The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thunya.thanapon, 2021-11-08 01:08:04

ร่างพจนานุกรม 4 ภาษา

โครงการส่งเสริมวัฒนธรรมการอ่านผ่านเอกลักษณ์ทางภาษา จังหวัดศรีสะเกษ

“ตระหนัก รักษ์ ภาษาไทย ภาษาถิ่น” ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564



จัดท าโดย ส านักงานวฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ

ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ

สารบัญ




เรื่อง หน้า
บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปจังหวัดศรีสะเกษ

บทที่ 2 ข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดศรีสะเกษ

บทที่ ๓ ลักษณะเอกลักษณ์ภาษาถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ

บทที่ 4 ศัพทานุกรมภาษาถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ
- ภาษาส่วย (กูย)

- ภาษาเขมร
- ภาษาลาว
- ภาษาเยอ


บรรณานุกรม


หนังสือวัฒนธรรม พฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดศรีสะเกษ
แผนปฏิบัติการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ

บทที่ ๑

ข้อมูลทั่วไปจังหวัดศรีสะเกษ



ประวัติความเป็นมา
จังหวัดศรีสะเกษ เดิมเรียกว่า เมืองขุขันธ์ นักโบราณคดีสันนิษฐานว่า น่าจะเป็นเมืองมาแต่สมัยขอม
เพราะมีโบราณสถานสมัยขอมปรากฏอยู่หลายแห่ง การตั้งเมืองศรีสะเกษ (หน้า 70 หนังสือวัฒนธรรม

พฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดศรีสะเกษ) พ.ศ. 2325 มีเหตุการณ์กล่าวโทษ

พระยาขุขันธ์ภักดีฯ (ขน) ทําให้พระยาภักดีภูธรสงคราม (อน) ปลัดเมืองขุขันธ์ไม่พอใจ จึงกราบบังคมทูลขอตั้ง

ุ่

เมืองใหม่ที่บ้านโนนสามขา สระกําแพงใหญ่ออกจากเมืองขุขันธ์และขอเป็นเจ้าเมือง พระบาทสมเด็จพระพทธ

ยอดฟาจุฬาโลกมหาราช จึงโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านโนนสามขาสระกําแพงใหญ่ เป็นเมือง ศรีสระเกศ (สะกด
ตามข้อสันนิษฐานของจังหวัด แก่อนที่จะมีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนนามจังหวัดและอาเภอใน พ.ศ. 2481

จึงเป็นที่ยุติให้ใช้ว่า ศรีสะเกษ) และโปรดเกล้าฯ ให้พระภักดีภูธรสงคราม (อน) เป็นพระยารัตนวงศา เจ้าเมือง
ุ่
ศรีสระเกศ ทําราชการขึ้นต่อนครราชสีมา การแยกเมืองออกเป็นเมืองขุขันธ์และเมืองศรีสระเกศ ซึ่งทั้งสอง

เมืองต่างมีอิสระในการปกครอง ทําให้เมืองทั้งสองมีประวัติศาสตร์ร่วมกัน เป็นที่มาของประวัติจังหวัดศรีสะเกษ
พ.ศ. 2326 พระไกร (บุญจัน) แต่งกรมการไปจับราษฎรในกองเจ้าเมืองนันเกณฑ์กําลังยกมาตี
พระไกรสู้มิได้หนีไปอยู่เมืองสังขะ แล้วบอกลงมากรุงเทพฯ โปรดเกล้าฯ ให้ข้าหลวงคุมกําลังไปจับเจ้าเมืองนัน
ได้พาเอาตัวลงมากรุงเทพฯ
พ.ศ. 2328 พระยารัตนวงศา (อน) ถึงแก่กรรม จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาวิเศษภักดี (ชม) เป็นเจ้า
ุ่
เมืองศรีสะเกศแทน นับเป็นเจ้าเมืองศรีสะเกศคนที่ ๒ และได้ย้ายเมืองจากบ้านโนนสามขา สระกําแพง มาตั้งที่
เมืองศรีสะเกษปัจจุบันซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งเมืองศรีนครเขต


ตราประจ าจังหวัดศรีสะเกษ
ตราประจําจังหวัดศรีสะเกษ เป็นรูปปราสาทหินภายในวงกลม ใต้ปราสาทเป็นรูปดอกลําดวน มีใบ ๖ ใบ









ความหมาย

ปราสาท หมายถึง ปราสาทขอมซึ่งมีอยู่จํานวนมากในจังหวัดศรีสะเกษ จนได้ชื่อว่าเป็นดินแดนแห่ง
ปราสาทขอมโบราณ เช่น ปราสาทสระกําแพงใหญ่ ปราสาทสระกําแพงน้อย ปราสาทปรางค์กู่ ปราสาท
โดนตรวล ปราสาทบ้านสมอ ปราสาททามจาน ปราสาทบ้านปราสาท เป็นต้น
ื้
ดอกลําดวน หมายถึง ดอกไม้แทนสัญลักษณ์ของจังหวัดศรีสะเกษ คือ ดอกลําดวน พนที่จังหวัด
ศรีสะเกษเป็นดินแดนที่มีต้นลําดวนขึ้นอยู่ทั่วไปเป็นจํานวนมาก พอถึงฤดูออกดอกจะส่งกลิ่น หอมเย็นอบอวน


ไปทั่วเมืองศรีสะเกษ จึงได้ชื่อว่า เมืองศรีนครลําดวน ต่อมาได้ย้ายเมืองมาตั้งอยู่ที่อาเภอขุขันธ์ เปลี่ยนชื่อเป็น

เมืองขุขนธ์ และในปี พ.ศ. ๒๔๔๗ ได้ย้ายเมืองมาอยู่ที่อําเภอเมืองศรีสะเกษปัจจุบัน แต่ยังคง ใช้ชื่อเดิมคือ
เมืองขุขันธ์ จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๘๑ จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นจังหวัดศรีสะเกษ

-2-


ใบลําดวน ๖ ใบ หมายถึง อาเภอเริ่มแรกที่ตั้งเป็นจังหวัดศรีสะเกษในระยะเริ่มแรก มี ๖ อาเภอ

ประกอบด้วย อาเภอเมืองศรีสะเกษ อาเภอกันทรารมย์ อาเภอกันทรลักษ์ อาเภอขุขันธ์ อาเภอราษีไศล และ





อําเภออุทุมพรพิสัย
ค าขวัญจังหวัดศรีสะเกษ
แดนปราสาทขอม หอม กระเทียมดี
มีสวนสมเด็จ เขตดงลําดวน
หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ําสามัคคี


ความหมาย
แดนปราสาทขอม หมายถึง จังหวัดศรีสะเกษมีปราสาทหินจํานวนมาก เป็นร่องรอยหลักฐานทางอารย
ธรรมที่เคยเจริญรุ่งเรืองมายาวนานในอดีต ซึ่งสามารถพฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรมที่สําคัญของ

จังหวัดศรีสะเกษ และเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของสังคมท้องถิ่นในอดีต
หอม กระเทียมดี หมายถึง จังหวัดศรีสะเกษเป็นพื้นที่ที่มีการปลูกหอม ปลูกกระเทียม ที่มีคุณภาพมาก

ที่สุดของประเทศ เป็นพชผลทางการเกษตรที่มีชื่อเสียง และเป็นพชเศรษฐกิจที่สําคัญ ของจังหวัดศรีสะเกษ

อาเภอที่มีการปลูกมาก ได้แก่ อาเภอยางชุมน้อย อาเภอกันทรลักษ์ อาเภอวังหิน อาเภอราษีไศล





อําเภอกันทรารมย์
มีสวนสมเด็จ หมายถึง จังหวัดศรีสะเกษได้มีการจัดสร้างสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ เป็นแห่งแรกของ
ประเทศไทย ภายในบริเวณสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์จังหวัดศรีสะเกษ จะมีต้นลําดวนขึ้นอยู่เป็นจํานวนมาก
หลายหมื่นต้น มีการจัดสถานที่ภายในบริเวณสวนให้เป็นที่พกผ่อนหย่อนใจ สวยงาม ร่มรื่น และในทุกๆ ช่วง

เดือนมีนาคมของทุกปี จะมีการจัดงานเทศกาลดอกลําดวน มีการแสดงแสงเสียงตํานานศรีพฤทเธศวร และการ
จัดเลี้ยงอาหารเย็นแบบพื้นบ้านอีสานที่เรียกว่า พาแลง ด้วย
เขตดงลําดวน หมายถึง จังหวัดศรีสะเกษได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่มีต้นลําดวนขึ้นอยู่ทั่วไปเป็นจํานวนมาก

ดอกลําดวนจะมีกลีบดอกสามกลีบ ดอกมีสีเหลืองนวล ส่งกลิ่นหอมเย็นในตอนพลบค่ํา ลําต้นและกิ่งสามารถ
นําไปใช้ประโยชน์ทํารั้ว ทําฟืน ร้านผักสวนครัว และประโยชน์อื่นๆ
หลากล้วนวัฒนธรรม หมายถึง จังหวัดศรีสะเกษเป็นจังหวัดที่เป็นที่อยู่อาศัยของชนพนเมืองที่มี
ื้
หลากหลายเชื้อชาติ ทั้งเขมร ลาว ส่วย และเยอ ซึ่งมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน แต่ประสานกลมกลืนกันอยู่
ร่วมกันอย่างสันติสุข

เลิศล้ําสามัคคี หมายถึง เป็นสิ่งเตือนใจให้ประชาชนชาวจังหวัดศรีสะเกษได้รู้จัก รักสามัคคี เพอลด
ื่
ปัญหาความขดแย้งของประชาชน ซึ่งมักจะมีเรื่องขัดแย้ง ปัญหาการร้องเรียนกันบ่อยๆ ทําให้เกิดการแตกแยก

ขาดความสามัคคีกัน


ที่ตั้งและอาณาเขต
จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ทางตอนล่างของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยตั้งอยู่ ระหว่าง

เส้นรุ้งที่ ๑๔ - ๑๕ องศาเหนือ และเส้นแวงที่ ๑๐๔ - ๑๐๕ องศาตะวันออก อยู่สูงจากระดับน้ําทะเล ประมาณ
๖๖๒.๖ ฟต อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร โดยทางรถไฟประมาณ ๕๑๕ กิโลเมตร และทางรถยนต์ ประมาณ

