The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานหัตถกรรมผ้าทอ และแหล่งผ้าทอในจังหวัดเชียงใหม่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pailinthong, 2021-09-14 23:37:25

ตามรอยวิถีภูษา วิถีผ้าล้านนาเชียงใหม่

งานหัตถกรรมผ้าทอ และแหล่งผ้าทอในจังหวัดเชียงใหม่

Keywords: ผ้าทอเชียงใหม,ผ้าทอล้านนา

ตามรอยวถิ ภี ษู า 45

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ผา้ แหลบ (ผา้ ปูพื้น)
เป็นผ้าที่สามารถใช้ปูลงบนพ้ืนได้เลย ลักษณะเป็นผ้าฝ้ายพ้ืนสีขาว ทอด้วยลายขิด
จนเตม็ ผืน เปน็ รูปสเ่ี หล่ยี มขนมเปยี กปูนสดี �ำ แดง หรอื สีด�ำ แล้วจกดว้ ยไหมสีเหลอื ง มีขนาดแคบ
กว่าผ้าหลบครึ่งหน่ึง แล้วขริบริมโดยรอบด้วยผ้าสีแดง หากต้องการให้ผืนใหญ่ขึ้นก็จะเย็บผ้าพื้น
สดี ำ�ซอ้ นอกี ชน้ั หนง่ึ นยิ มใชป้ นู อนระหวา่ งเดินทาง หรอื ส�ำ หรับผู้เฒ่าผู้แกน่ อนวัด ผ้าแหลบน้ีหาก
ปรับขนาดตามการใชง้ านกอ็ าจจะเปล่ียนชอื่ ไป เช่น ผา้ นั่ง ใช้เป็นอาสนะสงฆ์หรือฆราวาสรองนั่ง
ในการฟังเทศน์ เปน็ ตน้
ผ้าหม่
คอื ผ้าที่ใชห้ ่มคลมุ รา่ งกายให้ความอบอุ่น มที งั้ รปู แบบท่ใี หห้ ม่ นอน หากกลางคนื หนาว
มากก็จะซอ้ นผ้าห่มหลายชั้น เรยี กว่า “ผ้าต้วบ” หากใช้หม่ คลุมร่างกายในระหวา่ งวนั ท่มี อี ากาศ
หนาวจะเรียกว่า “ผ้าตุ้ม” ผ้าห่มในล้านนาจะพบหลายแบบซ่ึงบางครั้งเป็นรูปแบบและลวดลาย
ท่นี ิยมใชใ้ นกล่มุ ชาวไทลอื้ ในล้านนา ผสมปนเปกันไปแต่สามารถแยกออกได้เป็น 3 รูปแบบหลัก
ไดแ้ ก่
(1) ผ้าห่มตาแสง หรอื ผ้าห่มตาโก้ง เปน็ ผ้าหม่ ลายตารางทท่ี อยกดอก นยิ มสีด�ำ แดง
ขาว ทอสลบั กนั ทง้ั เสน้ พงุ่ และเสน้ ยนื จนเกดิ เปน็ ลายตารางสเ่ี หลย่ี มขนาดใหญ่ ในเนอื้ ผา้
มลี วดลายสีเ่ หล่ียมขนมเปียกปูนขนาดเล็กประกอบอยู่ นยิ มใชท้ วั่ ไปในกลมุ่ ชาวยวน
ลื้อ และลาว
(2) ผา้ หม่ ลายยกดอก หรอื ผา้ หม่ ลายดี เปน็ ผา้ ฝา้ ยทอยกดอก 4 ตะกอ มที ง้ั สขี าวลว้ น
สดี �ำ ขาว ลวดลายเปน็ สเ่ี หล่ียมขนมเปียกปูนขนาดเลก็ ประกอบกัน การยกดอกทำ�ให้ผ้า
ฟูหนาช่วยในเรอื่ งความอบอุน่

(3) ผา้ ห่มลายขดิ เป็นผา้ หม่ ของชาวไทลอ้ื ท่ที อด้วยลายขดิ ทัง้ ผืน ลายทางยาวเรยี กว่า
“ลายงลู อย” สลับ “ลายหนว่ ยเครอื ” ผืนผ้าเปน็ สขี าว ลายขดิ เป็นสีแดง ดำ� หรือคราม
เมอ่ื จะใชห้ ่มนอนจะมผี า้ ผืนสขี าวซอ้ นอีกชั้นหนึ่ง
นอกจากนยี้ งั มผี า้ หม่ ทเี่ รยี กวา่ “ผา้ แซงแดง ผา้ แซงด�ำ ”1 ทพ่ี บในเขตเมอื งแมแ่ จม่ จงั หวดั
เชยี งใหม่ เปน็ ผา้ ฝา้ ยสขี าวทอโดยใชด้ า้ ยยอ้ มสแี ดงหรอื สดี �ำ เปน็ เสน้ ยนื แทรกหา่ งๆ แลว้ เยบ็ หวั หาง
ต่อกนั เป็นบ่วงผ้า 2 ช้ัน


1 วถิ ี พานิชพันธ,์ ส่ิงถกั ทอและผ้าไท, 68.

46 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

หมอน
หมอนในวฒั นธรรมไท-ลาว มลี กั ษณะเปน็ ทรงสเี่ หลย่ี มผนื ผา้ ใชผ้ า้ เยบ็ เปน็ ลอนลกู ฟกู ยดั
ดว้ ยนุ่น มี 2 แบบ คอื หมอนส่ี และหมอนหก1 นอกจากน้ยี งั มีหมอนขนาดใหญท่ รงสามเหล่ยี ม
เรยี กว่า หมอนสามเหลย่ี ม หรอื หมอนผา เป็นหมอนใช้พงิ ส�ำ หรบั เจ้านาย หรือพระสงฆ์ ตลอดจน
ใช้ในพิธกี รรม และสามารถใชก้ �ำ หนดท่ีน่งั ของบคุ คลส�ำ คญั ในพธิ อี กี ดว้ ย
นยิ มตกแตง่ หนา้ หมอนทง้ั สองขา้ งดว้ ยผา้ ขดิ ลายเรขาคณติ ดว้ ยดา้ ยสตี ดั กนั หรอื จกดว้ ยดา้ ยหลาก
สี หรอื ปกั ลวดลาย บางแหง่ ใชก้ ารตดั ปะเพอ่ื เพมิ่ สสี นั ความงามอลงั การดว้ ยดน้ิ เงนิ ดนิ้ ทอง ปกั เปน็
ลายเครือเถาต่างๆ หน้าหมอนลวดลายต่างๆ ท่ีละเอียดงดงามแสดงออกถึงความเอาใจใส่ และ
ความพถิ ีพิถันของช่างผูท้ อ บางแห่งนยิ มจัดวางหมอนเรียงกนั แลว้ หนั หน้าหมอนออกมาเพอ่ื อวด
ลวดลายก็มี
ลายจกในหน้าหมอนมีหลากหลายมาก แต่ส่วนใหญ่เป็นลวดลายท่ีไม่สลับซับซ้อน
เหมอื นกบั จกตนี ซ่นิ ผหู้ ญงิ ลา้ นนามกั ฝึกหัดจกหนา้ หมอนก่อนที่จะจกซ่ิน ตวั อยา่ งลวดลาย ไดแ้ ก่
ลายดอกจนั ทร์ ซง่ึ แบง่ ออกเปน็ ลายดอกจนั ทรห์ ลวง ดอกจนั ทรน์ อ้ ย ดอกจนั ทรส์ กี่ ลบี ดอกจนั ทร์
แปดกลีบ ดอกจันทร์โปย๋ นอกจากน้ีมี กุดขอเบด็ กุดสามเสา กดุ กระแจ กดุ ลาว กุดพอ่ เฮือนเมา
กุดตาแสง กุดผักแวน่ กดุ กบ (หรอื นาคกุม) จดี อกควัก ฟนั ปลาน้อย ฟนั ปลาหลวง นกนอน โคม
หวั หมอน ลายสาด เป็นตน้ 2
ถงุ ย่าม
ใชส้ �ำ หรบั ใสส่ มั ภาระในการเดนิ ทาง ชาวลา้ นนานยิ มใชถ้ งุ ยา่ มใสส่ งิ่ ของตา่ งๆ เพอ่ื พกพา
ถุงยา่ มท่วั ไปมกั ทอดว้ ยด้ายขาวแทรกริ้วด�ำ และมรี ปู แบบทีเ่ รยี บงา่ ย คือใชผ้ า้ ท่มี ขี นาดกวา้ งและ
ยาวเท่ากัน ผนื หน่ึงเยบ็ ให้เป็นตวั ถงุ ตดิ กบั อีกผนื หนึ่งที่ท�ำ หน้าท่ีปดิ ข้างตัวถงุ และใช้เป็นที่สะพาย
ถงุ ยา่ มทม่ี กี ารตกแตง่ ลวดลายตา่ งๆ และมกี ารทออยา่ งพถิ พี ถิ นั เปน็ เครอื่ งแสดงฐานะอยา่ งหนง่ึ ของ
ผใู้ ช้ นอกจากนถ้ี งุ ยา่ มของกลมุ่ ชาตพิ นั ธกุ์ ะเหรยี่ ง หรอื ลวั ะ กม็ กี ารจ�ำ แนกประเภทของถงุ ยา่ มทใี่ ช้
ใหถ้ ูกต้องกบั กาลเทศะทซี่ บั ซ้อนมากขึ้นด้วย

1 หมายถึงจ�ำ นวนลอนของหมอน
2 นุสรา เตยี งเกต,ุ ลายจกแมแ่ จ่ม, 104.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 47

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

(1.3) ผ้าในพธิ ีกรรม และความเชื่อทอ้ งถนิ่
ผา้ ผกู พนั กบั สงั คมมนษุ ยใ์ นทกุ บรบิ ทของชวี ติ ผา้ จงึ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของชวี ติ ตลอดจนความ
คิดความเชอื่ ดว้ ยโลกทัศนท์ ีผ่ า้ เป็นสิ่งท่จี ำ�เปน็ ตอ่ การด�ำ รงชวี ติ การอทุ ิศถวายส่งิ ของหรือเครอ่ื ง
พลีกรรมเพ่ือส่ิงศักด์ิสิทธิ์ท่ีเคารพนับถือจึงมักมีผ้าเป็นส่วนประกอบหน่ึงอยู่เสมอ และช่างทอจะ
ต้องใส่ใจในรายละเอียดอย่างพิถีพิถัน ผ้าที่ใช้ในพิธีกรรมความเชื่อ หรือเป็นเคร่ืองอุทิศถวายน้ัน
มักมีความวิจิตรงดงาม และประณีตมากกว่าผ้าท่ีใช้ในชีวิตประจำ�วันท่ัวไป เพราะถือว่าเป็นสิ่งท่ี
ถวายให้แก่ส่ิงที่ตนเคารพนับถือ หรืออุทิศเป็นทานให้แก่ญาติพี่น้องผู้ล่วงลับไปสู่ปรโลก ผ้าท่ีใช้
ในพิธีกรรมของชาวล้านนามหี ลายประเภท ท้งั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ทางพทุ ธศาสนา และทีเ่ ก่ียวข้องกบั
คตคิ วามเชอื่ ถือผี แตผ่ ้าบางชนดิ ท่ีเก่ียวขอ้ งในพธิ ีกรรมทางพทุ ธศาสนาก็อาจมีความเชอ่ื มโยงกับ
คติความเช่ือถือผีอย่างมีนัยสำ�คัญ จะเห็นได้จากผ้ามักเป็นเครื่องถวาย หรือเครื่องพลีกรรมท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั วญิ ญาณ และความเชอ่ื ในโลกหลงั ความตาย เชน่ ตงุ ผา้ เชด็ หลวง เปน็ ตน้ และยงั อาจ
กลา่ วไดอ้ ีกว่าผา้ เปน็ เสมอื นสื่อกลางระหวา่ งพธิ ีกรรมกบั ความเช่อื ของผ้คู น1

ผา้ เช็ดหลวง
เป็นผ้าผืนยาวทอขิดด้วยเส้นฝ้ายหยาบย้อมสีสดใส ขนาด 2-3 เมตร มีความกว้าง
ประมาณ 15-30 ซม. ลกั ษณะคลา้ ยตงุ แตแ่ ตกตา่ งจากตงุ ทผ่ี า้ เชด็ หลวงจะไมน่ ยิ มทอลายปราสาท
และไม่มีไม้ไผ่ค่ัน แต่นิยมทอลายเรขาคณิต หรือรูปสัตว์2 เรียงสลับกันท่ีปลายท้ังสองข้างจนถึง
กลางผืน แต่จะเวน้ ทวี่ ่างไว้เป็นผา้ พื้นผ้าฝา้ ยสขี าว แตล่ วดลายจะโดดเด่นด้วยสดี �ำ และแดง หรอื
สีครามด้วยอาจมกี ารยกดอกในชว่ งกลางผนื ชาวไทล้ือนยิ มทอผ้าเชด็ หลวงถวายวัด เชน่ เดยี วกบั
การถวายตงุ มกั ถวายเปน็ สงั ฆทานใหแ้ กญ่ าตพิ น่ี อ้ งทล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ มกั น�ำ ไปแขวนไวใ้ นวหิ าร หรอื
อโุ บสถ ผา้ เชด็ หลวงนี้อาจเปน็ ผ้าทีเ่ ก่ียวข้องกับพธิ ีกรรมความเชื่อดัง้ เดิมกอ่ นพุทธศาสนา3
ผ้าเช็ดนอ้ ย
เปน็ ผา้ ทอผนื เลก็ ลกั ษณะคลา้ ยผา้ เชด็ หนา้ ทอดว้ ยลายขดิ เปน็ แถบเลก็ ๆ มชี ายผา้ บนลา่ ง
นยิ มใชต้ กแตง่ เครือ่ งครัวทาน นอกจากน้อี าจใช้เปน็ ผ้าปพู น้ื กราบพระ หรือซับหนา้ ธรรมเนยี ม
หญงิ สาวในอดตี มกั ทอผา้ เช็ดนอ้ ยใหค้ รู่ ักอีกด้วย

1218ชวนิถฉกี พบมบัาลนทยิชี่์ 1คพงนั (ยมธกก,์ ,สร“าิง่ “คถผมักา้-ทม”อิถสแุน่ือลากะยผลนา้าไง2ทร5ะ, ห62ว24่า)0ง:ค. 8วา0ม. เชอื่ กบั พธิ ีกรรม: กรณีศกึ ษา ผ้านาหมื่นศรี อ�ำ เภอนาโยง จังหวดั ตรัง,”ด�ำ รงวิชาการ,
3 เร่อื งเดมิ , 75-76.

48 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ตงุ
ผ้าผูกพันกับสังคมมนุษย์ในทุกบริบทของชีวิต ผ้าจึงเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต ตลอดจน
ความคิดความเชเป็นสิ่งถักทอที่ทำ�ขึ้นถวายเป็นพุทธบูชา และเพ่ืออุทิศให้แก่ญาติพ่ีน้องผู้ล่วงลับ
ตามความเช่อื เกี่ยวกบั อานิสงส์การทานตงุ ท่ีเชื่อว่าหากถวายตงุ แล้วชายตุงนน้ั จะกวัดไกวใหเ้ กาะ
เกี่ยวหลุดพ้นจากขุมนรก ตงุ มหี ลายประเภทจ�ำ แนกตามการใชง้ านแตกตา่ งกัน ซ่ึงสามารถท�ำ ขนึ้
ได้จากวสั ดทุ ห่ี ลากหลาย ไมว่ า่ จะเป็น ตงุ ผ้าทอ ตงุ กระดาษ ตุงเงนิ ตุงคำ� ตงุ เหล็ก ตงุ ตอง ฯลฯ
ซ่ึงแต่ละชนิดก็มีหน้าที่และความหมายแตกต่างกันไป ในท่ีนี้ ตุงผ้าทอ ก็เป็นตุงรูปแบบหน่ึง
ทีพ่ บเห็นได้บ่อย และมลี วดลายทค่ี วามสวยงามพรอ้ มความหมายอันลกึ ซึง้
ตุงผา้ ทอ เปน็ ตงุ ที่ทำ�จากผา้ ฝา้ ย โดยทว่ั ไปมคี วามกว้างประมาณ 10-40 เซนตเิ มตร
ตามขนาดของหน้าฟืม ส่วนความยาวนน้ั มีตั้งแต่ 1 – 5 เมตร โครงสร้างของตงุ ประกอบดว้ ยหวั
ตงุ ตวั ตงุ และหางตงุ ตุงผ้าทอท่มี ีความโดดเดน่ คอื ตุงผ้าทอของชาวไทลื้อ เรียกวา่ “ตุงดอก”1
ทอข้ึนด้วยเทคนิคการขิดและจก มีลักษณะลวดลายคล้ายกับผ้าเช็ดแต่มีเอกลักษณ์สำ�คัญ
คือ รูปปราสาททราย2 ล้อมรอบด้วยต้นไม้ ดอกไม้ นก คน ช้าง ม้าฯลฯ แล้วค้ันช่วงด้วย
การสอดไม้ไผ่เพื่อแบ่งช่อง ส่วนด้านบนจะเป็นเพียงฝ้ายเส้นยืนท่ีค่ันด้วยไม่ไผ่เป็นช่วงๆ กับ
การทอเป็นผนื ผา้ ทีม่ ลี วดลายเป็นแถบเล็กๆคนั่ ตัวตงุ นิยมใช้ฝ้ายสีขาว ส่วนลวดลายนั้นมีหลากสี
ทัง้ สเี ขียว สเี หลือง สขี าว และสีด�ำ เป็นต้น
การแทรกไมไ้ ผค่ น่ั เปน็ ชว่ งๆ นน้ั เปน็ การแกไ้ ขปญั หาไมใ่ หต้ งุ พนั กนั เมอื่ ถกู ลมพดั และยงั
ชว่ ยใหม้ องเหน็ ลวดลายบนผนื ตงุ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน นอกจากนแี้ ลว้ ยงั มคี วามเชอ่ื ทส่ี อดแทรกเขา้ ไปวา่
ไม้ทีแ่ ทรกระหวา่ งทอน้นั หมายถงึ บันไดทจ่ี ะพาดวงวิญญาณข้นึ ไปส่สู วรรค์ เพราะพบว่านิยมใช้ไม้
แทรกจ�ำ นวน 16 ชน้ิ ท่สี อื่ ความหมายถงึ สวรรค์ 16 ชน้ั ตามคติไตรภูมดิ ว้ ย3 ในจังหวัดเชยี งใหม่
พบการทอตุงผ้าในชุมชนไทล้ือหลายพ้ืนท่ี เช่น ชุมชนบ้านแม่สาบ อำ�เภอสะเมิง ชุมชนไทลื้อ
บ้านลวงเหนือ อ�ำ เภอดอยสะเกด็ เปน็ ตน้ นอกจากนีม้ ีการทอตุง ท่ีเรยี กว่า “ตงุ ใย” ที่มีลักษณะ
คล้ายกนั กบั ตงุ ผ้าทอของชาวไทล้ือ แตไ่ มม่ ีการทอลวดลายปราสาททตี่ ีนตงุ แตม่ กี ารคั่นด้วยไม้ไผ่
เป็นช่วงๆ สลับกับฝ้ายเส้นยืนทำ�ให้ดูเหมือนเป็นเส้นใย จึงเรียกว่า ตุงใย พบว่าที่อำ�เภอแม่แจ่ม
จังหวัดเชยี งใหม่ ยังมีการทอตุงลักษณะนีใ้ ช้กนั อยู่


1 ทรงศกั ดิ์ ปรางค์วัฒนากลุ , มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทล้อื , 112.
2 ทรงศกั ด์ิ ปรางคว์ ฒั นากลุ , “ประเพณที านตงุ ในลา้ นนา,” ใน สบื สานลา้ นนา สบื ตอ่ ลมหายใจของแผน่ ดนิ , บรรณาธกิ ารโดย ชชั วาลย์

