คมู อื
คาํ รับรองการปฏบิ ัตริ าชการหนว ยงาน เลม 3
กรมควบคมุ โรค
คมู่ อื
ค�ำ รับรองการปฏบิ ตั ิราชการหนว่ ยงาน
กรมควบคมุ โรค
ช่ือหนงั สอื ค่มู อื ค�ำ รบั รองการปฏิบัตริ าชการหน่วยงานกรมควบคมุ โรค
ISBN 978-616-11-4813-3
พมิ พ์คร้ังที่ 1
จ�ำ นวนพิมพ์ 230 เล่ม
จดั ทำ�โดย นางเบญจมาภรณ์ ภิญโญพรพาณิชย์
ผอู้ �ำ นวยการกลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร
นางนวพรรณ สนั ตยากร
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำ นาญการพิเศษ
นางจุฑารัตน์ บญุ ผอ่ ง
นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ
นางสาวศิรดา บญุ เกดิ
นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน
นายศุภกร พง่ึ ฉิมรุจ
นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน
ออกแบบและจัดพิมพ์โดย
สงวนลิขสิทธิ์โดย กล่มุ พัฒนาระบบบรหิ าร กรมควบคุมโรค
ค�ำน�ำ
ตามพระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์และวิธีการบรหิ ารกิจการ
บา้ นเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 มาตรา 9(3) ก�ำหนดใหส้ ่วนราชการต้องจดั ใหม้ ี
การติดตามการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการตามแผนปฏิบตั ิราชการ
ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการที่สว่ นราชการกำ� หนดขึน้ ซึ่งสอดคลอ้ งกับมาตรฐาน
ทีส่ ำ� นกั งาน ก.พ.ร. ก�ำหนดให้ส่วนราชการระดับกรม มกี ารจดั ทำ� ค�ำรบั รอง
ในระดับกรม โดยใหก้ ระทรวงเปน็ เจ้าภาพด�ำเนินการตามหลักการที่สำ� นักงาน
ก.พ.ร. กำ� หนด และกรมควบคมุ โรคดำ� เนินการถ่ายทอดเปา้ หมายและ
ตัวช้ีวัดลงสูห่ นว่ ยงานในสงั กดั
กลุ่มพฒั นาระบบบริหาร จึงได้จัดทำ� คูม่ อื ค�ำรบั รองการปฏิบัติราชการ
หนว่ ยงานกรมควบคุมโรคฉบับนข้ี ึ้น เพื่อเป็นแนวทางการดำ� เนนิ งาน
แก่หนว่ ยงานในการจดั ทำ� ค�ำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการหน่วยงาน การติดตาม
และประเมนิ ผลคำ� รบั รองการปฏบิ ัติราชการหน่วยงาน
ท้งั นี้ หวงั เปน็ อย่างย่งิ วา่ หน่วยงานในสงั กัดกรมควบคุมโรคจะใช้
คู่มอื นเี้ ป็นเครื่องมอื ท่ชี ่วยในการจัดท�ำคำ� รบั รองการปฏิบตั ิราชการ การติดตาม
และประเมนิ ผลคำ� รับรองการปฏบิ ตั ริ าชการหน่วยงาน กรมควบคุมโรค
ให้เกิดประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผลและบรรลุเป้าหมายที่กำ� หนด
คณะผ้จู ดั ท�ำ
กนั ยายน 2564
สารบัญ
เรื่อง หนา้
บทท่ี 1 บทนำ�
1.1 หลักการและทมี่ า 10
1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องคมู่ อื 17
1.3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 17
1.4 โครงสรา้ งและบทบาทหน้าท่ขี องคณะกรรมการและ 18
คณะทำ�งานทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
1.5 คำ�รบั รองการปฏิบตั ริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค 20
บทที่ 2 การจดั ท�ำ คำ�รบั รองการปฏิบตั ริ าชการหน่วยงานกรมควบคุมโรค
2.1 การเลือกตวั ชีว้ ดั คำ�รบั รองการปฏิบัตริ าชการหนว่ ยงาน 22
2.2 ขน้ั ตอนการจดั ทำ�คำ�รบั รองการปฏิบัติราชการหนว่ ยงาน 26
2.3 กระบวนการจดั ทำ�คำ�รับรองการปฏิบตั ิราชการหนว่ ยงาน 27
2.4 กรอบคำ�รับรองการปฏบิ ตั ิราชการหนว่ ยงาน 30
2.5 ประเภทของตัวชี้วัดและค่าเปา้ หมาย 32
2.6 แนวทางการดำ�เนนิ การตามกระบวนการจัดทำ�คำ�รบั รอง 48
การปฏบิ ัตริ าชการหนว่ ยงาน
บทท่ี 3 การติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการ
3.1 วตั ถุประสงค์ของการตดิ ตามและประเมินผล 68
การปฏบิ ตั ิราชการ
3.2 กระบวนการประเมนิ ผลคำ�รบั รองการปฏิบัตริ าชการระดบั 70
หน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค
สารบัญ (ตอ่ )
เรือ่ ง หน้า
3.3 โครงสร้างและบทบาทหนา้ ทขี่ องคณะทำ�งานตดิ ตาม 75
ความก้าวหน้าและประเมินผลคำ�รับรองการปฏบิ ตั ริ าชการ
หน่วยงาน กรมควบคุมโรค
3.4 การติดตามและรายงานความกา้ วหน้าการปฏบิ ัตริ าชการฯ 76
รอบ 6 และ 12 เดือน
3.5 การประเมินผลการปฏบิ ัติราชการฯ รอบ 6 และ 12 เดือน 77
3.6 การสรุปผลการปฏบิ ตั ริ าชการหน่วยงาน 79
3.7 การขอทบทวนผลการประเมินคำ�รบั รองการปฏบิ ัตริ าชการ 89
ภาคผนวก
1. แบบฟอรม์ การตรวจประเมินผลการปฏิบตั ิราชการรายตวั ช้ีวัด 92
2. แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มสรุปผลการประเมนิ ผลคำ�รับรอง 94
การปฏบิ ัตริ าชการหนว่ ยงาน (ภาพรวมและรายตัวชีว้ ดั )
3. แบบฟอรม์ ท่ี 2 สรปุ ผลการประเมนิ ผลคำ�รับรองการปฏิบตั ิ 96
ราชการ รอบ 12 เดือน รายหนว่ ยงาน (รายตวั ช้ีวดั )
บรรณานุกรม
สารบญั ภาพ
เร่ือง หน้า
ภาพที่ 1 แนวคิดการจดั ทำ�ตัวชว้ี ัดคำ�รับรองการปฏิบตั ริ าชการ 25
ภาพท่ี 2 ประเภทของตัวชวี้ ดั 33
ภาพที่ 3 แนวคดิ ทใี่ ชใ้ นการกำ�หนดตวั ชว้ี ัด 38
ภาพที่ 4 ระบบการวัดเพือ่ การประเมินผล 39
ภาพที่ 5 ระดบั คา่ เปา้ หมาย 45
ภาพท่ี 6 โครงสรา้ งและบทบาทหนา้ ทข่ี องคณะอนุกรรมการดำ�เนนิ การ 48
พัฒนาระบบราชการกรมควบคมุ โรค
ภาพที่ 7 การกำ�หนดกรอบการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน 49
ภาพท่ี 8 การเตรียมการจดั ทำ�คำ�รับรองการปฏบิ ัติราชการหน่วยงาน 50
ภาพท่ี 9 การตรวจสอบรายละเอยี ดตวั ชีว้ ดั คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ 64
หนว่ ยงาน
ภาพที่ 10 การพิจารณาคำ�ขอเปลีย่ นแปลงรายละเอียดตวั ชว้ี ัด 65
ตามคำ�รบั รองการปฏบิ ัติราชการหนว่ ยงาน
ภาพที่ 11 การประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ตามหมวดท่ี 8 แห่ง 69
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวิธีการบริหาร
กจิ การบา้ นเมืองทด่ี ี พ.ศ. 2546
สารบัญภาพ (ตอ่ )
เร่ือง หนา้
ภาพท่ี 12 โครงสรา้ งและบทบาทหน้าทข่ี องคณะทำ�งานติดตาม 75
ความก้าวหน้า และประเมินผลคำ�รับรองการปฏิบัตริ าชการ
หนว่ ยงาน กรมควบคมุ โรค
ภาพที่ 13 การตดิ ตามและรายงานความก้าวหนา้ การปฏบิ ัติราชการฯ 76
รอบ 6 และ 12 เดอื น
ภาพที่ 14 การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการฯ รอบ 6 และ 12 เดอื น 77
ภาพที่ 15 การขอทบทวนผลการประเมินคำ�รบั รองการปฏิบัตริ าชการ 89
บทท่ี 1
บทนำ�
ค่มู ือค�ำ รบั รองการปฏบิ ัตริ าชการหน่วยงานกรมควบคมุ โรค 9
บทท่ี 1
บทนำ�
1.1 หลักการและท่มี า
ด้วยรัฐบาลมีนโยบายปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพการปฏิบตั ริ าชการ
เพ่อื ใหส้ ่วนราชการมีการพฒั นาปรบั ปรุงและยกระดบั คณุ ภาพการบรหิ ารงาน
โดยมุ่งผลสมั ฤทธิ์เพอื่ ประโยชน์สุขของประชาชน สว่ นราชการจงึ ต้อง
มกี ารดำ�เนนิ งานตามแผนงานโครงการทส่ี อดรับกบั นโยบายท่ีสำ�คญั เร่งด่วน
ของรัฐบาลตามแนวทางการขับเคลอ่ื นประเทศ แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวง
และเป้าหมายของประเทศไปสู่การปฏบิ ตั ิ ตลอดจนมกี ารตดิ ตามและ
ประเมนิ ผลการดำ�เนินงานให้เปน็ ไปตามเป้าหมายทร่ี ัฐบาลกำ�หนด โดย
กรมควบคมุ โรคได้กำ�หนดวิสัยทศั นพ์ นั ธกิจ ยทุ ธศาสตร์ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ
และเปา้ หมายสู่การดำ�เนินงาน โดยไดม้ ีการถ่ายทอดตัวช้วี ดั คำ�รับรอง
การปฏิบตั ิราชการสหู่ นว่ ยงานในสังกัด และมกี ารจดั ทำ�คำ�รับรองการปฏบิ ัติ
ราชการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมควบคมุ โรคประจำ�ปีงบประมาณ
ตลอดจนมีการตดิ ตามและประเมินผลการดำ�เนินงานให้เปน็ ไปตามเป้าหมาย
ท่ีรัฐบาลกำ�หนด โดยกรมควบคมุ โรค ได้กำ�หนดวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ ยทุ ธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการและเป้าหมายสู่การดำ�เนินงาน โดยไดม้ ีการถ่ายทอด
ตัวชีว้ ดั คำ�รบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการสู่หนว่ ยงานในสังกดั และมกี ารจัดทำ�
คำ�รบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงานในสังกดั กรมควบคุมโรคประจำ�ปี
งบประมาณ ตลอดจนมีการตดิ ตามประเมนิ ผลการดำ�เนนิ งานแตล่ ะไตรมาส
10 คู่มือค�ำ รบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการหน่วยงานกรมควบคมุ โรค
และประเมนิ ผลเม่ือสิ้นสดุ ปงี บประมาณ ซง่ึ สอดคลอ้ งกับกฎหมาย แผน
และมติคณะรฐั มนตรีทีเ่ ก่ียวข้องกับการจัดทำ�คำ�รับรองการปฏบิ ตั ิราชการ
ดงั ต่อไปนี้
พระราชบัญญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2545
มาตรา 3/1 บัญญัติวา่ “การบริหารราชการตามพระราชบญั ญัตนิ ต้ี ้องเป็นไป
เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ ความมี
ประสทิ ธภิ าพ ความค้มุ ค่าในเชิงภารกจิ แหง่ รฐั การลดขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน
การลดภารกิจและยุบเลกิ หน่วยงานทีไ่ มจ่ ำ�เป็น การกระจายภารกิจและ
ทรพั ยากรให้แก่ทอ้ งถน่ิ การกระจายอำ�นาจตัดสินใจ การอำ�นวยความสะดวก
และการตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน มผี ู้รบั ผิดชอบตอ่ ผลของงาน
การจดั สรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตง้ั บคุ คลเข้าดำ�รงตำ�แหนง่
หรือปฏบิ ัติหน้าท่ี ตอ้ งคำ�นงึ ถึงหลกั การตามวรรคหน่งึ ในการปฏิบัตหิ นา้ ที่
ของส่วนราชการ ตอ้ งใช้วิธกี ารบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทีด่ โี ดยเฉพาะอยา่ งย่งิ
ให้คำ�นงึ ถึงความรับผดิ ชอบของผ้ปู ฏิบัตงิ าน การมสี ว่ นร่วมของประชาชน
การเปดิ เผยข้อมลู การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัตงิ าน
ทง้ั นตี้ ามความเหมาะสมของแต่ละภารกจิ เพ่อื ประโยชน์ในการดำ�เนินการ
ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตราน้ี จะตราพระราชกฤษฎกี ากำ�หนดหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการ
ในการปฏบิ ัตริ าชการและการสง่ั การให้สว่ นราชการและขา้ ราชการปฏิบัติ
กไ็ ด้”
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการบริหารกจิ การ
บา้ นเมอื งทีด่ ี พ.ศ. 2546 มาตรา 9(3) และมาตรา 12 กำ�หนดใหก้ ารบรหิ าร
ราชการเพือ่ ใหเ้ กิดผลสัมฤทธติ์ ่อภารกิจภาครัฐ โดยสว่ นราชการตอ้ งจดั
ให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏบิ ตั ิตามแผนปฏิบัติราชการตาม
ค่มู อื คำ�รบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค 11
หลกั เกณฑ์และวิธกี ารที่ส่วนราชการกำ�หนดขนึ้ ซ่งึ ตอ้ งสอดคล้องกบั มาตรฐาน
ท่ีสำ�นกั งาน ก.พ.ร. กำ�หนด อาจเสนอต่อคณะรฐั มนตรเี พอื่ กำ�หนดมาตรการ
กำ�กับการปฏบิ ตั ริ าชการ โดยวธิ ีการจัดทำ�ความตกลงเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร
หรอื โดยวธิ กี ารอนื่ ใด เพื่อแสดงความรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิราชการ รวมทั้ง
มาตรา 45 กำ�หนดใหส้ ว่ นราชการจัดให้มคี ณะผปู้ ระเมินอสิ ระดำ�เนนิ การ
ประเมินผลการปฏิบัตริ าชการของสว่ นราชการเก่ยี วกบั ผลสมั ฤทธข์ิ องภารกิจ
คณุ ภาพการใหบ้ ริการ ความพึงพอใจของประชาชนผ้รู บั บริการ ความคุ้มค่า
ในภารกจิ ท้งั น้ตี ามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และระยะเวลาทส่ี ำ�นักงาน ก.พ.ร.
