The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกการเรียนรู้ ของน.ส.นันทัศพร งิ้วโสม รหัส 62115239111 ค.บ.วิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nantassaporn Ngiwsom, 2021-05-07 12:00:14

บันทึกการเรียนรู้ น.ส.นันทัศพร งิ้วโสม 111

บันทึกการเรียนรู้ ของน.ส.นันทัศพร งิ้วโสม รหัส 62115239111 ค.บ.วิทยาศาสตร์

เสนอ

.

รองศาสตราจารย์ ดร.สาราญ กาจดั ภยั

อาจารยผ์ สู้ อนประจารายวชิ า การวดั และประเมนิ การศกึ ษาและการเรยี นรู้
จดั ทาโดย

นางสาวนนั ทศั พร งวิ้ โสม รหสั 62115239111
สาชาวชิ าวทิ ยาศาสตรท์ วั่ ไป คณะครศุ าสตร์ ชนั้ ปที ่ี 2

A +++

คานา

สมดุ บนั ทกึ การเรยี นรเู้ ลม่ นี้ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายวชิ า
การวดั และประเมนิ การศกึ ษาและการเรยี นรู้ ซงึ่ ผ้จู ดั ทาไดท้ าขน้ึ เพอื่
สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้ ในรปู แบบของ My Mapping และสรปุ เปน็ เนอ้ื หา
เพอ่ื เปน็ ประโยชนต์ อ่ การนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นอนาคตขา้ งหนา้ ตอ่ ไป
หากบนั ทกึ การเรยี นรเู้ ลม่ น้ี มเี นอ้ื หาสว่ นไหนทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง ไมค่ รบถว้ น
ผจู้ ดั ทาขออภยั มา ณ ทน่ี ดี้ ว้ ย

นนั ทศั พร งวิ้ โสม
ผจู้ ดั ทา

สารบญั หนา้

เรอื่ ง 3
4
คานา 5
สารบญั 6
ประวตั สิ ว่ นตวั 12
Week 1 แนวคดิ เกยี่ วกบั การเรยี นรู้ 17
Week 2 แนวคดิ เบอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
Week 3 ความสาคญั ประเภท หลกั การ และจดุ มงุ่ หมายของการวดั 22
28
และประเมนิ ผล 34
Week 4 แบบทดสอบความเรยี ง 38
Week 5 แบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ 42
Week 6 แบบทดสอบปรนัยชนดิ จบั คู่ 47
Week 7 แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เตมิ คาและตอบแบบสนั้ 53
Week 8 แบบทดสอบปรนัยชนดิ เลอื กตอบ 58
Week 9 การตรวจคณุ ภาพแบบทดสอบ 63
Week 10 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใช้ SPSS 69
Week 11 การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ 76
Week 12 การประเมนิ จากการสอื่ สารระหวา่ งบคุ คล 83
Week 13 การประเมนิ การปฏบิ ตั ิ 89
Week 14 การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ในชนั้ เรียน 94
Week 15 การใชร้ บู รกิ สใ์ นการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 95
Week 16 การประเมนิ โดยใชแ้ ฟม้ สะสมผลงาน
สญั ญาการเรยี น
ความรสู้ กึ

:

WEEK 1

ปฐมนเิ ทศ

เจอกนั ครงั้ แรก อาจารย์ได้แนะนาเกีย่ วกับรายวิชา การวัดแลประเมนิ
การศึกษาและการเรียนรู้ วา่ มเี นอ้ื หาเกยี่ วกบั อะไรบ้าง เรียนไปเพือ่ อะไร และ
มีการทาสญั ญาการเรยี นอกี ดว้ ย ท่ีมกี ารทาข้อตกลงรว่ มกนั ระหวา่ งอาจารย์กบั
นกั ศกึ ษา มีการบนั ทกึ การเรียนรใู้ นแต่ละสัปดาห์ มกี ารบนั ทกึ คะแนนสอบที่ได้
ในแตล่ ะคร้งั เพ่ือให้เห็นพฒั นาการเรียนร้ขู องตัวเอง อกี ทัง้ อาจารย์ยงั ไดใ้ ช้
เทคโนโลยีควบคไู่ ปกับการสอนดว้ ย เชน่ สรา้ งกล่มุ Line เพือ่ เป็นช่องทาง
ในการตดิ ต่อสอื่ สาร, สร้าง Google Classroom เพื่อไวม้ อบหมายงาน/สง่ งาน
และทดลองใช้ Google Meet เผื่อในกรณฉี ุกเฉนิ ทไี่ มส่ ามารถมาเรยี นตามปกติ
ที่หอ้ งเรยี นได้

แต่...ยงั ไม่หมดแคน่ นั้ สปั ดาหแ์ รกของการเรียนมกี ารสอบด้วย OMG
เพม่ิ ความต่นื เตน้ ใหน้ กั ศกึ ษาทส่ี ดุ เลยค่า ทาให้ตอ้ ง Active ตวั เองตลอดเวลา
ตัง้ ใจฟังเวลาอาจารยส์ อน และพยายามทบทวนเพื่อทาความเข้าใจในเนอื้ หา
เพอ่ื ที่จะไดส้ อบออกมาไดค้ ะแนนดี ๆ เพราะ ขอ้ สอบไมย่ าก ขอแคต่ งั้ ใจเรยี น
ทาความเข้าใจ ก็ทาไดแ้ ล้ว ลยุ ยย...






