The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sasinuch poonjuch, 2020-05-04 10:31:05

62_33015

62_33015

192

กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 4 การต้ังเปา้ หมายและจัดทาแผนการเงนิ
กิจกรรมท่ี 4.1 ตอบคาถามตอ่ ไปนี้

1. ประโยชน์ของการมเี ปา้ หมายการเงินมอี ะไรบา้ ง ใหอ้ ธบิ าย
ตอบ
1) ทาให้จัดทาแผนการเงินได้ง่ายข้ึน เช่น มีเป้าหมายท่ีจะปลดหนี้จานวน
12,000 บาทภายใน 1 ปี ก็จะสามารถจัดทาแผนการเงินเพ่ือการปลดหนี้ได้
ว่า ต้องเก็บเงินเพ่ือจ่ายหนี้เดือนละ 1,000 บาทนาน 12 เดือน เพื่อให้ครบ
12,000 บาท
2) ทาให้เกดิ ความมงุ่ ม่นั และบรรลุส่ิงที่ต้องการง่ายขึ้น เป้าหมายและแผนการเงิน
ทีช่ ัดเจนเปรียบเสมือนแผนท่ีนาทางชีวิตเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายโดยไม่เสียเวลา
ไปกับสิ่งล่อใจอื่น ๆ เช่น มีเป้าหมายปลดหนี้จานวน 12,000 บาทภายใน
1 ปี ซึ่งในระหว่างน้ีอาจมีสิ่งล่อใจให้ซื้อหรือก่อหนี้เพิ่ม เช่น ทีวีใหม่
โทรศัพท์มือถือเคร่ืองใหม่ แต่เม่ือตั้งเป้าหมายว่าจะปลดหน้ีแล้ว ก็จะเกิด
การยับย้ังชั่งใจขึ้น แทนที่จะซื้อของเหล่าน้ันทันที ก็อาจเล่ือนไปซ้ือหลังจาก
ปลดหนี้แล้วหรือไมซ่ อ้ื เลย
3) ทาให้ทราบถึงอุปสรรคที่อาจทาให้ไม่บรรลุเป้าหมายที่ต้ังไว้ เช่น
เช่น มีเป้าหมายเก็บเงินเพื่อไปเท่ียวจานวน 24,000 บาทภายใน 1 ปี จึง
จัดทาแผนออมเงินเดือนละ 2,000 บาท แต่นึกขึ้นได้อีกว่าในอีก 4 เดือน
ข้างหน้าจะต้องจ่ายค่าชุดนักเรียนใหม่ จึงอาจต้องปรับเป้าหมายการ
ท่องเทย่ี วหรือตงั้ เปา้ หมายออมเงินเพ่อื ซือ้ ชดุ นกั เรยี นเพ่มิ เติมดว้ ย
4) ช่วยให้บรรลุเป้าหมายด้านอื่น ๆ เช่น อยากมีรถไว้ขับรับจ้างเป็นอาชีพ
ก็สามารถต้งั เป้าหมายทางการเงนิ ว่าจะเก็บเงินเพ่ือซ้ือรถ หรืออยากไปเที่ยว
พกั ผ่อน ก็อาจต้ังเปา้ หมายออมเงนิ เพอื่ พักผอ่ นได้

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอื่ ง ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชวี ิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

193

2. ให้ยกตัวอย่างเป้าหมายการเงินที่ควรมีในชีวิตอย่างน้อย 2 เป้าหมายในแต่ละด้าน

ตอ่ ไปนี้

ตอบ

เป้าหมายด้านรายรับ เปา้ หมายดา้ นการออม

 เพิ่มรายไดจ้ ากการทาอาชีพเสรมิ  ออมเผอ่ื เหตุฉุกเฉิน

เช่น ทาขนมขาย รับจ้างเย็บผา้  ออมเพ่อื เป็นค่าเล่าเรียน

ซอ่ มเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้  ออมเพ่อื แตง่ งาน
 ฯลฯ  ออมเพอื่ ซื้อรถ/บ้าน

 ออมเพือ่ ลงทนุ

 ออมเพื่อใช้จ่ายในวัยชรา

 ออมเพื่อซอ้ื ของที่อยากได้

 ฯลฯ

เปา้ หมายดา้ นรายจ่าย เปา้ หมายด้านหนส้ี นิ

 ลดรายจ่ายค่าของใชไ้ มจ่ าเป็น เชน่  เพอ่ื ปลดหนรี้ ถ/บ้าน/อ่ืน ๆ

ลดค่าหวย ลดคา่ เหลา้ ลดค่าบหุ ร่ี  เพ่ือลดหนี้ (จ่ายหน้ใี หม้ ากขน้ึ

 งดรายจา่ ยไม่จาเป็น เชน่ งดค่าน้า เพ่อื ใหห้ น้หี มดเร็วขนึ้ )

สมนุ ไพรดับกระหาย งดค่าหวย  งดใช้บตั รผอ่ นสนิ ค้าหรือบัตร

 ลดรายจา่ ยจาเปน็ โดยใช้สินคา้ ท่ี เครดติ

ราคาถกู กวา่ แทน เชน่ ใช้สบู่  ก่อหน้ีเฉพาะรายจา่ ยจาเป็น

ธรรมดาแทนสบนู่ าเข้าจาก  ฯลฯ
ตา่ งประเทศราคาแพง

 ฯลฯ

3. ใหต้ ง้ั เปา้ หมายการเงินของตนเองท้งั 3 ประเภทลงในตารางดา้ นลา่ ง
ตอบ เป้าหมายการเงนิ สามารถต้ังได้ดงั น้ี
1) เป้าหมายระยะส้ัน เป็นเป้าหมายที่สามารถบรรลุได้ในเวลา 1 ปี เช่น
ออมเงนิ เผ่อื ฉุกเฉินใหไ้ ดจ้ านวน 30,000 บาท ออมเพอื่ ซื้อโทรศัพท์มอื ถือ
2) เป้าหมายระยะกลาง เปน็ เปา้ หมายที่สามารถบรรลุได้ในระยะเวลา 1 – 3 ปี
เช่น ซอ้ื มอเตอร์ไซค์ หรอื ออมเงินเพอื่ ดาวนร์ ถยนต์

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอ่ื ง ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชวี ติ 3 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

194

3) เปา้ หมายระยะยาว เปน็ เป้าหมายที่ต้องใช้ระยะเวลามากกว่า 3 ปีเพื่อบรรลุ
เป้าหมาย เช่น ออมเงินเพ่ือดาวนบ์ ้าน ออมเงนิ ไว้ใช้ในยามสงู วัย

กิจกรรมท่ี 4.2 ใหว้ างแผนการเงินของตนเองลงในชอ่ งวา่ ง
ตอบ วางแผนการเงินสามารถทาได้ดังน้ี

1) ระบเุ ป้าหมายการเงิน เพ่อื บอกจุดมุ่งหมายของแผนท้ังหมด โดยจะต้องเป็นไป
ตามหลกั เป้าหมายการเงนิ ท่ีดี (SMART)

2) ระบุจานวนเงินท่ีต้องการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย โดยจะต้องระบุเป็นจานวน
เงนิ หรือตวั เลขให้ชัดเจนว่าต้องใชเ้ งินเทา่ ไร

3) ระบุระยะเวลาทีต่ ้องใชเ้ พือ่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายการเงนิ โดยระบุเป็นจานวนวัน
เดอื น หรอื ปี

4) คานวณจานวนเงินที่ต้องออมต่อเดือน โดยคานวณว่าต้องออมเงินเท่าไร
เดือนละเท่าไรเพื่อให้ได้จานวนตามที่ต้องการ สามารถคานวณได้จากนาจานวน
เงนิ ทต่ี อ้ งการหารดว้ ยระยะเวลา (เดือน) ก็จะทาให้ทราบว่าควรเก็บเงินเดือนละ
เทา่ ไรเพ่ือให้ได้เงนิ ตามจานวนที่ต้องการ

5) จัดทาแผนการออม โดยกาหนดแหล่งเงินท่ีจะใช้เป็นเงินออมในแต่ละเดือน
ซ่งึ สามารถทาไดท้ งั้ การเพิม่ รายรับและลดรายจา่ ย โดยพจิ ารณารายจ่ายจากการ
บันทึกรายรับ-รายจ่ายว่ามีรายจ่ายไม่จาเป็นใดที่สามารถลดหรือเลิกแล้วนามา
เป็นเงินออมได้หรือไม่ เช่น ลดค่ากาแฟจากท่ีด่ืมทุกวันเป็นดื่มวันเว้นวัน หาก
กาแฟราคา 30 บาทตอ่ แก้ว ลดค่ากาแฟจานวน 15 วัน จะไดเ้ งนิ 450 บาท

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเร่อื ง ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ิต 3 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

195

กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 5 การออม

กิจกรรมที่ 5.1 ตอบคาถามต่อไปนี้

1. ใหบ้ อกความหมายของการออม
ตอบ การออมเป็นการแบ่งรายได้ส่วนหน่ึงในปัจจุบันไปเก็บสะสมไว้ใช้ในอนาคต ซึ่ง
สามารถทาได้หลายรูปแบบ ต้ังแต่การเก็บสะสมด้วยตนเอง เช่น หยอดกระปุก
ออมสิน เก็บสะสมไว้ท่ีบ้าน ไปจนถึงการนาไปฝากไว้กับสถาบันการเงิน ซึ่งมักอยู่
ในรูปแบบท่ีมีความเสี่ยงต่อการสูญเสียเงินต้นต่า และได้รับผลตอบแทนไม่สูงนัก
เม่ือเทียบกับการลงทุน เช่น การฝากในบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ บัญชีเงินฝาก
ประจา การซอ้ื สลากออมทรพั ย์

2. ประโยชนข์ องการออมมอี ะไรบา้ ง ให้อธบิ าย
ตอบ
1) ช่วยแบ่งเบาภาระเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน โดยไม่ต้องก่อหน้ีหรือขอความ
ชว่ ยเหลอื จากบคุ คลอ่ืน
2) ช่วยลดความเส่ียงท่ีจะมีปัญหาการเงิน เม่ือมีเหตุทาให้เงินที่มีไม่พอต่อ
คา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กดิ ขึน้ ก็สามารถนาเงินออมออกมาใช้ก่อนได้ ช่วยลดปัญหาเงิน
ไม่พอใชซ้ ง่ึ เปน็ สาเหตุหนึง่ ของปัญหาการเงนิ ได้
3) ช่วยทาให้ความฝันเป็นความจริง เงินออมท่ีมีอาจนาไปเป็นเงินทุนเพื่อทา
กิจการของตนเอง เรียนเพ่ิมทักษะ คอมพิวเตอร์ ภาษา หรือปริญญาโท
เป็นเงินดาวน์บ้าน ดาวน์รถ หรือเพ่ือสร้างครอบครัว เช่น เพ่ือจัดงาน
แต่งงาน เพ่อื การศกึ ษาบตุ ร เพ่อื ทอ่ งเทย่ี วกับครอบครัว
4) ช่วยสร้างโอกาสให้มีรายได้มากข้ึน เช่น นาเงินออมไปซื้อหุ้น พันธบัตร
กองทุนรวม หรือนาไปลงทุนซื้อห้องแถวให้เช่า ก็มีโอกาสที่จะทาให้เงินที่มี
อยู่งอกเงยมากขึน้

3. ให้ต้งั เป้าหมายการออมท่ดี ขี องตนเองลงในตาราง
ตอบ อาจตั้งเปา้ หมายดังตอ่ ไปนี้
1) เงนิ ออมเพ่อื ใชใ้ นยามฉกุ เฉนิ
2) เงนิ ออมเพ่อื ใช้จ่ายในยามชรา
3) เงนิ ออมเพอื่ คา่ ใชจ้ ่ายจาเปน็ ท่เี ป็นกอ้ นใหญ่
4) เงนิ ออมเพอ่ื การลงทุน

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรือ่ ง ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ิต 3 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

196

5) เงินออมเพอ่ื ของท่อี ยากได้
6) เงินออมเพ่อื ปลดหน้ี
4. หลกั การออมใหส้ าเรจ็ มีอะไรบ้าง ใหอ้ ธิบาย
ตอบ
1) ออมก่อนใช้ เมื่อได้รับเงินมา ควรแบ่งเงินไปออมไว้ทันที เพราะหากใช้ก่อน