ท3อวงถิ ดี เีพลาศิ น,ิช(เพชันยี งธใ์,หสมง่ิ ่ถ:ักมทง่ิ เอมแอื ลงะเนผาา้ วไทรตั, น7ก์1า.ร พมิ พ,์ 2542), 113.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 49

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ผ้าห่อคัมภีร์
เป็นผ้าที่ทอขึ้นเพื่อใช้ห่อหุ้มคัมภีร์ที่เป็นเอกสารโบราณบันทึกข้อความต่างๆ ท่ีมีความ
ส�ำ คัญ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงคัมภรี ์ที่เกีย่ วขอ้ งกับพทุ ธศาสนา สว่ นมากเปน็ คัมภีร์ใบลาน ทมี่ ีไมแ้ กะ
สลักปิดทองงดงามเรียกว่า “ไม้ประกับ” เนื่องจากคัมภีร์เป็นเอกสารสำ�คัญ จึงต้องมีการจัดเก็บ
อย่างดีและเป็นระบบ จึงต้องมีการทอผ้าห่อคัมภีร์เพื่อป้องกันฝุ่นและความสกปรกต่างๆ อีกทั้ง
คมั ภีรเ์ ปน็ เอกสารที่มคี า่ ผา้ ทห่ี ่อหมุ้ จงึ ต้องมคี วามประณตี บรรจง และออกแบบให้สอดคล้องกบั
การใชง้ าน อกี ทง้ั ลวดลายต่างๆ ทหี่ ่อคัมภีรน์ นั้ ยงั ชว่ ยจำ�แนกแยกแยะเอกสารได้ไปในตัว
สนั นษิ ฐานวา่ คนไท-ลาวไดร้ บั อทิ ธพิ ลการใชผ้ า้ หอ่ มาจากชาวจนี 1 ผา้ หอ่ คมั ภรี อ์ าจแบง่
ได้ 2 รูปแบบตามลกั ษณะของทอข้นึ รูป ได้แก่
(1) แบบผนื ผา้ สเี่ หลยี่ มทอดว้ ยฝา้ ย ขนาดประมาณ 75X50 ซม. เปน็ ผา้ พนื้ สขี าวธรรมดา
หรอื ผา้ ทอลายขดิ ลวดลายเรขาคณติ และรปู สตั วห์ รอื สญั ลกั ษณต์ า่ งๆ อาจใชผ้ า้ เชด็ นอ้ ย
หรือผ้าพาดมาทำ�ผ้าหอ่ คัมภรี ์กไ็ ด้
(2) แบบผา้ ทม่ี ีไม้ไผส่ อดสลบั กบั เสน้ ฝา้ ยหลากสี ทอดว้ ยวธิ ีเกาะสลบั สีเสน้ ฝ้ายกับตอก
ไม้ไผส่ อดค่นั กันจนเป็นผืน ลวดลายเรขาคณติ หลายแบบ

ผ้าห่อคัมภีร์ท่ีมีความโดดเด่น และมีการทอผสมผสานระหว่างสองรูปแบบ คือ ผ้าห่อ
คัมภีร์ที่บ้านแม่สาบ อำ�เภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ท่ีมีลักษณะเด่นท่ีการทอด้วยเทคนิคขิดเป็น
ลวดลายเรขาคณติ และรูปสัตว์ต่างๆ สลบั กับการสอดด้วยตอกไม้ไผ2่
ผา้ ในพิธกี รรมฟ้อนผี
ความเชื่อถือผี และการฟอ้ นผีเป็นพิธีกรรมความเช่ือที่อยู่สงั คมล้านนามาอยา่ งยาวนาน
ก่อนการเข้ามาของพุทธศาสนา พิธกี รรมฟ้อนผีเป็นการสื่อสารระหว่างมนุษยก์ ับอ�ำ นาจศกั ดสิ์ ิทธ์ิ
คอื การทม่ี วี ญิ ญาณศกั ดส์ิ ทิ ธผ์ิ า่ นลงมาสมู่ นษุ ยด์ ว้ ยการฟอ้ นร�ำ 3 ซงึ่ พธิ กี รรมฟอ้ นผี มหี นา้ ทชี่ ดั เจน
คอื เพ่ือแสดงความกตญั ญูกตเวทตี ่อบรรพบุรษุ ท่ลี ว่ งลับไปแลว้ ตลอดจนเปน็ การพบปะสังสรรค์
รวมญาติพี่น้องของกลุ่มตระกูลท่ีนับถือผีเดียวกัน เน่ืองจากพิธีกรรมนี้มีความสำ�คัญและมีความ
ศกั ด์สิ ิทธ์ติ ่อผูน้ ับถือผี จึงตอ้ งมรี ายละเอยี ดในการเตรยี มเครอ่ื งพธิ ีกรรม ตลอดจนเครอ่ื งแตง่ กาย
ของรา่ งทรงอย่างพถิ พี ิถนั และระมดั ระวังเปน็ อยา่ งยงิ่ เน่อื งจากเส้ือผ้าอาภรณ์เหล่านี้ ถือวา่ เปน็

1 วิถี พานิชพนั ธ,์ สิ่งถักทอและผ้าไท, 74. 123. 2554), 22.
2 ทรงศกั ด์ิ ปรางค์วัฒนากลุ , มรดกวัฒนธรรมผา้ ทอไทลอื้ ,
3 มาณพ มานะแซม, ภูษา อาภรณ์ ฟอ้ นผี, (กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พร้นิ ติ้งเฮาส,์

50 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ตนัว้ำ�สแะทอนาขดองตสา่ิงกศใหัก้แดห์ิส้งิทแธลิ์หะรนือำ�คมวาารมีดพแลึง้วพจอึงใใจชข้นอำ้�งขบมริ้นรสพ้มบปุร่อุษยปเรมะื่อพใรชม้แใลห้ว้ทตั่ว้องนนำ�ำ�เกม็บาใซสัก่หแีบยเกฉดพ้วายะ
เก็บไว้บนทีส่ งู เชน่ หลงั ตู้ หรอื สถานทเ่ี หมาะสมภายในบ้าน1
ผ้าท่ีมีความเก่ียวข้องกับพิธีกรรมฟ้อนผี ตัวอย่างเช่น ผ้าจ่อง คือผ้าฝ้ายสีแดง หรือ
ผ้าลายตารางสีแดงผืนยาวท่ีผูกไว้อย่างเหนียวแน่นกับคานไม้แล้วปล่อยชายยาวลงมา โดยจัดไว้
ตรงกลางปะรำ�พิธีเพื่อให้ร่างทรงได้ห้อยโหนเพ่ืออัญเชิญดวงวิญญาณบรรพบุรุษลงมาประทับ
ร่าง หรือออกจากร่าง ซึ่งการโหนผ้าจะมีเฉพาะในพิธีกรรมฟ้อนผีเม็งหรือผีมดซอนเม็ง2 เน่ือง
พธิ กี รรมฟอ้ นผมี กั เกยี่ วขอ้ ง หรอื เปน็ รอ่ งรอยของพธิ กี รรมของชาวเมง็ หรอื มอญในดนิ แดนลา้ นนา
ดงั นน้ั ผา้ และเครอื่ งแตง่ กายตา่ งๆ มกั เปน็ ผา้ ทใ่ี ชก้ นั ในกลมุ่ ชาตพิ นั ธมุ์ อญ เชน่ ผา้ ลายตาราง หรอื
ท่เี รียกว่า “ผ้าตาโก้ง” ซึ่งนิยมใชใ้ นการฟ้อนผเี มง็ ในลา้ นนา นอกจากนี้ยังมีการนุ่งโสรง่ ลายตาราง
ขนาดใหญ่ และมีผ้ามดั เอวท่เี ป็นผา้ ขาวมา้ เป็นตน้

ภาพ : เครื่องแตง่ กายในพธิ ีกรรมฟอ้ นผีของชาวลา้ นนา
ทม่ี า : แฟ้มเอกสารภาพถ่ายของ ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์
(ฐานขอ้ มูลจดหมายเหตมุ านษุ ยวิทยา,https://www.sac.or.th/databases/anthroarchive/) และ
Facebook เครอื ข่ายพิพธิ ภณั ฑ์กลางเวียงเชียงใหม,่ สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 10 กรกฎาคม 2564.
1 มาณะ มานะแซม, ภษู า อาภรณ์ ฟอ้ นผ,ี 33.
2 เร่อื งเดมิ , 36.







54 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ผา้ ซนิ่ ตนี จกแหง่ ลมุ่ น�้ำ ปงิ

มนตเ์ สนห่ ภ์ ษู าผา้ เชยี งใหม่

“...พวกเธอจะนุ่งผ้าซิ่นซ่งึ มกั ตกแตง่ ท่ีชายผ้าด้วยเสน้ ไหม ด้ายขนสตั วท์ ่ีใช้ทอผา้ เนื้อละเอยี ด
ฝา้ ย หรอื ไมก่ ด็ นิ้ เงินหรือด้นิ ทอง และคาดผ้าไหมหรือผ้าแถบท่ีหนา้ อก
หรอื ไหลข่ ้างใดขา้ งหนง่ึ ...”1

อาจ กลา่ วไดว้ า่ ผา้ ซน่ิ ในเขตลมุ่ น�ำ้ ปงิ เปน็ รปู แบบมาตรฐานของซน่ิ ในวฒั นธรรมลา้ นนา
เนอื่ งจากมรี ปู แบบลวดลายทม่ี แี บบแผนชดั เจน ลกั ษณะของซนิ่ ตนี จกแบบเชยี งใหมน่ นั้ มลี วดลาย
คเรลยีา้ กยกว่าบั ซ“น่ิเลจ็บกซในิน่ พ”2นื้ ทลี่อวนื่ ดๆลากยลทา่ นี่ วิยคมือมมากกี าครือจกลอายยบู่ โกนมเชิงที่ภแาลยะใปนลมอ่ รี ยปู ทนว่ี กา่ กงนิดนา้ นำ้�รล่วา่ มงซติน่น้ ทขเี่ ปน็นาบสดีแว้ดยง
ห้องนกสามเหล่ยี มซ้อน 2 ชน้ั ด้านบน ส่วนดา้ นล่างซอ้ นช้ันเดยี ว หางสะเปามสี ีเดยี วคอื ด�ำ ลว้ น
และสลับส3ี ความนิยมนุ่งซิ่นตีนจกของสตรีชาวเชียงใหม่แพร่หลายจากเขตเวียงกระจายไป
สทู่ ้องถนิ่ ซง่ึ ความมแี บบแผนในเร่อื งลวดลาย สสี ัน และวัสดทุ ่ใี ช้กค็ ่อยๆ คล่ีคลายไปจากต้นฉบับ
ทีน่ ยิ มในเขตเวียงเช่นกนั
วศนิ อนุ่ จะน�ำ 4 กลา่ ววา่ ตนี จกในเขตลมุ่ น�ำ้ ปงิ สายใตเ้ วยี งนน้ั ยง่ิ หา่ งไกลออกไปเทา่ ไหร่
ย่ิงมีความหลากหลายของลวดลายมากขึ้น ช่างทอจะไม่ติดกรอบแบบแผนมากนัก เราจะพบ
ลวดลายแปลกๆ และไมเ่ คยไดย้ นิ ชอ่ื ลวดลายนน้ั ในเขตเวยี งเลย ชา่ งทอรอบนอกจะมอี สิ ระในการ
ทอ ท้งั ในการออกแบบลวดลาย การเลอื กใชส้ สี ันของเส้นดา้ ย แต่กย็ ังคงไวซ้ ง่ึ โครงสร้างหลกั ของ
ลายจกมาตรฐาน นอกจากน้วี ตั ถดุ ิบทใ่ี ช้ทอในท้องถน่ิ ไม่อาจเทยี บไดก้ บั วัตถดุ ิบราคาแพง มลู ค่า
สสถูงอายน่าภงาทพี่สสตูงรตีชำ่�้ันทนางำ�ชชนาวชเั้นวเียขงา้ จมะาสเกวม่ียวใสข่้อกงาอรยท่า่ีหงเญชน่ิงลซ้า่นิ นตนีนาจนกุ่งใซส่ิน่ไดต้เีนฉจพกานะชั้นนชมน้ัิไดส้มงู ีขเท้อา่ กนำ�น้ัหนหดาเกรแ่ือตง่
การนุ่งซิ่นตีนจกน้ันสตรีล้านนาเชียงใหม่สามารถนุ่งได้ทุกชนช้ัน ความแตกต่างสำ�คัญอยู่ที่วัสดุที่
ใช้ ความประณีตวิจิตรบรรจง และมูลค่าของวัตถุดิบท่ีนำ�มาถักทอนั้นเป็นตัวแบ่งสถานภาพทาง
เศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น ภูมิรู้ในการทอผ้าซิ่น โดยเฉพาะการจกซิ่น หรือเทคนิคพิเศษอ่ืนๆ
จึงมิไดจ้ �ำ กดั อยเู่ พยี งแค่ในเขตเวียง บางคร้ังชา่ งทอทฝ่ี มี ือดใี นท้องถ่นิ อาจทอผา้ ใหช้ นชั้นสงู ในเขต

1 โฮลท์ ซามูเอล ฮัลเลต็ ต,์ “หนง่ึ พนั ไมล์บนหลงั ชา้ งในหมรู่ ัฐฉาน,” แปลโดย ศุกลรตั น์ ธาราศักดิ,์ ใน ฝรง่ั ในล้านนา, (กรุงเทพฯ :
อรุณการพมิ พ,์ 2561),30.
2 เธยี รชาย อักษรดิษฐ,์ ผา้ ซิน่ ลุ่มน้ำ�ปงิ และวัง, 30.
3 เรอื่ งเดิม, 30.
4 วศิน อนุ่ จะน�ำ , สัมภาษณ์โดย ไพลิน ทองธรรมชาติ, ม.ป.ท., 1 กรกฎาคม 2564.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 55

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

เทว้อยี งงทสี่วซม่งึ ใแสตก่ ล่เ็ ปะน็ทไ้อปงไทดอ่ี เ้ ชาน่จมกลีนั กั อษยณา่ งะไพรกเิ ศต็ ษามแผตา้กซตน่ิ ่าตงจนี าจกกกใันนลสา้ านมนาารเถชแยี ยงใกหผมา้ ม่ซกีนิ่ าตรนี ผจลกติ ใขนน้ึ เขใตนลหมุ่ลนายำ�้
ปงิ เชียงใหมไ่ ด้ ดงั นี้
(1) ผา้ ซ่นิ ตนี จกแบบเวียงเชยี งใหม่ หรือแบบราชสำ�นักเชียงใหม่
จากการศึกษาของ วศิน อุ่นจะนำ�1 เก่ียวกับผ้าซิ่นตีนจกในเชียงใหม่ อาจกล่าวได้ว่า
ซ่นิ ตีนจกแบบเวียงใหม่เป็นแบบมาตรฐานของผ้าซ่นิ ตีนจกของเจ้านายล้านนาโดยเฉพาะอย่างย่งิ
ในช่วงสมัยของพระราชชายาเจ้าดารารัศมีที่ได้เสด็จกลับมาพำ�นักท่ีเชียงใหม่ และได้ดำ�เนิน
พระราชกิจในการฟ้ืนฟูการทอผ้า โดยทรงรวบรวมช่างทอผ้าที่ชำ�นาญในการทอซ่ินตีนจกจาก
หมู่บ้านดวงดีมาทอที่โรงกี่ในวัง โดยให้มีการทอท้ังตีนจกและผ้ายกดอกด้วย โดยรูปแบบของ
ผ้าซ่ินในเวียงเชยี งใหมน่ ้ัน ประกอบด้วยหัวซิ่นสีขาว แดง หรือดำ� ทำ�จากผ้าฝา้ ยเน้อื ดีจากโรงงาน
ขององั กฤษ บางครง้ั เปน็ ผา้ พมิ พล์ าย หรอื ก�ำ มะหยี่ ตวั ซนิ่ มที ง้ั ไหม ทเ่ี รยี กวา่ “ไหมหยมุ้ เดยี ว” คอื
เป็นไหมน้อยจากประเทศจีนท่ีมีเส้นเล็กบางและเหนียวมาก กับตัวซิ่นที่เป็นฝ้าย ผ้าซ่ินของสตรี
ช้ันสงู ในราชส�ำ นกั เชยี งใหม่ พบวา่ มลี กั ษณะพเิ ศษอีกแบบหนึ่ง คือ ตัวซนิ่ มีลักษณะเป็นลายขวาง
สลบั กบั จกลายดอกไมข้ นาดเลก็ เรยี งเปน็ แถว โดยใชไ้ หมทองทอทง้ั ผนื การทอลกั ษณะนต้ี อ้ งใชช้ า่ ง
ทม่ี ีความช�ำ นาญสูง อกี ทัง้ ต้องใชว้ ัสดมุ ลู ค่าสูงเป็นจำ�นวนมาก
ส่วนบริเวณเชิง หรือตีนจกมักทอจากไหมล้วน หรือฝ้ายแกมไหม แทรกด้วยไหมเงิน
ไหมทอง แลง่ หรือกระดาษทองพนั กับฝา้ ย โดยท่ลี วดลายจกมีลักษณะคลา้ ยคลึงกนั คือ นยิ มลาย
โคมปิดทา้ ยดว้ ยลายเชิง หรือ “หางสะเปา” สีด�ำ ลว้ น และสว่ นของเลบ็ ซน่ิ เปน็ ผ้าสีแดง ตอ่ มาได้
เกดิ ความนยิ มการแตง่ กายดว้ ยสเี ดยี วกนั ทงั้ ชดุ ในชว่ งปลายรชั กาลที่ 5-6 ของสยาม ท�ำ ใหเ้ กดิ เลบ็
ตีนจกหลากสีสันทเี่ ขา้ กนั กับทง้ั ตวั ซ่ินท่ที อเตรียมไวก้ ่อนแลว้

(2) ผา้ ซ่ินตนี จกแบบสันป่าตอง
สันป่าตองเป็นเมืองชุมทางการค้าสายใต้เวียงท่ีเช่ือมต่อระหว่างตัวเมืองเชียงใหม่ไปยัง
เส้นทางการค้าสายใต้ลงไปถึงเมืองมะละแหม่ง เน่ืองจากฝ้ายเป็นวัตถุดิบหลักสำ�คัญในการผลิต
ผ้าฝ้ายจึงเป็นสินค้าสำ�คัญและเป็นที่ต้องการของตลาดอยู่เสมอ เนื่องจากฝ้ายสามารถปลูกได้ดี
ในบางพนื้ ทเ่ี ทา่ นน้ั โดยเฉพาะจากเขตภดู อยทห่ี า่ งไกลออกไป ท�ำ ใหใ้ นบางครงั้ เกดิ ปญั หาเรอื่ งการ
ขาดแคลนวัตถุดบิ ในการทอและตอ้ งพ่งึ พาการนำ�เข้าฝา้ ย2

1 วศิน อนุ่ จะนำ�, ผา้ ซิ่นตีนตกในจังหวัดเชียงใหม,่ 35-37.
2 วชิ ญา มาแกว้ , ยคุ ทองของล้านนา ประวัติศาสตรเ์ ศรษฐกิจและสามญั ชน, (กรุงเทพฯ : มตชิ น, 2564), 261.