๕๗๑ กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น ๘,๘๓๙.๙๗๖ ตารางกิโลเมตร หรือ ๕,๕๒๔,๙๘๕ ไร่ มีขนาดใหญ่เป็น ลําดับที่
๒๑ ของประเทศ โดยอําเภอที่มีพื้นที่มากที่สุด คือ อําเภอกันทรลักษ์ มีพื้นที่ ๑,๒๓๖.๖๐ ตาราง กิโลเมตร

บทที่ 2


ข้อมูลกลุ่มชาติพนธุ์จังหวัดศรีสะเกษ

กลุ่มชาติพันธุ์
จังหวัดศรีสะเกษนับได้ว่าเป็นบริเวณที่มีความสําคัญแห่งหนึ่งในเรื่องพฒนาการทางสังคมและ

วัฒนธรรมในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในด้านตําแหน่งและสภาพแวดล้อมของภูมิศาสตร์ ศรีสะเกษอยู่ใน
บริเวณที่เรียกว่าลุ่มแม่น้ํามูล - ชีตอนล่าง (Lower Mun - Chi basin) เพราะเป็นบริเวณที่แม่น้ํามลและแม่น้ําชี

ใกล้จะไหลมาบรรจบกัน มีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่แต่โบราณกาล มีชนเผ่า กูย เขมร ลาว และเยอ ดังนี้
ชาวเขมร ได้อพยพเข้าสู่อสานใต้(บุรีรัมย์สุรินทร์และศรีสะเกษ) สมัยเขมรพระนครการ กระจาย


อานาจทางการเมืองของเขมรในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ ๑ (พ.ศ.๑๕๔๕ - ๑๕๙๓) พระเจ้าสุริยวรมัน ที่ ๒
(พ.ศ. ๑๖๕๖ - ๑๖๙๓) และพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ (พ.ศ. ๑๗๒๔ - ๑๗๖๑) เป็นสมัยที่ชาวเขมร ได้เข้ามา อยู่ใน

เขตอสานใต้เพราะกษัตริย์เขมรได้เกณฑ์ชาวเขมรจากประเทศเขมรให้เป็นผู้สร้างปราสาทและสร้างเมือง ใน

อีสานใต้เช่น ปราสาทเมืองต่ํา ปราสาทพนมรุ้ง ปราสาทหินพมาย ปราสาทเขาพระวิหาร ปราสาท สระกําแพง

ใหญ่ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้สร้างถนนจากนครธมไปตามเมืองและปราสาทต่างๆ ในเขตอีสานด้วย

ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๗ ได้มีการสร้างปราสาทในเขตอสานใต้เป็นจํานวนมาก ชาวเขมรที่

ถูกเกณฑ์แรงงานจึงได้ตั้งหลักแหล่งอยู่รอบๆ บริเวณปราสาทและสร้างเมืองใกล้บริเวณที่อดม สมบูรณ์ทําให้

วัฒนธรรมเขมรขยายเข้าสู่อสานใต้โดยเฉพาะพวกที่อพยพเข้ามาเป็นกรมการเมืองแห่งแรกที่ ปรากฏในศิลา

จารึกคือเมืองสดุกอาพล ซึ่งเชื่อว่ามีที่ตั้งใกล้ปราสาทสระกําแพงใหญ่ เพราะมีแหล่งน้ําและระบบ กัลปนา ที่มี


จํานวนผู้คนเพียงพอต่อการจัดตั้งเมือง
ชาวเขมรถิ่นไทย เรียกตนเองว่า ขแมร์แต่หากจะบ่งบอกถึงถิ่นของภาษาและชาติพันธุ์ชาว เขมรถิ่นไทย

เรียกภาษาและชาติพนธุ์ของตนเองว่า ขแมร์ลือ ซึ่งแปลว่า เขมรสูง เรียกภาษาเขมรและชาวเขมร ในประเทศ
กัมพูชาว่า ขแมร์กรอม แปลว่า เขมรต่ํา

ชาวเขมรสูงส่วนมากอยู่ในชนบท มีชีวิตเรียบง่าย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทํานา ทํา ไร่ หนุ่ม
สาวรุ่นใหม่ที่ว่างจากการทํานา ทําไร่ จะเดินทางไปรับจ้างทํางานในตัวเมืองหรือในเมืองหลวง และเมื่อ ถึงฤดู
เพาะปลูก ก็จะเดินทางกลับภูมิลําเนาเพอประกอบอาชีพหลักของตน เป็นเช่นนี้เรื่อยไป ซึ่งมีลักษณะ คล้ายคน
ื่

ไทยในท้องถิ่นทั่วไป แต่ถ้าจะเปรียบกับชาวเขมรต่ําในประเทศกัมพชาแล้ว ความเป็นอยู่ ประเพณีและ ความ
เชื่อต่างๆ ของชาวเขมรสูง จะมีส่วนคล้ายกับชาวเขมรต่ําในประเทศกัมพชามาก เช่นลักษณะบ้านชั้นเดียว

ใต้ถุนสูง พิธีกรรมเกี่ยวกับการเกิด การตาย การแต่งงาน การนับเวลา วัน เดือน ปีการเชื่อถือโชคลาง ฤกษ์ยาม
การรักษาโรคแบบพื้นบ้าน การประกอบอาชีพ การละเล่นต่างๆ ตลอดจนอุปนิสัยส่วนบุคคล เป็นต้น

ชาวส่วย กวย กุย หรือ กูย เป็นคนอกเผ่าหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญในด้านวัฒนธรรมของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ พน้องชาวส่วยมีกระจายอยู่หลายจังหวัดทางภาคอสานตอนล่าง คือ ศรีสะเกษ สุรินทร์

ี่

บุรีรัมย์และมีบ้างประปรายที่อบลราชธานี นครราชสีมา มหาสารคามและร้อยเอด ที่มีอยู่หนาแน่น ได้แก่

ศรีสะเกษ
ชาวกูยชอบอพยพเคลื่อนย้ายอยู่เสมอ เพอแสวงหาที่ดินอดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก

ื่
นอกเหนือจากอยู่ในประเทศกัมพูชาแล้ว ชาวกูยยังมีมากในบริเวณเมืองอตปือแสนปาง จําปาศักดิ์และสาละวัน

ในบริเวณตอนใต้ของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แต่เนื่องจากต้องประสบภัยธรรมชาติ


เช่น น้ําท่วม หรือฝนแล้ง รวมทั้งภัยทางการเมือง ชาวกูยจึงอพยพข้ามลําน้ําโขงเข้าสู่ภาคอสาน แก่งสะพอ

เดิม เรียกตามภาษาส่วยว่า แก่งกะชัญปืด (แก่งงูใหญ่) และในเขตอาเภอโขงเจียม ซึ่งชาวกูยเรียกว่าโพงเจียม
(ฝูง ช้าง) หลังจากนั้นลูกหลานชาวกูยก็แยกย้ายกันไปตั้งบ้านเรือนที่บ้านนากอนจอ ซึ่งภาษากูยแปลว่า




บ้านนาลูก ๓๔ หมา ปัจจุบันคือ อาเภอวารินชําราบ จังหวัดอบลราชธานีที่บ้านเจียงอซึ่งภาษากูย แปลว่าช้าง


ปุวยในเขต อาเภอเมืองศรีสะเกษในปัจจุบัน นับว่าในบรรดากลุ่มชาติพนธุ์กูย ลาว เขมร ชาวกูยเป็นชนดั้งเดิม
ที่ตั้งหลัก แหล่งอยู่ในพื้นที่ของอีสานใต้เป็นกลุ่มแรก
การอพยพเข้ามาในประเทศไทยทางตอนล่างของภาคอสานนั้น เริ่มตั้งแต่สมัยสมเด็จพระ นารายณ์

มหาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๒๓๑) และได้อพยพครั้งใหญ่เข้ามาในจังหวัดสุรินทร์และศรีสะเกษอกในยุค ปลาย

ของกรุงศรีอยุธยาไปจนจึงสมัยธนบุรี(พ.ศ. ๒๒๔๕ - ๒๓๒๖) ชาวกูยแต่ละกลุ่มที่อพยพมาตั้งหลักแหล่ง หรือหา
บริเวณล่าช้างแหล่งใหม่เพราะชาวกูยมีความชํานาญในการเดินปุา การล่าช้างและฝึกช้าง การอพยพได้ หยุดลง

ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ในเวลาต่อมาได้มีการโยกย้ายไปอยู่จังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ จังหวัดบุรีรัมย์จังหวัด
อุบลราชธานีจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดมหาสารคาม ชาวกูยในจังหวัดสุรินทร์และศรีสะเกษเรียกหมู่บ้าน
ที่ชาวกูยโยกย้ายไปว่าเป็น หมู่บ้านใหม่ การใช้ภาษาระหว่างชาวกูยกลุ่มเดิมและกลุ่มที่โยกย้ายยังคงมีความ
เข้าใจกันได้เป็นอย่างดีเพราะยังติดต่อกันอยู่

วัฒนธรรมประเพณีของชาวส่วย ได้เข้ามาผสมผสานกลมกลืน กับชาวลาว ชาวเขมร ตาม สภาพ
สิ่งแวดล้อม และวิถีชีวิตของตน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

ชาวลาว ในจังหวัดศรีสะเกษนั้นมีความสัมพนธ์กับชาวลาวในประเทศลาวเป็นอย่างยิ่ง มีการ อพยพ
เข้ามาทางฝั่งขวาแม่น้ําโขง เพอแสวงหาที่ทํากินมาตั้งแต่สมัยพทธศตวรรษที่ ๒๑ โดยมาอาศัยอยู่ในเขต หัว
ื่

เมืองเขมรปุาดง และแถบตอนกลางของภาคอสาน ส่วนการอพยพครั้งใหญ่มีใน พ.ศ. ๒๒๖๑ เมื่อกษัตริย์ผู้

ครองนครจําปาศักดิ์ได้ส่งผู้นําชาวลาวจํานวนมากพร้อมชายฉกรรจ์และครอบครัวมาตั้งบ้านเมืองหลายเมืองใน

เขตอสานตอนใต้และอสานตอนกลาง เช่น จารย์เชียง มาตั้งเมืองศรีนครเขต (อาเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ)