พฤตกิ รรมการเรยี นรดู้ า้ นพทุ ธพิ สิ ยั

เกดิ จากพลังความสามารถทางสมอง

ไปมีปฏิสมั พันธก์ ับสิง่ เรา้ ความหมายของการเรยี นรู้

มี 6 ระดับ ดังนี้ การเรียนรู้ หมายถึง
การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมทีค่ ่อนข้างถาวร
1. ความรู้ 4. การวิเคราะห์ อนั เน่ืองมาจากการได้รับประสบการณ์

2. ความเขา้ ใจ 5. การสงั เคราะห์ พฤตกิ รรมการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะพสิ ยั

3. การนาไปใช้ 6. การประเมินคา่



แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรยี นรู้ เป็นความสามารถของบุคคลในการใชอ้ วยั วะตา่ ง ๆ
ให้ทางานประสานกัน
พฤตกิ รรมการเรยี นรดู้ า้ นจติ พสิ ยั ของ Dave มี 5 ขน้ั
1. รับรแู้ ละเลียนแบบ
เป็นพฤติกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกับความรสู้ ึก  2. ลงมอื ปฏิบัตแิ ละทาตามได้
ความเชอื่ เจตคติ คา่ นยิ ม 3. ลดความผดิ พลาดจนสามารถทาได้ถูกตอ้ ง
แสดงเปน็ ลาดบั ข้ัน ดงั น้ี 4. ปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งชดั เจนและตอ่ เน่ือง
1. ข้นั รบั รู้ 5. ปฏบิ ตั ิได้อยา่ งเปน็ ธรรมชาติ
2. ข้ันตอบสนอง ของ Simpson มี 7 ขั้น
3. ข้นั เหน็ คุณค่าหรือสรา้ งค่านิยม 1. การรับรู้
4. ข้ันจัดระบบคา่ นิยม 2. การเตรียมความพรอ้ ม
5. ข้นั สร้างลักษณะนสิ ัยจากค่านยิ ม 3. การตอบสนองตามแนวช้ีแนะ
4. การปฏิบัตไิ ด้ด้วยตนเอง
5. การตอบสนองท่ซี ับซ้อน
6. การดดั แปลง
7. การริเริม่

สรปุ องคค์ วามรู้ แนวคดิ เกยี่ วกบั การเรยี นรู้

การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมทค่ี อ่ นขา้ งถาวรอันเนอื่ งมาจาก
การไดร้ ับประสบการณ์

 การเปล่ยี นแปลง หมายถึง การทาให้มลี ักษณะตา่ งไปจากเดิม
 พฤติกรรม หมายถึง กิริยาอาการตา่ ง ๆ ท่เี กิดข้นึ เม่ือเผชิญกบั สิ่งเร้า
 พฤตกิ รรม (การเรียนร้)ู หมายถงึ พฤติกรรมการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ Cognitive , Affective

และ Psychomotor
 คอ่ นข้างถาวร หมายถงึ มีความคงทนหรอื คอ่ นขา้ งยาวนาน
 การไดร้ ับประสบการณ์ หมายถงึ การได้เผชญิ เหตุการณ์หรือการกระทาสิ่งตา่ ง ๆ

ผา่ นประสาทสัมผสั ทั้ง 5
พฤตกิ รรมการเรยี นรดู้ า้ นพทุ ธพิ สิ ยั

เกิดจากพลงั ความสามารถทางสมองไปมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กบั สิ่งแวดลอ้ มหรอื สง่ิ เรา้
ทท่ี าใหเ้ กิดการเรียนรู้ เช่น ความจา ความเข้าใจ โดยจาแนกออกเปน็ 6 ระดบั
1. ความรู้ (Knowledge) หรอื ความจา เป็นความสามารถในการนึกถงึ เรอื่ งราวตา่ ง ๆ
ได้อย่างแม่นยา
2. ความเข้าใจ (Comprehension) เปน็ ความสามารถในการจับใจความสิง่ สาคญั ต่าง ๆ
ออกมาในรูปของการแปลความ ตีความ และขยายความ
3. การนาไปใช้ (Application) เปน็ ความสามารถในการประยุกต์ความรคู้ วามเข้าใจ
ไปใช้แก้ปัญหาในสภานการณต์ ่าง ๆ
4. การวเิ คราะห์ (Analysis) เป็นความสามารถในการแยกแยะเรอ่ื งราวท่ีสมบูรณ์
ออกเป็นสว่ นยอ่ ย ๆ ได้อย่างชัดเจน
5. การสังเคราะห์ (Synthesis) เปน็ การผสมสว่ นยอ่ ยเขา้ เป็นเรอ่ื งราวเดียวกนั เกิดเปน็ สง่ิ ใหม่
หรอื ปรบั บปรงุ ของเก่าให้ดีข้นึ
6. การประเมนิ ค่า (Evaluation) เปน็ ความสามารถในการใช้ดลุ พนิ จิ เพ่อื ตดั สินคุณค่าของสง่ิ
นน้ั ๆ

สรปุ องคค์ วามรู้

แนวคิดเกย่ี วกบั การเรยี นรู้

พฤตกิ รรมการเรยี นรูด้ ้านจิตพสิ ัย

เปน็ พฤตกิ รรมท่ีเกี่ยวข้องกบั ความรสู้ ึก ความเชอื่ เจตคติ ค่านิยม ท่ีทาใหเ้ กิด

ลกั ษณะนสิ ัยของคน แสดงเปน็ ลาดับขนั้ ได้ ดงั น้ี

1. ขน้ั รบั รู้ (Receiving) เปน็ ขั้นทีบ่ ุคคลรบั รสู้ ิ่งเร้าต่าง ๆ จนก่อให้เกิดความสนใจ

2. ขั้นตอบสนอง (Responding) เปน็ ข้นั ทีต่ อบสนองตอ่ ส่งิ เร้าท่ีไดร้ บั มาจากขั้นแรก สังเกต

ไดจ้ าก กริ ยิ า อาการ เชน่ พอใจ ไม่พอใจ

3. ขัน้ เห็นคุณค่าหรือสรา้ งค่านยิ ม (Valuing) เปน็ ขนั้ เหน็ คณุ ค่าของสง่ิ เรา้ ที่ตอบสนอง

(สร้างค่านยิ ม)

4. ข้นั จดั ระบบค่านยิ ม (Organization) เป็นการจดั ลาดบั ความสาคัญของคา่ นยิ ม

ใหม้ ีความสัมพันธ์กัน กลายเป็นคตหิ รือแนวทางการปฏบิ ัตติ น

5. ขั้นสรา้ งลักษณะนสิ ยั จากคา่ นยิ ม (Characterization) การพัฒนาบุคลิกภาพให้สอดคล้อง

กบั ความต้องการของสงั คม (เป็นทยี่ อมรบั )

