The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกี่ยวกับประเพณีสงกรานต์ในภาคเหนือของไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pailinthong, 2021-06-02 19:27:10

หนังสือปีใหม่เมือง

เกี่ยวกับประเพณีสงกรานต์ในภาคเหนือของไทย

Keywords: สงกรานต์,ล้านนา,ประเพณี,ปีใหม

วนั ปากปี

ว ันปากปเี ปน็ วนั ถดั จากวนั เถลงิ ศก หรอื วนั พญาวนั ไป ๑ วนั ถอื วา่

เป็นท่ีสำ�คัญอีกวันหน่ึงของชาวล้านนาที่ถือว่าเป็นวันเร่ิมต้น
ปใี หม่ และเรยี กวนั นว้ี า่ เปน็ “วนั ปากป”ี ค�ำ วา่ ปากปี ตามความหมายของ
ปราชญพ์ นื้ เมอื งไดใ้ หค้ วามหมายวา่ หมายถงึ ตน้ ปี หรอื การเรม่ิ ศกั ราชใหม่
ตามปกั ขะทนื ของคนลา้ นนา (โฮงเฮยี นสบื สานภมู ปิ ญั ญาลา้ นนา, ๒๕๕๑
:๓๐) ในวนั นจี้ ะมกี จิ กรรมทางพธิ กี รรมทงั้ ทป่ี ระกอบกนั ในครวั เรอื น และ
ในหมูบ่ า้ นบรเิ วณ “ใจบา้ น” อีกทัง้ ยังมีพิธีกรรมทางศาสนาอีกดว้ ย
พธิ บี ชู าขา้ วลดเคราะห์
ในชว่ งเชา้ พธิ กี รรมจะเรม่ิ ทวี่ ดั ของแตล่ ะหมบู่ า้ น คอื พธิ กี รรมการ
บูชาข้าวลดเคราะห์ หรือท่ชี าวอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เรียกว่า
“ปู่จาเข้า ๙ ปุ้น” (ฝอยทอง สมวถา, ๒๕๔๖: ๘๕) เปน็ การนำ�เอาข้าว
มาป้นั เปน็ กอ้ น จ�ำ นวน ๙ ก้อนหรือตามอายุของแต่ละบุคคล จากนั้นนำ�
ไปถวายแด่พระประธานและพระสงฆ์ในวิหาร บางท้องที่จะกระทำ�กันที่
บา้ นเรือนของตนโดยมีปูอ่ าจารยม์ าทำ�พิธใี ห้ทีบ่ ้าน
ตำ�ราบูชาข้าวลดเคราะห์น้ันกล่าวถึงการประกอบพิธีกรรมบูชา
นพเคราะห์ ด้วยการใส่ข้าวบูชาตามกำ�ลังพระเคราะห์เพื่อเป็นการบูชา
สง่ เคราะหภ์ ัยท่กี ำ�ลังจะเกดิ ข้นึ ในแต่ละช่วงปีให้สงบระงับหายไป (พิสฏิ ฐ์
โคตรสโุ พธ,ิ์ ๒๕๕๗) คนล้านนาบางท้องที่จึงมักปฏิบัติพลีกรรมบชู าขา้ ว
ลดเคราะห์ในวันปากปี เพื่อบรรเทาเคราะห์ภัยที่อาจมาสู่ในศักราชใหม่
ท่ีก�ำ ลงั เริม่ ตน้ ขน้ึ

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๙๙

ภาพ : การต๋ามสีสายของชาวแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ (บน และหนา้ ตรงข้าม)

ในอำ�เภอแม่แจม่ นน้ั จะมีการเตรยี มพธิ ี “ปู่จาเขา้ ๙ ปนุ้ ” โดย
เตรยี มเสื้อของทุกคนในบา้ น มฝี า้ ยสีสายโดยใช้ฝา้ ยขาวเมอื งสาว ๙ เส้น
ยาวประมาณ ๑ วา กับอีก ๑ รอบหัว จัดเตรียมใหค้ รบจ�ำ นวนสมาชกิ
ครอบครัว นำ�สีสายชุบนำ้�มันมะพร้าวห่อใบตองไว้ค้างคืน และมีสะตวง
หรอื ควกั ใส่ข้าว ๙ ปัน้ กลว้ ย ขนม อาหาร ข้าวตอกดอกไม้ เคร่ืองครวั
เหลา่ นใี้ ชจ้ �ำ นวน ๙ ทง้ั หมด เมอื่ เตรยี มของเสรจ็ สน้ิ แลว้ น�ำ เอาสะตวงวาง
บนตะกร้าเส้อื แลว้ น�ำ ไปวางในศาลาหรือวิหาร จากนนั้ พระสงฆ์จะท�ำ พธิ ี
ปู่จาเขา้ สีสายที่เตรยี มไวล้ ่วงหนา้ ๑ คืนนนั้ จะทำ�การ “ต๋ามสสี าย” โดย
ใช้ไม้เป็นค้างส�ำ หรบั พาดสีสาย “การต๋าม” หรอื จดุ ไฟสีสายกระท�ำ ตอน
พระท�ำ พิธี คติความเชอ่ื ของการจุดไฟสสี าย หรอื “ตา๋ มสสี าย” ก็เพื่อให้
เปน็ แสงสวา่ งน�ำ ทางชวี ติ ซง่ึ เปน็ พธิ กี รรมเฉพาะส�ำ หรบั คนเทา่ นน้ั ไมร่ วม
สตั วห์ รอื สง่ิ ของ

๑๐๐ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง



พธิ สี ง่ เคราะหบ์ า้ น
ในช่วงสายของวันจะเป็นพิธีส่งเคราะห์บ้าน และสืบชะตาบ้าน
จะกระท�ำ กนั ทก่ี ลางหมบู่ า้ น พธิ กี รรมนถ้ี อื เปน็ หวั ใจหลกั ของวนั ปากปใี น
เทศกาลปใี หมเ่ มอื ง โดยจะท�ำ หลงั จากพธิ บี ชู าขา้ วลดเคราะห์ ในชว่ งเวลาน้ี
ชาวบ้านท้ังหญิงชายหนุ่มเฒ่า พ่อเรือนแม่เรือนจะช่วยกันจัดเตรียม
สถานที่ โดยเฉพาะการสานแตะไม้ไผ่จ�ำ นวน ๙ แผน่ เพอื่ จะน�ำ ส�ำ รับขา้ ว
ปลาอาหารและเครอื่ งพลกี รรมตา่ งๆ เชน่ สวยดอกไม้ ธปู เทยี น หมากพลู
เมยี่ ง บหุ รี่ ตลอดจนอะมอ๊ ก (ลกู ปนื ) หนา้ ไม้ อาวธุ ตา่ งๆ พรอ้ มดว้ ยบรวิ าร
จำ�นวนอยา่ งละ ๑๐๘ อนั ตามคติลา้ นนาท่ไี ดใ้ หค้ วามหมายวา่ เปน็ การ
สง่ ใหแ้ ก่ทา้ วเวสสุวัณณ์ ผู้เป็นเจ้าใหญใ่ นหมภู่ ูตผีปีศาจท้งั หลาย และเป็น
ทา้ วโลกบาลผู้ซงึ่ มีหนา้ ทใี่ นการดแู ลรกั ษาโลกให้ปกติสขุ

การประกอบพธิ ีสง่ เคราะหบ์ ้าน และสบื ชะตาบ้านน้จี ะทำ�ปะร�ำ
พิธีกลางหมู่บ้านหรือใจบ้าน โดยแต่ละครอบครัวจะนำ�เอาเสื้อผ้าของ
สมาชกิ ทกุ คนในครอบครวั และทรายกลางแมน่ ้ำ�มารวมไวต้ รงกลางปะร�ำ
พิธีพร้อมกับนำ�ข้าวปลาอาหารที่เตรียมมาจากบ้านมาใส่ไว้ในแตะทั้ง
๙ แตะที่เตรียมไว้ นอกจากน้ี ส่ิงสำ�คัญที่ขาดไม่ได้คือ แต่ละบ้านแต่ละ
ครอบครัวจะต้องโยงด้ายสายสิญจน์ไปรอบๆ บ้าน แล้วเอาไปผูกเช่ือม
ต่อกับบ้านใกล้เรือนเคียง แสดงให้เห็นถึงความเป็นพี่น้องและมิตรภาพ
ของผคู้ นในหมบู่ า้ นทมี่ ใี หแ้ กก่ นั จากนนั้ ดา้ ยสายสญิ จนด์ งั กลา่ วจะโยงมา
จนถงึ ใจบ้านทป่ี ระกอบพธิ ี

พิธีการส่งเคราะห์บ้านนี้จะเร่ิมจากปู่อาจารย์กล่าวโอกาสส่ง
เคราะห์ในแตล่ ะทศิ โดยการนำ�แตะไม้ไผพ่ รอ้ มเครอ่ื งพลกี รรมตา่ งๆ ไป
วางไวใ้ นแตล่ ะทิศจนครบทัง้ ๘ ทศิ และอกี หนงึ่ แตะจะนำ�มาวางไว้กลาง
ปะรำ�พิธี จากน้ันปู่อาจารย์จะกล่าวโอกาสสง่ เคราะห์ สมาชกิ ในหม่บู า้ น

๑๐๒ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

ภาพ : ผอู้ าวุโสชายก�ำ ลังหามเครือ่ งพลีกรรมในพิธีการสง่ เคราะห์บา้ น

จะถอื น�ำ้ ขมน้ิ สม้ ปอ่ ยซง่ึ ถอื วา่ เปน็ น�ำ้ แหง่ ความเปน็ สริ มิ งั คละของคนลา้ นนา
หลังจากท่ีปู่อาจารย์กล่าวโอกาสส่งเคราะห์จบ ชาวบ้านผู้ร่วมพิธีจะนำ�
น้ำ�ขมิ้นส้มป่อยมาพรมที่ศีรษะตนเองพร้อมกับสะบัดลงไปที่แตะจนครบ
๙ แตะ ถอื เป็นการสง่ เคราะห์ของตนเองลงไปในแตะดังกล่าว
หลังจากพิธีส่งเคราะห์บ้านแล้ว ก็จะเป็นการสืบชะตาหมู่บ้าน
ความคิดความเช่ือของชาวล้านนามาแต่โบราณ เช่ือกันว่าบ้านท่ีต้ังมา
ตามฤกษย์ ามวนั ดวี นั เสยี นน้ั มเี วลาทรี่ าหมู ฤตยเู ขา้ มาทบั เบยี ดเบยี นท�ำ ให้
ชะตาบ้านขาดลง เป็นเหตุให้ชาวบ้านที่อยู่อาศัยในหมู่บ้านนั้นประสบ
ความเดือดร้อน เจ็บป่วยกันไปท่ัวบ้าน การสืบชะตาบ้านมักจะกระทำ�
เม่ือเกิดเหตอุ ุบาทว์ เภทภยั ต่างๆ ข้ึนกบั คนในหมบู่ า้ น เชน่ มีคนในบา้ น
ตายตดิ ๆ กนั เกนิ กวา่ ๓ คนขน้ึ ไปเปน็ ตน้ และเปน็ จารตี ทจ่ี ะสบื ชะตาบา้ น
ในช่วงปีใหม่สงกรานต์ล่วงไปในระยะวันปากปี ปากเดือน หรือปากวัน
ชาวบา้ นจะก�ำ หนดเอาวนั ใดวนั หนง่ึ ท�ำ พธิ สี บื ชะตาบา้ นเพอื่ ความสขุ สวสั ดี
แกส่ มาชกิ ในหม่บู ้านของตน

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๐๓

ภาพ : พธิ ีปู่จาบ้าน ของชุมชนบา้ นดงหลวง อำ�เภอเวียงหนองล่อง จังหวดั ลำ�พนู

พธิ สี บื ชะตาบา้ น
พิธีน้ีจะกระทำ�หลังจากเสร็จสิ้นพิธีส่งเคราะห์บ้านเรียบร้อย
แล้ว โดยปู่อาจารย์จะนมิ นตพ์ ระสงฆ์จ�ำ นวน ๕ รปู ๗ รปู หรือ ๙ รูป
ตามเจตนา โดยมากหากไม่มีเหตุอุบาทว์ร้ายก็จะนิมนต์พระมาเจริญ
พระพทุ ธมนตจ์ �ำ นวน ๙ รปู กอ่ นการเรม่ิ พธิ กี รรม ปอู่ าจารยจ์ ะกระท�ำ การ
ขน้ึ ท้าวทงั้ สี่ เพื่อเปน็ สญั ญาณใหท้ า้ วจตโุ ลกบาลรบั รถู้ ึงพิธีกรรมดงั กลา่ ว
อกี ทง้ั ชว่ ยค้มุ ครองการทำ�พธิ ีดงั กลา่ วใหส้ ำ�เร็จลลุ ่วงไปด้วยดี

๑๐๔ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

ในการประกอบพิธี จะมีการจดั เตรียมสิ่งต่างๆ ดงั นี้
(๑) เครื่องสังเวยท้าวทั้ง ๔ บูชาเส้ือบ้าน เสื้อเมือง เทพารักษ์
ประจ�ำ หมู่บา้ น
(๒) อปุ กรณใ์ นการท�ำ พธิ ี เชน่ มะพรา้ วเปน็ คะแนง กลว้ ย ๑ เครอื
หมากเค้ียว ๑ พวง และห่อหมากพลู
(๓) จดั เตรยี มเครอื่ งขนั ตง้ั คอื พานครู พรอ้ มเครอ่ื งบชู า คอื กรวย
ดอกไม้ ๑๐๘ ลูกเบย้ี ๑๐๘ ข้าวเปลือก ๑ กระทง ข้าวสาร ๑
กระทง ผา้ ขาว ผา้ แดงอยา่ งละ ๑ เมตร และเงินใสข่ ัน้ ต้ัง ๖ บาท
หรอื ๑๐๘ บาท หรือ ๑,๓๐๐ บาท
(๔) เคร่ืองสบื ชะตา ได้แก่ ไมค้ �ำ้ ขัวไต่ ลวดเงิน ลวดค�ำ
กระบอกนำ้� กระบอกทราย สาด หมอน หม้อใหม่
ขนั ใส่ข้าวเปลือก ขา้ วสาร และทราย
(๕) แต่ละครอบครัวนำ�ขันน้ำ�ขม้ินส้มป่อย และทรายมาของ
ตนเองเพือ่ ท่จี ะได้นำ�ไปโปรยทบี่ ้าน
(๖) ตาแหลว และเชือกคาเขียว
ปู่อาจารย์จะกำ�หนดให้แต่ละบ้านนำ�มารวมกันที่ส่วนกลาง
บ้านที่ทำ�พิธี จากน้ันเมื่อพระสงฆ์มาถึงปะรำ�พิธี ปู่อาจารย์ก็จะนิมนต์
พระสงฆข์ ้ึนนัง่ บนอาสนะทเี่ ตรียมไว้ และกล่าวไหว้พระสวดมนต์ พรอ้ ม
ทั้งขอศีล อาราธนาพระปริตรและพระสงฆ์เริ่มเจริญพระพุทธมนต์
หลังจากน้ัน ปู่อาจารย์จะนำ�ด้ายสายสิญจน์ท่ีโยงมาจากแต่ละบ้านและ
โยงมาจากกองเส้ือผ้าและกะละมังบรรจุนำ้�ขมิ้นส้มป่อยให้แก่พระสงฆ์
ผทู้ �ำ พธิ ี และประเคนบาตรน�้ำ พระพทุ ธมนตแ์ ดพ่ ระสงฆผ์ เู้ ปน็ ประธานสงฆ์
จากน้ันพระสงฆ์จะเจริญพระพุทธมนต์และชาวบ้านจะถวายจัตุปัจจัย
พร้อมทัง้ กล่าวอนุโมทนาจึงเป็นอันเสรจ็ พิธี