จารย์แก้ว (เจ้าแก้วมงคล) มาตั้งเมืองทุ่ง (อําเภอสุวรรณภูมิจังหวัดร้อยเอด) การอพยพครั้งใหญ่ต่อมาในรัชกาล

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีโดยกษัตริย์ผู้ครองนครเวียงจันทน์เกิดบาดหมางกับพระวอ พระตา ซึ่งเป็นขุนนาง
ผู้ใหญ่ของลาว ทั้งพระวอและพระตา ได้พาพรรคพวกหนีมาตั้งอยู่ที่เมืองหนองบัวลําภูมีการสู้รบกันหลายครั้ง
จึงมีการอพยพมาตั้งเมืองหลายเมือง โดยเริ่มตั้งเมืองในบริเวณตอนเหนือของลุ่มแม่น้ํา เขตชายทุ่งกุลาร้องไห้

ใน ระยะแรกๆ ต่อมาเมื่อเห็นว่าทําเลใกล้แม่น้ํามูลดีกว่า จึงมีชาวลาวอพยพเข้ามาตั้งบ้านเรือนในที่ราบ
ริมฝั่งแม่น้ํา มูล เช่น ในเขตอําเภอรัตนบุรีและเขตเมืองขุขันธ์ตอนเหนือ
อทธิพลทางวัฒนธรรมและทางสังคมของชาวลาว ได้เข้ามาผสมผสานในกลุ่มชนชาวเขมร ชาว กูย

(ส่วย) ทั้งตั้งบ้านเรือนอยู่ใกล้กันหรือเข้ามาอาศัยอยู่ในหมู่บ้านเดียวกัน ซึ่งเป็นการกลมกลืนทางวัฒนธรรม ของ

กลุ่มคน ที่เป็นไปในลักษณะชนกลุ่มน้อย จะค่อยๆ เปลี่ยนแปลงภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวิถี ชีวิต
ของตนให้เข้ากับวัฒนธรรมของชนกลุ่มที่ใหญ่กว่า
ชาวเยอ เป็นชาวพนเมืองกลุ่มหนึ่ง ที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษามอญ - เขมร เรียกตนเองว่า กวย
ื้

มีความหมายว่า คน หากจัดกลุ่มแล้ว ชาวเยอจัดอยู่ในกลุ่มของชาวกูย มีภาษาพดภาษาเดียวกัน ซึ่งมีเพยงบาง

คํา เท่านั้นที่แตกต่างกัน

ชาวเยอ เป็นชนกลุ่มน้อยที่อพยพมาจากเมืองคง แคว้นหลวงพระบางและเมืองอตปือแคว้น จําปาสัก
ประเทศลาว โดยการนําของพญากตะศิลา เป็นหัวหน้านําคนเผ่าเยออพยพมาโดยทางเรือ มาตั้งเมือง คงโคก

หรือเมืองคง อําเภอราษีไศล ในปัจจุบันนี้ ซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ํามูลซึ่งอดมสมบูรณ์ด้วยสัตว์น้ํา และเป็น เส้นทาง
ื้
คมนาคมในการติดต่อค้าขาย มูลเหตุของการตั้งชื่อเมืองอาจมาจาการที่พนที่เหล่านี้อาจมีปุามะม่วงมา ก่อน
แล้ว หรือมีการปลูกต้นไม้ผล เช่น ขนุน มะม่วง มะนาว มะพร้าว ฯลฯ ผลไม้ที่มีอยู่จํานวนมาก จึงเรียก เมือง
ตนเองว่า เมืองเยาะค็อง และเพยนเป็นเมืองคอง–เมืองคง ในที่สุด ปัจจุบันมีรูปปั้นพญากตะศิลาที่บึง คงโคก
ี้
บ้านหลุบโมก ตําบลเมืองคง อาเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ เป็นที่เคารพของชาวเยอและมีการ บวงสรวงใน

วันเพ็ญเดือนสามทุกปี

ข้อมูลประชากรที่ใช้ภาษาถิ่นในจังหวัดศรีสะเกษ




อ าเภอศิลาลาด 4 ต าบล


1.ตําบล กุง 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา เยอ 2 หมู่บ้าน


พูดสองภาษา ลาว,เยอ 1 หมู่บ้าน

2.ตําบล คลีกลิ้ง 11 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 11 หมู่บ้าน


3. ตําบล หนองบัวดง 9 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 9 หมู่บ้าน

4.ตําบล โจดม่วง 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 10 หมู่บ้าน


อ าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ 5 ต าบล


1.ตําบล เสียว 17 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาว 14 หมู่บ้าน


พูดสองภาษา ลาว-ส่วย 2 หมู่บ้าน


2. ตําบล โดด 25 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 25 หมู่บ้าน

3. ตําบลหนองม้า 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 6 หมู่บ้าน


พูดสามภาษา ลาว-ส่วย-ส่วยบรู 1 หมู่บ้าน


4. ตําบล ผือใหญ่ 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 6 หมู่บ้าน

พูดสองภาษา 7 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 1 หมู่บ้าน

5. ตําบล อีเซ 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน


อ าเภอ พยห์ 5 ต าบล


1. ตําบล พยุห์ 13 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน


พูดสองภาษา ลาว - ส่วย 1 หมู่บ้าน


2. ตําบล ตําแย 15 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 2 หมู่บ้าน

3. ตําบล โนนเพ็จ 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 5 หมู่บ้าน


พูดสองภาษา ลาว- ส่วย 5 หมู่บ้าน

พูดสองภาษา ลาว-เยอ 1 หมู่บ้าน


4. ตําบล หนองค้า 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว - ส่วย 10 หมู่บ้าน


5. ตําบล พรหมสวัสดิ์ 20 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 5 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว-ส่วย 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว-เขมร 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-เยอ 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เยอ 2 หมูบ้าน

พูดภาษา ส่วย 1 หมู่บ้าน

อ าเภอ เมืองจันทร์ 3 ต าบล

1. ตําบล ตาโกน 15 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน

2. ตําบล เมืองจันทร์ 25 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 18 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 7 หมู่บ้าน


3. ตําบล หนองใหญ่ 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 9 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 3หมู่บ้าน


อ าเภอ เบญจลักษณ์ 5 ต าบล


1. ตําบล เสียว 14 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 14 หมู่บ้าน


2. ตําบล หนองหว้า 15 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย 1 หมู่บ้าน


3. ตําบล หนองงูเหลือม 13 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน


4. ตําบล หนองฮาง 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 5 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 1 หมู่บ้าน

5. ตําบล ท่าคล้อ 13 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน


อ าเภอ ภูสิงห์ 7 ต าบล


1. ตําบล โคกตาล 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว-เขมร 7 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-เขมร 2 หมู่บ้าน


2. ตําบล ห้วยตามอญ 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 7 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 3 หมู่บ้าน


3. ตําบล ห้วยติ๊กชู 18 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-เขมร 12 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย-ลาว-เขมร 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 2หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย 1หมู่บ้าน


4. ตําบล ละลม 13 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย-ลาว-เขมร 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 2 หมู่บ้าน


5. ตําบล ตะเคียนราม 14หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 7 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว-เขมร 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-เขมร 1 หมู่บ้าน

6. ตําบล ดงรัก 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย-เขมร 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-เขมร 1 หมู่บ้าน

อ าเภอ น้ าเกลี้ยง 5 ต าบล


1. ตําบลนําเกลี้ยง 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 4 หมู่บ้าน


2. ตําบล เขิน 13 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว - ส่วย 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 3 หมู่บ้าน


3. ตําบล ละเอาะ 13 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 3หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 1 หมู่บ้าน


4. ตําบล ตองปิด 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 8 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 3 หมู่บ้าน


5. ตําบลรุ้งระวี 15 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว-ส่วย 3 หมู่บ้าน

6. ตําบล คูบ 10 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


อ าเภอ บึงบูรพ์ 2 ต าบล

1. ตําบล เปฺาะ 16 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 16 หมู่บ้าน


2. ตําบลบึงบูรพ์ 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 9 หมู่บ้าน


อ าเภอ วังหิน 8 ต าบล

1. ตําบล ดวนใหญ่ 18 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 16 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 2 หมู่บ้าน

2. ตําบล ธาตุ 16 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 16 หมู่บ้าน


3. ตําบล บุสูง 22 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 22 หมู่บ้าน


4. ตําบล บ่อแก้ว 19 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 19 หมู่บ้าน


5. ตําบล ศรีสําราญ 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน


6. ตําบล ทุ่งสว่าง 15 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 15 หมู่บ้าน

7. ตําบล วังหิน 11 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย 3 หมู่บ้าน


8. ตําบล โพนยาง 12 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 11 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว-เขมร 1 หมู่บ้าน


อ าเภอ ศรีรัตนะ 7 ต าบล


1. ตําบล ศรีแก้ว 15 หมู่บ้าน


พูดภาษาเขมร 7 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 7 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย-ลาว-เขมร 1 หมู่บ้าน


2. ตําบล พิงพวย 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 9 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว-เขมร 5 หมู่บ้าน


3. ตําบล สระเยาว์ 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 7 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 2 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ส่วย 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


4. ตําบล ตูม 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 10 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 2 หมู่บ้าน

5. ตําบล เสื่องข้าว 11 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 7 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


6. ตําบล ศรีโนนงาม 10 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย-ลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย 2 หมู่บ้าน


7. ตําบล สะพุง 14 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว หมู่บ้าน 1 หมู่บ้าน

อ าเภอ โนนคูณ 5 ต าบล


1. ตําบล บก 17 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 17 หมู่บ้าน


2. ตําบล โพธิ์ 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน

3. ตําบล หนองกุง 18 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 18 หมู่บ้าน


4. ตําบล โนนค้อ 20 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 20 หมู่บ้าน

5. ตําบล เหล่ากวาง 12 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย 2 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 1 หมู่บ้าน


อ าเภอ ห้วยทับทัน 6 ต าบล


1.ตําบล กล้วยกว้าง 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 5 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 4 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วยลาว 1 หมู่บ้าน


2. ตําบล ผักไหม 17 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 6 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย 2 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


3. ตําบล เมืองหลวง 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 2 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน


4. ตําบล ห้วยทับทัน 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย 2 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย2 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน

5. ตําบล จานแสนไชย 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 5 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 2 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


6. ตําบล ปราสาท 16 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย- ลาว 5 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 5 หมู่บ้าน