พฤตกิ รรมการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะพสิ ยั

เปน็ ความสามารถของบคุ คลในการใช้อวัยวะตา่ ง ๆ ของร่างกาย ใหท้ างานประสานกัน

เชน่ การวาดภาพ การรอ้ งเพลง

ทักษะปฏิบตั ิของ Dave มี 5 ขั้น ทกั ษะปฏิบัติของ Simpson มี 7 ข้ัน

1. รบั รู้และเลียนแบบ (Imitation) 1. การรบั รู้ (Perception)

2. ลงมอื ปฏิบตั แิ ละทาตามได้ (Manipulation) 2. การเตรยี มความพรอ้ ม (Set)

3. ลดความผิดพลาดจนทาไดถ้ ูกตอ้ ง (Precision) 3. การตอบสนองตามแนวชีแ้ นะ

4. ปฏิบตั ไิ ดอ้ ยา่ งชัดเจนและต่อเนื่อง 4. การปฏิบัติได้ด้วยตนเอง (Mechanism)

5. ปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างเปน็ ธรรมชาติ (Naturalization) 5. การตอบสนองทีซ่ บั ซอ้ น

6. การดัดแปลง (Adaptation)

7. การรเิ รม่ิ (Origination)

WEEK 2







วธี กี ารวดั ผล แนวคดิ เกย่ี วกบั การวดั ผล

“การวัดผล” เปน็ กระบวนการกาหนดตวั เลขหรือคณุ ภาพของลกั ษณะหรือคณุ สมภาพของสงิ่ ทีต่ อ้ งการ
วัด โดยสิ่งท่ีตอ้ งการวัดเป็นผลมาจากการกระทา
“การวัดผลการเรียนรู้” กระบวนการกาหนดตัวเลขหรือสญั ลกั ษณ์แทนปรมิ าณหรือคุณภาพของ
พฤติกรรมการเรียนรูข้ องผู้เรียน

1. การวัดผลทางตรง (รูปธรรม) การใช้ผลการประเมนิ เพือ่
2. การวัดผลทางอ้อม (นามธรรม) 1. เพ่ือวางแผนการจัดการเรียนรู้
2. เพ่อื ปรบั ปรุงพฒั นา
องคป์ ระกอบของการวดั ผลการเรยี นรู้ 3. เพอ่ื สรปุ และตัดสนิ ผลการเรยี นรู้
1. สิ่งท่ตี ้องการวัดผล 4. เพื่อรายงานตอ่ ผปู้ กครองและผูท้ ีเ่ กี่ยวขอ้ ง
2. วธิ ีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล
3. ขอ้ มลู ซึง่ เปน็ ตวั เลขหรือสัญลักษณแ์ ทนปริมาณหรอื แนวทางการนาผลการประเมนิ การ
คณุ ภาพของพฤตกิ รรมการเรียนรู้ท่ไี ด้จากการวดั ผล เรยี นรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

แนวคดิ เกย่ี วกบั การประเมนิ ผล แนวคดิ เบอื้ งตน้ เกยี่ วกบั การวดั และ
ประเมนิ ผลการเรยี นรู้

Evaluation หมายถึง กระบวนการตดั สินคณุ ค่าหรอื คณุ ภาพเกย่ี วกบั การเรียนรูข้ องผเู้ รยี น
โดยมีการเก็บรวบรวมเพอ่ื ตัดสนิ ตามมาตรฐานทีต่ ้ังไว้
Assessment หมายถึง เปน็ กระบวนการเก็บรวบรวมขอ้ มูลทีเ่ กี่ยวข้องกับพฤติกรรม
การเรียนรู้ของผู้เรียน แล้วนาขอ้ มูลมาวเิ คราะห์จดุ แขง็ – อ่อน เพื่อให้ Feedback

สรปุ องค์ความรู้

แนวคิดเบื้องตน้ เกยี่ วกบั การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

แนวคดิ เกย่ี วกบั การวดั ผล
“การวดั ” เป็นกระบวนการกาหนดตัวเลขหรือสัญลักษณแ์ ทนปริมาณหรอื คุณภาพของลักษณะหรือ

คุณสมบตั ิของสงิ่ ทตี่ อ้ งการวดั
“การวัดผล” เป็นกระบวนการกาหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์แทนปริมาณหรือคุณภาพของลักษณะหรือ

คุณสมบัตขิ องสงิ่ ทีต่ ้องการวัด โดยสงิ่ ท่ีตอ้ งการวัดนน้ั เปน็ ผล
มาจากการกระทา

“การวัดผลการเรียนรู้” กระบวนการกาหนดตวั เลขหรือสญั ลกั ษณแ์ ทนปริมาณหรอื คุณภาพของ
พฤติกรรมการเรียนร้ขู องผ้เู รยี น
วิธกี ารวัดผล
1. การวดั ผลทางตรง สามารถวัดไดโ้ ดยตรง (รปู ธรรม) เช่น นา้ หนกั สว่ นสงู
2. การวัดผลทางออ้ ม ไม่สามารถวดั ได้โดยตรง (นามธรรม) เช่น ความมีวินัย
องค์ประกอบการวดั ผลการเรยี นรู้
1. ส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั ผล “การเรยี นรู้ของผเู้ รียนตามเป้าหมายทีก่ าหนดไว้”
2. วธิ กี ารและเคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการวัดผล เชน่ แบบทดสอบ
3. ขอ้ มลู ซ่งึ เปน็ ตัวเลขหรอื สญั ลกั ษณแ์ ทนปรมิ าณหรือคุณภาพของพฤตกิ รรมการเรยี นรทู้ ่ีได้จากการวัดผล
(อยู่ในมาตรการวดั ผล) เช่น คะแนนสอบ

สรุปองค์ความรู้

แนวคดิ เบ้ืองตน้ เกยี่ วกบั การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

มาตรการวดั ผล

ระดับท่ี 1 มาตรการวัดผลระดบั นามบญั ญัติ (Nominal scale) “ขอ้ มูลระดบั นามบญั ญัติ” เป็นระดับทใ่ี ช้

จาแนกส่งิ ท่ตี อ้ งการวดั ผลออกเป็น พวก กอง ประเภท เชน่ เพศ หมู่เลือด

ระดบั ที่ 2 มาตรการวดั ผลระดบั เรยี งอนั ดับ (Ordinal scale) “ขอ้ มูลระดบั เรยี งอันดบั ” เป็นระดับท่ีใช้