56 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

เส้นทางการค้าฝ้ายท่ีสำ�คัญนั้นเช่ือมโยงระหว่างยูนนานตอนใต้ เสฉวน กับเขตรัฐฉาน
ลา้ นนา ลา้ นชา้ ง พะโม และเชยี งตงุ 1 โดยเสน้ ทางจากตอนเหนอื เชอื่ มโยงเขา้ สเู่ ชยี งใหมจ่ ากเชยี งราย
แมส่ รวย ดอยสะเกด็ ซงึ่ เปน็ พนื้ ทๆี่ มกี ารปลกู และคา้ ฝา้ ยโดยกลมุ่ ชาวลวั ะทอ่ี พยพมาจากเชยี งตงุ 2
เป็นไปได้วา่ ฝ้ายเป็นสนิ ค้าท่ขี ยายไปตามเส้นทางการคา้ และเมืองท่ีเป็นชุมทางการค้าก็สามารถ
เข้าถึงวัตถุดิบได้มากกว่าเมืองท่ีอยู่ห่างไกล สันป่าตองจึงเป็นเมืองหนึ่งท่ีอาจเข้าถึงแหล่งวัตถุดิบ
ได้ง่ายกว่าท้ังฝ้ายจากตอนเหนือ และเส้นฝ้ายที่นำ�เข้าจากต่างประเทศผ่านการค้าทางเรือท่ีเข้า
มาทางเมืองมะละแหม่ง เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการผ้าในท้องถิ่น และในเขตเมืองเชียงใหม่
จึงกลายเป็นเมอื งหนง่ึ ท่ีมกี ารทอผ้าอยา่ งแพรห่ ลาย แม้วา่ ในปจั จบุ นั ไมป่ รากฏใหเ้ หน็ แล้วกต็ าม3
ผ้าซ่ินตีนจกในเขตสันป่าตองมีความใกล้เคียงกับผ้าซ่ินตีนจกเวียงเชียงใหม่มาก
เคปอื ็นเลปา็นยลนากยคโคู่กมินทนี่ม้ำ�ขี รน่วามดตใ้นหญห่ เรหือ็นลชาดัยเเจคนรือมดีลอากยปไมร้ะหกาอกบสดะา้ เนปบานหย2ักแเปถว็นฟด้าันนปลล่าางแ1บบแถมวาตภราฐยาในน
เส้นสะเปาสีดำ�ล้วน4 ลักษณะสำ�คัญของลวดลายผ้าซิ่นตีนจกสันป่าตอง คือ ความโปร่งเบาของ
ลวดลายบนพนื้ หลงั สดี �ำ ทเี่ หน็ ชดั เจน นยิ มใชฝ้ า้ ยหรอื ไหมสขี าวในการจก หรอื ใชเ้ ปน็ ดนิ้ มากกวา่ ดน้ิ
เกาะอยทู่ แ่ี กนและเปน็ สชี มพู บางครง้ั นยิ มดน้ิ ควนั่ ฝา้ ยสธี รรมชาติ ไมน่ ยิ มสสี ดฉดู ฉาด5 นอกจาก
น้ีลวดลายจกท่ีพบมากในเขตสันป่าตองมากกว่าพ้ืนท่ีอ่ืน แต่ก็พบในเขตอำ�เภอพร้าวด้วยเช่นกัน
คือ ลายเครอื ดอกเอ้ือง6
นอกจากน้ี มกี ารทอตวั ซน่ิ ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณแ์ พรห่ ลายของสนั ปา่ ตอง คอื “ซน่ิ แมก่ งุ้ บก”
ท่มี กี ารทอท่ีบา้ นแม่กุ้งบก ตำ�บลสันกลาง อำ�เภอสนั ปา่ ตอง ซ่ึงปัจจบุ นั ไมม่ ีการทอแล้ว ซน่ิ แมก่ งุ้
มลี กั ษณะเปน็ ซน่ิ ตาลายสามแลว7 โดยเฉพาะสเี ขยี ว ซง่ึ ใชเ้ ทคนคิ การปน่ั ไกไหมควบฝา้ ยเปน็ เสน้ พงุ่
โดยมีเสน้ ยืนเปน็ ฝา้ ยละหานเนือ้ เหนยี วเสน้ เลก็ อนั เปน็ ลกั ษณะพิเศษที่พบในเขตสันป่าตอง

1 วราภรณ์ เรอื งศรี, กาดกอ่ เมือง : ชาติพนั ธุ์และคาราวานการคา้ ในล้านนา, 157. Nong Khwang, Chiang Rai, in the late
2 Turton, Andrew, Kuba Wajiraphanya : A Teacher and Leader in Muang

Nineteenth and Early Twentieth Centuries. (Amsterdam : 7 th International Conference on Thai Studies, 1999),
158. อ้างใน เรอื่ งเดิม, 158.
3 วศิน อนุ่ จะนำ�, ผา้ ซน่ิ ตีนจกในจงั หวัดเชียงใหม่, 38.
4
5 เร่ืองเดิม, 38. เงนิ ตราลา้ นนาและผา้ ไท, (กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทร์พริน้ ติ้งแอนด์พบั ลิชช่ิง, 2543), 94.
ธนาคารแหง่ ประเทศไทย,
6 ณัฐนภธัช ปัญญาฟอง, สมั ภาษณ์โดย ไพลนิ ทองธรรมชาต,ิ ต�ำ บลทุง่ ต้อม อำ�เภอสันปา่ ตอง., 3 กรกฎาคม 2564.
7 หมายถึง ชดุ ลายสามเส้นเรียงตอ่ เนอื่ งกนั ท้ังผนื

ตามรอยวถิ ภี ษู า 57

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

กล่าวได้ว่า ซ่ินตีนจกสันป่าตองมีโดดเด่น และมีเอกลักษณ์ในด้านความโปร่งเบาของ
ลวดลายท่ีมีสีสันหลากหลายแต่ไม่ฉูดฉาด และถูกขับเน้นบนพ้ืนหลังสีดำ� มีทั้งจกไหมล้วน ฝ้าย
แกมไหม และฝา้ ยตอ่ เขา้ กบั ตวั ซน่ิ ทงี่ ดงามขนึ้ ชอื่ อยา่ งตวั ซน่ิ แมก่ งุ้ บก ท�ำ ใหผ้ า้ ซน่ิ ตนี จกสนั ปา่ ตอง
มีความโดดเด่น และทรงคุณค่าหาได้ยากในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ได้มีการร้ือฟื้นการจกแบบ
สนั ปา่ ตอง และทอซนิ่ แมก่ งุ้ บกขนึ้ ใหมโ่ ดยครภู มู ปิ ญั ญาดา้ นผา้ สนั ปา่ ตอง คอื ครณู ฐั นภธชั ปญั ญา
ฟอง และครูวัชรพงษ์ ต้องรักชาติ หมู่ 5 ตำ�บลทุ่งต้อม อำ�เภอสนั ปา่ ตอง จังหวัดเชยี งใหม่
(3) ผ้าซน่ิ ตนี จกแบบจอมทอง
จอมทองเป็นเมืองโบราณที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานเป็นของตนเอง อีกทั้งยังเป็นเมือง
บนชุมทางการค้าสายใต้เช่นเดียวกันกับเมืองสันป่าตองที่มีคาราวานพ่อค้าเดินทางผ่าน ทำ�ให้
สามารถเข้าถึงวัตถุดิบในการทอผ้าได้ไม่ลำ�บาก ทั้งฝ้ายเส้น และฝ้ายดอกที่มากับกองคาราวาน
ผา้ ซน่ิ ตนี จกแบบจอมทองคอ่ นขา้ งหายาก พบไมม่ ากนกั มกั อยใู่ นคลงั สะสมสว่ นบคุ คล และปจั จบุ นั
แทบไม่มีการทอจกแบบจอมทองหลงเหลืออยู่
ลักษณะเด่นของซิน่ ตีนจกแบบจอมทอง คือ นิยมลายหงสด์ �ำ โดยใช้เส้นไหมสีด�ำ จกตวั
หสเ่ีงหสล์ ย่ีชม่าขงจนะมทเปอยีเสก้นปฝนู า้ ยปใรหะ้แกนอ่นบโกดบั ยกกาารรใกชร้ “ะฝแา้ทยกพฟา่ มื ยจ”น1ทแำ�ลใะหฝห้ า้ อ้ ยงแโดคงมนต�ำ้ ีบมแนั หอลาวจจพนบมกลี าักรษใชณเ้ สะคน้ ลไห้ามย
และไหมทองอยู่บ้างแต่ไม่มากนัก การเลือกใช้สีสันของตีนจกแบบจอมทองนิยมสีในวรรณะร้อน
เชน่ สเี หลอื ง สม้ และขาว โดยใชส้ คี ตู่ รงขา้ มแทรกไปเลก็ นอ้ ยเพอ่ื ขบั เนน้ ลวดลายและเพอ่ื สรา้ งมติ ิ
เอกลกั ษณอ์ กี ประการหน่ึง คอื ตีนจกแบบจอมทองนิยมใชฝ้ า้ ยสีเหลืองสดปัน่ ไกเข้ากบั ฝา้ ยสีขาว
เพื่อท�ำ ให้สเี หลอื งมีความละมุนนุ่มนวล อกี ทง้ั ยงั มกี ารเว้นพน้ื หลงั ใหม้ ีความโปรง่ จนเหน็ พ้ืนหลงั
สีดำ�พอสมควรไม่มากเท่าจกสันป่าตอง และโปร่งกว่าจกแบบแม่แจ่ม ส่วนตัวซ่ินเป็นผ้าฝ้ายลาย
ขวางแบบซน่ิ ตา แต่ส่วนใหญเ่ ป็นสเี หลอื ง เรียกวา่ “ซนิ่ ตามะนาว” หรือ “ซิน่ ตาแมเ่ หลือง”2

1 คือ ฝ้ายท่ีไมไ่ ด้ตเี กลยี ว เส้นจะแลบเลก็ ก่อนจะน�ำ ไปทอจะตอ้ งเอาไปนวดกบั ขา้ วเจา้ กอ่ นเพอ่ื ให้เสน้ ฝา้ ยมคี วามเหนยี วจนน�ำ ไปทอ
ไดล้ กั ษณะเปน็ ฝา้ ยเนือ้ ละเอยี ดมสี สี ันหลากหลาย แ(เลชะียสงดใหใสมม่ :ามกข.ปน้ึ .พเน,ื่อมง.จปา.ปก.เ)ป, ็น1ฝ7้า.ย จากโรงงานฝรง่ั นำ�เข้ามาขายในชุมชนในอดตี เมอ่ื
ราว 120 ปกี ่อน (นสุ รา เตยี งเกตุ, ลายจกแมแ่ จ่ม,
2 ธนาคารแหง่ ประเทศไทย, เงินตราลา้ นนาและผา้ ไท, 95.

58 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ตีนจกแบบจอมทองก็ยังคงนิยมลายมาตรฐาน คือ ลายโคม เป็นลายหลักท่ีมีหงส์ดำ�
ในโคม ลายประกอบหรือห้องนก มักเป็นลายนกกินน้ำ�ร่วมต้นขนาดเล็ก ด้านบนและด้านล่าง
อย่างละ 1 ห้องเท่านั้น ไม่นิยมซ้อนสองช้ัน และแทบไม่พบลวดลายอิสระอื่นๆ นอกจากนี้
เอกลกั ษณอ์ ีกประการหน่งึ คอื ลายสะเปาแบบจอมทองจะมขี นาดใหญ่ เห็นได้ชัด ขอหางสะเปา
เป็นรูปเลขสามไทย (๓) กลับหัวชดั เจน1
นอกจากน้ีได้มีความพยายามร้ือฟื้นจากทอซิ่นตีนจกจอมทองโดยช่างทอรุ่นใหม่ท่ีมี
ความสนใจ และอนุรักษ์ภูมิปัญญาการทอจกแบบจอมทองไว้ เช่น ต้นแก้วต้นคำ� และคุณจิ่มม่ี
บา้ นดงหาดนาค เปน็ ตน้
(4) ผา้ ซน่ิ ตนี จกแบบฮอด-ดอยเต่า
เมืองฮอดและดอยเต่าน้ันในอดีตเป็นแหล่งชุมชนท่ีอยู่ภายใต้เขตการปกครองเดียวกัน
ดงั นั้นผ้าซิน่ จงึ มีรูปแบบใกลเ้ คียงกันมาก แต่เดิมอ�ำ เภอดอยเต่าอยู่ภายใต้การปกครองของอำ�เภอ
ฮอด ประกอบด้วย 4 ต�ำ บล ไดแ้ ก่ ต�ำ บลบ้านแอน่ ต�ำ บลทา่ เดอื่ ตำ�บลมืดกา และตำ�บลดอยเต่า2
ตโใดห่อย้กมเ้ันาฉแใพนมาป่นะีพำ้�ตป.ำ�ศบิง.เลพ2บื่อ4้าใ9นช6้สแรอไ้า่นดง้มเตปกี ำ�็นาบโรรลสงทรไ้าฟ่างเฟดเข้า่ือื่อพนตลภำ�ังมูบนพิ้ำ�ล มลทืดหำ�กใราหอืข้หเอขลงอ่ื าเนมยยือพนังื้นดฮทอใี ี่เนยหเเนขตตือ่าออเข�ำยื่อเู่ใภนตอ้ตนส้อ้ำ�าทงมจั้งเมหงอมาจยดงัู่ภหใานวยัดชใตต่ว้นงาปก้ำ�ี
พ.ศ. 2501 ทางการได้ประกาศให้ชาวบ้านในเขตอ�ำ เภอฮอดและดอยเตา่ อพยพไปตัง้ รกรากใหม่
ในพื้นที่ใหม่ และทางราชการได้จัดตั้งนิคมสร้างตนเองเขื่อนภูมิพล ในปี พ.ศ. 2506
โดยอพยพชาวบ้านบางส่วนไปอยู่ในเขตนิคมใหม่ ส่งผลให้ตำ�บลดอยเต่ามีประชากรหนาแน่นข้ึน
จนทางราชการประกาศให้เป็นกิ่งอำ�เภอดอยเต่าในปี พ.ศ. 2515 และยกฐานะข้ึนเป็นอำ�เภอ
ดอยเตา่ ในปี พ.ศ. 2522 เพอื่ ความสะดวกในการตดิ ตอ่ ราชการตา่ งๆ และการจดั สรรงบประมาณ
สาธารณปู โภค และสาธารณปู การต่างๆ3
ตอ้ งอพยพอยยา้ า่ยงถไน่ิรกฐต็านามเนชอ่ืางวจบาา้ กนนใน�้ำ ทเขว่ ตมพบน้ื า้ ทนเ่ีเรมอือื นงดเสอยี ยหเตาาย่ ไจดมร้ อบั ยผใู่ ลตกน้ ร�้ำ ะ สทว่ บนจหานกงึ่กไาดรอ้สพรา้ยงพเขหอื่ นนนี ภ�้ำ มูทพิว่ มล
ไปตง้ั หลกั แหลง่ ใหมใ่ นพน้ื ทอ่ี น่ื ๆ เชน่ อ�ำ เภอแมแ่ จม่ อ�ำ เภอจอมทอง อ�ำ เภอสนั ปา่ ตอง อ�ำ เภอไชยปราการ
บ้านมืดกา อำ�เภอแมแ่ ตง จังหวัดเชียงใหม่ อ�ำ เภอปาย จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน เปน็ ต้น ชาวบ้านจงึ ได้
ขนข้าวของเครื่องใชต้ ่างๆ อพยพติดตวั ไปด้วย และเมอื่ มีพ่อคา้ ของเกา่ ไปพบผา้ ซ่ินตนี จก

1 วศิน อ่นุ จะน�ำ , ผ้าซ่นิ ตนี จกในจงั หวัดเชียงใหม่, 41.

2 ไม่ทราบชอื่ , “ประวัตดิ อยเตา่ ,” สวสั ดีดอยเตา่ , สืบคน้ เมอื่ วันที่ 14 สิงหาคม, 2564, https://doitao.info/
3 การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย, “เขอ่ื นภูมิพล,” สบื ค้นเมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม, 2564, https://www.egat.co.th/

ตามรอยวถิ ภี ษู า 59

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ทกันี่กจลนุ่มตชิดาวปบา้ากนจหนนทีนำ�ใำ้�หท้ค่วนมทมั่วาไอปยเู่อรีายศกัยซใิ่นนตพีน้ืนจทก่ี จจาึงกเเรขียตกเซมิ่นืองกฮลอุ่มดน-ี้วด่าอย“เซต่ิน่าทนี่ไ้ำ�มท่ไ่วดม้ถ”ูกนแ้ำ�ลทะ่วเรมียวก่า
“ซ่ินนำ้�ทว่ ม หรอื ซน่ิ นำ้�ถว้ ม” ไปดว้ ย1
ลักษณะโดยรวมของซ่นิ ตนี จกกลุ่มฮอด-ดอยเต่าน้ี คอื นิยมทอด้วยฝ้ายจากโรงงานของ
ชาวตะวันตกทนี่ �ำ เขา้ มาจากพม่าทางเมืองมะละแหม่ง ผ่าน แมส่ อด บ้านตาก ระแหง ทา่ สองยาง
และจะผ่านเมืองฮอด จอมทอง สันป่าตอง แล้วจึงจะเข้าถึงเมืองเชียงใหม่ ดังน้ัน สินค้าท่ีขนส่ง
ผฝง่่ัาพนมเสา่ ้นทท�ำ าใงหนส้ ้ีจขี ึงอถงึงเมสือน้ ชฝาา้ วยบม้าสี นสี ทนั ี่อสยดู่ใในสเขเลตบ็ ชซุมนิ่ ททาองกดาว้ รยคฝ้าา้ นย้ีดแ้วดยงนซ�ำ้ ่ึงมสนั ่วเนสน้ใหเลญก็ ่เปเน็นอ้ื สลินะคเอ้ายี นดำ�สเขแี ้ดาจงสาดก
บางผืนพบเส้นไหม และไหมทองแทรกอยู่ด้วย ลวดลายจะชัดเจนโดดเด่น อีกท้ังยังเว้นช่องว่าง
(Space) ท�ำ ใหม้ องเหน็ ทอ้ งจกสดี �ำ ไดช้ ดั นยิ มใชส้ เี หลอื ง สม้ และแดง โดยมสี คี ตู่ รงขา้ ม เชน่ สเี ขยี ว
เสชฟี น่ า้ นแำ�้ ทตารลกใคนรปารมมิ านณ�ำ้ เทงินค่ี อ่ เนขยีขวา้ เงขม้มากแเลมะอื่ มเทักยีสบลกบั บักซันนิ่หจลกาใยนๆพสนื้ ีโทดอี่ยน่ืกาสรว่ ปน่ันตไวักซเพน่ิ ม่ินเยิ ขมา้ โไทปนทส�ำ เี ใคหรส้ง่ ขขี รอมึ ง
ตวั ซนิ่ มมี ิตแิ ละรับกบั ตัวจก2 สว่ นของหางสะเปาจะมลี ักษณะเป็นรปู เลขสามไทย (๓) สดี �ำ ลว้ น
และหางสั้น
ลกั ษณะพเิ ศษของลวดลายซน่ิ กลมุ่ ฮอด-ดอยเตา่ คอื ความอสิ ระของลวดลาย มลี วดลาย
หลากหลายและไมย่ ดึ ตดิ กรอบจารตี มากเทา่ กบั ซน่ิ จกแมแ่ จม่ โดยชา่ งทอคดิ ประดษิ ฐข์ น้ึ มาใหมอ่ กี
ท้ังสอดแทรกสีสันตามความพึงพอใจและจริตของช่างทอ ส่วนใหญ่ลวดลายมาจากแรงบันดาลใจ
จากธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั จากการศกึ ษาของ วศนิ อนุ่ จะน�ำ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นผา้ ลา้ นนา
ไดแ้ บง่ ลวดลายเบอ้ื งต้นได้เป็น 3 ประเภท3 ดงั น้ี
(1) ลายมาตรฐาน มีลายหลักคือลายโคม ประกอบด้วยห้องโคม และลายประกอบ
บนล่าง แต่มีลายโคมหลักท่ีสำ�คัญ เช่น ลายโคมเป็ด ลายโคมนกน้อยบินซอน
ลายโคมขันขอเบ็ด เป็นต้น ส่วนลายประกอบ เช่น ลายกาบสัก ลายเข้ียวหมาหลวง
ลายอ่นี ้วิ ซอนทราย ลายขันเกิ่ง เป็นตน้
(2) ลายกมุ หรือลายเครือ เปน็ ลักษณะของการน�ำ ลายใดลายหน่งึ มาจกต่อเนอื่ งซ้�ำ กนั
ไปจนเต็มพ้ืนท่ีหน้าจก ลายกุมน้ีนอกจากจะพบในซิ่นกลุ่มฮอด-ดอยเต่าแล้วยังพบใน
แม่แจ่มด้วย ซึ่งอาจเป็นการเล่ือนไหลของความนิยมลวดลายและเทคนิคเชิงช่าง

1 วศนิ อนุ่ จะน�ำ , ผ้าซิ่นตีนจกในจงั หวดั เชียงใหม,่ 41.
2 เรื่องเดิม, 42.

