตรี (2) ศนู ยดำ� รงธรรมจังหวัด (3) ศูนย์บรกิ ารร่วมกระทรวง และ (4) ศนู ยบ์ ริการรว ม
ระหว่างหน่วยงาน ซึ่งตั้งอยูในห้างสรรพสินค้าและตั้งอยูในสถานท่ีอื่นท่ีหน่วยงานจัดต้ังของ
หนวยงานตาง ๆ รวมถึงบูรณาการงานบริการภาครัฐไว้ ณ สถานท่ีเดียวกันเพ่ือลดภาระ
และอ�ำนวยความสะดวกใหกับประชาชนในการติดตอกับภาครัฐ ใหสามารถเขาถึงได้โดยสะดวก
ทุกที่ทุกเวลา ลดความหนาแนนของจ�ำนวนผูขอรับบรกิ ารท่หี นว ยงาน สามารถใหบ ริการตอ่ เน่อื ง
ไมห ยดุ ชะงัก
3. พัฒนาการใหบริการของรัฐท่ีให้ความส�ำคัญกับประชาชนในฐานะผู้รับบริการ
โดยการพฒั นารูปแบบบรกิ ารตา ง ๆ ของภาครัฐตองยึดผรู ับบริการเปนศูนยก ลาง (Customer
Centric) อีกท้ังยกระดับการใหบริการประชาชนสู่การให้บริการในรูปแบบส่วนบุคคล
(Personalized Customer Service) ดวยการเสนอบริการที่ตรงใจผู้รับบริการจากการวิเคราะห์
ข้อมูลการใช้บริการท่ีผานมาของผู้รับบริการ (Data Analytics) เพ่ือการใหบริการที่สะดวก
รวดเรว็ เขา้ ถงึ งาย เสียคาใชจา ยนอยแกป ระชาชน โปรง ใส และเปนมาตรฐานสากล
4. สงเสริมใหหนวยงานของรัฐมีการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการใหบริการที่เปนเลิศ
ทั้งในสวนของการพัฒนากระบวนการให้บริการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความเต็มใจในการให้
บรกิ าร (Service Mind) พร้อมท้ังรับฟังความคิดเห็นของทุกภาคส่วนในการพฒั นาการบรกิ าร
ของภาครัฐเพ่ือน�ำความคิดเห็นมาปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการบริการภาครัฐใหสอดรับกับ
ความตอ งการของประชาชนไดอ ยา งแทจรงิ
5. สื่อสารสรางการรับรูเกี่ยวกับงานบริการภาครัฐใหกับประชาชนในฐานะผูรับบริการ
ไดรับรูรับทราบรูปแบบบริการต่าง ๆ และช่องทางการเข้าถึงบริการของภาครัฐท่ีหลากหลาย
เป็นไปตามความตอ งการของประชาชน
6. พัฒนาระบบนิเวศท่ีสร้างเสริมภาครัฐระบบเปดและการมีสวนรวมอยางมีความหมาย
(OG & MP) โดยเปดโอกาสให้ประชาชนเข้ามีส่วนรวมในการพัฒนาบริการภาครัฐ รวมถึง
พัฒนาช่องทางท่เี ปดโอกาสให้ชมุ ชน วสิ าหกจิ เพ่อื สังคม ภาคประชาชน องค์กรภาคประชาสงั คม
และภาคเอกชน สามารถเข้ามามีบทบาทในการพัฒนานวัตกรรมในการบริการสาธารณะ
รวมกบั ภาครฐั มากยง่ิ ขึ้น (People Participation) เพือ่ พฒั นาการใหบ รกิ ารทเ่ี ปน็ เลิศรว่ มกนั
7. ทบทวนขั้นตอนปรับปรุง กระบวนงาน กฎหมายและกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรค
หรือที่ไมเอ้ือต่อการพัฒนาการใหบริการของภาครัฐไปสูการให้บริการรูปแบบดิจิทัล (Digital
Services) พรอมทั้งแกไขปญหา อุปสรรค ลดขอจ�ำกัดของกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
เพอ่ื ใหเ กิดความคลอ่ งตวั ในการปฏบิ ัติงานและรองรับการเปน รัฐบาลดิจทิ ัล

ค่มู ือแนวทางการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 27

หนวยงานรับผดิ ชอบ :
ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคการมหาชน) ส�ำนักงานพัฒนา
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องคการมหาชน) กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม และ
ส�ำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 : การปรบั บทบาท ภารกจิ โครงสรา้ งหนวยงานภาครัฐใหท้ ันสมัย
เป้าหมาย : ภาครัฐมีความทันสมัย มีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ
มีการจัดรูปแบบองคกรใหมท่ีมีความยืดหยุนคลองตัว สอดคลองกับแนวโน้มที่เปล่ียนแปลงไป
และอนาคต ยุบเลิกภารกิจท่ีไม่จ�ำเปน การก�ำหนดภารกิจท่ีควรถ่ายโอนให้ภาคส่วนอื่นด�ำเนินการ
สร้างการบริหารเชิงพ้ืนท่ีมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วม รวมถึงจัดระบบการประเมินความเหมาะสม
ความมปี ระสิทธิภาพ และความคมุ คาในการจดั สว นราชการและหนว ยงานภาครัฐ
ตวั ชวี้ ดั :
1. อันดบั ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ (IMD Competitiveness Ranking)
ดานประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) อยูในกลุมประเทศที่มีการพัฒนาสูงสุด
20 อันดบั แรก
2. จ�ำนวนหนวยงานตน แบบทีม่ ีโครงสรา งยืดหยนุ่ และคลอ่ งตัว (Agile Organization)
อยา่ งน้อย 2 หน่วยงาน
3. จ�ำนวนจังหวัดท่ีมีการพัฒนารูปแบบการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารราชการในจังหวัด
ทมี่ ผี ลสัมฤทธสิ์ งู ไมน อ ยกวา 45 จงั หวดั
กลยุทธ์ :
1. ทบทวนบทบาทภารกิจของหน่วยงานภาครัฐทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และ
สว นทอ้ งถ่นิ ใหส้ อดคล้องกบั การขบั เคลือ่ นประเทศ ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งภาครัฐใหม่ ขนาดเหมาะสม
กบั บทบาทภารกจิ และมรี ูปแบบหลากหลาย ไมย่ ดึ ติดกับการจดั โครงสรา้ ง แบบราชการ ยุบเลิก
ภารกิจท่ีไม่จ�ำเปน การก�ำหนดภารกิจที่ควรถ่ายโอนให้ภาคส่วนอ่ืน ด�ำเนินการเพ่ือลดความซ้�ำซ้อน
ของการด�ำเนินงานและสร้างความยืดหยุนคล่องตัว สามารถปรับตัวได้ในสภาวการณ์
ที่เปลีย่ นแปลงไป
2. จัดโครงสรางในรูปแบบท่ีมีความเหมาะสมและสอดคลองกับแนวโนมที่เปล่ียนแปลงไป
และอนาคต เชน แนวทางการจัดโครงสรางองค์กรบริหารเฉพาะกิจ (Ad Hoc) และรูปแบบ
การจัดโครงสรางการปฏิบัติงานแบบ Agile Organization ก�ำหนดแนวทางการมอบอ�ำนาจ
การแบงส่วนราชการ เพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงแบบพลวัตของสถานการณ์ในโลกปัจจุบัน
โดยสิ่งท่ีส�ำคัญคือรูปแบบโครงสร้างภาครัฐแบบใหม่ตองสอดคล้องกับแนวทางหรือยุทธศาสตร
ในการขับเคลื่อนประเทศ
28 | คูม่ อื แนวทางการพฒั นาองคก์ ารสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