สาหรับจดั อนั ดับหรือจัดตาแหน่งคณุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ของสิ่งท่ีตอ้ งการวดั ผล เช่น มาก – นอ้ ย สงู – ตา่

ระดบั ท่ี 3 มาตรการวดั ผลระดบั อนั ตรภาค (Interval scale) “ขอ้ มูลระดบั อนั ตรภาค” สามารถบอกปรมิ าณ

ความแตกต่างได้ ว่ามีความแตกต่างกันเท่าไหร่ เช่น อณุ หภมู ิ คะแนนสอบ

ระดบั ท่ี 4 มาตรการวดั ผลระดับอตั ราสว่ น (Ratio scale) “ขอ้ มลู ระดบั อัตราสว่ น” เปน็ ระดับทีส่ ามารถ

กาหนดคา่ ตัวเลขให้กับส่ิงทต่ี ้องการวัดผลท่มี คี ุณสมบตั คิ รบท้งั 3 มาตรการวดั ผล

แนวคดิ เกย่ี วกบั การประเมนิ ผล

Evaluation หมายถึง กระบวนการตัดสินคณุ คา่ หรือคณุ ภาพเกยี่ วกบั การเรยี นรู้ของผ้เู รยี น โดยมีการเก็บ

รวบรวมข้อมลู ไว้เพือ่ ตดั สนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานที่ตัง้ ไว้

Assessment หมายถงึ กระบวนการเก็บรวบรวมขอ้ มูลท่เี กย่ี วข้องกบั พฤติกรรมการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น แล้วนา

ขอ้ มลู ทไี่ ดม้ าวิเคราะห์จุดแขง็ จดุ ออ่ น เพอื่ ใหข้ ้อมลู ปอ้ นกลบั (Feedback) เพือ่ พัฒนาผู้เรยี น

แนวทางการนาผลการประเมนิ การเรยี นรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

1. เพอื่ ใชว้ างแผนการจัดการเรียนรู้ 2. เพ่ือปรบั ปรุงพฒั นา

3. เพื่อสรปุ และตัดสนิ ผลการเรียนรู้ 4. เพอ่ื ใช้รายงานต่อผู้ปกครอง

WEEK 3








1. เป็นองค์ประกอบหนงึ่ ของระบบการศึกษา
2. เปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอน
3. เปน็ เครือ่ งมือประกันคุณภาพการศึกษา
4. ทาหน้าทต่ี รวจสอบผลการเรยี นรู้
5. ทาหนา้ ที่ให้ข้อมูลเพ่ือการพฒั นา

จดุ มงุ่ หมายของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ความสาคัญของการวัดและประเมินผล 1. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ จาแนกตาม
การเรียนรู้ในระดบั ช้นั เรยี น ขน้ั ตอนการจัดการเรียนการสอน ก่อนเรียน
จาแนกตามผทู้ เ่ี ก่ียวขอ้ ง ได้แก่ ผูเ้ รยี นและผู้สอน ระหว่างเรยี น และหลังเรยี น
2. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้จู าแนกตามวธิ ี
ความสาคญั ของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การแปลความหมาย ผลการเรยี นรู้ หรือตามการอา้ งองิ

ความสาคญั ประเภท หลกั การ และจดุ มงุ่ หมาย ประเภทของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

หลกั การของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรใู้ นแนวปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

1. สถานศึกษาเป็นผรู้ ับผิดชอบการประเมิน
2. มจี ุดมุ่งหมายเพ่อื พัฒนาผู้เรยี นและตัดสินผลการเรยี น
3. ต้องสอดคลอ้ งและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด ตามทห่ี ลักสูตรสถานศึกษากาหนดไว้
4. เปน็ สว่ นหน่งึ ของกระบวนการจดั การเรียนการสอน ตอ้ งดาเนนิ การด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย

5. ประเมนิ ผ้เู รียนพิจารณาจากพฒั นาการของผู้เรียนในหลาย ๆ ด้าน
6. ผูเ้ รยี น/ผู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง ตรวจสอบผลการประเมนิ ได้
7. ให้มกี ารเทยี บโอนผลการเรียนได้
8. สถานศกึ ษาจัดทาและออกเอกสารหลักฐานการศกึ ษา

สรปุ องคค์ วามรู้

ความสาคญั ประเภท หลกั การ และจดุ มงุ่ หมาย
ของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ความสาคญั ของการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษาและการเรยี นรู้
 ในระดบั ช้ันเรยี น ผ้ทู ่ีเกย่ี วข้อง คอื ผู้สอนและผู้เรียน

ความสาคญั ตอ่ ผู้เรียน
1. วัดและประเมนิ ผลการเรียนรกู้ อ่ นเรยี นและแจ้งให้ผเู้ รยี นทราบ
2. วดั และประเมินผลการเรยี นรรู้ ะหวา่ งการจัดการเรียนการสอน เพ่อื ให้ Feedback
3. วดั และประเมินผลเพอ่ื สรปุ ผลการเรียนรู้และแจ้งใหผ้ ูเ้ รียนทราบ
ความสาคัญต่อผสู้ อน
1. ก่อนจดั การเรียนการสอนตอ้ งประเมนิ ความรูใ้ นภาพรวมก่อน เพือ่ ใชใ้ นการวางแผนการสอน
2. วัดและประเมนิ ผลการเรยี นร้รู ะหวา่ งการจัดการเรียนการสอน เพ่ือให้ Feedback
3. วัดและประเมนิ เพื่อสรปุ ผลการเรียนรู้ เพอ่ื ดูว่าผเู้ รียนบรรลเุ ปา้ หมายหรือไม่
ประเภทของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1. จาแนกตามขนั้ ตอนการจดั การเรียนการสอน กอ่ นเรยี น ระหว่างเรยี น และหลังเรยี น มี 4 ประเภท