อ าเภอ ยางชมน้อย 7 ต าบล

1. ตําบล ยางชุมน้อย 10 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 10 หมู่บ้าน


2. ตําบล คอนกาม 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน


3. ตําบล ลิ้นฟูา 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 14 หมู่บ้าน

4. ตําบล โนนคูณ 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 14 หมู่บ้าน


5. ตําบล กุดเมืองฮาม 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 8 หมู่บ้าน

6. ตําบล บึงบอน 13 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน


7. ตําบล ยางชุมใหญ่ 8 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 8 หมู่บ้าน


อ าเภอ ไพรบึง 6 ต าบล


1. ตําบล ไพรบึง 21 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 15 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 3 หมู่บ้าน


2. ตําบล ดินแดง 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 4 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 3 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ส่วย 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


3. ตําบลปราสาทเยอ 11 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา เยอ 4 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 1 หมู่บ้าน


4. ตําบล สําโรงพลัน 17 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 17 หมู่บ้าน

5. ตําบล สุขสวัสดิ์ 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 4 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 4 หมู่บ้าน


พูดภาษา เยอ 3 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย-ลาว-เยอ 1 หมู่บ้าน

6. ตําบล โนนปูน 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 5 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


อ าเภอ ปรางค์กู่ 10 ต าบล

1. ตําบล พิมาย 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 5 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 4 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว-เขมร-เยอ 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 1 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ลาว 1 หมู่บ้าน


2. ตําบล กู่ 17 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 17 หมู่บ้าน

3. ตําบล ตูม 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 2 หมู่บ้าน


4. ตําบล หนองเชียงทูน 19 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 5 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 4 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-เขมร 1 หมู่บ้าน

5. ตําบล สมอ 17 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 1หมู่บ้าน


6. ตําบล โพธิ์ศรี 14 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 5 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


7. ตําบล สําโรงปราสาท 17 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 3 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย-ลาว 2 หมู่บ้าน


8. ตําบล ดู่ 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 5 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 2 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ส่วย 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


9. ตําบล สวาย 10 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 5 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย-ลาว-เขมร 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 1 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย-เขมร 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


10. ตําบล พิมายเหนือ 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 3 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว-เขมร 1 หมู่บ้าน

อ าเภอ ขุนหาญ 12 ต าบล


1. ตําบล สิ 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


2. ตําบล กระหวัน 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 5 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน

3. ตําบล กันทรอม 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 1 หมู่บ้าน

4. ตําบล ขุนหาญ 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 8 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 1 หมู่บ้าน


5. ตําบล บักดอง 22 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 16 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 2 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว-เขมร-ส่วย 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย 1 หมู่บ้าน


6. ตําบล พราน 20 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-เขมร 8 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน


7. ตําบล ไพร 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 9 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 2 หมู่บ้าน


8. ตําบล โนนสูง 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน

9. ตําบล โพธิ์วงค์ 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน

10. ตําบล ภูฝูาย 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 5 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


11. ตําบล ห้วยจันทร์ 5 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 3 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 2 หมู่บ้าน


12. ตําบล โพธิ์กระสังข์ 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 1 หมู่บ้าน

อ าเภออุทุมพรพิสัย 19 ต าบล


1. ตําบล กําแพง 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 9 หมู่บ้าน

2. ตําบล ก้านเหลือง 20 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 20 หมู่บ้าน


3. ตําบล ขะยุง 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน


4. ตําบล แข้ 9 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 9 หมู่บ้าน


5. ตําบล แขม 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน


6. ตําบล ตาเกษ 12 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน

7. ตําบล แต้ 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 8 หมู่บ้าน

8. ตําบล ทุ่งไชย 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 9 หมู่บ้าน


9. ตําบล ปะอาว 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 14 หมู่บ้าน

10. ตําบล โพธิ์ชัย 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 11 หมู่บ้าน


11. ตําบล รังแร้ง 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน


12. ตําบล สําโรง 17 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 17 หมู่บ้าน


13. ตําบล หนองห้าง 17 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 10 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว-ส่วย 7 หมู่บ้าน


14. ตําบล หนองไฮ 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 7 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 5 หมู่บ้าน


15. ตําบล หัวช้าง 11 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 11 หมู่บ้าน


16. ตําบล อีหล่ํา 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-เขมร 1 หมู่บ้าน

17. ตําบล สระกําแพงใหญ่ 14 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 14 หมู่บ้าน


18. ตําบล โคกจาน 10 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 10 หมู่บ้าน


19. ตําบล โคกหล่าม 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 10 หมู่บ้าน


อ าเภอ ราศีไศล 13 ต าบล

1. ตําบล เมืองคง 15 หมู่บ้าน


พูดภาษา เยอ 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 3 หมู่บ้าน


2. ตําบล ด่าน 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน

3. ตําบล ดู่ 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 14 หมู่บ้าน


4. ตําบล บังหุ่ง 18 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 18 หมู่บ้าน


6. ตําบล เมืองแคน 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 14 หมู่บ้าน


7. ตําบล ส้มปุอย 17 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 14 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาวโคราช 3 หมู่บ้าน


8. ตําบล หนองแค 17 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 17 หมู่บ้าน


9. ตําบล หนองอึ่ง 17 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 10 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 7 หมู่บ้าน


10. ตําบล จิกสังข์ทอง 10 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-เยอ 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา เยอ 1 หมู่บ้าน


11. ตําบล หนองหมี 18 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว18 หมู่บ้าน


12. ตําบล หว้านคํา 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน


13. ตําบล สร้างปี่ 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน

อ าเภอ ขุขันธ์ 22 ต าบล


1. ตําบล ห้วยเหนือ 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 11 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว-เขมร 3 หมู่บ้าน


2. ตําบล กันทรารมย์ 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-เขมร 1 หมู่บ้าน


3. ตําบล จะกง 13 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 3 หมู่บ้าน





4. ตําบล ใจดี 11 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 11 หมู่บ้าน

5. ตําบล ดองกําเม็ด 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 7 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษาส่วย 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย 1 หมู่บ้าน


6.ตําบล ตะเคียน 12 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 4 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-เขมร 2 หมู่บ้าน


7. ตําบล ปรือใหญ่ 20 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 14 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ส่วย 2 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 1 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ลาว 1 หมู่บ้าน


8. ตําบล สะเดาใหญ่ 17 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 17 หมู่บ้าน


9. ตําบล โสน 23 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 14 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 3 หมู่บ้าน

10. ตําบล หัวเสือ 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 14 หมู่บ้าน

11. ตําบล ตาอุด 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 5 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 3 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 1 หมู่บ้าน

12. ตําบล ห้วยใต้ 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 5 หมู่บ้าน


13. ตําบล นิคมพัฒนา 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 6 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ส่วย-ลาว 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-เขมร 1 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน


14. ตําบล โคกเพรช 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 1 หมู่บ้าน


15. ตําบล ปราสาท 9 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร 7 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 1 หมู่บ้าน


16. ตําบล สําโรงตาเจ็น 17 หมู่บ้าน

พูดภาษา เขมร-ลาว 8 หมู่บ้าน

พูดภาษาเขม-ส่วย-ลาว 4 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 4 หมู่บ้าน ไ

พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน


17. ตําบล ห้วยสําราญ 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน

18. ตําบล กฤษณา 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 5 หมู่บ้าน


19. ตําบล ลมศักดิ์ 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 11 หมู่บ้าน

20. ตําบล หนองฉลอง 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 4 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร-ลาว 4 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 1 หมู่บ้าน


21. ตําบล ศรีตระกูล 7 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 5 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย 2 หมู่บ้าน

22. ตําบล ศรีสะอาด 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา เขมร 9 หมู่บ้าน


อ าเภอ กันทรารมย์ 16 ต าบล


1. ตําบล ดูน 14 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 14 หมู่บ้าน

2. ตําบล จาน 15 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ส่วย-ลาว 2 หมู่บ้าน


3. ตําบล ดู่ 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 8 หมู่บ้าน

4. ตําบล ทาม 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน


5. ตําบล โนนสัง 14 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-เยอ 2 หมู่บ้าน

6. ตําบล บัวน้อย 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 11 หมู่บ้าน


7. ตําบล ผักแพว 18 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 18 หมู่บ้าน


8. ตําบล เมืองน้อย 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 10 หมู่บ้าน


9. ตําบล ยาง 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 9 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย-ลาว 3 หมู่บ้าน


10. ตําบล ละทาย 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 9 หมู่บ้าน



11. ตําบล หนองแกว 7 หมู่บ้าน
พูดภาษา ลาว 7 หมู่บ้าน

12. ตําบล หนองบัว 7 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 7 หมู่บ้าน

13. ตําบล หนองแวง 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 11 หมู่บ้าน


14. ตําบลหนองหัวช้าง 12 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน

15. ตําบล อีปาด 5 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 5 หมู่บ้าน


16. ตําบล คําเนียม 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 10 หมู่บ้าน


อ าเภอ เมือง 16 ต าบล

1. ตําบล คูซอด 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 10 หมู่บ้าน


2. ตําบล จาน 12 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน


3. ตําบล ซํา 14 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-เยอ 1 หมู่บ้าน


4. ตําบลตะดอบ 8 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว-ส่วย 7 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 1 หมู่บ้าน


5. ตําบล ทุ่ม 13 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 10

พูดภาษา เยอ 3 หมู่บ้าน

6. ตําบล น้ําคํา 15 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 15 หมู่บ้าน

7. ตําบล โพธิ์ 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 6 หมู่บ้าน


8. ตําบล โพนข่า 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 10 หมู่บ้าน

9. ตําบล โพนเขวา 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 10 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว-ส่วย 1 หมู่บ้าน


10. ตําบลโพนค้อ 6 หมู่บ้าน


พูดภาษา เยอ 6 หมู่บ้าน

11. ตําบล หญ้าปล้อง 8 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 8 หมู่บ้าน


12. ตําบล หนองแก้ว 12 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 12 หมู่บ้าน


13. ตําบล หนองครก 9 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 9 หมู่บ้าน


14. ตําบล หนองไฮ 7 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 5 หมู่บ้าน