3. สรางความเข้มแข็งในการบริหารราชการในระดับพ้ืนที่โดยการมีสวนรวมของประชาชน
สรา งและพฒั นากลไกการบรู ณาการในระดับพ้ืนที่และทกุ ภาคสว่ น สงเสริมการกระจายอ�ำนาจ
ความรับผิดชอบ และสนับสนุนบทบาทชุมชน ทองถ่ิน เพื่อสร้างเครือขายการพัฒนา
ในการแก้ไขปญั หาและพฒั นาพ้ืนที่ ตลอดจนการปรบั ตัวเพือ่ รองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
ได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของแตละพื้นที่ โดยเปดโอกาสให้ชุมชน ท้องถิ่น ภาคเอกชน
ภาคประชาชนในพ้ืนท่ีมีโอกาสเขาร่วมเสนอความคิดเห็นหรือร่วมด�ำเนินการในการจัดท�ำ
บริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ รวมถึงประเมินความคุ้มค่าในการบริการสาธารณะ
ท่ีถ่ายโอนไปแล้วเพื่อให้บริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะน้ันเป็นไปเพ่ือประโยชน์ของ
ประชาชนและตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพืน้ ทนี่ ้ันอยางแทจ ริง
4. จัดใหมีระบบการประเมินความเหมาะสม ความมีประสิทธิภาพ และความคุ้มคา
ในการจัดส่วนราชการ องคการมหาชน เพ่ือยกระดับการบริหารงานภาครัฐท่ีตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนและประโยชนส์ งู สดุ ของประเทศ
5. ทบทวนระเบียบและกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการบริหารราชการแผนดิน เพื่อจัดต้ัง
และปรับเปล่ียนรูปแบบหนวยงานภาครัฐใหมีความยืดหยุนเพ่ือรองรับการปฏิบัติงาน
ตามยทุ ธศาสตรชาติ
หนวยงานรับผิดชอบ :
ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ส�ำนักงาน ก.พ. ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ส�ำนักงาน
สภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ สำ� นกั งบประมาณ และกระทรวงมหาดไทย
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 : เพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารงานภาครัฐ
เปา้ หมาย : ยกระดบั การบริหารงานภาครฐั เพอื่ มงุ่ สูการเปน รฐั บาลดจิ ิทัลโดยประยกุ ตใ ช้
เทคโนโลยีดิจิทัลเช่ือมโยงขอมูลระหวางหนวยงาน พัฒนาฐานขอมูลภาครัฐ และสนับสนุน
การเปนภาครัฐท่ีเปดกวาง พัฒนารูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการ การบูรณาการ
การท�ำงาน มีรูปแบบการท�ำงานของภาครัฐที่รองรับการเปล่ียนแปลงและแนวโนมในอนาคต
ทีพ่ รอมขับเคลอ่ื นการบริหารงานภาครัฐไดในสภาวะวกิ ฤติ
ตวั ชวี้ ดั :
1. ระดับดชั นีรฐั บาลอิเล็กทรอนกิ ส์ (E-Government Development Index: EGDI)
อยู่ในกลุ่มประเทศทีม่ กี ารพัฒนาสูงสดุ 50 อนั ดับแรก
2. หนวยงานภาครัฐมีระบบบัญชีขอมูล และจัดท�ำขอมูลเปดที่ถูกจัดในหมวดหมู
สาธารณะไมน อยกวา รอยละ 50 ของชดุ ขอ มูลเปดในบญั ชขี อมลู
3. จ�ำนวนหนวยงานภาครัฐตนแบบที่มีการสรางระบบนิเวศทางดิจิทัลไมนอยกวา
2 หนวยงาน

คู่มอื แนวทางการพฒั นาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 29

กลยทุ ธ์ :
1. ผลักดันภาครัฐไปสูรัฐบาลดิจิทัล (Digital Government) โดยสร้างระบบนิเวศ
ทางดิจิทัล (Digital Government Ecosystem) น�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในองค์กร
พัฒนาระบบบริหารจัดการหน่วยงานภาครัฐ ปรับปรุงกระบวนงานภายในใหมีประสิทธิภาพ
(Lean Process) สรางความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ เพ่ือพัฒนาภาครัฐสูการเป็นองค์กร
ที่มีขีดสมรรถนะสูงเทียบเท่ามาตรฐานสากล สามารถบริหารงานภาครัฐในสภาวะที่เปลี่ยนแปลง
อยา่ งรวดเรว็
2. พัฒนาการเปน ภาครฐั ระบบเปด (Open Government) โดยการพฒั นาฐานขอมลู
บูรณาการขอมูลภาครัฐและการเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงานอยางปลอดภัย
ตามหลักธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ (Data Governance) น�ำเทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ
(Big Data) มาใช้การเปดเผยขอมูลที่ภาครัฐมีใหทุกภาคส่วน สามารถเข้าถึง ตรวจสอบ
และเข้ามามีส่วนร่วมกับการด�ำเนินงานของภาครัฐจากขอมูลเหล่าน้ันได้ รวมท้ังมีกลไก
ทเ่ี ปดโอกาสใหทกุ ภาคสว น เขามามีสว นรวม (People Participation) เพอื่ ใหก ารบรหิ ารงาน
ของภาครัฐเปน ไปอยา งมปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ
3. พัฒนารูปแบบการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารราชการ ก�ำหนดรูปแบบการท�ำงาน
ของภาครัฐใหรองรับการเปลี่ยนแปลงและแนวโนมในอนาคต ท้ังในด้านระบบการบริหารงาน
การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล ได้แก่ การพัฒนาแนวคิดนวัตกรรมเพื่อให้เกิด
การสรางมูลคา (Value Creation) การสรางสนามทดลอง (Sandbox) การปฏิบัติ
งานนอกสถานท่ีต้งั (Work from Anywhere) การบรหิ ารความพร้อมตอ่ สภาวะวกิ ฤติ (Business
Continuity Plan : BCP) ของหน่วยงานภาครัฐ รวมทั้งปรับปรุงกฎหมายและระเบียบ
ที่เก่ยี วข้อง เพือ่ ใหเ กิดความยดื หยนุ คลองตัวและมีประสิทธภิ าพในการบริหารงานภาครฐั
4. สรางผูน�ำการเปล่ียนแปลงทางยุทธศาสตรท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม มีความเปน
มืออาชีพในหน่วยงานภาครัฐทุกระดับอยางตอเน่ือง สงเสริมคานิยมประชาธิปไตย มีจิตอาสา
รวมทงั้ จดั ท�ำระบบพฒั นาขีดความสามารถบคุ ลากรใหม ีสมรรถนะใหม่ ๆ ท่รี องรับการเปลยี่ นแปลง
ของโลกพลวตั ไดแ้ ก่ พัฒนาทกั ษะดานดิจทิ ลั ให้กับบคุ ลากรภาครฐั เพอื่ สอดรับกบั การปรับเปล่ียน
การด�ำเนนิ ภาครัฐไปสคู วามทนั สมยั
5. สร้างกลไกการปองกันและปราบปรามการทุจริตแบบบูรณาการอยางเปนระบบ
เพือ่ สร้างความเชอ่ื ม่นั ภาครฐั ให้กบั ประชาชน พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลการดำ� เนินงาน
ของภาครฐั ที่มปี ระสิทธภิ าพ สะทอ น เปา หมายตามยุทธศาสตรชาติ และสามารถเปดเผยข้อมลู
ดังกล่าวสูประชาชน มีการทบทวนปรับปรุงกฎหมายใหม่ ความทันสมัย เปนธรรม และ
สอดคลองกบั ขอ บังคบั สากล
6. สรางการบูรณาการการท�ำงานรวมกัน ดวยการเช่ือมโยงข้อมูลระหว่างหนวยงาน
เพ่ือสามารถน�ำข้อมูลดังกลาวมาใช้ประโยชน์ในแง่ของการวิเคราะห์ การคาดการณ์ การเสนอแนะ
30 | คูม่ ือแนวทางการพฒั นาองคก์ ารสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

นโยบายท่ีมีประสิทธิภาพ อีกท้ัง สามารถแบงปนข้อมูลท่ีเช่ือถือได้ระหวางภาครัฐด้วยกันเอง
เพื่อสร้างการบูรณาการการท�ำงานของภาครัฐในทุกระดับ และสามารถแบงปนข้อมูลท่ีเช่ือถือได้
ระหวางภาครัฐและภาคส่วนอื่น ๆ เพ่ือสร้างการท�ำงานรวมกัน โดยตองมีการพัฒนากลไก
ที่สนับสนุนใหเกิดการท�ำงานรวมกันในลักษณะหุนสวนการพัฒนาระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาคประชาชน และภาคสว นอนื่ ๆ ในสงั คมอยางตอ เน่อื ง
7. ส่ือสารสรางการรับรูเชิงรุกเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของภาครัฐแกประชาชนอยางต่อเนื่อง
เพื่อสรางความเข้าใจ ความเชื่อม่ันของประชาชนต่อการด�ำเนินงานของภาครัฐ และเพื่อดึงดูด
ใหป้ ระชาชนเข้ามามีสวนรว่ มในการพัฒนาการด�ำเนนิ งานของภาครฐั ตอ ไป
8. ปรับปรุงระบบการประเมินสวนราชการ และระบบการตรวจสอบและประเมินผล
ภาคราชการให้มีมาตรฐานและเปนสากล โดยให้ความส�ำคัญกับการก�ำหนดตัวช้ีวัดท่ีมีลักษณะ
เปนตัวช้ีวัดเชิงผลลัพธ์ (Outcome) การบูรณาการระบบการติดตามและประเมินผลภาครัฐ
เพื่อขับเคล่ือนนโยบายส�ำคัญของรัฐบาล รวมถึงยกระดับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สูม าตรฐานสากล
9. เสริมสร้างความสัมพันธและสรางเครือข่ายความรวมมือระหว่างประเทศสมาชิก
อาเซียน และองค์กรระหวางประเทศ ผานกลไกความรวมมือทางวิชาการดานการศึกษาวิจัย
การปฏิบัติงานรวมกัน และการแลกเปล่ียนบุคลากรเชี่ยวชาญระหวางกัน เพ่ือน�ำองค์ความรู้
และแนวทางปฏบิ ัตทิ ่ีเปน เลศิ มาประยุกต์ใชใ้ นการพัฒนาระบบราชการ
หนว ยงานรบั ผิดชอบ :
สำ� นักงาน ก.พ.ร. สำ� นักงาน ก.พ. สำ� นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ส�ำนักงานพัฒนา
รฐั บาลดิจิทัล (องคการมหาชน) ส�ำนักงานสถติ ิแหงชาติ ส�ำนกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์
สถาบันสง เสริมการวิเคราะห์ และบริหารขอ มูลขนาดใหญภาครฐั และส�ำนักงานคณะกรรมการ
ปองกันและปราบปรามการทุจรติ ในภาครัฐ

