The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sasinuch poonjuch, 2020-05-04 10:31:05

62_33015

62_33015

142

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5
ภัยทางการเงิน

สาระสาคัญ
รูปแบบการดารงชีวติ และเทคโนโลยที ่เี ปลีย่ นแปลงไป ทาให้มิจฉาชีพพัฒนาสารพัดกลโกงเพื่อหลอก
ขโมยเงินจากเหย่ือ โดยมักจับจุดอ่อนของเหย่ือ คือ ความกลัว ความโลภ และความไม่รู้มาเป็นตัว
ช่วย ผู้ใช้บริการทางการเงินจึงจาเป็นต้องรู้เท่าตามทันกลโกงของมิจฉาชีพ ไม่ว่าจะเป็นกลโกงที่มา
ใ น รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร เ งิ น น อ ก ร ะ บ บ ที่ มี ท้ั ง ห นี้ น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ แ ช ร์ ลู ก โ ซ่ ภั ย ใ ก ล้ ตั ว
ภัยออนไลน์ และภัยที่แฝงมากับบัตรอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถป้องกันตนเองจาก
ภัยเหลา่ นไ้ี ด้ รวมไปถงึ รจู้ ักหน่วยงานหรือองค์กรท่ีให้คาปรกึ ษาหากตกเป็นเหยอ่ื ภยั ทางการเงนิ

ตวั ช้วี ัด

1. บอกประเภทและลักษณะของภัยทางการเงิน และยกตัวอย่างภัยทางการเงิน
ทมี่ ใี นชมุ ชน

2. บอกวธิ ีการป้องกันตนเองจากภัยทางการเงนิ
3. บอกวธิ แี ก้ปญั หาท่เี กิดจากภัยทางการเงนิ

ขอบข่ายเน้อื หา
เรื่องท่ี 1 หน้นี อกระบบ
เรือ่ งท่ี 2 แชรล์ ูกโซ่
เร่อื งท่ี 3 ภยั ใกลต้ วั
เร่อื งท่ี 4 ภัยออนไลน์
เร่อื งที่ 5 ภัยธนาคารออนไลน์
เรือ่ งที่ 6 ภัยบตั รอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เวลาทีใ่ ชใ้ นการศึกษา 20 ช่ัวโมง

ส่อื การเรียนรู้

1. ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 3
2. หนังสือรู้รอบเร่ืองการเงินของศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน

ตอน รรู้ อบระวงั ภัย
3. เวบ็ ไซต์ www.1213.or.th เฟซบ๊กุ www.facebook.com/hotline1213

ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชวี ติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 ภัยทางการเงิน

143

เรอ่ื งที่ 1 หนน้ี อกระบบ

เมื่อจาเป็นต้องใช้เงิน แต่ไม่สามารถขอกู้เงินจากสถาบันการเงินได้ หลายคนคงนึกถึงการกู้เงิน
นอกระบบที่ได้เงินเร็ว ไม่ยุ่งยาก ไม่ต้องมีหลักประกันหรือใช้บุคคลค้าประกัน จนอาจลืมนึกถึง
เล่ห์เหล่ยี มหรอื กลโกงทอี่ าจแฝงมากับการก้เู งินนอกระบบ

ลกั ษณะกลโกงหนีน้ อกระบบ

1. ใชต้ วั เลขน้อย ๆ เพอื่ จงู ใจ

นายทุนเงนิ กูน้ อกระบบมักบอกตัวเลขน้อยเพื่อจูงใจผู้กู้ ไม่ว่าจะเป็นจานวน
เงินผ่อนต่องวดหรือดอกเบ้ีย เช่น กู้เงิน 10,000 บาท ให้ผ่อนวันละ 150 บาทเป็นระยะเวลา
90 วัน แตเ่ มือ่ คานวณแล้วต้องจา่ ยหนี้คืน 13,500 บาทภายใน 3 เดือน ดอกเบี้ยสูงถึง 35% ต่อ
สามเดือนหรือ 140% ต่อปี

เจา้ หนีบ้ างรายกบ็ อกแค่อัตราดอกเบีย้ แต่ไม่ได้บอกว่าเปน็ อัตราดอกเบ้ียต่อ
วัน ตอ่ เดอื น หรอื ตอ่ ปี เชน่ เจา้ หนีร้ ายหน่ึงปลอ่ ยเงินกู้ 3% ลกู หน้ีเหน็ ว่าอตั ราดอกเบี้ยน้อยกว่า
สถาบันการเงนิ กแ็ ห่ไปก้เู งนิ แต่เมอื่ คานวณดอกเบ้ียทั้งปีแล้ว ลูกหน้ีก็ตกใจ เพราะดอกเบี้ย 3%
น้นั เป็นดอกเบี้ยต่อวนั ถ้าคดิ เปน็ ต่อปี กส็ งู ถึง 1,080%

2. ให้เซ็นเอกสารทไี่ มไ่ ด้กรอกตวั เลข

นอกจากจะใช้ตัวเลขค่างวดหรือดอกเบี้ยน้อย ๆ ดึงดูดลูกหนี้แล้ว เจ้าหน้ี
บางรายกใ็ ห้ลูกหน้ีเซ็นสัญญากยู้ ืมโดยที่ยงั ไม่ไดก้ รอกตวั เลข ลูกหนี้รายหนึ่งต้องใช้เงินคืนเจ้าหน้ี
100,000 บาท ทั้ง ๆ ท่ีกู้เงินมาแค่ 20,000 บาท เพียงเพราะไปเซ็นสัญญาในเอกสารที่ยังไม่ได้
กรอกจานวนเงนิ กู้

3. ไมใ่ หล้ ูกหนี้อ่านเอกสารที่ตอ้ งเซน็

เจ้าหนบ้ี างรายไมย่ อมใหล้ กู หนอี้ า่ นเอกสารที่จะต้องเซ็น เช่น เจ้าหน้ีหวังจะ
ยึดเอาที่ดินของลูกหน้ีท่ีนามาค้าประกันเงินกู้ จึงหลอกว่าเป็นการทาสัญญาจานอง แต่แท้จริง
เป็นสญั ญาขายฝาก

4. บีบใหเ้ ซน็ สญั ญาเงนิ กูเ้ กนิ จรงิ

เจา้ หนีบ้ างรายบบี บงั คับให้ลูกหนี้เซ็นสัญญาเงินกู้เกินจริง เช่น ขอกู้ 10,000
บาท แต่บังคบั ให้เซน็ ในเอกสารท่เี ขียนว่าขอกู้ 30,000 บาท ลกู หน้บี างรายมีความจาเป็นต้องใช้
เงนิ ก็จาใจเซ็นสัญญานั้น

ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงนิ

144

5. ทาสญั ญาขายฝากแทนสญั ญาจานอง

เจ้าหน้ีหลายรายหลอกลูกหนี้ให้ทาสัญญาขายฝากแทนสัญญาจานอง ถึงแม้
เจ้าหนจี้ ะอ้างว่าเป็นการคา้ ประกนั เงนิ กเู้ หมือนกัน แต่การบังคับหลักประกันต่างกัน สัญญาขาย
ฝากจะทาให้กรรมสิทธิ์ของบ้านหรือที่ดินนั้นตกเป็นของเจ้าหน้ีต้ังแต่วันท่ีทาสัญญา ซึ่งลูกหน้ี
จะต้องไถ่บ้านหรือท่ีดินคืนภายในเวลาท่ีกาหนด หากช้าเพียงวันเดียว บ้านหรือที่ดินนั้นก็จะ
ตกเปน็ ของเจา้ หน้ที นั ที โดยเจา้ หน้ไี ม่ตอ้ งมีหนงั สือแจ้งหรอื ฟ้องศาลเพอื่ บังคับคดี

ด้วยเหตุน้ีเจ้าหนี้นอกระบบบางคนจึงบ่ายเบ่ียง หลบหน้าลูกหน้ีเพ่ือไม่ให้มี
โอกาสได้ไถ่ถอนบ้านหรือท่ีดินนั้นคืนในเวลาท่ีกาหนด หรือไม่ยอมขยายเวลาไถ่ให้ (การขยาย
เวลาไถ่ ตอ้ งทาหลกั ฐานเป็นหนงั สอื พร้อมลงลายมือช่ือ) โดยเฉพาะบ้านหรือที่ดินท่ีอยู่ในทาเลดี
และมมี ูลค่ามากกวา่ ยอดหนี้

6. หลีกเลีย่ งให้กู้โดยตรง

หลายครั้งท่ีสัญญาอาพรางเงินกู้ถูกนามาใช้เพื่อหลอกล่อผู้ที่เดือดร้อนเรื่อง
เงิน เช่น ลูกหนี้รายหน่ึงติดต่อขอกู้เงินกับเจ้าหนี้นอกระบบจานวน 20,000 บาท เจ้าหน้ีบังคับ
ให้ลูกหนใ้ี ชบ้ ตั รผอ่ นสินคา้ หรอื บัตรเครดิตซอ้ื สินคา้ ทกี่ าลังเป็นท่ีนิยมมูลค่า 23,000 บาทเพ่ือมา
แลกกบั เงินกู้ 20,000 บาท

ลูกหน้ีได้เงินมาแค่ 20,000 บาท แต่กลับต้องแบกภาระเงินกู้สูงถึง 23,000
บาทกับบริษัทบัตรผ่อนสินค้าหรือบริษัทบัตรเครดิต และยังมีภาระดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายอีก
ต่างหาก สว่ นเจ้าหน้ีแทบจะไม่มคี วามเส่ียงใดเลย แถมยงั ได้สินคา้ ในราคาถกู อกี ด้วย

7. ทวงหนี้โหด

นอกจากภาระดอกเบี้ยท่ีแสนแพงแล้ว ลูกหนีเ้ งนิ ก้นู อกระบบอาจต้องเจอกับ
การทวงหน้ีโหดหากไม่ชาระตรงตามเวลา ซึ่งเจ้าหนี้อาจไม่ได้แค่ขู่หรือประจานให้ได้อาย แต่
บางรายก็ถึงข้ันทารา้ ยรา่ งกาย

วิธปี อ้ งกนั ภยั หนี้นอกระบบ

1. หยุดใช้เงินเกินตัว – ตรวจสอบพฤติกรรมการใช้เงินของตนเองโดยการจด
บนั ทึกรายรบั -รายจ่าย แล้ววางแผนใช้เงนิ อย่างเหมาะสมกับรายไดแ้ ละความจาเปน็

2. วางแผนการเงินล่วงหน้า – คานึงถึงค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ท่ีอาจเกิดขึ้นใน
อนาคต เช่น ค่าเล่าเรียนลูก แล้ววางแผนทยอยออมล่วงหน้า รวมถึงออมเงินเผื่อเหตุการณ์
ฉุกเฉินด้วย

ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชีวติ 3 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 5 ภัยทางการเงนิ

145

3. คิดให้ดีก่อนตัดสินใจก่อหน้ี – ทบทวนดูความจาเป็นว่าต้องใช้เงินจริง ๆ
หรือไม่ และหากต้องกู้จริง ๆ จะสามารถชาระหน้ีได้หรือไม่ เพราะนอกจากดอกเบ้ียท่ีแสนแพง
แลว้ อาจตอ้ งเจอกบั เหตุการณ์ทวงหน้แี บบโหด ๆ อีกดว้ ย

4. เลือกกู้ในระบบ – หากจาเป็นต้องกู้ ควรเลือกกู้ในระบบดีกว่า เพราะ
นอกจากจะมีหน่วยงานภาครัฐคอยดูแลแลว้ ยังระบุดอกเบี้ยในสญั ญาชัดเจนและเปน็ ธรรมกวา่

5. ศกึ ษารายละเอียดผ้ใู ห้กู้ – ดวู ่าผ้ใู ห้กู้นั้นน่าเชื่อถือหรือไม่ มีเง่ือนไขชาระเงิน
หรืออัตราดอกเบย้ี ที่เอาเปรียบผกู้ ูเ้ กนิ ไปหรอื ไม่

6. ศกึ ษาวธิ ีคิดดอกเบ้ีย – หน้ีนอกระบบมักคิดอัตราดอกเบ้ียด้วยวิธีเงินต้นคงที่
(flat rate) ซึ่งทาให้ลูกหน้ีต้องจ่ายดอกเบี้ยมากกว่าการคิดดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก
(effective rate) เพราะดอกเบ้ียจะถูกคิดจากเงินต้นท้ังก้อนแม้ว่าจะทยอยจ่ายคืนทุกเดือน
กต็ าม

7. หากจาเปน็ ตอ้ งกเู้ งินนอกระบบต้องใส่ใจ
 ไม่เซ็นสัญญาในเอกสารที่ยังไม่ได้กรอกข้อความหรือวงเงินกู้ไม่ตรงกับ
ความจรงิ
 ตรวจสอบขอ้ ความในสัญญาเงินกู้ รวมถึงดวู า่ เปน็ เง่ือนไขทเี่ ราทาได้จรงิ ๆ
 เก็บสัญญาคฉู่ บับไวก้ บั ตวั เพื่อเปน็ หลักฐานการกู้
 ทาสัญญาจานองแทนการทาสัญญาขายฝาก เพราะการขายฝากจะทาให้
กรรมสิทธ์ติ กเป็นของเจา้ หนี้ทนั ทหี ากผู้กไู้ ม่มาไถค่ นื ตามกาหนด

8. ติดตามข่าวสารกลโกงเป็นประจา

ทาอย่างไรเมื่อตกเป็นเหย่ือหน้นี อกระบบ

หากเป็นเหยื่อหน้ีนอกระบบแล้ว ผู้กู้ควรหาแหล่งเงินกู้ในระบบท่ีมีดอกเบ้ีย
ถูกกว่ามาชาระคืน แต่หากไม่สามารถกู้ยืมในระบบได้ ผู้กู้อาจต้องยอมขายทรัพย์สินบางส่วน
เพ่อื นามาชาระหนี้ เพอ่ื แก้ไขปัญหาดอกเบีย้ ท่ีเพ่มิ ข้ึนจนไมส่ ามารถชาระคืนได้ ทั้งนี้ ลูกหน้ีเงินกู้
นอกระบบสามารถขอรับคาปรกึ ษาได้จากองคก์ รดังตอ่ ไปน้ี

1. ศนู ยร์ ับแจ้งการเงนิ นอกระบบ กระทรวงการคลัง โทร. 1359
2. กองบังคับการปราบปรามการกระทาผดิ เกย่ี วกับการค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค
สานักงานตารวจแห่งชาติ โทร. 1135
3. สายด่วนรัฐบาล สานกั นายกรฐั มนตรี โทร. 1111

ชดุ วิชาการเงนิ เพ่ือชวี ติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภัยทางการเงนิ

146

4. สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
สานักอัยการสูงสุด โทร. 0 2142 2034

5. ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชนท่ีไม่ได้รับความเป็นธรรม กระทรวง
ยตุ ิธรรม โทร. 0 2575 3344

6. ศูนย์ดารงธรรม กระทรวงมหาดไทย โทร. 1567
7. หน่วยงานที่รับเร่ืองร้องเรียนเก่ียวกับการทวงถามหนี้ไม่เหมาะสม ได้แก่
กรมการปกครอง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่ทาการปกครองจังหวัด กองบัญชาการตารวจ
นครบาล สถานีตารวจท้องที่ และที่ว่าการอาเภอทุกแห่ง
กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 1 หน้ีนอกระบบ
(ใหผ้ เู้ รียนไปทากิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 1 ท่สี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้)

ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชีวติ 3 | หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 ภัยทางการเงนิ

147

เร่ืองที่ 2 แชรล์ กู โซ่

แชร์ลูกโซ่เป็นภัยทางการเงินท่ีอาจสร้างความเสียหายได้ตั้งแต่เงินจานวนน้อย ๆ
จนไปถึงเงินหลักแสนหลักล้าน มิจฉาชีพมักใช้ “โอกาสรวย” หรือ “สินค้าราคาถูกมาก” มาหลอก
ลอ่ ให้เหย่ือร่วมลงทุนหรอื ซ้ือสินค้าแล้วเชิดเงินหนีไป

ลักษณะกลโกงแชรล์ กู โซ่

1. แชรล์ กู โซใ่ นคราบธุรกิจขายตรง

มจิ ฉาชีพจะโฆษณาชวนเช่ือให้เหยื่อทาธุรกิจขายตรงท่ีมีผลตอบแทนสูง โดย
ท่ีเหย่ือไม่ต้องทาอะไร เพียงแค่ชักชวนเพื่อนหรือญาติพ่ีน้องให้ร่วมทาธุรกิจ ไม่เน้นการขาย
สาธติ หรอื ทาให้สมาชกิ เข้าใจในตัวสนิ คา้ เมื่อเหยื่อเริม่ สนใจ จะให้เหย่ือเข้าร่วมฟังสัมมนา และ
โนม้ น้าวหรอื หลอกลอ่ ใหเ้ หยอ่ื จ่ายคา่ สมัครสมาชกิ หรือซ้ือสินค้าแรกเข้าซึ่งมีมูลค่าท่ีค่อนข้างสูง
(สนิ ค้าส่วนมากมักไม่มีคุณภาพ) หรืออาจให้เหยื่อซ้ือหุ้นหรือหน่วยลงทุนโดยไม่ต้องรับสินค้าไป
ขาย แล้วก็รอรับเงินปันผลได้เลย