1.1 การวดั และประเมนิ เพ่อื จัดวางตาแหน่ง (Placement assessment) (กอ่ นเรยี น)
1.2 การวัดและการประเมินเพ่ือวินิจฉยั (Diagnostic assessment) (กอ่ นเรียน/ระหว่างเรยี น)
1.3 การวดั และการประเมนิ เพื่อพัฒนาหรือการวดั และการประเมนิ ย่อย (Formative assessment)

(ระหว่างเรยี น)
1.4 การวดั และการประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนรู้หรอื การวดั และประเมนิ เพ่อื สรปุ รวบยอด

(Summative assessment) (หลังเรียน)
2. จาแนกตามวธิ กี ารแปลความหมายผลการเรียนรู้หรอื การอา้ งองิ แบง่ เปน็ 3 ประเภท

2.1 การวดั และการประเมินแบบอิงตน (Self – referenced assessment)
2.2 การวดั และประเมินแบบอิงกลมุ่ (Norm – referenced assessment)
2.3 การวัดและประเมนิ แบบอิงเกณฑ์ (Criterion – referenced assessment)

สรปุ องคค์ วามรู้

ความสาคญั ประเภท หลกั การ และจดุ มงุ่ หมาย
ของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

หลกั การของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
เปน็ กระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตคี วาม ผลการเรียนรูแ้ ละพัฒนาการด้านต่าง ๆ

ของผเู้ รียน
1. สถานศึกษาเป็นผูร้ ับผดิ ชอบการวัดและประเมินผลการเรยี นรูข้ องผเู้ รียน
2. มจี ุดมุ่งหมายเพือ่ Formative assessment และ Summative assessment
3. ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้ีวัด (องิ standard)
4. เป็นส่วนหน่ึงของการจดั การเรียนการสอน ตอ้ งทาดว้ ยวธิ กี ารทีห่ ลากหลาย
5. ประเมินผู้เรยี นดูจากพฒั นาการของผูเ้ รยี นในหลาย ๆ ด้าน เช่น ความประพฤติ การรว่ มทากิจกรรม
6. ผ้เู รยี น/ผู้ทเ่ี กย่ี วข้อง สามารถตรวจสอบผลการประเมนิ ได้
7. เทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษา/รูปแบบการศึกษาได้
8. สถานศกึ ษาออกแบบและจดั ทาเอกสารหลักฐานการศกึ ษา
จดุ มงุ่ หมายของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1. เป็นองคป์ ระกอบหนง่ึ ของระบบการศกึ ษา (องคป์ ระกอบท่ี 4) เพอ่ื ตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิของผเู้ รยี น
(การเรยี นรู)้ และผู้สอน (การสอน) รวมถึงหลักสูตร
2. เป็นสว่ นหน่ึงของกระบวนการจดั การเรยี นการสอน เพื่อตรวจสอบผลและให้ Feedback
3. เป็นเคร่อื งมือประกันคุณภาพการศกึ ษา เพ่ือรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศ ในการกากบั ติดตาม
สนบั สนนุ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และพฒั นาการสอนของผสู้ อน
4. ทาหน้าทตี่ รวจสอบผลการเรียนรู้ ท้ังก่อนเรยี น (เพ่อื สารวจ ตรวจสอบความพรอ้ ม) ระหว่างเรียน
(เพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ให้บรรลุเปา้ หมาย) และหลังเรยี น (เพือ่ ตดั สนิ ผลการเรียน)
5. ทาหน้าท่ใี ห้ข้อมูลเพื่อการพฒั นา เพอ่ื สารวจความรู้ ความสามารถ ท่ียังไมบ่ รรลเุ ป้าหมาย เพ่อื แก้ไข
ปรบั ปรุงใหด้ ีข้ึน

WEEK 4






เป็นแบบทดสอบท่ใี ห้ผเู้ รียนเขยี นตอบไดอ้ ยา่ งอสิ ระ 1. เลอื กและกาหนดผลการเรียนรู้ที่เก่ยี วขอ้ งกบั การใช้สติปัญญา
โดยใชค้ วามรู้ ความสามารถในการคิดระดับสงู ขัน้ สงู ที่ไม่สามารถใช้แบบทดสอบปรนยั /ทดสอบภาคปฏิบัติได้
ไมเ่ หมาะสาหรบั การใชค้ วามรูด้ า้ นความจา 2. กาหนดจานวนขอ้ คาถามในแต่ละผลการเรียนรู้ท่ีเลือกไว้
และไมอ่ นุญาตใหผ้ ู้เรียนเลอื กตอบเปน็ บางขอ้
แบบทดสอบความเรยี ง (Essay test) 3. เขียนขอ้ คาถามให้ชัดเจนและสอดคล้องกบั ผลการเรียนรู้
หรอื แบบทดสอบอัตนัย (Subject test) ท่ีตอ้ งการวัด
4. ระบนุ า้ หนักคะแนน ความยาวของคาตอบ และชว่ งระยะเวลา
5. ระบเุ กณฑ์การใหค้ ะแนนใหผ้ ูเ้ รยี นทราบ
6. ตรวจสอบคณุ ภาพขอ้ สอบเบ้ืองตน้ กอ่ นนาไปใช้ (ทกุ ข้อ)
7. หลังการนาขอ้ สอบไปใช้ ควรทบทวนแนวคาตอบของผเู้ รียน
ในแตล่ ะขอ้

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
โดยใชแ้ บบทดสอบ

1. สรา้ งเกณฑก์ ารให้คะแนน (Rubrics) อยา่ งละเอยี ดชดั เจน
2. ระมัดระวงั เกย่ี วกับความลาเอยี ง/อคติ
3. ตรวจให้คะแนนคาตอบของผเู้ รียนให้เสร็จทีละขอ้ คาถามในเวลาท่ตี ่อเนอื่ งกัน
4. ถ้าตรวจหลายคน ให้แบ่งขอ้ สอบคนละเท่า ๆ กัน และตรวจให้คะแนนคาตอบของผเู้ รยี นทุกคนท่รี บั ผิดชอบ/ข้อท่ไี ด้
5. ในขณะตรวจ ควรเกบ็ รวบรวมข้อผดิ พลาดต่าง ๆ ทผี่ จู้ รวจไดห้ ักคะแนน
6. ไม่ควรนาเอาประเดน็ ความถูกต้องเกย่ี วกบั ไวยากรณ์ การสะกดคา มาเปน็ เกณฑใ์ นการตรวจใหค้ ะแนน