คู่มอื แนวทางการพฒั นาองค์การสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 31

5. โครงการสำ� คญั เพือ่ รองรบั ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาระบบราชการ

โครงการส�ำคญั การด�ำเนนิ การ/เป้าหมาย/ตัวชวี้ ดั

ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพฒั นาบรกิ ารภาครัฐเพือ่ ประชาชน

1. การขับเคลื่อนการให้บริการ การด�ำเนินการ : ขับเคล่ือนการให้บริการประชาชนผ่าน
ประชาชนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) เพื่อให้ประชาชนได้รับ
(e-Service) ความสะดวกในการเข้าถึงหรือขอรับการบริการ ประหยัด
คาใชจ า ยในการเดนิ ทาง และลดระยะเวลา/ขน้ั ตอน ในการท�ำ
ธุรกรรมกับหนวยงานภาครัฐ รวมทั้งผลักดันนโยบายรัฐบาล
ดจิ ทิ ัล (Digital Government) ใหเกดิ ผลท่เี ปน รูปธรรมยิ่งขึ้น
โดยจะสงเสริมใหส่วนราชการมีการพัฒนาระบบการใหบริการ
แบบอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงจะส่งผลให้การให้บริการภาครัฐ
ตอบสนองความตองการของประชาชนให้สามารถติดตอกับ
ภาครัฐไดทุกท่ี ทุกเวลา โดยไมต ้องเดนิ ทางไปตดิ ตอ่ ณ ส�ำนกั งาน
ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน และผูประกอบการหรือ
ภาคธุรกิจสามารถแขงขนั ไดอยา งเปนธรรม
เปาหมาย : ประชาชนไดรับความสะดวกสามารถเขาถึง
บริการภาครัฐทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ทกุ ที่ ทกุ เวลา
ตัวช้ีวัด : หน่วยงานภาครัฐท้ัง 20 กระทรวง สามารถให้
บริการ e-Service 340 งานบริการ โดยสามารถใหบริการ
แบบเบด็ เสร็จได 170 งานบริการ

2. โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ต ้ น แ บ บ การดำ� เนินการ : พัฒนาพอรท์ ัลกลางเพ่ือประชาชน (Citizen
ศูนย์กลางการบริการประชาชน Portal) ที่รวบรวมขอ มลู และงานบริการตาง ๆ โดยบูรณาการ
ใ น ก า ร ติ ด ต ่ อ ร า ช ก า ร แ บ บ ระหว่างหนวยงานภาครัฐ ภายใต้การรักษาความมั่นคงและ
เบ็ดเสร็จครบวงจร (Citizen ปลอดภัยท่ีเปนมาตรฐานสากล ในระยะแรกด�ำเนินการ
Portal) ปรับปรุงงานบริการน�ำรองเพื่อใช้ในการพัฒนางานบริการ
สำ� หรบั ให้บริการในระบบตน้ แบบ Citizen Portal ทคี่ รอบคลมุ
ตลอดชว งชวี ติ ของประชาชน จ�ำนวน 20 งานบรกิ าร
เปา หมาย : เพ่ือยกระดบั การใหบริการประชาชนให้ “เรว็ ขน้ึ
งา่ ยขน้ึ และถูกลง” ดวยเทคโนโลยีดิจทิ ัล
ตวั ช้ีวดั : สามารถให้บริการได้ครอบคลุม 110 บริการภายใน
ปี พ.ศ. 2565

32 | ค่มู อื แนวทางการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

โครงการสำ� คญั การด�ำเนินการ/เปา้ หมาย/ตวั ช้วี ดั

3. โครงการยกระดับการพัฒนาการ การดำ� เนินการ : ยกระดบั Biz Portal เปนแพลตฟอร์มกลาง
ให้บริการภาครัฐ แกนิติบุคคล ท่ีรวบรวม ขอมูลงานบริการภาครัฐเพ่ือภาคธุรกิจ ให้บริการ
แบบเบ็ดเสร็จทางอิเล็กทรอนิกส์ ออกหนังสือรับรอง ใบอนุญาต และเอกสารแบบเบ็ดเสร็จ
(Biz Portal) ทางอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกใหประชาชน
หรือผูประกอบการ สามารถทำ� ธุรกรรมผาน bizportal.go.th
โดยยน่ื ที่เดียว แบบฟอรม์ เดยี ว เอกสารชดุ เดยี ว และตดิ ตาม
ไดท กุ ใบอนุญาต
เปาหมาย : ผู้ประกอบการ/ประชาชนสามารถขออนุมัติ
อนญุ าต ประกอบธุรกจิ ไดส ะดวกรวดเรว็
ตัวชี้วัด : สามารถใหบริการได 60 ใบอนุญาตแบบดิจิทัล
อย่างเต็มรปู แบบภายในปี พ.ศ. 2565

4. การสรางระบบนิเวศภาครัฐ การด�ำเนินการ : ด�ำเนินงานในรูปแบบของการทดลอง
ระบบเปิด และการมีส่วนร่วม และทดสอบ พัฒนาสร้างสรรค์นวัตกรรมในรูปแบบใหม่
อยางมีความหมาย (Open โดยใชแนวทางการมีส่วนร่วมของหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ
Government and Meaningful รวมกับหนวยงานท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงจะมุงเนนให้เกิดการเปิดเผย
Participation Ecosystem : ข้อมูลของภาครัฐแก่ประชาชนบนข้อมูล “ชุดเดียวกัน”
OG & MP) (One Data) บน “แพลตฟอรมกลาง” เดียวกัน และบรู ณาการ
การท�ำงานของหนวยงานในพื้นท่รี วมกนั
เปา หมาย : สง เสรมิ ใหภาคสวนตา ง ๆ เขา มามสี ว นรว มในการ
ส่งเสรมิ การเปดระบบราชการภายใตแ นวคดิ ของ OG & MP
เพม่ิ มากขนึ้
ตวั ชวี้ ัด : รปู แบบการมีสว นรว่ มตามองคประกอบของ OG &
MP ใน 2 ประเด็น

ยุทธศาสตรท่ี 2 การปรบั บทบาท ภารกจิ โครงสรางหนว ยงานภาครฐั ใหทันสมยั ยดื หยุน รองรับ
การเปลีย่ นแปลง

5. โครงการศึกษาและขยายผล การด�ำเนินการ : ก�ำหนดแนวทางหลักเกณฑ์การบริหารงาน
การจัดการองคการที่มีความยืดหยุ่น รูปแบบองค์กรบริหารเฉพาะกิจ (Ad Hoc) และรปู แบบ Agile
และคล่องตัวในการบริหาร Organization รวมทั้งรางกฎหมายหรือระเบียบท่ีสามารถ
จัดการของฝ่าย บริหาร และ ใชอ ำ� นาจของฝา่ ยบรหิ าร ในการบรหิ ารราชการในสภาวการณ์
ระบบการประเมินความคุ้มคา ที่มีความจ�ำเปนฉุกเฉิน เรงดวน เพื่อจัดโครงสรางและ
การจดั ส่วนราชการ ระบบการบริหารงานแบบ Ad Hoc และรูปแบบ Agile

คู่มอื แนวทางการพฒั นาองค์การสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 33