ค่าสมัครสมาชิก ค่าซ้ือสินค้าแรกเข้า ค่าหุ้นหรือค่าหน่วยลงทุนของสมาชิก
ใหม่จะถูกนามาจ่ายเป็นผลตอบแทนให้กับสมาชิกเก่า เมื่อไหร่ที่ไม่สามารถหาสมาชิกใหม่ได้
แชร์ก็จะลม้ เพราะไมส่ ามารถหาเงินมาจา่ ยผลตอบแทนและเงินท่ลี งทุนคืนสมาชกิ ได้

ปจั จบุ ันยงั มีการโฆษณาชักชวนผูล้ งทุนผา่ นอนิ เทอร์เน็ตอีกด้วย โดยมิจฉาชีพ
จะหลอกให้เหย่ือกรอกข้อมูลส่วนตัวในอินเทอร์เน็ต แล้วติดต่อเหย่ือเพ่ือชักชวนให้เข้าร่วมงาน
สัมมนาโดยอ้างว่ามีบคุ คลที่มีชือ่ เสียงเข้าร่วมดว้ ย

2. แชร์ลูกโซห่ ลอกลงทุน

มิจฉาชีพมักอ้างว่ามีสิทธิพิเศษ หรือได้โควตาซ้ือสินค้าราคาถูกเป็นจานวน
มาก หรือมกี ารลงทนุ ท่ใี หผ้ ลตอบแทนสงู และแน่นอน จึงอยากชักชวนให้เหย่ือลงทุนร่วมกัน เช่น
โควตาจาหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาล (แชร์ลอตเตอรี่) อุตสาหกรรมปลูกป่าเพื่อส่งขายตลาดใน
ต่างประเทศ (แชร์ไม้) เก็งกาไรจากอัตราแลกเปล่ียน (แชร์ FOREX) โดยสร้างเว็บไซต์เพ่ือให้ดู
น่าเชื่อถอื หรือบางรายก็อา้ งว่ามสี าขาในต่างประเทศ แต่ความจริงแลว้ ไม่ไดท้ าธรุ กจิ ดงั กล่าวจรงิ

มิจฉาชีพจะใช้วิธีหมุนเงินจากผู้ลงทุนรายใหม่ไปจ่ายเป็นผลตอบแทนให้แก่
ผู้ลงทุนรายเก่า จึงต้องพยายามหาผู้ลงทุนรายใหม่อยู่เร่ือย ๆ เพ่ือให้มีเงินไปจ่ายเป็น
ผลตอบแทน แต่หากไม่สามารถหาผู้ลงทุนรายใหม่ได้ ก็จะไม่สามารถจ่ายผลตอบแทนคืนให้แก่
รายเก่าได้

ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ิต 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ภัยทางการเงิน

148

3. แชรล์ ูกโซห่ ลอกขายสินคา้ ผ่านอินเทอรเ์ นต็
มิจฉาชีพจะแฝงตัวเป็นพ่อค้าหรือแม่ค้า แล้วอ้างว่าสามารถหาสินค้าหายาก

หรือสินค้าท่ีกาลังอยู่ในความต้องการของตลาด (เช่น สินค้ารุ่นใหม่ล่าสุด หรือยังไม่มีขายใน
ประเทศไทย) ได้ในราคาถูก จึงประกาศขายสินค้าดังกล่าวในราคาที่ถูกกว่าท้องตลาดเป็น
จานวนมากผ่านทางอินเทอรเ์ นต็

เม่ือเหยื่อหลงเชือ่ สั่งซื้อสนิ คา้ และโอนเงินให้แก่มจิ ฉาชพี ในครั้งแรก มิจฉาชีพ
จะส่งสินค้าให้เหย่ือตามจานวนท่ีส่ังซ้ือ และเม่ือเหยื่อได้สินค้าในราคาถูก ก็จะบอกต่อชักชวน
ญาติพี่น้องหรือเพื่อนฝูงให้มาซื้อสินค้าเป็นจานวนมากแล้วโอนเงินค่าสินค้าท้ังหมดให้แก่
มิจฉาชพี หลังจากนน้ั มจิ ฉาชพี ก็จะเชดิ เงนิ นน้ั หนไี ปโดยไม่ส่งสนิ คา้ ใด ๆ ให้แก่เหยอ่ื เลย
วิธีป้องกนั ภัยแชร์ลูกโซ่

1. ไม่โลภไปกับผลตอบแทนหรือสินค้าราคาถูกที่นามาหลอกล่อ เพราะ
ผลตอบแทนยิง่ สูง ยิ่งมีความเส่ียงมากท่ีจะเปน็ แชร์ลูกโซ่

2. ไม่กรอกข้อมูล หรือให้ข้อมูลส่วนตัวในเว็บไซต์ หรือตอบกลับอีเมลท่ี
ไม่น่าเช่อื ถอื เพราะอาจกลายเป็นเหยอ่ื แชรล์ ูกโซ่

3. หลีกเล่ียงการเข้าร่วมกิจกรรมกับกลุ่มธุรกิจท่ีไม่แน่ใจ เพราะอาจถูก
หว่านล้อมให้ร่วมลงทุนในธุรกจิ แชร์ลกู โซ่

4. อย่าเกรงใจจนไม่กล้าปฏเิ สธ เมอื่ มคี นชกั ชวนทาธุรกิจทมี่ ีลักษณะคล้ายแชร์
ลูกโซ่ เพราะอาจทาใหส้ ญู เสียเงินได้

5. ศึกษาท่ีมาที่ไปของการลงทุนหรือสินค้าให้ดีก่อนการลงทุน โดยเฉพาะ
ธุรกิจหรือสินค้าทใี่ ห้ผลตอบแทนสูงมากในเวลาอันสนั้ หรือมีราคาถกู ผดิ ปกติ

6. ตดิ ตามขา่ วสารกลโกงเปน็ ประจา

ชุดวชิ าการเงินเพื่อชวี ิต 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงิน

149

ทาอยา่ งไรเม่อื ตกเปน็ เหยอ่ื แชรล์ ูกโซ่
หากตกเป็นเหยื่อแชร์ลูกโซ่ ควรรวบรวมเอกสารที่เก่ียวข้องทั้งหมด แล้วติดต่อขอรับ

คาปรกึ ษาไดท้ ี่
สว่ นปอ้ งปรามการเงินนอกระบบ
สานักนโยบายพัฒนาระบบการเงินภาคประชาชน
สานกั งานเศรษฐกจิ การคลัง กระทรวงการคลัง
ซอยอารยี ส์ ัมพนั ธ์ ถนนพระราม 6 สามเสนใน
พญาไท กรุงเทพฯ 10400
โทร. 1359

กิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 2 แชรล์ กู โซ่
(ใหผ้ ้เู รยี นไปทากจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 2 ทสี่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นร้)ู

ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชวี ิต 3 | หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 ภัยทางการเงนิ

150

เร่อื งที่ 3 ภัยใกล้ตัว

หลายคร้ังท่ีความโลภกลายเป็นจุดอ่อนท่ีมิจฉาชีพใช้โจมตีเหย่ือ โดยนา
ผลประโยชน์จานวนมากมาหลอกล่อ ใหเ้ หยื่อยอมจ่ายเงนิ จานวนหนง่ึ ใหก้ ่อน แล้วนาเงินหนไี ป

ลักษณะกลโกงของภัยใกล้ตัว

1. เบยี้ ประกนั งวดสุดท้าย

มจิ ฉาชีพจะแอบอ้างเป็นพนักงานบริษัทประกันชีวิตติดต่อญาติของผู้ตายว่า
ผู้ตายทาประกันชีวิตไว้กับบริษัท แต่ขาดการชาระเบ้ียประกันงวดสุดท้าย หากญาติจ่ายค่าเบ้ีย
ประกันที่ค้างอยู่ ก็จะได้รับเงินคืนตามกรมธรรม์ซ่ึงเป็นจานวนเงินค่อนข้างมาก เมื่อเหยื่อ
จา่ ยเงนิ ให้ ผู้ทีอ่ า้ งว่าเป็นพนกั งานบรษิ ัทประกนั ภยั กจ็ ะหายตวั ไปพรอ้ มเงนิ ประกนั งวดสดุ ทา้ ย

2. ตกทอง/ลอตเตอร่ีปลอม

มิจฉาชีพจะอ้างว่ามีทองหรือลอตเตอร่ีรางวัลท่ีหนึ่ง แต่ไม่มีเวลาไปขายหรือ
ขึ้นเงิน จึงเสนอขายให้เหยื่อในราคาถูก กว่าจะรู้ว่าเป็นทองหรือลอตเตอร่ีปลอม มิจฉาชีพก็
หายไปพรอ้ มกับเงนิ ทไ่ี ดไ้ ป

3. นาย (พนั ) หนา้ ...หลอกลวงเงนิ

มจิ ฉาชีพจะแอบอา้ งว่าเป็นเจ้าหนา้ ที่ในองค์กรหรอื สถาบนั การเงินที่สามารถ
ช่วยเหยื่อหางาน หรือขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินได้ แต่เหย่ือต้องจ่ายค่านายหน้าให้ก่อน
มิจฉาชีพบางรายก็หลอกให้เหย่ือเป็นนายหน้าขายท่ีดิน โดยทางานกันเป็นทีม คนแรกหลอกว่า
อยากขายท่ีดิน คนที่สองหลอกว่าอยากซ้ือที่ดิน แล้วขอให้เหยื่อเป็นนายหน้าให้ จากน้ันคนซื้อ
จะอ้างว่าเงินไม่พอจ่ายค่ามัดจาจึงขอให้เหยื่อช่วยออกเงินค่ามัดจา สุดท้ายคนซ้ือและคนขาย
หนหี าย เหยื่อไม่ได้คา่ นายหนา้ แถมยงั เสียเงินค่ามดั จาไปอกี ด้วย

4. แก๊งเงนิ ดา

มิจฉาชีพจะอ้างว่ามีธนบัตรดอลลาร์สหรัฐฯ ที่เคลือบด้วยสารเคมีสีดาเป็น
จานวนมาก และมีน้ายาพิเศษท่ีสามารถล้างน้ายานั้นออกได้ พร้อมทั้งสาธิตการล้างเงินดาให้
เหย่ือดู เมื่อเหยื่อหลงเชื่อ จะหลอกเหยื่อว่า น้ายาพิเศษน้ันอยู่ท่ีสถานทูต แต่ไม่สามารถนา
ออกมาไดเ้ พราะตอ้ งจ่ายคา่ ธรรมเนียมในการดาเนนิ การคอ่ นขา้ งสงู

มิจฉาชีพจึงชักชวนเหยื่อให้ร่วมหุ้นจ่ายค่าธรรมเนียม แล้วจะแบ่งธนบัตร
ดอลลารส์ หรฐั ฯ ท่ีล้างเรียบร้อยแล้วให้เหย่ือ หากเหย่ือหลงเชื่อจ่ายเงินไป มิจฉาชีพก็จะหายไป
พร้อมกับเงนิ ของเหยอ่ื

ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชวี ิต 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงิน

151

วธิ ีปอ้ งกันจากภยั ใกลต้ วั
1. ไม่โลภ ไม่อยากได้เงินรางวัลที่ไม่มีที่มา หากมีคนเสนอให้ ควรสงสัยไว้ก่อน

วา่ อาจเป็นภัยทางการเงิน
2. ไม่รู้จัก...ไม่ให้ ไม่ให้ท้ังข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขที่บัตรประจาตัวประชาชน

วัน/เดือน/ปีเกิด และข้อมูลทางการเงิน เช่น เลขที่บัญชี รหัสบัตรเอทีเอ็ม/บัตรเดบิต และ
ไม่โอนเงนิ แมผ้ ตู้ ิดต่อจะอ้างว่าเปน็ หนว่ ยงานราชการหรือสถาบนั การเงนิ

3. ศึกษาหาข้อมูล ก่อนเซ็นสัญญา ตกลงจ่ายเงิน หรือโอนเงินให้ใคร ควร
ศกึ ษาข้อมลู เงอ่ื นไข ขอ้ ตกลง ความนา่ เชือ่ ถือและความนา่ จะเปน็ ไปไดก้ ่อน

4. อ้างใคร ถามคนนั้น อ้างถึงใครให้สอบถามคนน้ัน เช่น ธนาคารแห่ง
ประเทศไทย โทร. 1213 หรือ DSI โทร. 1202

5. สงสัยให้ปรึกษา ควรหาท่ีปรึกษาที่ไว้ใจได้ หรือปรึกษาเก่ียวกับภัยทาง
การเงินได้ที่ ศคง. โทร. 1213 และศูนย์รบั แจง้ การเงินนอกระบบ โทร. 1359

6. ติดตามข่าวสารกลโกงเปน็ ประจา เพอื่ รู้เท่าทนั เลห่ ์เหลี่ยมกลโกง

รไู้ ว.้ ..ไมเ่ ส่ียงเป็นเหยื่อ
1. อ้างหน่วยงานราชการไม่ได้แปลว่าเชื่อถือได้ มิจฉาชีพมักอ้างถึง

หน่วยงานราชการหรือองค์กรขนาดใหญ่เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ หากมีการอ้างถึง ควร
สอบถามหนว่ ยงานนนั้ โดยตรง

2. ธุรกิจท่ีจดทะเบียนแล้วไม่ได้แปลว่าไม่โกง บางธุรกิจจดทะเบียนอย่าง
ถกู ต้องตามกฎหมายจริง แต่ไมไ่ ด้ประกอบธุรกิจตามทขี่ ออนุญาตไว้

3. ไมม่ ี “ทางลดั รวยท่ีมีน้อยคนรู้” หากทางลัดน้ีมีจริง คงไม่มีใครอยากบอก
คนอ่นื ใหร้ ู้ แอบรวยเงียบ ๆ คนเดียวดกี วา่

4. หัวขโมยไม่หมิ่นเงินน้อย มิจฉาชีพไม่ได้มุ่งหวังเงินหลักแสนหลักหมื่น
เท่านนั้ มจิ ฉาชพี บางกลุ่มมงุ่ เงินจานวนนอ้ ยแต่หวังหลอกคนจานวนมาก

5. อยา่ ระวงั แคเ่ รอ่ื งเงิน มิจฉาชีพบางรายก็หลอกขอข้อมูลส่วนตัวหรือข้อมูล
ที่ใชท้ าธรุ กรรมการเงิน เพ่ือนาไปทาธุรกรรมทางการเงนิ ในนามของเหย่ือ

6. มิจฉาชีพไม่ใช้บัญชีตนเองรับเงินจากเหยื่อ มิจฉาชีพบางรายจ้างคนเปิด
บญั ชีเพ่อื เปน็ ท่ีรบั เงินโอนจากเหย่อื อกี รายหนึ่ง เพื่อหนีการจับกมุ ของเจา้ หน้าท่ตี ารวจ

ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภัยทางการเงนิ

152

รู้หรือไม่ว่า
การรับจ้างเปิดบัญชีหรือการหลอกให้ผู้อ่ืนโอนเงินให้เข้าข่ายฉ้อโกงประชาชนซ่ึงเป็นหนึ่งใน
ค ว า ม ผิ ด มู ล ฐ า น ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ฟ อ ก เ งิ น
พ.ศ. 2542 มาตรา 60 ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ต้ังแต่หน่ึงปีถึงสิบปี หรือปรับต้ังแต่สองหม่ืนบาท
ถึงสองแสนบาท หรือท้ังจาทั้งปรับ ดังน้ัน การเห็นแก่ค่าจ้างเพียงไม่กี่บาทจึงอาจทาให้
คณุ ตอ้ งตกเป็นผ้ตู ้องหาและไปใชช้ วี ิตในเรือนจาได้ จึงไมค่ วรหลงเชอ่ื หรอื รบั จ้างเปิดบัญชีโดย
เด็ดขาด
กิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 3 ภยั ใกลต้ วั

(ใหผ้ เู้ รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 3 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้)

ชดุ วิชาการเงนิ เพอื่ ชีวติ 3 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงิน

153

เรื่องท่ี 4 แกง๊ คอลเซนเตอร์

แก๊งคอลเซนเตอร์มักใช้วิธีสุ่มเบอร์โทรศัพท์เพื่อโทรไปหาเหยื่อแล้วใช้ข้อความ
อตั โนมตั ิสรา้ งความต่นื เตน้ หรอื ตกใจให้แก่เหยื่อ บางครง้ั กแ็ อบอ้างเปน็ เจา้ หน้าที่หน่วยงานต่าง ๆ
หลอกให้เหยื่อทารายการท่ีเครื่องเอทีเอ็มเป็นเมนูภาษาอังกฤษ โดยแจ้งว่าเป็นการทารายการ
เพื่อลา้ งหนี้ หรอื อาจหลอกใหเ้ หยื่อไปโอนเงินใหห้ นว่ ยงานภาครฐั เพ่อื ตรวจสอบ

ลกั ษณะกลโกงแกง๊ คอลเซนเตอร์

1. บญั ชเี งนิ ฝากถกู อายดั หรือเป็นหน้บี ตั รเครดติ

มิจฉาชีพจะหลอกเหย่ือว่า บัญชีเงินฝากถูกอายัด หรือเป็นหนี้บัตรเครดิต
จานวนหนึ่ง โดยเร่ิมจากการใช้ระบบตอบรับอัตโนมัติแจ้งเหย่ือว่าจะอายัดบัญชีเงินฝาก
เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ เช่น เป็นหน้ีบัตรเครดิตหรือกระทาการผิดกฎหมาย โดยอาจมีเสียง
อัตโนมัติ เช่น “คุณเป็นหนี้บัตรเครดิตกับทางธนาคาร กด 0 เพ่ือติดต่อพนักงาน” ซ่ึงเหย่ือ
สว่ นมากมักจะตกใจและรีบกด 0 เพื่อติดตอ่ พนกั งานทันที

หลังจากน้ันมิจฉาชีพจะหลอกถามฐานะทางการเงินของเหยื่อ หากเหยื่อมี
เงินฝากจานวนไม่มากนัก มิจฉาชีพอาจหลอกให้เหยื่อโอนเงินผ่านเคร่ืองเอทีเอ็มโดยหลอกว่า
เป็นการทารายการเพอื่ ล้างบัญชหี นี้

2. บญั ชเี งินฝากพวั พันกบั การค้ายาเสพตดิ หรือการฟอกเงนิ

แตห่ ากมจิ ฉาชพี พบว่า เหยอื่ มีเงนิ ฝากคอ่ นข้างมาก ก็จะหลอกเหยื่อให้ตกใจ
ว่า บัญชีเงินฝากนั้นพัวพันกับการค้ายาเสพติดหรือการฟอกเงิน และจะให้เหย่ือโอนเงินทั้งหมด
ผ่านเคร่ืองเอทีเอ็ม / เคร่ืองฝากเงินอัตโนมัติ (CDM หรือ ADM) เพื่อทาการตรวจสอบกับ
หน่วยงานราชการ ทั้งนี้ เพ่ือป้องกันไม่ให้เหยื่อได้มีโอกาสสอบถามความจริงจากพนักงาน
ธนาคาร

3. เงนิ คนื ภาษี

นอกจากจะหลอกให้เหย่ือตกใจแล้ว มิจฉาชีพบางรายก็อ้างว่าตนเป็น
เจ้าหน้าที่สรรพากร หลอกให้เหย่ือตื่นเต้นดีใจว่า เหยื่อได้รับเงินคืนค่าภาษี แต่ต้องทารายการ
ยืนยันการรับเงินท่ีเครื่องเอทีเอ็ม และวันน้ีเป็นวันสุดท้ายที่จะยืนยันรับเงินคืน หากเลย
กาหนดเวลาแล้ว เหยื่อจะไม่ได้รับเงินคืนค่าภาษี ด้วยความรีบเร่งและกลัวว่าจะไม่ได้เงินคืน
เหย่ือก็จะรีบทาตามที่มิจฉาชีพบอก โดยไม่ได้สังเกตว่ารายการท่ีมิจฉาชีพให้ทาที่เคร่ืองเอทีเอ็ม
น้ัน เปน็ การโอนเงนิ ใหแ้ กม่ จิ ฉาชพี

ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชีวติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงนิ

154

4. โชคดไี ด้รบั รางวลั ใหญ่
มิจฉาชีพบางรายก็หลอกให้เหยื่อดีใจว่า เหย่ือได้รับรางวัลใหญ่ที่มีมูลค่าสูง

จากการจับสลากรางวัล หรือเปิดบริษัทใหม่จึงจับสลากมอบรางวัลแก่ลูกค้า แต่ก่อนท่ีลูกค้าจะ
รบั รางวัล ลกู ค้าจะตอ้ งจ่ายค่าภาษีใหก้ ับทางผแู้ จกรางวลั กอ่ น จึงจะสามารถส่งของรางวลั ไปให้

5. ข้อมูลส่วนตัวหาย
มิจฉาชพี ประเภทนี้จะโทรศัพท์แอบหลอกถามข้อมูลส่วนตัวของเหย่ือเพื่อใช้

ประกอบการปลอมแปลงเอกสาร หรือใช้บริการทางการเงินในนามของเหยื่อ โดยมิจฉาชีพจะ
อ้างว่าตนเป็นเจ้าหน้าท่ีของสถาบันการเงินที่เหย่ือใช้บริการอยู่ แต่เกิดเหตุการณ์ท่ีทาให้ข้อมูล
ส่วนตัวของลูกค้าสูญหาย เช่น น้าท่วม จึงขอให้เหย่ือแจ้งข้อมูลส่วนตัวเพ่ือยืนยันความถูกต้อง
เชน่ วัน/เดอื น/ปเี กดิ เลขท่บี ัตรประชาชน เลขที่บญั ชเี งินฝาก

เมื่อไดข้ ้อมูลสว่ นตวั ของเหย่ือแล้ว มิจฉาชีพจะนาข้อมูลเหล่าน้ีไปแอบอ้างใช้
บริการทางการเงนิ ในนามของเหย่อื เช่น ขอสนิ เชื่อ

6. โอนเงินผดิ
หากมิจฉาชีพมขี ้อมูลหรือเอกสารส่วนตัวของเหยื่อ มิจฉาชีพอาจใช้วิธีหลอก

เหยือ่ วา่ โอนเงนิ ผดิ แลว้ ขอให้เหยื่อโอนเงนิ คืน โดยเริม่ จากใช้เอกสารและข้อมูลส่วนตัวของเหยื่อ
ติดต่อขอสินเช่ือ เมื่อได้รับอนุมัติสินเช่ือ สถาบันการเงินจะโอนเงินกู้ท่ีได้รับอนุมัติเข้าบัญชี
เงนิ ฝากของเหยอื่ หลงั จากนัน้ มิจฉาชีพจะโทรศพั ท์ไปแจ้งเหยื่อว่า โอนเงินผิดเข้าบัญชีของเหยื่อ
และขอใหเ้ หยอ่ื โอนเงินคนื ให้

เม่อื เหย่อื ตรวจสอบบัญชีเงินฝากของตนเองและพบว่ามีเงินโอนเงินเข้ามาใน
บญั ชีจริง เหยอื่ กร็ บี โอนนน้ั ให้แก่มจิ ฉาชีพทนั ที โดยไมร่ วู้ า่ เงนิ นั้นเป็นเงินสินเชอื่ ทมี่ จิ ฉาชีพขอใน
นามของเหยือ่

ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่ือชีวติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงนิ

155

วธิ ปี ้องกันภยั แกง๊ คอลเซนเตอร์
1. คิดทบทวน ว่าเร่ืองราวที่ได้ยินมามีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน เคยทา

ธรุ กรรมกับหนว่ ยงานท่ีถกู อ้างถึงหรือไม่ หรือเคยเข้ารว่ มชิงรางวัลกับองคก์ รไหนจริงหรอื เปล่า
2. ไม่รู้จัก ไม่คุ้นเคย ไม่ให้ข้อมูล ทั้งข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขที่บัตรประชาชน

วัน/เดือน/ปเี กดิ และข้อมลู ทางการเงนิ เช่น เลขที่บัญชี รหสั กดเงนิ
3. ไม่ทารายการที่เคร่ืองเอทีเอ็มตามคาบอก แม้คนที่โทรมาจะบอกว่าเป็น

เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือสถาบันการเงิน เพราะหน่วยงานของรัฐและสถาบันการเงินไม่มีนโยบาย
สอบถามขอ้ มลู ส่วนตัวของประชาชนหรอื ลกู คา้ ผ่านทางโทรศพั ท์

4. ไม่โอนเงินคืนเอง หากมีคนโอนเงินผิดเข้าบัญชี ควรสอบถามโดยตรงกับ
สถาบันการเงินถึงที่มาของเงินดังกล่าว หากเป็นเงินที่โอนผิดจริง จะต้องให้สถาบันการเงินเป็น
ผู้ดาเนินการโอนเงนิ คนื เท่าน้ัน

5. ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน สอบถามสถาบันการเงินหรือหน่วยงานท่ีถูก
อา้ งถงึ โดยตรง โดยตดิ ตอ่ ฝ่ายบรกิ ารลกู ค้า (call center) หรือสาขาของสถาบนั การเงินนน้ั ๆ
ทาอยา่ งไรเมอื่ ตกเป็นเหยื่อภัยแกง๊ คอลเซนเตอร์

1. ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของสถาบันการเงินนั้น ๆ เพ่ือระงับ
การโอนและถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องเพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการขอระงับการ
โอนและถอนเงิน ท้ังนี้ แต่ละสถาบันการเงินมีวิธีปฏิบัติท่ีแตกต่างกัน ควรติดต่อสอบถาม
ขนั้ ตอนจากสถาบนั การเงินโดยตรง

2. แจ้งเบาะแสไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) เลขที่ 128 ถนนแจ้งวัฒนะ
แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ 10210 โทร. 1202

กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 4 แกง๊ คอลเซนเตอร์
(ใหผ้ ู้เรียนไปทากิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 4 ทีส่ มุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้)

ชดุ วิชาการเงินเพื่อชีวติ 3 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 ภัยทางการเงนิ

156

เร่อื งที่ 5 ภยั ออนไลน์

อินเทอรเ์ น็ตเปน็ ชอ่ งทางการสื่อสารท่ีสะดวกและรวดเร็ว ทาให้เพ่ือนฝูง ญาติพ่ีน้อง
หรือคนท่ีไม่รู้จัก สามารถติดต่อหากันได้อย่างง่ายดาย ความสะดวกสบายเหล่าน้ีนอกจากจะเอื้อ
ประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการแล้ว ก็เอื้อประโยชน์ต่อมิจฉาชีพเช่นกัน อินเทอร์เน็ตจึงกลายเป็นอีก
ชอ่ งทางทีม่ ิจฉาชพี จะเขา้ มากอบโกยผลประโยชนจ์ ากเหยอื่

ลกั ษณะกลโกงภัยออนไลน์

1. แอบอ้างเปน็ บุคคลตา่ ง ๆ

มิจฉาชีพจะแอบอ้างเป็นบุคคลต่าง ๆ และหลอกเหยื่อว่าจะโอนเงินจานวน
มากให้แก่เหยื่อ พร้อมทั้งส่งหลักฐานการโอนเงินปลอมให้ดูว่ามีการโอนเงินจริง แต่แท้จริงไม่มี
การโอนเงินใด ๆ ทั้งสิ้น หลังจากนั้นจะแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ เช่น
ธนาคารกลางของประเทศต้นทาง ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือสหประชาชาติ แจ้งเหยื่อว่า
เงนิ ทโี่ อนมาถกู ระงับและขอตรวจสอบเงนิ

จากนั้นจะขอให้เหย่ือจ่ายค่าธรรมเนียมเพ่ือยกเลิกการระงับเงินโอน โดย
จะเริ่มจากค่าธรรมเนียมที่ไม่มากนักแล้วค่อย ๆ เพิ่มมูลค่าสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนกว่าเหย่ือจะรู้ตัว
เหยื่อบางรายโอนเงินใหแ้ ก่มจิ ฉาชีพมากกวา่ สิบครง้ั มลู ค่าความเสยี หายรวมกันเปน็ หลักล้าน ซ่ึง
มจิ ฉาชพี เหล่านี้มักใชม้ กุ อ้างดงั น้ี

 นักธุรกิจต้องการสั่งสินค้าจานวนมาก – เหยื่อส่วนมากเป็นผู้ประกอบ
ธุรกิจขายสินค้าทางอินเทอร์เน็ต มิจฉาชีพจะส่งอีเมลแอบอ้างเป็นนักธุรกิจต่างชาติท่ีต้องการ
สั่งซ้ือสินค้าจานวนมาก แล้วส่งหลักฐานการโอนเงินปลอมให้เหย่ือตายใจว่าโอนเงินแล้ว ส่วน
เหยื่อ นอกจากจะไม่ได้เงินค่าสินค้าแล้ว ยังเสียเงินทุนและเวลาในการผลิตสินค้าตามคาสั่งซ้ือ
อีกดว้ ย (บางรายส่งสนิ คา้ ไปให้มจิ ฉาชีพแลว้ )

 ผใู้ จบุญต้องการบริจาคเงินจานวนมาก – เหยื่อมักจะเป็นองค์กรการกุศลที่
เปดิ รับเงนิ บรจิ าคอยแู่ ล้ว โดยมิจฉาชีพจะส่งอีเมลติดต่อเหยื่อว่า ต้องการบริจาคเงินพร้อมทั้งขอ
เลขที่บัญชีของเหย่ือ เม่ือได้ข้อมูลทางการเงินของเหย่ือแล้ว มิจฉาชีพจะนาข้อมูลดังกล่าวไป
สรา้ งหลกั ฐานการโอนเงินปลอมแลว้ ส่งมาใหเ้ หยอื่ ดูเสมือนว่ามีการโอนเงินจริง

 ทายาทที่ไม่สามารถรับมรดกได้ – มิจฉาชีพมักติดต่อเหย่ือผ่านช่องทาง
โซเชียลมีเดีย (social media) ต่าง ๆ แล้วอ้างว่าตนเองได้รับมรดกเป็นเงินจานวนมากใน
ประเทศหน่งึ แตไ่ มส่ ามารถรับมรดกนั้นได้ด้วยติดเหตุผลทางการเมืองหรือเหตุผลอ่ืน ๆ จึงขอใช้

ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชีวิต 3 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงนิ

157

ชอื่ และเลขท่ีบัญชีเงินฝากของเหย่ือในการรับมรดก แล้วส่งหลักฐานการโอนเงินปลอมให้เหยื่อดู
เสมอื นว่ามกี ารโอนเงินมรดกไปให้เหยอื่ จรงิ

 ชายหนุ่มที่ต้องการหารักแท้ – มิจฉาชีพจะเริ่มทาความรู้จักกับเหยื่อผ่าน
ทางโซเชียลมีเดียโดยอ้างว่าตนเป็นชาวต่างชาติท่ีมีรายได้และหน้าท่ีการงานท่ีดี แล้วใช้เวลา
ตีสนิทเป็นปีก่อนจะบอกว่าอยากย้ายมาแต่งงานและอยู่เมืองไทยกับเหยื่อ และหลอกว่าได้
โอนเงนิ มาใหเ้ พอ่ื เตรียมซือ้ บา้ นพรอ้ มส่งหลักฐานการโอนเงินปลอมมาใหแ้ ก่เหย่ือ

นอกจากหลอกว่าจะโอนเงินมาให้เหยื่อแล้ว มิจฉาชีพบางรายก็อ้างว่า
ส่งของขวัญพร้อมเงินสดมาให้เหย่ือ แล้วอ้างตัวเป็นกรมศุลกากรเรียกเก็บค่าภาษี หรือ
คา่ ธรรมเนยี มในการนาเงนิ สดออกมา

 องค์กรใจดีแจกเงินทุนหรือรางวัล – เหย่ือจะได้รับอีเมลแจ้งว่าเหยื่อได้รับ
เงินทุนหรือรางวัล แต่เหยื่อจะต้องปฏิบัติตามข้ันตอนท่ีแจ้งมาตามอีเมล ซ่ึงจะต้องจ่ายค่าเปิด
บญั ชี ค่าธรรมเนยี ม คา่ เอกสารต่าง ๆ สุดท้ายก็ไม่ได้รับเงนิ ทนุ หรือรางวัลใด ๆ

รูห้ รอื ไมว่ ่า
ผู้รับสินค้าหรือรับเงินโอนจากต่างประเทศ ไม่จาเป็นต้องเสียภาษีหรือ

ค่าธรรมเนียมเป็นเงินสดแก่เจ้าหน้าท่ีในต่างประเทศ สาหรับการส่งสินค้าเข้ามาให้ผู้รับใน
ประเทศ เจ้าหน้าที่จะเรียกเก็บอากรจากผู้รับตามกฎหมายไทยในข้ันตอนการรับสินค้า โดย
ไม่มีการเปิดตรวจหรือเก็บภาษีท่ีต่างประเทศ หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามเพ่ิมเติมได้ท่ี
สายด่วนศุลกากร โทร. 1164 หรอื www.customs.go.th