กำ�หนด
คณะรฐั มนตรีไดม้ ีมตเิ มอ่ื วันท่ี 30 กันยายน พ.ศ. 2546 มีมติเห็นชอบ
ในหลกั การและรายละเอยี ดของแนวทางและวธิ ีการในการสรา้ งแรงจูงใจ เพอ่ื
เสรมิ สรา้ งการบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองท่ดี ที ีส่ ำ�นกั งาน ก.พ.ร. เสนอ โดยกำ�หนด
ให้ทุกส่วนราชการจะต้องทำ�การพฒั นาการปฏบิ ัติราชการและทำ�ข้อตกลง
ผลงานกับผู้บังคบั บัญชาและคณะกรรมการเจรจาขอ้ ตกลงและประเมินผล
และจะไดร้ ับสงิ่ จูงใจตามระดับของผลงานตามที่ตกลง
มตคิ ณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 24 มกราคม 2555 เห็นควรให้มีการบรู ณาการ
ระบบการตดิ ตามและประเมินผลภาครฐั ใหม้ คี วามเป็นเอกภาพลดความซำ้� ซ้อน
และภาระงานเอกสาร ให้ส่วนราชการมุ่งเนน้ เฉพาะตวั ชว้ี ดั หลักเท่าทีม่ ี
ความจำ�เป็น
แผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555)
ยทุ ธศาสตร์ชาตทิ ี่ 3 กลยุทธ์ท่ี 3.3.4 ปรบั ปรุงกลไกและระบบการประเมนิ ผล
ตามคำ�รับรองการปฏิบัตริ าชการใหเ้ หมาะสมสอดรับกับพนั ธกจิ และลกั ษณะ
ของหนว่ ยงานของรฐั สามารถวัดผลได้ทั้งในระดับองคก์ ารและระดับบคุ คล
12 คูม่ อื ค�ำ รับรองการปฏิบัตริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค
รวมท้ังการพฒั นามาตรการเสรมิ สรา้ งแรงจูงใจตามผลงาน และขยายผล
ระบบบริหารยทุ ธศาสตรอ์ งค์การภาครฐั (Government Strategic
Management System : GSMS) ให้มคี วามเชอ่ื มโยงกับระบบการบริหาร
การเงินการคลงั ภาครัฐสรู่ ะบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (Government Fiscal
Management Information System : GFMIS) เพ่ือประมวลรายงาน
ผลการดำ�เนนิ งานตามตัวช้ีวัดควบคูไ่ ปกับรายงานผลทางการเงนิ ไดอ้ ย่างเปน็
ระบบ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2556 - 2561
เป็นกรอบแนวทางในการผลักดันการพฒั นาระบบราชการไทยในการมงุ่ สู่
การเปน็ องคก์ ารท่ีมีขดี สมรรถนะสูงและทันสมยั บุคลากรมคี วามเป็นมืออาชีพ
มีระบบการทำ�งานทีค่ ล่องตวั รวดเร็ว ปรับเปล่ียนกระบวนทศั น์ในการทำ�งาน
เนน้ การทำ�งานท่มี ปี ระสิทธภิ าพ ปรับปรงุ กลไกและระบบการประเมนิ ผล
การปฏิบัตริ าชการให้มคี วามเหมาะสม สอดรบั พันธกจิ และลกั ษณะงาน
ของหนว่ ยงานของรัฐใหส้ ามารถวัดผลได้
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) เปน็ การวางแผนและ
กำ�หนดยุทธศาสตร์การพฒั นาในระยะยาว เพ่อื กำ�หนดแนวทางการพัฒนา
ของทุกภาคสว่ นให้ขบั เคลอ่ื นไปในทศิ ทางเดียวกัน และทำ�ให้ประเทศไทย
พฒั นาไปสอู่ นาคตที่พงึ ประสงคต์ ามวิสยั ทศั นท์ ก่ี ำ�หนดไว้ มกี ารถ่ายทอดแนวทาง
การพัฒนาสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นแตล่ ะช่วงเวลา อยา่ งต่อเนอื่ งและมีการบูรณาการ
สรา้ งความเขา้ ใจถงึ อนาคตของประเทศไทยร่วมกนั และเกิดการรวมพลงั
ของทกุ ภาคสว่ นในสังคม ท้งั ประชาชน เอกชน และ ประชาสงั คมใน
การขับเคลื่อนการพฒั นาเพ่ือการสร้างและรักษาไวซ้ ่งึ ผลประโยชน์แห่งชาติ
และบรรลวุ ิสยั ทศั น์ “ประเทศไทยมีความมนั่ คง ม่งั ค่ัง ย่งั ยืน เป็นประเทศ
คมู่ อื ค�ำ รับรองการปฏิบัตริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค 13
พฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพอ่ื ให้
ประเทศมีขดี ความสามารถในการแข่งขัน มีรายไดส้ งู อยู่ในกลุม่ ประเทศ
พฒั นาแล้ว คนไทยมีความสขุ อยูด่ ีกนิ ดี สงั คม มีความมนั่ คง เสมอภาค
และเปน็ ธรรม ซง่ึ ยุทธศาสตรช์ าติจะใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางการพัฒนา
ประเทศไทยในระยะ 20 ปี นบั จาก ปี พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ท้งั นี้ยุทธศาสตร์
ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั ดำ�เนนิ งานของสำ�นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ไดแ้ ก่ ยุทธศาสตร์
ที่ 6 ด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ
(ยทุ ธศาสตร์หลัก) มเี ป้าหมาย ดังนี้
1. ภาครฐั มวี ฒั นธรรมการทำ�งานทมี่ ุ่งผลสัมฤทธแ์ิ ละผลประโยชน์
ส่วนรวม ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเร็ว
โปร่งใส
2. ภาครฐั มีขนาดทเ่ี ลก็ ลง พรอ้ มปรับตวั ให้ทันต่อการเปลย่ี นแปลง
3. ภาครฐั มคี วามโปร่งใส ปลอดการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ
4. กระบวนการยุตธิ รรม เปน็ ไปเพื่อประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมของประเทศ
แผนการปฏิรูปประเทศ 11 ดา้ น ตามทร่ี ัฐธรรมนญู แหง่
ราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 กำ�หนดใหร้ ฐั จัดให้มยี ุทธศาสตรช์ าตเิ พื่อเป็น
เปา้ หมายระยะยาวในการพัฒนาประเทศ ประกอบกับมาตรา 257 และ
มาตรา 259 กำ�หนดให้ทำ�การปฏริ ปู ประเทศเพ่ือวางรากฐานการพัฒนา
ไปส่ปู ระเทศท่ีมคี วามสามัคคปี รองดอง มกี ารพฒั นาอยา่ งยง่ั ยืนตำ�มหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและมคี วามสมดลุ ประชาชนในสังคมมโี อกาส
ทัดเทยี มกนั และมคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี รวมท้งั มสี ว่ นร่วมในการพฒั นาประเทศ
และการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ท้งั น้ี รฐั ธรรมนญู กำ�หนดใหเ้ ริม่ ดำ�เนนิ การปฏริ ูปในดา้ นตา่ ง ๆ ท่ีกำ�หนด
14 คูม่ ือคำ�รบั รองการปฏิบัตริ าชการหน่วยงานกรมควบคมุ โรค
ไวใ้ นรัฐธรรมนญู และทจ่ี ะกำ�หนดเพ่มิ เตมิ ภายในหนึง่ ปนี ับแต่วนั ประกาศ
ใช้รัฐธรรมนญู เพือ่ ให้บรรลเุ ป้าหมายทีก่ ำ�หนดไว้ในแผนการปฏิรปู แต่ละด้าน
โดยกลา่ วถงึ ดา้ นที่ 2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดินที่ระบบข้อมูลภาครัฐ
มีมาตรฐาน ทันสมยั และเช่อื มโยงกัน ก้าวสรู่ ฐั บาลดิจทิ ัล และขั้นตอน
การดำ�เนินงานพัฒนาคณุ ภาพอยา่ งต่อเนอื่ งให้ไดม้ าตรฐานสากลและสามารถ
นำ�ไปใชป้ ระโยชน์ในการบริหารราชการได้
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 -
2564) มุง่ เน้นการปฏิรปู ประเทศโดยการพฒั นาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
และนวตั กรรมคุณภาพคนและแรงงานสรา้ งธรรมาภิบาล พฒั นาโครงสร้าง
พ้นื ฐานและโลจสิ ตกิ ส์ ปรบั ปรงุ กฎระเบยี บพัฒนาพน้ื ทเี่ ศรษฐกจิ และ
ใช้ประโยชนจ์ ากกรอบความร่วมมอื ภมู ิภาค เพ่อื รบั มือกบั สถานการณโ์ ลก
ทีเ่ ปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วและแกป้ ญั หาพนื้ ฐานที่ส่งั สมมายาวนาน เชน่
ความเหลอื่ มล�ำ้ ในสงั คม การเข้าสสู่ ังคมสงู วยั และการลดลงของประชากร
วยั แรงงาน ความเส่อื มโทรมรอ่ ยหลอของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม
การบรหิ ารจดั การภาครัฐดอ้ ยประสทิ ธภิ าพ ขาดความโปรง่ ใส และปัญหา
คอรปั ชัน่ การพัฒนาภายใต้แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12 นบั เป็น 5 ปแี รกของ
ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 จึงถอื เปน็ เครือ่ งมือหรือกลไก
ส�ำคัญในการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สกู่ ารปฏบิ ตั ิใหบ้ รรลุเปา้ หมายใน
ระยะยาวแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12 ไดก้ ำ� หนดเป้าหมายท่ีจะต้องบรรลุ