โครงการส�ำคญั การด�ำเนินการ/เปา้ หมาย/ตวั ช้วี ดั

Organization และแนวทางหลักเกณฑ์การประเมินประสทิ ธิภาพ
และความคุมคาการจัดสวนราชการ พรอมท้ังระบบประเมิน
ประสิทธิภาพ และความคุ้มค่าการจัดส่วนราชการ (Post
Audit) โดยมกี ารทดลองน�ำรอ่ งในสวนราชการ
เปาหมาย : โครงสรางและระบบการบริหารราชการของ
สว่ นราชการ ระดับกระทรวงและกรมมความยืดหยุน คลอ งตัว
ทนต่อการเปล่ยี นแปลง
ตวั ช้ีวัด : หนวยงานน�ำรอ่ งทมี่ ีโครงสรางยืดหยนุ และคลองตัว
จ�ำนวน 2 หนว ยงาน ในป พ.ศ. 2565

6. โครงการสร้างความเข้มแข็ง การด�ำเนนิ การ : พัฒนากลไกการทำ� งานท่ีบูรณาการ/เช่ือมโยง
ในการบรหิ ารราชการในระดบั พน้ื ที่ การท�ำงานของหนวยงานในพื้นท่ีและการพัฒนารูปแบบ
การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารราชการในจังหวัดที่มี
ผลสัมฤทธส์ิ ูง
เปาหมาย : สรา งความเขมแข็งของระบบการบรหิ ารราชการ
เชิงพื้นที่ให้ราชการในส่วนภูมิภาคมีความคล่องตัวสามารถ
บูรณาการระบบงาน ระบบแผนและงบประมาณ และระบบ
บรหิ ารงานบุคคลไดอ้ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ตัวช้ีวัด : จ�ำนวนจังหวัดท่ีมีการพัฒนารูปแบบการเพ่ิม
ประสิทธิภาพการบริหารราชการในจังหวัดท่ีมีผลสัมฤทธ์ิสูง
จ�ำนวน 45 จังหวดั ในปี พ.ศ. 2565

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 3 : เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารงานภาครัฐโดยการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัล
เขา มาประยกุ ตใ ช้

7. โครงการพัฒนาระบบนิเวศทางดิจิทัล การด�ำเนินการ : พัฒนากรอบแนวคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศ
(Digital ecosystem) ส�ำหรับ ทางดจิ ทิ ลั ของหนว ยงานภาครฐั เพื่อใชใ้ นการยกระดับประสทิ ธิภาพ
หน่วยงานภาครัฐในการพัฒนา การใหบริการประชาชนและภาคธุรกจิ รวมท้งั สงเสริม ผลักดัน
สูรฐั บาลดิจทิ ัลเพือ่ ประชาชน สรางการรบั รู้ ความเขา้ ใจ ตลอดจนแกไขปญหาและอุปสรรค
ในการยกระดับประสทิ ธิภาพของหนว ยงานภาครฐั
เปาหมาย : สร้างระบบนิเวศทางดิจิทัลในหน่วยงานภาครัฐ
เพ่ือตอบสนองความตอ งการประชาชน
ตัวชี้วัด : หนวยงานภาครัฐตนแบบท่ีมีการสรางระบบนิเวศ
ทางดิจทิ ัล 2 หนว ยงาน

34 | คู่มอื แนวทางการพฒั นาองคก์ ารสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

โครงการสำ� คญั การดำ� เนนิ การ/เปา้ หมาย/ตัวช้วี ดั

8. การจัดท�ำระบบบัญชีขอมูลภาครัฐ การด�ำเนินการ : เตรียมความพร้อมสร้างองค์ความรู้และ
(Data Catalog) และขอมูลเปิด อ�ำนวยความสะดวกให้กับหน่วยงานรัฐในการเปดเผยขอมูล
ภาครัฐ ส่งเสริมและสร้างภาคีเครือขายในการพัฒนานวัตกรรมจาก
ข้อมูลเปิด (Data Innovation) รวมทั้งสร้างนวัตกรรม
การใชข้อมลู (Data Driven Culture) ในการขับเคลือ่ นและ
พฒั นาประเทศ
เปาหมาย :
• หนวยงานภาครัฐมีการเปดเผยข้อมูลท่ีมีคุณภาพและ
มีประโยชน์
• มีการนำ� ขอ้ มลู ไปวเิ คราะหเ พือ่ การพัฒนาประเทศ
ตัวชี้วัด : หนวยงานภาครัฐมีระบบบัญชีขอมูลและจัดท�ำ
ขอ มลู เปดทถ่ี กู จดั ในหมวดหมูส่ าธารณะอยา่ งนอ ยร้อยละ 50
ของชุดขอ้ มูลเปด ในบัญชขี อ มลู

9. การทบทวนและแก้ไขกฎหมาย การด�ำเนินการ : การทบทวนและแก้ไขระเบียบ กฎหมาย
ที่เปนอุปสรรคตอการปฏิบัติ ท่เี ปน็ อุปสรรคตอการปฏบิ ัติราชการ
ราชการ เปา หมาย :
• เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของหนวยงานภาครัฐ
ใหท้ นั สมัยและมีความคลอ งตวั มากย่ิงข้นึ
• ปรับเปลี่ยนกระบวนการท�ำงานและการจัดเก็บข้อมูล
เอกสาร หลักฐานในการปฏิบัติงานและการบริการของรัฐ
รวมถึงหนังสือราชการให้อยูในรูปแบบดิจิทัลเพื่อรองรับและ
สนบั สนนุ การปฏิบตั ิงานสารบรรณทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์
ตวั ชีว้ ัด : ระเบยี บ กฎหมาย ท่ีเปนอุปสรรคต่อการปฏบิ ัตริ าชการ
ไดรับการทบทวนและแก้ไขอย่างน้อย 2 ฉบับ ประกอบดวย
ราง พ.ร.บ. การปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ....
และรางระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ
(ฉบบั ท่.ี .) พ.ศ. ....

คมู่ อื แนวทางการพฒั นาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 35

บทท่ี 2 ผลการดำ� เนินงานท่ีสอดคลอ้ ง
กบั ระบบราชการ 4.0
กรมควบคมุ โรค

มติ ริ ะบบราชการที่เปิดกวา้ งและเชื่อมโยงกนั (Open & Connected Government)

กรมควบคุมโรค (คร.) ก�ำหนดนโยบายมุ่งเน้นการท�ำงานท่ีเชื่อมโยงกัน เปิดเผยข้อมูล
ร่วมกัน พัฒนาใหเ้ ปน็ “องค์กรคณุ ธรรม” ม่งุ พฒั นาเพอื่ ให้โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ภายใตค้ า่ นยิ ม MOPH
ให้คนท�ำงานบนพ้ืนฐานคุณธรรม ก�ำหนดอัตลักษณ์ “ซื่อสัตย์ เสียสละ รับผิดชอบ”
ประกาศเจตนารมณ์ “กรมควบคมุ โรคใสสะอาด รว่ มต้านทจุ ริต” มีการแตง่ ตง้ั คณะกรรมการฯ
การประเมินคุณธรรม ความโปร่งใส อีกท้ังจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์การสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม
และการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2560-2565) เป็นแนวทางขับเคลื่อน
นโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ผ่านการด�ำเนินงานแผนงานโครงการที่ส�ำคัญ ได้แก่
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านคุณธรรมจริยธรรมและการป้องกันการทุจริต เป็นต้น
แบบของคุณธรรมความโปร่งใส เพ่ือให้บุคลากรกรมควบคุมโรค (คร.) ถือเป็นแนวทางปฏิบัติ
พร้อมท้ังส่ือสารและเปิดเผยข้อมูลสู่สาธารณะให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกได้ทราบและมั่นใจ
ตอ่ การบรหิ ารงานทโี่ ปร่งใส
มกี ารทบทวนกระบวนการจดั ท�ำแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 20 ปี ดา้ นการป้องกนั ควบคมุ โรค
และภยั สุขภาพ (พ.ศ. 2561- 2580) ให้สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศและ
กระทรวงสาธารณสขุ โดยน�ำมาก�ำหนดกรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี มงุ่ สู่วสิ ัยทศั น์ “ประชาชนไดร้ บั
การป้องกนั ควบคมุ โรคและภัยสุขภาพระดบั มาตรฐานสากล ภายในปี พ.ศ. 2580” โดยยึดหลกั
แนวทางตามคุณลกั ษณะระบบปอ้ งกนั ควบคมุ โรคทีพ่ ึงประสงค์ เพือ่ ใช้เปน็ กรอบแนวทางการด�ำเนนิ งาน
ป้องกันควบคุมโรคของประเทศ มุ่งเน้นท่ีจะพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรค ซ่ึงตอบสนอง
ความตอ้ งการและยดึ ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง อาศยั ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเปน็ แรง
ขบั เคล่อื น หลักเศรษฐกิจพอเพียง ธรรมาภบิ าล และความคุ้มค่า เป็นหลกั ในการพัฒนา
ในด้านการสานพลังเครือข่าย ก�ำหนดยุทธศาสตร์การด�ำเนินงานร่วมกับเครือข่าย
เพื่อขับเคลื่อนงานด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ผสานพลังร่วมกับเครือข่าย
ที่ส�ำคัญในการวางมาตรการ สร้างการมีส่วนร่วมพัฒนาความเข้มแข็งและสร้างสัมพันธภาพท่ีดี
ก�ำหนดจุดเน้นการท�ำงานเชื่อมโยงกับพื้นท่ีในการเร่งรัด ก�ำจัด กวาดล้าง เพ่ือป้องกันควบคุมโรค
โดยมีสำ� นักงานป้องกนั ควบคมุ โรคในเขตพืน้ ท่ี 12 เขต ทวั่ ประเทศ ทำ� หน้าทใ่ี นการขับเคลือ่ น
36 | คมู่ อื แนวทางการพัฒนาองคก์ ารส่รู ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