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๐๕

เมื่อพิธีส่งเคราะห์บ้าน และสืบชะตาบ้านเสร็จส้ิน ชาวบ้านจะ
แบ่งน้ำ�ขม้ินส้มป่อยที่พระสงฆ์ทำ�การเจริญพระพุทธมนต์แล้ว และนำ�
เอาเส้ือผ้าของตนพร้อมกับทรายกลางน้ำ�กลับบ้าน โดยจะนำ�ทรายดัง
กล่าวไปโปรยบริเวณรอบๆ บ้านด้วยความเชื่อที่ว่าสามารถป้องกันภูตผี
ปศี าจและเสรมิ สริ มิ งคลแกบ่ า้ นเรอื นของตน สว่ นน�ำ้ ขมนิ้ สม้ ปอ่ ยจะน�ำ มา
สรงน้�ำ พระบนหง้ิ พระ ตลอดจนน�ำ ไปประพรมลูกหลานทไี่ ม่ได้ไปรว่ มพธิ ี
เป็นอนั เสรจ็ ส้ินพธิ ีส่งเคราะหแ์ ละสืบชะตาบา้ นในวันปากปนี ี้
ในช่วงบ่ายของวันปากปี จะเป็นช่วงของการดำ�หัวผู้ใหญ่ท่ี
นับถือ บางพ้ืนท่ีจะเร่ิมดำ�หัวผู้ใหญ่ในวันนี้และการดำ�หัวอาจไม่เสร็จส้ิน
ในวันเดียว อาจกนิ เวลาสองสามวันหรือมากกวา่ นั้น ดังน้นั ช่วงประเพณี
ปีใหมเ่ มืองจงึ ยืดยาว ไมอ่ าจรวบรัดทกุ อย่างให้สน้ิ สุดลงภายในสามวันได้
อยา่ งท้องถน่ิ อ่นื
ช่วงค่ำ�ของวันปากปีนั้น คนเมืองจะมีพิธีกรรมท่ีกระทำ�ใน
ครอบครัวอีก ได้แก่ การจุดเทียนบูชาบ้านเรือน หรือ “ต๋ามเตียนปู่จา
พระเจา้ ” ซงึ่ ประกอบด้วยเทียน ๓ เลม่ คือ เทยี นบูชาลดเคราะห์ เทียน
บชู าสบื ชะตา และเทียนบูชาโชคลาภ
บางท้องถิ่นจะมกี าร “ตา๋ มขส้ี ายเท่าอายุ” หมายถึงการจดุ เสน้
ไฟเท่าจำ�นวนอายุ ข้ีสายหรือเส้นไฟน้ีจะทำ�มาจากเส้นด้ายพ้ืนเมืองนำ�
ไปชุบข้ีผึ้งหรือไขมัน หรือน้ำ�มันมะพร้าว ปัจจุบันนิยมชุบนำ้�มันพืชที่ใช้
ในครัวเรือนเพราะสะดวก ในเวลาค่ำ�ก็จะเอาข้ีสายเท่าจำ�นวนอายุไปจุด
บูชาท่ีลานพระธาตุเจดีย์ในวัด หรือท่ีลานทรายหน้าพระวิหาร หรืออาจ
จดุ ทลี่ านบา้ นตวั เองก็ได้ การตา๋ มขส้ี านเทา่ อายนุ ี้ บางทา่ นวา่ เปน็ การเผา
อายสุ งั ขารเกา่ ใหพ้ น้ ไป เผาเสนยี ดจญั ไร อบุ าทว์ อาถรรพ์ ขดึ ขวงตา่ งๆ ท่ี
ตดิ ตวั เราใหห้ มดสนิ้ ไป บางแหง่ มกี ารเพมิ่ ขสี้ ายอกี หนง่ึ เสน้ ถอื วา่ เปน็ การ
สบื ชะตาตัวเราให้ร่งุ เรอื งประดุจเปลวไฟในปใี หม่ที่มาถึงน้ี

ภาพ : เทียนบชู าลดเคราะห์ สืบชะตา บูชาโชคลาภ ทีน่ ิยม “ตาม” หรือจดุ ในวันปากปี (ซา้ ย)
การจุดเทยี นบชู าพระหน้าหง้ิ พระภายในบ้าน (ขวา)

๑๐๖ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

ภาพ : หน่มุ สาวแต่งดาขันขา้ วตอกดอกไมเ้ ตรยี มน�ำ ไปด�ำ หัวผ้อู าวโุ สหลายๆ ทา่ นในวนั ปากปี

วันปากปี ของคนเมืองจึงถือว่าเป็นวันสำ�คัญของชาวล้านนาที่
แสดงออกถงึ ความเป็นครอบครวั ความสมัครสมานสามคั คีกนั ของคนใน
ชุมชนหมู่บ้านท่ีร่วมทำ�กิจกรรมเพ่ือความเป็นสิริมงคลสุขสวัสดีของ
สมาชิกทุกคนในชุมชน อันเป็นวิถีวัฒนธรรมอันดีงามท่ีพึงสืบสานให้คง
อยู่ต่อไปช่ัวลูกชั่วหลานมิให้สูญส้ินไปและรักษาไว้ซึ่งจารีตประเพณีของ
ชาวลา้ นนาทสี่ ืบเนอ่ื งยาวนานมาหลายช่วั อายคุ น

วนั ปากเดอื น ปากวนั และปากยาม
หลังจากจบส้ินวนั ปากปี คนล้านนายังมีวนั ปากเดอื น วนั ปากวัน
และวนั ปากยาม เพอ่ื ใหเ้ วลาเดนิ ทางไปสรงน�ำ้ พระธาตเุ จดยี ์ หรอื เดนิ ทาง
ไปด�ำ หวั ญาตผิ ใู้ หญท่ อี่ ยหู่ า่ งไกล และใชช้ วี ติ อยกู่ บั ครอบครวั ในชว่ งปใี หม่
เปน็ ชว่ งทห่ี ยดุ จากภาระหนา้ ทก่ี ารงาน ในวนั ปากเดอื น ปากวนั คอื การ
เดินทางไปดำ�หัวอย่างเดียว ไม่มีพิธีกรรมอื่นๆ แต่โดยทั่วไปหลังจาก
วันปากปแี ล้ว กิจกรรมของคนเมืองเนื่องในประเพณปี ใี หม่เมืองก็เริม่ จาง
ลงไปเร่ือยๆ ในขณะท่ีวิถีชวี ติ ปกตเิ รม่ิ ต้นขน้ึ ในศักราชใหม่นี้
ช่วงน้ีพระสงฆ์ สามเณร จะพากันไปดำ�หัวพระเถระผู้ใหญ่ตาม
วัดตา่ งๆ พร้อมคณะศรทั ธา อาจจะเดินไปกันเปน็ หม่คู ณะ หรือนงั่ รถไป
ในทไี่ กลๆ โดยมีของด�ำ หัวและน�้ำ ส้มปลอ่ ยใสส่ ะหลุงไปสมุ าคารวะในหวั
วดั ตา่ งๆ คนลา้ นนาเรียกวา่ “หัววัดเติงกัน” คอื วดั ทม่ี ีความสัมพนั ธ์และ
เคารพนับถือกัน
ประเพณีปีใหม่เมืองของคนล้านนา แท้จริงแล้วเป็นกุศโลบาย
ท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับกาละเวลา เป็นประเพณีที่งดงาม รื่นเริง
สนกุ สนาน สรา้ งความสมคั รสมานสามคั คี เกดิ ความสขุ อบอนุ่ ในครอบครวั
และสงั คม เปน็ การเตอื นตนส�ำ รวจตวั เอง ใหล้ ะทง้ิ สงิ่ ไมด่ ไี มง่ าม ช�ำ ระลา้ ง
จติ ใจใหผ้ อ่ งใส เพอ่ื เรม่ิ ตน้ ชวี ติ ใหมท่ พ่ี รอ้ มดว้ ยความดงี าม ความเปน็ มงคล
โดยผา่ นกจิ กรรม และพิธกี รรมต่างๆ

๑๐๘ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

ของกน๋ิ ปใี๋ หมเ่ มอื ง

อาหารและขนมบางชนดิ ทน่ี ยิ มท�ำ ในเทศกาลปใี หมเ่ มอื ง



วิถีปฏิบัติของคนเมืองในช่วงเทศกาลปีใหม่เมืองท่ีมีความสำ�คัญ
อกี อยา่ งหนงึ่ คอื การเตรยี มโภชนาอาหารและขนมนานาชนดิ ทส่ี อดคลอ้ ง
กับวิถีความคิดความเชื่อในชว่ งเวลาส�ำ คญั ของปี การเตรียมอาหารมักจะ
กระท�ำ ในวนั เนา่ หรอื วนั เนาวซ์ ง่ึ เปน็ วนั สกุ ดบิ เพอื่ ทจี่ ะน�ำ อาหารคาวหวาน
ไปท�ำ บญุ ทีว่ ัดในวันพญาวนั และน�ำ มารับประทานในโอกาสสำ�คญั ตาม
วลีของคนเมืองที่ว่า “กิ๋นหื้อป่องป๋ี ป่องเดือน” เพื่อความเป็นสิริมงคล
แก่ตนเองและครอบครัว อาหารที่ทำ�ในวันน้ีจึงมีความพิถีพิถัน และเต็ม
ไปด้วยความหมายอนั ลกึ ซ้ึงแยบยล
ในวนั แตง่ ดา หรอื วนั เนา่ จะมกี ารท�ำ ขนม หรอื “ขา้ วหนม” หลาก
หลายประเภท “ขา้ วหนม” หมายถงึ ขา้ วทนี่ �ำ มาผนมหรอื คลกุ เขา้ ดว้ ยกนั
เรียก “เข้าผนม” หรือ “เข้าหนม” (มณี พยอมยงค์, ๒๕๔๗: ๗๑) เปน็
ทนี่ ยิ มทำ�กนั มาก ธเนศวร์ เจรญิ เมือง (๒๕๖๒) ไดก้ ล่าวเกี่ยวกบั การท�ำ
อาหารและขนมคนเมืองหลากหลายชนดิ ในชว่ งปใี หมเ่ มอื ง ไดแ้ ก่

(๑) ขนมจ๊อก หรอื ขนมเทียน บางแห่งเรยี กวา่ เขา้ หนมนมสาว
จอ๊ ก แปลวา่ ยอดเป็นจุก ปลายแหลม คนเมืองจะใชแ้ ปง้ ขาวหรอื จะใส่
นำ้�ออ้ ย-น�ำ้ ตาลเล็กนอ้ ยให้มรี สชาติได้ ไส้ขา้ งในเป็นมะพร้าวควั่ บางราย
อาจเพ่ิมถ่ัวลิสง และงาข้ีม้อน ขนมจ๊อกของล้านนาจะไม่มีไส้ถั่วผิดกับ
ขนมเทยี นในภาคกลางท่มี ที ง้ั ไสม้ ะพร้าว และไส้ถว่ั (ธเนศวร์ เจริญเมอื ง,
๒๕๖๒ : ๑๒๖)
ในการห่อขนม ต้องมีการเตรียมใบตองกอ่ น โดยฉีกใบตองให้มี
ขนาดพอดี ใชก้ รรไกรตดั สว่ นหวั ใบตองใหม้ ลี กั ษณะสามเหลย่ี ม สว่ นปลาย
เจียนให้มุมมน นำ�ด้านที่ใช้ห่อขนมมาทานำ้�มัน (หัวกะทิสด น�ำ้ มนั พชื
หรอื น�ำ้ มนั หม)ู เพอื่ ไมใ่ หแ้ ปง้ ตดิ ใบตองเวลานงึ่ เสรจ็ และเพอ่ื ใหแ้ กะขนม
งา่ ย แป้งจะไม่เกาะใบตองเมอื่ น่งึ สุกแลว้ จากน้ันนำ�แปง้ ท่ีนวดไว้มา

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๑๑

ภาพ : ขา้ วหนอจ๊อก หรอื ขนมเทยี น ขนมทนี่ ิยมทำ�ในเทศกาลปีใหมเ่ มอื งของคนลา้ นนา

ท�ำ เปน็ แผน่ แบน น�ำ ไสข้ นมใสตรงกลาง แลว้ หอ่ แปง้ ใหม้ ดิ ไสข้ นม
แลว้ น�ำ มาหอ่ ใบตอง โดยการขดใบตองเปน็ รปู กรวยแหลม พบั ทบลา่ งซา้ ย
ขวา น�ำ ดา้ นท่แี หลมสอดพับกจ็ ะได้ห่อขนมทีม่ ีลักษณะกน้ แหลม เมอื่ ห่อ
เรยี บร้อยจึงน�ำ ไปนงึ่ จนสุกรบั ประทานได้