3 เรอื่ งเดมิ , 42-43.

60 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

รวมทงั้ การแพรก่ ระจายไปพรอ้ มกบั ชาวบา้ นดอยเตา่ ทอี่ พยพหนนี �ำ้ ทว่ มในตง้ั หลกั แหลง่
ใหมใ่ นเขตแมแ่ จม่ กเ็ ปน็ ได้ ลวดลายส�ำ คญั อาทเิ ชน่ ลายหงสเ์ ครอื ลายกดุ กญุ แจ ลายโคม
หัวขอกุด ลายกุดลาวเอ้ ลายกำ�ปุ่งเต็มหน้า ลายเกล็ดงูเหลือม ลายเครือสายฟ้าหล้วง
ลายเครอื จา้ งคุ เปน็ ตน้
(3) ลายอสิ ระ เปน็ ลวดลายทชี่ า่ งทอออกแบบสรา้ งสรรคข์ น้ึ มาใหมม่ กั เปน็ ลวดลายเตม็
หน้าจกโดยไมม่ ีลายประกอบ เช่น ลายโคมหลวง ลายสร้อยนกดอกหมาก ลายทอ้ งหงส์
เครือขอนก เปน็ ต้น
ปัจจุบันมีการรื้อฟื้นการจกซิ่นแบบน้ำ�ท่วม หรือฮอด-ดอยเต่า โดยช่างทอผ้า และครู
ภมู ิปญั ญาด้านการทอผา้ ในชุมชน เชน่ ครูเอกลักษณ์ มสี ัตย์ บ้านสนั บอ่ เยน็ ตำ�บลโป่งท่งุ อ�ำ เภอ
ดอยเตา่ ครฐู าปนยี ์ ไหวยะ บา้ นสนั ตสิ ขุ ต�ำ บลดอยเตา่ แมค่ รแู สงเดอื น เปย้ี ตน๋ั บา้ นทา่ เดอื่ ต�ำ บล
ดอยเตา่ เปน็ ตน้ รว่ มทงั้ แมค่ รชู า่ งทอผา้ ในหลายๆ หมบู่ า้ นรว่ มกนั รอื้ ฟน้ื ซนิ่ ตนี จกแบบฮอด-ดอยเตา่
นี้ให้คงอยู่ และรกั ษารูปแบบไว้มใิ หส้ ูญหาย
(5) ผา้ ซ่ินตีนจกแบบแมแ่ จม่
ผู้คนในปัจจุบันส่วนใหญ่แล้วรู้จักผ้าซ่ินตีนจกของแม่แจ่มและมีการใช้อย่างแพร่หลาย
ในเขตภาคเหนือ เน่ืองจากยังคงมีการสืบทอดองค์ความรู้เชิงช่าง และมีตัวอย่างผ้าซิ่นโบราณ
ให้ศึกษาลวดลาย และทอเลียนแบบรูปแบบด้ังเดิมได้เป็นจำ�นวนมาก อาจเน่ืองด้วยปัจจัยทาง
ภมู ศิ าสตรท์ เ่ี มอื งแมแ่ จม่ ตง้ั อยใู่ นหบุ เขาทแ่ี ฝงเรน้ ไกลจากสายตาโลกภายนอก ตลอดจนการเข้าถึง
ทย่ี ากล�ำ บาก ท�ำ ใหม้ รดกวัฒนธรรม และภูมิปญั ญาลา้ นนาหลากหลายแขนงยงั ไมถ่ ูกกระแสนิยม
สมัยใหม่ถาโถมดังเช่นท่ีเกิดในพื้นที่อื่นๆ และเนื่องจากเป็นพ้ืนท่ีๆ มีทุนทางวัฒนธรรมอยู่อย่าง
หนาแนน่ ประกอบกบั การรณรงคใ์ หม้ กี ารสบื ทอดภมู ปิ ญั ญาเชงิ ชา่ งทอพน้ื บา้ นของแมแ่ จม่ ในชว่ ง
ทศวรรษท่ี 2530 ซง่ึ มผี นู้ �ำ ในกระบวนการรวบรวมและสบื ทอดองคค์ วามรนู้ ้ี เชน่ นสุ รา เตยี งเกตุ
และฝอยทอง สมบัติ เป็นตน้ รว่ มกับชาวบ้านในการร้อื ฟื้นภูมปิ ญั ญา และเกบ็ รวบรวมตัวอยา่ ง
ผ้าซิ่นโบราณของแม่แจม่ เพอื่ ท�ำ การศกึ ษา สืบทอดจนสามารถผลิตได้ในชมุ ชน ทำ�ให้ผา้ ซิ่นตีนจก
กลายเป็นสินค้าหัตถกรรมท่ีข้ึนชื่อของเชียงใหม่ และได้กลายเป็นเอกลักษณ์ของเครื่องแต่งกาย
แบบลา้ นนาแท้ ทที่ กุ วนั นผ้ี คู้ นโหยหาซงึ่ รากเหงา้ ความเปน็ มา และจบั ยดึ หมดุ หลกั ของตวั ตนผา่ น
วัตถุทางวฒั นธรรมทย่ี ังคงหลงเหลอื อยู่ ดังเช่นผา้ ซ่ินตีนจกแม่แจม่ เปน็ ตน้

ตามรอยวถิ ภี ษู า 61

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

เเอตกม็ ลจกันษไมณเ่ หข์ อ็นงพตนื้ นี หจลกงั แสมีดแ่ ำ�จ ม่โคนรน้ั งสครอื า้ กงขารอใงชสเ้ สีสน้่วนฝใา้ หยญทใ่ี่ หคญอื ท่ สบเี กหนัลหือลงาแยดเสงน้ สแ้มลว้ นนำ้��ำ ตไปาลจกแลลายะใมหสี แ้ โี ทนน่น
เยน็ ตัด เช่น สีเขียว มว่ ง ชมพู และฟ้าสอดแทรกเพือ่ สรา้ งมิตขิ องสีและเส้นสาย ลักษณะเด่นอีก
ประการ คือ บรเิ วณท้องลายจกจะเป็นลายหางสะเปาทนี่ ิยมสดี �ำ สลับขาว แตกต่างจากสันป่าตอง
และจอมทองท่ีเป็นสีดำ�ล้วน ส่วนขอของหางสะเปาเป็นรูปคล้ายเลขสามไทย (๓) ไม่กลับหัว
ลวดลายของผ้าซิ่นตนี จกแบบแม่แจม่ มี 2 ลกั ษณะส�ำ คัญ คอื แบบลายโคม และแบบลายกมุ 1

(1) แบบลายโคม
ลายโคม เปน็ ลกั ษณะสว่ นใหญท่ พ่ี บเหน็ ทวั่ ไปในผา้ ซน่ิ ตนี จกของเมอื งเชยี งใหม่ มลี กั ษณะ
เป็นรูปสี่เหล่ียมขนมเปียกปูนเรียงติดกันตลอดผืน เรียกส่วนนี้ว่า “โคม” ถือว่าเป็น
ส่วนประกอบสำ�คัญของลวดลายตีนจกลักษณะนี้ ลายหลักเป็นรูปสามเหล่ียมบนและ
เลป่า็นงรระปู หตววั า่นงกโคนม�้ำแตต้น่ละแอลนั ะขเรอยี ไกลว่ ่าหร“ือขตนั ัว”นแาคละเมรียี “งหเปอ้ ็นงนแถกว”ปเรปะ็นกลอาบยอปยรู่ดะ้ากนอบบนขแนลาดะลเล่า็กง

ของโคมและขัน และต่อดว้ ย “หางสะเปา” ดา้ นล่างสุดบนผนื ผา้ สแี ดง เปน็ เชิงของซ่นิ
ตีนจก แบบแม่แจ่มนน้ั นิยมจกหางสะเปาแบบสขี าวสลับด�ำ

การพิจารณาองคป์ ระกอบของซน่ิ แบบลายโคมนีอ้ าจเปลย่ี นแปลงไปตามการออกแบบ
และจริตเชิงช่างของผู้ทอ เช่น อาจมีการเพ่ิมห้องนกเป็นลายกุดพ่อเฮือนมา หรือหาก
ทอซน่ิ จกใหเ้ ดก็ ใสก่ จ็ ะลดทอนหอ้ งนกลงเพอื่ ใหล้ วดลายกะทดั รดั และมสี ดั สว่ นทเี่ หมาะ
กับเด็ก2 อเปีก็นทตงั้ ย้นงั สนรอ้างกลจวาดกลนา้ีชย่าสงสี ทนั อใจหกแ้ แตบกตบา่แงมแ่แปจล่มกจตะาไอมย่นา่ ิยงไมมใ่ซห�ำ้ ้มแีชบ่อบงกวนั่างดเก้วิดยเขหึ้นตใุนน้ี
ลวดลาย
จงึ สามารถแตกลวดลายไดห้ ลากหลายจากลายหลกั เพยี งลายเดยี ว และมชี อ่ื เรยี กลวดลาย
มากมาย

(2) แบบลายกุม
เป็นลกั ษณะพเิ ศษของซนิ่ ตนี จกแม่แจม่ ที่แตกตา่ งไปจากพ้ืนท่ีอื่น คือ ไมม่ ีองค์ประกอบ
ของโคม ขนั และห้องนก แตม่ ีลวดลายหลกั ลายเดียวเรยี งชดิ ตดิ กนั เป็นกลุ่มตลอดผนื
และตอ่ ดว้ ยหางสะเปาบนเชงิ ซน่ิ สแี ดง จะเรยี กชอ่ื ลายยอ่ ยของลายกมุ โดยมคี �ำ วา่ “กมุ ”
ต่อทา้ ย เชน่ ลายนาคกมุ ลายนกกุม ลายนกนอนกุม ลายละกอนกมุ เป็นตน้ 3

1 เนรุส่ือรงาเดเมิต,ีย2งเ9ก.ต ุ, ลายจกแมแ่ จม่ , (เชยี งใหม่ : ม.ป.พ., ม.ป.ป.), 27.
2

3 เรอื่ งเดิม, 31.

ซิ่นตนี จกแบบร�ชสำ�นักเชยี งใหม่

ลกั ษณะเดน่ คอื การใชเ้ สน้ ไหมเงนิ เสน้ ไหมทอง ดน้ิ เงนิ
ด้นิ ทอง หรือวสั ดุมคี ่าในการจก ตลอดจนใช้เสน้ ไหมใน
การทอตวั และอาจมกี ารยกดอกในตวั ซ่นิ ดว้ ย นยิ มลาย
โคมปดิ ทา้ ยด้วยลายเชิง หรอื “หางสะเปา” สดี าำ ลว้ น
และสว่ นของเลบ็ ซน่ิ เปน็ ผา้ สแี ดง

ทมี่ าของภาพ : ศูนยส์ ่งเสริมศิลปาชพี ระหว่างประเทศ, แหลง่ สืบค้น
ข้อมลู หัตถกรรมในประเทศไทย, สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี 25 กรกฎาคม
2564. (https://archive.sacict.or.th/)

ซน่ิ ตนี จกแบบสันป่�ตอง

ลักษณะสำาคัญของลวดลายผ้าซ่ินตีนจกสันป่าตองคือ
ความโปร่งเบาของลวดลายบนพ้ืนหลังสีดำาที่เห็นชัดเจน
นิยมใช้ฝา้ ยหรือไหมสขี าวในการจก
ลวดลายจกที่พบมากในเขตสันป่าตองมากกว่าพื้นท่ีอ่ืน
คือ ลายเครอื ดอกเอ้ือง

ทม่ี าของภาพ : ศูนยส์ ง่ เสรมิ ศลิ ปาชีพระหว่างประเทศ, แหลง่ สบื คน้
ขอ้ มูลหัตถกรรมในประเทศไทย, สบื คน้ เมือ่ วนั ที ่ 25 กรกฎาคม
2564. (https://archive.sacict.or.th/)

ซิ่นตีนจกแบบจอมทอง

ลกั ษณะเดน่ ของซน่ิ ตนี จกแบบจอมทอง คอื นิยมลาย
หงส์ดำาและนิยมใช้ฝ้ายสีเหลืองสดปั่นไกเข้ากับฝ้ายสีขาว
เพือ่ ทาำ ให้สีเหลืองมคี วามละมุนนุม่ นวล

ทม่ี าของภาพ : ศนู ยส์ ง่ เสรมิ ศลิ ปาชพี ระหว่างประเทศ, แหลง่ สืบค้น
ข้อมลู หัตถกรรมในประเทศไทย, สืบคน้ เม่ือวนั ท่ ี 25 กรกฎาคม
2564. (https://archive.sacict.or.th/)

ซ่นิ ตีนจกแบบแมแ่ จ่ม

เอกลักษณ์ของตีนจกแม่แจ่มน้ันคือการใช้เส้นฝ้ายที่ใหญ่
ทบกันหลายเส้นแล้วนำาไปจกลายให้แน่นเต็มจนไม่เห็น
พนื้ หลงั สดี าำ โครงสรา้ งของสีสว่ นใหญ่ คอื สีเหลือง แดง
สม้ นาำ้ ตาล และมสี โี ทนเย็นตดั

ที่มาของภาพ : ศูนย์ส่งเสรมิ ศลิ ปาชีพระหวา่ งประเทศ, แหล่งสืบค้น
ขอ้ มูลหัตถกรรมในประเทศไทย, สบื คน้ เม่อื วนั ที่ 25 กรกฎาคม
2564. (https://archive.sacict.or.th/)

ซ่นิ ตีนจกแบบฮอด-ดอยเต�่ “ซนิ่ นำ�้ ถว้ ม”

ลักษณะพิเศษของลวดลายซ่นิ กลมุ่ ฮอด-ดอยเตา่ คือ
ความอิสระของลวดลาย มีลวดลายหลากหลายและไม่
ยดึ ติดกรอบจารตี มากเท่ากับซ่ินจกแม่แจ่ม โดยชา่ งทอ
คิดประดิษฐ์ขน้ึ มาใหมอ่ ีกทั้งสอดแทรกสสี นั ตามความพงึ
พอใจและจริตของชา่ งทอ สว่ นใหญ่ลวดลายมาจากแรง
บนั ดาลใจจากธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อมรอบตัว

ทีม่ าของภาพ : ศนู ยส์ ่งเสริมศิลปาชพี ระหว่างประเทศ, แหลง่ สืบคน้
ข้อมูลหตั ถกรรมในประเทศไทย, สืบคน้ เมอ่ื วันท ่ี 25 กรกฎาคม
2564. (https://archive.sacict.or.th/)

ตามรอยวถิ ภี ษู า 67

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ลวดลายของตนี จก

ลา้ นนาเชยี งใหม่

“...บริเวณนอกเมอื งมโี รงงานทอผ้าไหม ภายในโรงงานแหง่ นมี้ หี ญงิ สาวก�ำ ลังทอผ้าสสี ันสดใส
เปน็ ผา้ นุ่งท่มี ีลวดลายสวยงามปักดว้ ยด้นิ เงนิ ดิ้นทอง...”1

ซน่ิ ตนี จกเมอื งเชยี งใหมน่ น้ั มคี วามหลากหลายของลวดลาย สสี นั และวสั ดทุ ใ่ี ชใ้ นการ

ทอทส่ี ะทอ้ นถงึ ความสามารถเชงิ ชา่ ง และสนุ ทรยี ภาพของผทู้ อ ลวดลายตา่ งๆ ทผ่ี า่ นการออกแบบ
จากชา่ งในอดตี ไดส้ ง่ ตอ่ ใหก้ บั ชา่ งรนุ่ ถดั ไปมาหลายชวั่ อายคุ น อกี ทง้ั ยงั มกี ารออกแบบประดษิ ฐใ์ หม่
ตามจินตนาการ และบริบทแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงวัสดุที่ใช้ โดย
เฉพาะฝ้าย และไหมที่จากเดิมเป็นสีธรรมชาติไม่ฉูดฉาด กลายมาเป็นฝ้ายและไหมท่ีมีสีสันสดใส
สง่ ผลใหค้ วามงามทแ่ี สดงออกมาเปลย่ี นแปลงตามไปดว้ ย อาจเรยี กไดว้ า่ เปน็ ความงามคนละแบบ
คนละช่วงสมัยท่ีแปรเปล่ยี นไปตามกาลเวลา
ลวดลายของตีนจกเชียงใหม่นั้น สามารถสรุปรูปแบบที่สำ�คัญท่ีเป็นโครงสร้างหลักที่มี
เหมือนกันในทุกพื้นที่ๆ มีการทอซิ่นตีนจก แต่กระน้ันลวดลายประกอบนั้นมีหลากหลาย ในที่นี้
จะน�ำ เสนอลวดลายเทา่ ทม่ี ีการค้นพบในปจั จุบนั พอสังเขป ดังนี้

(1) ลายโคม เปน็ ลายทม่ี โี ครงสรา้ งหลกั คอื รปู สเ่ี หลย่ี มขนมเปยี กปนู เรยี งตดิ กนั ตลอดผนื
และตัวลายโคมน้ีเองท่ีมีหลายแบบ และมีลวดลายประกอบปลีกย่อยทำ�ให้มีช่ือเรียก
แตกตา่ งกนั ไป เชน่ ลายโคมเชยี งแสน ทแี่ บง่ ยอ่ ยออกเปน็ เชยี งแสนหลวง เชยี งแสนกลาง
และเชยี งแสนนอ้ ย ลายโคมละกอน ทแี่ บง่ ยอ่ ยออกเปน็ ละกอนหลวง ละกอนกลาง และ
ละกอนน้อย ที่แม่แจ่มนิยมลายโคมรูปนก โคมเชียงแสน โคมละกอน โคมเชียงใหม่
ขันแอวอู ขนั สามแอว ลายนกนอน โคมหวั หมอน หงสป์ ล่อย หงสบ์ ้ี เป็นตน้

นอกจากนภ้ี ายในตวั โคมจะมีลวดลายท่นี ยิ ม คอื การประดษิ ฐล์ ายนก หรือหงส์ 2 ตวั
“หลันาหยนน้ากเขก้นิาหนาำ�้ กรว่ันมตท้นี่ว”่า2งรหะรหอื วน่ากงชกนิ่วงนอ�ำ้ ตกน้ขหอรงอืนลกามยีคนนกโคทกู่ หนิ รนือ�ำ้ นลำ้�าตย้นทน่ี จยิ ึงมเรอียกี กหลลาายยนห้ีวน่าง่ึ

คือ ลายขอ หรอื ลายผกั กูด

1 ไมท่ ราบช่อื , “สยามมิตร,” แปลโดย ปภัชกร ศรีบญุ เรอื ง, ใน ฝร่งั ในล้านนา, (กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์, 2561),312.

2 วถิ ี พานชิ พันธ,์ สง่ิ ถกั ทอและผา้ ไท, 21.