ความร่วมมอื กับเครอื ข่ายต่าง ๆ และพัฒนาความร่วมมอื เครือข่ายระหวา่ งประเทศ เพื่อสร้างเสรมิ
สมรรถนะด้านการปอ้ งกันโรค ทง้ั โรคติดตอ่ โรคไมต่ ดิ ต่อและภัยสุขภาพทีส่ ำ� คัญ ตามพันธะสัญญา
ในการกำ� จัด กวาดล้างโรค ผลจากการท�ำงานรว่ มกบั เครอื ข่าย สามารถผลักดันให้เกิดนวตั กรรม
เชิงนโยบาย เช่น การรณรงค์ความปลอดภัยบนท้องถนน การพัฒนากฎหมายโรคจาก
การประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตร
ท่ีมีอันตรายสูง (3 ชนิด) ก�ำหนดเขตปลอดบุหร่ี มาตรการเมาไม่ขับ การขับเคล่ือนนโยบาย
การลดการบรโิ ภคเกลอื และโซเดยี ม เป็นตน้
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับโรคและภัยสุขภาพต่อกลุ่มเป้าหมายท่ีหลากหลาย
โดยเปดิ ระบบ เปดิ ใจ ให้ประชาชนเข้ามสี ว่ นรว่ มในการบริหารราชการ โดยจดั ทำ� DDC Application
Portal เป็นช่องทางในการรวม Application
ท้ังหมดของกรมควบคุมโรค (คร.) ตามกลุ่มเป้าหมาย
และงา่ ยต่อการเข้ามาใชง้ าน ดงั ภาพ 6 นอกจากน้ี
มีระบบรวบรวมข้อมูลสารสนเทศเพ่ือใช้วัดผลการ
ดำ� เนนิ งานให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของ
ประชาชนและสถานการณท์ เี่ ปลยี่ นแปลง เชน่ ระบบ
เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 กลุ่มโรค 5 มิติ
รายงานการเฝา้ ระวงั โรค (รง.506) ระบบ GFMIS
และมีการบูรณาการฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงและ
แลกเปลี่ยน เช่น การบรู ณาการขอ้ มลู การตอบโต้
ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข เป็นต้น ดังภาพ 7

ภาพ 7 การบรู ณาการข้อมูลตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ
คู่มอื แนวทางการพฒั นาองค์การสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 37

มิติระบบราชการที่ยดึ ประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลาง (Citizen- Centric Government)

กรมควบคุมโรค (คร.) มุ่งเน้นท่ีจะพัฒนา
ระบบป้องกันควบคุมโรค โดยยึดประชาชน
เป็นศูนย์กลาง อาศัยความรู้ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเป็นแรงขับเคล่ือน และได้น�ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้
ในการบริหารจัดการ เพ่ือสนองตอบต่อ
ความต้องการและความคาดหวังของประชาชน
ผู้รับบริการ ตามมาตรฐานท่ีสะดวกรวดเร็ว
อีกทั้งสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อให้เกิดวัฒนธรรมที่มุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจหน่วยงานจากส�ำนักงานจัดการความรู้เป็นกองนวัตกรรมและวิจัย
เพือ่ เปน็ หน่วยงานกลางในการบริหารจัดการให้เกดิ การสร้างนวตั กรรมท่สี �ำคญั ในการใหบ้ ริการ
ประชาชน พร้อมท้ังสื่อสารและเปิดเผยข้อมูลสู่สาธารณะให้กับประชาชนได้มีโอกาสเสนอ
ความต้องการและความคาดหวัง น�ำมาก�ำหนดผลผลิตของกระบวนการและออกแบบกระบวนการ
ที่สามารถผลิตและส่งมอบบริการที่มีคุณลักษณะตรงตามความต้องการประชาชน มีการบูรณาการ
การท�ำงานในระดับชุมชนกับหน่วยงานที่ใกล้ชิดประชาชน เช่น การสร้างความร่วมมือ
และบูรณาการท�ำงานกับภาคีเครือข่ายที่ส�ำคัญเพ่ือแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพท่ีซับซ้อน
สง่ ผลท�ำให้ผ้รู ับบรกิ ารและผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสียพึงพอใจตอ่ การบริการตา่ ง ๆ เพิม่ มากขึน้ ผลงาน
ท่ีส�ำคัญ คือ การสร้างนวัตกรรม เสริมคุณค่าการให้บริการประชาชนและเครือข่าย
ท้ังในและนอกสังกัดกรมควบคมุ โรค (คร.) จนเป็นแนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดี (Best Practices) สรา้ งมาตรฐานใหม่
ในการบรกิ ารให้กับประชาชน เช่น 1) นำ� เทคโนโลยมี าใช้ในการบริหารจดั การและระบบบรกิ าร
โดยใช้ AI (Artificial Intelligence) ช่วยในการออกแบบการอ่านภาพเอกซเรย์ปอดเบื้องต้น
ลดระยะเวลารอผลการอา่ นฟิลม์ ทำ� ให้ผู้ปว่ ยไดร้ บั การวนิ ิจฉยั ทร่ี วดเรว็ มากขน้ึ จากเดมิ ใชเ้ วลา
1-2 สปั ดาห์ สามารถทราบผลการอา่ นเบ้อื งตน้ ได้ภายในวนั เดียว 2) นวตั กรรม Health DDC2U
เป็น Application ท่ีสามารถเชื่อมต่อกับระบบข้อมูลท่ีมาจากการวัดความดันโลหิตสาธารณะ
โดยข้อมูลของประชาชนที่ใช้บริการจะแสดงผลผ่าน Web Application เพ่ือติดตามค่าระดับ
ความดันโลหิตของตนเองและไดร้ บั ค�ำแนะนำ� สุขภาพตามความเหมาะสม 3) การปอ้ งกนั การระบาด
ของโรค COVID-19 ดว้ ยระบบงาน (System) ท่ที ันสมัย Application DDC Care, App AoT
ติดตามกลุ่มเสี่ยง เกาะติดสถานการณ์แบบเรียลไทม์ น�ำเทคโนโลยีด้านการส่ือสารความเส่ียง
ในภาวการณ์ระบาดโรค COVID-19 ผ่านช่องทาง Social Media ทง้ั Facebook LINE@Chat Bot
ระบบแจ้งเบาะแส เชื่อมโยงการท�ำงานร่วมกันหลายหน่วยงาน เป็นช่องทางท่ีมีความรวดเร็ว
ในการให้ข่าวสารทถี่ ูกต้องกับประชาชน ทต่ี ดิ ตามสถานการณก์ ารระบาดโดยประชาชนไม่ต้องร้องขอ
เป็นตน้ ดงั ภาพ 8

38 | ค่มู อื แนวทางการพฒั นาองคก์ ารส่รู ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

มติ ริ ะบบราชการทมี่ ขี ดี สมรรถนะสงู และทนั สมัย (Smart & High Performance
Government)