๑๑๒ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

(๒) ขนมปาด หรอื ศิลาออ่ น หรอื ขนมกน (คน) เปน็ การผสม
แปง้ ข้าวเจ้ากบั น้�ำ ออ้ ยหรือน้ำ�ตาล บางรายใส่น้�ำ ปูนใส บา้ งกใ็ ส่น้ำ�ใบอุ้ม
เคีย่ วบนไฟออ่ นๆ จนแป้งสุกและเหนียวข้น แล้วเทใส่ถาดท้งิ ไว้ ใชม้ ีดตดั
เปน็ รปู ส่ีเหล่ยี มโดยด้วยมะพร้าวขดู ฝอย
(๓) ขา้ ววิตู หรอื ขา้ วเหนยี วแดง บางแหง่ เรยี กข้าวอีต่ ู เปน็ การ
นงึ่ ข้าวเหนยี ว ถัว่ ดิน กบั มะพร้าวขูดเปน็ เส้นๆ แลว้ นำ�น้�ำ อ้อย กะทิ ผสม
กันเค่ียวไฟจนเหนียว ปรุงรสด้วยเกลือเล็กน้อยแล้วนำ�ลงคลุกกับข้าว
เหนียวให้เข้ากัน น�ำ ข้นึ ตั้งไฟอ่อนๆ คนจนขา้ วนุ่ม โรยหน้าด้วยงาคัว่ และ
มะพร้าวขูด ขา้ วอตี่ จู ะเปน็ สีน�ำ้ ตาลเพราะน�ำ้ ออ้ ย และมีรสหวานมนั
(๔) ขนมชั้น (ขา้ วหนมจนั๊ ) กรรมวธิ ีคือเอานำ้�ตาลไปละลายใน
น�ำ้ กะทิ แลว้ น�ำ แปง้ ขา้ วเจา้ ไปผสมลงไปตามสดั สว่ นในอตั รา ๑ : ๑ คนให้
เขา้ กันแลว้ แบง่ ออกเป็นสองสว่ นเทา่ ๆ กัน ส่วนหนงึ่ ผสมสีใสอ่ าหารลงไป
อาจเปน็ สแี ดงหรอื สเี ขยี วตามชอบ แลว้ น�ำ ถาดทใ่ี สข่ นมไปนง่ึ เมอ่ื ถาดรอ้ น
ใหต้ กั แปง้ สขี าวลงกอ่ น กะใหห้ นาพอสมควรแลว้ ปดิ ฝารอใหส้ กุ จากนน้ั ตกั
แปง้ ทเ่ี ปน็ สลี งไปทบั แลว้ ปดิ ฝาใหส้ กุ ท�ำ เชน่ นส้ี ลบั กนั ไปจนเกอื บเตม็ ถาด
นยิ มให้แปง้ ท่มี สี อี ย่บู นสดุ จากน้นั ยกลงรอใหเ้ ยน็ แลว้ ใช้มดี ตดั ขนมเป็น
รปู สี่เหล่ียมหรือรูปอืน่ ๆ ตามต้องการ
(๕) ขนมเกลือ เป็นขนมชนิดหน่ึงทำ�จากแป้งข้าวเจ้า โดยการ
เอาแป้งข้าวเจา้ มาผสมกบั เกลอื และใส่น้ำ�ลงไป คนใหเ้ ข้ากนั ถา้ ชอบกะทิ
กใ็ สล่ งไปไดแ้ ลว้ น�ำ ไปเทใสก่ ระทะหรอื หมอ้ ตงั้ ไฟขนาดกลางคนใหท้ ว่ั พอ
ประมาณวา่ แปง้ ขน้ ดี ไมส่ กุ เกนิ ไป จากนน้ั ยกลงพกั ไวใ้ หเ้ ยน็ น�ำ ใบตองมา
ห่อใบตองทีใ่ ชห้ อ่ ควรใชใ้ บตองออ่ น เปน็ ลกั ษณะแบนๆ ไม่ต้องใช้ไม้กลดั
วางซ้อนกันในลังถึง แล้วนำ�ไปน่ึงอีกประมาณ ๒๐-๓๐ นาที ก็สามารถ
รับประทานได้ เนื้อขนมท่ีสุกแล้วจะมีสีขาว มีรสเค็มเล็กน้อย ไม่หวาน
หากชอบหวานก็อาจใส่นำ้�ตาลปี๊บลงไปผสมกับแป้ง หรือโรยงาดำ�ลงไป
ด้วยก็ได้

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๑๓

ภาพ : ขนมลิน้ หมา และกรรมวิธกี ารทำ�

(๖) ขนมตายลมื หรอื ขนมตา๋ ลมื เปน็ ชนมทท่ี �ำ มาจาก แปง้ ขา้ วเจา้
ผสมเกลอื เลก็ น้อย คนในน�ำ้ ให้เขา้ กนั แล้วนำ�ไปต้ังไฟ กวนจนแปง้ สกุ แลว้
น�ำ มาหอ่ ใบตองเชน่ เดยี วกบั ขนมเกลอื แตแ่ ปง้ จะนมิ่ และเละกวา่ นยิ มให้
เดก็ สตรอี ย่ไู ฟหลังคลอด และคนปว่ ยรับประทาน
(๗) ขนมลน้ิ หมา เปน็ ขนมชนดิ หนง่ึ ทท่ี �ำ โดยน�ำ เอาแปง้ ขา้ วเหนยี วด�ำ
มานวดกับน้ำ�ให้มีลักษณะหนืดแต่ไม่เละ เติมเกลือให้มีรสเค็มเล็กน้อย
จากนั้นนำ�ใบตองมาหอ่ เปน็ แบนๆ อยา่ งลิน้ ขนาดไมใ่ หญ่มากนัก ใบตอง
แผ่นหน่ึงอาจหอ่ ขนมได้ ๒-๓ อัน โดยห่อพับทบไปมา เสร็จแลว้ น�ำ มาน่งึ
จนแปง้ สกุ เมอื่ แกะออกมาก ขนมกจ็ ะมลี กั ษณะแบน ไมห่ นามาก เหนยี ว
สีคล�้ำ แลว้ โรยหนา้ ดว้ ยมะพรา้ วขูด เวลารับประทานน�ำ ไปจิ้มกบั นำ�้ ตาล
ขนมล้ินหมาน้ี บ้างกเ็ รยี กว่า ขนมเป่ยี ง หรือขา้ วเปยี่ ง

๑๑๔ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

ภาพ : การท�ำ ข้าวหนมวง และข้าวแคบ

(๘) ขนมวง คอื ขนมทม่ี าจากแปง้ เปน็ รปู วงกลมคลา้ ยขนมโดนทั
มีน้�ำ อ้อยหยอดดา้ นบนของขนมวง กรรมวิธที �ำ เรม่ิ จากน�ำ แป้งขา้ วเจ้ากบั
กล้วยสุก หรือฟักทองนึ่งสุกนวดเข้าด้วยกัน โดยระหว่างนี้จะเติมนำ้�อุ่น
ลงไปดว้ ย นวดให้เข้ากันจนแป้งเหนยี วพอประมาณ แลว้ ใสห่ ัวกะทิลงไป
นวดดว้ ย หมักท้ิงไวป้ ระมาณ ๒๐ นาที จากนน้ั นำ�แปง้ มาปน้ั เปน็ เสน้ ยาว
ประมาณ ๑ คบื แลว้ เอาปลายทงั้ หมดจรดตดิ กนั ใหเ้ ปน็ รปู วงกลม แลว้ น�ำ
ไปทอดในน�ำ้ มนั รอ้ นจนเหลอื งกรอบ ตกั พกั ขนึ้ ไวใ้ หส้ ะเดด็ น�้ำ มนั จากนน้ั
ใหเ้ คยี่ วน�้ำ ออ้ ยใหข้ น้ แลว้ หยอดลงบนดา้ นหนา้ ของขนมวง รอน�ำ้ ออ้ ยเยน็
ลงจึงรบั ประทานได้

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๑๕

(๙) ขนมกล้วย เปน็ ขนมท่ที ำ�โดยใช้กลว้ ยน้ำ�หว้าสกุ บดจนเละ
ผสมกับแป้งข้าวเจ้า มะพร้าวบูดฝอย และน้ำ�ตาลซ่ึงอาจเค่ียวเป็นน้ำ�
แลว้ น�ำ มาคลกุ เคลา้ และนวดใหเ้ ขา้ กนั ระหวา่ งนน้ั ใหเ้ ตมิ น�ำ้ อนุ่ ลงไปดว้ ย
หากแปง้ ยงั เปน็ ผงอยู่ จากนนั้ นวดจนสว่ นผสมเขา้ กนั ดแี ละเนอ้ื แปง้ อยใู่ น
ลกั ษณะหนดื แตไ่ มเ่ ละ น�ำ แปง้ ทเี่ ตรยี มไดท้ แ่ี ลว้ ใสใ่ บตองทท่ี �ำ เปน็ กรวยสงู
น�ำ ไปนึ่งจนแปง้ สุกก็สามารถรบั ประทานได้
(๑๐) ข้าวแคบ ทำ�จากแป้งข้าวเจ้าผสมข้าวเหนียว ต้มแป้ง
แล้วละเลงลงบนพิมพ์ จากนั้นนำ�ไปผึ่งแดด บางคนก็โรยงาสีดำ�ไปด้วย
เรียก “เข้าแคบอ่อยงาดำ�” เมื่อแห้งแล้วใช้ผิงไฟหรือใช้ทอดน้ำ�มันก็ได้
แผน่ แหง้ สามารถเก็บได้นาน หากจะรับประทานคอ่ ยน�ำ มายา่ งไฟ
ส่วนอาหารที่คนเมืองนิยมทำ�ในช่วงเทศกาลปีใหม่เมืองน้ัน มัก
จะเก่ียวข้องกับความเช่อื เร่อื งความเป็นสิรมิ งคล ความเจรญิ รุ่งเรอื ง และ
มักประกอบด้วยเน้ือสัตว์เป็นหลัก เนื่องจากในกาละปกตินั้นคนเมืองจะ
บริโภคผัก ปลาและนำ้�พริกเป็นหลัก เมื่อมีโอกาสพิเศษจึงจะทำ�อาหาร
ที่ต้องใช้เน้ือสัตว์ เช่น เนื้อหมู เน้ือวัว ในปริมาณมาก เพราะเน้ือสัตว์มี
ราคาแพง เช่น ลาบ และแกงโฮะ นอกจากนี้คนเมอื งมคี วามเชื่อว่าหาก
ไดก้ นิ อาหารจ�ำ พวก แกงออ่ ม ย�ำ จนิ้ ไก่ และแกงขนนุ (แกงบะหนนุ ) แลว้
จะเกดิ ความเปน็ ศิรมิ งคล อยดู่ ีกินดี และการมีสิ่งเก้ือหนุนให้ชีวติ อยดู่ ้วย
กันอย่างอบอนุ่ (ทัศนยี ์ อารมณเ์ กลี้ยง และสุภาพ ฉัตราภรณ,์ ๒๕๕๗)
โดยเฉพาะอย่างย่ิงในวันปากปี คนล้านนาจะ “แก๋งบ่าหนุน” หรือ
แกงขนนุ กนิ กนั ทกุ ครวั เรอื น โดยเชอ่ื กนั วา่ เมอื่ ไดท้ านแกงดงั กลา่ วจะชว่ ย
สง่ หนนุ ใหเ้ กดิ ความเจรญิ รงุ่ เรอื งประกอบกจิ การงานใดกส็ �ำ เรจ็ ผล มคี นมา
อดุ หนนุ ค�ำ้ จนุ และเกดิ สริ มิ งคลในครอบครวั ทงั้ นเ้ี หตผุ ลของการทานแกง
ขนนุ ดงั กลา่ ว อาจจะมาจากชอื่ ขนนุ ทมี่ คี วามหมายถงึ การเกอื้ หนนุ ค�้ำ จนุ
ครอบครวั ให้เจริญรงุ่ เรือง

๑๑๖ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

ภาพ : แกง๋ บ่าหนนุ หรือแกงขนุนท่คี นเมอื งนิยมบริโภค
ในช่วงเทศกาลปีใหม่เมือง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในวนั ปากปี

ค�ำ เวนทาน ค�ำ ปนั พร ค�ำ มดั มอื

ในประเพณปี ใี หมเ่ มอื ง



ค�ำ เวนทาน ค�ำ ปนั พร ค�ำ มดั มอื

ในประเพณปี ใี หมเ่ มอื ง

ในประเพณีดำ�หัวขอสุมาคารวะนั้น ผู้รับการดำ�หัวมักจะมีการ
อำ�นวยอวยพรให้แก่ผู้ที่มาดำ�หัวเพื่อความเป็นสิริมงคล และความเจริญ
ร่งุ เรอื งแดผ่ ู้น้นั ในท่ีนจ้ี ะได้นำ�เสนอค�ำ เวนทาน คำ�ปนั พร และค�ำ มดั มอื
ในประเพณีปีใหม่เมืองบางสำ�นวน
ค�ำ เวนทาน คอื ถอ้ ยค�ำ ทบี่ อกกลา่ วถงึ เรอื่ งราว ความเปน็ มา และ
ความมงุ่ หมายของกจิ กรรมนนั้ ๆ ค�ำ เวนทานนน้ั เปน็ การโนม้ นา้ วจติ ใจของ
ผ้ฟู ังให้เกิดศรัทธาปสาทะ มีปิติอ่ิมเอมรืน่ เรงิ ในกุศลทานท่ีไดท้ �ำ มา ละให้
ตดั เสยี ยงั ความกงั วลมลทนิ ออกจากจติ ใจ ท�ำ ใหม้ จี ติ ใจผอ่ งใสและผฟู้ งั ยอ่
รบั ทราบอรรถรสค�ำ สอนทแ่ี ฝงอยใู่ นค�ำ เวนทานนน้ั ๆ และน�ำ ไปเปน็ ขอ้ คดิ
ค�ำ สอนเตอื นใจ (ญาณสมปฺ นฺโน, ไม่ทราบปีที่พิมพ์)

ค�ำ เวนทานปใี หมเ่ มอื ง

“สาธโุ อกาสะ สริ วิ สิ ทุ ธมิ กฏุ ปวะโรจนโ์ สดอดุ ม บรมพทุ ธาตริ ตั นาตนผา่ น
แผว้ พระแกว้ เจา้ ทง้ั สามประการ ยงั คลบ่ี านงามเรอ่ื งเรอื่ เพอื่ หอ้ื ไดก้ ระท�ำ ทานปารมี
สีลปารมไี วเ้ ป็นยอด ขอดไว้กับตนตวั เพือ่ เปน็ ขวั เลม่ แก้ว ได้ขีข่ ้ามแลว้ ไปสู่รอด
ยังเวียงแก้วยอดเนรพาน
นยั กาลวนั นก้ี เ็ ปน็ วนั ดี ดถิ อี นั วเิ ศษ เหตวุ า่ เปน็ วนั ปใี หม่ อตกิ นั โต ปเี กา่
ก็ข้ามลว่ งไปแลว้ ปีใหมแ่ กว้ พญาวันก็มาจจุ อดรอดถึง ศรทั ธาหญิงชายนอ้ ยใหญ่
ตา่ งกม็ าพรอ้ มไควช่ มุ นมุ กนั มวลหมู่ พรอ้ มหนา้ อยใู่ นพทุ ธาวาส เพอ่ื หอ้ื ไดโ้ อกาส
กระทำ�บญุ สมนาคณุ ขมาลาโทษ ห้ือเป็นประโยชนแ์ ห่งความดี ตามประเพณีอนั
มีมาบ่ผอ่ น ในอตตี ากอ่ นเมนิ มา
วนั สงั ขารลอ่ งนน้ั นา คนหนมุ่ เฒา่ จกั พากนั สระเกศเกลา้ ด�ำ หวั ตน เพอื่
เปน็ มงคลหอื้ ไดส้ ะอาด แลว้ ปดั กวาดเรอื นเคหา ซกั ยงั วตั ถาเสอื้ ผา้ เกบ็ หยากเยอื่
ตามขว่ งบา้ น บข่ คี้ รา้ นล้างหม้อและไห ขอใช้อันใดก็นำ�มาซ่วยล้าง ตามพื้นข่วง
ลานกป็ ัดกวาน ห้อื สะอาดหมดใส กระทำ�จติ ใจห้ือชุ่มเชยบาน อนั ว่าวนั สังขาร
ลอ่ งจกั บอกช้ี กค็ อื อายแุ หง่ คนเรานแี้ กล่ ว่ งเลยไป บเ่ มนิ เทา่ ใดปหี นง่ึ กม็ าจอด หอ้ื
พากนั คดิ รอดสร้างแต่ทางดี
๑๒๐ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