ใน 5 ปีแรกโดยได้พิจารณาและวิเคราะห์ถึงการตอ่ ยอดใหเ้ กิดผลสมั ฤทธ์ิ
จากการดำ� เนนิ การตอ่ ไปอีกใน 5 แผนจวบจนถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 15
เพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายอนาคตประเทศไทยในปี 2579 ทกี่ �ำหนดไว้ใน
ยทุ ธศาสตรช์ าติ
ค่มู อื คำ�รับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานกรมควบคมุ โรค 15
สำ�นักงาน ก.พ.ร. ไดด้ ำ�เนนิ การใหส้ ว่ นราชการต่างๆ จดั ทำ�คำ�รบั รอง
การปฏิบตั ริ าชการ ต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 เปน็ ต้นมา และไดม้ ี
การพฒั นาและปรับปรุงแนวทางในการจัดทำ�คำ�รับรองการปฏิบัติราชการ
อย่างต่อเนอ่ื งเพอื่ ใหเ้ ปน็ กลไกหรอื เครอ่ื งมือในการผลักดนั ยทุ ธศาสตรป์ ระเทศ
ให้บรรลผุ ลสำ�เรจ็ รวมทัง้ การดำ�เนินงานตามคำ�รบั รองการปฏิบตั ิราชการ
เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยา่ งยัง่ ยืน
กรมควบคุมโรคกำ�หนดตัวช้ีวดั เป้าหมาย กรอบการประเมินผล
การปฏบิ ตั ริ าชการกรมควบคุมโรค ถา่ ยทอดใหห้ น่วยงานดำ�เนินการจดั ทำ�
ตวั ช้วี ดั ประกอบคำ�รับรองการปฏิบัติราชการหนว่ ยงาน กรมควบคมุ โรค
ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 เป็นตน้ มา และมีการตดิ ตามประเมนิ
ผลคำ�รับรองการปฏบิ ตั ิราชการหน่วยงาน โดยการประเมนิ ตนเอง (Self
Assessment Report: SAR) ในรอบ 6 และ 12 เดือน มีการประเมิน
ผลงานประจำ�ปโี ดยมีการพัฒนารปู แบบการประเมนิ ผลอยเู่ สมอเพอื่
ใหม้ ีมาตรฐานและเปน็ ธรรม และนำ�ผลการประเมินการปฏิบัตริ าชการ
มาพฒั นาองคก์ าร พัฒนาขดี สมรรถนะของบุคลากร สรา้ งองค์การแหง่
การเรยี นรู้ และใชป้ ระกอบการพิจารณาเลอื่ นขัน้ เงนิ เดอื น
16 คูม่ ือคำ�รบั รองการปฏิบัตริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค
1.2 วัตถปุ ระสงค์ของคมู่ ือ
การจัดทำ�คมู่ อื คำ�รบั รองการปฏิบตั ริ าชการหน่วยงานกรมควบคุมโรค
มวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั นี้
1. เพอ่ื สรา้ งความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั ตัวช้วี ัด แนวทางและวธิ ี
การประเมินผล
2. เพ่ือตดิ ตามความกา้ วหน้าและประเมินผลคำ�รบั รองการปฏิบตั ิ
ราชการหนว่ ยงานไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. เพ่อื ใหผ้ ปู้ ฏิบัตงิ านท่ีเกย่ี วข้อง ผูก้ ำ�กับดแู ลและผูจ้ ดั เกบ็ ตวั ชี้วดั
สามารถจดั ทำ�รายงาน และจัดเตรียมเอกสารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ครบถ้วน สมบรู ณ์
และทนั เวลาทก่ี ำ�หนด
1.3 กรอบการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการ
กรมควบคมุ โรคก�ำหนดการจัดทำ� ค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ
หน่วยงานกรมควบคุมโรค ภายใต้กรอบการประเมนิ ผลทงั้ 5 องคป์ ระกอบ
ตามแนวทางการประเมินของสำ� นกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
และก�ำหนดใหน้ ้ำ� หนักท้ัง 5 องค์ประกอบรวมเท่ากบั ร้อยละ 100 ดังนี้
องคป์ ระกอบที่ 1 ประสทิ ธิภาพในการด�ำเนนิ งานตามหลกั ภารกจิ
พ้นื ฐาน งานประจ�ำงานตามหน้าท่ีปกติ หรืองานตามหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบหลัก
งานตามกฎหมาย กฎ นโยบายของรฐั บาล หรอื มตคิ ณะรัฐมนตรี (Functional
Base)
คมู่ ือคำ�รบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค 17
องค์ประกอบท่ี 2 ประสิทธิภาพในการดำ� เนนิ งานตามหลกั ภารกจิ
ยุทธศาสตร์ แนวทางปฏิรปู ภาครัฐ นโยบายเร่งดว่ น หรือภารกิจท่ีไดร้ บั มอบหมาย
เปน็ พิเศษ หรอื การบรู ณาการการด�ำเนินงานร่วมกันหลายหน่วยงาน (Agenda
Base)
องคป์ ระกอบที่ 3 ประสทิ ธภิ าพในการดำ�เนินงานตามหลกั ภารกจิ
พ้นื ท/่ี ทอ้ งถนิ่ ภูมิภาค จงั หวัดกลมุ่ จังหวัด (Area Base)
องคป์ ระกอบท่ี 4 ประสทิ ธภิ าพในการบริหารจดั การและพัฒนา
นวัตกรรมในการบรหิ ารจัดการระบบงาน งบประมาณ ทรพั ยากรบคุ คล และ
การให้บริการประชาชนหรอื หน่วยงานของรัฐ เพอ่ื ไปสรู่ ะบบราชการ 4.0
(Innovation base)
องคป์ ระกอบท่ี 5 ศกั ยภาพในการดำ�เนินการของสว่ นราชการ
ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (Potential Base)
1.4 โครงสรา้ งและบทบาทหนา้ ท่ีของคณะอนกุ รรมการและคณะทำ�งาน
ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
การจัดทำ�คำ�รับรองการปฏบิ ัติราชการหนว่ ยงาน กรมควบคุมโรค
ประกอบดว้ ยคณะอนุกรรมการและคณะทำ�งานท่ีเกี่ยวข้อง ดังนี้
1.4.1 คณะอนุกรรมการดำ�เนนิ งานพฒั นาระบบราชการ
กรมควบคุมโรค มีหนา้ ท่ี
1. รวบรวมขอ้ มลู ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนวทาง
ในการพฒั นาระบบราชการของกรมควบคุมโรค
2. จดั ทำ�นโยบายการกำ�กับดแู ลองค์การที่ดี ผลักดนั
การดำ�เนนิ การตามนโยบายที่กำ�หนดข้นึ ใหเ้ กิดผลเป็นรปู ธรรม รวมทั้ง
18 คมู่ อื ค�ำ รับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานกรมควบคุมโรค
กำ�หนดแนวทางการประเมนิ ผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายการกำ�กบั ดแู ล
องค์การทด่ี ี
3. ตดิ ตามกำ�กับการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ (Performance
Agreement : PA) การประเมินผบู้ รหิ ารองคก์ าร และการประเมนิ สว่ น
ราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการ
4. กำ�หนดกรอบการจัดทำ�คำ�รบั รองการปฏิบตั ิราชการ และ
แนวทางการติดตามประเมินผลการปฏบิ ัติราชการของหน่วยงานกรมควบคุมโรค
5. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ตดิ ตามกำ�กับ ดูแล และแกไ้ ขปัญหาต่างๆ
ในการดำ�เนินการตามแนวทางการพัฒนาระบบราชการของกรมควบคุมโรค
6. พจิ ารณาแต่งต้งั คณะทำ�งาน หรือบคุ คล เพ่ือมอบหมายให้
ดำ�เนินการใดแทนคณะอนุกรรมการ ไดต้ ามความเหมาะสม
1.4.2 แตง่ ตั้งคณะทำ�งานตดิ ตามความกา้ วหนา้ และประเมินผล
คำ�รบั รองการปฏบิ ัตริ าชการหนว่ ยงาน มีหนา้ ท่ี
1. ติดตามความก้าวหน้าผลการดำ�เนินงาน รอบ 6 และ
12 เดือน เพ่ือรวบรวมข้อมูลในการประเมนิ ผลคำ�รบั รองการปฏบิ ตั ิราชการ
หน่วยงานสรุปวเิ คราะห์ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะแก่หน่วยงาน
ในสังกัดกรมควบคมุ โรค
2. จัดทำ�เครื่องมือ (Check Sheet) ในการประเมนิ ผล
ตัวชีว้ ดั คำ�รบั รองการปฏิบตั ิราชการหนว่ ยงาน กรมควบคุมโรค
3. ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของเอกสารหลกั ฐานประกอบ
รายละเอียดตัวชี้วดั คำ�รบั รองการปฏิบัตริ าชการหน่วยงาน กรมควบคุมโรค
ในระบบบรหิ ารจดั การเชิงยทุ ธศาสตร์ (Estimates SM)
4. ประเมินผลคำ�รับรองการปฏบิ ตั ริ าชการหนว่ ยงาน รอบ 6 เดือน
และรอบ 12 เดือน
คมู่ อื คำ�รับรองการปฏบิ ัติราชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค 19
1.5 ค�ำ รบั รองการปฏิบัตริ าชการหน่วยงาน กรมควบคุมโรค
1.5.1 คำ� รบั รองการปฏบิ ัตริ าชการหน่วยงาน กรมควบคุมโรค
ถือเป็นคำ� รับรองของหน่วยงานฝ่ายเดียว ไมใ่ ช่สัญญาและใช้สำ� หรับระยะ
เวลา 1 ปงี บประมาณ เอกสารประกอบคำ� รับรองการปฏิบัตริ าชการ
หนว่ ยงานประกอบด้วย
วิสยั ทัศน์ พันธกิจ แผนที่ยทุ ธศาสตร์หนว่ ยงาน