68 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ลายประกอบท่ีแทรกอยู่ระหว่างลายโคมที่สำ�คัญ คือ ขัน หรือลายขัน เป็นลาย
รปู สามเหลยี่ มกลบั ดา้ นบนลา่ ง ลายนจี้ ะเลก็ หรอื ใหญข่ น้ึ อยกู่ นั ทวี่ า่ งของลายโคมทเ่ี หลอื
ให้ ลายขนั นเ้ี ปน็ ลายหนงึ่ ทส่ี ามารถบง่ บอกลกั ษณะพเิ ศษหรอื ความแตกตา่ งของลวดลาย
ตามความนยิ มในแต่ละทอ้ งถ่ิน ช่วยใหร้ ทู้ มี่ าของลายน้ันๆ ว่ามาจากท่ใี ด และถ้าพ้นื ท่ี
ของลายขันมีมาก หรือขนาดใหญ่ ก็มักจะมีคำ�ขยายนามต่อท้ายด้วย เช่น
ลายโคมเชยี งแสน แตม่ ีห้องขันท่ใี หญ่ ก็จะเรยี กลาย โคมเชียงแสนหลวง เปน็ ตน้

ห้องนก เป็นส่วนประกอบสำ�คัญและเป็นท่ีนิยมมากในกลุ่มวัฒนธรรมไท-ลาว
และมักพบในซน่ิ จกแบบลายโคมเปน็ หลกั และอาจพบในแบบลายกมุ บางลาย หอ้ งนก
เป็นแถบกรอบของลวดลายท่ีอยู่ด้านบนและล่างของลายเครือเรียงต่อเน่ืองไปตลอด
ความยาวของผา้ มลี กั ษณะเปน็ ลายดอกไมใ้ บไมย้ าวเปน็ แถบ ตวั นกแบน คอและขายาว
หันหนา้ เข้าหากัน

(2) ลายกมุ เปน็ การจกลวดลายหลกั ลายเดยี วตอ่ เนอื่ งเรยี งชดิ ตดิ กนั ทง้ั ผนื ไมม่ กี ารแบง่
หซ่ิน้อตงโนี คจมกกลลาุม่ ยฮขอันด-ดแอลยะเหต้อา่ งหนรกอื ซสนิ่ ่วนน�้ำ ใทหว่ญม่พบในซิ่นตีนจกแม่แจ่ม และบางส่วนของ


(3) หางสะเปา เป็นส่วนสำ�คัญของการจบลายจก มีลักษณะเป็นแถบลายต่อจาก
ห้องนกด้านล่าง ส่วนใหญ่นิยมเส้นสีดำ� หรือดำ�สลับขาว แต่บางท้องที่นอกเขตพ้ืนท่ี
เชยี งใหมอ่ าจเปน็ สแี ดง เหลอื ง เขยี ว ความแตกตา่ งของเสน้ สะเปานส้ี ามารถใชร้ ะบทุ มี่ า
ของลวดลายหรอื ผ้าตนี จกได้ เช่น ท่แี ม่แจม่ นิยมหางสะเปาสีด�ำ สลบั ขาว ส่วนเชยี งใหม่
จะเป็นสีดำ�ล้วนเว้นช่องห่างๆ แต่กลุ่มไทยวนอพยพ เช่นที่ สุโขทัย หรืออุตรดิตถ์
นิยมให้หางสะเปายาวจรดขอบผ้า ในขณะที่ตีนจกลาวไม่นิยมมีหางสะเปา เป็นต้น
บค�ำนวผา่ ิว“นส้ำ�ะ ซเป่งึ อา่ ”าจนสี้ หื่อถมงึาคยถวางึ เมรออื ุดสม�ำ เสภมาบหรู าณงส์ หะรเปือามอหาาจสหมมทุ ารยใถนงึ จเักงารขวอาลงเครตอื 1ิส�ำ เภาทส่ี ะทอ้ น


(4) เล็บซิ่น เป็นส่วนของผ้าตีนจกท่ีต่อจากหางสะเปา นิยมทอพื้นสีแดงเป็นหลัก
ไมม่ ลี วดลาย ความกวา้ งของเลบ็ ขน้ึ อยูก่ บั รสนยิ มของแต่ละท้องถน่ิ

1 วิถี พานิชพันธ์, สงิ่ ถักทอและผา้ ไท, 22.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 69

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

70 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ผา้ ไหมสนั กำ�แพง

รอ่ งรอยประวตั ศิ าสตรค์ วามรงุ่ เรอื งแหง่ เมอื งฝ่งั ตะวนั ออกแมน่ �ำ้ ปงิ
“...ไม่ใชท่ ุกคนท่ที อฝา้ ยเป็นแลว้ จะทอไหมได้ เพราะผา้ ไหมเสน้ เล็ก ตอ้ งอาศัยความประณีต
ใจเย็น ผ้าฝ้ายทองา่ ยกว่ามาก บางคนก็ใช้ขีผ้ ง้ึ ลบู มือใหล้ ื่นกอ่ นทอ...”1

ผ้าทอที่ข้ึนช่ือของเมืองเชียงใหม่ในช่วงต้นพุทธศตวรรษท่ี 26 นั้นอาจกล่าวได้ว่า
เป็นท่ีรู้จักกันอย่างแพร่หลายว่าท่ีผ้าไหมที่ทอท่ีเมืองสันกำ�แพงนั้นมีความงดงาม ละเอียดอ่อน
ประณตี มชี อื่ เสยี งอย่างยิ่ง แมใ้ นปจั จบุ นั น้ผี า้ ไหมสนั ก�ำ แพงก็ยงั เปน็ ทีร่ ูจ้ กั ของคนทั่วไป
ประวัติความเป็นมาของผ้าไหมสันกำ�แพงนั้นสืบเนื่องย้อนไปได้ราวก่อน พ.ศ. 2453
ซึ่งเป็นช่วงที่ยังมีการค้าบนเส้นทางบกจากยูนนานลงมายังเชียงใหม่โดยกองคาราวานพ่อค้าฮ่อ
ซ่ึงมักจะนำ�สินค้าต่างแดนมาขาย และหนึ่งในจำ�นวนสินค้าราคาสูง คือ ไหมน้อยเนื้อดีสีขาว
สะอาด ซึ่งพอ่ คา้ คหบดีชาวเชียงใหม่ เชน่ ตระกลู ของหลวงอนุสารสนุ ทร ตระกลู นมิ มานเหมนิ ทร์
คือ นางกิมฮ้อ นิมมานเหมินท์ ท่ีทำ�การค้าอยู่ย่านท่าแพก็มักจะซ้ือจากพ่อค้าฮ่อเหล่าน้ันท่ี
เดนิ ทางมาและพกั คาราวารบรเิ วณตรอกบา้ นฮอ่ โดยจะน�ำ ไหมดบิ นนั้ สง่ ไปใหช้ า่ งทอทส่ี นั ก�ำ แพง2
ซ่ึงในอดีตนัน้ ชาวบ้านทัว่ ไปไมน่ ยิ มทอผ้าไหมไว้สวมใส่ เนอ่ื งจากราคาสูง หายาก และมกี รรมวธิ ี
การทอท่ียุ่งยากซับซ้อนกว่าฝ้ายมาก จึงเป็นสินค้าสำ�หรับผู้มีอันจะกิน และชนชั้นสูงเท่านั้น
ต่อมาเม่ือช่างทออื่นๆ สามารถหาซ้ือเส้นไหมทอกันเองได้แล้ว และมีคนทอมากข้ึน
นางกิมฮอ้ นมิ มานเหมนิ ท์ ก็เลกิ สง่ ไหมไปทอในทสี่ ุด
การทอผา้ ไหมทส่ี นั ก�ำ แพงเดน่ ชดั ขน้ึ ในปี พ.ศ. 2454 ทเ่ี รม่ิ ทอโดยกลมุ่ ตระกลู พรหมชนะ
ตระกูลเพียรกุศล และอาจเร่ิมดำ�เนินการก่อนที่ตระกูลชินวัตรจะเข้ามา ส่วนไหมที่เป็นวัตถุดิบ
หลักในการทอน้ันเป็นไหมดิบซื้อจากคาราวานพ่อค้าฮ่อ-ไทใหญ่ที่มาค้าขายบริเวณกาดหลวง
ยา่ นทา่ แพ อีกทง้ั ชาวสันก�ำ แพงไมอ่ ยากเล้ียงตัวไหม เพราะเกรงกลวั บาปทตี่ ้องฆา่ ตวั ออ่ นเพื่อเอา
เส้นใย จึงใช้วิธีการซื้อไหมดิบมาทอ3 พ้ืนท่ีหลักสำ�คัญของการทอและจำ�หน่ายผ้าไหมสันกำ�แพง
คือ ท่ีบ้านกาด อำ�เภอสันกำ�แพง ซ่ึงเป็นย่านการค้าสำ�คัญของสันกำ�แพงมาแต่เดิม และมีร้าน
ที่จำ�หน่ายผ้าซ่ินผ้าไหมโดยที่มีการจ้างช่างทอตัวซิ่นไหมลายขวางที่บ้านสันใต้ และว่าจ้างกลุ่ม
ชาวไทยองทอผ้าฝา้ ยสีด�ำ ท�ำ เป็นหวั ซิ่นและตนี ซิน่ 4


12นวฤศมนิ ลอศุ่นรจีกะิจนกำ�า,รผ,า้ กซาน่ิ รตทีนอจผก้าใไนหจมังทห่ีบว้าดั นเชกยีาดงใหอ�ำมเ่,ภ3อ6ส.ัน ก�ำ แพง จังหวัดเชยี งใหม่ ประวตั ิและพฒั นาการตงั้ แต่ พ.ศ.2453-2524, 25.
3 นฤมล ศรกี จิ การ, การทอผา้ ไหมทบ่ี า้ นกาด อ�ำ เภอสนั ก�ำ แพง จงั หวดั เชยี งใหม่ ประวตั แิ ละพฒั นาการตง้ั แต่ พ.ศ. 2453-2524, 5-6.

4 เรอ่ื งเดิม, 7.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 71

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

การค้าผ้าไหมและฝ้ายน้ันเริ่มแพร่หลายและคึกคักในช่วงที่เชียงใหม่เริ่มทำ�การค้ากับ
อังกฤษ เมื่อราว พ.ศ.2372 เมอื่ องั กฤษได้หวั เมืองมอญจากพมา่ แล้วจึงด�ำ เนนิ การทยอยการคา้
เขา้ สเู่ สน้ ทางการคา้ เดมิ ทเ่ี ชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งยนู นานถงึ มะละแหมง่ การทอ่ี งั กฤษเขา้ มาท�ำ การคา้ กบั
เชียงใหม่ไม่เพียงแค่ต้องการค้ากับเชียงใหม่เท่านั้น หากแต่มีเป้าหมายคือการค้าขายกับจีนผ่าน
เส้นทางการค้าสายโบราณน้ี Katherina A.Bowie1 ระบุว่าการค้าผ้าไหมและส่ิงทอระหว่าง
เชียงใหม่กบั อังกฤษนั้น เกิดข้ึนก่อนการท�ำ สนธิสัญญาเบาร่ิงเมอื่ ปี พ.ศ. 2398 เน่ืองจากปรากฏ
หลักฐานว่านอกจากชาวต่างชาติจะทำ�การค้ากับพม่าแล้ว ยังมีการค้ากับทางยูนนานผ่านกอง
คาราวานพ่อค้าฮอ่ ดว้ ย โดยพ่อคา้ ฮ่อจะนำ�ไหมดบิ จากยูนนานมาขายแล้วซอื้ ฝ้ายกลับไป
สอดคล้องกับท่ีปรากฏในหลักฐานที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารของอังกฤษช่ือ
Pu’er Prefecture Gazetteer ทพี่ บว่าชาวยนู นานมีความตอ้ งการฝ้ายเพอ่ื ใชเ้ ป็นวัตถุดบิ หลักใน
การทอผา้ อยา่ งมากจนเปน็ แรกผลกั ดนั ส�ำ คญั ทที่ �ำ ใหพ้ อ่ คา้ จากยนู นานเดนิ ทางมาตดิ ตอ่ ท�ำ การคา้
กับกลุ่มคนไต และเช่นเดียวกับที่กลุ่มคนไตต้องการไหมและเครื่องมือเครื่องใช้ที่มาจากจีน2
ยบนูนั นทากึ นดเงั อกงลนา่ นั้ วมสปีะทรมิอ้ านณใหนเ้ อ้หยน็ แถลงึ ะคควาณุ มภตาอ้ พงตก�ำ่า3ร ฝ ใา้นยขดณบิ ะใทนฝ่ีทา้ อ้ ยงนตน้ั ลปาลดกู มไปีดด้รมิใี นาบณามงพากน้ื ทแซ่ีลง่ึ ะในฝา้เชยยี ทงผี่ใหลมติ น่ในน้ั
พื้นที่ปลูกฝ้ายสำ�คัญก็เป็นเส้นทางผ่านของกองคาราวานพ่อค้าฮ่อจนกลายเป็นชุมทางสำ�คัญของ
เส้นทางการค้าฝ้าย และก็ยังพบว่าฝ้ายท่ีผลิตในท้องถิ่นน้ันก็ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ใน
ท้องถนิ่ ดว้ ยจงึ จำ�เปน็ ต้องพงึ่ พาการนำ�เข้าฝ้าย และซอ้ื ฝ้ายเสน้ สำ�เร็จบ้างแล้ว4
จะเห็นได้ว่าไม่เพียงแค่ไหมดิบเท่าน้ันที่มีการนำ�เข้า แต่ยังมีฝ้ายท่ีสะท้อนให้เห็นถึง
ปริมาณความต้องการวัตถุดิบในการผลิตผ้าในเชียงใหม่ที่มีค่อนข้างสูง และนอกจากไหมจากจีน
แลว้ เชยี งใหมย่ งั น�ำ เขา้ ไหมจากหลวงพระบางในลาวอกี ดว้ ย ซงึ่ มกี ารน�ำ เขา้ เพม่ิ มากขน้ึ เมอ่ื คาราวาน
พอ่ คา้ เปลย่ี นเสน้ ทางการคา้ จากยนู นาน ตดั ผา่ นเขา้ สรู่ ฐั ฉานกอ่ นทจี่ ะเขา้ เชยี งใหม่ มาเปน็ เขา้ ทาง
เวียดนามตอนเหนอื หลวงพระบาง ผ่านทางนา่ นแลว้ เขา้ เชยี งใหม่แทน

1 Bowie, Kathering Ann, “Peasant perspective on the political economy of the northern Thai kingdom of Chiang
Mai in the nineteenth century: Implications for the understanding of peasant political expression.” Doctoral

dissertation, University of Chicago.1988.

2 วราภรณ์ เรอื งศรี, คาราวานและพ่อคา้ ทางไกล : การก่อเกิดรฐั สมยั ใหมใ่ นภาคเหนอื ของไทย และดินแดนตอนในของเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต,้ (เชยี งใหม่ : วนิดาการพมิ พ,์ 2557), 42.
3 Pichon, Louis. A Journey to Yunnan in 1892 Trade and Exploration in Tonkin and Southern China, (Bangkok:
White Lotus Press, 1999), 95, อา้ งถงึ ใน วราภรณ์ เรืองศร,ี กาดก่อเมือง: ชาตพิ นั ธแ์ุ ละคาราวานการคา้ ลา้ นนา,

(4กวรชิุงเญทาพฯม:าแมกตว้ชิ ,นย,คุ 2ท5อ6ง4ขอ),ง1ล5้าน6น. า ประวตั ิศาสตรเ์ ศรษฐกจิ และสามัญชน, (กรงุ เทพฯ : มตชิ น, 2564), 261.

72 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

เมอ่ื ความนยิ มผา้ ไหมมากขน้ึ เรอ่ื ยๆ จงึ ไดก้ ลายเปน็ แหลง่ รายไดส้ �ำ คญั อยา่ งหนง่ึ ของกลมุ่
เจา้ นายเชียงใหม่มาตงั้ แตป่ ี พ.ศ.2414 และพบว่าในปี พ.ศ. 2451 ปรมิ าณการส่งออกผา้ ไหม
ท่ีทอแล้วไปขายต่างแดนมีจำ�นวนน้อยเมื่อเทียบกับผ้าไหมจากยูนนานและเขมร อาจเพราะทอ
เพือ่ ตอบสนองความต้องการภายในมากกวา่ อย่างไรกต็ ามในช่วงทศวรรษ 2440 นัน้ แมว้ า่ ผา้
ไหมมปี ริมาณความต้องการในทอ้ งตลาดสูง แต่พบว่ามีการทอไม่มากนัก คงมีเพียงการทอผ้าไหม
และฝา้ ยในครอบครวั ตน้ ตระกลู เพยี รกศุ ล ซง่ึ อาจเปน็ ไปไดว้ า่ การทอผา้ ไหมนน้ั เปน็ ธรุ กจิ ทล่ี งทนุ สงู
จงึ ไม่ค่อยมีผ้จู ้างทอ
ความเปลี่ยนแปลงสำ�คัญที่ทำ�ให้บ้านกาด อำ�เภอสันกำ�แพงกลายเป็นแหล่งผลิต
ผ้าไหมท่ีสำ�คัญของเชียงใหม่ เกิดข้ึนจากการที่นายอากรเส็ง ชินวัตร ได้เข้ามาตั้งรกรากท่ี
บา้ นกาดสนั ก�ำ แพง เมอื่ ปี พ.ศ. 2453 และเปน็ ผลู้ งทนุ คา้ ผา้ ไหมโดยจา้ งชาวบา้ นทอ1 ท�ำ ใหใ้ นเขต
บ้านกาด สันกำ�แพงน้ันจึงมีตระกูลท่ีเข้ามาดำ�เนินการค้าผ้าไหมหลัก ได้แก่ ตระกูลพรหมชนะ
ตระกูลเพียรกุศล และตระกูลชนิ วตั ร โดยทห่ี มบู่ ้านทีร่ บั จา้ งทอ และกรอเส้นไหมใหก้ บั ผ้คู ้าราย
หลกั เหลา่ นี้ ไดแ้ ก่ บา้ นสนั เหนอื บา้ นสนั ใต้ บา้ นนอ้ ย บา้ นสนั โคง้ เนอ่ื งจากอยไู่ มไ่ กลจากบา้ นกาด
ชา่ งทอสามารถเดนิ ทางไปมาไดส้ ะดวก สว่ นบา้ นสนั ตน้ ธง รบั จา้ งใหก้ บั ตระกลู พรหมชนะ-เพยี รกศุ ล2
รูปแบบและลวดลายของผ้าไหมสันกำ�แพงขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการสำ�คัญ คือ
ความนิยมของทอ้ งตลาด และการออกแบบสรา้ งสรรค์ของเจ้าของกจิ การ ผา้ ทท่ี อในช่วงสมยั น้นั
มีผา้ ซิ่น ผา้ โสรง่ ผา้ พนั ศรี ษะ และผ้าโจงกระเบนซึ่งเปน็ เครือ่ งแต่งกายทขี่ ายไดท้ ้ังไทย และพมา่
ในการทอผา้ ซน่ิ นน้ั มี 2 รปู แบบ คอื แบบผา้ พ้ืน เรยี กวา่ “ผา้ ด้าน” คือผ้าไหมท่ีใชเ้ ส้นไหมพงุ่ สี
เดยี วทอตลอดกนั ไปทง้ั ผนื ไมม่ ลี วดลายใดๆ และ แบบผา้ ซน่ิ หางกระรอก หรอื แบบปน่ั ไก หรอื ซน่ิ ไก
หมายถึงเอาเส้นไหมสีต่างกันมาเป็นสีๆ แล้วทอ ลวดลายของผ้าซ่ินเน้นเป็นแบบลายขวาง มีท้ัง
ลายเต็มตัว ลายสองแลว ลายสามแลว และลายห้าแลว ส่วนซิ่นลายทางลง เรียกว่า “ตาล่อง”
หรือ “ตาแซง” และซิน่ “ยกหลาบ” คอื ซ่ินพน้ื ด�ำ มีลายทางลงเป็นสขี าว เป็นตน้ ส่วนผ้าโสรง่ นนั้
ราคาแพงกวา่ ผา้ ซิน่ นิยมทอทัง้ แบบป่นั ไก่ และแบบลายตาหมากรุก เรียกวา่ “ตาตอบ” สว่ นผา้
ขาวม้าไหมน้ันมีเฉพาะผู้มีอันจะกินท่ีผู้เฒ่าผู้แก่ทอไว้ให้ลูกหลานเมื่อคราวสึกจากการเป็นพระ
เท่าน้นั 3