สาหรับการโอนเงินระหว่างประเทศ ผู้โอนสามารถเลือกได้ว่าจ่าย
ค่าธรรมเนียมเอง หรือระบุให้หักค่าธรรมเนียมจากยอดเงินโอนได้โดยผู้รับโอนไม่จาเป็นต้อง
จา่ ยเป็นเงินสด

2. แอบอา้ งเป็นคนรจู้ ัก

มิจฉาชีพบางรายอาจแอบอ้างเป็นผู้ให้บริการอีเมลโดยส่งอีเมลแจ้งเหย่ือว่า
จะปิดการให้บริการบัญชีอีเมลของเหย่ือ หากเหยื่อไม่ทาการยืนยันการใช้งานโดยการกรอก
ข้อมลู ชอื่ บัญชีผู้ใช้อเี มล (email address) และรหัสผ่าน (password) ในหน้าจอของอีเมล
ทส่ี ง่ มา หากไมย่ ืนยนั ก็จะปิดบัญชีอีเมลของเหยือ่

เหย่ือหลายรายหลงเชื่อและกรอกช่ือบัญชีผู้ใช้อีเมลและรหัสผ่านไป
มจิ ฉาชีพจึงนาข้อมูลดังกล่าวไปเข้าใช้บัญชีอีเมลของเหย่ือ หลังจากน้ันจะส่งอีเมลหาเพื่อน
ของเหยื่อโดยสร้างเร่ืองเพ่ือหลอกให้โอนเงิน เช่น เหย่ือไปต่างประเทศและได้ทากระเป๋าเงิน
หาย จึงใช้ความเป็นห่วงเพือ่ นในการหลอกให้เพ่ือนของเหย่อื โอนเงินให้แก่มิจฉาชีพ

ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภัยทางการเงนิ

158

3. หลอกขายของออนไลน์

มิจฉาชีพมักประกาศขายสินค้าดีราคาถูกในเว็บไซต์แล้วหลอกให้เหยื่อโอน
เงินค่าสินค้าหรือเงินมัดจาให้ เม่ือถึงเวลาส่งของ ผู้ซื้อก็ไม่ได้รับสินค้าและไม่สามารถติดต่อ
คนขายได้ เงินค่าสินค้าหรือเงินมัดจาที่โอนไปก็ไม่ได้คืน เม่ือตรวจสอบก็พบว่า มิจฉาชีพใช้วิธี
จา้ งคนอื่นเปิดบัญชหี รอื หลอกใชบ้ ญั ชคี นอน่ื รับเงนิ โอนเพอ่ื หลีกหนกี ารจับกุม

มิจฉาชีพบางรายก็ประกาศขายสินค้าโดยใช้เลขที่บัญชีของผู้ขายรายอ่ืน
เม่ือมีเหย่ือสั่งซื้อและโอนเงินให้ มิจฉาชีพจะติดต่อเจ้าของบัญชีน้ันแล้วอ้างว่าตนโอนเงินผิด
ไปและขอรับคืนเป็นเงินสด ขณะเดียวกันเหยื่อที่ส่ังซ้ือสินค้าก็ไม่ได้รับสินค้า เจ้าของบัญชีราย
นั้นจงึ กลายเปน็ ผตู้ ้องสงสัยทันที ดังนั้น หากมีผู้อื่นอ้างว่าได้โอนเงินผิดเข้าบัญชี ไม่ควรถอนเงิน
สดหรือโอนเงินคืนด้วยตนเอง ควรให้ผู้ท่ีอ้างว่าโอนผิดติดต่อแจ้งยกเลิกการโอนเงินและขอเงิน
คืนผา่ นธนาคาร

4. ขอเลขที่บัญชีเงนิ ฝากเปน็ ทพ่ี กั เงิน
มิจฉาชีพจะประกาศรับสมัครงานผ่านทางอินเทอร์เน็ตหรืออาจติดต่อเหย่ือ

ไปเองว่าเป็นบริษัทจากต่างประเทศที่ส่งสินค้าเข้ามาขายในประเทศไทย ต้องการพนักงานท่ี
คอยรวบรวมเงนิ ค่าสนิ ค้าในประเทศไทย จึงต้องใช้บัญชีเงินฝากของเหยื่อเป็นท่ีพักเงิน โดย
ตกลงว่าจะแบ่งส่วนแบ่งจากการขายสนิ คา้ ให้ (เช่น รอ้ ยละ 25 ของเงนิ ค่าสนิ ค้า)

วันหน่ึงเหยื่อได้รับโทรศัพท์จากมิจฉาชีพแจ้งว่า มีคนโอนค่าสินค้า ให้เหยื่อ
หักส่วนแบ่งไว้ตามที่ตกลงกัน และให้โอนเงินท่ีเหลือให้แก่บริษัทแม่ เม่ือเหยื่อตรวจสอบบัญชี
เงินฝาก กพ็ บวา่ มเี งินเขา้ มาจรงิ จึงโอนเงินท่ีเหลอื หลงั หักส่วนแบ่งแลว้ ให้แกม่ ิจฉาชพี

เวลาผ่านไป เหย่ือได้รับการติดต่อจากเจ้าหน้าที่ตารวจว่า เงินท่ีเข้ามาใน
บัญชีเงินฝากของเหย่ือนั้นเป็นเงินท่ีมิจฉาชีพไปหลอกเหยื่อรายอ่ืนมา สุดท้ายเหย่ือกลายเป็น
ผู้ตอ้ งสงสัย ส่วนมิจฉาชีพตวั จริงก็ลอยนวลหายไป

5. เงนิ กู้ออนไลน์
เหย่ือรายหน่ึงต้องการใช้เงินอย่างเร่งด่วนแต่ไม่มีเงินสารองไว้ จึงคิดหาทาง

ออกโดยการกู้เงินนอกระบบ พอดีได้อ่านประกาศบริการเงินกู้นอกระบบดอกเบี้ยต่าใน
อินเทอรเ์ นต็ จงึ รีบติดตอ่ ไปยงั เบอรโ์ ทรศัพทท์ ใ่ี ห้ไว้ทันที

เมื่อเหยื่อติดต่อไป มิจฉาชีพ (ผู้ให้กู้) ก็อ้างว่าจะส่งสัญญามาให้เหย่ือเซ็น
โดยเหยอ่ื จะต้องชาระคา่ ทาสัญญา ค่าเอกสาร ค่ามัดจา หรือดอกเบ้ียล่วงหน้าภายในเวลาท่ี
กาหนด เชน่ ภายในวันน้ีเวลา 18.00 น. (เพ่อื เร่งให้เหยอื่ ตดั สนิ ใจโดยไม่ไตร่ตรอง) แต่เมื่อเหย่ือ
โอนเงินไปแลว้ กลบั ไม่สามารถตดิ ตอ่ ผู้ให้กู้ได้อกี เลย

ชดุ วิชาการเงินเพ่อื ชวี ิต 3 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงิน

159

6. เรยี กค่าไถ่ข้อมลู ดว้ ยมลั แวร์

มจิ ฉาชพี จะแอบอ้างเป็นหน่วยงานหรือองคก์ รต่าง ๆ เช่น บรษิ ัทขนส่งสินค้า
ส่งอีเมลที่แนบไฟล์เรียกค่าไถ่หรือไฟล์แรนซัมแวร์ (ransomware) หรือแนบลิงก์ให้เหยื่อติดตั้ง
แรนซมั แวร์ในคอมพวิ เตอร์ของเหย่ือ ซึ่งแรนซัมแวร์เป็นมัลแวร์ (malware) หรือไวรัสชนิดหนึ่ง
เม่ือถูกติดต้ังในคอมพิวเตอร์จะทาการเข้ารหัสลับ (encryption) ในไฟล์เอกสารต่าง ๆ ที่อยู่ใน
เครอ่ื งคอมพิวเตอร์น้นั ทาให้ผ้ใู ช้งานไม่สามารถเปิดใช้งานหรือแก้ไขไฟล์ได้ หากไม่มีรหัสจาก
ผู้สรา้ งแรนซัมแวร์เพื่อถอดรหสั ลับขอ้ มูล (decryption) เสมอื นถูกเรยี กคา่ ไถ่

หลังจากน้ันหน้าจอจะแสดงหน้าต่างเรียกค่าไถ่ โดยผู้ใช้งานจะต้องจ่ายเงิน
จานวนหนึ่งเพ่ือแลกกับการถอดรหัสใช้งานไฟล์ดังกล่าว แต่ก็ไม่มีใครรับประกันว่าจ่ายเงินแล้ว
เราจะได้รับรหัสหรือใช้ไฟล์งานเอกสารเหล่าน้ันหรือไม่ เหย่ืออาจต้องลบข้อมูลทั้งหมดเคร่ือง
คอมพิวเตอรเ์ พ่อื กาจดั แรนซัมแวร์

วธิ ีปอ้ งกันภยั ร้ายบนโลกออนไลน์

1. คิดทบทวน ว่าเรอ่ื งท่ีเจอหรอื ไดย้ ินมามคี วามน่าเช่ือถอื มากน้อยแค่ไหน หาก
โอนเงินไปแลว้ มีปัญหา จะมีโอกาสไดค้ นื ไหม

2. เปิดเผยเท่าที่จาเปน็ โดยเฉพาะขอ้ มลู ส่วนตัวในโซเชยี ลมีเดยี ทมี่ ิจฉาชพี อาจ
นาไปแอบอา้ งใชท้ าธุรกรรมต่าง ๆ ได้

3. ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน หากอ้างถงึ บุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรใด ๆ
ควรตดิ ต่อสอบถามบุคคลนัน้ หรอื องค์กรนน้ั ๆ โดยตรง

4. ตดิ ตามข่าวสารกลโกงเปน็ ประจา เพือ่ รู้เท่าทนั เล่ห์เหลี่ยมกลโกง

ทาอย่างไรเม่อื ตกเป็นเหยอื่ ภยั รา้ ยบนโลกออนไลน์
1. หากถกู แอบอา้ งใชบ้ ญั ชีอีเมล ให้ติดตอ่ ผู้ใหบ้ รกิ ารอีเมลทนั ที เพื่อเปล่ียน

รหัสผ่านหรือปดิ บัญชี
2. หากโอนเงนิ ให้มจิ ฉาชพี แลว้ ให้
1) ติดตอ่ ฝ่ายบรกิ ารลกู คา้ (call center) ของธนาคารนั้น ๆ เพื่อระงับการโอน

และถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารเพื่อเป็นขอ้ มูลประกอบการขอระงบั การโอนและถอนเงนิ ทั้งนี้
แตล่ ะธนาคารมีวธิ ีปฏบิ ัตทิ ่ีแตกตา่ งกนั ควรติดตอ่ สอบถามขน้ั ตอนจากธนาคารโดยตรง

2) แจง้ เบาะแสแกเ่ จา้ หนา้ ท่ตี ารวจเพื่อตดิ ตามคนร้าย

กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 5 ภยั ออนไลน์

(ให้ผู้เรยี นไปทากิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 5 ที่สมดุ บันทึกกิจกรรมการเรยี นรู้)

ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชวี ติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภยั ทางการเงนิ

160

เรือ่ งท่ี 6 ภัยธนาคารออนไลน์

เทคโนโลยีที่พัฒนาก้าวหน้าทาให้ธนาคารอยู่เพียงปลายนิ้วมือ ผู้ใช้บริการ
สามารถจดั การบัญชเี งนิ ฝากของตนเองผ่านทางอนิ เทอรเ์ น็ตได้โดยไม่ตอ้ งเดนิ ทางไปธนาคาร ซึ่ง
ขน้ั ตอนหลกั ๆ ในการโอนเงนิ ผ่านทางอนิ เทอรเ์ น็ต (โอนเงินออนไลน์) มดี งั น้ี

1. ผู้ใชบ้ ริการเขา้ ระบบธนาคารออนไลนโ์ ดยใช้รหัสผู้ใช้งาน (username) และ
รหสั ผ่าน (password) และสง่ คาสงั่ โอนเงิน

2. ธนาคารส่งรหัสผ่านช่ัวคราว (OTP หรือ One Time Password) ผ่านทาง
SMS ไปยังโทรศัพท์มือถือที่ผู้ใช้บริการลงทะเบียนไว้ เพ่ือให้ผู้ใช้บริการยืนยันการทาธุรกรรมที่
ต้องการทา ซ่ึง OTP น้ีเป็นรหัสผ่านที่ธนาคารออกให้ผู้ใช้บริการเพ่ือใช้ยืนยันการทาธุรกรรม
ธนาคารออนไลน์ท่ีสาคัญ โดยจะใช้ได้เพียงหนึ่งคร้ังภายในเวลาที่กาหนด ทั้งนี้ ธนาคารจะส่ง
OTP มาพรอ้ มกับรายละเอียดของธรุ กรรมทีจ่ ะใช้ OTP นัน้

3. เม่ือผใู้ ชบ้ ริการไดร้ บั OTP แลว้ กก็ รอก OTP เพอื่ ยนื ยนั การโอนเงนิ

ความสะดวกสบายในการทาธรุ กรรมผ่านทางอนิ เทอร์เน็ตน้ี ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถจัดการเงิน
ในบัญชีได้อย่างง่ายดาย แต่ใครจะรู้...ธนาคารออนไลน์ท่ีมาพร้อมกับความสะดวกสบายเหล่านี้
หากใชไ้ มร่ ะวงั เงนิ ท่ีอย่ใู นบัญชีอาจหายไปได้
ลักษณะกลโกงท่ีแฝงอยูใ่ นธนาคารออนไลน์

1. แฝงโปรแกรมรา้ ยหรอื มลั แวร์ (Malware) มาให้ดาวน์โหลด

1) โปรแกรมรา้ ยในคอมพวิ เตอร์

โปรแกรมร้าย หรือมัลแวร์ (Malware) เช่น ไวรัส โทรจัน เป็น
โปรแกรมท่ีสร้างขึ้นมาเพ่ือทาลายหรือสร้างความเสียหายให้แก่ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ

ชุดวชิ าการเงินเพื่อชีวติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภยั ทางการเงนิ

161

เครือข่าย รวมถึงขโมยข้อมูลของผู้ใช้งาน ซ่ึงมิจฉาชีพสามารถนาข้อมูลดังกล่าวไปทาธุรกรรม
ทางการเงินแทนเหยอ่ื ได้

มิจฉาชีพจะแฝงโปรแกรมรา้ ยในลิงกด์ าวนโ์ หลด ไฟล์ หรือโปรแกรม
ต่าง ๆ และมักจะใช้ข้อความหลอกล่อให้คลิกลิงก์หรือติดต้ังโปรแกรม เช่น “คุณเป็นผู้โชคดี
คลิกทนี่ ่เี พือ่ รับรางวลั ” “คลิปฉาวลบั สุดยอดของค่จู น้ิ เบอร์ 1 ของวงการ คลกิ ทีน่ ่ี”

เมื่อโปรแกรมร้ายถูกติดต้ังในเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทาหน้าที่ขโมย
ข้อมูลหรือบันทึกข้อมูลการใช้งานของเจ้าของเคร่ือง เช่น รหัสผู้ใช้งาน (username) รหัสผ่าน
(password) หรืออาจเข้าควบคุมการใช้งาน รวมไปถึงปลอมแปลงคาขอทาธุรกรรมการเงินให้
เหมือนเป็นคาสง่ั จากเจา้ ของบัญชี

หากปลอมแปลงคาสัง่ โอนเงนิ แลว้ โปรแกรมร้ายจะสร้างหน้าต่างปลอม
หรือหน้าจอ pop-up เพื่อหลอกถาม “รหัสผ่านชั่วคราว (OTP)” หรืออาจใช้โปรแกรมบันทึก
การกด OTP แล้วนามาใชย้ นื ยันการโอนเงนิ ออกจากบัญชีเงนิ ฝากของเหย่ือ

2) แอปพลเิ คชนั รา้ ยในสมาร์ตโฟน
ไม่เฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์เท่าน้ันที่มีโปรแกรมร้ายแฝงอยู่ ในสมาร์ต

โฟนก็มีแอปพลิเคชันร้ายแฝงอยู่ได้เช่นกัน โดยมิจฉาชีพจะส่งลิงก์ผ่าน SMS หรืออีเมลให้
เหย่ือติดตั้งแอปพลิเคชันรา้ ยในสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ต

เม่ือแอปพลิเคชันร้ายถูกติดตั้งในสมาร์ตโฟนแล้ว จะทาหน้าที่เหมือน
โปรแกรมรา้ ยในคอมพวิ เตอรค์ อื ขโมยข้อมูล หรือบันทึกข้อมูลการใช้งาน หรือเข้าควบคุมการใช้
งานธนาคารออนไลน์ของเหยอื่ รวมถงึ เขา้ ใชง้ านธนาคารออนไลน์แทนเหย่ือ

ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชวี ติ 3 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงนิ

162

2. ปลอมแปลงอีเมลหลอกเหย่ือใหข้ อ้ มลู ในเว็บไซต์ปลอม
นอกจากการแฝงโปรแกรมร้ายในเครื่องคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ตโฟนแล้ว

มิจฉาชีพก็อาจสร้างอีเมลและเว็บไซต์ปลอมข้ึนมาเพื่อหลอกขอข้อมูลจากเหย่ือ โดยเร่ิมจาก
ส่งอีเมลท่ีสร้างเร่ืองโกหกขึ้นมาเพ่ือทาให้เหยื่อตกใจ เช่น อ้างว่าจะอายัดบัญชี หรืออยู่ระหว่าง
การปรบั ปรงุ ระบบความปลอดภยั จงึ ขอให้เหยอื่ กรอกข้อมูลในเว็บไซตต์ ามลิงก์ทแ่ี นบมา

เมื่อเหยื่อหลงเช่ือคลิกลิงก์ เหยื่อจะถูกเช่ือมต่อไปยังหน้าเว็บไซต์ปลอมที่มี
ลักษณะคลา้ ยหรือเกือบจะเหมือนเว็บไซต์จริง หากเหย่ือไม่ระวัง ลงชื่อเข้าใช้ธนาคารออนไลน์
ในหนา้ เว็บไซต์ปลอม ทาให้ข้อมูลรหัสผู้ใช้งาน (username) และรหัสผ่าน (password) ในการ
ใช้งานธนาคารออนไลน์ของเหย่ือ ถูกมิจฉาชีพบันทึกเก็บไว้และนาไปเข้าใช้ทาธุรกรรมธนาคาร
ออนไลนเ์ พ่ือถอนเงนิ เหย่อื ออกมา

ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่ือชีวิต 3 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 5 ภยั ทางการเงนิ

163

วิธปี ้องกันภัยธนาคารออนไลน์
1. ไม่ติดตั้งหรือดาวน์โหลดโปรแกรมแปลก ๆ หรือผิดกฎหมาย เพราะอาจ

เป็นชอ่ งทางใหม้ ลั แวร์เขา้ มาในอุปกรณ์ที่ใช้ (คอมพิวเตอร์ สมารต์ โฟน หรือแทบเลต็ ) ได้
2. ตรวจสอบอุปกรณ์ท่ีใช้ทาธุรกรรมออนไลน์เป็นประจาว่ามีมัลแวร์แฝงอยู่

หรอื ไม่ โดยใชโ้ ปรแกรมตรวจสอบและปอ้ งกนั ไวรสั ที่ถกู กฎหมายและเป็นปัจจบุ นั
3. สงั เกตอีเมลและเวบ็ ไซต์ กอ่ นคลิกลิงก์หรือลงช่ือเข้าใช้งานธนาคารออนไลน์

โดยสามารถสงั เกตจดุ ต่าง ๆ ดงั น้ี
1) อีเมล

2) เว็บไซต์

4. จากัดวงเงินในการทาธุรกรรมผ่านธนาคารออนไลน์ เพ่ือลดความเสียหาย
หากถกู แอบเข้าใช้บญั ชี

ชดุ วิชาการเงินเพ่อื ชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 ภัยทางการเงนิ

164

5. ตรวจสอบรายการเคล่ือนไหวในบัญชี และการเข้าใช้ระบบธนาคารออนไลน์
อยูเ่ สมอวา่ เปน็ รายการทีไ่ ด้ทาไวห้ รือไม่

6. หลีกเล่ียงการทาธุรกรรมทางการเงินผ่านอินเทอร์เน็ตสาธารณะ หรือ
ฟรี Wi-Fi เพ่อื ป้องกันการดักขโมยข้อมูล แต่หากจาเปน็ ตอ้ งใช้ ใหร้ บี เปลยี่ นรหัสผา่ นหลังจากการ
ใช้งาน

7. หลีกเลี่ยงการใช้งานธนาคารออนไลน์ผ่านอุปกรณ์ท่ีมีการดัดแปลง หรือ
แก้ไขระบบปฏิบตั กิ าร เพราะมคี วามเส่ยี งสงู ทจ่ี ะถูกขโมยข้อมลู

8. ควรกดป่มุ “ออกจากระบบ” (log out) ทกุ คร้งั เมอื่ ไมใ่ ชง้ าน
ทาอยา่ งไรเมื่อตกเป็นเหยอื่ ภยั ธนาคารออนไลน์

1. หากได้รับอีเมลหรือ SMS ท่ีต้องสงสัย หรือเผลอคลิกลิงก์เพ่ือดาวน์โหลด
โปรแกรมท่ีแนบมา หรือหลงเช่ือให้ข้อมูลในเว็บไซต์ปลอมไป รวมทั้งได้รับรหัสผ่านชั่วคราวโดย
ที่ไม่ได้ส่งคาสั่งโอนเงิน ให้แจ้งเหตุการณ์แก่เจ้าหน้าที่ธนาคารหรือฝ่ายบริการลูกค้า (call
center) ของธนาคารทนั ที พร้อมทงั้ ขอคาปรกึ ษาเกี่ยวกับวิธแี กไ้ ขและการใชง้ านที่ปลอดภยั

2. หากพบเว็บไซต์ปลอมของสถาบันการเงิน ให้รีบแจ้งสถาบันการเงินน้ัน ๆ
ทันที เพอ่ื ดาเนนิ การตอ่ ไป เช่น แจ้งปดิ เว็บไซต์ดังกลา่ ว ดาเนนิ คดี

กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 6 ภยั ธนาคารออนไลน์
(ให้ผู้เรยี นไปทากจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 6 ท่ีสมุดบันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้)

ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 3 | หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 ภยั ทางการเงิน

165

เรอื่ งที่ 7 ภยั บตั รอเิ ล็กทรอนกิ ส์

บัตรอิเล็กทรอนิกส์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลาย ไม่ว่าจะเป็นบัตรเครดิต บัตรเดบิต
บัตรเอทีเอ็ม หรือบัตรกดเงินสด ซ่ึงข้อมูลของผู้ใช้จะถูกบันทึกไว้ภายในบัตร ซึ่งข้อมูลเหล่านี้
เป็นกญุ แจสาคัญในการเข้าถงึ บญั ชีของเจ้าของบตั ร จงึ เปน็ สิ่งทเ่ี หล่ามิจฉาชพี ต้องการ

ลักษณะกลโกงภัยบัตรอเิ ลก็ ทรอนิกส์

1. ขโมยขอ้ มูลในบตั รแถบแมเ่ หล็ก (ผ่านเครื่องขโมยข้อมูล)

1) สกมิ เมอร์ (Skimmer): เครอ่ื งขโมยข้อมลู ในบัตรท่เี ครอื่ งเอทีเอ็ม

มิจฉาชีพจะตดิ ต้ังอุปกรณ์ คือ เครอื่ ง skimmer ไวท้ ช่ี อ่ งสอดบัตรท่ีเคร่ือง
เอทีเอ็ม และแป้นครอบตัวเลขหรือกล้องขนาดจิ๋วไว้บริเวณที่มองเห็นการกดรหัส เมื่อเหย่ือใช้
บัตรที่เคร่ืองเอทีเอ็ม เครื่อง skimmer จะทาหน้าที่อ่านข้อมูลท่ีอยู่ในแถบแม่เหล็กของบัตรแล้ว
บนั ทกึ เกบ็ ไว้ ในขณะเดียวกันแป้นครอบตัวเลขหรือกล้องขนาดจ๋ิวจะทาหน้าท่ีบันทึกการกดรหัส
ผ่านของผใู้ ชบ้ ริการ

เมื่อได้ข้อมูลครบ มิจฉาชีพจะนาข้อมูลดังกล่าวไปผลิตบัตรปลอมแล้ว
นาไปใช้โอนเงินของเหยื่อออกจากบัญชี ซ่ึงส่วนมากจะนาบัตรไปใช้ในต่างประเทศเพื่อป้องกัน
การถกู เจา้ หน้าทีต่ ารวจจบั กมุ

2) แฮนด์เฮลด์ สกิมเมอร์ (Handheld Skimmer): เคร่ืองขโมยข้อมูล
ขนาดพกพา

เครื่อง handheld skimmer เป็นเครื่องขโมยข้อมูลขนาดเล็กท่ีสามารถ
พกพาได้ มิจฉาชีพจะใช้เล่ห์เหล่ียมขอบัตรจากเหย่ือ เช่น แฝงตัวเป็นพนักงานเก็บเงินในร้านค้า
หรืออ้างเป็นเจ้าหน้าท่ีธนาคารท่ีคอยให้ความช่วยเหลือท่ีหน้าเครื่องเอทีเอ็ม เมื่อเหยื่อเผลอ ก็จะ
นาบัตรมารูดกับเคร่อื งขโมยข้อมูลท่ีซ่อนไว้

2. ปลอมเอกสารสมคั รบัตร/บญั ชสี ินเช่ือ

มิจฉาชีพจะขโมยเอกสารส่วนตัวของเหยื่อ เช่น สาเนาบัตรประจาตัว
ประชาชน แล้วนาไปสมัครบัตรเครดิตหรือบัตรกดเงินสด หรืออาจนาเอกสารดังกล่าวไป
แจ้งเปลี่ยนบัตรพร้อมทั้งเปลี่ยนท่ีอยู่ในการส่งบิลเรียกเก็บ แล้วนาบัตรไปใช้ในนามของเหยื่อ
กว่าเหยื่อจะรู้ตวั ก็โดนทวงหนี้แล้ว

ชุดวิชาการเงินเพ่ือชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภัยทางการเงนิ

166

3. ขโมยขอ้ มูลจากใบบนั ทึกรายการ (ATM Slip)

มิจฉาชีพจะเลือกใบบันทึกรายการที่ตกอยู่บริเวณเคร่ืองเอทีเอ็ม โดยเลือกใบ
บันทึกรายการที่มียอดเงินคงเหลือมาก ๆ หลังจากนั้นจะนาข้อมูลในใบบันทึกรายการไปหา
ข้อมูลส่วนตัวของเหย่ือเพ่ือใช้ทาบัตรประจาตัวปลอม (ที่มีรูปเป็นของมิจฉาชีพแต่ชื่อเป็นของ
เหยอื่ )

เมื่อได้บัตรประจาตัวปลอมท่ีมีรูปเป็นของมิจฉาชีพแต่ช่ือเป็นของเหย่ือแล้ว
มิจฉาชีพจะนาบัตรนั้นไปขอเปิดบัญชีเงินฝากและทาบัตรเอทีเอ็มเพิ่มในช่ือของเหยื่อ พร้อมท้ัง
ขอเปิดบริการธนาคารออนไลน์กับบัญชีเงินฝากที่เป็นของเหยื่อจริง ๆ ทุกบัญชี แล้วโอนเงิน
ทัง้ หมดมาไว้ในบญั ชที ี่เปดิ ใหม่ แลว้ ถอนออกดว้ ยบัตรเอทีเอ็มท่ีเพง่ิ เปดิ ใหม่

วธิ ีป้องกนั ภยั บตั รอเิ ล็กทรอนิกส์
1. ไม่บอกข้อมูลส่วนตัวแก่บุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็นรหัสบัตรเอทีเอ็ม บัตร

เครดิต หรือข้อมลู ทางการเงนิ หรอื ใหค้ นอื่นทาธรุ กรรมแทน
2. สังเกตเคร่ืองเอทีเอ็ม ว่ามีส่ิงแปลกปลอมติดอยู่ท่ีช่องสอดบัตร แป้นกด

ตัวเลข และบรเิ วณโดยรอบว่ามกี ลอ้ งขนาดจว๋ิ แอบดูการกดรหสั หรอื ไม่
3. เปล่ียนรหัสผ่านอย่างน้อยทุก 3 เดือน หรือบ่อยกว่า โดยรหัสผ่านจะต้อง

เดายาก เป็นความลบั แตเ่ จ้าของบัตรต้องจาได้
4. อยู่ในระยะที่มองเห็นการทารายการเม่ือใช้บัตรท่ีร้านค้า เพ่ือป้องกัน

พนกั งานนาบตั รไปรดู กับเคร่อื งขโมยข้อมูล
5. ตรวจสอบใบบันทึกรายการของบัตรเอทีเอ็มทุกคร้ัง และควรเก็บไว้เพื่อ

เปน็ หลักฐานในการตรวจสอบ
6. ตรวจสอบรายการใชจ้ ่ายของบตั รเครดิตอย่างสม่าเสมอ
7. แจง้ ธนาคารผู้ออกบัตรทนั ที หากมีรายการผดิ ปกติ

ทาอยา่ งไรเมอ่ื ตกเปน็ เหยอื่ ภยั บัตรอเิ ล็กทรอนิกส์
1. หากพบรายการถอนเงินหรือโอนเงินผิดปกติ ควรแจ้งอายัดบัตรทันที

พร้อมท้งั ตรวจสอบรายการและยอดเงนิ คงเหลอื
2. หากถูกขโมยข้อมูลจากเคร่ือง skimmer ท่ีติดอยู่กับเคร่ืองเอทีเอ็มของ

ธนาคาร ใหป้ ฏบิ ัตดิ งั น้ี

ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 ภยั ทางการเงนิ

167

1) ทบทวนเหตุการณท์ ่ีเกดิ ข้ึน แล้วรีบติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center)
ของธนาคารเพ่ืออายัดบตั ร และขอทราบวิธกี ารและข้ันตอนการแก้ไขปัญหา ท้ังน้ี แต่ละธนาคาร
มีวธิ ปี ฏิบตั ทิ ี่แตกต่างกนั ไป

2) รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น ตาแหน่งที่ต้ังเคร่ืองเอทีเอ็ม และไป
แจง้ ความ ณ สถานตี ารวจในทอ้ งทท่ี เ่ี กดิ เหตุ

ทั้งนี้ หากพิสูจน์แล้วว่าลูกค้าดาเนินการตามขั้นตอนปกติและสูญเสียเงิน
จากการที่บุคคลภายนอกใช้เคร่ือง skimmer ติดกับเคร่ืองเอทีเอ็มและลักลอบบันทึกข้อมูลใน
แถบแม่เหล็กหรือกระทาทุจริตอื่น ๆ จนเกิดความสูญเสียต่อลูกค้า ธนาคารจะต้องรับผิดชดใช้
ความสูญเสียให้แก่ลูกค้ารายนั้น (ตามประกาศ ธปท. เลขที่ สนส. 26/2551 เร่ือง การอนุญาต
ใหธ้ นาคารพาณชิ ย์ให้บรกิ ารการเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ลงวนั ท่ี 3 สิงหาคม 2551)

3. แจง้ เบาะแส แก่เจา้ หนา้ ท่ตี ารวจเพ่ือตดิ ตามคนร้าย

กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 7 ภยั บตั รอิเล็กทรอนิกส์
(ใหผ้ เู้ รยี นไปทากจิ กรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 1 ทีส่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นร้)ู

ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวติ 3 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 ภัยทางการเงิน

1. ก เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลงั เรียน 168
6. ง
11. ง เฉลย แบบทดสอบกอ่ นเรียน 5. ค
16. ง 2. ง 3. ง 4. ค 10. ก
21. ข 7. ก 8. ข 9. ข 15. ค
26. ค 12. ก 13. ค 14. ก 20. ง
17. ข 18. ง 19. ก 25. ก
1. ก 22. ค 23. ข 24. ง 30. ข
6. ง 27. ง 28. ข 29. ก
11. ง 5. ค
16. ง เฉลย แบบทดสอบหลงั เรยี น 10. ก
21. ข 2. ง 3. ง 4. ค 15. ค
26. ค 7. ก 8. ข 9. ข 20. ง
12. ก 13. ค 14. ก 25. ก
17. ข 18. ง 19. ก 30. ข
22. ค 23. ข 24. ง
27. ง 28. ข 29. ก

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรียน ชดุ วิชาการเงินเพ่อื ชีวติ 3 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

169

เฉลย/แนวคาตอบกจิ กรรมท้ายเรอ่ื ง
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1

กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 1 ความหมายและประโยชน์ของเงนิ
ให้เลือกคาตอบทถ่ี กู ต้องท่สี ดุ เพียงคาตอบเดียว
1. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีไม่ถกู ต้อง

ข) เงินมี 2 รปู แบบเทา่ นน้ั คอื ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์
2. ขอ้ ใดต่อไปน้ีเปน็ การใหเ้ งิน

ค) วารีให้เงนิ น้องชายไปดาวน์รถ
3. ข้อใดคือสงิ่ ทไ่ี ม่ควรทา

ค) ใชจ้ า่ ยก่อน เหลอื แล้วคอ่ ยออม
4. ภาวะเงนิ ฝดื หมายถงึ ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี

ก) ภาวะท่ีระดับราคาสนิ ค้าโดยทวั่ ไปลดตา่ ลงเรือ่ ย ๆ
5. สมใจเคยซ้ือข้าวราดแกงกับไก่ทอด 1 ช้ิน จานละ 20 บาท แต่ 10 ปีต่อมาเงิน 20 บาท