ออม สุดทา้ ยอาจไมเ่ หลือเงินออมตามท่ีตง้ั ใจไว้
2) แบ่งเงินเป็นส่วน ๆ ตามเป้าหมายท่ีต้องการใช้ เช่น เงินออมเผื่อฉุกเฉิน

เงินออมเพื่อใช้จา่ ยในยามชรา เงินออมเพ่ือซ้ือของท่ีอยากได้ และใช้เงินตาม
วตั ถุประสงคน์ ้ัน ๆ ไม่ปะปนกนั
3) มีวินัยในการออม โดยใช้เทคนิคการออมที่สนุกสนาน ทาได้ง่าย เพ่ือสร้าง
แรงจงู ใจในการออมให้ไดต้ ามทต่ี งั้ ใจไว้ เช่น
 หยอดกระปุกก่อนออกจากบา้ นวนั ละ 10 บาท
 ผกู การออมกับพฤตกิ รรมทีช่ อบทา เชน่ เลน่ เกมชัว่ โมงละ 10 บาท
 ได้แบงก์ 50 มาเมื่อไหร่ กเ็ ก็บไว้ไปหยอดกระปุก ไมน่ ามาใช้
 ไมช่ อบพกเหรยี ญเพราะมันหนัก พอได้เหรียญทอนมาก็หยอดกระปุกให้

หมด
 ซ้ือของไม่จาเป็นไปเท่าไร ก็ให้นาเงินมาออมเท่านั้น เช่น ถ้าซ้ือของ

ไมจ่ าเปน็ 1,000 บาท กต็ ้องออมเงนิ ใหไ้ ด้ 1,000 บาท
 ออมให้พอ ที่เหลือใช้ให้เรียบ คือ การตั้งเป้าหมายว่าจะออมเดือนละ

เท่าไร แล้วนาไปออมหรือลงทุนเท่าท่ีวางแผนไว้ เงินที่เหลือก็ใช้ได้ตาม
สบาย
 ตั้งคาสงั่ หกั เงนิ เดอื นอัตโนมัติไปฝากเขา้ บัญชเี งนิ ออมหรอื ซื้อห้นุ สหกรณ์

กจิ กรรมท่ี 5.2 ให้ตอบคาถามเกยี่ วกบั กองทุนแหง่ ชาติ (กอช.)

1. กองทุนการออมแหง่ ชาติ หรอื กอช. คอื อะไร
ตอบ กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) เป็นกองทุนสาหรับประชาชนที่มีอายุต้ังแต่
15 – 60 ปี ซ่ึงไม่อยู่ในระบบบาเหน็จบานาญภาครัฐหรือเอกชนหรือกองทุน
ตามกฎหมายอนื่ ทไี่ ดร้ ับเงนิ สมทบจากรัฐหรอื นายจ้าง

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชีวิต 3 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

197

2. หลักการออมเงนิ ของ กอช. มีอะไรบา้ ง ใหอ้ ธบิ าย
ตอบ หลักการออมแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ เงินที่สมาชิกออม และเงินท่ีรัฐจ่ายสมทบ ซึ่ง
สมาชิกทุกคนไมจ่ าเปน็ ตอ้ งสง่ เงินสะสมเข้ากองทุนทุกเดือน ในกรณีท่ีส่งเงินสะสม
ต้องไม่ต่ากว่าคร้ังละ 50 บาท สูงสุดไม่เกิน 13,200 บาทต่อปี และรัฐจะจ่าย
สมทบใหต้ ามชว่ งอายุ ดังนี้

ช่วงอายุ 15 – 30 ปี 30 – 50 ปี 50 – 60 ปี

จานวนเงิน 50% ของเงินสะสม 80% ของเงนิ สะสม 100% ของเงินสะสม
ที่จ่ายสมทบ (ไมเ่ กิน 600 บาทตอ่ ปี) (ไมเ่ กนิ 960 บาทตอ่ ปี) (ไมเ่ กนิ 1,200 บาทต่อป)ี

ทั้งนี้หากเดือนใดสมาชกิ ไม่สง่ เงนิ เขา้ กองทนุ รฐั ก็จะไม่จา่ ยสมทบให้เชน่ กัน

3. เงื่อนไขการได้รบั เงินคืนของสมาชิก กอช. มีอะไรบ้าง ให้อธบิ าย
ตอบ
1) กรณีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (รวมท้ังสมาชิกท่ีมีอายุต้ังแต่ 50 ปีข้ึนไป เม่ือ
ครบระยะเวลา 10 ปี หรือลาออกเม่ืออายุครบ 60 ปี) หากคานวณเงิน
บานาญไดต้ ามเกณฑ์ที่กาหนด จะไดร้ ับเงินบานาญตลอดชีวิต หากได้น้อยกว่า
เกณฑ์จะได้รับเปน็ เงินดารงชพี เดอื นละ 600 บาทจนกวา่ เงินในบญั ชจี ะหมด
2) กรณีทุพพลภาพก่อนอายุครบ 60 ปี สามารถเลือกได้ว่าจะรับเงินที่สมาชิก
สะสมเองพร้อมดอกผลทั้งจานวนหรือบางส่วน โดยขอรับได้เพียงครั้งเดียว
และเงินส่วนที่รัฐจ่ายสมทบพร้อมดอกผลจะจ่ายเป็นเงินบานาญหลังอายุ
ครบ 60 ปี หากยังมีเงินสะสมเหลืออยู่ในกองทุน ก็จะนามาคานวณการจ่าย
บานาญด้วย
3) กรณีลาออกจากกองทุน จะได้รับเงินที่สมาชิกส่งสะสมเองพร้อมดอกผล
ทง้ั จานวน แต่เงนิ สว่ นท่ีรฐั สมทบจะตกเป็นของกองทนุ
4) กรณีเสียชีวิต ผู้รับผลประโยชน์ที่สมาชิกแจ้งช่ือไว้จะได้รับเงินในบัญชี
ทง้ั หมด

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่ือง ชุดวชิ าการเงนิ เพือ่ ชีวติ 3 l ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

198

กจิ กรรมท่ี 5.3 ใหต้ อบคาถามเกยี่ วกบั กองทนุ สารองเลย้ี งชพี

1. กองทนุ สารองเลีย้ งชพี คอื อะไร
ตอบ กองทุนสารองเล้ียงชีพ (provident fund) คือกองทุนท่ีลูกจ้างและนายจ้างจัดต้ังขึ้น
ดว้ ยความสมัครใจ โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือส่งเสริมการออมเงินแบบผูกพันระยะยาว
สาหรบั ลูกจ้าง เพอ่ื ไวใ้ ชจ้ า่ ยเม่ือยามเกษียณอายุ ทพุ พลภาพ หรอื ต้องออกจากงาน

2. เงินท่ีนาเขา้ กองทนุ สารองเลย้ี งชพี มีกสี่ ่วน อะไรบ้าง

ตอบ ประกอบด้วย 2 ส่วนหลกั ได้แก่

1) เงินท่ีลูกจ้างจ่ายเข้ากองทุน เรียกว่า "เงินสะสม" ซ่ึงกฎหมาย
กาหนดใหส้ ะสมไม่ต่ากวา่ 2% แต่ไม่เกนิ 15% ของค่าจา้ ง

2) เงินทีน่ ายจา้ งจา่ ยเพมิ่ ให้ เรยี กว่า "เงินสมทบ" ซึ่งกฎหมายกาหนดให้
สมทบไมต่ ่ากวา่ เงนิ สะสมของลูกจ้าง

3. ประโยชนข์ องกองทุนสารองเล้ียงชีพมอี ะไรบา้ ง ให้อธิบาย
ตอบ

สาหรบั ลกู จา้ ง สาหรับนายจ้าง

ก่อนเกษยี ณ  สร้างแรงจูงใจในการทางาน
ให้แกล่ กู จา้ ง
 เงินสะสมท่ีจ่ายเข้ากองทุนสามารถ
นาไปลดหย่อนภาษีเงินได้ ไม่เกิน  เงินสมทบท่ีนายจ้างจ่ายเข้า
500,000 บาท และต้องไม่เกิน 15% กองทุนแต่ไม่เกิน 15% ของ
ของคา่ จ้าง ค่าจ้าง สามารถนามาหักเป็น
ค่าใช้จ่ายในการคานวณกาไร
หลงั เกษียณ สุทธิเพอ่ื เสยี ภาษีได้

 ได้รับเงินกองทุน (ประกอบด้วยเงิน
สะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์
จาก ก ารล งทุน ) ไ ว้ใ ช้จ่า ยยา ม
เกษียณอายุ ทุพพลภาพ หรือออก
จากงาน ซ่งึ ไดร้ บั ยกเวน้ ภาษี

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่ือง ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชวี ติ 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

199

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3
กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 2 ลักษณะของสนิ เชอื่ รายยอ่ ยและการคานวณดอกเบยี้
กิจกรรมท่ี 2.1 ให้นาหมายเลขข้อด้านล่างมาใส่ในช่อง “ลักษณะ” โดยให้มีความสัมพันธ์

กับผลิตภัณฑ์ทางดา้ นซา้ ยมอื

1. ผอ่ นชาระได้นานถงึ 25 - 30 ปี
2. ควรมีเงินดาวน์อย่างน้อย 20%
3. คดิ ดอกเบย้ี แบบเงนิ ตน้ คงที่ (flat rate)
4. คิดอัตราดอกเบี้ย คา่ ปรบั คา่ บริการ และค่าธรรมเนยี ม รวมกันไมเ่ กิน 28% ต่อปี
5. ผูใ้ ชบ้ ริการตอ้ งมีเงินเดือนข้ันต่า 15,000 บาท
6. ไดร้ ับระยะเวลาปลอดดอกเบีย้ 45 - 55 วนั
7. คดิ อัตราดอกเบย้ี ค่าปรบั ค่าบรกิ าร และค่าธรรมเนยี ม รวมกนั ไมเ่ กิน 20% ตอ่ ปี
8. ใหว้ งเงินไม่เกนิ 5 เทา่ ของรายไดต้ อ่ เดือน
9. ใช้บัตรซ้ือสินค้าและบริการแทนการใช้เงินสด และไม่เสียดอกเบ้ียถ้าจ่ายตรงเวลาและ

เตม็ จานวน
10. กรรมสิทธิจ์ ะตกเป็นของผูเ้ ช่าซื้อเม่ือชาระเงินครบตามจานวน
11. มักใชอ้ ัตราดอกเบีย้ ลอยตัว (float rate)
12. ขอกู้เพอ่ื นาเงนิ สดไปใช้ โดยทยอยผ่อนชาระคืนเปน็ รายเดือน

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่ือง ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชีวิต 3 l ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

200

กิจกรรมที่ 2.2 พจิ ารณาข้อมูลทกี่ าหนดให้ และนาไปตอบคาถามให้ถกู ตอ้ ง

ร้านขายรถจักรยานยนต์ 2 แห่ง ติดป้ายขายรถยี่ห้อเดียวกันในราคาเท่ากัน คือ 50,000 บาท
แตร่ ะยะการผ่อนชาระต่างกัน โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้

ร้าน ก รา้ น ข

รถจักรยานยนต์ราคา 50,000 บาท รถจกั รยานยนตร์ าคา 50,000 บาท

ดาวน์ 10,000 บาท ดาวน์ 10,000 บาท

ยอดเงนิ กู้ 40,000 บาท ยอดเงินกู้ 40,000 บาท

อตั ราดอกเบย้ี (flat rate) 4% ตอ่ ปี อตั ราดอกเบี้ย (flat rate) 4% ตอ่ ปี

ระยะเวลาผ่อนชาระ 60 เดือน ระยะเวลาผ่อนชาระ 48 เดือน
(5 ป)ี (4 ปี)

1. ให้คานวณหาดอกเบี้ยที่ต้องชาระท้ังหมด และจานวนเงินผ่อนชาระต่อเดือนของท้ัง
2 ร้าน พรอ้ มแสดงวิธีการคานวณ

รา้ น ก รา้ น ข

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวติ 3 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

201

2. จากการคานวณข้างต้น คดิ วา่ จะเลือกเช่าซ้อื รถจักรยานยนตจ์ ากร้านใด เพราะเหตุใด

เลือกซ้ือรถจักรยานยนต์จากร้าน ข เพราะระยะเวลาท่ีผ่อนชาระน้อย ทาให้เสียดอกเบี้ย

น้อยกว่า ซึ่งหากสามารถผ่อนชาระเดือนละ 966.67 บาทได้ จะประหยัดดอกเบี้ยที่จะต้อง

จา่ ย 1,600 บาท (8,000 - 6,400)