1 เนรฤ่อื มงลเดศมิ ร,กี 1จิ ก8า. ร, การทอผา้ ไหมทบ่ี า้ นกาด อ�ำ เภอสนั ก�ำ แพง จงั หวดั เชยี งใหม่ ประวตั แิ ละพฒั นาการตง้ั แต่ พ.ศ. 2453-2524, 14.
2

3 เร่ืองเดิม, 27.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 73

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

การเปลยี่ นแปลงทสี่ �ำ คญั เกดิ ขนึ้ อกี ครง้ั เมอ่ื รถไฟเดนิ ทางมาถงึ เชยี งใหม่ ในปี พ.ศ. 2464
พบวา่ มกี ารทอผา้ ไหมจากเชยี งใหมส่ ง่ ไปขายทกี่ รงุ เทพฯ เปน็ จ�ำ นวนมากเนอื่ งจากก�ำ ลงั เปน็ ทน่ี ยิ ม
อยา่ งมากในหมสู่ ภุ าพสตรชี าวกรงุ เทพฯ ผลพวงจากการทร่ี ถไฟมาถงึ เชยี งใหมน่ น้ั คอื การขยายตวั
ของเศรษฐกิจขนานใหญ่ ตลอดจนการเข้ามาถึงของสินค้าต่างแดน และสินค้าที่ผลิตจากโรงงาน
อตุ สาหกรรม ซง่ึ เปลยี่ นแปลงวถิ ชี วี ติ ของชาวเชยี งใหมอ่ ยา่ งมาก รวมทงั้ เกดิ สงั คมของชนชนั้ กลาง
ทม่ี กี �ำ ลังซ้อื ทง้ั ยังเป็นผลบวกใหก้ ับการคา้ ผ้าไหมที่ผู้คนมีก�ำ ลงั ซ้อื มากข้ึน และสามัญชนสามารถ
เขา้ ถงึ สนิ คา้ ทม่ี มี ลู ค่าสงู อยา่ งผา้ ไหมได้ง่ายกว่าแต่ก่อน
เม่ือความตอ้ งการสนิ ค้าเพิ่มมากขึ้น ท�ำ ใหต้ ระกลู ชนิ วตั รปรบั ปรุงกรรมวธิ ีการผลิตเพ่อื
ให้ได้สินค้าปริมาณมากขึ้น โดยได้น�ำ ก่ีกระตุกเข้ามาใช้เมื่อ ปี พ.ศ. 2478 จึงทำ�ให้วิถีการผลิต
ผา้ ไหมในชว่ งทศวรรษ2478 – 2524 เปน็ การทอในโรงงานดว้ ยกกี่ ระตกุ ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ จดุ เปลยี่ น
ที่สำ�คัญของการผลิตผ้าไหมสันกำ�แพงซึ่งทำ�ให้ทอได้เร็วกว่ากี่พื้นเมือง 3-4 เท่าตัว แต่กระนั้น
ในเรื่องคุณภาพความแน่น และความเรียบเนียนเทียบไม่ได้กับกี่พื้นเมือง แต่ด้วยความต้องการ
สินค้ามากข้ึน รูปแบบการทอผ้าไหมของสันกำ�แพงจึงกลายเป็นการทอแบบโรงงานอุตสาหกรรม
สว่ นการทอดว้ ยกี่พ้ืนเมืองน้ันคอ่ ยๆ ลดน้อยถอยลงไป
นอกจากการปรบั เปลย่ี นวถิ กี ารผลติ แลว้ ตระกลู ชนิ วตั รยงั ปรบั เปลยี่ นวตั ถดุ บิ ทจี่ ากเดมิ
ซอ้ื ไหมดบิ จากพมา่ เปลยี่ นมาเปน็ ไหมญปี่ นุ่ ซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ เสน้ เรยี บตเี กลยี วแลว้ ใชเ้ ปน็ เสน้ ยนื
สว่ นเส้นพุ่งใชไ้ หมพนื้ เมอื งท่ีสาวด้วยมอื ลักษณะของเสน้ ไม่เรยี งมเี กลยี วนอ้ ย เม่อื นำ�ไปฟอกและ
ลยอ้ายมซสน่ิีจทะฟแ่ี ปนู ลุม่ กแใหละมม่ เชีปน่่มุ ปผมา้ ซทน่ิ �ำ สใาหมเ้ ปสี็นผเา้อซกนิ่ ลเักจษด็ สณเี ์พจด็เิ ศวษนั ขแอลงะผล้าาไยหนม�ำ้ แไหลละใฯนลชฯ่วงตสอ่ มมยั านก้ีจิ มกกี าารรผคา้ ิดไหค้นม
ไดห้ ยดุ ลงชว่ั คราวในชว่ งสงครามโลกครง้ั ที่ 2 (พ.ศ.2485-2487) รา้ นตา่ งๆ ทอแตผ่ า้ ฝา้ ย ไดเ้ รมิ่
กลับมาทอผา้ ไหมอกี ครัง้ เมื่อสงครามส้ินสดุ ลงแลว้
ชว่ งทศวรรษ 2500-2524 น้นั เปน็ ชว่ งทีผ่ ้าไหมมีการออกแบบลวดลายตา่ งๆ ตาม
สมยั นยิ ม คอื การแตง่ กายแบบไทยตามแนวพระราชนยิ มตามพระราชด�ำ รขิ องสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ
พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ทำ�ให้มีการออกแบบชุดไทยประยุกต์รูปแบบต่างๆ แ ล ะ
ทน่ี ยิ มคอื การทอลายยกดอก และนบั ตง้ั แต่ พ.ศ. 2478-2524 ตลาดของผา้ ไหมขยายตวั ออกไป
อยา่ งกวา้ งขวางตามการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ อกี ทง้ั สว่ นราชการสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารทอ่ งเทย่ี ว
ทน่ี �ำ เอาวฒั นธรรมมาเปน็ ตวั ดงึ ดดู เชน่ ขนั โตกดนิ เนอร์ หรอื การประกวดสาวงามแตง่ กายพน้ื เมอื ง
ตา่ งๆ และสง่ เสรมิ ใหก้ ารประกวดสาวงามแตง่ กายดว้ ยผา้ ไหมสนั ก�ำ แพง สรา้ งกระแสความนยิ มให้
กบั สตรใี นยคุ นนั้ เปน็ อยา่ งมาก ตอ่ มาในชว่ งทศวรรษท่ี 2510 เปน็ ตน้ มา ผา้ ไหมจากอสี านเรม่ิ เขา้
มาตีตลาดเชียงใหม่มากขึ้น ด้วยราคาท่ีถูกกว่า เป็นผ้าซ่ินมัดหม่ีลวดลายสวยงาม อย่างไรก็ตาม
คนท้องถ่ินก็ยังคงนิยมผ้าสันกำ�แพงอยู่เนื่องด้วยผ้าไหมสันกำ�แพงเรียบเนียนกว่า และทอด้วย
ลวดลายที่มคี วามเป็นสากลมากกวา่ ของอสี านท่เี ปน็ ลวดลายโบราณ

74 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ภาพ : ความนิยมผา้ ไหมสนั กำ�แพงในอดตี
ทม่ี า : http://www.buason.com/, สบื คน้ เมื่อวนั ที่ 10 กรกฎาคม 2564.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 75

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

หลังจากทศวรรษท่ี 2500 เปน็ ต้นมา สงั คมเชียงใหมม่ คี วามเปลีย่ นแปลงเขา้ ส่กู ารเปน็
สงั คมแบบทนุ นยิ มสมยั ใหม่ กระแสวฒั นธรรมยคุ ใหมไ่ หลบา่ เขา้ มายงั เมอื งเชยี งใหมค่ รอบคลมุ เกอื บ
ทกุ มิติของชีวิต ไมว่ ่าจะเป็นดา้ นเศรษฐกจิ การค้า สนิ คา้ จากโรงงานอุตสาหกรรม สนิ คา้ ส�ำ เร็จรูป
ประเภทต่างๆ การค้าขายที่มุ่งเน้นกำ�ไรและเร่งอัตราการผลิตเพ่ือตอบสนองความต้องการของ
ตลาด และคนรุน่ ใหม่ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเขตตวั เมอื งและชมุ ชนทอ่ี ยรู่ ายรอบเสน้ ทางการคา้ สายใหม่
น่ันคือ เส้นทางสายรถไฟ และรถยนต์ สามารถเข้าถึงสินค้าและบริการสมัยใหม่ได้ง่ายกว่าพื้นท่ี
ห่างไกลอื่นๆ ทำ�ให้ค่านิยมในการบริโภคสินค้าสำ�เร็จรูป และแฟช่ันแบบตะวันตกตามกระแส
นิยมเข้ามาแทนที่การแต่งกายแบบพื้นเมือง ประกอบการทางราชการรณรงค์ให้มีการปฏิรูป
ทางวัฒนธรรมเพื่อให้สังคมไทยเข้าสู่สังคมทุนนิยมสมัยใหม่ รณรงค์ให้แต่งกายแบบสากลนิยม
ลดเลกิ ธรรมเนยี มปฏิบตั ิด้งั เดมิ ทีท่ างราชการมองว่าล้าหลงั และนโยบายอน่ื ๆ อกี มากมาย ทำ�ให้
การผลติ ผา้ ไหม และการคา้ ผ้าไหมสันก�ำ แพงต้องปรบั ตัวเพ่อื ความอยรู่ อดของธรุ กิจ มีตง้ั แตก่ าร
ปรบั ปรงุ ลวดลายและรปู แบบของผา้ ซนิ่ ใหม้ คี วามทนั สมยั การแปรรปู ผา้ ไหมใหเ้ ปน็ สนิ คา้ หตั ถกรรม
ประเภทอ่ืนๆ เช่น ผ้าคลุมไหล่ กระเป๋าถือต่างๆ อีกทั้งเน้นการผลิตท่ีสามารถทำ�ได้จำ�นวนมาก
เพ่ือให้ราคาสินค้าถูกลง คนท่ัวไปสามารถซ้ือหาได้ ในขณะที่ผ้าไหมท่ีทอด้วยก่ีพ้ืนเมืองอย่าง
ประณตี กลบั ราคาสงู มากมเี พยี งกลมุ่ ชนชนั้ สงู และคหบดผี มู้ อี นั จะกนิ เทา่ นนั้ ทสี่ ามารถจา้ งทอและ
มไี ว้ในครอบครองได้ ผา้ ไหมสนั ก�ำ แพงทีท่ อกพี่ ้นื เมืองดว้ ยลายโบราณกลายจงึ กลายเปน็ สินค้าหา
ยากและมีราคาแพง ท�ำ ให้ผ้าไหมสันกำ�แพงรนุ่ เกา่ คอ่ ยๆ เลอื นหายไปจากท้องตลาด
การเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่ภาครัฐได้เข้ามาสนับสนุนเมืองเชียงใหม่ตาม
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาตติ ัง้ แตช่ ่วงทศวรรษ 2500 เป็นต้นมา อ�ำ เภอสันก�ำ แพง
ก็ได้กลายเป็นแหล่งท่องเท่ียวสำ�คัญของนักท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและชาวต่างชาติในแง่ของ
แหล่งท่องเท่ียวงานหัตถกรรม ไม่ว่าจะเป็นงานหัตถกรรมร่มบ่อสร้าง งานเซรามิก และโรงงาน
ผา้ ไหมทข่ี น้ึ ชอื่ แตก่ ระนนั้ งานหตั ถกรรมทอ้ งถนิ่ เมอื งสนั ก�ำ แพงกผ็ า่ นชว่ งเวลาเฟอ่ื งฟแู ละรว่ งโรย
ไปตามเงอื่ นไขปจั จยั ทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื งทผี่ นั ผวนอยตู่ ลอดเวลา การคา้ ผา้ ไหมสนั ก�ำ แพง
ก็พยายามสานต่อและปรับตวั เพอ่ื ความอย่รู อดตลอดช่ัวระยะเวลาเหลา่ นั้น
การอนุรักษ์ฟื้นฟูภูมิปัญญาด้านการทอผ้าไหมสันกำ�แพงโดยครูภูมิปัญญา
และนักอนุรักษ์ท้องถิ่นได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการ โดยเฉพาะอย่างย่ิง
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรมได้ร่วมกับท้องถิ่นจัดต้ังศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช
พิพิธภัณฑ์ผ้าไหมสันกำ�แพง ในปี พ.ศ. 2555 โดยมีนักอนุรักษ์และครูภูมิปัญญาท้องถิ่น
คือ นายอนันต์ สุคันธรส ได้ใช้บรเิ วณทีพ่ กั อาศัยของตนเปิดเป็นพพิ ธิ ภณั ฑ์ และศนู ย์เรียนรูเ้ ก่ยี ว
กบั ผา้ ไหมสนั ก�ำ แพงใหผ้ สู้ นใจทวั่ ไปเขา้ ชมไดโ้ ดยไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ย นบั วา่ มสี ว่ นชว่ ยในการอนรุ กั ษแ์ ละ
สืบทอดภูมิปัญญาอันทรงคุณค่าของเมืองสันกำ�แพงท่ีมีอายุยาวนานกว่าร้อยปีแห่งน้ีไว้อย่างมาก

76 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ภ า พ ซ้ า ย : ฉ ล อ ง พ ร ะ อ ง ค์
ผ้ า ไ ห ม สั น กำ � แ พ ง ข อ ง ส ม เ ด็ จ
พระนางเจา้ สริ กิ ติ พ์ิ ระบรมราชนิ นี าถ
พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง
ที่มา : http://www.buason.com/,
สบื ค้นเมอ่ื วนั ท่ี 10 กรกฎาคม
2564.
ภาพขวา: อาภัสรา หงสกุล นางงาม
จกั รวาลคนท่ี14 พ.ศ. 2507 สวมผา้
ซ่ินไหมสันกำ�แพงเป็นเครื่องแต่ง
กายประจำ�ชาติในการประกวด
ท่มี า : https://www.face-
book.com/boraannaanma
สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 10 กรกฎาคม
2564.

ภาพ : โรงงานทอผา้ ไหมทีส่ ันกำ�แพงในอดตี
ท่ีมา: https://www.flickr.com/photos/canada-
good/,สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 10 กรกฎาคม 2564.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 77

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ภาพบน : การทอผ้าฝา้ ยลวดลายแบบสนั ก�ำ แพงในปจั จุบนั
ภาพล่าง (ซา้ ย) : การจำ�ลองการแต่งกายตามสมยั นิยมของเมืองสันก�ำ แพงในอดตี
ภาพล่าง (ขวา) : ผา้ ทอสนั กำ�แพงแบบเป็นผนื สำ�หรับตัดผ้าซิน่ ในปัจจบุ ัน
ท่ีมา: facebook page : ศูนยว์ ฒั นธรรมเฉลมิ ราช พิพิธภณั ฑ์ผา้ ไหมสนั ก�ำ แพง,
สืบค้นเม่ือวนั ที่ 10 กรกฎาคม 2564.



ตามรอยวถิ ภี ษู า 79

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ภษู าแหง่ ชาตพิ นั ธ์ุ

อตั ลกั ษณ์ และตวั ตนบนผนื ผา้

“...พวกกะเหรี่ยงผ้ชู ายไว้ผมยาวเหมอื นพวกพม่า แตแ่ ทนทีจ่ ะม่นุ ไวบ้ นศีรษะ
กลบั มุน่ ไวข้ ้างหขู วา ผมข้างหน้าเอาลงมาปรกหน้าผาก บางทีกใ็ ชผ้ ้าแดงโพกศีรษะ

และผูกชายซอ่ นไวก้ ับขมวดผม...”1

ชาติพันธุ์มเมาืออยงู่รเชวียมงกใันหมใน่เปแ็นอ่งเมทือี่รางบแลหุ่ม่งแอมา่รนย้ำ�ปธริงรแมหท่งน่ีห้ี ลนออมกรจวามกเจอะาเผปู้ค็นนผืนจาดกินหขอลงาชกาหวลโยานย
หรอื ชาวยวนทเี่ ขา้ มาตง้ั หลกั แหลง่ เมอ่ื กวา่ 700 ปกี อ่ นแลว้ ในอดตี กาลกอ่ นหนา้ นน้ั เปน็ ถนิ่ ทอี่ ยขู่ อง
“ชาวลัวะ หรือละว้า” ซึ่งเป็นชนเผ่าโบราณพูดภาษาตระกูลออสโตรเอเชียตก กลุ่มมอญ-เขมร
ทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ บั กลมุ่ คนไททอี่ พยพเขา้ มาทหี ลงั อยา่ งยาวนานทง้ั มติ คิ วามเชอื่ สงั คมวฒั นธรรม
ต่างๆ นอกจากนี้ยังมีชนกลุ่มใหญ่ท่ีกระจายตัวอยู่บริเวณชายแดน เชิงเขาและรอยต่อพรมแดน
ระหว่างไทย-พมา่ คือ “ชาวกะเหรยี่ ง หรือปกาเกอะญอ” ตลอดจนชนเผ่าอ่นื ๆ ท่อี พยพโยกยา้ ย
เข้ามาตั้งรกรากในดินแดนล้านนาแห่งนี้เมื่อไม่กี่ช่ัวอายุคนที่ผ่านมา ซึ่งชนกลุ่มต่างๆ ล้วนเป็น
พลเมืองของเมืองเชียงใหม่ และเป็นฟันเฟืองหน่ึงของการหมุนไปของเศรษฐกิจ สังคม และ
วฒั นธรรมในปัจจุบัน ดงั นน้ั ภมู ิปญั ญาเรื่องผ้า และเครอ่ื งนงุ่ ห่มของกล่มุ ชาติพนั ธต์ุ า่ งๆ ลว้ นเปน็
สว่ นหนึง่ ของภมู ิปญั ญาอนั ไพศาลของดินแดนล้านนาเชยี งใหม่แห่งนดี้ ้วยเชน่ กัน

ผา้ ของกลมุ่ ชาตพิ นั ธล์ุ วั ะ
ค วามเปน็ ม“าลอวั ยะ่า”งยลาะวเวนอื าะนลเะปวน็ า้ กเลลอมุ่ เชวนอื พะื้นเปเมน็ ือชงอื่ ทเรี่อยี ากศกัยลอมุ่ ยชใู่ นาตพพิ ้นื นั ทธ่ีล์ุ (มุ่ Eนth้�ำ nตo่างnyๆmก)รหะนจงึ่าทยม่ีตปีัวอระยวู่ในตั ิ
เขตภาคเหนือของไทย ท้งั เชียงใหม่ ล�ำ ปาง เชยี งราย น่าน แพร่ พะเยา เชยี งตุงของพม่า รวมถึง
กลมุ่ ทก่ี ระจายตวั อยใู่ นพนื้ ทเี่ ขตภาคกลางอกี หลายแหง่ ในแงข่ องภาษา นกั ภาษาศาสตรจ์ ดั ใหก้ ลมุ่
คนลัวะอยใู่ นกล่มุ ภาษามอญ – เขมร ตระกูลออสโตรเอเชยี ตคิ (Austro Asiatic)
หญิงชาวลัวะเป็นกลุ่มท่ีรักษาวัฒนธรรมการแต่งกายตามชาติพันธ์ุไว้ค่อนข้างชัดเจน
โดยหญิงชาวลัวะจะสวมเส้ือทรงกระบอกแขนสั้นสีขาวหรือสีดำ� ตรงกลางด้านหน้าและหลังมี
รอยตะเข็บยาว (ปปอลเาตยะ๊ แ)ขสนขี ขาลวิบหดร้วอื ยสผฟี ้าา้ สหีแรดอื งน�้ำนเุ่งงผนิ ้าแถลุงะททรแี่งกขรง้ สะบวมอปกลสอีดกำ�ผลา้าย(ปมอัดซหวมง่ีส)ีแสดนี ง�้ำ สเงลนิ ับเขขม้าว2
สวมปลอกแขน

12ภคาารณล์ ุพบงอ็ศค์ จ,งชทาอ้ นงสถทิน่ิ โสธย,า“ม“ยผคุ า้ พชรนะเพผทุา่ ใธนเจลา้้าหนลนวาง”,:แรปูปลแโบดบย เสฐยี ร พนั ธรงั ส,ี อมั พร ทขี ะระ, (กรงุ เทพฯ : โสภณการพมิ พ,์ 2562), 99.
of Culture journal, 20 ฉบับที่ 1 (2563) : 37. ความสวยงาม และคุณค่าของหัตถกรรมคนชายขอบ,” Walailak Abode

80 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ส่วนผู้ชายจะสวมเส้ือแขนทรงกระบอกยาวไม่มีลวดลาย ไม่ปิดหน้าอก สวมกางเกงทรงกระบอก
สขี าวทป่ี ลายขามรี อยปกั ดว้ ยดา้ ยสสี ม้ และน�ำ้ เงนิ หรอื เขยี ว สะพายถงุ ยา่ ม และสวมเครอ่ื งประดบั
เปน็ สรอ้ ยลกู ปดั สขี าวสลบั น�้ำ เงนิ มพี หู่ อ้ ยประดบั พาดไวท้ ไี่ หลดา้ นใดดา้ นหนงึ่ นยิ มโพกหวั ดว้ ยผา้ 1

ภาพบนซา้ ยและขวา : สตรีชาวลวั ะ และหญงิ ชราชาวลวั ะกำ�ลงั ทอผา้
ท่มี าของภาพ : https://www.facebook.com/historyandcultureofLawapeople, สืบค้นเมืองวันที่ 27
กรกฎาคม พ.ศ. 2564.
ภาพลา่ งซา้ ยและขวา : หญิงชาวลัวะกำ�ลังทอผา้ และการแต่งกายของหญงิ และชายชาวลวั ะ
ท่ีมาของภาพ : https://www.facebook.com/historyandcultureofLawapeople, สบื ค้นเมืองวันที่ 27
กรกฎาคม พ.ศ. 2564.