อธิบดีและผู้บริหารทุกคนให้ความส�ำคัญในการสร้างการมีส่วนร่วมของบุคลากร มีการ
จัดโครงสร้างออกแบบระบบงานและพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรให้เอื้อต่อการปฏิบัติงาน
เพื่อสืบสาน (Continue) สร้างระบบท่ีได้มาตรฐาน มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ชี้เป้า-
เฝ้าระวัง-น�ำให้ท�ำ-ตอบโต้เร็ว สามารถ
บริหารจัดการได้ท้ังสถานการณ์ภาวะปกติ
และฉุกเฉนิ มีการจัดระบบงานแบบไมเ่ ป็น
ทางการ มุ่งเน้นการท�ำงานเป็นทีม
ให้สามารถตอบสนองต่อการด�ำเนินงาน
ตามนโยบายท่ีส�ำคัญหรือเร่งด่วนในรูปของ
คณะกรรมการ คณะท�ำงานทีมปฏิบัติการ
พเิ ศษ (Cross Functional Team) สง่ ผล
ให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัวมากข้ึน บุคลากรมุ่งมั่นสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมตาม
นโยบาย DDC 4.0 จัดต้ังศูนย์พัฒนานวัตกรรมด้านสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค ขับเคล่ือน
การพัฒนานวตั กรรมของกรมควบคมุ โรค (คร.) มกี ารศกึ ษาดูงานระบบนวตั กรรมทห่ี ลากหลาย
ทั้งบริษัทปูนซีเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักนวัตกรรมแห่งชาติ ศูนย์นวัตกรรมทางการ
แพทย์และรูปแบบธุรกิจวัฒนธรรมองค์กร กลุ่มธุรกิจ Alibaba เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลด้านการป้องกันควบคุมโรค กองนวัตกรรมและวิจัย น�ำมาวิเคราะห์ความเส่ียง
ในการสร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชา ได้ด�ำเนินการ
สร้างให้เกิด Ecosystem คือ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการพัฒนาความรู้ ความคิดสร้างสรรค์
แรงจูงใจในการสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม รวมถึงการสร้างวัฒนธรรมองค์กรของบุคลากร
การส่งเสริมให้บุคลากรเกิดความภาคภูมิใจท้ังต่อตนเองและต่อองค์กรเพ่ือสร้างผลงาน
นวัตกรรมที่สามารถแก้ Pain Point ตอบโต้กับการเปล่ียนแปลงอย่างฉับพลันในยุคดิจิทัล
เพื่อสร้างคุณค่าน�ำสู่การแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ การป้องกัน ควบคุมโรคให้กับประชาชนให้
เห็นผลลัพธ์ในเชิงประจักษ์ท่ีทันต่อยุค Digital Transformation ของระบบราชการ 4.0
สนับสนุนหน่วยงานให้เกิดกระบวนการสร้างและพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเน่ือง จัดให้มีการประชุม
Innovation Forum เพื่อถ่ายทอดองค์ความรูจ้ ากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ กระตุ้นกระบวนการคิด
จัดพื้นที่ภายในศูนย์นวัตกรรมด้านสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคเป็น Co-Working Space
ให้บุคลากรได้ใช้ประโยชน์ เพื่อการระดมสมองและสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมรักษา (Preserve)
การสั่งสมภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน รวมถึงเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านงานนวัตกรรมป้องกัน
ควบคมุ โรคปรบั ตวั เข้าสูส่ ภาพความเป็นส�ำนักงานสมัยใหม่ ดังภาพ 9

คู่มอื แนวทางการพัฒนาองคก์ ารสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 39

อีกท้ังนโยบายที่ปรับสู่องค์การดิจิทัล โดยเร่ิมจัดท�ำสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise
Architecture:EA) ปรับกรอบแนวคิดและใช้โปรแกรมมาสนับสนุนการท�ำงานเพื่อต่อยอด
(Build Upon) การสร้างองค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมเพื่อรองรับอนาคต ตอบสนองกับทุก
สถานการณ์ได้อย่างทันเวลา เช่น ด�ำเนินการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและสอบสวนโรคอัจฉริยะ
(Smart Surveillance &Investigation) การพฒั นาปัญญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligece)
เพ่อื ค้นหาและวินิจฉัยโรคเป้าหมาย 3 โรค (โรคเรือ้ น วัณโรค และมาลาเรีย) ตลอดจนการสรา้ ง
สภาพแวดลอ้ มภายในทเ่ี หมาะสม เพ่อื ส่งเสรมิ ใหบ้ ุคลากรมีสว่ นร่วมในการสร้างสรรคส์ ง่ิ ใหม่ ๆ
เชน่ โครงการ “คบเดก็ สร้างบ้าน” สนบั สนนุ ใหม้ กี ารรวมกลุ่มของบุคลากรรนุ่ ใหม่ สรา้ งผลงานดี ๆ
ท�ำให้บุคลากรผูกพันต่อการปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างเต็มท่ีตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
เช่น กิจกรรมการปรับปรุงกระบวนงานและสภาพแวดล้อมการท�ำงานไปสู่การเป็น Smart
Office การท�ำงานโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน (Smart Workflow)
รวมท้ังทบทวนกระบวนการท�ำงานท่ีส�ำคัญและจ�ำเป็น ลดหรือปรับปรุงข้ันตอนกิจกรรม
ที่ไม่จ�ำเป็นหรือไม่ก่อให้เกิดคุณค่าอย่างต่อเนื่อง พัฒนาระบบดิจิทัลมาปรับปรุงกระบวนการ
ภายใน เชน่ 1) ระบบ EstimatesSM 2) ระบบงานสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3) ระบบ KTB
Corporate OnLINE 4) ระบบ DDC Meeting 5) ระบบลาออนไลน์ เปน็ ต้น

เป้าหมายตอ่ ไปในอนาคต

กรมควบคมุ โรค (คร.) มแี ผนการยกระดับสูร่ ะบบราชการ 4.0 ในอนาคต (The New
Paradigm of DDC Services) แบง่ เปน็
1. Motivating Learning Digital Skills ใช้ Digital literacy มุ่งเน้นกระตุ้น
สนับสนุนให้เกิดทักษะด้านดิจิทัล ซ่ึงครอบคลุมการเป็นพลเมืองดิจิทัล การรู้เท่าทันเทคโนโลยี
และการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
2. Creating & Inspiring Environment Coworking Space 24/7 Incentive for
Innovators การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อต่อการสร้างความคิดที่น�ำไปสู่นวัตกรรมใหม่ ๆ
ของบุคลากรกรมควบคุมโรค (คร.) รวมทั้งการเตรียมปรับรูปแบบการให้บริการด้วยการ
Re-Design Re-Think Re-Treat ท่เี ออ้ื ต่อกล่มุ เป้าหมาย ตลอดระยะเวลา 24 ชว่ั โมงเปน็ One
Stop Services ของงานบรกิ ารกรมควบคุมโรค (คร.)
3. Transform Innovation to Nonprofit Commercialization การผลักดัน
นวัตกรรมกรมควบคุมโรค (คร.) ผ่านกระบวนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม โดยใช้ความรู้และ
หลักการเชิงพาณิชย์แต่ไม่มุ่งเน้นผลก�ำไรที่ช่วยให้มีการกระจายบริการรูปแบบใหม่
ช่วยลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพเข้าถึงบริการท่ีง่ายหรือสะดวกขึ้นหรือการประสานความร่วมมือ
กับผู้ผลิตและพัฒนาท�ำข้อตกลงเพ่ือเอ้ือประโยชน์ต่อกรมควบคุมโรคและกลุ่มเป้าหมาย

40 | คมู่ ือแนวทางการพฒั นาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

ได้รับบริการท่ีมีคุณภาพทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เช่น นวัตกรรมรองเท้าเพ่ือสุขภาพ,
DDC - Care, AI ชดุ ตรวจ เป็นต้น ดงั ภาพ 10 และปัจจัยความส�ำเร็จของการขับเคล่อื นระบบ
ราชการ 4.0 ของกรมควบคุมโรค (คร.) ได้แก่ Leadership นโยบายการขับเคล่ือนของผู้น�ำ
ผู้บรหิ ารของกรม การนำ� องค์กรอยา่ งตอ่ เนื่องของผบู้ รหิ าร System and Process Management
การมีบุคลากรระดับกลางมสี มรรถนะในด้านดิจทิ ัล ควบค่ไู ปกบั สมรรถนะหลัก Learning Culture
organization วัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบมุ่งเป้าบนบรรยากาศแบบพี่น้องของ
กรมควบคุมโรค Monitoring and Systematic Improvement การก�ำกับติดตามผล
การดำ� เนินงาน การปรบั ปรุงแกไ้ ขปญั หาการปฏิบัตงิ าน ในด้านต่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ ดังภาพ 11

ภาพ 10 แผนการยกระดบั สูร่ ะบบราชการ 4.0 ในอนาคต

ภาพ 11 ปัจจยั ความสำ�เรจ็ ของการขับเคลือ่ นระบบราชการ 4.0
คู่มือแนวทางการพฒั นาองค์การสรู่ ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 41