กจิ กรรมท่ี 2.3 พจิ ารณาข้อมลู ทีก่ าหนดให้ และนาไปตอบคาถามให้ถกู ตอ้ ง

รถกระบะย่หี ้อ A 850,000 บาท รถกระบะยี่หอ้ B 700,000 บาท

ดาวน์ 170,000 บาท ดาวน์ 140,000 บาท

ยอดเงนิ กู้ 680,000 บาท ยอดเงินกู้ 560,000 บาท

อตั ราดอกเบ้ีย (flat rate) 4% ต่อปี อตั ราดอกเบ้ยี (flat rate) 4% ต่อปี

ระยะเวลาผอ่ นชาระ 60 เดือน ระยะเวลาผอ่ นชาระ 60 เดือน

(5 ปี) (5 ปี)

1. ให้คานวณหาดอกเบ้ียที่ต้องชาระทั้งหมด และจานวนเงินผ่อนชาระต่อเดือนของ
รถกระบะทัง้ 2 ย่ีหอ้

รถกระบะยห่ี ้อ A รถกระบะย่หี อ้ B

2. หากผู้เรียนมีรายได้ 40,000 บาทต่อเดือน และมีภาระผ่อนชาระหน้ีอื่นอยู่แล้วอีก
เดือนละ 1,500 บาท ผู้เรียนควรเลือกเช่าซ้ือรถยนต์ย่ีห้อใด จึงจะไม่เดือดร้อน (ภาระการ
ผ่อนหนี้ไมค่ วรเกิน 1 ใน 3 (33%) ของรายไดต้ ่อเดอื น) พร้อมให้เหตผุ ล

เลือกซื้อรถกระบะย่ีห้อ B เพราะมีรายได้ 40,000 บาท ภาระผ่อนหนี้ต่อเดือนไม่ควรเกิน
13,333.33 บาท ซึ่งปัจจุบันมีผ่อนชาระหนี้อยู่แล้วเดือนละ 1,500 บาท หากรวมกับค่าผ่อนรถ
ยี่ห้อ B รวมภาระหนที้ งั้ สิน้ 12,700 บาท (1,500 + 11,200) จึงไมเ่ กนิ ความสามารถในการผ่อน
ชาระ (ถ้าผ่อนรถย่ีห้อ A จะมีภาระหนี้ท้ังสิ้น 15,100 บาท (1,500 + 13,600) ซ่ึง
เกนิ ความสามารถในการผอ่ นชาระ)

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่อง ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 3 l ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

202

กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 3 เครดติ บูโร
ทาเครื่องหมาย  หน้าข้อ หากเห็นว่าถูกต้อง และทาเคร่ืองหมาย X หน้าข้อ หากเห็นว่า
ไมถ่ ูกต้อง
 1. เครดติ บูโรทาหนา้ ทจ่ี ดั เกบ็ ข้อมูลการชาระหนขี้ องลกู หนท้ี กุ ราย
X 2. เราไมส่ ามารถตรวจสอบขอ้ มลู เครดติ ของตนเองได้
 3. ประวัติเครดิตจะมีรายละเอียดเก่ียวกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ขอสินเชื่อ

รายละเอยี ดของบญั ชีสนิ เชือ่ ทใ่ี ช้บริการ
 4. หากค้างชาระหนี้ ประวัติการคา้ งชาระหนีจ้ ะถูกบันทึกอย่ใู นประวัติเครดิต
X 5. สถาบันการเงินและบริษัทท่ีเป็นสมาชิกสามารถเรียกดูประวัติเครดิตของ

ผูข้ อสนิ เช่ือได้โดยไมต่ อ้ งได้รับความยนิ ยอมจากผขู้ อสินเช่อื
 6. ถ้าสถาบันการเงินปฏิเสธสินเชื่อเนื่องจากผลจากการตรวจสอบข้อมูล

เครดิต ผู้ถูกปฏิเสธสินเชื่อสามารถขอตรวจสอบข้อมูลดังกล่าวได้โดย
ไม่เสียค่าธรรมเนียมในการตรวจสอบ หากย่ืนคาขอภายใน 30 วันนับจาก
วันทีใ่ นหนงั สอื แจง้ ปฏเิ สธดงั กล่าว
 7. เครดติ บโู รจะจดั เกบ็ ข้อมูลเครดิตไวไ้ ม่เกิน 3 ปี นับแตว่ ันที่เครดิตบโู รไดร้ ับ
ข้อมูลจากสมาชิก
 8. หากต้องการตรวจสอบข้อมูลเครดิตของตนเอง สามารถติดต่อได้ท่ี
ศนู ย์ตรวจเครดติ บูโร
X 9. หากมีประวัติค้างชาระหนี้ เครดิตบูโรจะขึ้นบัญชีดาไว้ ทาให้หมดสิทธิ
ไดร้ ับสินเชือ่ จากสถาบันการเงิน
 10. หากชาระหนี้ที่ค้างหมดแล้ว ประวัติเครดิตก็จะรายงานว่า “ไม่ค้างชาระ
หรือค้างชาระไม่เกิน 30 วัน” แต่รายการท่ีเคยค้างชาระก่อนหน้านี้จะ
ไม่ถูกลบออกไป จนกวา่ จะครบ 3 ปี

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชีวติ 3 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

203

กจิ กรรมทา้ ยเรื่องที่ 4 วธิ กี ารป้องกนั ปญั หาหน้ี

อา่ นพฤตกิ รรมตามโจทย์ท่ีให้ต่อไปนี้ และวเิ คราะห์ว่าเปน็ พฤตกิ รรมท่ีดหี รือควรปรับปรุง พร้อมทั้ง
ระบุเหตผุ ล

พฤติกรรม ดี ควร เหตผุ ล
ปรบั ปรุง

1. สมหญิงมีรายได้ 18,000 บาท  ภาระผ่อนหนี้ไม่ควรเกิน 1 ใน 3 ของ
ปจั จุบนั ผอ่ นหนีเ้ ดอื นละ 8,000 รายได้ต่อเดือน ในกรณีนี้คือ 6,000
บาท บาท (18,000 ÷ 3) ดังน้ัน สมหญิงควร
พยายามลดรายจ่าย หรือหารายได้เพิ่ม
เพอ่ื นาเงนิ มาลดภาระหนี้ (เช่น โปะหนี้)
เพื่อให้ภาระหนตี้ ่อเดอื นลดลง

2. สมยศชาระหนปี้ ิดบัญชี  เพราะการปิดบัญชีค่าเช่าซ้ือก่อนครบ
ค่าเชา่ ซอื้ รถก่อนครบกาหนด กาหนด จะได้รับส่วนลดไม่น้อยกว่า
50% ของดอกเบ้ียเช่าซื้อที่ยังไม่ถึง
กาหนดชาระ

3. สมหวังขอกู้เงนิ เพือ่ เปิดรา้ นขาย  ควรนาเงินไปใชใ้ หต้ รงตามวัตถุประสงค์
อาหาร แตพ่ อไดเ้ งินมา กเ็ อาเงนิ ไป ( ถ้ า ร ถ ย น ต์ ไ ม่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร
ซอื้ รถยนต์มาไวข้ บั ประกอบอาชีพก็ไม่ควรซ้ือมาตั้งแต่แรก
หรือควรนาไปขาย เพื่อนาเงินมาใช้ใน
ก ารทาร้าน อาหารอย่ างเต็ มเม็ ด
เต็มหน่วย และสรา้ งรายไดใ้ นอนาคต)

4. นารีรบี ตดิ ต่อบริษัทบตั รเครดติ  ห า ก พ บ ว่ า ร า ย ก า ร เ รี ย ก เ ก็ บ ห นี้
เม่ือพบวา่ มีรายการท่ตี นเองไม่ได้ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง ค ว ร รี บ ติ ด ต่ อ เ จ้ า ห นี้ เ พื่ อ
จา่ ย ดาเนนิ การตรวจสอบโดยเร็ว

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 3 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

204

พฤตกิ รรม ดี ควร เหตผุ ล
ปรับปรุง
5. คมกฤชได้รบั โบนสั และนาเงนิ
ไปชาระหนี้ทัง้ หมดทันที  เพื่อจะได้ไม่ต้องแบกภาระดอกเบี้ย
แต่ต้องตรวจสอบก่อนว่ามีค่าปรับใน
6. สุพฒั น์ไปหาแหลง่ เงนิ ก้นู อก การชาระหน้ีก่อนกาหนดด้วยหรือไม่
ระบบเพื่อนาเงนิ ไปชาระหน้ีใน ถ้ามีให้ลองคานวณก่อนว่าคุ้มหรือไม่
ระบบ ท่ีจะจ่ายค่าปรับเม่ือเปรียบเทียบกับ
7. ดนยั ผ่อนรถจกั ยานยนต์ ดอกเบี้ยทจี่ ะประหยดั ได้
บางครั้งก็จ่ายตรงเวลา บางครัง้
ก็ชาระลา่ ช้าบ้าง แตก่ จ็ า่ ยทกุ งวด  เพราะหนี้นอกระบบอัตราดอกเบ้ีย
8. สมใจลืมบอกเจ้าหนีว้ า่ ตนเอง สูงมาก ส่ิงที่สุพัฒน์ทายิ่งเป็นการเพ่ิม
ย้ายบ้าน ภาระหนีใ้ ห้มากข้ึนอกี

 การชาระล่าช้าทาให้เสียค่าปรับ หรือ
ค่าติดตามทวงถามหนี้

 ควรแจ้งเจ้าหน้ีทราบหากเปลี่ยนแปลง
ที่อยู่ เพื่อไมใ่ หข้ าดการตดิ ตอ่ โดยเฉพาะ
เรอื่ งที่สาคัญ

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอื่ ง ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชีวติ 3 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

205

กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 5 วธิ กี ารแก้ไขปัญหาหน้ี
ใหศ้ กึ ษาปญั หาหนขี้ องนายณรงค์ แล้วตอบคาถามใหถ้ กู ตอ้ ง

ณรงค์เป็นเกษตรกรปลูกลาไย มีรายได้จากการขาย
ลาไยเฉล่ียปีละ 600,000 บาท ต่อมาณรงค์อยากจะ
ปลกู บ้านใหม่บนท่ีดินของตนเอง จึงกู้ยืมเงินจากธนาคาร
A เพื่อสรา้ งบ้านจานวน 1,500,000 บาทโดยใช้
ทด่ี นิ และบา้ นเปน็ หลกั ประกนั โดยณรงค์จะตอ้ งผอ่ นชาระเดือนละ 20,000 บาท ระยะเวลา 20
ปี ซ่ึงณรงค์คิดว่าตนเองมีรายได้เฉล่ียก็ประมาณ 50,000 บาทต่อเดือน การผ่อนเพียงเดือนละ
20,000 บาท ไมน่ ่ามีปัญหา
แต่เมื่อผ่อนไปได้ 3 ปี ณรงค์เร่ิมประสบปัญหาการเงินเน่ืองจากราคาขาย
ลาไยตกต่า จึงกระทบต่อความเป็นอยู่ของครอบครัว เพราะนายณรงค์มีภาระที่ต้องเลี้ยงดู
ภรรยาและมีบุตรอีก 2 คนท่ีกาลังเรียนหนังสือ และยังมีค่าใช้จ่ายในการดูแลสวนลาไยท่ี
ต้องจ่ายทุกเดือน นอกจากนี้ ไม่เพียงแต่จะมีภาระผ่อนหน้ีบ้าน ยังต้องผ่อนค่างวดรถ
กระบะที่ตนเพง่ิ ซือ้ มาได้ไมถ่ ึงปีด้วยอกี เดอื นละ 14,000 บาท
เม่ือเงินเร่ิมไม่พอใช้ ณรงค์จึงไปกู้เงินจากธนาคาร B เพื่อนามาใช้จ่ายอีก
ซึ่งต้องผ่อนเดือนละ 6,000 บาท ทาให้ภาระผ่อนหน้ีเพ่ิมข้ึนเป็นเดือนละ 40,000 บาท
เม่ือรายได้ไม่เพ่ิม ทาให้ณรงค์ไม่สามารถชาระหนี้ได้ จึงเริ่มขาดการชาระหนี้ ในที่สุดเจ้าหนี้
จึงมีจดหมายแจ้งให้ชาระหนี้ค่าเช่าซื้อรถยนต์ท่ีค้างชาระภายใน 30 วัน หากไม่ชาระจะ
บอกเลิกสัญญาและจะยึดรถคืน ส่วนธนาคาร A ก็ติดตามทวงถามหนี้เป็นระยะ แต่ณรงค์
ไม่รับโทรศัพท์ และไม่ติดต่อกลับใด ๆ จนธนาคาร A มีหนังสือให้ณรงค์รีบติดต่อธนาคาร
เพื่อชาระหน้ีท่ีค้างอยู่ท้ังหมดโดยเร็ว มิฉะนั้นจะดาเนินการฟ้องร้องตามกฎหมายและจะยึด
ทรัพยส์ ินทเ่ี ปน็ หลกั ประกันนามาใชห้ นี้ตอ่ ไป