1(เชเคียรงือใหขมา่ ย่ :สรื่อว่ ชมนเจเผรา่ญิ พปื้นรเน้ิ ม,ือ2ง5แ6ล2ะส),ภ5า5ชน. เผ่าพ้นื เมอื งแห่งประเทศไทย, เครือ่ งแตง่ กายกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุในประเทศไทย,

ตามรอยวถิ ภี ษู า 81

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

82 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ผา้ ของกลุ่มชาติพนั ธ์ุกะเหร่ยี ง

ชนเผา่ กะเหรย่ี งในประเทศไทยแบ่งออกเปน็ 2 กลมุ่ ใหญ่ คอื กะเหรี่ยงสะกอ (S’kaw)
หรอื ปกาเกอะญอ กบั กะเหรยี่ งโป (Pwo) และ 2 กลมุ่ ยอ่ ย คอื คะยะ (Kayah) กบั ตองสู หรอื ปะโอ
(Pa-O) แม้วา่ จะมีวฒั นธรรมหลกั ๆ คลา้ ยคลึงกนั แต่ว่าการแต่งกายของแต่ละกลมุ่ จะมีลกั ษณะ
เฉพาะเปน็ ของตนเองที่แตกตา่ งอย่างเหน็ ได้ชัด ชาวลา้ นนามักเรียกชาวกะเหรี่ยงวา่ “ญาง” และ
อาจเรยี กตา่ งไปตามแต่ละท้องท่ี เช่น ญางแดง ญางขาว ญางเปียง ญางกะเลอ1 เป็นตน้
ชาวกะเหรี่ยงท่ียังคงสวมเครื่องแต่งกายประจำ�ชนเผ่าน้ันปัจจุบันได้แก่ กลุ่มกะเหร่ียง
สะกอ และกะเหรี่ยงโป เป็นหลัก ผ้าทอกะเหรี่ยง มีลักษณะเป็นผ้าทอหน้าแคบ ท่ีใช้เคร่ืองมือ
ทอแบบห้างหลัง หรือท่ีเรียกว่า ก่ีเอว ผ้าท่ีทอจะถูกกำ�หนดความต้องการใช้งานต้ังแต่เร่ิมต้นทอ
เช่น ผ้าทอสำ�หรับเส้ือ ผา้ ทอส�ำ หรบั ผ้าซ่ิน ทอสำ�หรับผา้ โพกศรี ษะ หรือผ้าทอส�ำ หรบั ย่ามเปน็ ต้น
ลวดลายบนผืนผ้าของชาวกะเหร่ียงมักเป็นลายส่ีเหลี่ยมขนมเปียกปูนรูปแบบต่างๆ ลายดอกไม้
ลายกากบาท ลายเส้นตรง เป็นต้น ในสังคมชาวกะเหร่ียงมีจารีตของการแต่งกายท่ีชัดเจน และ
เคร่งครัด โดยเฉพาะอย่างย่ิงเด็กสาว และหญิงสาวท่ียังไม่ได้ออกเรือนต้องสวมชุดยาวกรอมเท้า
สขี าวที่ส่ือถงึ พรหมจรรย์ และความบริสทุ ธิ ์ หากแตง่ งานออกเรือนแลว้ ตอ้ งเปล่ียนมาสวมใส่เส้ือ
และผ้าถุงคนละท่อนเทา่ นัน้ ห้ามกลับไปสวมใส่ชดุ ยาวสขี าวอกี 2
การทอผ้าของกะเหรี่ยงมี 2 ประเภทหลัก คือ การทอธรรมดาหรือทอลายขัด กับ
การทอเปน็ ลวดลาย ซ่งึ การสร้างลวดลายบนผืนผ้าของชาวกะเหรี่ยงมีหลายรปู แบบ ได้แก่
(1) ลายในเนื้อผ้า : ลวดลายจะปรากฏเป็นเส้นนูนตามแนวตั้ง หรือแนวนอนก็ได้
การก�ำ หนดลายจะท�ำ พรอ้ มกบั การเรยี งดา้ ย การทอวธิ นี น้ี ยิ มใชท้ อเสอื้ ผชู้ ายสงู อายขุ อง
เผ่ากะเหรยี่ งสะกอ
(2) ลายสลับสี : เป็นการทอแบบลายขัดธรรมดาแต่แทรกดว้ ยด้ายสีตา่ งๆ สลับเขา้ ไป
ขณะเรยี งดา้ ยยนื หรอื เมอ่ื สอดดา้ ยขวาง บางครง้ั จะมกี ารทอสลบั สเี ปน็ ลายนนู ในเนอ้ื ผา้
เชน่ บริเวณเหนืออกของชดุ เด็กหญงิ กะเหรย่ี งสะกอ และผา้ ถงุ ของหญงิ กะเหรีย่ งคะยา
เป็นตน้
(3) ลายจก : การทอลายจกนนี้ ิยมในการทอย่ามของชาวกะเหรยี่ งโป โดยเฉพาะยา่ ม
ของชายหนมุ่ จะมกี ารประดษิ ฐล์ วดลายสวยงามเปน็ พเิ ศษซงึ่ ทอโดยหญงิ สาวทพี่ งึ ใจใน
ตัวชายหนุ่มนน้ั และมอบให้เปน็ ของแทนใจ นอกจากนี้ยงั ใช้ทอลวดลายบรเิ วณไหล่ของ
ชุดหญิงสาวและเสอ้ื ผู้หญิงที่แต่งงานแลว้
1 กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวสั ดิการสังคม, ผ้าชาวเขา, (กรงุ เทพฯ : ร�ำ ไทยเพรส, 2543), 15-16.

2 เรอ่ื งเดมิ , 17.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 83

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

(4) ลายขิด : เปน็ การทอลักษณะลายแบบยกดอกในตวั โดยก�ำ หนดสตี ามด้ายยืน และ
การแยกด้ายด้วยวิธีการนับเส้นเป็นช่องๆ และสอดไม้หน่อสะยาเข้าไปเป็นตัวนำ�
ชาวกะเหรีย่ งสะกอ และกะเหร่ียงโปนิยมทอผ้าลายขดิ เพือ่ เยบ็ เป็นผา้ ถงุ ส�ำ หรับหญิงที่
แตง่ งานแล้ว
(5) การทอลวดลายโดยแทรกวสั ดอุ นื่ ประกอบ เชน่ การทอประกอบลกู เดอื ย และการ
ทอประกอบพู่หรือกระจุกด้าย เปน็ ตน้

ภาพบน : การแตง่ กายของชาวกะเหรย่ี งในปจั จบุ ัน
ทม่ี าของภาพ : ครูอาสา ศศช.บา้ นยไู นท์ | Ep.23 ,https://storylog.co/,สบื ค้นเมอ่ื วันที่ 27 กรกฎาคม 2564.
ภาพล่าง : การทอผา้ พ้นื ลายขดั ธรรมดา และทอลายสลบั สีของชาวกะเหรี่ยงด้วยกเ่ี อว
ที่มาของภาพ : ประสงค์ แสงงาม (เจ้าของภาพ)





86 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

นอกจากนี้ชาวกะเหร่ียงยังมีการตัดเย็บ และการปักประดิษฐ์ลวดลายต่างๆ ซ่ึงโดย
นส�ำ่้วเนตาใ้ ห) ญลา่เปย็นกละวปดอลจาื้อยเ(ลลียานยแขบาแบมธรงมรมุมช) าลตาิ ยเชโ่จน้เปลา(ยลสาพิ ยอผีเ(สลาื้อย)ตวัลบางุ้ย)พละาโยดทะลี กคู ิ ะ(ล(ลาายยงกูเหระลบืออมก)
ลายเกอเบหมื่อ(ลายผีเสื้อตัวเมีย) และลายเกอเบควา (ลายผีเสื้อตัวผู้) เป็นต้น ชาวกะเหรย่ี ง
กน็ ยิ มท�ำ ผา้ มดั หมเ่ีชน่ กนั โดยเฉพาะผ้าซ่ิน โดยชาวกะเหร่ียงสะกอ และกะเหรี่ยงโปจะเรียกผ้าซ่ิน
ท่ีทอสลับลวดลายมัดหม่ีว่า “หน่ีคิ หรือนิไค”1 จะพบในผ้าซ่ินของหญิงที่แต่งงานแล้วเท่านั้น
ผ้าซ่นิ ของหญงิ ชาวกะเหรีย่ งประกอบดว้ ย 3 ส่วนสำ�คญั คือ หน่คี ิ - หน่แี มะ – หน่ีโตะ๊
ทจี่ ะตอ้ งปรากฏในผา้ ซนิ่ ของหญงิ สาวชาวปกาเกอะญอทกุ ผนื ถอื เปน็ สง่ิ ทย่ี ดึ ถอื ปฏบิ ตั แิ ละสบื ทอด
กนั มาแตค่ รงั้ โบราณกาล หนคี่ ิ คอื สว่ นลวดลายหลกั ของตวั ผา้ ซน่ิ ทเ่ี กดิ จากเสน้ ฝา้ ยทน่ี �ำ มามดั ยอ้ ม
สใหดี ้เ�ำ กหดิ รเอืปสน็ นีล้�ำวเดงลินายส่วหนนห่ีแนมะีโ่ ตคะ๊ ือกส็ค่วอื นสท่วน่เี ปท็น่ที แอถดบว้ สยพี เสื้น้นอดย้าู่บยรหิเวลณากเชสิงีแผท้ารซกน่ิ เทป้ัง็นร2ว้ิ ปดรา้ ะนกอนบยิ อมยทู่ทอว่ัดผว้ ืนย
ผา้ ซน่ิ มกั นยิ มใชม้ ากตรงสว่ นของชายผา้ ซน่ิ กลา่ วกนั วา่ หากผา้ ซนิ่ ผนื ใดขาดองคป์ ระกอบใดไปแม้
เพยี งองคป์ ระกอบหนง่ึ กจ็ ะถอื วา่ ผา้ ซนิ่ ผนื นนั้ เปน็ ผา้ ซน่ิ ชนเผา่ กะเหรยี่ งปกาเกอะญอทไี่ มส่ มบรู ณ์
ผทู้ ี่สวมใสผ่ า้ ซน่ิ ท่ีไมส่ มบูรณ์ถือว่าเป็นคนที่ไม่ยึดถอื ประเพณวี ฒั นธรรมของชนเผา่

ผ้าของกลุม่ ชาติพันธุม์ ง้

ในประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธ์ุม้ง 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ ม้งขาว และม้งลาย มีจำ�นวน
ประชากรประมาณร้อยละ 14.93 ของจำ�นวนประชากรชาวเขาทง้ั หมดในประเทศไทยซง่ึ ถือว่า
มปี ระชากรมากเปน็ อนั ดบั สองรองจากชนเผา่ กะเหรย่ี ง มโี ครงสรา้ งการปกครองโดยระบบตระกลู แซ่
ซงึ่ มที งั้ หมด 18 ตระกลู กลมุ่ ชาวมง้ ในจงั หวดั เชยี งใหมส่ ว่ นใหญต่ งั้ ถนิ่ ฐานอยใู่ นเขตดอยสเุ ทพ-ปยุ
ตำ�บลสุเทพ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และชุมชนม้ง บ้านแม่สาน้อย อำ�เภอแม่ริมจังหวัด
เชียงใหม่ บ้านผานกกก ตำ�บลโป่งแยง อ�ำ เภอแมร่ มิ จงั หวดั *เชยี งใหม่ เปน็ ตน้ ซ่ึงในแต่ละชมุ ชน
กม็ ีเอกลักษณ์ในการผลิตผา้ เป็นของตนเอง อีกท้งั ยงั มีชา่ งผลติ ผา้ ในชมุ ชนทยี่ ังคงผลติ และสง่ ต่อ
องคค์ วามร้ใู ห้กบั สมาชิกในชุมชน เชน่ คณุ สุดาวรรณ เพชรชรารกั ษ์ และคณุ นิตยา หวงั วนกลุ
ผู้ผลิตผ้าปักม้งสุเทพ-ปุย และคุณวิลาวัลย์ กรกีรติการ ชุมชนแม่สาน้อย อำ�เภอแม่ริม เป็นต้น

เครื่องแตง่ กายที่สำ�คัญของชนเผ่าม้งทัง้ หญงิ และชาย ดังนี้
ชาวมง้ ผชู้ ายจะสวมเสอ้ื ทเ่ี รยี กวา่ “ชอว” กบั กางเกง ทเ่ี รยี กวา่ “จอื ” พรอ้ มผา้ คาดเอว
ท่เี รียกวา่ “ร้งั ” และผา้ โพกศรี ษะ สว่ นหญิงชาวม้งจะแตง่ กายดว้ ย เสื้อ (ชอว), กระโปรง (ตะ๊ ),
หมวก, ผา้ คาดเอว (ผ้าคาดเอวส�ำ หรับสุภาพสตร)ี เรียกวา่ “เฉ๋”

1 กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวสั ดิการสังคม, ผ้าชาวเขา, 44.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 87

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ภาพบน : ผา้ เขียนเทียนของชาวม้งบา้ นแมส่ านอ้ ย อ�ำ เภอแม่รมิ และสตรมี ้งแตง่ กายด้วยชุดประจำ�ชนเผ่า
ทีม่ าของภาพ :ความผูกพนั ของ ‘เส้นใยกญั ชง’ กับชาวเผา่ ม้งแม่สานอ้ ย, https://news.mthai.com/สบื ค้นเมอื่
วันที่ 27 กรกฎาคม 2564.
ภาพลา่ ง : การทำ�ผ้าเขยี นเทียนของชาวม้ง
ที่มาของภาพ : https://www.matichon.co.th/, สบื ค้นเมื่อวันท่ี 27 กรกฎาคม 2564.

88 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

พร้อมตกแต่งด้วยเคร่ืองประดับ เช่น สร้อย, เข็มขัด, กำาไล เป็นต้น ในช่วงเทศกาลปีใหม่ม้งน้ัน
หญงิ ชาวมง้ จะมเี ครอ่ื งแตง่ กายพเิ ศษทแี่ ตง่ ในเทศกาลสาำ คญั คอื ฉาหลวั หรอื ผา้ คาดเอวแถบกวา้ ง
ปกั ดว้ ยลวดลายเรขาคณติ สวยงาม
นอกจากนี้แล้ว ผ้าที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของชาวม้งอีกประเภทคือ ผ้าอ้อม
หรอื ผา้ อมุ้ เดก็ ทเี่ รยี กวา่ “อน้ั ยา” ใชส้ ะพายหลงั สาำ หรบั มดั อมุ้ เดก็ ทารก นอกจากน ้ี ชาวมง้ ยงั มผี า้
ที่ใช้ในพิธีกรรมศพ หรือเป็นเครื่องแต่งกายในพิธีกรรมศพทั้งชายและหญิง ได้แก่
เสอ้ื คลมุ ศพ เรยี กวา่ “ชอล็อป” พร้อมผ้าปูรองศพบริเวณศีรษะผู้เสียชีวิต พร้อมท้ังพวงหรีด
ประจำาตัวผู้เสียชีวิต เรียกว่า “น๊องยง” ใช้สำาหรับประดับตกแต่งเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของผู้ตาย 1
เอกลักษณ์ท่ีโดดเด่นของผ้ากลุ่มชาติพันธ์ุม้ง คือ ก�รผ้�ปัก (Embroidery)
และผ้�เขยี นเทียน (Batik)

ก�รปักผักม้ง : เปน็ การปกั ด้วยดา้ ยสลบั สี เปน็
ลายไขว ้ ปกั ทบึ เดนิ เสน้ ลกู โซ ่ และการตดั ปะผา้ เปน็ ลวดลาย
ตา่ งๆ ซงึ่ ในการประดษิ ฐล์ วดลายนน้ั มวี ธิ กี ารตา่ งๆ อาทเิ ชน่
การเย็บแบบด้นถอยหลัง (ก๊าโก้ง) การเย็บเดินเส้นเป็น
ลายลูกโซ่ (จ้า) การใช้ผ้ามาเย็บประดับเป็นร้ิวเล็กๆ (ซ้า)
การปักทึบ (เซีย) การตัดผ้าปะเป็นรูปต่างๆ (เซอป้า)
การเยบ็ เปน็ ปม(จอ่ สอ) และการปกั แบบกากบาท (บ้านจู)
ซึ่งแต่ละเทคนิคก็มีลวดลายหลากหลายพร้อมท้ังชื่อเรียก
แตกตา่ งกนั ออกไป ชาวม้งใช้ทักษะการปักเพ่ือตกแต่ง
เครื่องแต่งกายสำาหรับสวมใส่ในเทศกาลปีใหม่ม้ง และ
เทศกาลสำาคัญอ่ืนๆ โดยเครื่องแต่งกายงานปักเหล่าน้ีถูก
เรยี กว่า “ชุดลายดอกไม”้ หรือ “pajntaub” ในภาษามง้
ก�รเขียนล�ยดว้ ยขีผ้ ึ้ง (เซ�กั๋งเจีย่ ) : เป็นการ
สร้างลวดลายของผ้าบนผ้าใยกัญชงเพ่ือเย็บเป็นกระโปรง
ในกลุ่มชาวม้งดำา หรือม้งลาย หลังจากทอผ้ากัญชงและ
รีดทับผ้าจนเน้อื เนียนดีแล้วก็จะม้วนเก็บไว้เพ่อื ทยอยนำามา ภาพ : เครอื่ งแต่งกายชาวมง้
เขียนลายซึ่งมีอุปกรณ์ที่ใช้เขียนประกอบด้วย “เหลา่ เจย้ี ” ทม่ี าของภาพ : http://www.chiangmai.
หรอื “อว่ั ตา้ ” หรอื ทเ่ี ขยี นลกั ษณะคลา้ ยปากกาคอแรง้ ทดี่ า้ ม bangkok.com/,
สืบคน้ เมื่อวนั ท ี่ 27 กรกฎาคม 2564.