ตัวชี้วัด นำ�้ หนัก เปา้ หมาย และเกณฑ์การใหค้ ะแนนตาม
แผนปฏิบตั ริ าชการของหนว่ ยงาน และตวั ช้วี ัดทีถ่ ่ายทอดใหห้ น่วยงาน
1.5.2 การลงนามคำ� รับรองการปฏิบัติราชการหนว่ ยงาน กรมควบคุมโรค
เป็นการลงนามระหว่างหวั หนา้ หนว่ ยงานและรองอธบิ ดีที่ได้รบั มอบหมาย
ให้ก�ำกบั ดูแลหนว่ ยงานกับอธิบดี ดงั น้ี
ผรู้ บั ค�ำรับรอง : อธิบดีกรมควบคมุ โรค
ผู้ท�ำคำ� รับรอง : รองอธิบดกี รมควบคมุ โรค/ ผอู้ �ำนวยการกอง/
ส�ำนกั / สถาบัน/ ศนู ย/์ กลมุ่ และ สคร. 1-12
20 คมู่ ือค�ำ รบั รองการปฏิบัตริ าชการหน่วยงานกรมควบคมุ โรค
บทที่ 2
การจัดท�ำ ค�ำ รับรองการปฏิบัติราชการหนว่ ยงาน
กรมควบคมุ โรค
คู่มอื คำ�รบั รองการปฏบิ ตั ิราชการหน่วยงานกรมควบคมุ โรค 21
บทท่ี 2
การจดั ทำ�ค�ำ รับรองการปฏิบตั ิราชการหนว่ ยงาน
กรมควบคมุ โรค
2.1 การเลือกตวั ชว้ี ดั คำ�รับรองการปฏิบตั ิราชการหนว่ ยงาน
องคป์ ระกอบที่ 1 ประสิทธภิ าพในการดำ�เนนิ งานตามหลกั ภารกิจพ้นื ฐาน
งานประจำ� งานตามหนา้ ทีป่ กติ หรอื งานตามหนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบหลกั งาน
ตามกฎหมาย กฎ นโยบายของรัฐบาล หรอื มตคิ ณะรฐั มนตรี (Functional
Base)
1. การดำ�เนินงานตามหลกั ภารกจิ พนื้ ฐาน งานประจำ� งานตาม
หนา้ ทป่ี กติ หรืองานตามหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบหลัก
2. การดำ�เนนิ งานตามกฎหมาย
3. การดำ�เนินงานตามนโยบายและแผนของรฐั บาลและมติ
คณะรฐั มนตรี
4. การดำ�เนนิ การตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
และแผนยทุ ธศาสตร์ของหนว่ ยงาน
องค์ประกอบที่ 2 ประสิทธภิ าพในการดำ�เนินงานตามหลกั ภารกิจยทุ ธศาสตร์
แนวทางปฏริ ูปภาครฐั นโยบายเรง่ ด่วน หรอื ภารกจิ ที่ได้รบั มอบหมาย
เป็นพิเศษ หรือการบรู ณาการการดำ�เนนิ งานร่วมกันหลายหน่วยงาน (Agenda
Base)
22 คมู่ อื คำ�รับรองการปฏิบัตริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค
1. การดำ�เนินการขอ้ สั่งการของนายกรัฐมนตรี
2. การดำ�เนินการตามวาระการขบั เคล่อื นและการปฏริ ปู ประเทศ
3. การแกไ้ ขปญั หาสำ�คัญเฉพาะเรื่องหรือภารกจิ ที่ได้รับมอบหมาย
พเิ ศษจากนายกรฐั มนตร/ี รองนายกรัฐมนตรี/ รฐั มนตรีท่กี ำ�กับและ
ตดิ ตามการปฏบิ ตั ริ าชการ
องคป์ ระกอบที่ 3 ประสทิ ธิภาพในการดำ�เนนิ งานตามหลักภารกิจพ้ืนท/่ี
ท้องถิ่น ภูมภิ าค จังหวดั กลุ่มจังหวัด (Area Base)
1. การดำ�เนนิ งานตามภารกิจในพน้ื ที/่ ทอ้ งถน่ิ ภมู ิภาค จังหวัด
กลมุ่ จงั หวดั
2. การบูรณาการการทำ�งานร่วมกันระหว่างกระทรวง/จงั หวัด
(Function - Area KPIs)
องค์ประกอบที่ 4 ประสิทธิภาพในการบริหารจดั การและพฒั นานวัตกรรม
ในการบริหารจัดการระบบงาน งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล และการให้บรกิ าร
ประชาชนหรอื หนว่ ยงานของรฐั เพื่อไปส่รู ะบบราชการ 4.0 (Innovation base)
4.1 การพัฒนานวตั กรรม ให้เสนอนวตั กรรมรูปแบบใดรูปแบบหนงึ่
เช่น
นวตั กรรมเชงิ นโยบาย (Policy Innovation) เปน็ การคดิ รเิ รมิ่
นโยบาย กฎหมายและกฎใหม่ ๆ ใหท้ ันสมัย เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์
รวมท้งั ให้มคี วามเช่ือมโยงกับยุทธศาสตร์ของประเทศ เช่น พัฒนาผงั เมอื ง
ให้เปน็ ย่านนวตั กรรมเพอ่ื ผู้ประกอบการธุรกิจนวตั กรรมไทย เป็นตน้
คู่มอื คำ�รบั รองการปฏบิ ตั ิราชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค 23
นวตั กรรมให้บริการ (Service Innovation) เป็นนวัตกรรม
ท่นี ำ�มาใช้พฒั นาและสรา้ งคณุ คา่ ในงานบรกิ ารภาครัฐ การปรับปรงุ บริการ
หรอื สร้างบริการใหม่ เพื่อยกระดับประสทิ ธิภาพการใหบ้ รกิ ารประชาชน
เช่น หนว่ ยบรกิ ารเคลอื่ นทกี่ ารจดทะเบียนนติ ิบคุ คลออนไลน์ เป็นตน้
นวตั กรรมการบริหาร/องค์การ (Administrative or Organizational
Innovation) เปน็ การสร้างหรอื ปรบั ปรุงกระบวนงานใหม่ (New Process)
รวมท้งั การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารงาน เพ่ือเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการดำ�เนินงาน
ของภาครัฐ หรือกระบวนการจดั โครงสร้างหน่วยงานรปู แบบใหม่ หรือการวาง
ระบบใหม่ซึ่งสง่ ผลต่อการปรบั โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผมู้ ีสว่ นได้
ส่วนเสยี ฝา่ ยตา่ งๆ เช่น PMQA (4.0) การจัดหนว่ ยบรกิ ารรูปแบบพเิ ศษ
เปน็ ต้น
4.2 การพฒั นาประสทิ ธิภาพในการปฏิบัตงิ าน
การพฒั นาและปรับปรุงการทำ� งานด้านการใหบ้ ริการใหม้ ี
ประสิทธภิ าพ เช่น การลดปรมิ าณเอกสาร การลดการใชพ้ ลังงาน การลด
ภาระงบประมาณ การลดขั้นตอนการทำ� งานและปรมิ าณงานท่ีซ้�ำซ้อน
การบูรณาการความรว่ มมือระหวา่ งหนว่ ยงาน การแก้ไขปัญหาทุจรติ
การเพิม่ การอำ� นวยความสะดวกให้แก่ประชาชน
องคป์ ระกอบที่ 5 ศกั ยภาพในการด�ำเนินการของส่วนราชการตามแผน
ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (Potential Base)
5.1 การจดั ทำ�และดำ�เนนิ การตามแผนการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์ชาติ
เปน็ การจัดทำ�และดำ�เนินการตามแผนการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์ชาติ
การจดั ทำ�แผนการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรช์ าติ ตามภารกิจ/
บทบาท ของส่วนราชการ
24 คมู่ ือค�ำ รับรองการปฏบิ ัตริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค
ผลผลิตท่ีเกดิ ขน้ึ จริงในแต่ละไตรมาสเทยี บกับการใช้จา่ ยเงนิ
งบประมาณของสว่ นราชการ จากระบบ GFMIS
5.2 การดำ�เนนิ การจัดทำ�แผนปฏริ ูปองคก์ าร
ภาพที่ 1 แนวคดิ การจัดทำ�ตัวช้ีวัดคำ�รบั รองการปฏบิ ัตริ าชการ
ค่มู อื คำ�รับรองการปฏิบตั ิราชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค 25
2.2 ข้นั ตอนการจัดท�ำ คำ�รบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการหน่วยงาน กรมควบคุมโรค
ข้นั ตอนการจัดทาํ คํารับรองการปฏิบัติราชการ
สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ แจงกรอบตวั ช้ีวดั ยุทธศาสตรกระทรวง
เจราตัวช้ีวดั /คาเปา หมาย เจา ภาพกาํ หนดตวั ชวี้ ดั และ
เกณฑป ระเมนิ ระดบั หนว ยงาน
เจา ภาพจดั ทํา KPI Template ชแ้ี จงแนวทางและ
เกณฑป ระเมนิ การหนว ยงาน
ลงนามคํารับรองฯ ระดับกรม หนว ยงานจดั ทาํ คาํ รบั รอง
รายงานผลการดําเนนิ งาน เจรจาตวั ชว้ี ดั /คา เปา หมาย
รอบ 6 และ 12 เดือน ลงนามคาํ รบั รองฯ ระดบั หนว ยงาน
ประเมนิ ผลการดําเนนิ งานจาก รายงานผลการดาํ เนนิ งานรอบ หนว ยงานลงนามคาํ รบั รองฯ
สาํ นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 6 เดอื น และ 12 เดอื น ระดบั หนว ยงานสกู ลมุ /ฝา ย
กรมรับทราบผลการประเมิน
เจา ภาพประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งาน ระดบั กลมุ /ฝา ย
หนว ยงานรบั ทราบผลการประเมนิ มอบหมายงานสบู คุ คล
หนว ยงานอทุ ธรณผ ลการประเมนิ ประเมนิ ผลบคุ คล (PMS)
รอบ 6 เดอื น และ 12 เดอื น
นาํ ผลการประเมนิ เชอื่ มกบั
การเลอื่ นขนั้ เงนิ เดอื น
26 ค่มู อื ค�ำ รับรองการปฏบิ ัติราชการหน่วยงานกรมควบคมุ โรค
ค่มู อื ค�ำ รบั รองการปฏิบตั ริ าชการหน่วยงานกรมควบคุมโรค 27 22.3.3กรกะรบะวบนวกนารกจาัดรทจำคัดำทรับ�ำ รคอำ�งรกาับรรปอฏงิบกตั ิราารชปกฏาริบหตันว่ริ ยางชากนากรรหมคนวว่ บยคงมุ าโรนคกรมควบคุมโรค