พูดภาษา ส่วย-ลาว 2 หมู่บ้าน


15. ตําบล หมากเขียบ 11 หมู่บ้าน


พูดภาษา ลาว 11 หมู่บ้าน


16. ตําบล หนองไผ่ 11 หมู่บ้าน

พูดภาษา ลาว 11 หมู่บ้าน

อ าเภอกันทรลักษ์


1.ตําบลน้ําอ้อม มี 16 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาว 12 หมู่บ้าน


2.ตําบลกระแชง มี 20 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 7 หมู่บ้านฃ


พูดภาษาส่วย 7 หมู่บ้าน

พูดภาษาเขมร 2 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาวและภาษาส่วย 3 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว ,ภาษาเขมรและภาษาส่วย 1 หมู่บ้าน


3.ตําบลกุดเสลา มี 16 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 12 หมู่บ้าน

พูดภาษาเขมร 3 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน


4.ตําบลจานใหญ่ มี 16 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาว 14 หมู่บ้าน


พูดภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน


พูดภาษาส่วย 1 หมู่บ้าน


5.ตําบลชํา มี 8 หมู่บ้าน


พูดภาษาเขมร 5 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน


6.ตําบลบึงมะลู มี 20 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 11 หมู่บ้าน

พูดภาษาเขมร 4 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน


ยังไม่ทราบข้อมูล 4 หมู่บ้าน

7.ตําบลเมือง มี 10 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 7 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 2 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาวและภาษาส่วย 1 หมู่บ้าน

8.ตําบลรุง มี 10 หมู่บ้าน


พูดภาษาเขมร 5 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 3 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 2 หมู่บ้าน


9.ตําบลละลาย มี 12 หมู่บ้าน

พูดภาษาเขมร 9 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 3 หมู่บ้าน


10.ตําบลสังเม็ก มี 20 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาว 15 หมู่บ้าน


พูดภาษาเขมร 3 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 2 หมู่บ้าน


11.ตําบลตระกาจ มี 12 หมู่บ้าน


พูดภาษาส่วย 9 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษาส่วยและภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน


12.ตําบลภูเงิน มี 19 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 14 หมู่บ้าน

พูดภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 4 หมู่บ้าน


13.ตําบลโนนสําราญ มี 11 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาว 9 หมู่บ้าน


พูดภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน


14.ตําบลหนองหญ้าลาด มี 17 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาว 13 หมู่บ้าน


พูดภาษาส่วย 3 หมู่บ้าน


บ้านซําตาวัน หมู่ 17 ****ยังไม่มีข้อมูล****


15.ตําบลเสาธงชัย มี 13 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 5 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 5 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาวและภาษาส่วย 2 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว ภาษาเขมรและภาษาส่วย 1 หมู่บ้าน

16.ตําบลขนุน มี 15 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 10 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 5 หมู่บ้าน


17.ตําบลสวนกล้วย มี 11 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 10 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน


18.ตําบลเวียงเหนือ มี 9 หมู่บ้าน


พูดภาษาเขมร 6 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 2 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน

19.ตําบลทุ่งใหญ่ มี 17 หมู่บ้าน


พูดภาษาเขมรทั้ง 17 หมู่บ้าน

20.ตําบลภูผาหมอก มี 6 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาว 2 หมู่บ้าน


พูดภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน


พูดภาษาลาวและภาษาเขมร 1 หมู่บ้าน

พูดภาษาลาว ภาษาส่วยและภาษาเขมร 2 หมู่บ้าน

ี่
บทท 3

ิ่
ลักษณะเอกลักษณ์ภาษาถนจังหวัดศรีสะเกษ


ภาษาถิ่น
ท้องที่จังหวัดศรีสะเกษมีประชาชนที่มีภาษาและสําเนียงการพดหลากหลายแตกต่างกัน ซึ่งแสดงให้

ื้
เห็นว่า ประชากรจังหวัดศรีสะเกษมีพื้นเพ เผ่าพันธุ์ หรืออพยพมาจากท้องถิ่นใดบ้าง โดยมีภาษาพนเมืองหลาย
ภาษา เช่น

พูดภาษาส าเนียงลาวเวยงจันทร์ ที่บ้านพยุห์ บ้าหนองครก บ้านคูซอด บ้านโพนข่า บ้านยางกุด
บ้านก้านเหลือง อําเภอเมืองศรีสะเกษ บางท้องที่ของอําเภอขุนหาญ อําเภอกันทรลักษณ์

ภาษาส าเนียงลาวอุบล กระจัดกระจายอยู่เกือบทุกแห่งในอําเภอกันทรารมย์ อาเภอกันทรลักษ์อาเภอ


ราษีไศล อําเภอบึงบูรพ์ อําเภอโนนคูณ
ื้
ภาษาส าเนียงลาวใต้ เน้นวรรณยุกต์ตรีในสําเนียงอกษรกลาง เช่น กิน เป็น กิ๊น ในเกือบทุกพนที่





อาเภอเมืองศรีสะเกษ อาเภออทุมพรพสัย อาเภอปรางค์กู่ อาเภอขุขันธ์ อาเภอห้วยทับทัน อาเภอเมืองจันทร์




อําเภอน้ําเกลี้ยง อําเภอขุนหาญ ซึ่งมักจะถูกเรียกว่าส่วย ทั้งที่พูดภาษาลาว





ภาษาเขมร พดกันมากในท้องที่อาเภอขุขันธ์ อาเภอกันทรลักษ์ อาเภอภูสิงห์ อาเภอขุนหาญ
อําเภอปรางค์กู่ อําเภอไพรบึง อําเภอศรีรัตนะ คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ของประชากรทั้งจังหวัด

ภาษาส่วย ซึ่งเป็นภาษาพดมาจากเค้าภาษามอญที่คล้ายกับภาษากะโซ่ (ข่าที่มีผิวคล้ํา) ภาษาข่า


ภาษาเยอ ในบางท้องที่ของอาเภอเมืองศรีสะเกษ อาเภออทุมพรพสัย อาเภอราศีไศล อาเภอไพรบึง




อําเภอปรางค์กู่ อําเภอห้วยทับทัน อําเภอศรีรัตนะ อําเภอน้ําเกลี้ยง อําเภอเมืองจันทร์ เป็นต้น แต่ชาวส่วยเรียก
ตนเองว่า กวย กุย ซึ่งหมายความว่าคน เช่นคําว่าหมา ภาษาส่วยว่า จอภาษากะโช้ว่า จอ ภาษาเยอว่า จอพวก
กวยปรากฏในประวัติศาสตร์ไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ภายหลังการตั้งบ้านเมืองมีหน้าที่ส่งส่วยช้าง
ถวายกษัตริย์กรุงศรีอยุธยา จนในที่สุดต้องถูกเกณฑ์แรงงาน ถูกเจ้าเมืองกรมการเมืองจับตัวไปขายเพอส่งส่วย
ื่
แทนเงิน จนรัชกาลที่ ๕ ได้ประกาศยกเลิกพร้อมการเลิกทาส ผู้พูดภาษาส่วยคิดเป็นร้อยละ 1 ของประชากรทั้ง
จังหวัด

ภาษาเยอ เป็นภาษาตระกูลเดียวกันกับภาษาส่วย มีอยู่ในบางท้องที่ของอาเภอราศีไศลที่บ้านกุง
บ้านขาม บ้านกลาง บ้านจิก บ้านหลุบโมก บ้านดอนเรือ บ้านบากเรือ บ้านหว้าน บ้านร่องโศก บ้านใหญ่



บ้านกลาง อาเภอเมืองศรีสะเกษที่บ้านขมิ้น บ้านโพนค้อ อาเภอไพรบึงที่บ้านปราสาทเยอ ผู้พดภาษาเยอคิด
เป็นร้อยละ ๑ ของประชากรทั้งจังหวัด

จากการสํารวจเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ พบว่ามีประชาชนชาวศรีสะเกษใช้ภาษาลาวหรือภาษาอสาน
ร้อยละ ๖๕.๓๑ ภาษาเขมร ร้อยละ ๒๐ ภาษาส่วย ร้อยละ ๑๓ ภาษาเยอ ร้อยละ ๑
ภาษาลาว
ื้
ภาษาลาวหรือภาษาอีสานเป็นภาษาที่มีพนฐานและตัวอกษรแบบเดียวกัน แต่มีพฒนาการแตกต่างกัน


ื้
ื้

เนื่องจากมีพนที่ติดต่อกับต่างประเทศคนละด้าน สําเนียงการพดภาษาท้องถิ่นก็แตกต่างกันตามพนเพเดิมที่
อพยพมา เช่น ชาวบ้านคูซอด บ้านโพนข่า บ้านพยุห์ที่มาจากเวียงจันทน์ สําเนียงจะเนิบๆช้าๆส่วนที่อพยพมา
จากลาวใต้จะมีสําเนียงที่เรียกว่า ส่วย คือพูดภาษาลาวแต่อักษรกลางจะออกเสียงตรี เช่น กิ๊น ไปฺ ดี๊ ตี๊
ภาษาเขมร



ชนชาวเขมรในจังหวัดศรีสะเกษ เป็นชาวเขมรบน ที่มีการใช้ภาษาพดสําเนียงแตกต่างจากชาวกัมพชา
หรือเขมรลุ่ม แต่สามารถสื่อสารเข้าใจกันได้


ภาษาส่วย


เป็นภาษาตระกูลมอญเขมร คล้ายกับภาษาโช้ แสก ข่า มอญ ที่พดเข้าใจกันได้ ไม่มีตัวอกษรตาม
ื่

ตํานานเล่าว่าชาวส่วยคิดประดิษฐ์ตัวอกษรแล้วจารึกบนหนังสัตว์ นําไปตากให้แห้งเพอเก็บรักษา แล้วสุนัข
มาคาบไปกินหมด เมื่อถามถึงตัวหนังสือชาวส่วยจะตอบว่า จอจาจิม แปลว่า หมากินหมด นอกจากนั้นยังมี
ภาษาพิเศษสําหรับหมอควาญในการบวงสรวงก่อนออกจับช้าง
ภาษาเยอ
เป็นภาษาเดียวกับภาษาส่วยเพยง แต่สําเนียงแตกต่างและเพยนกันไป ผู้ชํานาญด้านภาษาบางท่าน

ี้
สรุปว่า เยอ คือภาษาส่วยที่ใกล้ชิดภาษาลาว ส่วยคือภาษาเยอที่ใกล้ชิดภาษาเขมร และภาษาส่วยเยอเป็นภาษา