ไดเ้ พยี งข้าวราดแกงอยา่ งเดียว เหตุการณน์ แ้ี สดงใหเ้ หน็ ว่าเกิดจากสาเหตใุ ด
ข) ภาวะเงนิ เฟ้อ

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรือ่ ง ชุดวิชาการเงินเพื่อชวี ิต 3 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

170

กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 2 ประเภทของเงนิ
กิจกรรมที่ 2.1 ให้ใส่เครื่องหมาย  หน้าข้อความที่กล่าวถูกต้อง และใส่เครื่องหมาย X
หน้าขอ้ หากเห็นวา่ ไม่ถกู ตอ้ ง
 1. ยกสอ่ ง มองเห็น “ลายน้า” พระบรมฉายาสาทสิ ลักษณ์พระบาทสมเดจ็

พระเจา้ อยู่หัว
 2. แถบฟอยล์ที่ผนึกอยบู่ นด้านหนา้ ธนบตั รจะมองเหน็ ลวดลายเป็นหลายมิติ

เม่ือพลกิ ธนบัตรไปมา
 3. กระดาษธนบตั รมคี วามเหนยี วแกร่งต่างจากกระดาษท่วั ไป เพราะผลิตจาก

ใยฝ้าย
 4. แถบสี่เหลี่ยมเคลื่อนไหวสลับสี คือ จุดสังเกตธนบัตรแบบสิบหก ชนิดราคา

500 บาท และ 1000 บาท
X 5. ตวั เลขแฝง จะมองเห็นเม่อื พลกิ เอยี งธนบัตรโดยจะเห็นเปน็ เลขไทย
 6. หนว่ ยงานที่ทาหนา้ ท่ีผลติ และนาธนบัตรออกใช้หมนุ เวยี น คอื ธนาคารแหง่

ประเทศไทย
X 7. ลายน้าโปรง่ แสงในธนบตั รแบบปัจจุบนั (แบบสิบหก) จะเหน็ เป็นตวั เลขอารบิก
 8. สินทรพั ย์ท่ีใช้หนุนหลังธนบตั ร เพ่ือใหม้ มี ูลค่าตามราคาทตี่ ราไวห้ น้าธนบตั รคือ

ทุนสารองเงนิ ตรา
X 9. ธนบัตรแบบปจั จุบนั ทกุ ชนิดราคา (แบบสิบหก) มีความกว้างไม่เทา่ กัน
 10. วธิ สี ังเกตธนบัตรแบบง่ายโดยไมต่ อ้ งใช้อุปกรณ์ คอื สัมผสั ยกส่อง พลิกเอียง

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่ือง ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชีวิต 3 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

171

กจิ กรรมท่ี 2.2 ใหค้ านวณอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศตามโจทยท์ ่ีให้มาดังต่อไปน้ี

1. ซื้อรองเท้าผ้าใบจากประเทศสหรัฐอเมริกา 1 คู่ ราคา 120 ดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นเงินบาท
ไทยจานวนเงนิ เทา่ ไร (อัตราแลกเปลยี่ น 1 ดอลลาร์สหรัฐ เทา่ กับ 35 บาท)

1 USD = 35 บาท

120 USD = [120 x 35] ÷ 1

= 4,200 บาท

คาตอบ คิดเป็นเงินบาทไทยเท่ากับ 4,200 บาท

2. ดวงแก้วจะเดินทางไปฮ่องกง ต้องการนาเงินบาทจานวน 10,000 บาท ไปแลกเป็นเงิน
ดอลลาร์ฮ่องกง ดวงแก้วจะได้เงินดอลลาร์ฮ่องกงเป็นจานวนเงินเท่าไร (อัตราแลกเปล่ียน
1 ดอลลารฮ์ ่องกงเทา่ กับ 4.50 บาท)

4.50 บาท = 1 HKD

10,000 บาท = [10,000 x 1] ÷ 4.5

= 2,222.22 HKD

คาตอบ คิดเป็นเงนิ ดอลลาร์ฮ่องกงเท่ากับ 2,222.22 HKD

3. พิพฒั นก์ ลับจากทอ่ งเที่ยวเมืองจนี มีเงินหยวนตดิ ตัวกลบั มาด้วย 3,000 หยวน ต้องการนามา
แลกเปลี่ยนเป็นเงินไทย พิพัฒน์จะได้เงินบาทเป็นจานวนเงินเท่าไร (อัตราแลกเปลี่ยน 1 หยวน
เทา่ กบั 5 บาท)

1 หยวน = 5 บาท

3,000 หยวน = [3,000 x 5] ÷ 1

= 15,000 บาท

คาตอบ คิดเปน็ เงินบาทเทา่ กับ 15,000 บาท

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรือ่ ง ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

172

กิจกรรมที่ 2.3 ใหท้ าเครือ่ งหมาย หน้าขอ้ ความท่เี ปน็ ชอ่ งทางการแลกเปล่ยี น
เงินตราต่างประเทศ และ X หน้าขอ้ ความท่ีไม่ถกู ตอ้ ง

 ธนาคารพาณิชย์ที่ได้รบั อนุญาต X ธนาคารแหง่ ประเทศไทย

X สหกรณ์ออมทรัพย์ X รา้ นค้าสะดวกซื้อ

 โรงแรมที่ได้รับอนุญาตให้  บริษทั รบั แลกเปลย่ี นเงนิ ตรา
ประกอบธรุ กิจแลกเปล่ยี น ตา่ งประเทศ ท่ีได้รบั อนญุ าต
เงนิ ตราตา่ งประเทศ

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่ือง ชดุ วิชาการเงินเพ่ือชีวิต 3 l ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

173

กจิ กรรมท่ี 2.4 ให้ทาเคร่ืองหมาย  หน้าข้อ หากเห็นว่าถูกตอ้ ง และทาเครือ่ งหมาย X
หนา้ ขอ้ หากเห็นว่าไม่ถูกตอ้ ง

X 1. เงินเสมือนในประเทศไทย มีรัฐบาลควบคุมดูแลเหมือนอย่าง

เงนิ ตราทใี่ ชใ้ นปจั จุบัน

 2. เงินเสมือนมีความเสี่ยงที่ผู้ถือครองอาจสูญเสียหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้
จากการถกู โจรกรรมข้อมูล

 3. เงินเสมอื นเป็นหนว่ ยข้อมลู ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เช่น coin, point

 4. เงินเสมือนไม่สามารถชาระหน้ีไดต้ ามกฎหมายไทย

 5. มลู คา่ ของเงนิ เสมือนมคี วามผนั ผวนไมส่ มั พนั ธ์กบั สภาพเศรษฐกจิ

X 6. สามารถนาเงนิ เสมือนฝากเขา้ บญั ชธี นาคารได้

 7. หากโอนเงนิ เสมอื นไปให้ผิดคน อาจยากทจ่ี ะตามเงนิ คืนกลบั มาได้

X 8. เงินเสมือนเป็นเงนิ ตราต่างประเทศชนดิ หน่ึง

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวติ 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

174

กจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 3 การฝากเงนิ การประกนั ภัย และการลงทนุ

กิจกรรมท่ี 3.1 ให้พิจารณาลักษณะของบัญชีเงินฝากด้านล่างว่าเป็นลักษณะของบัญชี
เงินฝากประเภทใด จากนั้นให้นาหมายเลขมาใส่ในตารางให้ถูกต้อง (แต่ละบัญชีสามารถมี
หมายเลขซ้ากนั ได)้

บัญชเี งินฝาก บัญชีเงนิ ฝากประจา บัญชเี งนิ ฝากประจา บัญชีเงินฝากประจา
ออมทรัพย์
ทวั่ ไป ปลอดภาษี แบบขัน้ บันได
5, 7, 8
2, 4, 9 1, 3, 9, 10 4, 6, 9

ลกั ษณะของบัญชีเงินฝาก

1. ต้องฝากต่อเนอ่ื งในจานวนทเี่ ท่ากนั ทุก ๆ 2. มีระยะเวลาการฝากหลายแบบ เชน่
เดอื น เดือนละ 1 ครัง้ เป็นเวลาไม่นอ้ ย 3 เดอื น 6 เดือน 12 เดือน
กว่า 24 เดอื น

3. เป็นบญั ชีเงนิ ฝากประจาที่ไดร้ ับยกเวน้ 4. เสยี ภาษีหกั ณ ที่จ่าย 15%
ภาษี แตเ่ ปิดได้เพียงบญั ชเี ดียว

5. สามารถฝากหรอื ถอนเงนิ เมือ่ ไหรก่ ็ได้ 6. ในแตล่ ะชว่ งเวลาการฝาก ดอกเบ้ียจะ

ค่อย ๆ เพม่ิ สงู ข้นึ สว่ นใหญเ่ ดือนสุดท้าย

อตั ราดอกเบ้ียจะสูงทีส่ ุด

7. เหมาะกบั การใช้เป็นบญั ชีเพอ่ื รับ 8. ถา้ ดอกเบ้ยี รบั ไม่เกิน 20,000 บาท

เงนิ เดอื น/ค่าจ้าง ไมต่ อ้ งเสียภาษี ณ ที่จ่าย 15% ของ

ดอกเบีย้ ทไ่ี ดร้ บั (รวมรบั จากทุกสถาบนั

การเงนิ ใน 1 ป)ี

9. เป็นบญั ชีเกบ็ ออมเพอื่ เพิ่มรายได้จาก 10. ขาดฝากได้ไม่เกิน 2 ครั้ง

ดอกเบี้ย และไมม่ ีความจาเปน็ ทจี่ ะใช้เงนิ

ในชว่ งระยะเวลาหน่งึ

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอื่ ง ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชีวิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

175

กิจกรรมที่ 3.2 ใหค้ านวณดอกเบยี้ เงนิ ฝากแบบทบต้นอยา่ งง่ายตามโจทย์ที่ใหม้ าดังน้ี
โจทย์ ชานาญเปิดบัญชีเงินฝากท่ีธนาคารมุ่งม่ัน เม่ือวันท่ี 1 ม.ค. 58 จานวน 6,000 บาท
ได้รับดอกเบ้ียเงินฝากในอัตรา 5% ต่อปี ซึ่งธนาคารจ่ายดอกเบ้ียปีละ 1 คร้ัง หากสาราญฝาก
เงินไว้ 3 ปี โดยไมถ่ อนเงินต้นหรอื ดอกเบ้ียออกมาใชใ้ นระหว่างปี และไม่ได้ฝากเงินเพิ่ม สาราญ
จะมเี งนิ รวมเมื่อครบ 3 ปเี ปน็ เงินเท่าไร แสดงวิธกี ารคานวณ
ตอบ

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่อื ง ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชวี ติ 3 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

176

กิจกรรมท่ี 3.3 ผลิตภัณฑใ์ ดดังต่อไปนเ้ี ปน็ ผลติ ภณั ฑ์ที่ไดร้ ับการคมุ้ ครองจากสถาบัน
คมุ้ ครองเงนิ ฝาก โดยทาเครอ่ื งหมาย หน้าข้อความทถี่ กู ต้อง และทาเครื่องหมาย X
หน้าขอ้ ความท่ีไม่ถกู ตอ้ ง
 1. เงินฝากออมทรพั ย์
 2. บตั รเงินฝาก
X 3. เงนิ ฝากทเ่ี ป็นเงินตราตา่ งประเทศ
X 4. เงนิ ฝากระหว่างสถาบันการเงนิ
 5. เงินฝากประจา
 6. เงินฝากกระแสรายวนั
X 7. เงนิ ฝากในสหกรณ์
X 8. กองทนุ รวม
 9. เงินฝากใน “บญั ชีร่วม” หรอื “บญั ชีเพือ่ ”
 10. ใบรบั ฝากเงนิ
X 11. สลากออมทรัพย์
X 12. พันธบัตรรฐั บาล
X 13. หุ้นกู้
X 14. ตวั๋ แลกเงิน

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชีวติ 3 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

177

กจิ กรรมที่ 3.4 ใหเ้ ลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องทสี่ ดุ เพยี งคาตอบเดยี ว
1. ข้อใดต่อไปน้ีกลา่ วถูกต้อง

ก) การทาประกันภยั เปน็ การโอนความเสีย่ งในอนาคตไปใหผ้ ้รู ับประกันภยั
2. ข้อใดต่อไปนเ้ี ปน็ การประกันวินาศภัย

ก) ประกนั ภัยรถยนต์
3. ลักษมีต้องการทาประกันภัยเพื่อที่ว่าหากรถยนต์เกิดอุบัติเหตุจะได้ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใน

การซ่อมแซมรถ หรือรถสูญหาย หรือไฟไหม้ตัวรถยนต์ และคุ้มครองชีวิตร่างกายและ
ทรพั ยส์ นิ ของบุคคลภายนอกดว้ ย ลกั ษมคี วรทาประกนั ภัยแบบใด
ค) ประกันภยั รถยนต์ภาคสมัครใจประเภท 1
4. ประกนั ภัยประเภทใดที่เหมาะกบั ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย
ก) ประกันภยั 200 สาหรบั รายย่อย
5. ข้อใดต่อไปน้เี ป็นลักษณะของประกันคมุ้ ครองสนิ เชือ่
ข) ผู้รับประกนั ภยั จะชาระหน้ีแกเ่ จา้ หนี้แทนผู้เอาประกนั ภยั หากผูเ้ อาประกันภัยเสียชวี ิต
6. พันธบัตรรฐั บาล คือ
ข) ตราสารหนท้ี ี่รฐั บาลโดยกระทรวงการคลงั หรอื หนว่ ยงานภาครฐั ออกจาหนา่ ยเพอื่

ระดมทุนจากประชาชนและสถาบันการเงินในประเทศ
7. ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้ที่ผจู้ ะลงทนุ ในหนุ้ ควรใช้ในการศกึ ษาข้อมลู

ค) ถูกทุกข้อ
8. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถกู ต้อง

ข) LTF ต้องถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกวา่ 7 ปี
9. กฎหมายให้ลูกจา้ งสง่ เงินสะสมเขา้ กองทนุ สารองเลี้ยงชพี ในอตั ราใด

ค) ไมต่ า่ กว่า 2% และไม่เกนิ 15% ของค่าจา้ ง
10. ข้อใดต่อไปนกี้ ลา่ วถกู ต้อง

ข) ผลตอบแทนของเงนิ ลงทนุ ขน้ึ อยกู่ บั สถานการณ์ ณ ขณะนัน้ ซึง่ อาจได้กาไร ขาดทุน
หรอื เทา่ ทุน

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรือ่ ง ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

178

กิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 4 การชาระเงินทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์
กิจกรรมที่ 4.1
1. ให้ทาเคร่ืองหมาย หน้าข้อท่ีเป็นการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ และทาเครื่องหมาย

X หนา้ ข้อที่เหน็ ว่าไม่ใชร่ ะบบการชาระเงินทางอิเล็กทรอนกิ ส์
X 1. สมชายใหเ้ งนิ สมหญิงเพอ่ื นาไปใหพ้ ่อท่ีอยู่ต่างจงั หวดั
 2. เสน่หจ์ า่ ยคา่ งวดรถมอเตอรไ์ ซคผ์ ่าน internet banking
 3. ครูสมปองชาระค่าไฟผา่ นเครอ่ื งเอทเี อม็ ของธนาคารม่งุ มน่ั
X 4. กรกนกจา่ ยเงินสดซอื้ ของทรี่ า้ นสะดวกซือ้
 5. รัตนานาบตั รเครดติ ไปซอื้ สนิ คา้ ท่ีห้างสรรพสินคา้
X 6. พงศน์ าเงนิ ไปชาระหนี้ญาตดิ ว้ ยตนเอง
 7. เสาวนีย์ชาระคา่ สนิ คา้ ให้แก่ร้านค้าออนไลน์ผ่านโทรศพั ทม์ ือถอื
 8. อมรนาบัตรเดบติ ไปซื้อสินคา้ ออนไลน์
X 9. ทอมนาเงินสดมาจองซ้อื บา้ น
 10. วารใี ชบ้ ตั รรถไฟฟา้ จา่ ยคา่ โดยสารแทนการจา่ ยเงินสด
2. ใหร้ ะบปุ ระโยชน์ของการชาระเงนิ ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ทีม่ ีตอ่ ประชาชน

1) โอนเงนิ หรอื ชาระเงินได้ทุกท่ีทกุ เวลา
2) ไม่ต้องเสียเวลาและคา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทาง
3) ปลอดภัย ไม่ต้องกลัวเงนิ หายหรอื ถกู ขโมย
4) ตรวจสอบได้ มหี ลักฐานชัดเจน
5) มรี ปู แบบการชาระเงนิ ให้เลือกไดห้ ลากหลายตามความสะดวก

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอื่ ง ชดุ วิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ติ 3 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