11
12
28 ค่มู ือค�ำ รับรองการปฏบิ ตั ิราชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค
13
ค่มู อื ค�ำ รบั รองการปฏิบตั ริ าชการหน่วยงานกรมควบคุมโรค 29
30 ค่มู ือค�ำ รับรองการปฏบิ ตั ิราชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค 2.42.4กรกรออบบคคำำ�รรบั ับรรอองกงากรปาฏริบปตั ฏริ บิาชัตกริ าารหชนกว่ ายรงหานนกว่ รยมงคาวนบคกมุ รโรมคควบคุมโรค
14
2.5 ประเภทของตัวชี้วดั และคา่ เปา้ หมาย
ความหมาย ตัวชวี้ ัด (Key Performance Indicators)
ตัวชีว้ ดั เปน็ เคร่ืองมอื หรือดัชนที ่ใี ช้วัดความก้าวหน้าของการบรรลุ
แต่ละกลยทุ ธ์จะตอ้ งสามารถวดั และกำ�หนดเปา้ หมายของความสำ�เรจ็ ได้
ทกุ กลยทุ ธ์ต้องมตี วั ชีว้ ัดเพือ่ ใหเ้ ห็นถงึ ความสำ�เร็จอย่างเป็นรูปธรรม
ตวั ชวี้ ัดเปน็ เครอ่ื งมือบง่ ช้ีถึงผลของโครงการ ไม่ว่าจะเปน็ การ
ประเมนิ ผลในระดับใด ซ่ึงตวั ช้ีวัดทางการประเมนิ มีลักษณะคลา้ ยกบั ตัวแปร
ในการวิจยั คอื มคี วามเปน็ นามธรรมและข้นึ อยกู่ บั ทฤษฎี
ตัวชวี้ ดั เป็นสญั ลักษณห์ รือเครือ่ งบง่ ชค้ี วามสำ�เรจ็ ของโครงการ
ว่าเป็นไปตามเป้าหมายทก่ี ำ�หนดไว้หรือไม่
ตัวชวี้ ดั อาจเป็นตวั ชวี้ ัดท่สี รา้ งข้นึ ใหม่หรอื เป็นตัวชว้ี ัดท่ีมีอยแู่ ลว้
และนำ�มาพฒั นาเพือ่ ให้เกดิ ความสอดคลอ้ ง เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
การประเมิน
ความส�ำ คัญ ตัวชว้ี ัดมคี วามสำ�คญั คือ เปน็ เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการติดตาม
ประเมินผลเพ่ือให้กจิ กรรมน้นั บรรลุ วตั ถุประสงค์ตามแผนและเป้าหมาย
ตัวช้วี ัดท่ดี ีสามารถคาดการณเ์ หตุการณ์ลว่ งหน้าได้ ทำ�ใหส้ ามารถแกป้ ญั หา
หรอื วางแผนการปฏิบตั งิ านในอนาคต เพ่อื ให้การปฏิบตั งิ านต่อไปประสบผล
สำ�เร็จตามวัตถุประสงคอ์ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล ปจั จุบันภาครฐั
ไดม้ กี ารนำ�ตัวช้วี ัดทเ่ี รียกวา่ ตัวชี้วัดผลการดำ�เนนิ งาน(ผลสำ�เรจ็ )หลกั (Key
Performance Indicators : KPI) มาเปน็ เครือ่ งมอื ในการวดั ประสทิ ธภิ าพ
ประสทิ ธิผลในการทำ�งานและใชเ้ ป็นเกณฑ์พจิ ารณาในการจดั สรรเงนิ รางวลั
คู่มอื คำ�รับรองการปฏิบตั ิราชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค 31
(Bonus) และการพิจารณาเลื่อนขัน้ เงินเดือนแก่ขา้ ราชการและลูกจา้ งของ
ส่วนราชการตา่ ง ๆ โดยคาดหวงั ว่าจะเปน็ เครอ่ื งมือกระต้นุ ใหข้ า้ ราชการทำ�งาน
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและมผี ลตอบแทนทเ่ี ป็นธรรม
ตัวชวี้ ดั มีลกั ษณะท่ีสำ�คญั 2 ประการ ได้แก่
1. ตัวชวี้ ดั จะต้องสามารถให้ค่าหรือบ่งบอกคณุ ลักษณะของสง่ิ ท่ที ำ�
การวดั วา่ มปี รมิ าณหรอื คณุ ลกั ษณะเช่นไร ส่วนจะมีความหมายอย่างไรจะตอ้ ง
น�ำไปตคี ่าหรอื เปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานจึงจะทราบไดว้ า่ ส่งิ นน้ั
มคี า่ สูงหรือต�ำ่ ได้มาตรฐานหรอื ไมเ่ พยี งใด
2. คา่ หรอื คุณลกั ษณะทีไ่ ด้จากตวั ชีว้ ัดมีความหมายภายใตเ้ งือ่ นไข 2
ประการ คอื
2.1 เงอ่ื นไขของเวลา คือ ตัวชวี้ ดั จะบ่งบอกสถานภาพของ
สิ่งทมี่ ่งุ วดั เฉพาะชว่ งเวลาใดเวลาหนง่ึ เชน่ ระยะเวลา 1 สัปดาห์ 3 เดอื น
1 ปี ขึ้นอยกู่ บั ระยะเวลาทีเ่ ก็บรวบรวมข้อมูลมาใช้และการตคี วามหมาย
2.2 เง่อื นไขของสถานท่ี คอื ตัวชี้วัดจะบง่ บอกสถานภาพของ
สิง่ ท่มี งุ่ วดั เฉพาะในเขตพ้นื ที่ หรือบริเวณ หรอื สว่ นใดส่วนหนง่ึ ของระบบ
ทีท่ ำ� การตรวจสอบ เชน่ ระดบั ตำ� บล อ�ำเภอ จงั หวดั ดา้ นปัจจยั การะบวนการ
หรือผลลัพธ์ เปน็ ต้น
2.5.1 ประเภทของตวั ช้วี ดั
1. ตัวชี้วัดมี 2 ประเภท คือ
1) ตัวชวี้ ัดเชิงปรมิ าณ มีค่าเป็นตัวเลข เช่น จำ� นวนคน น�ำ้ หนัก
งบประมาณ
32 คมู่ ือค�ำ รับรองการปฏบิ ัติราชการหน่วยงานกรมควบคุมโรค
2) ตัวชว้ี ัดเชงิ คุณภาพ เชน่ คุณภาพชวี ติ ความพงึ พอใจของ
ผูร้ บั บริการ การเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรม
2. ประเภทของตัวชว้ี ดั และคา่ เป้าหมาย ตามแนวทางของสำ� นกั งาน
ก.พ.ร. ตัวชว้ี ดั เป็นสิ่งทีถ่ ูกกำ� หนดขน้ึ เพ่ือใชว้ ดั ว่าผลการปฏบิ ตั ริ าชการในเรื่อง
ทพ่ี จิ ารณาอยไู่ ดผ้ ลเป็นเชน่ ใดนนั้ อาจแบ่งออกได้เปน็ 3 ประเภท มลี กั ษณะ
ดังนี้
ภาพที่ 2 ประเภทของตวั ชว้ี ัด
2.1 ตัวชี้วดั เชงิ ปริมาณ คอื ปริมาณท่ีถกู ก�ำหนดขน้ึ เพ่ือใช้วัดส่งิ ท่ี
นับได้ หรอื ส่ิงทมี่ ีลกั ษณะเชิงกายภาพ โดยมหี น่วยการวดั เชน่ จำ� นวน
ร้อยละ และระยะเวลา เปน็ ต้น ตัวช้ีวดั เชงิ ปรมิ าณจะเหมาะสมส�ำหรบั
การวดั ในสงิ่ ทจ่ี ัดตอ้ งได้ เป็นรูปธรรม และมีความชัดเจน
คู่มอื คำ�รับรองการปฏบิ ตั ิราชการหน่วยงานกรมควบคุมโรค 33
2.2 ตวั ชว้ี ดั เชงิ ปริมาณทใ่ี ชว้ ดั สง่ิ ทเ่ี ป็นนามธรรม เชน่ ความพึงพอใจ
ระดับความเขา้ ใจของผู้เข้ารบั การอบรม เป็นตน้ สิง่ เหล่าน้ีแม้จะไม่มลี ักษณะ
เชงิ กายภาพท่สี ามารถนบั เป็นจ�ำนวนได้อย่างชดั เจน แต่สามารถวดั เปน็
เชงิ ปรมิ าณได้ โดยสร้างเครื่องมือเพื่อใชว้ ดั สิ่งท่เี ปน็ นามธรรมเหลา่ นีข้ ึ้น
เช่น การวดั ความพึงพอใจอาจท�ำได้โดยการพฒั นาเครอ่ื งมอื วดั ซง่ึ ไดแ้ ก่
แบบสอบถามความพึงพอใจ เพ่อื ใหผ้ ู้รบั บริการเปน็ ผูป้ ระเมนิ โดยประเภท
ของตวั ช้วี ัดและคา่ เปา้ หมาย ตัวชว้ี ัดเชิงปริมาณ ตวั ชีว้ ัดเชิงปริมาณทใ่ี ช้
วัดสิ่งท่เี ป็นนามธรรม ตัวชว้ี ดั เชงิ คุณภาพ 4 คะแนนสูง หมายถึง พงึ พอใจมาก
สว่ นคะแนนตำ�่ หมายถงึ พงึ พอใจน้อย ท้งั นี้ คะแนนทีไ่ ดร้ ับมาจากผรู้ ับบรกิ าร
แตล่ ะรายเมื่อน�ำมาประมวลผลรว่ มกนั จะได้คะแนนเฉลย่ี ทแ่ี สดงถงึ ระดบั
ความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารโดยรวม
โดยสรุปวธิ ีการวดั สงิ่ ท่เี ป็นนามธรรมดังกล่าว เปน็ การด�ำเนนิ การตาม
แนวทางของการวจิ ยั เชิงสังคม (Social Science Research) โดยผ้กู ำ� หนด
ตัวชวี้ ดั สามารถประยกุ ต์แนวทางของการวิจัยเชิงสังคมดังกลา่ ว มาใช้กับการวดั
เพ่ือการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการได้ ดงั น้ี
1. พิจารณาสง่ิ ท่ีเปน็ นามธรรมท่ตี อ้ งการวดั จากนน้ั จงึ กำ�หนดชอ่ื
ตวั ช้ีวดั ท่สี ะทอ้ นถงึ ส่งิ ที่เป็นนามธรรมน้ัน ๆ
2. กำ�หนดกลุ่มเปา้ หมายที่จะใหข้ อ้ มูลในการวดั และวธิ กี ารเกบ็
รวบรวมขอ้ มลู จากกลุ่มเป้าหมายเหลา่ น้ัน รวมถึงจำ�นวนกลุ่มเปา้ หมาย
ที่จะเกบ็ ข้อมลู การเกบ็ ข้อมูลขึน้ อยู่กับสิ่งที่ตอ้ งการวดั กลมุ่ เป้าหมายที่จะ
ใหข้ ้อมูล และความสามารถในการเข้าถงึ กลมุ่ เป้าหมายที่จะให้ขอ้ มูล
โดยอาจเลือกเก็บขอ้ มลู ได้ ดังน้ี
1) เก็บขอ้ มลู ทันที ณ จุดบรกิ ารหรอื จุดปฏบิ ัตงิ าน เชน่ เก็บข้อมลู
34 คู่มือค�ำ รับรองการปฏิบตั ริ าชการหน่วยงานกรมควบคุมโรค
วัดความพงึ พอใจทันทีเมือ่ ใหบ้ รกิ ารเสร็จ เกบ็ ข้อมลู โดยวิธีการสอบทนั ที
เมอื่ ทำ�การฝึกอบรมแลว้ เสรจ็ เปน็ ตน้ การเกบ็ ขอ้ มูลแบบนี้จะเป็นการ
เกบ็ ข้อมลู ทลี ะรายการ(Transactional) และเมอ่ื จะประเมนิ ผลการปฏิบัติ
ราชการกใ็ ห้นำ�เอาข้อมลู ทุกรายการทเี่ กิดขึน้ ในรอบการประเมินนน้ั ๆ