ที่ออนไหวจากอทธิพลของภาษารอบข้าง คือลาวและเขมรมาก แต่ละหมู่บ้านส่วยหรือเยอ จะมีสําเนียงหรือ
คําศัพท์ที่ค่อนข้างแปลกแตกต่างกันชัดเจน ซึ่งง่ายต่อการสูญสลายทางภาษาในที่สุด

เอกลักษณ์ภาษาไทยในศรีสะเกษ
ภาษาไทยของศรีสะเกษมีเอกลักษณ์เฉพาะบางประการ แตกต่างจากภาษาไทยอสานโดยรวมซึ่งใช้


ภาษาลาวเวียงจันทน์ อนเป็นภาษาที่ใช้กันส่วนใหญ่ในลาวภาคเหนือและลาวภาคกลาง เหตุที่ภาษาไทยถิ่น
ศรีสะเกษมีเอกลักษณ์เฉพาะ เพราะภาษาไทยถิ่นศรีสะเกษตั้งอยู่ท่ามกลางบริบทของภาษาอน ๆ หลายภาษา
ื่
ได้แก่ ภาษาเขมร ส่วย (กุยหรือกวย) เยอ และลาวเวียงจันทน์ ทําให้การผสมกลมกลืนกันในภาษาถิ่น
แตกออกมาเป็นสําเนียงถิ่นศรีสะเกษโดยเฉพาะ


หัวข้อที่น ามาเปรียบเทียบ
๑. หน่วยเสียงพยัญชนะ

๒. หน่วยเสียงสระ
3. หน่วยเสียงวรรณยุกต์
๑. หน่วยเสียงพยัญชนะ
หน่วยเสียงพยัญชนะต้น เมื่อเปรียบเทียบ หน่วยเสียงพยัญชนะต้นถิ่นกรุงเทพเป็นตัวตั้ง ดังนี้


หน่วยเสียง ได้แกอักษร

1. ก ก

2. ค ข ค ฆ
3. จ จ
4. ง ง

5. ช ฉ ช ฌ
6. ซ ช ศ ษ ส ท ร
7. ย ญ ย

8. ด ด ฎ ฑ
9. ต ต ฏ
10. ท ฑ ท ฒ ธ

11. น ร ณ

12. บ บ
13. ป ป


หน่วยเสียง ได้แกอักษร

14. พ ผ พ ภ
15. ฟ ฝ ฟ

16. ม ม
17. ร ร
18. ล ล ฬ

19. ว ว
20. อ อ
21. ฮ ฮ ห


ข้อเปรียบเทียบและข้อสังเกต
๑. ภาษาไทยถิ่นกรุงเทพ มีหน่วยเสียงพยัญชนะต้นตามจํานวนข้างต้น คือ ๒๑ หน่วยเสียง หน่วยเสียง

พยัญชนะต้นถิ่นศรีสะเกษมี ๑๙ หน่วยเสียง ที่ลดและเพิ่มจากภาษาไทยถิ่นกรุงเทพ มีดังนี้
หน่วยเสียงที่ไม่มีในภาษาถิ่นศรีสะเกษ ได้แก่
๑. เสียง ช ใช้ ซ แทน เช่น ช้าง ใช้ ซ่าง
๒. เสียง ฟ ใช้ พ แทน เช่น ไฟ ใช้ ไพ



๓. เสียง ร ใช้ ฮ ล แทน เช่น เรือน ใช้ เฮือน เฮยน, รู ใช้ ฮ, เรียน ใช้ เฮียน เลียน
ที่เพิ่มเข้ามาในภาษาถิ่นศรีสะเกษ (รวมทั้งถิ่นอีสานโดยรวม) คือ
เสียง ญ (ขึ้นนาสิก) เช่น ผู้หญิง ใช้ พูญิง
ลักษณะพิเศษของภาษาถิ่นศรีสะเกษที่แตกต่างจากภาษาถิ่นอีสานโดยรวม คือ

๑. ภาษาถิ่นศรีสะเกษ ไม่มีเสียง ฟ จะใช้เสียง พ แทน เช่น ไฟ เป็นไพ

๒. กรณีเสียง ร ภาษาไทยถิ่นอสานโดยรวมจะใช้เสียง ฮ แทน ในขณะที่ภาษาถิ่นศรีสะเกษ ใช้ทั้ง ล
และ ฮ แทน เช่น โรงเรียน ใช้ว่า โลงเลียน ไม่ใช่ โฮงเฮียน เรือนใช้ เฮือน เป็นต้น
หน่วยเสียงพยัญชนะปิดท้ายพยางค์

๑. หน่วยเสียงพยัญชนะปิดท้ายพยางค์ หรือที่มักเรียกกันทั่วไปว่า ตัวสะกดปรากฏว่าเหมือนกันกับ
ภาษาไทยถิ่นกรุงเทพ กล่าวคือ เมื่อนับรวม แม่ ก. กา แล้ว รวมทั้งสิ้น ๙ แม่
๒. กรณีพยัญชนะปิดท้ายพยางค์ที่เป็นสระเสียงสั้นเช่นในคําว่า คะ ค่ะ ภาษาถิ่นกรุงเทพ จะมีเสียงถึง


อ กึ่ง ฮ ตามมา เหมือนกับจะเขียนเป็น คะฮ, ค่ะฮ ภาษาไทยถิ่นศรีสะเกษ ก็เช่นกัน เช่น บ๊ะ เหมือนกับจะ

เขียนถอดเสียงเป็น บะฮ์

๓. การออกเสียงตัวสะกด เช่น ภาษาองกฤษ eat จะมีเสียง ท ตามมา ภาษาเขมร คํา กบาล
จะมีเสียง ล ตามมา เป็นต้น ปรากฏว่าภาษาถิ่นศรีสะเกษเหมือนกับภาษาถิ่นกรุงเทพ คือไม่มีเสียงสะกด
ดังกล่าว

พยัญชนะควบกล้ า ไม่ปรากฏเสียงพยัญชนะควบกล้ําในภาษาถิ่นศรีสะเกษ
๒. หน่วยเสียงสระ
หน่วยเสียงสระภาษาถิ่นศรีสะเกษเหมือนกันและเท่ากันกับภาษาถิ่นกรุงเทพคือมีเสียงสระเดี่ยว ๑8

เสียง สระประสม 6 เสียง



ื้
มีข้อน่าสังเกตเฉพาะภาษาถิ่นศรีสะเกษ คือ เสียงสระ เออ-เอย คือ เสียงเออ ในภาษาถิ่นกรุงเทพ


เช่น เรือน เกลือ มะเขือ ภาษาถิ่นอสานโดยรวมหรือภาษาถิ่นลาวเวียงจันทน์ มักใช้สระเอย เช่นเฮยน เกีย



หมากเขีย ตามลําดับ แต่ภาษาไทยถิ่นอสานใต้รวมทั้งศรีสะเกษ จะใช้เสียง เออ เหมือนภาษาถิ่นกรุงเทพ คือ
เฮือน เกลือ หมากเขือ ตามลําดับ
๓. หน่วยเสียงวรรณยุกต์
ผลการศึกษาขั้นต้นพบว่า ภาษาไทยถิ่นศรีสะเกษ มีเสียงวรรณยุกต์ ๕ เสียง เช่นเดียวกับภาษาถิ่น

กรุงเทพ แต่ภาษาถิ่นศรีสะเกษมีลักษณะเฉพาะแตกต่างไปจากภาษาไทยถิ่นอน คือ คําที่เป็นอกษรกลางหรือ
ื่
อักษรต่ํา คําเป็นที่เป็นเสียงสามัญในภาษาถิ่นกรุงเทพ เช่น กิน ไป กู ภาษาถิ่นศรีสะเกษจะออกเสียงเกือบเป็น
เสียงตรี หรือเสียงตรีคือ กิ๊น ไปฺ กู๊ ซึ่งถูกชาวอบลเรียกว่าภาษาส่วย แต่ที่จริงคือภาษาลาวสําเนียงส่วย สําเนียง

นี้จะใช้ในหมู่ชาวส่วยในจังหวัดสุรินทร์ และชาวแคว้นอัตปือของลาวด้วย

ผู้ชํานาญการด้านภาษาพยายามใช้เครื่องมือวัดเสียงทางสัทศาสตร์ พบว่าเสียงดังกล่าวอยู่ในระดับ
ประมาณครึ่งโทครึ่งตรี แต่เนื่องจากไม่มีรูปวรรณยุกต์แทนเสียงดังกล่าว เมื่อจะเขียนถ่ายทอดเสียงเหล่านี้
จะใช้ไม้ตรีแทน เช่น กิน ออกเสียง กิ๊น ไป ออกเสียง ไปฺ กู ออกเสียง กู๊ ก็ไม่ผิดเพี้ยนจากเสียงที่ออกไปจริงนัก

ี่
บทท 4

ตวอย่างพจนานุกรมภาษาถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ ส่วย (กูย) เขมร ลาว เยอ


จากเอกลักษณ์ภาษาถิ่นดังกล่าว สามารถรวบรวมเป็นหมวดหมู่แบ่งตามภาษาถิ่น ดังนี้
ภาษาส่วย (กูย)
๑.หมวดธรรมชาติ
ลําดับ ภาษาไทย คําอ่าน ภาษาส่วย (กูย)

1 วัน ตะ-งัย ตะไง
2 หิน ตะ-เหมา ตะเมา
3 เดือน กะ-ไซ กะไซ

4 ทะเล ถะ-เล ถเล
5 ปี กะ-มอ กมอ
6 ทองคํา แยง แยง

7 วันอาทิตย์ ตะ-ไง-วัน-อา-ถิด ตะไงวันอาถิด
8 เหล็ก ต๊า ต๊า
9 วันจันทร์ ตะ-ไง-วัน-จัน ตะไงวันจัน

10 สังกะสี ซัง-กะ-ซี ซังกะซี
11 วันอังคาร ตะ-ไง-วัน-เขียน ตะไงวันเขียน
12 น้ํา เดี๊ย เดี๊ย

13 วันพุธ ตะ-ไง-วัน-พุด ตะไงวันพุด
14 ดิน กะ-แต๊ะ กะแต๊ะ
15 วันพฤหัสบดี ตะ-ไง-วัน-พัด ตะไงวันพัด