แนวนอน และ “กง๋ั เจีย” หรือขี้ผง้ึ

1 องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดเชยี งใหม่, โครงการขับเคล่ือนเมอื งเชยี งใหมเ่ ปน็ เครอื ขา่ ยเมอื งสรา้ งสรรคข์ ององค์การยูเนสโก สาขา
2หัตเรถ่อืกงรเรดมมิ แ, ล2ะ5ศ6ลิ ป1ะ. พ้นื บ้าน (รายงานฉบบั สมบูรณ์), (เชียงใหม่ : ม.ป.พ., 2561)

ตามรอยวถิ ภี ษู า 89

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ผ้าของกล่มุ ชาติพันธุ์ปะหล่อง หรอื ดาราอ้งั

ชนเผ่าดาราองั้ ที่เพงิ่ อพยพเข้ามาตงั้ รกรากในประเทศไทยเมื่อราวปพี .ศ.2511 โดยชน
เผา่ ดาราอั้งหรือปะหลอ่ งบางกลุม่ ได้เรม่ิ อพยพเข้ามาในประเทศไทย จนถงึ ปีพ.ศ. 2527 ได้พบ
ชาวปะหลอ่ ง จ�ำ นวนประมาณ 2,000 คน อพยพมารวมกนั ทีช่ ายแดนไทย – สหภาพเมียนมาร์
บรเิ วณดอยอ่างขาง อำ�เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ทอ้ งทบี่ า้ นนอแล1
การแตง่ กายของชาวดาราอง้ั 2 : ลกั ษณะการแตง่ กายทปี่ รากฏใหเ้ หน็ เดน่ ชดั ถงึ เอกลกั ษณ์
ของเผา่ คอื ชายชาวอาราอง้ั จะสวมกางเกงท่เี รียกวา่ “กางเกงเซียม” ท�ำ จากผา้ ฝ้ายสดี ำ�หรอื น้ำ�เงนิ
ลกั ษณะคลา้ ยกบั กางเกงเล หรอื กางเกงไทยใหญ่ โดยเวลาสวมใสจ่ ะทบใหก้ ระชบั กบั ล�ำ ตวั แลว้ ใช้
เชือกหรอื เข็มขัดรัดใหแ้ น่น ผชู้ ายดาราอง้ั จะสวมกางเกงเซยี ม ทง้ั ในชีวติ ประจำ�วันและเม่ือมีงาน
ฉลองต่าง ๆ
แขนกระบเอคกร่ือเงอแวตล่องกยายสขีพอ้ืนงสผดู้หใสญิงส่วเนคใรห่ือญงแ่ ตม่งักกเปา็นยขสีฟอง้าผสู้หีนญ้ำ�ิงเงินปรสะีเกขอียบวใไบปไดม้ว้ตยกแเตส่งื้อสผา่าบหเสน้ือ้า
ด้านหน้าด้วยแถบผ้าสีแดง สวมผ้าซ่ินท่ีทอขึ้นเอง สีแดงสลับลายริ้วขาวเล็กๆ ขวางลำ�ตัวความ
ยาวจรดเท้าโพกศรีษะด้วยผา้ ผืนยาว สว่ นใหญ่นยิ มใชผ้ า้ ขนหนูซึ่งซื้อมาจากตลาดพ้ืนราบ ผ้าโพก
ศีรษะของผู้หญิงจะโพกโดยใช้ผ้าพาดไว้ใต้มวยผมด้านหลังแล้วทบมาซ้อนกันด้านหน้า ลักษณะ
ที่โดดเดน่ คือ การสวมท่เี อวด้วยวงหวาย ลงรกั แกะลายหรือใช้เส้นหวายเล็กๆ ยอ้ มสถี กั เปน็ ลาย
บางคนก็ใช้โลหะสีเงินลักษณะเหมือนแผ่นสังกะสีนำ�มาตัดเป็นแถบยาว ตอกลายและขดเป็นวง
สวมใสป่ นกัน วงสวมเอวเหล่านี้ชนเผ่าปะหล่องเรยี กว่า “หนอ่ งว่อง” ทัง้ นห้ี ญิงชนเผ่าปะหลอ่ ง
ทง้ั เดก็ หญิงสาว คนชราจะสวมหน่องว่องตลอดเวลาด้วยความเชอื่ วา่ คอื สญั ลักษณข์ องการเปน็
ลูกหลานนางฟ้าตามต�ำ นานความเชื่อของชนเผ่า
แหลง่ ผลิตผ้าดาราองั้ ทีข่ น้ึ ชือ่ ได้แก่ ชมุ ชนบา้ นปางแดงใน และชมุ ชนบา้ นปางแดงนอก
อำ�เภอเชยี งดาว จงั หวดั เชียงใหม่ ซึ่งยังคงแตง่ กายดว้ ยชดุ ประจ�ำ ชาตพิ นั ธุ์ อีกทัง้ ยงั มกี ารผลติ เพื่อ
จ�ำ หนา่ ยใหก้ บั ผทู้ สี่ นใจทเี่ ขา้ ไปทอ่ งเทย่ี วในชมุ ชนอกี ดว้ ย ซง่ึ มกี ลมุ่ เยบ็ ผา้ ประจ�ำ หมบู่ า้ นหลายกลมุ่
และสตรชี าวดาราอง้ั สว่ นใหญย่ งั คงสามารถปกั เยบ็ และทอผา้ ลวดลายประจ�ำ ชนเผา่ ของตนไดอ้ ยู่
จ�ำ นวนมาก

1 อภชิ าต ภัทรธรรม, “ชนเผา่ ดาราองั้ หรือปะหล่อง,” วารสารการจดั การปา่ ไม้, 8 ฉบบั ท่ี 16, 2557 : 81

2 เรอ่ื งเดมิ , 83-84.

ภาพ : ชาวดาราอง้ั และการแต่งกาย
ประจ�ำ ชนเผ่า
ทีม่ าของภาพ : http://cbtchiangmai.
org/ และ https://www.sac.or.th/
databases/ethnic-groups/gallery
สืบค้นเม่ือวันท่ี 27 กรกฎาคม 2564.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 91

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ผา้ ของกลุม่ ชาตพิ ันธไุ์ ทลอื้

กลมุ่ ชาตพิ นั ธไ์ุ ทลอ้ื และไทยองในเชยี งใหมไ่ ดอ้ พยพโยกยา้ ยถนิ่ ฐานเขา้ มาตงั้ หลกั แหลง่
ด้วยเงื่อนไขปัจจัยหลายประการ ท่ีสำ�คัญคือ อพยพมาจากการเทครัวกวาดต้อนพลเมืองให้เข้า
มาตั้งถ่ินฐานในยุคฟ้ืนฟูเมืองเชียงใหม่ภายหลังจากการฟ้ืนม่าน หรือท่ีเรียกว่ายุค “เก็บผักใส่ซ้า
เกบ็ ขา้ ใสเ่ มอื ง” นอกจากนย้ี งั อพยพเขา้ มาโดยการกวาดตอ้ นในภาวะสงคราม ทงั้ ชาวไทลอ้ื ไทยอง
ในเชียงใหม่จึงมีบทบาทในฐานะพลเมืองท่ีเข้ามาเพื่อขับเคลื่อนเมืองในทุกมิติโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในการผลติ ภาคเกษตรกรรม
ในจังหวัดเชียงใหม่มีกลุ่มชาวไทล้ือที่อพยพเข้ามาหลายชุมชน เช่น ชุมชนไทล้ือ
บ้านลวงเหนือ ลวงใต้ อำ�เภอดอยสะเก็ด ชุมชนไทล้ือบ้านแม่สาบ อำ�เภอสะเมิง เป็นต้น
ส่วนชุมชนไทยอง อยู่ท่ีบ้านบวกค้าง อำ�เภอสันกำ�แพง เป็นต้น ตามประวัติการเคลื่อนย้ายของ
ชาวไทล้ือพบว่าได้มีการเดินทางไปยังหลายพ้ืนท่ีซึ่งในเมืองไทยเดินทางเข้าสู่พื้นที่ภาคเหนือ
ในแถบจงั หวดั เชยี งราย เชียงใหม่ ล�ำ ปาง ลำ�พนู น่าน แพร่ และพะเยา โดยชุมชนบา้ นลวงเหนือ
อำ�เภอดอยสะเก็ดเป็นกลุ่มชาวไทลื้อที่อพยพเข้ามาช่วงระยะแรกเม่ือราวพุทธศตวรรษท่ี 18
ในสมัยของพระเจา้ สามฝง่ั แกน กษตั ริยร์ าชวงศม์ งั ราย สว่ นในระยะหลังเปน็ การเขา้ มาตัง้ ถิน่ ฐาน
ท่ีบ้านแม่สาบ อำ�เภอสะเมิง อ�ำ เภอสนั ก�ำ แพง และอำ�เภอสนั ทราย
ชมุ ชนไทล้อื ที่ยงั คงมกี ารผลติ ผ้าทอท่ีมคี วามโดดเด่น และรกั ษาอัตลกั ษณท์ างชาตพิ นั ธ์ุ
ของตนไว้อยู่ ไดแ้ ก่ ชมุ ชนบา้ นแมส่ าบ อ�ำ เภอสะเมงิ และชุมชนบ้านลวงเหนือ อำ�เภอดอยสะเกด็
ที่มีความพยายามในการรื้อฟื้นและฟ้ืนฟูอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ในมิติต่างๆ โดยชุมชนไทลื้อแม่สาบ
อำ�เภอสะเมิง ยังคงมีการทอผ้า และใช้ผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทล้ือภายในชุมชนอยู่ ผ้าทอไทล้ือของ
บา้ นแมส่ าบ ทโี่ ดดเดน่ เปน็ ผา้ ทอดว้ ยเทคนคิ การขดิ ท่ี ผสมผสานลวดลายและสสี นั ทเี่ ปน็ เอกลกั ษณ์
ของไทลื้อ คอื สีด�ำ และสีแดงบนพืน้ สีขาว ลวดลายท่ีปรากฏบนผนื ผา้ สามารถแบง่ ออกได้เป็น 4
กลุม่ ได้แก1่
(1) ลวดลายเรขาคณติ เปน็ ลายพื้นฐานของผ้า เช่น ลายหนว่ ย ลายซิกแซ็ก
ลายเข้ยี วหมา เปน็ ตน้
(2) ลวดลายพรรณพฤกษา เปน็ จ�ำ พวกกลมุ่ ลายดอกไมต้ า่ งๆ ทส่ี อื่ ถงึ ความอดุ มสมบรู ณ์
ของธรรมชาติ เช่น ลายดอกจัน ซึ่งเป็นลวดลายเก่าแก่ที่พบในผ้าทอของกลุ่มไท-ลาว
ลายอ่ืนๆ เช่น ลายดอกควักแป่ ลายดอกแหลมบิด ลายดอกเงาะ ลายดอกมะลิหลวง
เป็นต้น

1 ส�ำ นกั สง่ เสริมศลิ ปวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่, ไทล้ือแม่สาบ, 90-92.

92 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

(3) ลวดลายรูปสัตว์ ปรากฏท้ังสัตว์ที่พบในธรรมชาติ และสัตว์ในป่าหิมพานต์ตาม
จินตนาการในศาสนาพุทธ เช่น ลายช้าง ลายม้า ลายนกหรือลายไก่น้อย ลายนาค
ลายนกยวงงา (หัสดีลงิ ค)์ ลายแมว ลายไก่ยองหลังม้า เป็นตน้
(4) ลวดลายของผ้าในพิธีกรรม มักปรากฏในผ้าทอที่ทำ�ขึ้นเป็นพุทธบูชา เช่น ตุง
หรือผ้าเช็ดหลวง โดยมักทอรูปปราสาท เพ่ือส่ือถึงพระธาตุเกตุแก้วจุฬามณีบนสวรรค์
ชนั้ ดาวดึงค์ เป็นต้น ลายต้นดอก ซ่งึ ถอื เป็นเคร่อื งสักการะสงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ และลายรูปช้าง
มา้ วัว ควาย คน ทเี่ ปน็ สัญลกั ษณ์ของความอดุ มสมบรู ณ์ และเพอื่ อุทศิ ใหแ้ ก่ญาตพิ ีน่ ้อง
ทลี่ ว่ งลบั ไปแล้ว


ทภาม่ี พาข:อลงวภดาลพาย: ตค่าณุ งฐๆาทปพ่ีนยีบ์ใเนคผรา้อื ทระอยขาองสช�ำ านวกั ไทสง่ลเือ้สรบมิ ้าศนิลแปมวส่ ัฒาบนธอรำ�รเมภอมสหะาเวมทิ ิงยจางัลหยั วเชัดยีเชงียใหงใมห่ ม่


แม้ว่าในปัจจุบันคนรุ่นใหม่ของชุมชนบ้านแม่สาบ อำ�เภอสะเมิง จะไม่ได้แต่งกาย
ดว้ ยชดุ ประจ�ำ ของชาตพิ นั ธอุ์ กี ตอ่ ไปแลว้ แตก่ ย็ งั คงมชี า่ งทอ และครภู มู ปิ ญั ญาทย่ี งั คงทอผา้ ไทลอ้ื
ในชมุ ชนใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรศู้ กึ ษา ไดแ้ ก่ แมค่ รเู มอื ง พมิ สารี ประธานกลมุ่ ทอผา้ แมค่ รเู หรยี ญ มณสี อน
และคณุ ทศั นยี ์ กาตะโล บา้ นแมส่ าบ ตำ�บลสะเมิงใต้ อำ�เภอสะเมงิ จงั หวดั เชียงใหม่ ท่คี อยฟื้นฟู
และอนุรักษภ์ ูมิปัญญาด้านผา้ ทอไทล้ือใหค้ งอยู่คกู่ ับชุมชนไทลอื้ เชียงใหม่ต่อไป

ตามรอยวถิ ภี ษู า 93

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ภาพบน : ภูมิทศั นจ์ ากมุมสูงของหมู่บา้ นไทล้อื แม่สาบ อ.สะเมิง
ภาพลา่ งซ้าย : การแต่งกายของชาวไทลอ้ื บา้ นแมส่ าบ
ทีม่ าของภาพ : ชุมชนบ้านแมส่ าบ https://www.facebook.
com/BaanMasubSamoengtaiSamoengChiangmai
สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี 27 กรกฎาคม 2564.
ภาพล่างขวา : ตุงไทลอ้ื บ้านแมส่ าบ และช่างทอตุง
ที่มาของภาพ : https://www.bloggang.com/,
สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี 27 กรกฎาคม 2564.

94 ตามรอยวถิ ภี ษู า

วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ผา้ ฝา้ ยทอมอื ยอ้ มสธี รรมชาติ

แหลง่ ผลติ ผา้ คณุ ภาพเมอื งฮอด-จอมทอง
“...ในยามเช้าเมอ่ื ป้าแสงดาอยใู่ นไรฝ่ ้าย ป้าจะเห็นดอกฝ้ายสีเหลอื งอ่อน
มีน�้ำ ค้างจบั เปน็ ประกาย ชา่ งเป็นภาพท่งี ดงามมาก เม่อื ยามปา้ เขา้ ไปในป่า
ป้าเหน็ ดอกไมป่าบานสะพร่ัง บางดอกมสี ีเหลืองอมเขียว บางดอกมีสีแดงเรือ่ บางดอกมสี มี ว่ ง

และภาพนำ�้ ตก ขนุ เขา ธารน�ำ้ ไหล ช่างเป็นภาพธรรมชาติที่งดงาม
ป้าเก็บความงามของธรรมชาติเหลา่ น้ีมาคดิ และประดิษฐ์ลวดลายผา้ ...”1

ผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีธรรมชาติที่ข้ึนช่ือและรู้จักกันเป็นอย่างดีของเมืองเชียงใหม่
มีแหลง่ ผลติ อยู่ท่อี �ำ เภอจอมทอง และอ�ำ เภอฮอดเป็นหลัก ทม่ี ีช่ือเสียงอยา่ งยงิ่ คอื บ้านไรไ่ ผง่ าม
ของคุณปา้ แสงดา บันสินธิ์ ศิลปินแหง่ ชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ดา้ นการทอผ้า ปพี .ศ.2525 ทีไ่ ม่วา่
ชาวไทย และชาวตา่ งชาตติ า่ งรจู้ กั กนั เปน็ อยา่ งดี บา้ นไรไ่ ผง่ าม ตง้ั อยทู่ ห่ี มู่ 8 ต�ำ บลสบเตย๊ี ะ อ�ำ เภอ
จอมทอง จงั หวดั เชยี งใหม่ ความโดดเดน่ ของผา้ ฝา้ ยบา้ นไรไ่ ผง่ าม คอื การทอผา้ ฝา้ ยดว้ ยกพี่ น้ื เมอื ง
ย้อมสีจากธรรมชาติ และประดิษฐล์ วดลายบนผืนผา้ ท่ีสร้างสรรค์ดว้ ยแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ
ปัจจุบันผู้สืบต่อองค์ความรู้ภูมิปัญญาการทอผ้าของป้าแสงดา คือ คุณเสาวนีย์ บันสิทธ์ิ ลูกสาว
คนเล็กผูม้ ีปณธิ านตั้งมน่ั ถึงการรกั ษาสืบทอดและพฒั นาภูมิปญั ญาของปา้ แสงดาไว้ “เราพยายาม
สรา้ งสรรค์งานออกมาใหพ้ ฒั นาอยูเ่ สมอ แต่ทั้งน้สี ่งิ ดีๆ ท่แี ม่ให้ไวเ้ รากร็ ักษาไว้อยา่ งเหนยี วแน่น”2
ซึ่งนอกจากผ้าฝ้ายแล้ว ยังมีการนำ�เอาแฝก และใยกัญชงมาสอดแทรกเส้นใยเพ่ือสร้างลวดลาย
ตา่ งๆ ทสี่ วยงามแปลกใหม่เพมิ่ ข้ึนอกี ด้วย
นอกจากนี้ในเขตอำ�เภอจอมทองยังมีกลุ่มชาวบ้านที่ผลิตผ้าทอพ้ืนเมืองหลากหลาย
กลุ่มท่ีน่าสนใจและสะท้อนถึงภูมิปัญญาการทอผ้าและย้อมสีธรรมชาติท่ีโดดเด่นอีกกลุ่มหน่ึง คือ
กล่มุ ผ้าฝา้ ยเชิงดอย ทีม่ ีแกนน�ำ สำ�คัญ คือ แมห่ ลวงทัญกานร์ ยานะโส ที่รวบรวมครูภมู ปิ ญั ญา
ด้านการทอผ้าย้อมสีธรรมชาติของบ้านสบเตี๊ยะมาสืบสานและพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ของ
ชุมชนที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การทอผ้าผืนย้อมสีธรรมชาติด้วยหินโมคคัลลาน ซึ่งเป็น
วตั ถดุ บิ ท้องถ่นิ ท่มี คี วามโดดเด่นเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ของผา้ ทอบา้ นสบเต๊ยี ะแหง่ น้ี นอกจากนี้
ยังมีแหล่งผ้าทอมือท้ังในรูปแบบการทอด้วยก่ีพื้นเมือง และแบบอุตสาหกรรมหลายแหล่ง เช่น
แหล่งผ้าฝ้ายบ้านหนองอาบช้าง เป็นต้น

1กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, “บทท่ี 11 บา้ นไรไ่ ผง่ าม,” หนงั สอื เรยี นภาษาไทย ชดุ พน้ื ฐานภาษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เลม่ ๒.(กรงุ เทพฯ :
โรงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพรา้ ว ,2538), 22.
2 วพิ ธุ ววิ รณว์ รรณ, “ผา้ ฝา้ ยบา้ นไรไ่ ผง่ าม,” ใน เครอ่ื งทองลายโบราณ กบั งานพน้ื บา้ นนครพงิ ค,์ (กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พไ์ ทยวฒั นาพานชิ ,

2545), 19.


Click to View FlipBook Version