ครน้ั รอดวนั พกู มแี ถมเลา่ เรยี กวา่ วนั เนา่ อนั เลา่ สบื ๆ กนั มา วา่ ยงั มพี ระ
ตนหนึ่งชื่อสุริยา มีภรยิ าอยสู่ องฟา่ งซ้ายขวา พระยาตนนนั้ ได้มรณาตายไปเปน็
เปรต อยูท่ ่ีในขอบเขตฟา้ จกั รวาล สองนางนงคราญอนั เป็นเมยี นั้น ก็ไดต้ ายหั้น
เมอื งคน กเ็ อาตนไปเปน็ เปรตทเี่ ดยี วกนั กไ็ ดไ้ ปหนั พระเจา้ อนั เปน็ ผวั ตนเมอื่ กอ่ น
จงึ พากนั สอ่ นไปกอดก็บไ่ ด้ เหตวุ า่ ท้าวไท้เปน็ พระยาหวั ขาด
จ งพร�่ำ รตู้ าเหมมตนีุ ตนั้ าคมนปจรงึะโเอพกณามีสาจแาตเลเ่ คา่ า้ วคา่ วนนั หนนเ้ี มุ่ปเน็ ฒวา่นั หเนญา่ งิ ตชดิ าตยอ่ จกกั นั ขมนาทมราลู ยศมราทั ใธสาข่ ชว่ ผุงู้
แกว้ ทงั้ สาม แลว้ แปลงเจดยี ง์ ามผอ่ งแผว้ เพอ่ื สมมตเิ จดยี แ์ กว้ ดงั่ ในอตตี า ดงั เราจกั
จาบอกเลา่ ยงั เคา้ เหงา้ วา่ ยงั มมี หาเถรเจา้ ตนหนง่ึ ชอื่ เทพมาลยั ตนทรงศลี ใสอนั
เลศิ แลว้ ตนแกว้ ไดเ้ สดจ็ ไปสอู่ บาย หนั สตั วน์ รกทง้ั หมลายมมี วลมาก อนั วบิ ากเขา
หากน�ำ มา พระกจ็ าถามไปใครร่ ู้ วา่ ยามเมอื่ อยเู่ มอื งคนกระท�ำ บาปสงั ชา? จงึ ไดม้ า
ทรงทุกข์ฉันนี้เล่า สัตว์นรกก็บอกเล่าแก่พระมาลัย ว่ายามเมื่อตูข้าอยู่ในโลกใต้
กระทำ�บาปไว้หลายประการ คอื บ่ได้หอื้ ทานรกั ษา ศีลสงั สกั หยาด ครนั้ มรณาด
จากเมอื งคน ไดเ้ อาตนมาสอู่ เวจี ขอตนบญุ มมี หาเถรเจา้ ไดบ้ อกเลา่ พน่ี อ้ งอนั อยู่
ในโลกา วา่ ขอกรณุ าหมขู่ า้ ทง้ั หลาย มใี จผายแผช่ มชนื่ กระท�ำ บญุ ยกยน่ื แผม่ าหา
ยามนัน้ นามหาเถรเจ้าเทพมาลัย ไดย้ ินค�ำ จาไขแหง่ หมู่เปรต ก็รบี ออก
เขตหอ้ งอบาย แล้วกร็ บี เสด็จผัยผายบช่ ้า มาสู่โลกหลา้ มนุสสา ที่น้นั นาคนหนุ่ม
เฒา่ กพ็ ากันเอาข้าวมาใส่บาตร บไ่ ด้ขาดเสียคนใด ยามน้ันพระมาลยั กบ็ อกเล่า
มวา่าตหนานว้ันา่ เขลอา่ หไดม้ไวู่ ปงศสาู่อกบราะยทส�ำ ัตบวญุ ์นหรยกาทดัง้ นห�ำ้ ลามยใี มจพวลรม�ำ่ สารกา้ เงขยางั ไเดจด้ทยีรงท์ ทรกุายขผ์ยอ่ากงแฝผาว้กคไว�ำ ้
ในขว่ งแกว้ ทงั้ สาม แลว้ อญั เชญิ สรรี ธาตงุ ามอนั หอมหน่ื อนั มใี นหมน่ื โลกจกั รวาล
มาประดิษฐานในเจดีย์ทราย คร้ันเจ็ดวันหมายครบไคว่ เม็ดทรายน้อยใหญ่
ทง้ั หลาย ขอกลบั กลายเป็นทรายดงั เก่า
ยามน้ันพ่ีน้องเผ่าวงศ์ใย ได้ฟังพระมาลัยบอกกล่าว ห้ือรู้ข่าวอันเป็น
คลองดี ก็ศรัทธามีใจช่ืนช้อย ทั้งใหญ่น้อยหญิงชาย ก็พากันขนทรายสู่อาราม
แล้วก่อเป็นเจดีย์ทรายงามหยดย้อย ปักช่อน้อยแลทุงชัย พ่องก่อไปได้ตามอายุ
แห่งตน คร้ันเขาทานแล้วก็อุทิศส่วนกุศลไปหา ยังหมู่วงศาพี่น้อง อันไปตกอยู่
แหง่ หอ้ งนรกอบาย หือ้ ได้กลับกลายไปเกิด ในห้องฟ้าเลศิ เมอื งสวรรค์
อันว่าสร้างเจดยี ์ทรายกันนีเ้ ล่า พระพทุ ธเจา้ หากเทศนา ว่าภกิ ขเว ดูรา
ภอากิ วขาทุ สั้งแหลละาขย่วงบเจุคดคียล์ ผหู้ใดากไดมส้ ีอรา้านงิสเจงดสยี์ล์ท้ำ�เรลาิศย แล้วปักช่อทงุ ยายหยดหยาด ไวใ้ น
ผลบุญกุศลเกิดมีนักหนา แม้นจัก
ปรารถนาเอายังสขุ สามประการ คือสขุ เชยบานในมนุษย์โลก จกั มสี มบตั ิอาโภค
มากมวลมี จักได้

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๒๑

หา้ งของทวานันนกน้ี เ็ ปากน็ เ็ กปาน็ รวบนั รปบิ ใีรู หณมด์ ่ พีเปรน็ �่ำ วพนั รใอ้ หมญอค่ นั อื จวกั นั ยพนื่ ญนาอ้ วมนั ยอศถรวทั าธยาพผาขู้ กา้ นัทตงั้ หกลแตายง่

ได้ทานแลว้ มีใจผ่องแผว้ ยินดี กศุ ลมมี วลมาก จักขออุทศิ ฝากไปหา หมสู่ รรพ
เทวดาน้อยใหญ่ อันอยู่ต้นไม่เครือวัลย์ ทุกดอยดงตันเหวหาด ทุกท่าตาดคูหา
เทวดารกั ษาบา้ นชอ่ ง รกั ษาแหง่ หอ้ งอาวาส รกั ษาพทุ ธศาสนน์ ริ นั ดรม์ า ทง้ั นกั ขตั ตา
และเทวดาเก้าหมู่ ขอมาชมชื่นสู้โมทนา กศุ ลบุญน้ีนาขอผายแผ่ ไปหาพอ่ แมห่ มู่
วงศ์ใย อนั ตายไปส่ปู รโลกหน้า ทั้งปู่ป้านา้ อาวอา อันมรณาตายจาก บญุ นม้ี าก
มนมี้ำ�หลู ยถาดึงเไจป็ดหตาระบกดั ลูนเน้ีปาน็ จเกัคเา้ วนเกทา้ าตนรตะากมูลมเปคน็ธภแดาษนาบแสาลนวีต่าร”ะ(กตูลัง้ เปนน็ ะขโมนา3ดจขบอกห่อลน่ัง)
“อมิ านิ มยงั ภนั เต วาลกุ เจตยิ านิ ตริ ตนานงั โอโนชยามะ สาธุ โน ภนั เต
อมิ านิ วาลุกเจตยิ านิ สพั พปรวิ ารานิ ปฏิคคนั หาตุ อมั หากงั ทฆี รัตตงั หติ ายะ

สขุ ายะ ยาวนพิ พานายะ ปจั จโย โหตุ ดน นจิ จงั ”

ค�ำ ปนั พรปใี หม่
คือคำ�ให้พรหรืออวยพรในภาษาล้านนา เม่ือลูกหลานหรือ
ญาตโิ ยมมาทานขนั ขา้ ว หรอื มาด�ำ หวั นนั้ พระสงฆห์ รอื ผเู้ ฒา่ ผแู้ ก่ ผรู้ บั เอา
ขันขา้ วหรอื เครอื่ งด�ำ หัวน้นั จะปนั พรแก่ลกู หลานหรอื ญาตโิ ยม ค�ำ ปันพร
ปใี หม่บางส�ำ นวนมดี ังนี้ (ญาณสมฺปนฺโน, ไมที ราบปีทพี่ ิมพ)์

“เอวงั โหนตุ สมั ปฏิจฉามิ ดีแล
อัชชะในวันน้ีกห็ ากเป็นวนั ดตี ิถีวิเศษ
เหตวุ ่ารวิสงั ขารปีเก่ากล็ ว่ งพน้ ไปแล้ว
ปใี หม่แกว้ พญาวันก็มารอดมาเถิง
มาเทงิ ยงั หมเู่ ราเจา้ ข้าทง้ั หลาย

บัดนี้หมายมี (ระบชุ ื่อ) เป็นเคา้
พร้อมดว้ ยลูกหลานตา่ นเต้าสเู จา้ ทง้ั หลายชหุ ม่ชู มุ วล
ก็บ่ละเสยี รตี บน่ ีดเสยี ยงั ปาเวณี
กอนั็หเาปกน็ ไดค้สลนองงแขหงข่งวสาปั ยปตรุ กสิ แะตเจ่งา้ดแาตพก่ ร่อ�่ำ นพหร้อามกมีมา


๑๒๒ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

ภาพ : ลกู หลานมาดำ�หัวปใี หมค่ นเฒา่ คนแก่ และรอรบั ค�ำ ปนั พร
ที่มาของภาพ : เอกสารแฟม้ ภาพของนาย ไมเคิล มอร์แมน, ศนู ย์มานษุ ยวทิ ยาสิรินธร (๒๕๔๘)

“ขน้าอ้วตมอมกายดงัอธกปู ไบมุปล้ �ำผเาทลียานชนาด�ำ้ อวบงดนอำ�้ กห อม
เพอื่ จักขอสมมาคารวะยังตนตวั ผู้ข้า
ว่าฉนั นเี้ ทีย่ งแทด้ หี ลี

บัดนี้ตนตัวผู้ขา้ กห็ ากได้อวา่ ยหนา้ รับเอา
แมน้ วา่ สเู จ้าท้งั หลายได้ประมาทลาสา
ไดดว้ ้ขยนึ้กทายี่ตก่ำ�ัมไดม้ยังำ�่ ทวจีส่ กี งู ัมใดมๆัง มโนกัมมังก็ด ี
ก็ดี
อนั เป็นสัญจญิ โทสัง อสญั จิญจโทสงั
อตีดโทสงั ปัจจปุ นโทสงั อนาคตโทสงั ใดๆ กด็ ี
ก็ขอหื้อกลายเปน็ อโหสกิ รรมอนั บม่ ีโทษ
บห่ อ้ื เปน็ นวิ รณธรรมแกส่ ูท่านทง้ั หลาย
สักเย่อื งสกั อันจงุ่ จกั มีเที่ยงแท้ดีหลี
ตง้ั แต่มหุ ุตกาลวนั น้ียามน้ไี ปภายหน้า

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๒๓

ขอหื้อสทู า่ นท้งั หลายชผู่ ชู้ คู่ น
ชู่ตนชูอ่ งคห์ ื้อพน้ จากสรรพทกุ ข์ สรรพโศก
สรรพโรค สรรพภยั สรรพจังไรวินาสนั ต ุ
อยกู่ ็หื้อมีชัย ไปก็หอ้ื มโี ชคมลี าภ
เคราะห์รา้ ยหยาบอยา่ มาใกล ้
เจบ็ ป่วยไขอ้ ย่ามาพาน
หอ้ื ได้อย่สู �ำ ราญชอ้ ยโชต ิ
เงินคำ�ล้านโกฏิจุ่งมีเต็มฉางบร่ ูบ้ กบางสักเทื่อ
เตม็ อยู่ชู่เมอื่ เทย่ี งแทด้ ีหลี
หื้อได้อยู่สวสั ดีทีฆาเทย่ี งเท้า
อไดา้อยยรุ อู้ค่ ย้ำ�ซชาพู วรขะววบรพข้าทุ วธวศัสาสสาน าไปไ จๆ้
อยา่ ได้คลาดคลาเทย่ี งเท้าดีหลี
ตามบาทบาลวี ่า


“อายวุ ัฑฒโก ธนวฑั ฒโก สริ ิวฑั ฒโก ยสวฑั ฒโก พลวฑั ฒโก
วัณณวฑั ฒโก สุขวฑั ฒโก โหตุ สัพพทา ทกุ ขะ โรคะ ภยา เวรา โสกา

สตั ต ุตุปัททวา อเนกา อนั ตรายาปิ วินสั สันตุ จะ เตชสา ชยะ สทิ ธิ ธนัง ลาภงั
โสตถิ ภาคยงั สขุ งั พลัง สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคงั วุฑฒิ จะยสะ วา
สตวัสสา จะ อายุ จะ ชวี สิทธิ ภวตั ตุ เต”

“สพั พีติ โย วิวัชชันตุ สพั พโร โค วินัสสตุ มา เต ภวตั วนั ตรายโย สุขี
ทฆี ายโุ ก ภวะ อภิวาทนสลี ีส นจิ จัง วฑุ ฒาปจายิโน จัตตาโร ธัมมา วฑั ฒันติ

อายุวณั โณ สุขงั พลัง”

ค�ำ ปนั พรปใี หม่ อกี ส�ำ นวนหนง่ึ (มณี พะยอมยงค,์ ๒๕๔๗: ๘๐-๘๑)
“กายะกัมมัง วจกี มั มัง มโนกัมมงั สัญจิจจะโทสงั อสัญจิจจะโทสงั สัพ