16 ปุา ก็อฮ ก็อฮ
17 วันศุกร์ ตะ-ไง-วัน-สุก ตะไงวันสุก
18 ไฟ อูฮ อูฮ

19 วันเสาร์ ตะ-ไง-วัน-เซา ตะไงวันเซา
20 ลม กะ-ยาล กะยาล
21 ดาว อึน-ตอล อึนตอล

22 ฟูาร้อง พร๊ะ-พรีม พร๊ะพรีม
23 หมอก เดี๊ยะ-ตะ-ล๊ะ เดี๊ยะตะล๊ะ
24 ถ้ํา ลึ๊ ลึ๊
25 เมฆ ละ-เม็อล ละเม็อล

26 คลอง จ๊อง-ล๊อง จ๊อง-อง
27 แม่น้ํา ตอม ตอม

28 ฝน เมี่ย เมี่ย
29 ภูเขา พรู พรู
30 น้ํามัน อึน-แซง อึนแซง
31 ต้นไม ้ ขั่ล-อะ-หลวง ขั่ลอะหลวง

๒.หมวดสัตว์
ลําดับ ภาษาไทย คําอ่าน ภาษาส่วย (กูย)
1 ไก่ อึน-ถรู่ย อึนถรู่ย

2 สุนัข อะ-จอ อจอ
3 หมู อะ-หลี่ห์ อหลี่ห์

4 ม้า อะ-แซ็ะ อแซ็ะ
5 เป็ด เถีย เถีย
6 แมว แมว แมว
7 กระต่าย กะ-ตาย กตาย

8 ช้าง อา-จ๊ง อาจ๊ง
9 เสือ ตํา-บวง ตําบวง
10 กวาง ระ-มัง รมัง

11 ลิง อา-จั๊วะ อาจั๊วะ
12 หมี จัง-เกา จังเกา
13 สิงโต อะ-เฉิ่ล อเฉิ่ล

14 หมาจิ้งจอก อะ-จอ-กลูง อจอกลูง
15 เต่า ตะ-มอม ตะมอม
16 กระแต จะ-ตี๊ะ จะตี๊ะ

17 ปลาดุก อะ-กา-ซะ-กัญ อกา ซกัญ
18 อึ่งอ่าง อา-กู๊ด-โตร๊ด อากู๊ดโตร๊ด
19 ตั๊กแตน อะ-เรียจ อเรียจ

20 ผึ้ง โหงล โหงล
21 ยุง มั๊วะ มั๊วะ
22 แมงมุม กัน-เถียว-เถียว กันเถียวเถียว

23 ไส้เดือน ถะ-โหลย ถะโหลย
24 กบ อา-กู๊ด-โขบ อากู๊ดโขบ
25 เขียด อา-กู๊ด-ทรอ อากู๊ดทรอ

26 แรด ละ-มาด ละมาด
27 มด ซะ-โม๊จ ซโม๊จ
28 ปลวก ถรุ๊น ถรุ๊น

29 ปลาไหล ตัน-ดุง ตันดุง
30 เสือ เสือ เสือ

๓.หมวดร่างกายและกิจกรรมทางร่างกาย
ลําดับ ภาษาไทย คําอ่าน ภาษาส่วย (กูย)
1 หัว ปลอ ปลอ

2 ผม เซ๊าะ เซ๊าะ
3 ตา หมัด หมัด

4 คอ ตะ-กอง ตกอง
5 ปาก ตะ-น็อฮ ตน๊อฮ
6 ไหล่ ปฺาะ ปฺาะ
7 แขน แบลง แบลง

8 ขา อึง-ข็อง อึงข๊อง
9 มือ ไต ไต
10 นิ้ว กม-โต กมโต

11 หัวเข่า ปลอ-ตะ-กอล ปลอตะกอล
12 นวด หยั้ย หยั้ย
13 ถูก ไกล ไกล

14 ดีใจ สะ-อ๊อบ-พอม สะอ๊อบพอม
15 เศร้า สะ-ออ สะออ
16 รัก หมัก หมัก

17 สูง ถี ถี
18 เตี้ย เถียบ เถียบ
19 เล็ก แก๊ด แก๊ด

20 อ้วน ปล็อม ปล็อม
21 ยืน กะ-หเยิง กะ-หเยิง
22 นอน บิ บิ

23 นั่ง ตะ-เกา ตะเกา
24 กิน จา จา
25 ฟัง จะ-งัด จะงัด

26 ไหว้ อึน-ผ๊ะ อึนผ๊ะ
27 คัน อึน-ช็อย อึนช็อย
28 เกา ละ-กาว ละกาว

29 ยิ้ม หยิ่ม หยิ่ม
30 ไข้ ตะ-เก๊าะ ตะเก๊าะ

๔.หมวดบ้าน
ลําดับ ภาษาไทย คําอ่าน ภาษาส่วย (กูย)
1 หลังคา โปล-ดุง โปลดุง

2 เสา ตะ-นอล ตะนอล
3 ประตู ถะ-เวียล ถะเวียล

4 พื้น กะ-ตาล กะตาล
5 บันได ฮึน-บลวง ฮึนบลวง
6 เครื่องซักผ้า ขลืง-โบ๊-ฮับ ขลืงโบ๊ฮับ
7 เตารีด มาล-ลีด-ฮับ มาลลีดฮับ

8 หมอน ขะ-เนือย ขะเนือย
9 มีด แปฺด แปฺด
10 ค้อน ขวน ขวน

11 กุญแจ กอน-แจ กอนแจ
12 เตียง เตียง เตียง
13 โต๊ะ โต๊ะ โต๊ะ

14 พัดลม พัด-ลม พัดลม
15 แปูง แปง แปง
16 แหวน อึน-จีน อึนจีน

17 นาฬิกา นา-ลิ-กา นาลิกา
18 เสื้อ ฮับ ฮับ
19 กระโปรง กะ-โปง กะโปง

20 ตู้เสื้อผ้า ตู-อึน-ฉึก-ฮับ ตูอึนฉึกฮับ
21 ตู้กับข้าว ตู้-กับ-โดย ตู้กับโดย
22 เตียง เตียง เตียง

23 ลัง ลัง ลัง
24 โอ่ง โอง โอง
25 ถ้วย โข่ม โข่ม

26 จาน กะ-บะ กะบะ
27 หม้อหุงข้าว อะ-แด็ฮ-อ็อง-โดย อแด็ฮอ็องโดย
28 ตู้เย็น ตู-เย็น ตูเย็น

29 สบู่ ซะ-บู ซบู่
30 ครก สะ-เอือง สะเอือง

๕.หมวดต้นไม้พืชผัก
ลําดับ ภาษาไทย คําอ่าน ภาษาส่วย (กูย)
1 ประดู่ ขั่ล-ทรือย ขั่ลทรือย

2 พะยูง ขั่น-ขะ-ยูง ขะยูง
3 มะขาม ฮึน-เผือล ฮึนเผือล

4 ตะเคียน ขั่ล-ขีล ขั่ลขีล
5 สัก ซัก ซัก
6 โพธิ์ ขั่ล-โผ ขั่ลโผ
7 หว้า ขั่ล-แกลง ขั่ลแกลง

8 ตาล ขั่ล-ตาล ขั่ลตาล
9 มะม่วง ไปร-ข็อง ไปรข็อง
10 มะพร้าว ขั่ล-ตอง ขั่ลตอง

11 ลําดวน ปีล-ตูน ปีลตูน
12 คูณ ขั่ล-ขน ขั่ลขน
13 สะเดา ขั่ล-สะ-ตาง ขั่ลสตาง

14 ลําไย ขั่ล-ลํา-ไย ขั่ลลําไย
15 ส้มโอ ขั่ล-ซม-โอ ขั่ลซมโอ
16 มะยม ขั่ล-มะ-หยม ขั่ลมะหยม

17 แตงโม แกล-โปง แกลโปง
18 มะนาว หเยาะ-กล้อย หเยาะกล้อย
19 กระเทียม กะ-ถีม-ซลอ กะถีมซลอ

20 กล้วย ปรีด ปรีด
21 ข้าวโพด ขะ-โผ่ด ขโผ่ด
22 อ้อย กะ-ตูม กะตูม

23 ข่า ตํา-เลิง ตําเลิง
24 ขิง กะ-ซาย กะซาย
25 พริก เถ๊ะ เถ๊ะ

26 เผือก อะ-ปง-เหลา อปงเหลา
27 บัว ปีล-บู ปีลบู
28 เงาะ ไปร-เงาะ ไปรเงาะ

29 กล้วย กล้วย กล้วย
30 ทุเรียน ขั่ล-ทุ-เรียน ขั่ลทุเรียน

๖.หมวดบุคคล
ลําดับ ภาษาไทย คําอ่าน ภาษาส่วย (กูย)
1 ปูุ หนุ-กอน หนุกอน

2 ย่า เหม่-กอน เหม่กอน
3 ตา หนู-เทา หนูเทา

4 ยาย เหม-เทา เหมเทา
5 ลุง อา-หลุง อาหลุง
6 ปูา อา-แมะ อาแมะ
7 น้า อา-มาด อามาด

8 อา อา-ปี อาปี
9 ลูกเขย ปะ-ติม ปติม
10 ลูกสะใภ้ กะ-มัน กมัน

11 ลูกชาย กอน-โปล๊ กอนโปล๊
12 ลูกสาว กอน-กะ-มอล กอนกะมอล
13 หลาน เจา เจา

14 ผู้หญิง โกย-กะ-ไป โกยกไป
15 ผู้ชาย โกย-บรู๊ โกยบรู๊
16 สามี กะ-ย๊ะ กย๊ะ

17 ภรรยา กะ-แดล กแดล
18 นักเรียน นัก-เหลน นักเหลน
19 ผู้ใหญ่บ้าน พะ-ไหย-เทราะ พไหยเทราะ

20 เจ้าอาวาส เจ้า-อา-วาด เจ้าอาวาด
21 ตํารวจ ตํา-ลู๊ด ตําลู๊ด
22 ชาวนา ชาว-นา ชาวนา

23 หมอผี หมอ-กะ-โม๊ย หมอกะโม๊ย
24 คุณครู ขุน-บลู ขุนบลู
25 กํานัน กํา-นัน กํานัน

26 ทวด โถด โถด
27 ลูกเลี้ยง กอน-เซน กอนเซน
28 พระ อา-มอม อามอม

29 เณร กอน-จู กอนจู
30 ทหาร ถะ-ฮาร ถฮาร
31 ย่าทวด เหม่-กอน-โถด เหม่ถอนโถด
32 ปูุทวด หนุ-กอน-โถด หนุกอนโถด