179

กิจกรรมท่ี 4.2 ให้นาตวั เลอื กด้านลา่ งมาเตมิ ในช่องประเภทส่ืออิเล็กทรอนกิ สใ์ ห้มี
ความสมั พนั ธ์กบั ลกั ษณะของระบบการชาระเงิน

ประเภทสือ่ ลักษณะของระบบการชาระเงินทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์
อิเล็กทรอนิ
กส/์ ชอ่ ง
ทางการ
ชาระเงิน

บตั รเอทีเอ็ม 1. ทาธุรกรรมทางการเงิน เชน่ ฝาก/ถอน/โอน/ชาระเงิน/สอบถามยอดเงนิ ใน
บญั ชีผา่ นเครอ่ื งเอทีเอ็ม

2. ทาธุรกรรมทางการเงนิ เชน่ ฝาก/ถอน/โอน/ชาระเงิน
บัตรเดบิต ที่เคร่อื งเอทีเอ็ม ใชซ้ ้อื สนิ คา้ และบรกิ าร ณ สถานที่ขายสนิ ค้า/บริการ และซื้อ

ออนไลน์โดยตัดเงนิ จากบัญชีเงินฝากทันที

3. มวี งเงนิ ในบตั ร สามารถเบิกถอนเงนิ สดจากเครือ่ งเอทเี อ็ม ใชช้ าระค่าสินค้า
บตั รเครดติ และบริการแทนเงินสด และผอู้ อกบตั รจะเรียกเกบ็ เงินจากเจา้ ของบัตรตาม

ระยะเวลาที่กาหนด

internet 4. โอนเงิน/ชาระเงินในการซอื้ สนิ คา้ และบรกิ าร ตรวจสอบยอดเงินในบญั ชี ผ่าน
payment เครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ของธนาคารทเ่ี ปิดบญั ชีไว้

mobile 5. ชาระค่าสินคา้ และบรกิ ารผา่ นอุปกรณ์โทรศพั ทม์ ือถอื หรือแท็บเล็ต โดยผู้ใช้มี
payment บญั ชเี งนิ ฝากอยกู่ บั ธนาคาร

บตั รเครดิต internet บัตรเดบติ mobile บัตรเอทีเอ็ม
payment payment

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่ือง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ติ 3 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

180

กิจกรรมท่ี 4.3 ใหน้ าประเภทสถาบนั การเงินด้านลา่ งมาใส่ในตารางดา้ นบนใหส้ มั พนั ธ์กนั

กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั บริการ e-Payment ประเภทสถาบนั การเงิน
ทีถ่ กู ควบคุมดูแล

พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.) วา่ ด้วยการควบคุมดแู ลธรุ กิจ สถาบนั การเงนิ เฉพาะกจิ

บรกิ ารการชาระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ของสถาบนั การเงิน

เฉพาะกิจ พ.ศ. 2559

พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการควบคุมดูแลธรุ กจิ บริการการชาระเงินทาง ธนาคารพาณิชย์

อเิ ล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2551 ผู้ประกอบธรุ กจิ บรกิ ารการ

ชาระเงินทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์

ทมี่ ใิ ชส่ ถาบนั การเงนิ (non-

bank)

พ.ร.บ. ธุรกิจสถาบนั การเงิน พ.ศ. 2551 ธนาคารพาณิชย์

บรษิ ัทเงนิ ทุน

บริษัทเครดิตฟองซเิ อร์

ประกาศกระทรวงการคลงั ซ่งึ ออกตามประกาศคณะปฏิวตั ิ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ บัตรเงิน

ฉบบั ที่ 58 (บตั รเงินอิเลก็ ทรอนิกส)์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ท่ีมิใชส่ ถาบัน

การเงนิ (non-bank)

ประเภทสถาบนั ที่ถกู ควบคมุ ดูแล

ธนาคารพาณิชย์ สถาบนั การเงิน บรษิ ทั เงินทุน/
เฉพาะกิจ บริษัทเครดิตฟองซเิ อร์

ผปู้ ระกอบธุรกจิ บรกิ ารการชาระเงินทาง ผปู้ ระกอบธรุ กิจบตั รเงินอเิ ลก็ ทรอนิกส์
อเิ ล็กทรอนิกส์ทมี่ ใิ ชส่ ถาบันการเงนิ ท่ีมใิ ชส่ ถาบนั การเงนิ (non-bank)
(non-bank)

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรื่อง ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชวี ติ 3 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

181

กจิ กรรมท่ี 5 ผู้ใหบ้ รกิ ารทางการเงินในประเทศไทย
กิจกรรมที่ 5.1 ใหเ้ ขยี นชือ่ หนว่ ยงานทีก่ ากับดูแลในช่องขวามอื โดยใหม้ คี วามสัมพนั ธก์ นั

ผ้ใู ห้บริการทางการเงนิ หนว่ ยงานทก่ี ากบั ดูแล

1. บริษทั หลักทรัพยจ์ ดั การกองทนุ ก.ล.ต.

2. ผปู้ ระกอบธรุ กิจบตั รเครดิต ธปท.

3. สถานธนานเุ คราะห์ กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมั่นคง
ของมนุษย์

4. ธนาคารพาณิชย์ ธปท.

5. สหกรณ์ กรมสง่ เสริมสหกรณ์ และกรมตรวจบัญชี
สหกรณ์

6. บริษทั ประกนั ชวี ติ คปภ.

7. สถาบนั การเงินเฉพาะกจิ ธปท.

8. ผูใ้ หบ้ รกิ ารการชาระเงนิ ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ธปท.

9. บริษัทหลักทรพั ย์ ก.ล.ต.

10. บรษิ ทั ประกนั วินาศภัย คปภ.

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรือ่ ง ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 3 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

182

กจิ กรรมที่ 5.2 ใหเ้ ลือกคาตอบทีถ่ ูกตอ้ งที่สุดเพยี งข้อเดยี ว
1. ขอ้ ใดคอื บทบาทหน้าที่ของธนาคารพาณิชย์

ค) ถูกทุกขอ้
2. ขอ้ ใดตอ่ ไปนค้ี อื หนา้ ทข่ี องธนาคารแหง่ ประเทศไทย

ข) กากบั ดูแลสถาบนั การเงิน
3. ธปท. ไมไ่ ดก้ ากบั ดแู ลผูใ้ หบ้ ริการใดต่อไปน้ี

ค) บริษทั ประกันชวี ติ
4. คปภ. คอื หนว่ ยงานใด

ค) ถกู ทกุ ขอ้
5. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้องเกี่ยวกบั หนา้ ทีข่ องสหกรณ์

ก) ให้บริการกยู้ มื แกส่ มาชกิ เม่อื เกิดความจาเปน็
6. ขอ้ ใดต่อไปนค้ี ือสถาบันการเงินเฉพาะกจิ

ก) ธนาคารออมสนิ
7. ข้อใดตอ่ ไปนเ้ี ป็นหน้าทีข่ อง ก.ล.ต.

ค) ถกู ทกุ ข้อ
8. หากบริษัทว่องไว ดาเนินธุรกิจให้กู้ยืมโดยไม่มีหลักประกัน ซึ่งได้รับอนุญาตจาก

กระทรวงการคลงั แลว้ บรษิ ัทวอ่ งไวจัดเปน็ ผใู้ หบ้ ริการทางการเงินประเภทใด
ข) ผูป้ ระกอบธรุ กจิ สนิ เชอ่ื ส่วนบคุ คลภายใตก้ ารกากบั
9. บริษทั หลักทรพั ย์จัดการกองทุน ทาธุรกจิ ประเภทใด
ค) บริหารเงนิ ให้แก่ลกู คา้ ในการจดั การกองทนุ รวม
10. บรษิ ทั ประกนั วินาศภัยดาเนนิ กิจการประเภทใดต่อไปน้ี
ค) ประกันรถยนต์

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอ่ื ง ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชีวิต 3 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

183

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2
กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 1 การวางแผนการเงนิ
กิจกรรมท่ี 1 ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

1. บุคคลในวยั ไหนทตี่ อ้ งวางแผนการเงิน และตอ้ งวางแผนอยา่ งไร
ตอบ ทุกวยั โดยแตล่ ะวยั อาจวางแผน ดังน้ี

เหมาะแก่การบ่มเพาะนิสัยการออมอย่างสม่าเสมอ ให้รู้จักค่าของเงิน
และใช้จ่ายอย่างสมเหตุสมผล เช่น ฝึกให้ออมเงินเพื่อซ้ือของท่ี
อยากได้ หรือฝึกจัดสรรเงินโดยให้เงินเม่ือไปเที่ยว แล้วให้วางแผน
วัยเด็ก ใช้จ่ายเอง

ควรวางแผนการใช้จ่ายไม่ให้เกินรายได้ที่มีอยู่ ระมัดระวังการก่อหน้ี
และควรเริ่มวางแผนการออมโดยกาหนดเป้าหมายการออมให้ชัดเจน
เช่น ออมเพื่อซ้ือบ้าน ซ้ือรถ แต่งงาน หรือแม้กระทั่งเพื่อใช้จ่าย
ในวัยชรา

วัยทางาน

ต้องวางแผนการเงินอย่างรัดกุม ตั้งงบประมาณสาหรับค่าใช้จ่าย
แต่ละประเภทและพยายามใช้จ่ายไม่ให้เกินงบ เพื่อป้องกันปัญหา
เงินไม่พอใช้ นอกจากน้ี ควรวางแผนการเงินเพ่ือการศึกษาบุตร และ
ลงมือทาตามแผนการเงนิ เพื่อใชจ้ ่ายในวยั ชราอย่างจรงิ จัง
วยั สรา้ งครอบครัว

ควรวางแผนใช้จ่ายให้ไม่เกินเงินที่มีอยู่ จากัดวงเงินในการใช้จ่าย
แต่ละประเภท และกันเงินส่วนหนึ่งไว้เป็นค่ารักษาพยาบาล แต่
ทางที่ดีควรออมเงินเพ่ือใช้ในยามชราและควรเตรียมความพร้อมเรื่อง
สวัสดิการหรือการประกันสุขภาพต้ังแต่ยังหนุ่มสาวจะได้มีชีวิต
วัยชรา ในวยั ชราอย่างสุขสบาย

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่ือง ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชวี ติ 3 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

184

2. ศกึ ษากรณีศกึ ษา แล้วตอบคาถาม
จากกรณีศกึ ษา ให้เรยี งลาดับขั้นตอนวางแผนการเงนิ เพ่ือซือ้ มอื ถอื ของนางมาลลี งใน
ช่องวา่ ง
ตอบ ขั้นตอนท่ี 1: ก. ดูเงินเก็บท่ีมตี อนน้ี เพอ่ื ประเมนิ ฐานะทางการเงนิ
ขั้นตอนท่ี 2: ง. ตั้งเปา้ หมายว่าจะซื้อมอื ถือราคากี่บาทและจะซ้ือเมือ่ ไหร่
ข้ันตอนที่ 3: จ. วางแผนการเงินว่าจะออมเงนิ วนั ละหรือเดอื นละเท่าไรเพอื่ ให้ได้
เงินตามจานวนท่ีตงั้ เป้าหมายไว้
ขน้ั ตอนท่ี 4: ข. ปฏิบัตติ ามแผนการออมอย่างเคร่งครดั ไมเ่ ผลอนาเงินไปซือ้
อย่างอ่ืน
ขน้ั ตอนที่ 5: ค. หากทาตามแผนไมไ่ ด้ กใ็ หป้ รบั แผนใหส้ อดคล้องกบั สถานการณ์

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรือ่ ง ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชีวิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

185

กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 2 การประเมินฐานะการเงนิ ของตนเอง
กจิ กรรมที่ 2.1 ตอบคาถามต่อไปนี้

1. เราสามารถประเมนิ ฐานะการเงินของตนเองในด้านใดได้บ้าง ให้อธิบาย
ตอบ
1) การประเมินฐานะการเงิน (ภาพรวม) สามารถประเมินฐานะการเงิน
โดยคานวณหาความม่ังคั่งสุทธิ ซึ่งก็คือ มูลค่าที่เหลืออยู่หลังจากท่ีนา
ทรัพย์สินทั้งหมดลบด้วยหนี้สินทั้งหมด โดยความมั่งค่ังสุทธิจะบอกฐานะ
ท่แี ท้จรงิ ของเราวา่ มีสินทรพั ยท์ ี่เป็นของเราจรงิ ๆ เทา่ ไร

2) การประเมินด้านหน้ี สามารถประเมินได้จากอัตราส่วนภาระหน้ีต่อรายได้
ต่อเดือน ซึง่ เปน็ สัดสว่ นการชาระหน้ีต่อรายได้ นอกจากจะทาให้ทราบภาระ
หนี้ที่ต้องจ่ายต่อเดือนแล้ว ยังสามารถใช้ประเมินความสามารถในการชาระ
หนหี้ ากตอ้ งการก้เู งนิ ในอนาคตอกี ดว้ ย

3) การประเมินด้านการออม สามารถประเมินได้จากอัตราส่วนเงินออม
ต่อรายไดต้ ่อเดอื น

4) การประเมินดา้ นรายรับ-รายจา่ ย สามารถประเมนิ ไดจ้ ากการบนั ทึก
รายรบั -รายจ่าย แลว้ สังเกตดูว่าในแตล่ ะเดอื นมีรายรับ-รายจา่ ยอะไรบา้ ง

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่ือง ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวิต 3 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

186

กจิ กรรมท่ี 2.2 ให้คานวณความม่ังคั่งสุทธิของตนเอง

ตอบ ในส่วนของการคานวณจะไม่มีเฉลย เนื่องจากเป็นขอ้ มลู ส่วนตวั ของผ้เู รียน ทัง้ น้ี
ความมงั่ คัง่ สุทธจิ ะบอกฐานะทีแ่ ท้จริงของเราว่ามสี นิ ทรพั ย์ทีเ่ ป็นของเราจรงิ ๆ เท่าไร

กิจกรรมที่ 2.3 ให้ประเมนิ ฐานะการเงนิ ของตนเอง

1. ประเมินดา้ นหน้ี พรอ้ มอธิบายความหมายอตั ราส่วนภาระหนตี้ อ่ รายไดข้ องตนเอง
ตอบ ผลลพั ธท์ ่ไี ด้จะบอกวา่ เราจา่ ยหนี้เปน็ สดั สว่ นเท่าไรของรายได้

2. ประเมนิ ด้านการออม พร้อมอธบิ ายความหมายอตั ราสว่ นเงินออมตอ่ รายได้ของ
ตนเอง
ตอบ ผลลัพธท์ ไี่ ด้จะบอกวา่ เรานารายไดท้ ี่มีไปเป็นเงินออมเป็นสัดส่วนเทา่ ไรของรายได้

กจิ กรรมท่ี 2.4 ใหต้ อบคาถามตอ่ ไปน้ี

1. ลักษณะของการมีสขุ ภาพการเงนิ ท่ดี ีมอี ะไรบ้าง
ตอบ
1) มีอัตราสว่ นหนี้ตอ่ รายไดไ้ ม่เกนิ 33%
2) มอี ตั ราสว่ นเงนิ ออมตอ่ รายได้อยา่ งนอ้ ย 25%
3) มเี งินออมเผอ่ื ฉกุ เฉนิ อย่างน้อย 6 เท่าของรายจ่ายจาเป็นต่อเดือน

2. ให้ประเมินสุขภาพการเงินของตนเอง โดยเปรียบเทียบตัวเลขการประเมินฐานะ
การเงินของตนเองกับลักษณะของการมีสุขภาพการเงินท่ีดี แล้วให้เขียนคาอธิบาย
และคาแนะนา โดยใช้ตารางต่อไปนี้
ตอบ
1) มีอัตราส่วนหน้ีต่อรายได้ไม่เกิน 33% หรือมีภาระหนี้ต่อเดือนไม่เกิน
1 ใน 3 ของรายได้ ซ่ึงเป็นสัดส่วนของหน้ีท่ีคนทั่วไปพอจะจ่ายไหว แต่หากมี
อตั ราส่วนหน้ีต่อรายไดม้ ากกว่าหรือน้อยกว่าลักษณะของการมีสุขภาพการเงินที่
ดี อาจมคี วามหมายดังน้ี

อตั ราเปรียบเทียบ ความหมาย คาแนะนา

อตั ราสว่ นภาระหน้ตี อ่ มีหน้ีมากเกินไป จนอาจทาให้เงินไม่ ควรวางแผนการจ่ายหนี้ให้ดี และเมื่อมี
รายได้มากกวา่ 33%
พอใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน หรือซื้อ เงนิ ได้ ควรแบง่ เงินไว้เป็นเงินออมเพ่ือใช้

ของท่ีอยากได้ และยังมีโอกาสท่ีจะ จ่ายยามเกิดเหตุฉุกเฉิน โดยไม่ต้องก่อ

เกิดปัญหาทางการเงินได้ หนเ้ี พ่ิมจนกลายเปน็ ปญั หาทางการเงิน

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่อื ง ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 3 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