สรปุ องคค์ วามรู้

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบทดสอบ

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนร้ใู นช้ันเรยี น เก็บขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการท่หี ลากหลาย
ซงึ่ “การทดสอบ (testing)” โดยใช้แบบทดสอบ (test) ก็เปน็ อกี วธิ ีหนงึ่ ทีใ่ ช้
สามารถแบง่ ประเภทได้ ดงั นี้
1. จาแนกตามลักษณะการตอบ แบ่งได้ 3 ประเภท

1.1) แบบทดสอบภาคปฏบิ ตั ิ (Performance test)
1.2) แบบทดสอบเขยี นตอบ (Paper – pencil test)
1.3) แบบทดสอบดว้ ยวาจา (Oral test)
2. จาแนกตามจุดมุ่งหมายในการสร้าง แบง่ ได้ 2 ประเภท
2.1) แบบทดสอบอัตนยั หรือแบบทดสอบความเรียง
2.2) แบบทดสอบปรนยั จาแนกเปน็ แบบทดสอบถูกผดิ เตมิ คาหรอื ตอบสน้ั จบั คู่
และเลอื กตอบ
3. จาแนกตามการอ้างองิ แบง่ ได้ 3 ประเภท
3.1) แบบทดสอบอิงเกณฑ์ (Criterion – reference test) (วดั ความรอบรู้ในเนื้อหา)
3.2) แบบทดสอบอิงกลมุ่ (Norm – reference test) (ข้ึนอยูก่ บั กล่มุ ทสี่ อบ)
3.3) แบบทดสอบอิงขอบข่าย (Domain – reference test) (ไมค่ ่อยใช้)

สรปุ องคค์ วามรู้

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบทดสอบ

แบบทดสอบความเรยี ง
1. ความหมายของแบบทดสอบความเรยี ง

“แบบทดสอบความเรยี ง (Essay test) หรือแบบทดสอบอตั นัย (Subjective test)”
เป็นแบบทดสอบท่ีใหผ้ ู้เรียนเขยี นตอบได้อย่างอสิ ระ โดยใชค้ วามรู้ความสามารถในการคดิ
ระดบั สูง ไมเ่ หมาะสาหรับการใช้ความรู้ดดา้ นความจา
จุดแข็ง : สามารถวัดสงิ่ ทต่ี อ้ งการวดั ไดล้ กึ ซงึ้ วดั พฤตกิ รรมการเรียนรขู้ ้นั สูงของผเู้ รียนได้
จดุ ออ่ น : ความเปน็ ปรนยั ในการใหค้ ะแนนคาตอบของผ้เู รยี น (แกโ้ ดยใช้ Rubrics)
2. หลกั การหรอื แนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบความเรยี ง

1) เลอื กและกาหนดผลการเรยี นร้ทู ่เี กี่ยวขอ้ งกบั การใชส้ ตปิ ญั ญาข้นั สูง ทีไ่ ม่สามารถ
ใชแ้ บบทดสอบปรนยั /การทพสอบภาคปฏิบัตไิ ด้

2) กาหนดจานวนข้อคาถามในแตล่ ะผลการเรียนรทู้ เี่ ลือกไว้ และไมอ่ นุญาตให้ผู้เรียน
เลอื กตอบเป็นบางขอ้

3) เขยี นข้อคาถามโดยใชถ้ ้อยคาทชี่ ดั เจน อา่ นแลว้ เข้าใจไปในแนวเดียวกัน และ
สอดคล้องกับผลการเรยี นรู้ท่ตี อ้ งการวดั

สรปุ องคค์ วามรู้

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบทดสอบ

4) ระบุน้าหนกั คะแนน ความยาวของคาตอบ และช่วงระยะเวลาในการทาข้อสอบ
5) ระบุเกณฑ์การใหค้ ะแนนให้ผเู้ รยี นรดู้ ้วย
6) ตรวจสอบคุณภาพขอ้ สอบก่อนนาไปใชจ้ ริง (ทุกขอ้ ) ตรวจสอบดว้ ยตนเองและ
สอบถามจากเพ่อื นร่วมงานทีม่ ีความรู้
7) หลงั การนาข้อสอบไปใช้ ควรทบทวนแนวคาตอบของผเู้ รียน เพอ่ื นาขอ้ มลู
สารสนเทศมาปรบั ปรงุ
3. แนวทางการตรวจใหค้ ะแนนขอ้ สอบความเรยี ง
1) สร้างเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนทล่ี ะเอียดชัดเจน (Rubrics)
2) ระมดั ระวงั เกยี่ วกบั ความลาเอยี ง/มีอคติ
3) ควรตรวจให้คะแนนคาตอบของผเู้ รยี นทกุ คนใหเ้ สรจ็ ทีละขอ้ ในเวลาต่อเนอื่ งกัน
4) ถา้ ตรวจหลายคน ให้แบ่งขอ้ สอบคนละเทา่ ๆ กัน แล้วตรวจให้คะแนนคาตอบขอ้
นน้ั ๆ ทไ่ี ดร้ บั ผดิ ชอบของผู้เรียนทุกคน ในช่วงเวลาที่ต่อเน่อื งกัน
5) ในขณะตรวจ ควรเก็บรวบรวมขอ้ ผิดพลาดต่าง ๆ ทไ่ี ดห้ ักคะแนนผูเ้ รยี นไว้
6) ไม่นาประเดน็ ความถกู ต้องเกยี่ วกับไวยากรณ์ โครงสรา้ ง การสะกดคา
มาเป็นเกณฑใ์ นการตรวจให้คะแนน ยกเว้น *มบี อกไวใ้ นจุดประสงค์

WEEK 5




แบบทดสอบปรนัยชนดิ ถูกผิด เปน็ แบบทดสอบท่ีเขยี นอยู่ในรปู ประโยคบอกเลา่ หรอื

0 ประโยคคาถาม เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นพจิ ารณาวา่ ข้อความน้นั ถกู หรือผดิ โดยอาจเลือกตอบ ถูก – ผิด,