บทท่ี 3 แนวทางการพัฒนาองค์การ
ส่รู ะบบราชการ 4.0
(Toolkit 4.0)

การน�ำองคก์ ารสรู่ ะบบราชการ 4.0

เจตนารมณ์ : เพื่อให้เห็นถึงบทบาทของผู้น�ำในการชี้น�ำและขับเคล่ือนองค์การให้เกิด
ความยั่งยืน การก�ำกับ ดูแลที่ดี มีการสร้างแบบอย่างด้านความโปร่งใส มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
ผ่านนวัตกรรมทุกระดับให้เกิดผลลัพธ์ต่อองค์การน�ำไปสู่การพัฒนาประเทศตามทิศทางยุทธศาสตร์
มกี ารตดิ ตามผลการด�ำเนินการทง้ั ระยะสั้นและระยะยาว และการคำ� นงึ ถงึ ผลกระทบท่ีอาจเกดิ ขนึ้
ต่อสังคม

การน�ำองค์การเพื่อการพฒั นาสู่ระบบราชการ 4.0
เกณฑ์ PMQA 4.0 หมวด 1

1.1 ระบบการนำองคก์ ารของส่วนราชการได้สร้างองคก์ ารทีย่ งั่ ยนื โดย
- การกำหนดวสิ ยั ทศั น์และแผนยทุ ธศาสตร์เช่อื มโยงสู่การบรรลพุ ันธกจิ
- การม่งุ เน้นประโยชนส์ ุขประชาชน
- การบรรลุผลยุทธศาสตร์ชาติและความสามารถในการแข่งขนั

1.2 การปอ้ งกันทจุ รติ และสร้างความโปรง่ ใส
1.3 การมุ่งเน้นการบรรลุผลสัมฤทธิ์ของส่วนราชการผ่านการสร้างการมีส่วนร่วมของบุคลากร

ภายในและภายนอก
1.4 การคำนึงถึงผลกระทบต่อสังคมและการมุ่งเน้นให้เกิดผลลัพธ์ท่ีนำไปสู่การพัฒนาประเทศ

ตามทศิ ทางยทุ ธศาสตร์
การมุ่งสูป่ ระเทศไทย 4.0 เปน็ สิ่งที่ทุกภาคสว่ นของประเทศต้องมสี ว่ นรว่ มในการด�ำเนินการ
เพ่ือให้ประเทศไทยเกิดการพัฒนาอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขัน ส่งผลต่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวไทยทั้งประเทศ ระบบราชการซ่ึงเป็น
กลไกส�ำคัญของภาครฐั ท่จี ะใชใ้ นการขับเคล่อื นการพฒั นาในดา้ นตา่ ง ๆ มีความจำ� เป็นอยา่ งยิ่ง
ที่จะต้องพัฒนาไปสู่ระบบราชการ 4.0 โดยจะต้องมีความโปร่งใสในการท�ำงาน ตรวจสอบได้
เปดิ กว้างใหภ้ าคสว่ นอ่นื ๆ เข้ามามีส่วนรว่ ม มีโครงสรา้ งในแนวราบ ลกั ษณะของเครอื ข่ายมากขึ้น

42 | คู่มอื แนวทางการพัฒนาองค์การส่รู ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

มีการเช่ือมโยงการท�ำงานภายในภาครัฐด้วยกัน อย่างมีเอกภาพและสอดประสานกัน นอกจากน้ี
ยังต้องท�ำงานเชิงรุกในการแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยใช้ฐานข้อมูล
และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดการเพ่ือให้เหมาะสมกับบริบทของสังคมในปัจจุบันท่ีต้อง
สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ตลอดเวลา หลากหลายช่องทาง รวมถึง
การมีขีดสมรรถนะท่ีสูงและทันสมัย ข้าราชการปฏิบัติหน้าท่ีเหมาะสมกับบทบาทของตนเอง
ท�ำงานด้วยการเตรียมการณ์ล่วงหน้า มุ่งเน้นนวัตกรรมท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลง
อยา่ งรวดเรว็
การน�ำองค์การของผู้น�ำระดับสูงของส่วนราชการ เป็นรากฐานส�ำคัญที่จะช่วยในการส่งเสริม
ผลักดันให้กับการด�ำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ของระบบราชการ 4.0 ให้ประสบความส�ำเร็จและ
เกิดความยั่งยืน โดยจะเป็นกรอบแนวทางท่ีผู้น�ำไปใช้ในการบริหารจัดการส่วนราชการจะต้อง
ให้ความส�ำคัญและค�ำนึงถึงการตอบสนองความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด รวมถึงต้องน�ำส่วนราชการไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์และภารกิจของ
หน่วยงานได้ไม่ว่าส่วนราชการจะมีขีดความสามารถมากเพียงใด หากมีการด�ำเนินงาน
ที่ไม่โปร่งใสและทุจริต จะส่งผลกระทบต่อความเช่ือมั่นต่อส่วนราชการ และเกิดความเสียหาย
ที่มีมูลค่ามากมาย แทนที่จะน�ำไปใช้ในการพัฒนาองค์กรให้เกิดประโยชน์หรือน�ำไปใช้ในการ
ตอบสนองผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยผู้น�ำระดับสูงจะต้องให้ความส�ำคัญในการ
สร้างระบบในการก�ำกับดูแลองค์กร ทบทวนและติดตามผลการด�ำเนินการอย่างสม่�ำเสมอ
การด�ำเนนิ การต่าง ๆ สามารถตรวจสอบไดท้ ้งั จากภายในและภายนอกองค์กร สามารถเปดิ เผย
ข้อมูลต่าง ๆ ของส่วนราชการให้กับสาธารณะได้ ไม่เอาเปรียบและต้องปกป้องผลประโยชน์
ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเหมาะสม รวมทั้งการส่งเสริมในเร่ืองจริยธรรม
ในการทำ� งานทวั่ ทัง้ ส่วนราชการ
นอกจากการท�ำให้องค์กรย่ังยืนและปราศจากการทุจริตแล้ว ผู้น�ำของส่วนราชการต้อง
ส่ือสาร ทำ� ความเขา้ ใจกบั บคุ ลากรภาคประชาชน ภาคเอกชน และท้องถน่ิ จากองค์กรภายนอก
ให้มีความเข้าใจแนวทางการท�ำงานของส่วนราชการ ให้ความร่วมมือในการด�ำเนินการ และ
สร้างกลไกในการประสานความร่วมมือในการท�ำงานระหว่างกันในลักษณะของเครือข่าย
ผลักดันให้เกิดการปรับปรุงงานที่มากขึ้นโดยการตั้งเป้าหมายที่ท้าทาย เพ่ือผลักดัน
ผลการด�ำเนินงานให้ดีย่ิงขึ้น อีกท้ังยังต้องกระตุ้น ส่งเสริม ผลักดันให้เกิดการปรับปรุง
กระบวนการและการบริการผ่านเครือข่ายภาคเอกชนให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด
และเกิดนวัตกรรมของกระบวนการและการบริการ ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน
อย่างแท้จริง ผนู้ �ำยงั ต้องแสดงใหเ้ ห็นว่ามกี ารสร้างนวัตกรรมที่สำ� คัญ มผี ลกระทบสูง สอดคลอ้ ง
กบั นโยบาย และน�ำไปสู่การแก้ปัญหาทีส่ ำ� คัญทม่ี คี วามซบั ซอ้ น ซ่งึ อาจไมส่ ามารถแกไ้ ขได้สำ� เรจ็
โดยส่วนราชการเพียงหน่วยงานเดียว อาจมีความจ�ำเป็นท่ีจะต้องร่วมกันคิด ร่วมกันวิเคราะห์
เพื่อหาแนวทางในการแกป้ ัญหากับภาคประชาชนและหน่วยงานอื่น ๆ ซง่ึ จะสง่ ผลให้ได้มุมมอง
ทหี่ ลากหลายในการแกไ้ ขปัญหาทีส่ �ำคญั และซับซ้อนให้สำ� เร็จตามวตั ถปุ ระสงค์