มาประมวลผลเพีอ่ สรุปเป็นผลการปฏบิ ัติราชการท่เี กดิ ขึ้นจรงิ สำ�หรับรอบ
การประเมินดงั กลา่ ว
2) เก็บขอ้ มูลเพือ่ ประมวลผล ณ ปลายรอบการประเมิน เช่น
เกบ็ ข้อมลู วดั ความพึงพอใจในเดอื นมนี าคม เพอื่ วดั ความพึงพอใจตอ่ การ
ให้บรกิ ารในรอบการประเมินที่ 1 (ตุลาคม – มีนาคม) เป็นตน้ การเกบ็
ขอ้ มลู แบบนีเ้ ปน็ การเกบ็ ข้อมลู ในลักษณะรวบยอด ดังเช่นตวั อย่างจะทำ�การ
ออกแบบสอบถามในครง้ั เดียว เมอื่ ไดแ้ บบสอบถามกลบั มาแลว้ ก็จะนำ�
ขอ้ มูลจากแบบสอบถามมาประมวลผลเพ่ือสรปุ เปน็ ผลการปฏิบตั ิราชการ
ท่เี กดิ ข้นึ จริงสำ�หรับรอบการประเมินนนั้ ๆ
ตัวชี้วดั เชิงสังคม (Social Indicators) หมายถงึ ส่งิ ทแ่ี สดงออก
เป็นตัวเลขทใ่ี ช้วดั ในมุมที่เกยี่ วขอ้ งกบั แนวความคดิ ทางสงั คม ซงึ่ เปน็
เชิงนามธรรมให้เป็นตวั แปรเชิงรูปธรรมทสี่ ามารถวดั ไดภ้ ายใต้ระบบสารสนเทศ
ท่ีเปน็ อนั หนึ่งอันเดยี วกันเพอื่ ประกอบการตดั สินใจของผู้บริหาร ตวั ชว้ี ดั
ทางสงั คมจงึ มีลกั ษณะเป็นตวั แทนของสงิ่ ทเี่ ปน็ นามธรรม ซง่ึ ให้นยิ าม
เชงิ ปฏบิ ัติการในการวเิ คราะหแ์ ละติดตามผลเปน็ เชงิ ปริมาณ ลกั ษณะของ
ตัวชีว้ ดั ทางสังคม มดี ังน้ี
1. ตวั ชี้วัดทางสังคมจำ�แนกตามระดบั ไดแ้ ก่
1) ตัวชว้ี ดั ปัจจัยในกระบวนการผลติ (Input Indicators) ทีแ่ สดง
ถงึ วิธีการดำ�เนนิ งาน เชน่ จำ�นวนงบประมาณ จำ�นวนนักศกึ ษาที่สมัคร
คู่มือคำ�รบั รองการปฏบิ ตั ิราชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค 35
2) ตัวชว้ี ดั ผลผลติ (Output Indicators) ท่ีแสดงถงึ ผลผลติ จาก
กระบวนการผลติ เชน่ จำ�นวน นกั ศึกษาทจี่ บหลกั สูตร อาจพจิ ารณาเพยี ง
ระดับผลผลติ ทีเ่ กิดขึน้ หรอื อาจพจิ ารณาถงึ ผลในระยะยาววา่ สงั คมได้อะไร
2. ตัวช้วี ดั ทางสังคมจำ�แนกตามมาตรวัด ไดแ้ ก่
1) ตัวชว้ี ัดเชิงวัตถวุ ิสัย (Objective Indicators) ทม่ี ีค่าเปน็
ตัวเลขทางคณติ ศาสตร์และมีนยั ทางสถิติ เช่น รายได้ ผลผลิตต่อไร่
2) ตวั ชวี้ ัดเชิงอตั วิสยั (Subjective Indicators) ที่เป็นข้อมลู แสดง
ความร้สู กึ ทัศนคติ ความนิยม ความคดิ เหน็ และความเช่อื เช่น ความพงึ พอใจ
ตอ่ การให้บริการของเจา้ หนา้ ท่ี
3. ตวั ช้ีวัดทางสงั คมจำ�แนกตามค่าของตัวช้วี ัด ไดแ้ ก่
1) ตวั ชีว้ ดั เชิงบวก (Positive Indicators) ที่มคี า่ ตัวเลขมีแนวโน้ม
ในทางเพิ่มข้ึน แสดงถงึ แนวโน้มการพัฒนาสงั คมในทางทีพ่ ึงประสงค์ เช่น
อัตราการรูห้ นงั สือสูงขนึ้
2) ตัวช้วี ัดเชิงลบ (Negative Indicators) ทมี่ ีค่าตวั เลขมแี นวโนม้
ในทางลดลง แสดงถึงแนวโนม้ การพัฒนาสังคมไปในทางทพ่ี งึ ประสงค์
เช่น อัตราการป่วยลดลง
2.3 ตวั ช้ีวดั เชิงคุณภาพ คอื ตัวช้วี ัดทใ่ี ช้วัดสงิ่ ทีไ่ ม่เป็นค่าเชงิ ปริมาณ
หรือเปน็ หนว่ ยวดั ใด ๆ แต่จะเปน็ การวัดท่ีอิงกบั ค่าเปา้ หมายทม่ี ีลกั ษณะ
พรรณนาหรอื เปน็ คำ�อธบิ ายถึงเกณฑ์การประเมนิ ณ ระดับคา่ เป้าหมาย
ตา่ ง ๆ ตัวชวี้ ัดและค่าเปา้ หมายนี้ ทำ�หน้าที่เสมือนหน่ึงเปน็ เกณฑห์ รอื
กรอบกำ�กับการใช้วิจารณญาณของผปู้ ระเมิน โดยทว่ั ไปการกำ�หนดตัวช้วี ัด
เชงิ คณุ ภาพ ควรพิจารณาถงึ ค่าเป้าหมายควบคู่ไปพร้อมกนั เน่ืองจาก
36 คู่มือค�ำ รับรองการปฏบิ ตั ิราชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค
ชือ่ ของตวั ชวี้ ดั เชิงคุณภาพน้ันมแี นวโน้มทจี่ ะเปน็ คำ�กว้าง ๆ ไม่เฉพาะเจาะจง
ดังน้นั คา่ เป้าหมายจงึ เปน็ ตวั ทจ่ี ะชว่ ยบอกถึงนิยามหรอื ความหมายหรอื
ความคาดหวังของผลสัมฤทธิ์ของงานทีต่ วั ชี้วดั น้ัน ๆ ตอ้ งการสะท้อนถึง
ในการกำ�หนดตัวช้ีวัดเชิงคุณภาพและค่าเป้าหมาย ผูป้ ระเมินและ
ผูร้ ับการประเมนิ ควรนำ�กรอบการกำ�หนดระดบั ค่าเป้าหมายมาประกอบการ
พิจารณาดว้ ยเสมอ โดยหลังจากไดต้ ัวช้ีวดั แลว้ ผู้ประเมนิ และผู้รับการประเมิน
ควรบรรยายไล่เรยี งถึงผลสำ�เร็จที่คาดหวังจนครบทกุ ระดับคา่ เป้าหมาย
และควรกำ�หนดค่าเปา้ หมายให้มีความชดั เจนมากทีส่ ุดเทา่ ทีจ่ ะเป็นไปได้
และอีกประการหน่ึงภายใตต้ ัวชว้ี ัดเดยี วกัน เช่น ระดบั ความสำ�เรจ็ ในการพฒั นา
ระบบงาน ผู้กำ�หนดตัวช้วี ดั สามารถกำ�หนดคา่ เปา้ หมายในลักษณะทแ่ี ตกตา่ ง
กันไปได้หลายทาง ซ่งึ ขึน้ อย่กู บั ขอ้ พจิ ารณาและความคาดหวงั ทตี่ กลงกัน
ระหวา่ งผ้ปู ระเมนิ กบั ผรู้ บั การประเมิน ตลอดจนความแตกตา่ งในบริบท
หรอื สภาพการณ์
นอกจากนี้ มีการจัดประเภทตวั ชว้ี ัด (KPIs) ในแตล่ ะด้าน ดงั น้ี
1. ด้านคณุ ภาพ (Quality) เช่น ข้อร้องเรยี น คำ�ชม ความพงึ พอใจ
ของลูกค้า เปน็ ต้น
2. ดา้ นปริมาณ (Quantity) เช่น หนว่ ย/วนั จำ�นวนโทรศพั ท/์ ชั่วโมง
จำ�นวนหน่วยท่ผี ลิต เป็นตน้ ปรมิ าณการใหบ้ ริการ จำ�นวนโครงการทสี่ ำ�เรจ็
จำ�นวนช้นิ งานท่ีผลติ ได้ จำ�นวนโทรศพั ท์ท่รี บั สาย เปน็ ตน้
3. ด้านกำ�หนดเวลา (timeless) เชน่ ตารางการทำ�งานสำ�เรจ็
ตามแผน งานเสร็จตามวนั ครบกำ�หนดส่งงานตามกำ�หนดการ งานเสรจ็ ภายใน
Cycle time เปน็ ต้น
ค่มู อื ค�ำ รับรองการปฏิบัติราชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค 37
4. ด้านความคุ้มคา่ ของตน้ ทนุ (Cost-Effectiveness) เช่น จำ�นวนเงิน
ทใ่ี ชจ้ ่าย จำ�นวนคำ�แนะนำ�ทมี่ กี ารปฏิบตั ิตาม คา่ ใช้จา่ ยนอกเหนืองบประมาณ
รอ้ ยละของเงนิ งบประมาณทสี่ ามารถเบิกจา่ ยไดต้ ามเวลาท่ีกำ�หนด เป็นต้น
ภาพที่ 3 แนวคิดท่ใี ช้ในการกำ�หนดตัวช้ีวดั
Input Indicator เปน็ ตวั ช้วี ัดเกีย่ วกับทรพั ยากรและมักให้คา่
ในเชงิ ปริมาณ เช่น อาคาร/สถานท่ี เงิน และอุปกรณต์ ่าง ๆ รวมถงึ ทรพั ยากร
มนษุ ยท์ ่ีถูกนำ�ไปใช้ หรอื มสี ่วนเกีย่ วขอ้ งกบั การปฏบิ ัตนิ โยบาย
Process Indicator เป็นตัวชวี้ ัดที่สะทอ้ นการใชท้ รพั ยากร หรือ
ประโยชน์จากปัจจยั นำ�เข้า ในการปฏิบตั ินโยบาย รวมถงึ ข้อบง่ ชต้ี ่าง ๆ
กระบวนการแปลงแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ
Output Indicator เป็นตัวชวี้ ดั เกย่ี วกับผลสัมฤทธข์ิ องนโยบาย
ท่เี กดิ ขึ้นทันที วดั ค่าในระยะสั้น และมกั ให้คา่ ในเชงิ ปรมิ าณ
38 คมู่ อื ค�ำ รบั รองการปฏบิ ัตริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค
Outcome Indicator เปน็ ตัวชว้ี ัดเก่ียวกับผลสัมฤทธข์ิ องนโยบาย
แตเ่ ป็นการวัดผลสำ�เร็จในภาพรวมของนโยบาย ดังน้นั จึงมรี ะยะเวลาและ
ขอบเขตการวดั ทย่ี าวนานกว่า อกี ท้ังใหผ้ ลกระทบเชิงคุณภาพมากกว่า
ภาพที่ 4 ระบบการวัดเพื่อการประเมินผล
2.5.2 คุณลกั ษณะของตวั ช้วี ัดทด่ี ี
การกำ�หนดตัวชว้ี ดั ตามแนวทางของ SMART Objective ดังน้ี
1. Specific: S = เจาะจง มคี วามเฉพาะเจาะจง ตัวชี้วดั ควรมี
ความชดั เจนและมคี วามหมายมงุ่ ไปยังส่งิ ท่ีวัด ควรกำ�หนดตัวชวี้ ดั ใหช้ ัดเจน
ไมก่ ำ�กวม เพ่ือมใิ หเ้ กิดการตคี วามผิดพลาดและเพอ่ื สอ่ื สารความเข้าใจให้
ตรงกนั ท่ัวท้งั องค์กร
2. Measurable: M = วดั ได้ เปน็ ตัวชว้ี ัดที่สามารถนำ�ไปวดั ผล
การปฏบิ ตั งิ านไดจ้ ริง ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการวดั สามารถนำ�ไปเปรยี บเทยี บกบั
ขอ้ มลู ท่ีได้จากตวั ช้ีวดั อืน่ และใช้วิเคราะหค์ วามหมายทางสถิตไิ ด้
คูม่ อื ค�ำ รบั รองการปฏิบตั ริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค 39