จรงิ – ไม่จริง, ใช่ – ไม่ใช่ เปน็ ตน้

ความหมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ

หลกั การหรอื แนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ

1. เขยี นคาชี้แจงในการทาแบบทดสอบให้ชดั เจนว่าจะให้ผเู้ รยี นตอบอย่างไร เชน่ ให้ตอบ ถกู – ผิด
2. ขอ้ ความทเี่ ป็นสถานการณข์ องขอ้ คาถามจะต้องถกู หรือผดิ อยา่ งใดอยา่ งหนึ่งเท่านัน้
3. เขียนข้อความท่ีเปน็ สถานการณ์ของขอ้ คาถามดว้ ยภาษาท่เี รียบงา่ ยและชัดเจน เพื่อใหอ้ า่ นแลว้ เข้าใจตรงกัน
4. ในแต่ละขอ้ คาถามควรถามเพยี งประเดน็ เดียว จะไดไ้ ม่สบั สน
5. ในแต่ละขอ้ คาถามควรให้ข้อมลู สารสนเทศท่ีเพียงพอ
6. หลกี เลี่ยงการลอกข้อความจากหนังสอื เรียนหรือจากสมดุ จดคาบรรยาย มาเป็นข้อคาถาม
เพราะจะเน้นให้นกั เรียนใช้ความจามากกวา่ ความคดิ ท่จี ะหาคาตอบ
7. ขอ้ คาถามโดยท่วั ไป นยิ มอยูใ่ นรปู ประโยคบอกเล่าธรรมดา แต่ถา้ จาเป็นต้องเขยี นอยใู่ นรปู ของ
ประโยคปฏเิ สธ ให้ขีดเส้นใต้คาปฏเิ สธอย่างชัดเจน
8. ควรหลีกเลย่ี งการใช้คาศัพทท์ ่ผี ู้เรียนไมค่ นุ้ เคยหรือไม่เหมาะสมกับวัย
9. ควรหลีกเล่ียงคาบางคาท่ีเป็นเครื่องช้ีชัดคาตอบหรือช่วยให้คาตอบถกู หรือผดิ เดน่ ชัดขึ้น เช่น ทุก ๆ บอ่ ย ๆ
10. ไมค่ วรใชข้ ้อความปฏิเสธซ้อน เพราะอาจทาใหอ้ า่ นแล้วเขา้ ใจผิดได้
11. คาตอบของขอ้ คาถามควรถูกหรอื ผดิ ตามหลักวชิ าไม่ใชต่ ามข้อคิดเห็น
12. สง่ิ ท่กี าหนดถูกหรือผดิ ควรเปน็ สว่ นสาคัญของขอ้ คาถามและเกย่ี วข้องกับข้อความที่ถาม
13. ขอ้ คาถามแต่ละขอ้ ควรเปน็ อิสระแก่กัน
14. ควรให้มีจานวนขอ้ ถกู ผิดใกลเ้ คยี งกัน อัตราส่วน 40 – 60 %
15. ขอ้ ถูกและข้อผดิ ควรอยู่กระจายกนั ออกไป
16. ในกรณขี อ้ สอบหลายประเภทอยู่ฉบบั เดยี วกัน ควรจัดขอ้ สอบถกู ผิดไวต้ อนต้น

สรปุ องคค์ วามรู้

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ

ความหมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ
“แบบทดสอบปรนยั ชนิดถูกผิด (True or false test)” เปน็ ขอ้ สอบทีเ่ ขยี นอยใู่ นรูป

ของประโยคบอกเล่าและประโยคปฏเิ สธ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนพิจารณาว่าข้อความนั้น ๆ ถูกหรือผิด
ตามหลักวิชา โดยอาจจะใหเ้ ลือกตอบ ถูก – ผิด, ใช่ – ไม่ใช,่ จรงิ – ไม่จรงิ เปน็ ตน้
เป็นแบบทดสอบที่ชว่ ยให้ผู้เรยี นวิเคราะหข์ อ้ เทจ็ จริงออกจากข้อคดิ เห็นได้
หลกั การหรอื แนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ
1. เขยี นคาชแ้ี จงในการทาแบบทดสอบให้ชดั เจนว่าจะให้ผเู้ รียนตอบอยา่ งไร เช่น ใหต้ อบ
ถกู – ผิด เปน็ ตน้
2. ข้อความท่เี ป็นสถานการณ์ของขอ้ คาถามจะตอ้ งถกู หรอื ผดิ อย่างใดอย่างหนึง่ เท่านนั้
3. เขยี นข้อความท่ีเป็นสถานการณข์ องข้อคาถามด้วยภาษาที่เรียบง่ายและชดั เจน
เพือ่ ใหอ้ ่านแลว้ เข้าใจตรงกัน
4. ในแต่ละข้อคาถามควรถามเพียงประเดน็ เดยี ว เพือ่ ลดความสบั สน
5. ในแต่ละขอ้ คาถามควรใหข้ อ้ มูลสารสนเทศทเี่ พียงพอ
6. หลกี เลีย่ งการลอกขอ้ ความจากหนังสอื หรอื จากสมดุ จดคาบรรยายหรือจากแหล่งอื่น ๆ
มาเปน็ ขอ้ คาถาม เพราะจะเป็นการเนน้ ให้ผเู้ รียนใช้ความจามากกว่าใช้ความคิด
ทจี่ ะหาคาตอบ
7. ขอ้ คาถามโดยท่วั ไปนยิ มเขียนอยู่ในรปู ประโยคบอกเล่าธรรมดา ถา้ จาเป็นต้องเขียนอยู่
ในรูปประโยคปฏเิ สธ ให้ขีดเส้นใต้คาปฏิเสธนัน้ อย่างชัดเจน เชน่ คาว่า ไม่ ไมใ่ ช่
ไมถ่ กู ตอ้ ง เปน็ ต้น
8. ควรหลกี เลี่ยงการใช้คาศพั ทท์ ผี่ เู้ รยี นไม่ค้นุ เคยหรอื ไมเ่ หมาะสมกับวยั