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชีวติ 3 l ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

206

ในสถานการณ์น้ี ณรงค์ควรแก้ไขปัญหาหน้ีด้วยวิธีการใดจึงเหมาะสมท่ีสุด พร้อมอธิบาย
เหตผุ ล

 แกไ้ ขปญั หาหนด้ี ว้ ยตนเอง  เจรจากบั เจา้ หน้ี

เน่ืองจากณรงค์มีภาระผ่อนหน้ีเกินกว่าท่ีควรจะมี และมีระยะเวลาจากัดในการชาระหนี้คืน
แก่เจ้าหน้ี เพราะเจ้าหนี้แต่ละรายได้แจ้งให้ชาระหน้ีที่ค้างชาระภายในระยะเวลาอันสั้น ดังน้ัน
การเจรจากับเจ้าหนี้จึงเป็นทางออกในการแก้ไขปัญหาร่วมกันที่ดีท่ีสุด ซ่ึงณรงค์อาจขอปรับ
โครงสร้างหน้ี โดยขอลดจานวนเงินในการผ่อนชาระต่อเดือนลง หรือลดดอกเบี้ย ค่าปรับ
ค่าธรรมเนยี มต่าง ๆ

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 3 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

207

กิจกรรมท้ายเร่อื งท่ี 6 หน่วยงานท่ีให้คาปรกึ ษาวิธีการแกไ้ ขปัญหาหนี้
อา่ นสถานการณ์ในแตล่ ะขอ้ ต่อไปน้ี และตอบคาถามใหถ้ กู ต้อง
1. สมหวังไปกู้ยืมเงินจากธนาคาร A ต่อมาสมหวังมีปัญหาไม่สามารถชาระหนี้ได้ แต่สมหวัง
ไมร่ ู้จะแก้ไขปัญหาหน้ีของตนเองอยา่ งไร
กรณดี ังกล่าวน้ี ท่านคิดว่าสมหวงั ควรขอคาปรกึ ษาไปยังหนว่ ยงานใด
ตอบ ศนู ย์คมุ้ ครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) ธนาคารแห่งประเทศไทย
2. สายใจหลวมตวั ไปกูย้ ืมเงินจากนายบีซง่ึ เปน็ เจ้าหนีน้ อกระบบ คิดดอกเบี้ยสูงถึง 365% ต่อปี
ทาใหเ้ งินทีจ่ ่ายไปหมดไปกับการจา่ ยดอกเบย้ี
ท่านคิดว่าสายใจควรขอคาปรึกษาหรือร้องเรียนหน่วยงานใด (สามารถตอบได้มากกว่า
1 หนว่ ยงาน)
ตอบ 1) ศนู ยร์ ับแจง้ การเงนิ นอกระบบ กระทรวงการคลงั โทร. 1359

2) กองบังคับการปราบปรามการกระทาผิดเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภค สานักงาน
ตารวจแห่งชาติ โทร. 1135
3. วัลลภเช่าซื้อรถยนต์จากบริษัทมั่งมี ต่อมามีปัญหาค้างชาระ 3 งวดติดต่อกัน บริษัทม่ังมีจึง
ได้มีหนังสือติดต่อให้ไปชาระหนี้ภายใน 30 วัน มิฉะน้ันจะยกเลิกสัญญา วัลลภก็ยังไม่ยอมจ่าย
อยู่ดี ในท่ีสุด บริษัทได้ส่งเจ้าหน้าท่ีมายึดรถ โดยเข้ามากระชากกุญแจรถและทาร้ายร่างกาย
วัลลภ จากสถานการณน์ ีว้ ัลลภควรรอ้ งเรียนไปท่ใี ด (สามารถตอบได้มากกวา่ 1 หนว่ ยงาน)
ตอบ หากมีการกระทาดังกล่าวให้แจ้งความดาเนินคดี และร้องเรียนตาม พ.ร.บ. การทวงถาม
หนี้ พ.ศ. 2558 โดยสามารถร้องเรียนได้ที่กรมการปกครอง สถานีตารวจท้องที่ สานักงาน
เศรษฐกิจการคลงั กองบญั ชาการตารวจนครบาล ท่ีทาการปกครองจังหวดั และท่ีว่าการอาเภอ

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่อง ชดุ วิชาการเงนิ เพ่ือชีวิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

208

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4

กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 1 สิทธิของผ้ใู ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ
กจิ กรรมที่ 1.1 ตอบคาถามต่อไปน้ี

สทิ ธขิ องผู้ใชบ้ รกิ ารทางการเงนิ มอี ะไรบา้ ง ให้อธบิ าย
ตอบ
1) สทิ ธทิ จี่ ะได้รับขอ้ มูลท่ถี ูกตอ้ ง (right to be informed) ผใู้ ชบ้ ริการทางการเงินมี

สิทธิที่จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับบริการที่สนใจ โดยเจ้าหน้าที่สถาบันการเงิน
ต้องอธิบายรายละเอียดเก่ียวกับผลิตภัณฑ์และเงื่อนไขต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ชัดเจน
และครบถ้วนเพียงพอต่อการตัดสินใจในการใช้บริการ เช่น ลักษณะสาคัญของ
ผลิตภัณฑ์ ผลประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ ความเสี่ยง ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม
ตลอดจนค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นเมื่อไม่ทาตามเงื่อนไข และการใช้สื่อทางการตลาดเพื่อ
สง่ เสรมิ การขายต้องไม่ชวนเชือ่ เกินจริง ไม่ทาให้ผู้ใชบ้ ริการเข้าใจผิด

เม่ือได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วนแล้ว ผู้ใช้บริการทางการเงินก็ควร
พิจารณา ตรวจสอบ และสอบถามรายละเอียดให้แน่ใจก่อนตัดสินใจใช้บริการ
เพื่อให้ไดผ้ ลติ ภัณฑแ์ ละบริการท่ีเหมาะสมและตรงความตอ้ งการของผู้ใช้บริการ

2) สิทธิที่จะเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการได้อย่างอิสระ (right to choose)
เจ้าหน้าท่ีสถาบันการเงินสามารถนาเสนอผลิตภัณฑ์และบริการอื่น ๆ ควบคู่กับ
ผลิตภัณฑ์ท่ีผู้ใช้บริการทางการเงินต้องการ แต่ผู้ใช้บริการทางการเงินควรเลือก
ผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินท่ีต้องการจริง ๆ เท่าน้ัน โดยคานึงถึงความจาเป็น
ประโยชน์ท่ีได้รับ ความคุ้มค่า รวมถึงความสามารถในการรับภาระค่าใช้จ่ายท่ี
เกี่ยวข้อง หากผู้ใช้บริการไม่ต้องการผลิตภัณฑ์และบริการที่เจ้าหน้าท่ีเสนอขาย ก็
สามารถปฏเิ สธได้

3) สิทธิที่จะร้องเรียนเพื่อความเป็นธรรม (right to be heard) หากผู้ใช้บริการ
ทางการเงินพบว่าตนเองได้รับการปฏิบัติท่ีไม่ถูกต้องหรือถูกเอาเปรียบ เช่น ได้รับ
ขอ้ มลู ทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง ไม่ครบถว้ น ถูกบงั คบั ใหซ้ ื้อผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ไม่ต้องการ ถูก
ทาให้เข้าใจผิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ คานวณดอกเบี้ยผิด ก็สามารถร้องเรียนไปยัง
สถาบนั การเงนิ ท่ีใชบ้ ริการ และหากยังไม่ได้รับความเปน็ ธรรม กส็ ามารถรอ้ งเรียนไป
ยังหนว่ ยงานท่ีกากบั ดแู ลได้

4) สทิ ธทิ ี่จะได้รับการพจิ ารณาค่าชดเชยหากเกิดความเสียหาย (right to redress)
ผูใ้ ช้บรกิ ารทางการเงินมีสิทธิได้รับการชดเชยตามความเหมาะสม หากพิสูจน์แล้วว่า
เปน็ ความผิดพลาดของสถาบนั การเงิน เชน่ ไม่ได้ปฏิบัติตามแนวนโยบายที่เกี่ยวข้อง

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่อื ง ชดุ วิชาการเงนิ เพอื่ ชีวิต 3 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

209

กับการนาเสนอข้อมูลหรือการเสนอขายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน หรือปฏิบัติงานที่
เก่ียวข้องกับการให้บริการทางการเงินอย่างไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะจงใจหรือประมาท
เลินเล่อ เป็นเหตุให้ผู้ใช้บริการได้รับความเสียหาย เช่น เจ้าหน้าที่ธนาคารขโมย
เงินฝากจากบัญชี ระบบไม่ตัดเงินจากบัญชีทาให้มียอดหน้ีค้างชาระ แต่ผู้ใช้บริการ
ทางการเงนิ จะไม่ได้รับการชดเชยหากความผิดพลาดน้ันเกิดจากผู้ใช้บริการเอง เช่น
ฝากสมุดบัญชีไว้กับเจ้าหน้าท่ีธนาคารเพื่อทารายการแทน โอนเงินจากเคร่ือง
เอทีเอม็ ไปผดิ บัญชีหรอื ใสต่ ัวเลขจานวนเงินผดิ

กจิ กรรมท่ี 1.2 ใหศ้ ึกษากรณตี วั อยา่ งทกี่ าหนด แลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปนี้
1. กรณีที่ 1 บัตรเดบิตพ่วงประกัน: จากกรณีตัวอย่าง การกระทาดังกล่าวเก่ียวข้องกับ
สทิ ธิในขอ้ ใด
ตอบ
1) สิทธิที่จะเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการได้อย่างอิสระ (right to choose)
ผู้ใช้บริการทางการเงินมีสิทธิท่ีจะเลือกใช้หรือไม่ใช้บริการใด ๆ ก็ได้ ตามความ
จาเป็นและประโยชน์ที่จะไดร้ บั
2) สิทธิที่จะร้องเรียนเพื่อความเป็นธรรม (right to be heard) หากผู้ใช้บริการ
ทางการเงินยืนยันว่าต้องการบัตรธรรมดาหรือเปิดบัญชีเพียงอย่างเดียว และ
พนกั งานปฏิเสธการเปดิ บัญชใี ห้ สามารถรอ้ งเรยี นตามขัน้ ตอนดงั นี้
1) ร้องเรียนที่ศูนย์บริการลูกค้า (call center) ของสถาบันการเงินหรือผู้
ใหบ้ ริการทางการเงินน้นั ๆ เพอื่ แจง้ เร่ืองร้องเรียนหรอื ปัญหาทีพ่ บ
2) ห
ากไม่ได้รับการติดต่อกลับภายในระยะเวลาการให้บริการมาตรฐาน หรือ
ไม่ได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสม สามารถขอรับคาปรึกษาหรือร้องเรียนได้ท่ี
ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) โทร. 1213 (ผู้เรียนอาจกล่าวถึง
ช่องทางอื่น ๆ ด้วยก็ได้ เช่น e-mail เว็บไซต์ การร้องเรียนด้วยตนเอง และ
จดหมาย/โทรสาร)

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่ือง ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชวี ติ 3 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

210

2. กรณที ่ี 2 กดเงินแตไ่ ดเ้ งนิ ไม่ครบ: จากกรณตี ัวอยา่ ง การกระทาดังกล่าวเกี่ยวข้องกับ
สิทธใิ นขอ้ ใด
ตอบ สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาค่าชดเชยหากเกิดความเสียหาย (right to
redress) หากพิสูจน์แล้วว่าเกิดจากความขัดข้องของเคร่ืองเอทีเอ็มจริง
ผู้ใช้บริการทางการเงินมีสิทธิท่ีจะได้รับการพิจารณาค่าชดเชย โดยจะต้อง
รีบโทรศัพท์แจ้งศูนย์บริการลูกค้าของธนาคารท่ีเป็นเจ้าของเคร่ืองเอทีเอ็มทันที
อย่าปล่อยให้เวลาผา่ นไปนาน เพราะยง่ิ ทาให้การพิสูจนล์ าบากขึน้

กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 2 หนา้ ที่ของผูใ้ ช้บริการทางการเงนิ
กจิ กรรมที่ 2.1 ใหเ้ ติมคาในช่องวา่ งให้ถกู ต้อง

1. ผู้ใช้บรกิ ารทางการเงินมหี นา้ ท่ีอะไรบา้ ง
ตอบ
1) วางแผนการเงนิ – เพอ่ื จดั การรายจ่ายให้เหมาะสมกับรายรับ ซ่ึงจะทาให้ทราบ
ฐานะทางการเงินของตนเอง และหากมีปัญหาทางการเงิน ก็จะสามารถมองเห็น
สัญญาณและวางแผนรับมอื กบั ปญั หาลว่ งหน้าได้
2) ติดตามข้อมูลข่าวสารทางการเงินอย่างสม่าเสมอ - เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการ
ตัดสินใจเลือกใช้บริการให้เหมาะสมและตรงกับความต้องการของตนเอง
นอกจากข่าวสารเกี่ยวกับบริการทางการเงินแล้ว ภัยทางการเงินก็เป็นสิ่งหนึ่งที่
ผู้ใช้บริการทางการเงินไม่ควรละเลยเพราะการติดตามข่าวสารจะทาให้เข้าใจ
และรู้ทันรูปแบบการหลอกลวงของมิจฉาชีพ และสามารถป้องกันตัวเองจาก
มิจฉาชพี ได้
3) ศึกษารายละเอียดและเปรียบเทียบข้อมูลก่อนเลือกใช้ - จะทาให้เข้าใจ
ลักษณะของผลิตภัณฑ์และบริการ เง่ือนไขท่ีเก่ียวข้อง ผลประโยชน์ท่ีจะได้รับ
ความเสย่ี ง และต้องไม่ลืมที่จะเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ท่ีสนใจจากหลาย ๆ แหล่ง
เพ่ือเลือกสิ่งท่ีเหมาะสมและตรงกับความต้องการของตนเองมากท่ีสุด เช่น
สอบถามพนักงาน อ่านและทาความเข้าใจหนังสือช้ีชวนหรือเอกสารสรุปข้อมูล
สาคัญประกอบการเสนอขายผลิตภัณฑ์ (fact sheet) เพ่ือเปรียบเทียบ
ผลติ ภณั ฑ์

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอื่ ง ชุดวิชาการเงนิ เพอื่ ชีวติ 3 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

211

นอกจากน้ี ก่อนลงนามหรือเซ็นช่ือในสัญญาทาธุรกรรมใด ๆ ผู้ใช้บริการ
ทางการเงินควรอ่านรายละเอียดสัญญาให้ถ่ีถ้วน และต้องเข้าใจเงื่อนไขของ
สญั ญากอ่ นลงนาม หากไม่เข้าใจ ให้สอบถามเจ้าหน้าท่ี เพื่อป้องกันปัญหาท่ีอาจ
เกิดขนึ้ ภายหลัง
4) ตรวจทานความถูกต้องของธุรกรรมทางการเงินทุกครั้ง - เพ่ือรักษา
ผลประโยชน์ของตนเอง โดยเฉพาะอย่างย่ิงข้อมูลที่สาคัญ เช่น ช่ือบัญชี เลขที่
บัญชี จานวนเงิน หากพบวา่ ไมถ่ ูกต้อง ควรรบี แจ้งเจา้ หนา้ ทีท่ นั ที
5) ชาระหนี้เมื่อเป็นหน้ี – ก่อนก่อหน้ีให้ดูความสามารถในการชาระหน้ีของตนเอง
ซึ่งหากมีความจาเป็นและสามารถผ่อนชาระไหว ก็สามารถก่อหนี้ได้ และเมื่อ
เป็นหนี้แล้ว ผู้ใช้บริการทางการเงินมีหน้าที่ท่ีจะต้องชาระหน้ีน้ัน หากไม่ชาระหน้ี
นอกจากจะทาให้หน้ีเพ่ิมข้ึนเพราะดอกเบี้ยแล้ว ก็จะทาให้ประวัติเครดิตเสีย
และเม่อื ตอ้ งการกู้เงินเพอ่ื สิง่ จาเปน็ ในอนาคต อาจถูกปฏิเสธการขอกูไ้ ด้

2. จงอธิบายเกี่ยวกับเอกสารสรุปข้อมูลสาคัญประกอบการเสนอขายผลิตภัณฑ์
หรือ fact sheet ตามหวั ข้อต่อไปนี้
ตอบ
ความหมาย fact sheet หรือเอกสารสรุปข้อมูลสาคัญของผลิตภัณฑ์ คือ
ข้อมูลท่ีสถาบันการเงินจัดทาข้ึนเพื่อเปิดเผยให้ลูกค้าได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับ
ผลติ ภัณฑห์ รอื บริการทางการเงิน
องค์ประกอบ
1) ลกั ษณะสาคญั ของผลติ ภัณฑ์ทางการเงิน
2) ค่าบริการหรือค่าธรรมเนียมท่ีสถาบันการเงินอาจเรียกเก็บจากการใช้
บริการผลติ ภัณฑน์ ้ัน
3) เง่ือนไขและข้อกาหนดที่ควรทราบ
ความสาคัญ
1) ช่วยทาใหค้ ุณรู้จกั ผลติ ภณั ฑน์ ั้น ๆ มากขน้ึ
2) สามารถใชเ้ ปรยี บเทยี บกบั ผลติ ภัณฑ์ประเภทเดยี วกันของสถาบันการเงินอน่ื ๆ
3) ชว่ ยใหส้ ามารถตัดสินใจเลอื กผลติ ภัณฑ์ได้งา่ ย และตรงกับความตอ้ งการ

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชวี ิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

212

กิจกรรมที่ 2.2 ให้ศึกษากรณตี วั อย่างที่กาหนด แลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
1. กรณีที่ 1 ทีวีหรือค่าเทอม: จากกรณีตัวอย่าง ปัญหาที่เกิดข้ึนมีสาเหตุมาจาก
อะไร และสามารถป้องกนั ปัญหาไดอ้ ยา่ งไร
ตอบ สาเหตุ เกิดจากการไม่วางแผนการเงิน เมื่อจาเป็นต้องใช้เงินจึงไม่มีเงินใช้
ในกรณีน้ี คือ ไม่ได้เตรียมเงินสาหรับค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ คือ ค่าเทอมของลูกแม้ว่า
จะได้รบั โบนสั มา ก็ยังนาไปซื้อของ (ทีว)ี ท่มี คี วามจาเปน็ น้อยกวา่ คา่ เทอม
วิธีป้องกัน ลงมือวางแผนการเงิน หรือเร่ิมต้นจัดการกับรายจ่ายแบบง่าย ๆ
ด้วยการจดรายจ่ายท่ีอาจเกิดข้ึนในแต่ละเดือนลงบนปฏิทิน ก็จะทาให้ทราบว่า
แต่ละเดือนมีค่าใช้จ่ายอะไรบ้างที่ต้องเตรียมไว้ และหากมีปัญหาทางการเงิน เช่น
ดูแล้วคิดว่าจะหมุนเงินไม่ทันในช่วงเปิดเทอม ก็จะสามารถวางแผนรับมือกับปัญหา
ล่วงหน้าได้ โดยการทยอยออมเงินทุกเดอื นเป็นค่าเทอม
2. กรณีท่ี 2 สองล้านเหลือสองแสน: จากกรณีตัวอย่าง ปัญหาท่ีเกิดขึ้นมีสาเหตุ
มาจากอะไร และสามารถปอ้ งกนั ปญั หาไดอ้ ย่างไร
ตอบ สาเหตุ เกิดจากความผิดพลาดของพนักงาน และการท่ีผู้ใช้บริการไม่ตรวจสอบ
ความถูกต้องของธรุ กรรมการเงนิ ทีท่ า
วิธีป้องกัน ต้องตรวจทานความถูกต้องของธุรกรรมท่ีเราทาทุกคร้ัง โดยเฉพาะ
อย่างย่ิงข้อมูลท่ีสาคัญ เช่น ชื่อบัญชี เลขท่ีบัญชี จานวนเงิน หากพบว่าไม่ถูกต้อง
ตอ้ งแจง้ เจา้ หน้าทที่ ันที อยา่ ปล่อยไว้นานเพราะทาให้แก้ไขลาบาก
3. กรณีท่ี 3 เพราะรถคันเดียว: จากกรณีตัวอย่าง ปัญหาท่ีเกิดข้ึนมีสาเหตุมาจาก
อะไร และสามารถป้องกนั ปญั หาได้อยา่ งไร
ตอบ สาเหตุ เกดิ จากไมช่ าระหนเ้ี ดิม ทาใหไ้ มส่ ามารถกู้เงินครงั้ ใหม่ได้
วิธปี อ้ งกนั เมื่อเปน็ หน้ี ควรชาระตามกาหนดเวลา เพ่ือไม่ให้มีประวัติค้างชาระ
และมีโอกาสมากขึ้นที่จะกู้เงินได้ตามความต้องการ เม่ือต้องการกู้เงินเพ่ือส่ิงอื่น ๆ
ในอนาคต

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชีวติ 3 l ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

213

กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 3 บทบาทศูนย์คมุ้ ครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) และหนว่ ยงานท่ี
รับเรื่องรอ้ งเรียนอ่ืน ๆ

กิจกรรมที่ 3 ให้เติมคาในช่องวา่ งให้ถกู ต้อง

1. ศูนยค์ มุ้ ครองผู้ใช้บริการทางการเงนิ (ศคง.) มีหนา้ ทอ่ี ยา่ งไร

ตอบ

1) ดูแลเรือ่ งรอ้ งเรียนที่เก่ียวข้องกบั บริการทางการเงนิ ของสถาบนั การเงินท่ีอยู่ภายใต้

การกากบั ของ ธปท.

2) สง่ เสริมความรูเ้ ก่ยี วกบั บรกิ ารทางการเงิน

3) ส่งเสริมบทบาทหน้าท่ีของ ธปท. ในการกากับดูแลให้สถาบันการเงินให้บริการแก่

ลูกค้าอย่างเป็นธรรม

2. หากต้องการขอคาปรกึ ษา/ร้องเรยี นเร่ืองต่อไปนี้ ควรตดิ ตอ่ หน่วยงานใด

เรือ่ งทีข่ อคาปรึกษา/ร้องเรียน หน่วยงานทเี่ กยี่ วข้อง

1. บริษัทท่ีเสนอขายหลักทรัพย์ให้ข้อมูล 1. สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์

ไมถ่ กู ตอ้ ง และตลาดหลักทรพั ย์ (ก.ล.ต.)

2. ต้องการทราบข้ันตอนการขอยกเลิก 2. สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริม

กรมธรรม์ประกนั ชีวติ การประกอบธุรกจิ ประกนั ภยั (คปภ.)