พังโทสงั ขะมันตุ โน ระวิสังขาโร
อนั ว่าสังขารปีเกา่ อติกกนั โต กข็ ้ามลว่ งพน้ ไปแลว้
บัดนมี้ าเถงิ ปใี หมแ่ ก้วพญาวนั ท่านท้งั หลายมี.........................
เป็นประธานพร้อมดว้ ย......... ลูกหลานทงั้ หลาย กบ็ ่ละเสยี ยังฮีต
บ่รีดเสยี ยังท�ำ นองคลองปาเวณี ที่สัปปรุ สิ ะนกั ปราชญเ์ จา้ ทังหลาย

๑๒๔ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

กระทำ�แลว้ แตห่ ลงั มา จ่งึ มธี ูปะบุปผาลาชาดวงดอก
ข้าวตอกดอกไม้ล�ำ เทยี น เครือ่ งขาทนยี ะโภชนียะ
ของอนั ควรเคยี้ วควรกนิ และบรโิ ภค น�ำ มาไวท้ ัศนะคลองสอ่ งหนา้
เพอ่ื จักมาสจั จคารวะสมู า ยงั ตัวตนแหง่ ผู้ขา้
วา่ ฉนั นี้แท้ดหี ล.ี ....
แมน้ ทา่ นทั้งหลาย ได้ปมาทะอคารวะ
ด้วยกายกรรมวจีกรรมมโนกรรม ล�ำ ก้ รรมทังสามอิริยาบททังส่ี
รูแ้ จง้ ถ่ไี ด้กระทำ�ดงั อน้ั กด็ ี บ่รู้แจง้ ถ่ไี ด้กระท�ำ ดงั อั้นก็ดี
จักขมาปนาหอ้ื หาย กลายเปน็ อโหสิกรรม
บ่หื้อเป็นนิวรณธรรม กรรมอันจักห้ามเสียยัง
ลคั คมัคคหนทาง อันจักไปสู่ชน้ั ฟ้าและเนรพาน
แหง่ ท่านทังหลาย เที่ยงแทด้ หี ลี
ตัง้ แตม่ หุตตะปีใหม่เดือนใหม่นไี้ ป ขอหือ้ ท่านทังหลาย
ได้ปลอ่ ยพ้นเสียยงั ภยั ยะอบุ าทวก์ งั วลอนตราย
เปน็ ต้นวา่ เคราะหป์ เี คราะห์เดือน เคราะหว์ ันเคราะห์ยาม
เม่ือยา่ งเม่อื เตยี ว เขปอน็ หดื้อง่ั นได�ำ้ ก้นลริ ง้ิาตศกคจลากาดใบคบลวั าใบบอน
จากท่านทงั หลาย
น้ันจุง่ จกั มเี ทีย่ งแทด้ ีหล ี
ขอหอื้ ท่านทงั้ หลาย ประกอบไปดว้ ยกายกิ สขุ เจตสกิ สขุ
ไปชุวันชยุ าม อยู่หอ้ื มชี ยั ไปหอื้ มโี ชคมลี าภ
ปราบชนะขา้ ศกึ ศรัตรทู งั มวล น้นั จุ่งจกั มเี ที่ยงแท้ดหี ล”ี

“สพั พีตโิ ย ววิ ัชชันตุ สัพพโรโค วินสั สตุ มา เต ภวัตวันตราโย
สขุ ี ทฑี ายุโก ภวอภวิ าทนสีลิสส นจิ จัง วฑุ ฒาปจายิโน จตั ตาโร ธมั มา วฑั ฒันติ

อายุ วัณโณ สุขงั พลัง”

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๒๕

ค�ำ ปดั เคราะห์
เมื่อลูกหลานมาดำ�หัวน้ัน หลังจากที่ผู้เฒ่าผู้แก่ปันพรแล้ว
ลกู หลานมกั ขอใหพ้ อ่ หมอ่ นแมอ่ ยุ๊ มดั มอื หรอื ผกู ขวญั ให้ แตก่ อ่ นจะท�ำ การ
มัดมือหรือผูกข้อมือน้ัน ผู้เฒ่าผู้แก่จะปัดเคราะห์ให้ลูกหลานเสียก่อน
การปัดเคราะห์นั้น ผู้เฒ่าจะให้ลูกหลานแบมือสองข้างชิดกัน หรืออาจ
แบมอื ขา้ งเดยี วกไ็ ด้ แลว้ จะเอาหางฝา้ ยทจ่ี ะใชม้ ดั มอื นนั้ มากวาดในฝา่ มอื
ของลูกหลาน แลว้ กลา่ วค�ำ ปัดเคราะห์
ค�ำ ปดั เคราะหน์ น้ั มหี ลายส�ำ นวน โฮงเฮยี นสบื สานภมู ปิ ญั ญาลา้ นนา
(๒๕๕๑) ได้น�ำ เสนอส�ำ นวนของพระครูสงิ หวชิ ยั วัดฟ้าฮา่ ม อ�ำ เภอเมือง
จังหวดั เชยี งใหม่ ดังน้ี
“โอมสพั พตั ถสุ มั พทา สพั พโรคา สพั พอบุ าทว์ สพั พยาธอิ นั ตราย เคราะห์

ทงั้ หลาย เคราะหพ์ าวายขไ้ี ข้ เคราะหห์ วั ปถี กู ตอ้ ง เคราะหพ์ นี่ อ้ งมาเยอื น เคราะห์
ในเรอื นต้องค้าย เคราะหเ์ ม่ือยา่ งย้ายพามี เคราะห์ไรน่ ามปี เู ฝ้า เคราะห์ป่เู ฒา่
ฝากครัว เคราะห์งัวควายตวั กล้า เคราะห์ช้างมา้ ตอ่ ชน เคราะหก์ งั วลเปน็ ถอ้ ย
เคราะห์ปีเดือนวันโกรธไหม้ เคราะห์เจ็บเคราะห์ไข้เคราะห์หนาว เคราะห์เมื่อ
คืนเมือ่ วัน เคราะหพ์ ากล้นั พาอยาก เคราะหก์ วนเคราะหก์ รรม เคราะหเ์ มอ่ื หลบั
เมอื่ ตน่ื เคราะหห์ ลบั บช่ นื่ เปน็ ฝนั เคราะหภ์ ายหลงั อยา่ ไดม้ าถา้ เคราะหภ์ ายหนา้
อยา่ ไดม้ าจก เคราะหท์ างวนั ตกอยา่ ไดม้ าเฝอื เคราะหท์ างเหนอื อยา่ ไดม้ าตอ้ งถกู
เคราะหว์ ันน้ีวันพรกู จุ่งหื้อหนไี กล หือ้ หนีไปตามพระอาทติ ย์พระจนั ทร์ องั คารที่
ฟ้าเสยี้ งแผน่ ดินสุด จงุ่ หือ้ ตกไปกับพระพุททปี่ ่ากวางดงสงัด จุ่งห้ือหนไี ปตามพ
ระหัสทีย่ คุ ันธรแอ่วเล่น เทยี วแวเ่ วน้ สนกุ จงุ่ หอ้ื หนีไปตามพระศุกร์ทปี่ ่าดงมดื เส้า
ที่พระพทุ ธเจ้าบไ่ ว้ศาสนา จงุ่ ห้อื ตกไปตามพระเสารน์ าคาหย่อมหญา้ ใต้ขอบฟ้า
อุดรกรู จ่งุ หอื้ ไปตามราหูอสรุ นิ ทไอสวร เคราะหต์ ่างๆ นานาจุ่งหอ้ื ตกไปในวันนี้
ยามนี้ ต้ังแต่วันนย้ี ามนเ้ี ป็นต้นไป อยู่หอื้ มีชยั ไปหอื้ มีโชคมีลาภ ปราบแพข้ ้าศกึ
ศัตรทู ุกเย่ืองทุกประการ จงุ่ จักมีเทยี่ งแทด้ ีหล”ี

ชยตุ ภวงั ค์ ชยสภุ มังคลัง ชยโสตถิง ภวันตุเต

๑๒๖ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

ความเชอื่ และพธิ กี รรมบางประการ

ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ปใี หมเ่ มอื ง

ความเชอื่ เกย่ี วกบั วนั สงั ขานตล์ อ่ ง
ในวันน้ี ตามประเพณีแต่โบราณมาน้ัน เจ้าผู้ครองนคร หรือ
แมแ้ ตผ่ ทู้ เ่ี ปน็ กษตั รยิ ท์ ปี่ กครองลา้ นนากจ็ ะตอ้ งสรงน�ำ้ ตามทศิ ทโ่ี หรหลวง
คำ�นวณไว้ และจะลงไปทำ�พิธีลอยเคราะห์ในแม่น้ำ� ดังเช่น เจ้าผู้ครอง
นครเชียงใหม่ในอดีต จะประกอบพิธีลอยเคราะห์และดำ�หัวท่ีแม่น้ำ�ปิง
ท่าวัดเกตการาม เดิมจงึ ชือ่ ว่าวดั สระเกษ
การด�ำ หวั แบบโบราณอกี วธิ หี นง่ึ ตอ้ งท�ำ สะตวง มดี อกไมธ้ ปู เทยี น
อาหาร ขา้ วหนม หมากพลู เหมย้ี ง บุหรี่ อยา่ งละ ๔ ช้นิ และนำ�เศษไม้
รปู ป้นั อมนษุ ย์ รูปปัน้ สัตวต์ ามปเี กิดของตน ดงั น้ี
ปเี กิด เศษไม้ รูปป้ัน
ปีไจ(้ ชวด) โพธ ์ ผีอารกั ษ์ อแี รง้ กวาง
ปีเปา้ (ฉล)ู บนุ นาค สนุ ัข
ปียี(ขาล) ไผ่ ผอี ารักษ์ งู
ปเี หม้า(เถาะ) หว้า ไก่ งู
ปีสี(มะโรง) ตน้ ข้าว ไก่ หมู
ปไี ส(้ มะเส็ง) หาด ผอี ารกั ษ์
ปสี ะงา้ (มะเมีย) แค สุนัข
ปีเม็ด(มะแม) แค สนุ ขั
ปีสัน(วอก) กระเซา สุนัข
ปีเรา้ (ระกา) ก่อ เสือโครง่
ปเี สด็ (จอ) ยอ เสือแผว้
ปไี ก๊(กนุ ) กอบวั ยกั ษ์
เม่อื เตรยี มสะตวง เครอ่ื พลีกรรม และรูปป้นั เรยี บร้อยแล้ว ก็จะ
เริ่มประกอบพิธีโดยหันหน้าไปตามทิศที่กำ�หนดไว้ในหนังสือปีใหม่เมือง
และกล่าวค�ำ โอกาสว่า

๑๒๘ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

“ดูราเจา้ กู เราอย่จู ิ่มกนั บ่ได้ ภยั ยะอนั ใหญ่ จกั เกิดมีมาชะแล
ขอเจา้ กจู ุ่งมารับเอาเครอ่ื งสักการบูชามวลฝงู นี้ แล้วจงุ่ มาพทิ กั ษร์ กั ษา
ผขู้ ้าหอ้ื อยู่สุขสวัสดี น้ันจุ่งจกั มีเทย่ี งแท้ดีหลเี ทอะ”
วา่ จบ ใหต้ ดั เลบ็ ตดั เศษผมใสใ่ นสะตวง แลว้ เสกน�ำ้ สม้ ปลอ่ ยดว้ ย
คาถา “โอม สิรมิ า มหาสิรมิ า เตชะยะสะลาภา อายวุ ณั ณา ภะวนั ตเุ ม”
แลว้ จึงสระเกล้า ด�ำ หวั ดว้ ยน้�ำ สม้ ปลอ่ ยตกลงในสะตวง จากน้นั
จงึ นงุ่ ผา้ ใหมแ่ ละทดั ดว้ ยดอกไมน้ ามปี หรอื พญาดอก แลว้ น�ำ สะตวงยกขนึ้
เวยี นรอบศรี ษะ ๓ รอบ จากนน้ั น�ำ สะตวงลอยลงแมน่ �้ำ หรอื ไวใ้ นทอี่ นั ควร
เชน่ ตน้ ไมใ้ หญ่ ทางสแ่ี ยก เปน็ ตน้ แลว้ หนั หลงั กลบั บา้ นทนั ที หา้ มเหลยี ว
หลังมาดสู ะตวง

ทดั ดอกไมน้ ามปแี ละนงุ่ ผา้ ใหม่
หลงั จากพธิ ดี �ำ หวั เสรจ็ แลว้ จะตอ้ งแตง่ เนอื้ แตง่ ตวั ดว้ ยเสอ้ื ผา้ ใหม่
หากเปน็ ผหู้ ญงิ ในวนั นนั้ กจ็ ะทดั ดอกไมอ้ นั เปน็ นามปหี รอื เปน็ พญาดอกไม้
ของปนี นั้ ๆดว้ ย เชน่ ในปีพ.ศ.๒๕๕๑ ได้แก่ดอกแก้ว หรือดอกพกิ ลุ เป็น
พญาดอกไมน้ ามป ี ควรทัดด้วยดอกแก้ว ปพี .ศ.๒๕๕๒ ดอกเกด็ ถะหวา
(ดอกซอ้ น) เปน็ พญาดอกไมน้ ามปี ควรทดั ดอกเกด็ ถะหวา การทดั ดอกไม้
อาจจะนำ�มาประดับมวยผม หรอื แซมผม
การค�ำ นวณ หาดอกไมน้ ามปใี หเ้ อาตวั เลขจลุ ศกั ราชปใี หมต่ งั้ หาร
ดว้ ย ๘ ได้เศษเท่าไหร่ ทำ�นายตามดังตอ่ ไปน้ี

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๒๙

ภาพ : การทดั ดอกไม้นามปใี นช่วงเทศกาลปใี หม่เมือง
ที่มาของภาพ : ศูนยส์ นเทศมภาคเหนือ ส�ำ นกั หอสมุดกลาง มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่

เศษ ๑ ดอกเอือ้ ง
เศษ ๒ ดอกแกว้
เศษ ๓ ดอกซ้อน (มะลิ,เกด็ ถะหวา)
เศษ ๔ ดอกประดู่
เศษ ๕ ดอกบัว
เศษ ๖ ดอกส้มสกุ (อโศก)
เศษ ๗ ดอกบุญนาค
เศษ ๘ ดอกก๋าสะลอง (ดอกปีบ)
เศษ ๐ ดอกลลิ า (ซ่อนกล่นิ )
ตัวอย่างเช่น ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ ลบด้วย ๑๑๘๒ คือจุลศักราช
๑๓๗๐ หาร ดว้ ย ๘ ไดเ้ ศษ .๒๕ ปดั ขึ้นเปน็ เศษ ๓ ดอกไม้นามปไี ดแ้ ก่
ดอกซ้อน หรือดอกเกด็ ถะหวา