187

อัตราเปรยี บเทียบ ความหมาย คาแนะนา

อตั ราสว่ นภาระหน้ีตอ่ มี ภ า ร ะ ห น้ี ไ ม่ ม า ก นั ก ควรออมเงินไว้สาหรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน
รายได้นอ้ ยกว่า 33%
ทาให้การใช้จ่ายในชีวิตประจาวันไม่ เพ่ือหลีกเล่ียงการก่อหน้ีเพ่ิม และอาจ

ติดขัด และสามารถกันเงินส่วนหนึ่ง อ อ ม เ งิ น เ พ่ื อ เ ป้ า ห ม า ย

ไว้เปน็ เงินออมได้ อื่ น ๆ เ ช่ น เ พ่ื อ ใ ช้ จ่ า ย ใ น ย า ม ท่ี

ไมส่ ามารถหาเงนิ ได้

2) มอี ัตราส่วนเงินออมต่อรายได้อย่างน้อย 25% หรือมีเงินออมต่อเดือนอย่างน้อย
1 ใน 4 ของรายได้ ซ่งึ เป็นสัดส่วนของเงินออมที่คนทั่วไปควรมีไว้ซื้อของท่ีอยากได้
หรือไว้ใช้จ่ายในอนาคต แต่หากมีอัตราส่วนเงินออมต่อรายได้มากกว่าหรือ
นอ้ ยกวา่ นี้ อาจมีความหมายดงั น้ี

อตั ราเปรียบเทียบ ความหมาย คาแนะนา

อัตราสว่ นเงินตอ่ ออมเงินในระดับท่ีดี แต่หาก อาจแบ่งส่วนเงินออมไว้เป็น
รายได้มากกว่า 25%
ม า ก ไ ป อ า จ ท า ใ ห้ เ กิ ด ส่วน ๆ เพ่ือเป้าหมายต่าง ๆ เช่น

ความรู้สึกกดดันจนทาให้ชีวิต เพ่ือลงทุน หรือออมไว้ใช้จ่ายใน

ไมม่ ีความสุขได้ วัยชรา หากมีเงินออมเผ่ือฉุกเฉิน

แล้ว ก็อาจแบ่งเงินออมส่วนหนึ่ง

ไวเ้ ตมิ ฝันกับตัวเอง

อัตราส่วนเงินออมตอ่ ออมเงินน้อยเกินไป เมื่อ ควรออมเงินให้มากข้ึน อาจเริ่ม
รายได้นอ้ ยกวา่ 25% ต้องการซ้ืออะไรก็อาจต้อง ออมจานวนท่ีไม่มาก แล้วค่อย ๆ
กอ่ หน้ี เพ่ิมทีละนิด เช่น เริ่มท่ี 10%

ของรายได้ แล้วพยายามเพ่ิมให้
ไดจ้ นถงึ 25%

3) มีเงินออมเผื่อฉุกเฉินอย่างน้อย 6 เท่าของรายจ่ายจาเป็นต่อเดือน โดย
เงินออมเผ่ือฉุกเฉินเป็นเงินท่ีเก็บไว้ใช้ยามจาเป็น เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน
หรือเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนอย่างกะทันหันและต้องใช้เงินจานวนมาก เช่น
เจ็บป่วยหรอื อบุ ัตเิ หตุทตี่ ้องรกั ษาตัวในโรงพยาบาล รายได้ลดกะทันหัน หรือ
ตกงาน ซง่ึ ควรมอี ย่างน้อย 6 เท่าของรายจา่ ยจาเป็นตอ่ เดือน

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอื่ ง ชดุ วชิ าการเงนิ เพื่อชวี ิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

188

กิจกรรมท้ายเรือ่ งท่ี 3 การบนั ทกึ รายรับ-รายจา่ ย
กิจกรรมท่ี 3.1 ตอบคาถามต่อไปนี้

1. ให้ทาเคร่ือง  หน้าความหมายของรายจ่ายท่ีเป็น “รายจ่ายจาเป็น” และให้ทา
เครือ่ ง  หน้าความหมายของรายจ่ายท่เี ป็น “รายจ่ายไมจ่ าเปน็ ”
ตอบ
1)  รายจ่ายทีจ่ ะตอ้ งจา่ ย ไม่สามารถตัดออกได้
2)  รายจา่ ยท่ีจะจา่ ยหรือไม่จ่ายก็ยงั สามารถมีชวี ติ อยู่ได้
3)  ค่ารักษาพยาบาล
4)  คา่ เหล้า
5)  รายจา่ ยท่สี าคัญสาหรับชวี ติ เชน่ อาหาร คา่ ทอี่ ยู่อาศัย
6)  รายจ่ายที่ไม่มีบทบาทสาคญั ต่อชีวติ
7)  ค่าหวย

2. ขัน้ ตอนของการจัดทาบนั ทกึ รายรับ-รายจา่ ยมีอะไรบ้าง ใหอ้ ธิบาย
ตอบ
ขั้นตอนที่ 1: ค. ให้กาหนดระยะเวลาท่จี ดรายรับ-รายจา่ ยวา่ จะจดก่วี ัน
ขัน้ ตอนที่ 2: ก. หากระดาษหรอื สมุดที่พกง่าย ๆ มาเปน็ บันทกึ รายรับ-รายจา่ ย
ขัน้ ตอนที่ 3: ง. จดทกุ ครง้ั ที่ใชเ้ งนิ ไม่ว่าจะรบั หรอื จ่าย
ขั้นตอนท่ี 4: ข. สรปุ การใช้จา่ ยเมอ่ื ถงึ สิน้ เดอื น

3. สว่ นประกอบทสี่ าคญั ของบันทึกรายรบั -รายจา่ ยมีอะไรบ้าง ใหอ้ ธบิ าย
ตอบ การบันทึกรายรับ-รายจ่ายสามารถทาได้หลากหลายรูปแบบ ผู้บันทึกสามารถ
ออกแบบตารางบันทึกได้ตามความถนัดหรือท่ีตนเองชื่นชอบ แต่การบันทึก
รายรบั -รายจ่ายในแต่ละเดือนนัน้ ควรมีสว่ นประกอบดงั นี้
1) ส่วนของการบันทึกรายรับ-รายจ่าย ควรเป็นตารางที่มีความยาวเพียงพอต่อ
การบันทึกตลอดระยะเวลาอย่างน้อย 1 เดือน (อาจใช้กระดาษมากกว่า
1 หนา้ ) โดยจะตอ้ งประกอบด้วยหวั ข้อดงั นี้
 วนั ที่ – กรอกวันทีท่ ีม่ รี ายรับหรอื รายจา่ ยเกดิ ขน้ึ

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่ือง ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชีวิต 3 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

189

 รายการ – กรอกรายการรายรับหรือรายจ่ายที่เกิดขึ้น และหากมี
คาอธบิ ายเพ่มิ เตมิ กส็ ามารถกรอกลงในช่องน้ีได้

 รายรบั – กรอกจานวนเงนิ สาหรบั รายการทเ่ี ป็นรายรบั
 เงินออม – กรอกจานวนเงินสาหรบั รายการทีก่ ารออมเงนิ
 รายจ่าย – กรอกจานวนเงินสาหรับรายการท่ีเป็นรายจ่าย ซ่ึงผู้บันทึก

ต้องแยกระหว่างรายจ่ายจาเป็นและรายจ่ายไม่จาเป็น โดยพิจารณาถึง
ความจาเป็นของรายจ่ายน้นั ต่อการดารงชีวติ
2) ส่วนของการสรุปรายรับ-รายจ่าย เป็นสรุปการใช้จ่ายในแต่ละเดือนเพ่ือให้
ทราบว่า ผู้บันทกึ ใช้จ่ายเกินรายรับท่ีได้รับมาหรือไม่ สามารถคานวณได้จาก
นายอดรวมของรายรับตลอดท้ังเดือน ลบออกด้วยเงินออมและรายจ่าย
ทั้ง 2 ประเภทท่ีเกิดขึ้นตลอดระยะเวลา 1 เดือน

3) ส่วนของการวิเคราะห์รายรับ-รายจ่าย เป็นการวิเคราะห์รายรับ-รายจ่าย
ท่ีเกิดขึ้นตลอดระยะเวลา 1 เดือน โดยผู้บันทึกสามารถวิเคราะห์บันทึก
รายรับ-รายจ่ายของตนเองได้ 4 ด้านได้แก่ รายรับ เงินออม รายจ่าย
ไมจ่ าเปน็ รายจ่ายจาเป็น

4. การจดั ทาบนั ทึกรายรบั -รายจา่ ยมปี ระโยชน์อย่างไร ให้อธิบาย
ตอบ

1) ทาให้รู้พฤติกรรมการใช้จ่ายท่ีอาจทาให้เกิดปัญหาเงินไม่พอใช้ การบันทึก
รายจ่ายท่ีเกิดข้ึนทุกคร้ัง จะทาให้ทราบว่าใช้จ่ายเงินไปกับส่ิงใดบ้าง เช่น จ่าย
ค่าสังสรรค์หรือค่าเหล้าเดือนละ 2,000 บาท (1 ปีก็เป็นเงิน 24,000 บาท) ซ้ือ
หวยงวดละ 1,000 บาท (แต่ในระยะเวลา 2 ปี ถูกรางวัลแค่ 1 ครั้ง ได้เงิน
รางวัลน้อยกว่าค่าหวยท่ีเสียไป) เมื่อทราบว่าเงินหายไปไหน ก็สามารถวางแผน
ใหม้ เี งนิ พอใชไ้ ด้ เช่น ลดคา่ เหลา้ เหลอื เดอื นละ 1,000 บาท (ก็จะได้เงินเก็บปีละ
12,000 บาท) หรืองดเหล้าไปเลย เลิกซื้อหวยเดือนละ 1,000 บาทแล้วนาเงิน
มาออมแทน (สิ้นปีก็เหมือนถกู รางวัล 24,000 บาท 4 ปกี ็มีเงนิ เกบ็ เกือบแสน)

2) ทาให้สามารถวางแผนการเงินที่เหมาะสมกับพฤติกรรมของตนเองได้ การ
บันทกึ จะทาให้ทราบลกั ษณะของรายรับและรายจ่ายว่ามีความถี่แค่ไหน จานวน
เท่าไร ซ่ึงข้อมูลเหล่าน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนจัดสรรเงินที่ได้รับ ให้มี

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่อื ง ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชีวติ 3 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

190

พร้อมและเพียงพอต่อรายจ่ายท่ีเกิดขึ้นในแต่ละเดือน และหากพบว่ารายรับ
ไมเ่ พียงพอกับรายจา่ ย กส็ ามารถวางแผนลดรายจา่ ยหรอื หารายไดเ้ พิม่ ได้

3) ทาให้เห็นสัญญาณของปัญหาทางการเงินและสามารถวางแผนแก้ไขได้ การ
บนั ทกึ รายรบั -รายจ่ายเป็นประจา จะทาให้ทราบทันทีหากมีสัญญาณของปัญหา
การเงิน เช่น มีรายจ่ายเกินรายรับติดต่อกันหลายเดือนจนต้อ งก่อหนี้
(เงินไม่พอใช้อยู่แล้ว พอก่อหนี้เพ่ิมก็ไม่มีเงินจ่ายหน้ี) ต้องจ่ายหน้ีมากกว่า
1 ใน 3 ของรายรับ (อาจทาให้ไม่มีเงินเหลือไว้ใช้จ่ายอื่น ๆ จนต้องก่อหนี้เพ่ิม
หน้ีก็มีมากอยู่แล้ว ก็ย่ิงเพ่ิมมากขึ้นจนเงินไม่พอจ่าย) ไม่มีเงินออมเลย (เม่ือมี
ความจาเป็นต้องใช้เงินก้อน ก็ต้องก่อหนี้) และเม่ือทราบสัญญาณของปัญหา ก็
จะสามารถวางแผนแกไ้ ขก่อนที่จะกลายเป็นปัญหาใหญ่โต

5. จากกรณีศึกษาและตามหลักการจัดลาดับความสาคัญของรายจ่าย นายประชาควร
ทาอยา่ งไรกับคา่ ใช้จ่ายของเขาต่อไปนี้
ตอบ
1) ค่ารักษาพยาบาลของพอ่ ใหจ้ ่ายก่อน
2) ค่าเรยี นภาษาองั กฤษ ให้ออมเงนิ ก่อนแล้วคอ่ ยจา่ ย
3) คา่ แต่งรถ ให้พยายามตดั ใจ แตห่ ากตัดใจไมไ่ ด้ กใ็ ห้ออมเงินเพือ่ แต่งรถ

กิจกรรมท่ี 3.2 ให้จัดทาบันทึกรายรับ-รายจ่ายตามข้ันตอนการจัดทาบันทึกรายรับ-จ่ายเป็น
ระยะเวลา 1 เดอื น แลว้ วเิ คราะหด์ งั น้ี

1. สรุปรายรับ-รายจา่ ย
ตอบ หากผลลัพธ์ที่ได้เป็นบวก แสดงวา่ มีการใช้จา่ ยน้อยกวา่ รายรับที่มีอยู่ จึงมีเงินเหลือ
ตามจานวนท่ีคานวณได้ และเมื่อเงินเหลือ ก็ควรวางแผนจัดสรรว่าจะนาเงินนั้นไปทา
อะไร เช่น นาไปเป็นเงินออมเผ่ือฉุกเฉิน เงินออมเพ่ือซ้ือของที่อยากได้ หรือเงินออมเพ่ือ
เกษียณ
หากผลลัพธ์ติดลบ แสดงว่ามีการใช้เงินเกินรายรับที่มีอยู่ตามจานวนที่ติดลบ จึงต้องหา
สาเหตุของการใช้เงินเกิน เช่น อาจมีค่าใช้จ่ายเยอะเกินไป ดังน้ัน จะต้องวางแผนลด
รายจ่าย โดยเร่มิ พจิ ารณาจาก “รายจ่ายไม่จาเป็น” ว่ามีรายการใดท่ีสามารถลดได้ หรือ
พจิ ารณาจาก “รายจ่ายจาเปน็ ” วา่ มรี ายจา่ ยที่ไม่จาเป็นแอบแฝงอยูห่ รือไม่

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรื่อง ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชีวิต 3 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

191

2. วิเคราะห์รายรับ-รายจา่ ย
ตอบ
1) รายรับ ให้พิจารณาถึงจานวนและความถ่ีของรายรับ เช่น รายวัน
รายสัปดาห์ รายเดือน เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนใช้เงินว่า เงินท่ีได้รับ
น้ันจะต้องใช้อีกกี่วัน จึงจะได้รับเงินรอบใหม่ หากมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นในวันที่
ยังไม่ได้รับเงิน จะนาเงินส่วนไหนออกมาใช้จ่าย และหากจาเป็นต้องหา
รายไดเ้ พ่ิม จะหารายได้เพิม่ จากแหล่งใด
2) เงินออม ให้พิจารณาถึงจานวนและความถี่ของการออม เช่น
ออมทุกวัน วันละ 20 บาท หรือออมสัปดาห์ละครั้ง คร้ังละ 500 บาท หรือ
เดือนละคร้ัง ครัง้ ละ 2,500 บาท ซ่ึงจะทาให้ทราบความสามารถในการออม
ว่า สามารถออมได้เท่าไร และสามารถออมได้ทุกวัน สัปดาห์ละครั้ง หรือ
เดอื นละครงั้ โดยข้อมลู เหลา่ นจี้ ะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการออม
3) รายจ่ายไม่จาเป็น โดยเปรียบเทียบกับรายจ่ายจาเป็นว่ารายจ่ายไหนสูงกว่า
กัน หากมี “รายจ่ายไม่จาเป็น” สูงกว่า “รายจ่ายจาเป็น” น่ันแสดงว่า ควร
ลดรายจา่ ยไมจ่ าเป็นลง ดังนน้ั ควรวางแผนลดรายจา่ ยไมจ่ าเปน็ โดยเร่ิมดูว่า
มีรายจ่ายไหนในกลุ่มรายจ่ายน้ีสามารถลดได้บ้าง เช่น ค่าหวย ค่าเหล้า
ค่าบุหรี่ ค่ากาแฟ และลองคานวณดูว่าหากลดรายจ่ายเหล่านี้แล้ว
ใน 1 เดือนจะมเี งนิ เหลือเท่าไร
4) รายจา่ ยจาเปน็ ให้ทบทวนรายจ่ายจาเป็นอีกครั้งว่า ทุกรายการเปน็ รายจา่ ย
จาเปน็ ทั้งหมดจริงหรือไม่ หากบางรายการสามารถลดหรือซอ้ื ของที่ถกู กว่า
มาทดแทนได้ กค็ วรลองลดหรือซ้อื ของท่ีถูกกว่ามาใช้แทน

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่อง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวติ 3 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย


Click to View FlipBook Version