3. สงสัยว่าธุรกิจท่ีเพ่ือนมาชวนร่วมลงทุน 3. สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั (สศค.)
จะเปน็ แชร์ลูกโซ่

4. ตรวจสอบข้อมูลประวัติเครดิตแล้ว 4. บริษัท ขอ้ มูลเครดติ แหง่ ชาติ จากดั
พบว่ามีบัตรกดเงินสด 3 ใบ แต่จริง ๆ (เครดติ บโู ร)
แล้วมีเพยี งใบเดียว

5. จ่ายค่าเช่าซ้ือรถครบตามสัญญาต้ังแต่ 5. สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
2 เดือนก่อน แต่บริษัทลีสซิ่งยังไม่ยอม (สคบ.)
โอนรถให้

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรื่อง ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 3 l ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

214

กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 4 ขัน้ ตอนการรอ้ งเรียนและหลกั การเขียนหนังสอื รอ้ งเรียน
กจิ กรรมที่ 4 ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

1. การรอ้ งเรียนเกีย่ วกบั บรกิ ารทางการเงนิ มีข้ันตอนอยา่ งไร
ตอบ
1) ร้องเรียนท่ีศูนย์บริการลูกค้า (call center) ของสถาบันการเงินหรือผู้ให้บริการ
ทางการเงินนั้น ๆ เพ่อื แจง้ เรอ่ื งรอ้ งเรยี นหรอื ปัญหาทพี่ บ
2) หากไม่ได้รับการติดต่อกลับภายในระยะเวลาการให้บริการมาตรฐาน หรือไม่
ได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสม สามารถขอรับคาปรึกษาได้ท่ีศูนย์คุ้มครอง
ผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) โทร. 1213 (ผู้เรียนอาจกล่าวถึงช่องทางอ่ืน ๆ
ด้วยก็ได้ เช่น e-mail เว็บไซต์ การร้องเรียนด้วยตนเอง จดหมาย/โทรสาร)

2. การเขียนหนังสือร้องเรียนมีหลกั การเขยี นอยา่ งไร
ตอบ
1) เล่าเหตุการณส์ าคญั โดยมกี ารเรยี งลาดับเหตกุ ารณ์
2) ให้ขอ้ มลู ท่สี าคัญและจาเป็นให้ครบถ้วน
3) แจ้งส่ิงที่ตอ้ งการใหส้ ถาบันการเงนิ ดาเนินการ
4) แจง้ ขอ้ มลู ส่วนตวั เช่น ชอ่ื ท่ีอยู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ท่ีสามารถตดิ ตอ่ ได้
5) แนบเอกสารที่เก่ียวข้องให้ครบถ้วน (ผู้เรียนอาจยกตัวอย่างเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง
ประกอบด้วย เช่น สาเนาบัตรประจาตวั ประชาชน สาเนาใบแจ้งหน)ี้

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง ชดุ วิชาการเงนิ เพอื่ ชีวติ 3 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

215

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5

กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 1 หนน้ี อกระบบ
กิจกรรมท่ี 1.1 หาภาพข่าวจากหนังสือพิมพ์เก่ียวกับกลโกงของหนี้นอกระบบมา พร้อมทั้ง
อธบิ ายลักษณะกลโกงดงั กลา่ ว

ตอบ ลักษณะกลโกง มีดงั นี้

1) ใชต้ ัวเลขน้อย ๆ เพ่ือจงู ใจ
2) ให้เซน็ เอกสารทไ่ี มไ่ ดก้ รอกตวั เลข
3) ไมใ่ ห้ลกู หนีอ้ า่ นเอกสารทตี่ ้องเซ็น
4) บีบใหเ้ ซน็ สญั ญาเงนิ ก้จู ริง
5) ทาสัญญาขายฝากแทนสัญญาจานอง
6) หลีกเลย่ี งใหก้ ู้โดยตรง
7) ทวงหนโี้ หด

กจิ กรรมที่ 1.2 ศึกษากรณตี วั อยา่ งที่กาหนดใหแ้ ละตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

กรณีตวั อยา่ ง เจ๊เคยี วเงนิ ดว่ น

1. เราจะป้องกันตนเองจากภยั เงนิ กู้นอกระบบได้อยา่ งไร
ตอบ
1) หยุดใช้เงินเกินตัว – ตรวจสอบพฤติกรรมการใช้เงินของตนเองโดยการจดบันทึก
รายรับ-รายจา่ ย แล้ววางแผนใชเ้ งินอย่างเหมาะสมกบั รายไดแ้ ละความจาเปน็
2) วางแผนการเงินล่วงหน้า – คานึงถึงค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ท่ีอาจเกิดขึ้นในอนาคต เช่น
ค่าเล่าเรยี นลูก แล้ววางแผนทยอยออมล่วงหนา้ รวมถึงออมเงินเผอ่ื เหตุการณ์ฉุกเฉิน
ดว้ ย
3) คิดให้ดีก่อนตัดสินใจก่อหน้ี – ทบทวนดูความจาเป็นว่าต้องใช้เงินจริง ๆ หรือไม่
และหากต้องกู้จริง ๆ จะสามารถชาระหนี้ได้หรือไม่ เพราะนอกจากดอกเบี้ยท่ีแสน
แพงแล้ว อาจตอ้ งเจอกับเหตกุ ารณ์ทวงหนแ้ี บบโหด ๆ อีกดว้ ย
4) เลือกกู้ในระบบ – หากจาเป็นต้องกู้ ควรเลือกกู้ในระบบดีกว่า เพราะนอกจากจะมี
หน่วยงานภาครฐั คอยดแู ลแล้ว ยังระบดุ อกเบยี้ ในสัญญาชดั เจนและเป็นธรรมกว่า
5) ศึกษารายละเอียดผู้ให้กู้ – ดูว่าผู้ให้กู้นั้นน่าเชื่อถือหรือไม่ มีเงื่อนไขชาระเงินหรือ
อัตราดอกเบ้ียที่เอาเปรียบผู้กู้เกนิ ไปหรือไม่

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่ือง ชุดวชิ าการเงินเพื่อชีวติ 3 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

216

6) ศึกษาวิธีคิดดอกเบี้ย – หนี้นอกระบบมักคิดอัตราดอกเบี้ยด้วยวิธีเงินต้นคงที่ (flat
rate) ซ่ึงทาให้ลูกหนี้ต้องจ่ายดอกเบ้ียมากกว่าการคิดดอกเบ้ียแบบลดต้นลดดอก
(effective rate) เพราะดอกเบ้ียจะถูกคิดจากเงินต้นทั้งก้อนแม้ว่าจะทยอยจ่ายคืน
ทกุ เดอื นกต็ าม

7) หากจาเป็นต้องก้เู งนิ นอกระบบตอ้ งใสใ่ จ
 ไมเ่ ซน็ สญั ญาในเอกสารทย่ี งั ไม่ไดก้ รอกข้อความหรอื วงเงินกูไ้ มต่ รงกบั ความจรงิ
 ตรวจสอบข้อความในสัญญาเงนิ กู้ รวมถงึ ดูวา่ เป็นเง่อื นไขทเ่ี ราทาได้จริง ๆ
 เกบ็ สัญญาคฉู่ บบั ไวก้ ับตวั เพอ่ื เป็นหลักฐานการกู้
 ทาสัญญาจานองแทนการทาสัญญาขายฝาก เพราะการขายฝากจะทาให้
กรรมสิทธ์ิตกเปน็ ของเจา้ หนที้ ันทีหากผกู้ ไู้ มม่ าไถ่คนื ตามกาหนด

8) ตดิ ตามขา่ วสารกลโกงอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
2. จากกรณตี ามภาพข้างต้น ชายในภาพควรแกไ้ ขปญั หาของตนเองอย่างไร

ตอบ
1) หาแหลง่ เงินกูใ้ นระบบทมี่ ีดอกเบ้ียถูกกวา่ มาชาระคนื
2) หากไมส่ ามารถกยู้ มื เงนิ ในระบบได้ ผกู้ ู้อาจต้องยอมขายทรัพย์สินบางส่วนเพ่ือนามา

ชาระหน้ี
3) ขอรับคาปรกึ ษาไดจ้ ากองค์กร/หน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอื่ ง ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชีวิต 3 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

217

กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 2 แชร์ลกู โซ่

กจิ กรรมท่ี 2.1 ตอบคาถามต่อไปน้ี

1. อธบิ ายลกั ษณะกลโกงแชร์ลกู โซ่ในคราบธรุ กิจขายตรง

ตอบ มิจฉาชีพจะโฆษณาชวนเชื่อให้เหยื่อทาธุรกิจขายตรงท่ีมีผลตอบแทนสูง โดยท่ี
เหยื่อไม่ต้องทาอะไร เพียงแค่ชักชวนเพื่อนหรือญาติพ่ีน้องให้ร่วมทาธุรกิจ ไม่เน้นการ
ขาย สาธติ หรือทาใหส้ มาชกิ เขา้ ใจในตวั สินคา้ เมอ่ื เหยอื่ เริ่มสนใจ จะให้เหยื่อเข้าร่วมฟัง
สมั มนา และโนม้ น้าวหรอื หลอกลอ่ ให้เหย่อื จ่ายค่าสมคั รสมาชกิ หรือซื้อสินค้าแรกเข้าซึ่ง
มีมลู คา่ ท่คี อ่ นขา้ งสูง (สนิ คา้ สว่ นมากมกั ไม่มีคุณภาพ) หรืออาจให้เหย่ือซ้ือหุ้นหรือหน่วย
ลงทนุ โดยไม่ต้องรบั สนิ ค้าไปขาย แล้วกร็ อรับเงินปันผลได้เลย

ค่าสมัครสมาชิก ค่าซ้ือสินค้าแรกเข้า ค่าหุ้นหรือค่าหน่วยลงทุนของสมาชิกใหม่
จะถูกนามาจา่ ยเป็นผลตอบแทนให้กับสมาชิกเก่า เมื่อไหร่ที่ไม่สามารถหาสมาชิกใหม่ได้
แชร์ก็จะล้มเพราะไมส่ ามารถหาเงินมาจ่ายผลตอบแทนและเงนิ ท่ลี งทนุ คืนสมาชิกได้

ปัจจบุ นั ยงั มีการโฆษณาชักชวนผู้ลงทุนผ่านอินเทอร์เน็ตอีกด้วย โดยมิจฉาชีพจะ
หลอกให้เหย่ือกรอกข้อมูลส่วนตัวในอินเทอร์เน็ต แล้วติดต่อเหย่ือเพื่อชักชวนให้เข้า
รว่ มงานสมั มนาโดยอ้างวา่ มบี ุคคลท่ีมีช่ือเสียงเข้ารว่ มด้วย

2. อธิบายลักษณะกลโกงแขร์ลูกโซ่หลอกลงทนุ
ตอบ มิจฉาชีพมักอ้างว่ามีสิทธิพิเศษ หรือได้โควตาซ้ือสินค้าราคาถูกเป็นจานวนมาก
หรือมีการลงทุนท่ีให้ผลตอบแทนสูงและแน่นอน จึงอยากชักชวนให้เหยื่อลงทุนร่วมกัน
เช่น โควตาจาหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาล (แชร์ลอตเตอรี่) อุตสาหกรรมปลูกป่าเพ่ือ
ส่งขายตลาดในตา่ งประเทศ (แชรไ์ ม้) เก็งกาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน (แชร์ FOREX) โดย
สรา้ งเวบ็ ไซตเ์ พื่อให้ดูน่าเช่ือถอื หรอื บางรายกอ็ ้างว่ามีสาขาในต่างประเทศ แต่ความจริง
แล้ว ไม่ได้ทาธรุ กิจดงั กล่าวจริง
มิจฉาชีพจะใช้วิธีหมุนเงินจากผู้ลงทุนรายใหม่ไปจ่ายเป็นผลตอบแทนให้แก่
ผู้ลงทุนรายเก่า จึงต้องพยายามหาผู้ลงทุนรายใหม่อยู่เรื่อย ๆ เพื่อให้มีเงินไปจ่ายเป็น
ผลตอบแทน แต่หากไม่สามารถหาผู้ลงทุนรายใหม่ได้ ก็จะไม่สามารถจ่ายผลตอบแทน
คนื ใหแ้ กร่ ายเก่าได้

3. อธิบายลกั ษณะกลโกงแชรล์ กู โซห่ ลอกขายสินคา้ ผ่านอนิ เทอร์เน็ต
ตอบ มิจฉาชีพจะแฝงตัวเป็นพ่อค้าหรือแม่ค้า แล้วอ้างว่าสามารถหาสินค้าหายากหรือ
สินค้าท่ีกาลังอยู่ในความต้องการของตลาด (เช่น สินค้ารุ่นใหม่ล่าสุด หรือยังไม่มีขายใน

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวิชาการเงินเพ่ือชีวติ 3 l ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

218

ประเทศไทย) ได้ในราคาถูก จึงประกาศขายสินค้าดังกล่าวในราคาท่ีถูกกว่าท้องตลาด
เป็นจานวนมากผ่านทางอนิ เทอรเ์ นต็

เมอ่ื เหยอ่ื หลงเชื่อสั่งซ้อื สินค้าและโอนเงินให้แก่มิจฉาชีพในครั้งแรก มิจฉาชีพจะ
ส่งสินค้าให้เหยื่อตามจานวนที่สั่งซื้อ และเมื่อเหย่ือได้สินค้าในราคาถูก ก็จะบอกต่อ
ชักชวนญาติพ่ีน้องหรือเพื่อนฝูงให้มาซ้ือสินค้าเป็นจานวนมากแล้วโอนเงินค่าสินค้า
ท้ังหมดให้แก่มิจฉาชีพ หลังจากน้ันมิจฉาชีพก็จะเชิดเงินนั้นหนีไปโดยไม่ส่งสินค้าใด ๆ
ให้แกเ่ หยื่อเลย