๑๓๐ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

ความเชอ่ื บางประการเกย่ี วกบั วนั พญาวนั
วนั พญาวนั ควรท�ำ ลาบเปน็ อาหาร เพราะทานลาบในวนั นจ้ี ะท�ำ ให้
มีโชคลาภตลอดปี ในสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนอื เล่ม๑๒ กล่าว
ถึงความเช่อื บางประการเกยี่ วกบั วันพญาวันวา่
พญาวนั มาในวันอาทิตย์
ยกั ษม์ าอยู่เฝา้ แผ่นดนิ
หา้ มท�ำ การมงคลกรรมในวันอาทิตย์
พญาวันมาในวนั จันทร์
นางธรณมี าอยเู่ ฝ้าเผ่นดิน
กระท�ำ มงคลกรรมในวนั จนั ทรใ์ นปนี น้ั ดนี กั
พญาวนั มาในวันอังคาร
พญาววั อุศุภราชมาอยเู่ ฝ้าแผน่ ดิน
ทำ�การมงคลกรรมในวนั องั คารดีนกั
พญาวนั มาในวันพุธและวนั พฤหัสบดี
นาคมาอยู่เฝา้ แผน่ ดิน
กระทำ�การมงคลกรรมใดๆ ในวนั พุธได้ผลดี
พญาวนั มาในวนั ศกุ ร์
ช้างมาอยเู่ ฝา้ แผน่ ดิน
กระท�ำ การใดๆ ในวันศกุ รข์ องปนี ัน้ ให้ผลสมบูรณ์ดี

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๓๑

การปรบั การประกาศสงกรานตใ์ นทางราชการ

(๑๔-๑๖ เมษายน)

เรอื่ งเสนอใหก้ �ำ หนดวนั หยดุ ราชการ

ในประเพณสี งกรานตข์ องไทย

เนื่องด้วยสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สำ�นักงานวัฒนธรรม
จังหวัดเชียงใหม่ และองค์กรเครอื ข่าย ไดด้ ำ�เนนิ การเสนอใหก้ �ำ หนดวัน
หยดุ ราชการในประเพณสี งกรานตข์ องไทย จากวนั ท่ี ๑๓-๑๕ เมษายน
เป็นวนั ที่ ๑๔-๑๖ เมษายน หรือเพ่ิมวนั หยุดเป็น ๑๓-๑๖ เมษายน นนั้
ได้มหี ลักการและเหตุผลดังน้ี

หลักการและเหตุผล
ในอดตี ทผ่ี า่ นมา การก�ำ หนดวนั เปลย่ี นวนั ขนึ้ ศกั ราชใหมข่ องไทย
ไดก้ �ำ หนดวนั โดยยดึ หลกั การค�ำ นวณตามคมั ภรี ส์ รุ ยิ ยาตรทางโหราศาสตร์
หากปใี ดดวงอาทติ ย์ ไดเ้ คลอื่ นยา้ ยออกจากราศมี นี เขา้ สรู่ าศเี มษวนั ใด ให้
ก�ำ หนดเอาวันนัน้ เปน็ วันสิน้ สุดศักราชเกา่ และเรม่ิ ต้นวันขึ้นศกั ราชใหม่
โดยทางโหรหลวง ส�ำ นกั พระราชวงั จะประกาศก�ำ หนดลงในปฏทิ นิ ประจ�ำ ปี
ดังน้ัน ท่ีผ่านมาวันขึ้นศักราชของไทย จะเร่ิมในเดือนเมษายน
ของทกุ ปตี ลอดมา และตง้ั แตป่ พี ทุ ธศกั ราช ๒๔๘๓ เปน็ ตน้ มา ทางรฐั บาล
ได้ประกาศกำ�หนดวันข้ึนศักราชใหม่ จากเดือนเมษายนให้เป็นวันที่ ๑
มกราคมจนถึงปจั จบุ ัน
เนอื่ งจากประชาชนชาวไทย ยังคงยดึ เอาวันขนึ้ ศกั ราชใหม่ ตาม
ประเพณเี ดมิ คอื วนั ทดี่ วงอาทติ ยย์ า้ ยจากราศมี นี เขา้ สรู่ าศเี มษประมาณ
กลางเดอื นเมษายนตามเดมิ อยู่ และไดป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามวถิ ไี ทยสบื เนอื่ ง
ติดต่อกันมาจนเป็นประเพณี โดยเรียกว่า ประเพณีปีใหม่ไทย และทาง
ลา้ นนาเรียกวา่ ประเพณปี ๋ใี หมเ่ มือง มาจนถึงปัจจบุ นั และทางกระทรวง
วัฒนธรรม กไ็ ดป้ ระกาศให้เปน็ วันมหาสงกรานต์ประจำ�ปี
จากการคำ�นวณของสำ�นักโหรหลวง จากอดีต - ปัจจุบัน และ
อนาคต โดยรวบรวมพิมพล์ งในปฏทิ ิน ๑๐๐ ปี ไว้ดงั น้ี

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๓๓

o พ.ศ. ๒๔๐๑ - ๒๔๔๒ รวม ๔๑ ปี วันที่ ๑๒ เมษายน
เปน็ วนั เรม่ิ ต้นศกั ราชใหม่ วนั ที่ ๑๔ เมษายน เปน็ วนั เถลิงศก
o พ.ศ. ๒๔๔๓ - ๒๕๕๕ รวม ๑๑๓ ปี วนั ท่ี ๑๓ เมษายน
เปน็ วนั เริม่ ต้นศักราชใหม่ วันที่ ๑๕ เมษายน เป็นวันเถลิงศก
o พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๘๕ รวม ๓๐ ปี วันที่ ๑๔ เมษายน
เป็นวนั เริ่มตน้ ศกั ราชใหม่ วันที่ ๑๖ เมษายน เป็นวนั เถลิงศก
o พ.ศ. ๒๕๘๖ - ๒๖๔๓ รวม ๕๘ ปี วันที่ ๑๕ เมษายน
เป็นวันเริ่มต้นศักราชใหม่ วันท่ี ๑๗ เมษายน เปน็ วันเถลิงศก
จากการคำ�นวณตามหลักโหราศาสตร์ท่ีผ่านมา เป็นระยะเวลา
๑๓๓ ปี ประเทศไทย ไดก้ ำ�หนดเอาวันที่ ๑๓ เมษายน เป็นวนั ขนึ้ ศกั ราช
ใหม่และวนั มหาสงกรานตม์ าโดยตลอด วนั ท่ี ๑๔ เมษายน เป็นวนั เนาว์
และวนั ท่ี ๑๕ เมษายน เป็นวนั เถลงิ ศก และได้ประกาศใหว้ นั ท่ี ๑๓-๑๕
เมษายน เปน็ วนั หยดุ ราชการ
ดงั นน้ั ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน็ ตน้ มา ตอ่ เนอ่ื งไปจนถงึ ปี พ.ศ.
๒๕๘๖ เปน็ ระยะเวลา ๓๐ ปี วนั ท่ี ๑๔ เมษายน จะเปน็ วนั มหาสงกรานต์
และเปน็ เรม่ิ ตน้ ศกั ราชใหมต่ ามประเพณเี ดมิ วนั ท่ี ๑๕ เมษายน จะเปน็
วนั เนาว์ และวนั ท่ี ๑๖ เมษายน จะเปน็ วนั เถลงิ ศก
จงั หวดั เชยี งใหม่ ซงึ่ เปน็ จงั หวดั ทเ่ี ปน็ ทส่ี ดุ แหง่ ความสงา่ งามดา้ น
วฒั นธรรมประเพณี ดงั นนั้ ทางสภาวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งใหม่ ส�ำ นกั งาน
วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ และองค์กรเครือข่าย ได้ตระหนักและให้
ความสำ�คัญในการเปล่ียนแปลงของวันดังกล่าว จึงได้นำ�เรื่องนี้เสนอต่อ
คณะกรรมธกิ ารศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม สภาผแู้ ทนราษฎร ไดพ้ จิ ารณา
เพ่ือเสนอไปยังคณะรัฐมนตรีให้มีมติประกาศกำ�หนดวันหยุดราชการใน
ประเพณีสงกรานตข์ องไทย จากเดมิ วันที่ ๑๓-๑๕ เมษายน ใหเ้ ปน็ วนั ที่
๑๔-๑๖ เมษายน หรอื เพ่มิ วนั หยุดเป็น ๑๓-๑๖ เมษายนต่อไป

๑๓๔ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

จากการประชมุ คณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี ๒ /๒๕๖๔
เม่ือวันอังคารท่ี ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องประชุม ๓๐๑
ตึกบญั ชาการ ๑ ทำ�เนียบรัฐบาล
ที่ประชุมพิจารณาแล้ว จะนำ�เรื่องเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
เพื่อพจิ ารณาปรับเปลี่ยนวนั หยุดประจ�ำ ภาคเหนอื จาก
วนั ที่ ๒๖ มนี าคม ไปเปน็ วนั ท่ี ๑๖ เมษายน ของทกุ ปซี งึ่ ตรงกบั วนั พญาวนั
เพอ่ื ใหพ้ นี่ อ้ ง ประชาชนไดป้ ระกอบพธิ กี รรมในชว่ งประเพณปี ใ๋ี หมเ่ มอื ง
ของภาคเหนือในวนั พญาวันต่อไป

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๓๕

บทคา่ ว "ประเพณปี ใ๋ี หมเ่ มอื ง"

บทคา่ ว "ต�ำ นานปใ๋ี หมเ่ มอื งเหนอื "

แตง่ โดย นายศริ พิ งศ์ วงศไ์ ชย
ประธานชมรมกวลี า้ นนา

สทิ ธิกา๋ ร อาจา๋ รยเ์ ล่าไว ้ ตา๋ มท่ีผมได ้ เซาะไซ้ค้นหา
เรอ่ื งปใี๋ หมน่ ี้ ผู้มผี ะหญา ไดเ้ ลา่ สบื มา ล้านนาทัว่ หอ้ ง
ผมจกั ไขจา๋ เนือ้ หาถกู ต้อง เลา่ เปน๋ ทำ�นอง คา่ วจอ๊ ย
เปน๋ เรอื่ งโบราณ
พ่อแม่พ่นี อ้ ง พอ่ หนานพ่อนอ้ ย ได้จ๋าเล่าถอ้ ย เมนิ มา
สมยั โบราณ เพอ่ื นพอ้ งวงศา ลองฟงั เตอ๊ ะนา ต�ำ ราวา่ อ้ัน
มเี จ้ากมุ๋ มาร เมนิ นานบส่ ้นั นับไดห้ ลายปนั ปแ๋ี ล้ว
เกง่ กล้ายิง่ นกั
จาวเมืองนบั ถือ เช่ยี วชาญบ่แคลว้ ปญ๋ั ญาผอ่ งแผ้ว ช�ำ นาญ
สมยั นั้นนา ฮ้หู ลักแตกฉาน ช่อื “ธรรมบาล” กมุ๋ มารหนม่ หนอ้ ย
มพี รหมหนงึ่ น้นั เลา่ ลือกลา่ วถอ้ ย ยกยอ่ เลศิ ลอย แซ่ซอ้ ง
มาถามปั๋ญหา
วา่ ถา้ กมุ๋ มาร อาวอาพี่นอ้ ง ทุกหนแห่งห้อง ปองชม
ต๋ัวข้าขอเนน้ สำ�คัญเหมาะสม ชื่อ “กบลิ พรหม” ชน่ื ชมอยหู่ ้ัน
แลว้ ถามปญั๋ หา อจู้ า๋ สั้นส้นั มาขอพนนั ก๊านแป๊
ข้อหนึง่ นนั้ นา
เวลาเจ๊าน ้ี เช่ยี วชาญเก่งแต ๊ ลองมาจว้ ยแก ้ เร็วปัน
เวลาเทย่ี งวัน หวั เปน๋ ประกัน หวั ไผหวั มัน พนันก๋นั ได้
ขอ้ สามนั้นเหย ฟู่จา๋ อยใู่ กล ้ จะวา่ อย่างใด ก�ำ น้ี
เรือ่ งราศนี ้ี
ราศอี ยไู่ หน ขอจา๋ กล่าวจ๊ ี ขอถามอย่างอ ี้ ฟังไป
ราศอี ยู่ไหน ข้อสองถดั ไป ขอไขหอื้ ข้า
ส�ำ คัญแดดกล้า ราศยี ้ายมา ไหนแต๊

ขคอวรเผดยีจจดน๋ จแ๋�ำ ป ๊ ขอเจ้าจว้ ยแก ้ แถมกำ�
ขอจว้ ยแนะน�ำ ยามค่�ำ แถมข้อ
ขอไขหย้อหยอ้ แคน่ ้ีกป็ อ ขอตา๊

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๓๗

สว่ นเจา้ กมุ๋ มาร ไขขานบ่จ๊า ขอเลอื่ นไปหนา้ เจด็ วัน
น่ังคิดนอนคดิ มดื มิดตบี ตนั๋ ผ่านไปหกวนั ยังกนั๊ บ่ได
เหลอื แถมวันเดียว ตอ่ งเตยี วเหนือใต้ จะท�ำ ฉนั ใด คร้ังนี้

เลยหาอุบาย หนีตา๋ ยหลีกลี้ หวั ใจ๋ป่นปี ้ ลนลาน
น่งั พกั ฮม่ ไม ้ ทใ่ี กล้ตน้ ตา๋ น มีเสียงกังวาน จา๋ ขานกลา่ วอา้ ง
ของนกอินทรี ว่าพก่ี ู้ขา้ ง วนั พกู ไปตาง ใดแต๊

ผวั ตอบเร็วไว บ่ไปกน๋ิ แย้ ไปดูเปิ้นแก ้ กำ�ทาย
วนั พูกน้ีแลว้ บแ่ คลว้ ต้องตา๋ ย กมุ๋ มารหมดลาย ขยายบ่ได้
เมียมันถามเอา วา่ เจา้ ทไ่ี หว ้ ควรตอบอย่างใด กนั๋ เลา้

ผวั ตอบทนั ท ี ราศยี ามเจา๊ จ๋ำ�ไวเ้ นอเจา้ สำ�คญั
อย่ทู ่หี น้าเน้อ อย่าเผลอลมื กั๋น ลุกมาตึงวนั พร้อมกั๋นล้างหนา้
ราศเี ทีย่ งวัน ส�ำ คัญแดดกล้า ราศีย้ายมา แถมครงั้

อจยำ�๋ ไูห่ วน้เตา้ อ๊อะกนนอ้า ง ขออย่าพลาดพลัง้ พเเอว่บีลาล่นาคบั�ำ้ ล่�ำกแบูงั้ ล ไ ปง บังใบ
บ่ต้องบอกไผ ลูบไล้ด้วยแปง้
ข้อสามนัน้ นา ขอจา๋ เต่ือมแถง้ ลงแลว้

ราศีของคน จเว๋ำ�ยี ไนวร้วานศบ ี ่แคล ้ว ฟงั เต๊อะนอ้ งแกว้ คนดี
อยู่ตน๋ี น้ันไซร ้ ต๋ีนคนน้ันม ี ราศีอยหู่ ัน้
ก่อนจะเขา้ นอน เปิน้ สอนวา่ อนั้ ช่วยล้างตึงวนั เน้อไท้