3. Attainable/ Achievable: A = บรรลผุ ล สามารถบรรลุ
ผลสำ�เรจ็ ได้ องคก์ รไมค่ วรใชต้ วั ช้ีวัดผลการดำ�เนนิ งานหลักท่ีองค์กรไม่
สามารถควบคมุ ใหเ้ กดิ ผลไดโ้ ดยตรง
4. Realistic: R = เป็นจริงได้ มีความสมจรงิ ตวั ชี้วัดผลการดำ�เนนิ
งานหลักมคี วามเหมาะสมกบั องคก์ รและไมใ่ ชต้ น้ ทุนการวดั ที่สูงเกินไป
5. Time Bound: T = ภายใตก้ รอบเวลาที่เหมาะสม สามารถใช้
วดั ผลการปฏบิ ัติงานไดภ้ ายในเวลาท่ีกำ�หนด ควรปรบั ปรุงตัวช้วี ดั ให้ทันสมยั
อยเู่ สมอ
2.5.3 ลกั ษณะส�ำ คัญของตัวชี้วดั ทด่ี ี
1. ตรงประเด็น (Relevant) เปน็ ตัวชว้ี ัดทส่ี ามารถบง่ บอกถงึ สง่ิ ท่ีเรา
ตอ้ งการทราบไดอ้ ย่างชดั เจน สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคข์ องแผนงาน/
โครงการ
2. มีหลกั เกณฑ์ทีแ่ นน่ อน เปน็ ตวั ช้วี ดั ทหี่ ลกั เกณฑ์และวธิ ีการ
หรอื สตู รคำ�นวณที่แน่นอน คำ�นิยามของตวั แปรทีใ่ ช้ในการคำ�นวณต้องชดั เจน
ลดการใชด้ ุลพนิ จิ ของผปู้ ระเมนิ
3. มีผลกระทบจากปจั จัยภายนอกน้อย เพอื่ ความถูกตอ้ งและ
เป็นธรรมกบั ผถู้ ูกประเมิน การกำ�หนดตวั ชว้ี ัดผลการดำ�เนนิ งานควรมี
ตวั แปรเฉพาะทีผ่ ้รู ับการประเมนิ สามารถควบคมุ ได้เท่าน้นั
4. มีระบบการจดั เกบ็ ขอ้ มูลที่ดี สามารถจัดเกบ็ ขอ้ มลู ได้อย่างถูกต้อง
รวดเร็ว ทนั ตอ่ สถานการณ์ และประหยัดค่าใช้จา่ ย รวมท้งั สามารถจดั เก็บ
ข้อมูลได้อย่างต่อเนื่อง และหากจะใชเ้ ป็นขอ้ มูลอา้ งอิงในภาพกวา้ ง จำ�นวน
ตัวอยา่ งท่เี กบ็ ขอ้ มูลต้องมีมากพอเพ่ือความนา่ เชื่อถือของขอ้ มูลทไี่ ด้
40 คูม่ ือคำ�รับรองการปฏบิ ตั ริ าชการหน่วยงานกรมควบคุมโรค
5. เป็นท่ียอมรบั ของผทู้ ีเ่ ก่ียวขอ้ ง ถ้าเปน็ การประเมินผลการ
ทำ�งานภายในองคก์ ร ตวั ชีว้ ัดทีก่ ำ�หนดขึ้นต้องเปน็ ทยี่ อมรับของทุกฝ่าย
ท่เี กยี่ วข้อง ทั้งผปู้ ระเมนิ และผู้รบั การประเมนิ สามารถเปรียบเทียบระหว่าง
ประเทศได้
2.5.4 ขั้นตอนการจดั ทำ�ตัวชีว้ ดั
1. วเิ คราะหข์ อ้ มลู วัตถปุ ระสงคข์ ององค์กร ยุทธศาสตร์ แผนงาน
โครงการและกิจกรรมขององคก์ รใหช้ ดั เจนวา่ เปา้ หมายทีเ่ ปน็ ผลผลติ
(Output) หรอื ผลลพั ธ์ (Outcome) ในระยะส้นั ระยะยาว ในกรณที ่ีต้องการ
วดั ผลเฉพาะระดับโครงการหรือบางกิจกรรมให้พิจารณาเฉพาะวตั ถุประสงค์
และเป้าหมายของโครงการหรอื กจิ กรรมท่สี นใจเทา่ นั้น
2. กำ�หนดประเด็น ประมวลประเด็นทต่ี อ้ งติดตามประเมินผล
ให้ครบทกุ ข้ันตอน โดยเรมิ่ ต้ังแตข่ ัน้ ตอนการใช้ปัจจยั (Input) ท่ีใชใ้ น
การดำ�เนินงาน กระบวนการดำ�เนนิ งาน (Process) ไปจนถงึ ผลผลิตและ
ผลลัพธใ์ นระยะยาวทจี่ ะเกดิ ข้นึ ถ้าวดั เฉพาะผลผลติ หรอื ผลลัพธโ์ ดยไมไ่ ด้
วดั ปัจจยั กอ็ าจจะไมท่ ราบถึงสาเหตวุ า่ สำ�เรจ็ เพราะเหตุใด
3. เลอื กประเด็นสำ�คญั ในแตล่ ะประเด็นให้เลอื กเฉพาะประเด็น
ทีส่ ำ�คัญทม่ี ีผลตอ่ ความสำ�เรจ็ ไม่สำ�เรจ็ ของการดำ�เนินงาน (Critical Success
Factor : CSF) หรอื สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องการดำ�เนินงานมากที่สดุ
มากำ�หนดเปน็ ประเด็นท่ตี ้องติดตามหรือประเมนิ ผล
4. กำ�หนดตวั ช้วี ัด กำ�หนดตวั ชี้วัดโดยเลือกตวั ชว้ี ดั ที่ตรงประเด็น
มากทีส่ ดุ เพอ่ื ประหยัดงบประมาณและเวลาในการเกบ็ รวบรวมและประมวล
ผลขอ้ มูลซ่ึงในแตล่ ะประเด็นอาจมีมากกว่า 1 ตวั ชวี้ ัดก็ได้ ในบางกรณี
คู่มอื คำ�รบั รองการปฏิบัติราชการหน่วยงานกรมควบคมุ โรค 41
อาจจำ�เป็นตอ้ งจดั ทำ�เป็นดชั นี (Index) โดยเฉพาะกรณที ี่มตี วั ช้ีวัดหลายตัว
หรอื มเี รอื่ งที่เก่ยี วข้องหลายประเดน็ หรือหลายมิตติ อ้ งทำ�เปน็ ดชั นีรวม
(Composite Index) เพอื่ ใหส้ ามารถสรปุ เป็นภาพรวมในประเดน็ นั้น ๆ ได้
ในการกำ�หนดตวั ชี้วัดขององคก์ ร โดยทวั่ ไปจะต้องกำ�หนดจาก
ระดับบนลงมาถงึ ระดบั ลา่ ง กรณขี ององค์กรภาครัฐตวั ช้วี ัดอาจเริ่มจาก
กระทรวง กรม ไปจนถึงกอง/ฝ่ายต่าง ๆ หรอื ในกรณขี องโครงการตอ้ ง
กำ�หนดตัวชีว้ ดั ภาพรวมของโครงการกอ่ นตัวชี้วดั ของกิจกรรมย่อย
แต่การคำ�นวณตัวช้ีวัดภาพรวมระดบั บนบางกรณีอาจตอ้ งเร่ิมจากระดับยอ่ ย
กอ่ น เชน่ ระดบั บคุ คล/ครัวเรือนท่ีเขา้ ร่วมโครงการไปจนถงึ ระดบั โครงการ
หรือระดับพืน้ ท่ี เชน่ ตำ�บล อำ�เภอ จังหวัด และประเทศ ซง่ึ จะต้องมี
การกำ�หนดตวั ชีว้ ัดหรือดัชนีข้นึ มาเป็นขัน้ เปน็ ตอนในแตล่ ะระดบั โดย
ตวั ช้วี ดั ระดับล่างจะต้องสอดคล้องกับตัวชีว้ ดั ระดบั บนดว้ ยในการคำ�นวณ
จากระดบั ยอ่ ยมาเป็นระดับทกี่ ว้างขวางขึ้น ส�ำหรับตวั ช้ีวัดบางตัวอาจ
ต้องมีการถว่ งน้�ำหนัก (Weight) ดว้ ย เนือ่ งจากในแตล่ ะประเด็นยอ่ ย
หรือพน้ื ทีย่ ่อยอาจมคี วามส�ำคัญไม่เทา่ กัน ในบางกรณีตัวชีว้ ัดภาพรวม
อาจไมจ่ ำ� เป็นตอ้ งมาจากตวั ชวี้ ัดระดับย่อย อาจวัดจากผลผลิตสดุ ทา้ ย
ของโครงการหรือขององค์กรทเ่ี กิดจากการทำ� งานอย่างบรู ณาการของทกุ ระดบั
ในหลายหนว่ ยงานภายในองค์กร
5. วางระบบจดั เกบ็ และประมวลผลข้อมูล กำ�หนดรายละเอยี ดขอ้ มูล
ที่จะจดั เกบ็ ในแต่ละชว่ งเวลาอยา่ งเหมาะสม เชน่ กอ่ น/หลังโครงการ ระหวา่ ง
ดำ�เนนิ การตามโครงการ เพ่ือใหส้ ามารถดำ�เนินการได้อย่างต่อเน่อื งและ
ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ รวมทง้ั สามารถเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งทเี่ กิดขนึ้ ใน
แตล่ ะชว่ งเวลาได้ ค่าของตัวชี้วดั แต่ละตวั อาจมาจากหลายตวั แปร (Variable)
42 ค่มู ือค�ำ รบั รองการปฏิบตั ริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค
ทัง้ ท่ีเป็นตัวแปรสตอ๊ ก (Stock หรอื Inventory) ทอี่ ้างอิง ณ เวลาใดเวลาหน่ึง
ดังนัน้ ต้องกำ�หนดคำ�นิยามใหช้ ดั เจนในกรณที ต่ี วั ชวี้ ัดทีเ่ ป็นอตั ราสว่ น (Ratio)
ท่มี ีลักษณะเป็นเศษสว่ น ตัวแปรทเี่ ป็นเศษอาจไดข้ ้อมูลมาจากแหล่งหนงึ่
ตัวแปรท่ีเป็นสว่ นอาจได้ขอ้ มูลมาจากอกี แหลง่ หนง่ึ เปน็ ต้น ซ่งึ บางรายการ
อาจเปน็ ขอ้ มูลทุตยิ ภมู ิ (Secondary Data) และบางรายการเปน็ ข้อมลู ปฐมภูมิ
(Primary Data) ซึ่งผู้ประเมนิ ตอ้ งจัดเก็บเองโดยการสำ�รวจจากทกุ รายหรือ
สมุ่ ตัวอยา่ งบางรายในบางพน้ื ทโ่ี ดยวิธกี ารตา่ ง ๆ เชน่ การสมั ภาษณ์ การสังเกต
หรอื การวดั โดยใชอ้ ปุ กรณบ์ างชนดิ และดำ�เนินการเป็นเรอ่ื งเฉพาะเร่อื ง
หรือบูรณาการใหอ้ ยใู่ นระบบการรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ำ�เนินการเปน็ ปกติ
อยแู่ ลว้ ก็ได้ ท้ังน้ตี ้องมกี ารกำ�หนดแหลง่ ข้อมูลและช่วงเวลาท่อี า้ งองิ ให้
ชดั เจนด้วย โดยต้องคำ�นงึ ถงึ ความถกู ตอ้ งและความรวดเร็วของการได้มา
ซึ่งขอ้ มลู รวมทั้งคา่ ใชจ่ ่ายในการจัดเก็บรวบรวมและประมวลผลขอ้ มูลดว้ ย
กรณที ่ตี อ้ งใชว้ ิธีการสำ�รวจด้วยตวั อย่าง (Sample Survey) จะตอ้ งมี
การกำ�หนดแบบแผนการสุม่ ตวั อย่าง (Sampling Design) และจำ�นวน
ตวั อย่าง (Sample Size) ทเ่ี หมาะสม เพ่ือให้ไดต้ วั แทน (ตัวอยา่ ง) ทด่ี ี
ผลการคำ�นวณตัวช้วี ัดทไ่ี ดจ้ ะมคี วามนา่ เชอื่ ถือและไมเ่ กดิ ความเอนเอยี ง
(Biased) ในทางสถิต
ค่มู ือคำ�รับรองการปฏบิ ตั ริ าชการหน่วยงานกรมควบคุมโรค 43
2.5.5 การค�ำ นวณผลการประเมนิ
1. ระดบั คะแนนของผลการประเมินในแตล่ ะระดับ เป็นดงั น้ี
ผลการประเมนิ ระดบั คะแนนท่ไี ดร้ บั