ค่มู ือแนวทางการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 43

สงิ่ ส�ำคัญในการนำ� องค์กรคือ จะต้องไมท่ �ำให้สังคมไดร้ ับความเดอื ดร้อนหรือผลกระทบ
เชิงลบจากการด�ำเนินการของส่วนราชการ ซ่ึงอาจจะเกิดได้โดยที่ส่วนราชการไม่ได้ต้ังใจ
ทั้งทม่ี าจากการผลผลิต บริการ หรอื การปฏิบัติงานของส่วนราชการ และเมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณผ์ ลกระทบ
เชิงลบต่อสังคมแล้ว ส่วนราชการจะต้องแก้ไข เยียวยา โดยเร่งด่วนท่ีสุดเท่าท่ีท�ำได้ เพื่อให้
ผลกระทบน้ันบรรเทาและหายไปในที่สุด การปล่อยให้เหตุการณ์ผ่านไปเนิ่นนานยิ่งจะท�ำให้
สังคมเดือดร้อน ส่งผลต่อภาพลักษณ์และความน่าเช่ือถือขององค์กร อาจท�ำให้ในอนาคต
ประชาชนหรือเครือข่ายต่าง ๆ ไม่ศรัทธาและไม่ให้ความร่วมมือในการด�ำเนินการของ
ส่วนราชการ ซึ่งจะส่งผลเสียในระยะยาว เนื่องจากภาพลักษณ์ขององค์กรเป็นสิ่งท่ีต้องสั่งสม
มายาวนาน หากมีภาพลกั ษณใ์ นทางทไี่ มด่ ีแลว้ การแกไ้ ข ฟน้ื ฟู เรยี กความเชอื่ มน่ั กลบั มาจะเปน็
เร่ืองยากและใชเ้ วลานาน

การพฒั นาสรู่ ะดบั พนื้ ฐาน (Basic) อย่างมนั่ คง

เคร่อื งมือ คำอธบิ าย

Data-Driven Strategy การน�ำระบบข้อมูลสารสนเทศ ท่ีแสดงให้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ข้อมูลท่ี
Formulation รวบรวมจากหลายแหล่งในหลายมุมมอง และสามารถปรับเปล่ียนได้ตาม
ความต้องการของผู้ใช้ทันทีขณะใช้งานเพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจในการ
วางแผนเชงิ นโยบายท่มี ปี ระสิทธภิ าพ

Data-Driven Policy การนำนโยบายที่ได้กำหนดไว้ไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งหากมีการประเมินความสำเร็จ
Implementation ของนโยบายก่อนนำไปขยายผลจะช่วยให้สามารถลดความสูญเปล่า

จากนโยบายท่ีไม่ประสบความสำเร็จ

Enterprise การนำระบบการจัดการความรู้เข้ามาประยุกต์ใช้ โดยมีระบบการจัดเก็บ
Knowledge ข้อมูลภายในองค์กรท่ีเป็นมาตรฐานเดียวเหมาะส�ำหรับการแลกเปล่ียน
ข้อมูลทีต่ อ้ ง

Management ใช้บอ่ ยและมผี ูใ้ ช้จำ� นวนมาก โดยข้อมูลจะอัปเดตตลอดเวลาและคน้ หา
ไดง้ า่ ยนำ� ไปสกู่ ารตอ่ ยอดความรู้ขององค์กรทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ

Workplace การสื่อสารและสร้างความร่วมมือของบุคลากรและเครือข่ายภายนอก
Collaboration & โดยใช้ Social Media เป็นเคร่ืองมือท่ีส�ำคัญส�ำหรับการติดต่อสื่อสาร
Networking สนับสนุน การแลกเปล่ียนข่าวสารที่รวดเร็วฉับไว เชื่อมต่อเข้ากับข้อมูล
ส่วนตัวท่ีเก่ียวกับการปฏิบัติงาน สนับสนุนการท�ำงานเป็นทีม เสริมสร้าง
วัฒนธรรมองค์กร รวมถึงการใช้ในการสร้างความมีส่วนร่วมของเครือข่าย
ใหช้ ่วยในการดำ� เนินการเพ่อื บรรลุภารกจิ ของสว่ นราชการ

44 | คูม่ อื แนวทางการพัฒนาองคก์ ารส่รู ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0)

แนวทางการประยกุ ตใ์ ชเ้ ครอื่ งมอื กบั หัวข้อ 1.1 ระบบการน�ำองค์การของส่วนราชการ
Data-Driven Strategy Formulation
ผู้น�ำระดับสูงก�ำหนด/ทบทวนวิสัยทัศน์ ภารกิจ ค่านิยม ทิศทางการด�ำเนินงานของ
ส่วนราชการ โดยพิจารณาข้อมูลที่ส�ำคัญต่าง ๆ เช่น นโยบายของรัฐบาล ความต้องการของ
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อผลการด�ำเนินการของส่วนราชการที่ผ่านมา เป็นต้น
เพ่ือเป็นปัจจัยน�ำเข้าท่ีส�ำคัญ ก�ำหนดยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ และแผนงานรองรับ เพ่ือให้
การท�ำงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ข้อมูลต่าง ๆ ที่ส�ำคัญ จะมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในการ
รวบรวมและวิเคราะห์ ส่งต่อมายังหน่วยงานที่รับผิดชอบในด้านยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ
เพื่อรวบรวมและน�ำมาเป็นปัจจัยให้ผู้น�ำระดับสูงใช้ประกอบการก�ำหนด/ทบทวน วิสัยทัศน์
ภารกิจ ค่านิยม ทิศทางการด�ำเนินงานขององค์กร โดยผู้ท่ีเก่ียวข้องจะต้องรวบรวมและ
วิเคราะห์ข้อมูลท่ีส�ำคัญต่าง ๆ อย่างครอบคลุมครบถ้วน และจัดเก็บไว้ในระบบสารสนเทศ
ด้านการบริหารจัดการขององค์กรที่สามารถเรียกค้นได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน
มีการประเมินสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอก รวมถงึ สถานะขององค์กร วเิ คราะห์ข้อมูล
ที่ส�ำคัญ เช่น จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ผลกระทบต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนกับองค์กร
ข้อมูลด้านปัจจัยทางนโยบายและการเมือง ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางสังคม ปัจจัย
ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ ปัจจยั ทางสภาพแวดลอ้ ม และปัจจยั ทางดา้ นข้อกฎหมาย
ต่าง ๆ เป็นต้น เพ่ือให้ม่ันใจว่าผู้น�ำระดับสูงจะมีข้อมูลที่ส�ำคัญอย่างครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
มาประกอบการพิจารณาในการก�ำหนด/ทบทวนวิสัยทัศน์ และยทุ ธศาสตร์ของสว่ นราชการ
Data-Driven Policy Implementation
ผู้น�ำระดับสูงจัดให้มีการประเมินความเสี่ยงของโครงการหรือแผนปฏิบัติการของส่วนราชการ
เพื่อให้ทราบถึงประเด็นท่ีอาจเป็นอุปสรรคต่อความส�ำเร็จตามโครงการหรือแผนปฏิบัติการ
และจัดให้มีการปรับปรุงโครงการ/แผนปฏิบัติการหรือจัดท�ำแผนงานรองรับเพื่อป้องกันปัญหา
ท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคต และท�ำให้โครงการ/แผนงานประสบความส�ำเร็จ เมื่อได้จัดการกับ
ประเดน็ ตา่ ง ๆ ทอี่ าจท�ำให้นโยบายไม่ประสบความสำ� เรจ็ แลว้ ผู้นำ� ระดบั สงู จึงถ่ายทอด สือ่ สาร
ทิศทางของส่วนราชการไปสู่บุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ส�ำคัญอย่างครบถ้วน ให้เกิด
ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เพ่ือที่จะปฏิบัติและด�ำเนินการให้สอดคล้องกับทิศทางองค์กร
โดยการถ่ายทอดและส่ือสารของผู้น�ำระดับสูงนั้นอาจเป็นไปได้ทั้งรูปแบบท่ีเป็นทางการ และ
ไมเ่ ป็นทางการ เพื่อให้มคี วามเหมาะสมกับผทู้ จี่ ะสื่อสาร ซึ่งมีพฤตกิ รรมและบริบทที่แตกตา่ งกนั
จากนั้น ในการขับเคล่ือนผลการด�ำเนินการ ผู้น�ำระดับสูงต้องเป็นแบบอย่างท่ีดีในการปฏิบัติ
ให้ค�ำแนะน�ำ ช่วยเหลือ ในการด�ำเนินการจัดสรรทรัพยากรท่ีจ�ำเป็นอย่างเพียงพอและเหมาะสม
จัดโครงสร้างองค์กรให้รองรับกับทิศทางการด�ำเนินงานและวัฒนธรรมขององค์กร มีความ
คล่องตัว ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว พัฒนาระบบงานและกระบวนการ

คู่มอื แนวทางการพฒั นาองค์การส่รู ะบบราชการ 4.0 (Toolkit 4.0) | 45


Click to View FlipBook Version