ส่วนธรรมะบาล ก๋มุ มารจ�ำ๋ ไว ้ เลยไขตอบได้ ทุกอัน
ต๋ามไดย้ นิ นก ที่ถกเถยี งกน๋ั แกไ้ ด้เรว็ ปัน พนนั เก่งกลา้
ทา้ วกบิลพรหม ชน่ื ชมหนอ่ หลา้ เตรยี มตวั หวั มา มอบอบ๊ั

ก่อนจะตดั หัว กก็ ล๋ัวย่อยยับ จงึ รับสั่งห้ือ ธิดา
กลว๋ั จะผดิ นดั จงึ ตรัสเรยี กหา นางเทพธดิ า ห้ือมาอย่เู ฝา้
เพ่ือจกั ปลง๋ วาง เจด็ นางนอ้ งเหน้า เตรียมพานรบั เอา เศียรไว้

ธดิ าเจด็ นาง แบ่งวางรับใจ ๊ เปลี่ยนก๋ันจ๋นได ้ รับเอา
ติด๊ ,จ๋ันทร์,การ,พธุ ส้ินสุดวันเสาร์ จ้วยก๋ันแบ่งเบา คนเก๊าเถิงหล้า
เพราะเศียรต๊าวไท้ มภี ัยแกก่ ล้า วางทใี่ ดนา เดอื ดรอ้ น

๑๓๘ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

วางไวบ้ นดนิ ทุกถิ่นสะตอ๊ น จักไหวหว่ันขอ้ น รนุ แรง
ไฟไหมเ้ อ่าลกุ ท่ัวทุกระแหง ตอ้ งหวาดระแวง กยงิ่ลลวั๋ �้ำแสงไฟไหม้
โจ้งข้นึ ไปบน ก็ทนบ่ได้ เกดิ อาเพศภยั

โฟจา้ ง้ จนัก�ำ้ ขซาำ�้ ดฮฝา้ นย ทัว่ หนขาดนำ้� โลกจกั เหงีย่ งคว�่ำ ไปมา
ตดั เศียรแลว้ กา ทำ�ลายแนน่ หนา สกมลั๋วุทครวคางมคราา้ ยแรง จักปาเหอื ดแหง้
ธดิ าฮแู้ จง้ ต๊าวไท้

รีบเอาพานทอง มารองรบั ไว้ กลั๋วไฟลุกไหม้ เววน
ในขณะน้นั ป่วนป่นั สับสน เทพไทเ้ บือ้ งบน ทั่วหนแหง่ หอ้ ง
มาจุมนุมก๋นั เนืองนนั มกี่ ้อง แหนแหพ่ านทอง เอ๊าอ๊ด

ไดอ้ ญั เจญิ เศียร แหเ่ วียนบรรพต กำ�หนดรอบได้ เจด็ ที
เมอ่ื เวียนรอบแลว้ เขาแก้วใสส ี ใไนกรถล้ำ�าเพศือ่คเีรอี า บม่ หี มน่ เศร้า
อัญเจิญพานทอง ประคองกัน๋ เข้า เก็บไว้

เม่ือครบหน่งึ ป ี พอดีแล้วไซร ้ สงั ขานตล์ ่องได ้ เวียนนา
ธิดาต๊าวไท ้ เซาะไซ้เรียกหา เถงิ เวรแล้วกา พรอ้ มหน้าอยู่เฝ้า
แล้วอญั เจญิ เศยี ร แห่เวยี นออกเขา้ ทกุ ปเี๋ นอเฮา พ่ีน้อง

ปีใ๋ หมเ่ วยี นมา ล้านนาเต๊ศตอ๊ ง บ่มหี ว่ งข้อง อาลยั
มาเถิงยามน้ ี บม่ สี งสัย ขอจุ่งฟงั ไป จกั ไขบอกหื้อ
สิบสามเมษา เวียนมาอย่าดือ้ เตรยี มเริม่ ลงมือ ก๋นั แล้ว

เป๋นวนั สงกรานต์ โบราณบ่แคลว้ วันป๋ีใหม่แกว้ เวียนมา
ใกล้แจง้ เมอ่ื เจ๊า เปนิ้ เลา่ นักหนา สนัง้�ำ ขสา้มรปลอ่ อ่ ยงเมยา็น ไผอยา่ ต่นื เต้น
อาบนำ�้ ด�ำ หัว อยา่ มวั แตเ่ หลน้ ลบู ไล้

แถมวนั ถดั มา เมษานัน้ ไซร้ โบราณว่าได ้ วันเนาว์
พอถึงวันน้ ี บ่มหี มองเหงา พนี่ อ้ งหม่เู ฮา หยอกเยา้ กน๋ั เหลน้
จ้วยกน๋ั ขนทราย เรียงรายเปน๋ เสน้ จว้ ยก๋ันบ�ำ เพญ็ เคร่งครดั

เดนิ กัน๋ เรยี งราย ขนทรายใสว่ ัด เพื่อจัดกอ่ ตั้ง เจด๋ ีย์
ท�ำ มาเมนิ แล้ว ผ่องแผ้วสดสี เปน๋ ประเพณี บม่ หี ม่นเศร้า
เตรยี มทำ�อาหาร คาวหวานและเขา้ เพอ่ื จกั น�ำ เอา ไปวัด

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๓๙

วใสนั ่บพาญตารวหนั ย าดน�้ำ บจ้วุญยกก้�ำ ๋นั อเุดร่งหรนัดุน เข้าวดั เพ่อื ได้ กทำ๊��ำ จบนุญุ ภพหน้า
ตานช่อตานตงุ หมายมุ่งแก่กล้า เพอื่ หือ้ เป๋นทนุ
หื้อมีโภคา ลาภะ

เร่ืองประเพณ ี บ่ดีเลิกละ ไผปะ๋ อวดอา้ ง ชมเชย
ฮีตเก่าเฮาน้นั จว้ ยก๋นั เปดิ เผย ไผที่บเ่ กย จ้วยเอย่ อวดอา้ ง
เผยแพร่กนั๋ ไป หอ้ื ไดแ้ ผก่ วา้ ง จว้ ยกน๋ั ทุกทาง พรำ�่ พร้อม

เฮาล้านนาไทย จติ ใจห๋ ล่งิ นอ้ ม จติ ใจโอบออ้ ม อารี
คนเมืองเฮานั้น ยดึ มั่นศักด์ศิ ร ี ถอื ประเพณี ของดีถูกตอ้ ง
ขอจว้ ยสง่ เสรมิ เพ่ิมเติมเสริมหยอ้ ง ประคบั ประคอง เอาไว้

ขอเจิญทุกคน ดนิ้ รนเซาะไซ ้ ตึงเหนอื ตงึ ใต ้ สมั พนั ธ์
จว้ ยอนุรกั ษ์ ปกปักปอ้ งกน๋ั สิง่ ทส่ี �ำ คญั จ้วยกนั๋ โอบอมุ้
ปใ๋ี หมเ่ มอื งเหนอื จ้วยเหลอื เต่ือมต้มุ ขออยา่ ละตมุ ขวา้ งซดั

สามัคคธี รรม นอ้ มนำ�รวบรัด ประวตั เิ กา่ เกอื้ โบราณ
จว้ ยกัน๋ แต๊แต ๊ เผยแพรป่ ระสาน จ�ำ๋ ศลี กิน๋ ตาน เบิกบานทว่ั หน้า
ห้อื ประเพณ ี ของดีเจดิ จ้า จ้วยพัฒนา บ่ยั้ง

ปีใ๋ หมน่ ้นี า ขออยา่ พลาดพลงั้ แปง๋ จิตใจต๋ ้ัง ท�ำ ดี
ขอห้ือพ่นี อ้ ง เพอ่ื นพอ้ งสุข ี ปะแต่โชคดี ในป๋ีใหมแ่ กว้
สขุ ะพละ วรรณะฝองแผ้ว ปฏิบัติตา๋ มแนว ธรรมะ

จะไปทิศใด มีชัยชนะ พบปะแตผ่ ู้ คนดี
กลอ๋ นวาที คงมเี ทา่ อ้ี เท่าน้สี ่กู ั๋นฟงั กอ่ นแหลน่ ายเฮย

๑๔๐ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

คา่ วฮ�่ำ เรอื่ ง ต�ำ นาน วนั เนาวห์ รอื วนั เนา่

แตง่ โดย เกา๊ ลาน หนานหลวง

อตกิ ั๋นโต๋ ป๋ีเกา่ ลว่ งแลว้ เถิงปีใ๋ หมแ่ ก้ว มาฮอดจอดเถงิ
สังขานต์ลอ่ งแล้ว ผอ่ งแผ้วอย่าเหลิง หอื้ ได้ร�่ำ เปิง ฮตี ฮอยแบบเบ้า
ค่าวฮ่ำ�ตำ�นาน โบราณนอ่ เจา้ ปอหายบรรเทา ความฮอ้ น

ตา๋ มออกในธัมม์ ขอนำ�ไกก๊ ๊อน เรื่องเดิมออดอ้อน วนั เนาว์
หรอื หมูเ่ ฮาฮอ้ ง วนั เน่าเอาเสา ไม้บงซางเลา เอามาแปง๋ บ้าน
มอดตึงบ่ก๋ิน แม้ใบกงิ่ กา้ น ตา๋ มตี่ต�ำ นาน กลา่ วไว้

เรอ่ื งประเพณี มีมาแต้ไท้ ขดเข้ามาใกล้ ตวั๋ จาย
เร่อื งวันเน่าน้ี ขอจข๊ี ยาย จะก่อยบรรยาย เหมือนสายบ่าเหมา้
สมู าผฟู้ งั หน้อยหนานหน่มุ เถ้า อาวโุ สกวา่ เฮา ผู้รู้

ขา้ วตม้ เป๋นสาน ย้อนบใ่ ส่จู๊ ความฮูเ้ ตม๋ ตู้ ตูมดาย
โบราณวา่ ไว้ อมไวจ้ า่ งหาย กอนถ้าเฮาคาย สบื สายเปน็ เสน้
ประเพณเี ดิม บ่ใจ้ของเหลน้ ยกเปน็ ประเด็น กอ๊ นไก๊

วนั เนา่ นั้นกา คแตลเ่า้ ดยมิ วนา่ จ้ันำ๋�ไศซลีร้ อาทติ ยเ์ ขา้ ใกล้ เมษมนี
ยังบ่เคล่ือนย้าย ระหวา่ งเมษมีน เนาก๋ันอยู่ห้นั
ในแงโ่ หรา บ่ดดี ่งั อัน้ ท�ำ การมงคล สปั ปะ๊

บด่ อี ูจ้ ๋า สะโละ๊ สะละ กำ�อ่วยฮะหา้ ม ปากยาว
บ่วา่ หนุม่ น้อย นารจี จ๋ี า๋ ว เพราะเป็นเรื่องราว มมี าแต่ตน้
ปากจะเนา่ เหมน็ หนอนซอกเขม้ ข้น บเ่ ปน๋ มงคล จวี ติ

ครั้งพทุ ธก๋าล เมนิ นานแตง่ คดิ ลขิ ติ จ๋ารแตม้ ใบลาน
พระพทุ ธเจ้านั้น จา๋ เลา่ เหตุการณ์ อานิสงสต์ าน ธัมมป์ ๋ีใหมแ่ กว้
ว่ามเี จา้ เมอื ง ตน๋ งามผ่องแผว้ นามเดมิ พระยา สรุ ยิ ะ

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๔๑

พระเจา้ ปเสนทโิ กศล มีมุมานะ ฟงั พระพทุ ธเจ้า เตสนา
เจา้ เมืองกลงิ คราษฎรน์ ัน้ เลีย้ งผีแหน้นหนา๋ อยูก่ ับชายา สองสาวชอบสู้
อยู่ก๋ินก๋ันมา เคยี วควีหยอกอู้ อยู่มาในวัน หนึ่งนนั้

หลงั วนั สังขานต์ พระยาเจือ้ งจัน๊ จวี ติ ดว่ นส้ัน ว�ำ วาย
จากนางเสยี แลว้ แม่แกว้ สหาย แต่จิตตวั๋ จาย สรุ ยิ ะเจ้า
ตา๋ ยไปเปน๋ ผี เผตหัวเนา่ เขา้ นอกจกั วาล ขอบฟ้า
สว่ นสองชายา สองนางสงา้ น้ำ�ตา๋ อาบหนา้ เปปัง
บ่เมินนานนัก กะ้ มอกงวา้ ยหลัง ลวดมรณงั ตา๋ ยตวยผวั จ้อย
ดวงจิตสองนาง แม่หงส์คอสรอ้ ย ละลว่ิ ล่องลอย ส่งยู้

ไปอยู่กับผัว หัวเน่ากล่ินกู๊ สูจ่ ักรวาลได้ ทนั ที
ปรนนิบัตริ ับใจ๊ อยู่ในเมืองผี ลา้ งหวั สามี ตเี่ นา่ ด้งั อนั้
เลยเปน๋ ตำ�นาน นทิ านอยา่ งสน้ั ฮอ้ งวา่ เน่าวนั แต่นนั้

ส่งเสรมิ สืบสาน กเ่ ลยมากั๊น แต่งสารค่าวสั้น วาที
ถงึ เป๋นเจา้ จ๊าง มหาเศรษฐี ชือ่ เสยี งบด่ ี ไผบอ่ วดอา้ ง
จ้อื เสยี งเฮาดี ถงึ ตา๋ ยกระด้าง คนยงั เลา่ พราง อวดไว้

ขออวสาน ตำ�นานกอ๊ นไก๊ วาดวางลงได้ เอวัง
ปริปุณณงั ฟังกนั๋ เตา้ นี้ เตา้ อ้ีลวดลาไป กอ่ นแหล่นายเฮย

๑๔๒ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

บทคา่ ว "งดงามล�้ำ คา่ ประเพณปี ใี๋ หมเ่ มอื งเฮา"

รางวลั ชนะเลศิ ระดบั ประถมศกึ ษา
แตง่ โดย เดก็ หญงิ ปณั ณณ์ ชั แสงศรี โรงเรยี นบา้ นสนั ก�ำ แพง