33 ยายทวด เหม-เฒ่า-โถด เหมเฒ่าโถด
34 ตาทวด หนุ-เฒ่า-โถด หนุเฒ่าโถด

๗.หมวดอุปกรณ์ท าสวนและการเกษตร
ลําดับ ภาษาไทย คําอ่าน ภาษาส่วย (กูย)
1 ไถ อึน-คัล อึนคัล

2 คราด ระ-น๊ะ รน๊ะ
3 เสียม ขรีม ขรีม

4 เกวียน ละ-แถ๊ะ ลแถ๊ะ
5 ขวาน จูง จูง
6 มีด อึน-เปฺด อึนเปฺด
7 เคียว กะ-วีน กวีน

8 หลาว ฉะ-หมวก ฉหมวก
9 ครกมือ ตะ-ปล ตปล
10 บุ้งกี๋ ปุูง-กี ปุูงกี

11 รถไถ ล็อค-ไท ล็อคไท
12 หัวหมู ปลอ-อา-หลี๊ ปลออาหลี๊
13 จอบ จอบ จอบ

14 ถัง ทัง ทัง
15 ครุ ขรุ๊ ขรุ๊
16 ปุ฻ย ฉีล ฉีล

17 ผัก พัก พัก
18 ผลไม้ ไปล-อา-หลวง ไปลอาหลวง
19 ข้าว โดย โดย

20 ข้าวเหนียว โดย-ดีบ โดยดีบ
21 ข้าวจ้าว โดย-กะ-ชาย โดยกชาย
22 ข้าวสาร เกา เกา

23 ข้าวปลูก ทรอ-ซะ-มา ทรอซมา
24 ข้าวกล้า ซะ-น๊าบ ซน๊าบ
25 ข้าวฟุาง ขีล-ตราม ขีลตราม

26 บัวรดน้ํา บัว-ทร๊อย-เดี๊ยะ บัวทร๊อยเดี๊ยะ
27 สายยาง สาย-เดี๊ยะ สายเดี๊ยะ
28 รถเข็น ร๊อด-ฉุก ร๊อดฉุก

29 ตาข่าย ตาข่าย ตาข่าย
30 เชือก กะ-ไซ กไซ

๘.หมวดอาหาร
ลําดับ ภาษาไทย คําอ่าน ภาษาส่วย (กูย)
1 น้ํามัน แซง แซง

2 เนื้อ ซั้ยะ ซั้ยะ
3 เนื้อไก่ ซั้ยะ-ขรุย ซั้ยะขรุย

4 น้ําปลา น้ําปลา น้ําปลา
5 น้ําตาล ออย ออย
6 เกลือ เผ๊าะ เผ๊าะ
7 น้ําส้ม เดี๊ยะ-เหยาะ เดี๊ยะเหยาะ

8 กะทิ กะทิ กะทิ
9 นมสด นมสด นมสด
10 พริกแกง เถ๊ะ-ซะ-ลอ เถ๊ะซะลอ

11 เนื้อหมู ซั้ย-อา-หลี ซั้ยอาหลี
12 เนื้อปลา ซั้ย-อา-กา ซั้ยอากา
13 กาแฟ กะ-แพ กะแพ

14 ก๋วยเตี๋ยว กวย-เตียว กวยเตียว
15 ขนมจีน คะ-นํา คะนํา
16 เส้นหมี่ เซ็น-มี เซ็นมี

17 แกง ซะ-ลอ ซะลอ
18 ผัด พัด พัด
19 นึ่ง ซะ-เม ซะเม

20 น้ําพริก ปุน ปุน
21 ของหวาน เหงียม เหงียม
22 น้ําชา เดี้ย-ชา เดี้ยชา

23 ไข่ไก่ แขรด-ขรุย แขรดขรุย
24 ปลากระป฻อง กา-กะ-ปอง กากะปอง
25 น้ําแข็ง น้ํา-แค็ง น้ําแค็ง

26 แกงเผ็ด บั๊ย-ฮา บั๊ยฮา
27 ต้มจืด อ๊อฟ-จือ อ๊อฟจืด
28 เหล้า บล้อง บล้อง

29 แปูงข้าวจ้าว แปง-ทรอ-กะ-ชาย แปงทรอกะชาย
30 แปูงข้าวเหนียว แปง-ทรอ-ดีบ แปงทรอดีบ

๙.หมวดสถาบันทางสังคม
ลําดับ ภาษาไทย คําอ่าน ภาษาส่วย (กูย)
1 วัด หวัด หวัด

2 กุฏิ กุด กุด
3 ธาตุ ธาตุ ธาตุ

4 กลองเพล กลองเพล กลองเพล
5 โรงธรรม โรงธรรม โรงธรรม
6 หลวงพ่อ หลวงพ่อ หลวงพ่อ
7 หลวงพ ี่ หลวงพ ี่ หลวงพ ี่

8 ทําบุญ ทําบุญ ทําบุญ
9 ชี ชี ชี
10 ประถม ประถม ประถม

11 อนุบาล อนุบาล อนุบาล
12 มัธยม มัธยม มัธยม
13 วิทยาลัย วิทยาลัย วิทยาลัย

14 มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
15 โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน
16 อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์

17 ผู้อํานวยการ ผู้อํานวยการ ผู้อํานวยการ
18 ธนาคาร ธนาคาร ธนาคาร
19 พนักงาน พนักงาน พนักงาน

20 ทุน ทุน ทุน
21 กําไร กําไร กําไร
22 เจ้าหนี้ เจ้าหนี้ เจ้าหนี้

23 ลูกหนี้ ลูกหนี้ ลูกหนี้
24 ภาษี ภาษี ภาษี
25 ครอบครัว ครอบครัว ครอบครัว

26 ประเทศ ประเทศ ประเทศ
27 ชุมชน เทราะ เทราะ
28 หมู่บ้าน เทราะ เทราะ

29 เพื่อน มอ มอ
30 ห้องเรียน ห้องเรียน ห้องเรียน

๑๐.หมวดบริบททางวัฒนธรรม
ลําดับ ภาษาไทย คําอ่าน ภาษาส่วย (กูย)
1 หมากเก็บ หมาก-แก๊บ หมากแก๊บ

2 หมากรุก แกล-ฮ็อด แกลฮ็อด
3 กระโดดเชือก กระ-โดด-กะ-ไซ กระโดดกะไซ

4 ว่าว คะ-แลง คะแลง
5 อาหารเช้า กับ-โดย-จะ-ละ กับโดยจะละ
6 อาหารเย็น
7 ความรัก หมัก หมัก

8 ผี กะ-โบ๊ย กโบ๊ย
9 สวรรค์ สวรรค์ สวรรค์
10 นรก นา-ลก นาลก

11 วิญญาณ ละ-เวียด ลเวียด
12 เทวดา เถ-วะ-เดีย เถวเดีย
13 พระอินทร์ พระอินทร์ พระอินทร์

14 ยมบาล ยมบาล ยมบาล
15 ของขลัง มาล-ดี มาลดี
16 ยันต์ ยันต์ ยันต์

17 บาป เบียป เบียป
18 บุญ บุญ บุญ
19 เหนือ เหนือ เหนือ

20 ใต้ ใต้ ใต้
21 ตะวันออก ตะวันออก ตะวันออก
22 ตะวันตก ตะวันตก ตะวันตก

23 ความดี ความดี ความดี
24 ความชั่ว ความชั่ว ความชั่ว
25 ไหว้พระ ไหว้พระ ไหว้พระ

26 บริจาค บริจาค บริจาค
27 มวย มวย มวย
28 ตีไก่ ตีไก่ ตีไก่

29 สาย สาย สาย
30 เล่นว่าว เล่นว่าว เล่นว่าว

11.หมวดเทคโนโลย ี
ลําดับ ภาษาไทย คําอ่าน ภาษาส่วย (กูย)
1 กล้องถ่ายรูป กล้องถ่ายรูป กล้องถ่ายรูป

2 เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องถ่ายเอกสาร
3 ตู้เย็น ตู้เย็น ตู้เย็น

4 เครื่องปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศ
5 กระติกน้ําร้อน กระติกน้ําร้อน กระติกน้ําร้อน
6 เครื่องคิดเลข เครื่องคิดเลข เครื่องคิดเลข
7 พัดลม พัดลม พัดลม

8 วิทยุ วิทยุ วิทยุ
9 โทรศัพท์ โทรศัพท์ โทรศัพท์
10 โทรสาร โทรสาร โทรสาร

11 เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องพิมพ์ดีด
12 หม้อหุงข้าวไฟฟูา หม้อหุงข้าวไฟฟูา หม้อหุงข้าวไฟฟูา
13 เครื่องจักร เครื่องจักร เครื่องจักร

14 เครื่องเสียง เครื่องเสียง เครื่องเสียง
15 เครื่องสีข้าว เครื่องสีข้าว เครื่องสีข้าว
16 รถจักรยานยนต์ รถจักรยานยนต์ รถจักรยานยนต์

17 จักรเย็บผ้า จักรเย็บผ้า จักรเย็บผ้า
18 เตาอบ เตาอบ เตาอบ
19 จานดาวเทียม จานดาวเทียม จานดาวเทียม


20 ไมค์โครโฟน ไมคโครโฟน ไมค์โครโฟน
21 เตารีด เตารีด เตารีด
22 แบตเตอรี่ แบตเตอรี่ แบตเตอรี่

23 กระทะไฟฟูา กระทะไฟฟูา กระทะไฟฟูา
24 รถยนต์ รถยนต์ รถยนต์
25 เครื่องดูดฝุุน เครื่องดูดฝุุน เครื่องดูดฝุุน

26 ไดร์เปุาผม ไดร์เปุาผม ไดร์เปุาผม
27 เครื่องบิน เครื่องบิน เครื่องบิน
28 โทรเลข โทรเลข โทรเลข

29 เครื่องอัดสําเนา เครื่องอัดสําเนา เครื่องอัดสําเนา
30 บันไดเลื่อน บันไดเลื่อน บันไดเลื่อน


Click to View FlipBook Version