กิจกรรมท่ี 2.2 ศกึ ษากรณีตัวอย่างท่กี าหนดให้ และตอบคาถามต่อไปนี้
1. กรณีตัวอย่างเป็นกลโกงลักษณะใด
ตอบ แชรล์ ูกโซใ่ นคราบธุรกจิ ขายตรง
2. หากไม่ตอ้ งการตกเปน็ เหย่อื กลโกงดังกลา่ ว ควรมีวิธปี ้องกนั อยา่ งไร
ตอบ
1) ไม่โลภไปกับผลตอบแทนหรือสินค้าราคาถูกที่นามาหลอกล่อ เพราะผลตอบแทน
ยงิ่ สงู ย่ิงมคี วามเส่ยี งมากทจ่ี ะเป็นแชรล์ กู โซ่
2) ไม่กรอกข้อมูลหรือให้ข้อมูลส่วนตัวในเว็บไซต์ หรือตอบกลับอีเมลที่ไม่น่าเชื่อถือ
เพราะอาจกลายเป็นเหยื่อแชร์ลูกโซ่
3) หลีกเลี่ยงการเข้าร่วมกิจกรรมกับกลุ่มธุรกิจท่ีไม่แน่ใจ เพราะอาจถูกหว่านล้อมให้
รว่ มลงทนุ ในธรุ กจิ แชร์ลกู โซ่
4) อย่าเกรงใจจนไม่กล้าปฏิเสธ เม่ือมีคนชักชวนทาธุรกิจที่มีลักษณะคล้ายแชร์ลูกโซ่
เพราะอาจทาใหส้ ูญเสียเงนิ ได้
5) ศึกษาท่ีมาท่ีไปของการลงทุนหรือสินค้าให้ดีก่อนการลงทุน โดยเฉพาะธุรกิจหรือ
สินคา้ ท่ีให้ผลตอบแทนสงู มากในเวลาอนั ส้ัน หรอื มีราคาถูกผดิ ปกติ
6) ตดิ ตามขา่ วสารกลโกงเป็นประจา

3. หากตกเป็นเหยอ่ื กลโกงดงั กลา่ ว จะขอรบั คาปรกึ ษาจากองคก์ รหรอื หน่วยงานใด
ตอบ ส่วนป้องปรามการเงินนอกระบบ สานักนโยบายพัฒนาระบบการเงินภาค
ประชาชน สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ซอยอารีย์สัมพันธ์
ถนนพระราม 6 สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ โทร. 1359

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่ือง ชดุ วิชาการเงินเพื่อชีวิต 3 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

219

กจิ กรรมท้ายเรื่องที่ 3 ภยั ใกล้ตัว
กจิ กรรมท่ี 3 ศกึ ษากรณีตัวอยา่ งท่กี าหนดให้ และตอบคาถามต่อไปน้ี

1. จากกรณีตวั อย่าง เราจะมวี ิธีการปอ้ งกันตนเองอย่างไร
ตอบ
1) ไม่โลภ ไม่อยากได้เงินรางวัลท่ีไม่มีท่ีมา หากมีคนเสนอให้ ควรสงสัยไว้ก่อนว่าอาจ
เปน็ ภยั ทางการเงนิ
2) ไม่รูจ้ ัก...ไมใ่ ห้ ไมใ่ หท้ ง้ั ข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขท่ีบัตรประจาตัวประชาชน วัน/เดือน/
ปีเกิด และข้อมูลทางการเงิน เช่น เลขท่ีบัญชี รหัสบัตรเอทีเอ็ม/บัตรเดบิต และ
ไมโ่ อนเงนิ แม้ผ้ตู ิดตอ่ จะอา้ งวา่ เป็นหน่วยงานราชการหรอื สถาบนั การเงิน
3) ศึกษาหาข้อมูล ก่อนเซ็นสัญญา ตกลงจ่ายเงิน หรือโอนเงินให้ใคร ควรศึกษาข้อมูล
เงอื่ นไข ข้อตกลง ความน่าเชอ่ื ถอื และความนา่ จะเป็นไปได้ก่อน
4) อ้างใคร ถามคนน้ัน อ้างถึงใครให้สอบถามคนน้ัน เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย
โทร. 1213 หรือ DSI โทร. 1202
5) สงสัยให้ปรึกษา ควรหาที่ปรึกษาท่ีไว้ใจได้ หรือปรึกษาเกี่ยวกับภัยทางการเงินได้ที่
ศคง. โทร. 1213 และศูนยร์ บั แจ้งการเงนิ นอกระบบ โทร. 1359
6) ติดตามขา่ วสารกลโกงเปน็ ประจา เพ่อื รู้เท่าทันเลห่ ์เหลีย่ มกลโกง

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรือ่ ง ชุดวชิ าการเงินเพื่อชวี ติ 3 l ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

220

กจิ กรรมทา้ ยเรื่องที่ 4 แกง๊ คอลเซนเตอร์

กิจกรรมที่ 4 ศกึ ษากรณตี วั อยา่ งเพือ่ ตอบคาถามข้อท่ี 1 – 3

กรณตี ัวอยา่ ง กรงิ๊ เดียว...เงนิ กห็ ายได้
1. จากกรณีตวั อย่าง เป็นลกั ษณะของกลโกงประเภทใด
ตอบ แก๊งคอลเซนเตอร/์ หลอกว่าเปน็ หนบ้ี ัตรเครดิต
2. หากไมต่ อ้ งการตกเปน็ เหยอ่ื เหมอื นสมชาย จะมวี ธิ ีปอ้ งกันอยา่ งไร
ตอบ
1) คิดทบทวน ว่าเร่ืองราวท่ีได้ยินมามีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน เคยทาธุรกรรม
กับหน่วยงานท่ีถูกอ้างถึงหรือไม่ หรือเคยเข้าร่วมชิงรางวัลกับองค์กรไหน
จรงิ หรอื เปล่า
2) ไม่ร้จู กั ไมค่ ุ้นเคย ไม่ใหข้ ้อมูล ทงั้ ข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขท่ีบัตรประชาชน วัน/เดือน/
ปีเกดิ และขอ้ มูลทางการเงนิ เชน่ เลขท่ีบัญชี รหัสกดเงนิ
3) ไม่ทารายการท่ีเครื่องเอทีเอ็มตามคาบอก แม้คนท่ีโทรมาจะบอกว่าเป็นเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐหรือสถาบันการเงิน เพราะหน่วยงานของรัฐและสถาบันการเงินไม่มีนโยบาย
สอบถามขอ้ มลู ส่วนตวั ของประชาชนหรอื ลูกค้าผ่านทางโทรศัพท์
4) ไม่โอนเงินคืนเอง หากมีคนโอนเงินผิดเข้าบัญชี ควรสอบถามโดยตรงกับสถาบัน
การเงินถึงท่ีมาของเงินดังกล่าว หากเป็นเงินที่โอนผิดจริง จะต้องให้สถาบันการเงิน
เป็นผูด้ าเนนิ การโอนเงินคืนเทา่ น้นั
5) ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน สอบถามสถาบันการเงินหรือหน่วยงานที่ถูกอ้างถึง
โดยตรง โดยติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) หรือสาขาของสถาบันการเงิน
นนั้ ๆ
3. หากตกเป็นเหยอ่ื แกง๊ คอลเซนเตอรแ์ ลว้ ควรทาอยา่ งไร
ตอบ

1) ตดิ ตอ่ ฝา่ ยบริการลกู คา้ (call center) ของสถาบันการเงินน้ัน ๆ เพ่ือระงับการโอน
และถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารท่ีเกี่ยวข้องเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการขอระงับ
การโอนและถอนเงิน ท้ังนี้ แต่ละสถาบันการเงินมีวิธีปฏิบัติท่ีแตกต่างกัน ควร
ติดต่อสอบถามขน้ั ตอนจากสถาบนั การเงนิ โดยตรง

2) แจ้งเบาะแสไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) เลขท่ี 128 ถนนแจ้งวัฒนะ
แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 1202

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 3 l ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

221

กิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 5 ภยั ออนไลน์
กิจกรรมที่ 5 ศึกษากรณีตวั อย่างต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามในข้อ 1 – 3

1. จากกรณตี ัวอยา่ ง เปน็ ลักษณะของกลโกงประเภทใด
ตอบ ภัยออนไลน/์ เงนิ กอู้ อนไลน์

2. หากไม่ต้องการตกเปน็ เหย่ือเหมอื นนายชยั จะมวี ธิ ปี อ้ งกันอยา่ งไร
ตอบ
1) คดิ ทบทวนว่าเรื่องที่เจอหรือได้ยินมามีความน่าเช่ือถือมากน้อยแค่ไหน หากโอนเงิน
ไปแล้ว มโี อกาสได้คืนไหม
2) เปิดเผยเท่าที่จาเป็น โดยเฉพาะข้อมูลส่วนตัวในโซเชียลเน็ตเวิร์กที่มิจฉาชีพอาจ
นาไปแอบอา้ งใช้ทาธรุ กรรมตา่ ง ๆ ได้
3) ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน หากอ้างถึงบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรใด ๆ ควร
ตดิ ตอ่ สอบถามบคุ คลนั้น หรือองคก์ รนัน้ ๆ โดยตรง
4) ติดตามขา่ วสารกลโกงเป็นประจา เพอ่ื ร้เู ท่าทันเลห่ ์เหล่ียมกลโกง

3. ในกรณนี ้ี นายชัยควรแก้ไขปัญหานอ้ี ย่างไร
ตอบ
1) ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของธนาคารนั้น ๆ เพื่อระงับการโอนและ
ถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารเพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการขอระงับการโอนและ
ถอนเงิน ทั้งนี้ แต่ละธนาคารมีวิธีปฏิบัติท่ีแตกต่างกัน ควรติดต่อสอบถามข้ันตอน
จากธนาคารโดยตรง
2) แจง้ เบาะแสแกเ่ จ้าหน้าที่ตารวจเพ่อื ตดิ ตามคนรา้ ย

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรือ่ ง ชดุ วชิ าการเงนิ เพือ่ ชวี ิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

222

กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 6 ภยั ธนาคารออนไลน์
กจิ กรรมท่ี 6 ศึกษากรณีตัวอย่างเพ่ือตอบคาถามขอ้ ที่ 1 - 3

1. กรณตี วั อย่างเปน็ ลักษณะของกลโกงประเภทใด
ตอบ ภัยธนาคารออนไลน์/แฝงโปรแกรมร้ายหรือมัลแวร์มาให้ดาวน์โหลดใน
คอมพวิ เตอร์

2. หากไมต่ อ้ งการตกเป็นเหยอ่ื เหมอื นวัลลภ จะมวี ิธีปอ้ งกันอยา่ งไร
ตอบ
1) ไม่ติดตงั้ หรือดาวน์โหลดโปรแกรมแปลก ๆ หรือผิดกฎหมาย เพราะอาจเป็นช่องทาง
ใหม้ ลั แวร์เขา้ มาในอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ (คอมพวิ เตอร์ สมาร์ตโฟน หรอื แทบเลต็ ) ได้
2) ตรวจสอบอุปกรณ์ที่ใช้ทาธุรกรรมออนไลน์เป็นประจาว่า มีมัลแวร์แฝงอยู่หรือไม่
โดยใชโ้ ปรแกรมตรวจสอบและป้องกันไวรัสทีถ่ กู กฎหมายและเป็นปจั จุบัน
3) สงั เกตอเี มลและเว็บไซต์ ก่อนคลกิ ลงิ กห์ รอื ลงชือ่ เข้าใช้งานธนาคารออนไลน์
4) จากัดวงเงินในการทาธุรกรรมผ่านธนาคารออนไลน์ เพ่ือลดความเสียหายหากถูก
แอบเข้าใช้บัญชี
5) ตรวจสอบรายการเคลอื่ นไหวในบัญชี และการเข้าใช้ระบบธนาคารออนไลน์อยู่เสมอ
วา่ เป็นรายการทไ่ี ด้ทาไวห้ รอื ไม่
6) หลีกเล่ียงการทาธุรกรรมทางการเงินผ่านอินเทอร์เน็ตสาธารณะ หรือ ฟรี Wi-Fi เพื่อ
ป้องกันการดักขโมยข้อมูล แต่หากจาเป็นต้องใช้ ให้รีบเปล่ียนรหัสผ่านหลังจากการ
ใช้งาน
7) หลีกเล่ียงการใช้งานธนาคารออนไลน์ผ่านอุปกรณ์ที่มีการดัดแปลง หรือแก้ไข
ระบบปฏิบตั ิการ เพราะมีความเสยี่ งสงู ท่จี ะถูกขโมยข้อมลู
8) ควรกดปุ่ม “ออกจากระบบ” (log out) ทกุ ครง้ั เม่ือไมใ่ ชง้ าน