ยอหัตถา๋ วนั ทากราบนอ้ ม มือแตนดอกสอ้ ม มะธบุ ุ๋ปผา
ยกมือสบิ น้ิว กา่ ยก้ิวเกษ๋ า ตัวนอ้ งจะมา อจู๋ า๋ คา่ วสร้อย
เร่อื งปี๋ใหม่เมือง รุ่งเรอื เปง่ ป้อย ปากน๋ั ฟงั กอย ถ่ีซ้ัน
เจยี งใหม่รัฐฐา บ่ว่าทุกจั๊น ฮว่ มกน๋ั ตหี้ ัน้ ขว่ งลาน
ต่าแปแหง่ นน้ั สนุกสนาน มีก๋านจัดงาน สืบสานเนอ้ เจ้า
ต้อนฮบั เทพี มมี าเก๊าเหงา้ นางสงกรานตเ์ ฮา คึกคัก
มฟี อ้ นหลากหลาย มากมายแตต้ ก๊ั กล๋องตงึ่ โหนงหนั้ นำ�มา
ฟอ้ นเลบ็ อ้อนช้อย เป็นถ้อยงามต๋า ลวดลายลีลา หาไหนเผียบได้
แต่งตว๋ั ปื้นเมือง เหมาะดีแต้ใบ้ ห่มผ้าสไบ เรยี บรอ้ ย
เกล้าผมสมเปงิ เอ้อื งผง้ึ ดอกนอ้ ย เหนบ็ หย่อนห้อย ลงมา
กลอ๋ งสะบดั ชัยน้นั ม่วนงนั นกั หนา กลอ๋ งปูเ่ จป่ จู่ า น�ำ มาตี้หน้ั
ม่วนงันสขุ ี บม่ ีกีดก้นั คนื สบิ สองยนั ถงึ เจา้
มีกาดหมว่ั ควั ฮอมนน้ั เล้า ใสบ่ าตรต๊เุ จ้า พระเณร
ทำ�บญุ ต๋อนเจ๊า ขา้ ต๋ามหลกั เกณ๋ บ่มีเบยี่ งเบน จมุ่ เย็นเน้อเจ้า
ผวู้ ่าเปิดงาน สืบสานแบบเบา้ ปใ๋ี หมเ่ มอื งเฮา เดน่ ชดั
สังขารลอ่ งนา ปาก๋ันเผ้ววดั ปัดกวาดบา้ น กา๋ งกอง
บห่ ือ้ มีไว้ ใบไมใ้ บต๋อง กะลา่ งก๋างกอง หื้อมนหมด๋ เส้ยี ง
ลา้ งโบสถว์ หิ าร กวาดลานวดั เกยี้ ง และยงั บ่เปยี ง เตา้ นน้ั
ปากัน๋ ขนทราย มากมายหลายจนั้ จว่ ยกนั๋ หัน้ เดมิ มา
กอ๋ งไวล้ านวดั เด่นชัดงามตา๋ เจดีย์ทรายนา เตรียมดาไว้ท้า
บางวดั แขง่ ข๋นั หอ้ื หันต่อหนา้ เจดยี ์ไผจ๋ ๋า งามนัก

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๔๓

สบิ ส่ีวันเนา หมู่เฮาหยดุ พกั จก๊ั จวนกนั๋ ได ้ ดาตาน
วนั รวมญาตแิ ต้ ตงึ ลกู ตึงหลาน จติ ใจ๋เบกิ บาน จ่วยกน๋ั เน้อเจา้
ห่อเข้าหน๋มกั๋น ไปตานขันข้าว ตานหาญาตเิ ฮา ตว้ี ดั
ปฏิบตั อิ ย่างอ้ ี เดิมมา
ปอ้ แม่ปติ ๋า ตี้ต๋านพรากปัด๊ จอ๊ ตุงน�ำ มา ปัก๋ กองทรายได้
วนั พญาวันน้นั ปาก๋ันสันหา ตา๋ มประเพณไี ป ต๋ามนี้
ตานเจดยี ์ทราย วดั เหนือวัดใต้ ทำ�กน๋ั อย่างอ ้ี มานาน
และมกี า๋ นตาน ไมค้ ำ�้ เนอ้ เจ้า
สบิ หกปากปี๋ บ่มีหลบลี้ ตอ่ อายุเฮา ยนื นกั
พธิ ีลดเคราะห์ ห้ือลูกห้ือหลาน จก้ั จวนเผ่าผู้ ผู้น�ำ
ไม้กำ�้ สล ี มีมาเก๊าเหงา้ ฟอ่ งฟอ้ นพ่องรำ� ไปก�้ำ โพธิ์เจ้า
ขอจบลงเอา เตา้ นี้
สนุกสนาน แหก่ น๋ั คกึ คกั จบเพียงเตา้ อ ี้ เอวัง
ตุ๊เจ้าตวี้ ัด จ๋ดั งานประจำ๋� จบเพียงเทา่ น้ ี ก่อนแหลน่ ายเฮย
ประเพณี มีมาเกา๊ เหง้า

ไขขีย่ า นำ�มากลา่ วจ ้ี
ปะรปิ ุณนัง หอื้ ฟงั เตา้ อี ้

๑๔๔ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

บทคา่ ว "ประเพณปี ใ๋ี หมเ่ มอื ง"

รางวลั ชนะเลศิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา
แตง่ โดย นางสาวกรรณกิ าร์ ชงิ กนู ะ โรงเรยี นฝางชนปู ถมั ภ์

ยอมือสา วนั ตากราบนอ้ ม ตางดวงดอกสอ้ ม คะปวงบุปผา
ยกมือสบิ น้ิว กา่ ยคิ้วเกศา ไตรรัตนา ไหว้สานอ้ มเกล้า
พระพทุ ธพระธรรม พระสังฆะเจา้ เป็นฮ่มบงั เงา จวี ติ
คนเฒ่าเล่าขาน ตำ�นานกอ๊ นคิด รวมจติ ใจต๋ ัง้ บชู า
วันสังขารล่อง สบิ สามเมษา ฮตี ฮอยล้านนา สืบมากอ่ นกี้
ตน่ื เชา้ กอ่ นงาย บ่ขวายว่าอ ้ี เอาหมอนสลี ออกซกั
ผกผ่อสังขาร ลอ่ งตวยน�้ำ นกั รุ่งเจ๊าล่องขน้ึ ลอยไป
พ่องจ๊ิบา่ ถบ ตบตวยน้�ำ ไหล พอ่ งจบ๊ิ อกไฟ ฟอ้ นร�ำ ต�ำ่ เต้น
ปนี้ ้องยิงจาย เป็นสายเปน็ เสน้ จนตาวนั เยน็ คำ่�แลว้
สบิ สี่เมษา บค่ ลาคลาดแคล้ว แป๋งใจผ่องแผ้ว งามดี
สละสิง่ ตกุ๊ สนุกสขุ ี เคราะห์รา้ ยภัยรี บ่มีแวดเข้า
ป้นี ้องจาวเหนือ จ่วยเหลอื ผ่อเฝ้า ฮ้องว่าวนั เนาว ์ แต่ไท้
ก�ำ ฟอู่ ้จู า๋ ฮักษาเอาไว ้ อู้กำ�งามได ้ ส่ิงดี
เป็นมงั คะละ จัยยะดถิ ี ตามประเพณ ี ยนิ ดีถ้วนหน้า
ก่อเจดยี ์ทราย หญงิ จายเจ้าขา้ ยดึ ถือกัน๋ มา สืบไว้
เกยี มคอบดาขนั เขา้ ตอกดอกไม ้ ยืน่ โยงขน้ึ ไหว ้ วันตา
บะโอบะป๊าว กล้วยค๊าวใบหนา จดั แจ๋งแตง่ ดา ยกตานขันเข้า
ข้าวปลาอาหาร ลกู หลานต่านเต้า เกียมพรอ้ มนอ้ มเอา เขา้ วดั

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๔๕

สบิ หา้ เมษา เวียนมาถกู ตั๊ด ยอดยิง่ แหง่ อ้นั พญาวนั
ป๋ใี หมม่ าแล้ว ปี๋แก้วสุขสนั ต ์ ปากั๋นม่วนงัน สรงนำ�้ พระเจา้
อทุ ศิ ไปหา พอ่ แก่แมเ่ ฒา่ ญาติมิตรของเฮา ป้นี ้อง

ของกนิ ของตาน บรวิ ารยอซอ้ ง ข้ึนสู่แห่งห้อง เมอื งบน
จกั๊ นำ�ส่งยู้ สู่บญุ กศุ ล ปน๊ จากวังวน จาตนิ ้ีจาตหิ น้า
ปาก๋นั ดำ�หัว ป่อตัวแม่ข้า อาจารยค์ รูบา กราบนบ

ยกโต๊ษโตษา สมู าจนครบ มดั มือถอื ฝา้ ย หมายมนต์
ฮบั ปอนประเสริฐ บังเกดิ กับตน สริ ิมงคล บัลดลตวั ข้า
ฮดกา๋ ยฮดใจ ฮดไปแผวหนา้ สนุกเฮฮา ม่วนล้�ำ

ถงึ ปีใ๋ หม่เมือง รุ่งเรืองเตี่อมกำ๊� อนรุ กั ษไ์ ด้ เปน็ ดี
สิบหกเมษา ปากเดอื นปากป ี ฮ่วมทำ�พธิ ี ส่งเคราะห์สะล้าง
แหไ่ ม้ค้�ำ โพธ์ิ ใหญ่โตอวดอ้าง ฟ้อนเตน้ ตวยตาง ตอ่ งเตา๊

หมู่เส่ียวเดียวกั๋น มว่ นงนั สนั เล้า งดงามแตต่ น้ เมินมา
จว่ ยกนั อนุรักษ ์ ฟมู ฟักฮกั ษา คนเมืองลา้ นนา สบื สานสบื ถอ้ ย
เด็กเยาวชน คนใหญค่ นหนอ้ ย ฮกั ษาฮตี ฮอย กอ่ นเก๊า

งามประเพณ ี มเี มินแตเ๊ ล้า หมู่เฮาสบื ได ้ ต่อไป
บทค่าวซอใย สดุ เสีย้ งเท่าอ ี้ เทา่ นส้ี กู่ น๋ั ฟงั กอ่ นแหลน่ ายเฮย

๑๔๖ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง

บทคา่ ว "ประเพณปี ใี๋ หมเ่ มอื ง"

รางวลั ชนะเลศิ ระดบั อดุ มศกึ ษาและประชาชนทวั่ ไป
แตง่ โดย นายยรรยง มงคลจนั ทร์

ยอหตั ถา วันตากราบนบ ทา่ นทีเ่ คารพ ผ้ฟู ังตงั หลาย
ในโอกาสน้ี ขอจข๊ี ยาย เปน็ กล๋อนบรรยาย ลวดลายคา่ วสร้อย
ถึงปีใ๋ หม่เมอื ง รุ่งเรอื งบห่ น้อย สืบสานฮีตฮอย บย่ งั้

วันสงั ขาลล่อง บ่ตอ้ งพลาดพล้ัง รวมจติ ใจต๋ ั้ง ห้อื ดี
ป๋ีเก่าผ่านพน้ ทุกคนสุขขี เผ้วบา้ นทันที ขดั สีทกุ ดา้ น
ซักตากผา้ ป ู๋ ขดั ถูพนื้ บ้าน หอ้ งครัวเฮือนจาน เรียบร้อย

เตรียมใจ๋เข้มแขง็ มีแฮงบน่ อ้ ย ปากั๋นเกี่ยวก้อย ไปดู
ขบวนแหพ่ ระ ฮายะจ๋นหรู จ่วยก๋ันเชดิ ชู ฟื้นฟกู อบกู้
เตรียมน้ำ�ส้มปอ่ ย มากอยฮับสู้ จาวบา้ นพร่ังพร ู สรงน�ำ้

แต่งกา๋ ยหอ้ื ดี บม่ ใี สซ่ ้ำ� บไ่ ด้อ้ึงอ�้ำ เลยนา
บ่มคี รั่นครา้ ม สิบสามเมษา หมเู่ ฮาจัดมา เสาะหาจน๋ ได้
สสี ันสดใส ทั่วไปเหนอื ใต้ เล่นน�้ำ กัน๋ ไป วันน้ี

สิบส่เี มษา ขอมากลา่ วจี๊ ถอื กัน๋ อย่างอ้ี วนั เนาว์
ขนทรายเข้าวดั แนะนัดบเ่ หงา คกึ คักบเ่ บา ขนเอามาได้
มากอ่ เจด๋ ยี ์ เปิงดีแต๊ใบ้ ญาติมิตรวงศ์ไย มาครบ

และเตรยี มสรา้ งตงุ ป้าลงุ สมทบ นดั พบบอกหื้อ ปักทราย
เตรยี มอาหารนัน้ ในวันตห้ี มาย วันพูกเมอื่ งาย มากมายเสี้ยงถา้ น
ญาตปิ ้นี ้องมา อาวอาทว่ั บ้าน มกี า๋ รมีงาน ทกุ ช้นั

สบิ ห้าเมษา พญาวนั นน้ั ผันผา่ นแหมขน้ั ทนั ที
ท�ำ บุญตวี้ ัด เฮานัดบห่ นี เปน็ วนั ต้ีดี เดอื นป๋ีไปหนา้
ตานขันขา้ วนา จดั มารอถ้า ผลบุญน�ำ พา บน่ ้อย

ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ๑๔๗

เปตลรอ่ ยี ยมปแลห๋า่ไปมลก้ ่อ�๊ำ ย น ก เตรยี มยกเรียบรอ้ ย จติ ใจ๋เป่งปอ้ ย ได้บุญ
บ่ลืมปักตุง ไดน้ ำ�มาหนนุ สลกี �ำ๊ จนุ มาหนนุ บญุ สรา้ ง
เรื่องก๋ารดำ�หวั ต๊ลุ งุ เลา่ อ้าง ว่าน่คี ือตาง ดนี ัก
เตรยี มของเอาไว้ บม่ ัวยกึ ยัก เฮาจกั ทำ�ได้ เลยนา
เตรียมตงั ใส่ซอง ผลไมต้ ้หี า เสอื้ ผ้าจดั มา ขา้ วปลา๋ ของแหง้
เม่อื ถึงเวลา ประคองเตอ่ื มแถง้ ของถกู ของแปง ห้อื พรอ้ ม
คนเฒา่ เฮานั้น ก็พากนั น้อม ด้วยใจ๋โอมออ้ ม ยินดี
สระเกล้าดำ�หัว สำ�คัญศกั ดิศ์ รี มีป๋ารม ี ควรตกี้ ราบไหว้
ปใ๋ี หมบ่ ้านเฮา ต๋นตว๋ั ไกล๋ใกล ้ เฮาควรจะไป ห้อื ครบ
มารยาทนนั้ บเ่ อาด้านลบ แต่ควรนบไหว้ ปูจ่ า
อนั ประเพณี สำ�คัญนักหนา แตก่ อ่ นเดิมมา ฮกั ษาหอ้ื ได้
เรอ่ื งปใ๋ี หม่เมอื ง นน้ั ดีแต๊ใบ้ สบื ทอดกัน๋ ไป ปน้ี อ้ ง
กล๋อนวาตา ร่งุ เรอื งแซซ่ อ้ ง ท�ำ หอ้ื ถูกตอ้ ง เลยนา
ขอลาเต้าอี้ เต้าน้สี กู่ น๋ั ฟัง กอ่ นแหลน่ ายเฮย

๑๔๘ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง


Click to View FlipBook Version