มีผลการดำ� เนนิ งานอยรู่ ะดบั ดกี วา่ เป้าหมายมาก 5
มีผลการด�ำเนนิ งานอย่รู ะดับดีกวา่ เปา้ หมาย 4
มผี ลการดำ� เนินงานอยู่ระดับเปน็ ไปตามเปา้ หมาย 3
มีผลการด�ำเนินงานอยรู่ ะดับต�ำ่ กวา่ เป้าหมาย 2
มีผลการ�ำเนนิ งานอย่รู ะดับต�่ำกวา่ เป้าหมายมาก 1
2. วธิ ีการประเมินผลการดำ� เนนิ งานสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 5 แบบ ดงั นี้
1.1 การประเมนิ ผลตัวช้ีวดั ผลสำ� เร็จ/ไม่สำ� เร็จ (Pass/Fail)
1.2 การประเมินผลตวั ชี้วัดตามขั้นตอนการดำ� เนินงาน (Milestones)
1.3 การประเมนิ ผลตวั ช้ีวัดเชิงผลผลิต (Output)
- ตัวชว้ี ดั เชงิ ผลผลิต 1 ตวั
- ตวั ชี้วดั เชงิ ผลผลติ มากกว่า 1 ตัว
1.4 การประเมนิ ผลตัวช้วี ัดเชิงผลลัพธ์ (Outcome)
1.5 การประเมนิ ผลตวั ช้ีวัดแบบผสมผสาน (Hybrid)
- ตัวชี้วดั แบบผสมผสานระหวา่ งตัวชีว้ ดั ตามขน้ั ตอนการ
ดำ� เนนิ งานและตัวชว้ี ัดเชงิ ผลผลติ (Milestones + Output)
- ตวั ชว้ี ัดแบบผสมผสานระหวา่ งตัวช้ีวดั ตามข้ันตอนการ
ด�ำเนินงานและตัวชวี้ ดั เชิงผลลพั ธ์ (Milestones + Outcome)
- ตวั ช้วี ดั แบบผสมผสานระหว่างตัวชี้วดั ตามขนั้ ตอนการ
ด�ำเนินงานและตัวชีว้ ัดเชิงผลผลติ และตวั ช้ีวดั เชิงผลลัพธ์ (Milestones +
Output + Outcome)
44 ค่มู ือคำ�รับรองการปฏิบตั ริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค
2.5.6 การก�ำ หนดคา่ เป้าหมาย
1. การวเิ คราะหค์ วามเหมาะสมของเป้าหมายของตวั ชวี้ ัด
1.1 แผนกลยุทธ/์ แผนปฏบิ ัติงาน และปจั จัยตา่ ง ๆ ที่สง่ ผลกระทบ
ตอ่ การดำ�เนินงาน
1.2 การทำ�เกณฑเ์ ปรียบเทยี บผลการดำ�เนินงาน (Benchmarking)
1.3 มาตรฐานสากลท่เี ป็นท่ียอมรบั โดยทั่วไป
1.4 ผลการดำ�เนนิ งานในอดตี (Past Performance)
1.5 แนวโน้มของผลการดำ�เนนิ งาน
1.6 ผลการดำ�เนนิ งานทดี่ ที ีส่ ดุ ของหน่วยงาน (Best Performance)
1.7 นโยบายอยา่ งก้าวกระโดด (Stretch Targeting)
1.8 กำ�หนดคา่ เป้าหมายขึน้ เอง
ภาพท่ี 5 ระดบั ค่าเปา้ หมาย
คู่มอื ค�ำ รับรองการปฏบิ ตั ริ าชการหน่วยงานกรมควบคุมโรค 45
2. แนวทางการก�ำหนดคา่ เปา้ หมาย
2.1 คา่ เป้าหมายไม่ควรต�่ำกวา่ ผลการด�ำเนินงานปที ่ผี า่ นมา
ได้แก่ เปา้ หมายไม่ควรต�ำ่ กวา่ ผลงานในปที ผ่ี า่ นมา ทั้งน้ีอาจต้องพิจารณา
ถึงผลกระทบต่าง ๆ ดว้ ย
- ปจั จยั ภายใน เช่น งบประมาณท่ีไดร้ ับการจดั สรร ตน้ ทนุ
ในการดำ� เนินงานในผลผลิตหรือกิจกรรมนนั้ ๆ ความพรอ้ มของบุคลากร
- ปจั จัยภายนอก เชน่ ระดับในการควบคมุ หรือบรหิ าร
จัดการผลงาน การบรู ณาการกบั หนว่ ยงานอื่น ๆ ทงั้ ภายในและภายนอก
ส่วนราชการ
2.2 ค่าเป้าหมายทก่ี ำ� หนดจากผลการดำ� เนินงานในอดีต ได้แก่
ก�ำหนดค่าเปา้ หมายจากการใชผ้ ลการด�ำเนนิ งานในอดตี เป็นฐาน หรอื
หลักการ Self-improvement เพ่อื ใช้วัดว่าตัวช้วี ัดน้ัน สามารถท�ำไดด้ ีขึน้
กว่าเดมิ หรือไม่ ซึง่ มักใชใ้ นกรณที ีไ่ มม่ หี นว่ ยงานอนื่ หรอื มาตรฐานอืน่
เพอื่ เปรียบเทยี บผลงานจงึ ตอ้ งเปรยี บเทียบกับผลงานเดมิ
2.3 การก�ำหนดคา่ เป้าหมายโดยเทียบเคียงกับหน่วยงานอ่ืน ได้แก่
- ก�ำหนดค่าเปา้ หมายจากการท�ำ Benchmarking โดย
เปรยี บเทียบกบั ผลการดำ� เนินงานของหนว่ ยงาน ทีป่ ฏบิ ัติงานเหมอื นกัน
หรอื อยู่ในเขตพ้นื ท่เี ดยี วกัน รวมถงึ หน่วยงานในตา่ งประเทศ และสถาบนั
ในระดบั นานาชาติท่มี ขี ้อมลู ทเ่ี กีย่ วข้อง เช่น IMD เป็นตน้
- ก�ำหนดจากคา่ มาตรฐานสากลท่ีเป็นท่ยี อมรบั (ถ้าม)ี
2.4 การก�ำหนดค่าเปา้ หมายจากคา่ แนวโน้ม ได้แก่ กำ� หนด
คา่ เปา้ หมายจากแนวโน้มของผลการด�ำเนินงาน โดยพิจารณาว่าผลการ
ดำ� เนินงานมีแนวโนม้ เพิ่มขึน้ หรอื ลดลง ทง้ั นี้ ต้องมีการรวบรวมข้อมูลใน
อดีตทเ่ี พียงพอเพอ่ื สร้างภาพของแนวโนม้ ทเี่ ชอื่ ถือและน�ำมาใชง้ านได้
46 ค่มู ือค�ำ รบั รองการปฏิบัตริ าชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค
2.5 การก�ำหนดค่าเป้าหมายจาก Best Practice ไดแ้ ก่
กำ� หนดจากผลการดำ� เนินงานท่ดี ที ่ีสดุ ของหนว่ ยงาน (Best practice)
เพ่ือเป็นการผลักดนั ใหห้ น่วยงานมีผลการด�ำเนินงานท่ีก้าวหนา้ ยิ่งข้นึ
โดยหากมีหลายหนว่ ยงานที่ดำ� เนินงานในลกั ษณะเดียวกนั ก็อาจพิจารณา
ใหใ้ ชผ้ ลการดำ� เนินงานที่ดที ่สี ดุ เปน็ เป้าหมายสำ� หรบั ทุกหนว่ ยงาน
2.6 การกำ� หนดค่าเป้าหมายจากนโยบายแบบกา้ วกระโดด ไดแ้ ก่
ก�ำหนด ค่าเปา้ หมายจากนโยบายอย่างก้าวกระโดด (Stretch Targeting)
เพื่อผลักดันให้องค์การมีผลการด�ำเนนิ งานทเี่ ตบิ โตแบบกา้ วกระโดด ทงั้ นี้
ต้องพิจารณาถึงผลการด�ำเนินงานย้อนหลัง (Baseline data) แล้วว่า
แนวโน้มการเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
2.7 การก�ำหนดคา่ เปา้ หมายเอง ในกรณีทไี่ มข่ อ้ มลู พนื้ ฐาน ไดแ้ ก่
- กำ� หนดค่าเป้าหมายขน้ึ เองในกรณีท่ียังไมม่ ีขอ้ มลู ทจ่ี ะน�ำ
มาพิจารณาก�ำหนดเป้าหมายไดห้ รอื ไม่ สามารถน�ำหลักการขา้ งต้นมา
ประยุกตใ์ ช้ได้ อาจก�ำหนดเปา้ หมายขึ้นเองกอ่ นแล้วค่อยพฒั นาตอ่ เนอ่ื ง
โดยการสร้างระบบฐานขอ้ มลู สำ� หรับตัวช้วี ดั ดงั กลา่ ว เพอ่ื ใชว้ ัดผลในปตี อ่ ๆ ไป
- วิธกี ารกำ� หนดเป้าหมายสามารถทำ� ได้ 2 วธิ ี คือ
• Absolute Target: ก�ำหนดความคาดหวังในการดำ� เนนิ งาน
มาเปน็ ค่าเฉพาะเจาะจง
• Range Target: กำ� หนดช่วงความคาดหวังในการดำ� เนินงาน
โดยชว่ งความคาดหวังข้นึ อยกู่ ับความเหมาะสมของปจั จัยสิ่งแวดล้อมและ
ดุลยพนิ ิจจากการวเิ คราะห์เป็นกรณี ๆ ไป
คู่มอื ค�ำ รับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานกรมควบคมุ โรค 47
2.6 แนวทางการดำ�เนนิ การตามกระบวนการจัดท�ำ คำ�รับรองการปฏบิ ตั ิ
ราชการหน่วยงาน กรมควบคมุ โรค
2.6.1 โครงสรา้ งและบทบาทหน้าทขี่ องคณะอนุกรรมการ
ดำ�เนนิ การพฒั นาระบบราชการกรมควบคุมโรค
ภาพท่ี 6 โครงสร้างและบทบาทหนา้ ทีข่ องคณะอนุกรรมการดำ�เนนิ
การพฒั นาระบบราชการกรมควบคมุ โรค
48 คมู่ อื ค�ำ รบั รองการปฏิบตั ิราชการหนว่ ยงานกรมควบคุมโรค
2.6.2 การกำ�หนดกรอบการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการของหน่วยงาน
ภาพที่ 7 การก�ำหนดกรอบการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ
ของหนว่ ยงาน
กรมควบคมุ โรคแตง่ ตัง้ คณะอนุกรรมการด�ำเนินการพฒั นา
ระบบราชการ เพอื่ ก�ำหนดกรอบการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการหน่วยงาน
กลุ่มพัฒนาระบบบริหารยกร่างกรอบการประเมินผลการปฏิบัติ
ราชการหน่วยงาน รวมทั้งจดั ท�ำปฏทิ ิน/แผนงาน และแนวทางการก�ำกับ
ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการจัดท�ำค�ำรับรองฯ ของหน่วยงานในสงั กดั
คณะอนกุ รรมการพิจารณาและให้ความเห็นชอบกรอบการประเมินผล
การปฏบิ ัตริ าชการหนว่ ยงาน รวมทงั้ จดั ทำ� ปฏทิ นิ /แผนงาน และแนวทาง
การกำ� กับตดิ ตาม ประเมนิ ผลการจดั ท�ำคำ� รับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัด
หน่วยงานจัดท�ำคำ� รับรองการปฏิบตั ิราชการประจ�ำปี โดยกำ� หนด
ตัวชวี้ ดั ทรี่ บั ถ่ายทอดจากกรม และตามภารกจิ หลกั ของหน่วยงาน
โดยสอดคล้องกบั แผนปฏิบัติราชการประจ�ำปขี องหนว่ ยงาน
ค่มู ือคำ�รบั รองการปฏิบตั ิราชการหนว่ ยงานกรมควบคมุ โรค 49