3. วลั ลภควรแก้ไขปัญหาน้ีอย่างไร
ตอบ แจ้งเหตุการณ์แก่เจ้าหน้าท่ีธนาคารหรือฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของ
ธนาคารทันที พรอ้ มทั้งขอคาปรึกษาเกย่ี วกบั วิธแี กไ้ ขและการใชง้ านท่ปี ลอดภัย

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 3 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

223

กจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 7 ภยั บตั รอิเล็กทรอนิกส์
กจิ กรรมที่ 7 ศกึ ษากรณตี ัวอยา่ งเพื่อตอบคาถามขอ้ ที่ 1 - 3

1. จากกรณีตวั อยา่ ง เปน็ ลักษณะของกลโกงประเภทใด
ตอบ ขโมยขอ้ มูลในบัตรแถบแมเ่ หลก็ ผ่านเครือ่ ง skimmer

2. หากไมต่ ้องการตกเปน็ เหย่อื ในลักษณะนี้ จะมวี ิธีป้องกันอย่างไร
ตอบ
1) ไม่บอกข้อมูลส่วนตัวแก่บุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็นรหัสบัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต หรือ
ข้อมลู ทางการเงิน หรือใหค้ นอืน่ ทาธรุ กรรมแทน
2) สังเกตเครื่องเอทีเอ็ม ว่ามีส่ิงแปลกปลอมติดอยู่ท่ีช่องสอดบัตร แป้นกดตัวเลข และ
บรเิ วณโดยรอบว่ามกี ลอ้ งขนาดจ๋ิวแอบดกู ารกดรหัสหรอื ไม่
3) เปลี่ยนรหัสผ่านอย่างน้อยทุก 3 เดือน หรือบ่อยกว่า โดยรหัสผ่านจะต้องเดายาก
เป็นความลบั แตเ่ จา้ ของบตั รตอ้ งจาได้
4) อยู่ในระยะท่มี องเหน็ การทารายการเมอ่ื ใชบ้ ัตรทีร่ ้านค้า เพอื่ ปอ้ งกนั พนกั งานนา
บัตรไปรดู กับเครอ่ื งขโมยข้อมลู (กรณที ีน่ าบตั รไปใชซ้ ื้อสนิ ค้าและบรกิ าร)
5) ตรวจสอบใบบนั ทกึ รายการของบตั รเอทเี อม็ ทกุ คร้ัง และควรเก็บไว้เพ่ือเป็นหลักฐาน
ในการตรวจสอบ
6) ตรวจสอบรายการใช้จ่ายของบัตรเครดิตอยา่ งสม่าเสมอ
7) แจง้ ธนาคารผู้ออกบตั รทันที หากมีรายการผิดปกตใิ ห้

3. หากเราตกเป็นเหยื่อ เราควรแก้ไขปัญหาอย่างไร
ตอบ
1) ทบทวนเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน แล้วรีบติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของ
ธนาคารเพ่ืออายัดบัตรและขอทราบวิธีการและขั้นตอนการแก้ไขปัญหา ท้ังน้ี แต่ละ
ธนาคารมวี ิธปี ฏิบัติที่แตกต่างกนั ไป
2) รวบรวมข้อมูลที่เก่ียวข้อง เช่น ตาแหน่งท่ีตั้งเครื่องเอทีเอ็ม และไปแจ้งความ
ณ สถานีตารวจในท้องทที่ ่ีเกดิ เหตุ

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่ือง ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชวี ติ 3 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

224

บรรณานุกรม
ตลาดหลักทรัพย์แหง่ ประเทศไทย. (2553). การบรหิ ารการเงินส่วนบคุ คล. กรุงเทพฯ: ตลาด

หลกั ทรพั ย์แห่งประเทศไทย.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2016). รรู้ อบเรอื่ งการเงิน กรุงเทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย.
Australian Securities and Investment Commission. (2012). Managing Your Money.

Australia: Australian Securities and Investment Commission.
Commission for Financial Capability. (2014). Set Your Goals. New Zealand:

Commission for Financial Capability.
Securities and Exchange Board of India. (2011). Financial Education for Middle

Income. Mumbai: Securities and Exchange Board of India.
The Investor Education Center. (2014). Financial Planning. Hong Kong: The
Investor Education Center.

บรรณานกุ รม ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

225

แหลง่ อ้างองิ ออนไลน์

กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก:
http://www.mfa.go.th/asean/th/other/2363 (วันทค่ี ้นขอ้ มลู : 8 มิถุนายน
2559).

กรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟรกิ า กระทรวงการตา่ งประเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก:
http://sameaf.mfa.go.th/th/country/ (วันท่ีค้นข้อมลู : 8 มิถนุ ายน 2559).

กนั ตภณ ศรีชาต.ิ เงินเสมือน (Virtual Currency) ต่างจากเงินจรงิ อย่างไร.[ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้
จาก: http://www.fpo.go.th/S-I/Source/ECO/ECO46.pdf (วันท่คี ้นข้อมูล:
8 มถิ ุนายน 2559).

ตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย. (2558) การวางแผนการเงินคืออะไร. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้
จาก: https://www.set.or.th/education/th/start/start_start.pdf. (วันที่
ค้นข้อมลู : 22 เมษายน 2559).

ศูนยป์ ระสานการรกั ษาความมัน่ คงปลอดภยั ระบบคอมพวิ เตอรป์ ระเทศไทย (ไทยเซิรต์ ). เตือน
ภยั มลั แวร์ CTB Locker ระบาดหนกั ทวั่ โลก เรียกค่าไถผ่ ใู้ ชง้ านในการก้ไู ฟล์
ทถี่ ูกเขา้ รหสั ลบั . [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก:
https://www.thaicert.or.th/alerts/user/2015/al2015us001.html (วันท่ี
ค้นข้อมลู : 7 กรกฎาคม 2558).

ศนู ยป์ ระสานการรกั ษาความมน่ั คงปลอดภยั ระบบคอมพวิ เตอรป์ ระเทศไทย (ไทยเซิร์ต).
CryptoLocker: เรอื่ งเกา่ ทถ่ี ูกเอามาเลา่ ใหม่. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://www.thaicert.or.th/papers/technical/2013/pa2013te011.htm
l (วันท่ีคน้ ขอ้ มูล: 7 กรกฎาคม 2558).

สานกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน). เตอื นระวังเปดิ อเี มล เจอมลั แวร์
เรยี กค่าไถ่ระบาด ภัยท้าทายความม่ันคงโลกไซเบอร.์ [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้
จาก: https://www.etda.or.th/content/found-ransom-malware-
outbreaks.html (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มูล: 29 มิถุนายน 2559).

บรรณานกุ รม ชดุ วชิ าการเงินเพอ่ื ชีวิต 3 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

226

สานักงานราชบณั ฑิตยสภา. ประเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.royin.go.th/wp-content/uploads/2015/03/419_1494.pdf
(วนั ทีค่ ้นข้อมูล: 8มถิ ุนายน 2559).

Australian Securities & Investment Commission. (2016) Spending. [ออนไลน์]. เข้าถึง
ได้จาก: https://www.moneysmart.gov.au/managing-your-
money/budgeting/spending#create (วันที่คน้ ข้อมลู : 8 มิถุนายน 2559).

บรรณานกุ รม ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชวี ติ 3 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

227

ขอขอบคณุ
กรมธนารกั ษ์
กองทนุ การออมแห่งชาติ
บรษิ ทั ขอ้ มลู เครดติ แห่งชาติ จากดั
สถาบนั ค้มุ ครองเงนิ ฝาก
สานกั งานคณะกรรมการกากบั และส่งเสริมการประกอบธุรกจิ ประกันภยั
สานักงานคณะกรรมการกากับหลกั ทรพั ย์และตลาดหลักทรพั ย์

บรรณานกุ รม ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชวี ิต 3 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

228

คณะผูจ้ ดั ทา

คณะทปี่ รึกษา เลขาธิการ กศน. สานักงาน กศน.
นายสุรพงษ์ จาจด รองเลขาธกิ าร กศน. สานักงาน กศน.
นายประเสรฐิ หอมดี ผู้เชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นพฒั นาหลกั สตู ร
นางศทุ ธนิ ี งามเขตต์ ผอู้ านวยการศูนยค์ มุ้ ครองผใู้ ช้บริการทางการเงิน
นางชนาธิป จรยิ าวิโรจน์ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
ผู้อานวยการกลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบ
นางตรีนชุ สุขสเุ ดช และการศกึ ษาตามอัธยาศัย
ผ้บู รหิ ารส่วน สว่ นสง่ เสริมการให้ความรู้ทางการเงิน
นางสาวชญานิน พนมยงค์ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย

คณะทางาน ธนาคารแห่งประเทศไทย
นายพชิ ญา สฤษเนตร ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
นางสาวจุฬาลกั ษณ์ พบิ ลู ชล ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
นางสาวนริ ัชรา ปัญญาจักร ธนาคารแห่งประเทศไทย
นางสาวจนั ทรธ์ ดิ า พัวรัตนอรุณกร สถาบัน กศน.ภาคเหนอื
นางอบุ ลรตั น์ มีโชค สานกั งาน กศน.จังหวัดสรุ นิ ทร์
นางวิมลพรรณ กุลัตถ์นาม สานักงาน กศน. จงั หวัดพิษณโุ ลก
นางอนงค์ ฉันทโชติ สานกั งาน กศน. จังหวัดพิจิตร
นางอมรา เหล่าวิชยา กศน.เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร
นายบุญชนะ ลอ้ มสิรอิ ุดม กศน.เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร
นายธณัลธิวรรธน์ ภคพฑั วัฒนฐากรู กศน.อาเภอเมือง จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน
นางมณั ฑนา กาศสนุก กศน.อาเภอเมอื ง จงั หวัดอทุ ัยธานี
นางสาวอนงค์ ชูชยั มงคล กศน.อาเภอพล จงั หวดั ขอนแก่น
นางยพุ นิ อาษานอก
คณะผูจ้ ดั ทา ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ิต 3 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

คณะทางาน (ต่อ) 229
นางพิสมยั คาแก้ว
นางกมลวรรณ มโนวงศ์ กศน.อาเภอพล จงั หวดั ขอนแกน่
นางสุพตั รา ณ วาโย
นางสาวพจนีย์ สวสั ดิรัตน์ กศน.อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่
นางกลั ยา หอมดี
กศน.อาเภอสะเดา จงั หวัดขอนแกน่
นางสาวมนทา เกรยี งทวีทรัพย์
นางสาวจรรยา สิงหท์ อง กศน.อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร
นางพรรณทิพา ชนิ ชชั วาล
นายสรุ พงษ์ ม่ันมะโน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา

นางญานิศา สุขอดุ ม ตามอธั ยาศยั กลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ

นายศภุ โชค ศรีรัตนศิลป์ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษารงั สิต

นางสาววรรณพร ปทั มานนท์ หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์

นางสาวสุลาง เพ็ชรสว่าง กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ

นางกมลทิพย์ ชว่ ยแก้ว กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย
นางสาวทพิ วรรณ วงคเ์ รือน กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศัย
นางวรรณี ศรศี ริ วิ รรณกลุ กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัย
นางสาวชาลินี ธรรมธิษา กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศยั
นางสาวชมพูนท สงั ข์พชิ ัย กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย
กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศัย
กล่มุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัย
กล่มุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศัย
กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั
กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศยั

คณะผู้จัดทา ชดุ วชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

คณะบรรณาธกิ าร 230
นางชนาธิป จริยาวิโรจน์
ผู้อานวยการศนู ย์คุม้ ครองผใู้ ช้บริการทางการเงิน
นางสาวชญานนิ พนมยงค์ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
นายพิชญา สฤษเนตร ธนาคารแห่งประเทศไทย
นางสาวจฬุ าลักษณ์ พิบลู ชล ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
นางสาวนริ ชั รา ปญั ญาจักร ธนาคารแห่งประเทศไทย
นางสาวจันทรธ์ ิดา พัวรตั นอรณุ กร ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
ผอู้ อกแบบปก
นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป์ กล่มุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศัย

คณะผู้จดั ทา ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชีวิต 3 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย


Click to View FlipBook Version