สรปุ องคค์ วามรู้

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ

9. ควรหลีกเลยี่ งคาบางคาที่เป็นเคร่อื งชชี้ ัดคาตอบหรือช่วยให้คาตอบถกู หรือผิดเดน่ ชดั ขึน้
เชน่ คาว่า ทกุ ๆ ท้ังหมด เสมอ ไม่มีเลย ท้ังสสิ้น ท้ังนน้ั คาเหลา่ นี้มีแนวโน้มจะผดิ มากกว่าถกู
หรือคาว่า บ่อย ๆ บางคร้ัง บางที อาจจะ คาเหล่าน้ีมีแนวโนม้ จะถูกมากกว่าผิด
10. ไมค่ วรใชข้ ้อความปฏิเสธซอ้ นปฏเิ สธ เพราะจะทาใหอ้ า่ นแล้วเขา้ ใจยาก
11. คาตอบของข้อคาถามควรถกู หรือผดิ ตามหลักวิชา ไม่ใชถ่ กู หรือผดิ ตามความคดิ เหน็
12. สิง่ ท่กี าหนดวา่ ถกู หรอื ผิดควรเปน็ ส่วนสาคญั ของข้อความและเกี่ยวขอ้ งกบั ข้อความทีถ่ าม
การทาให้ขอ้ สอบผดิ โดยการสะกดช่อื คนหรือสถานทผ่ี ดิ ไม่ได้เป็นส่วนสาคญั ของขอ้ คาถาม
13. ข้อคาถามแตล่ ะขอ้ ควรเปน็ อิสระแกก่ นั (อยา่ ให้ข้อสอบขอ้ ใดขอ้ หนงึ่ ไปแนะคาตอบใหก้ บั
ขอ้ อน่ื ๆ)
14. ควรใหม้ ีจานวนขอ้ ถกู ผิดใกล้เคยี งกัน เพอ่ื ชว่ ยลดการเดาข้อสอบ อัตราสว่ นข้อถกู ผิด
ควรอย่รู ะหว่าง 40 – 60 %
15. ข้อถกู และขอ้ ผดิ ควรอยกู่ ระจายกนั ออกไป ไม่ควรอย่เู ปน็ กลมุ่ หรอื เรียงกันเป็นระบบ
16. ในกรณีทีข่ อ้ สอบหลายประเภทอยู่ด้วยกนั ในฉบบั เดยี วกนั ควรจดั ขอ้ สอบแบบถูกผิด
ไวต้ อนตน้ ๆ

WEEK 6




แบบทดสอบปรนัยชนดิ จบั คู่ (Matching test) ทม่ี กั จะวางกล่มุ คา วลี ตวั เลข หรอื สัญลักษณ์ไว้
เปน็ 2 คอลมั น์ โดยท่คี อลมั นซ์ า้ ยจะวางกลุ่มของขอ้ คาถาม ส่วนคอลัมน์ขวาจะวางกลุ่มคาตอบ

ความหมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ จบั คู่

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ จับคู่

หลกั การหรอื แนวทางการสรา้ งแบบทดสอบปรนยั ชนดิ จบั คู่

1. คา วลี ตวั เลขหรอื สัญลักษณต์ า่ ง ๆ ทง้ั คอลัมนซ์ ้ายและขวาควรเปน็ เรอื่ งราวเดียวกัน (สาคญั มาก)
2.เขียนคาชแ้ี จงในการจับครู่ ะหวา่ งชุดของขอ้ คาถามกบั คาตอบให้ชัดเจน
3. ควรทบทวนรายการขอ้ คาถามและคาตอบของชดุ ข้อสอบอยา่ งรอบคอบวา่ ไม่ได้ชแี้ นะคาตอบเดน่ ชัด
4. ในการตอบข้อสอบจบั คู่ แตล่ ะขอ้ มีโอกาสเดาถูกไม่เท่ากัน จึงควรเพม่ิ รายการขอ้ คาตอบให้มากกว่า
จานวนข้อคาถาม (3 ขอ้ กาลงั ดี)
5. ชดุ ขอ้ สอบจับคชู่ ดุ หนง่ึ ๆ ควรกาหนดจานวนรายการข้อคาถามให้เหมาะสม โดยทั่วไปควรมี
ข้อคาถามอยู่ในชว่ ง 5 – 8 ขอ้ มากสุดไม่ควรเกิน 10 ข้อ
6. การเรยี งลาดับก่อนหลังของรายการข้อคาตอบ ควรจดั เรยี งใหส้ มเหตุสมผล เพ่ือสะดวกในการ
หาคาตอบ สว่ นรายการข้อคาถาม แตล่ ะชดุ ควรจดั ใหก้ ระจายออกจากกนั
7. ข้อสอบปรนัยชนดิ จับคู่แต่ละชดุ ควรจัดให้อยใู่ นหนา้ เดยี วกนั ท้งั รายการขอ้ คาถามและคาตอบ

สรปุ องคค์ วามรู้

ความหมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ จบั คู่
แบบทดสอบปรนยั ชนดิ จับคู่ (Matching test) เปน็ แบบทดสอบท่มี ักจะวาง

กลมุ่ คา วลี ตวั เลขหรือสญั ลกั ษณ์ไว้เปน็ 2 คอลมั น์ โดยทค่ี อลมั น์ซ้าย จะเปน็ ฝง่ั ของ
รายการ “กล่มุ ขอ้ คาถาม” และคอลัมนข์ วา จะเป็นฝ่งั ของรายการ “กลมุ่ คาตอบ”
หลกั การหรอื แนวทางการสรา้ งแบบทดสอบปรนยั ชนดิ จบั คู่
1. คา วลี ตวั เลข หรือสญั ลักษณ์ต่าง ๆ ท่อี ยใู่ นกลุ่มข้อคาถามและกลมุ่ คาตอบ ควร
เป็นเรื่องราวเนอื้ หาเดยี วกนั (หลกั การข้อนี้สาคัญมากกกก)
2. เขียนคาชแี้ จงในการทาแบบทดสอบชนดิ จับคใู่ หช้ ัดเจน
3. ควรทบทวนกลมุ่ ข้อคาถามและกลุม่ คาตอบของแบบทดสอบใหช้ ดั เจนวา่ ไม่ได้
มกี ารชแี้ นะคาตอบอยา่ งเดน่ ชดั

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ จบั คู่

สรปุ องคค์ วามรู้

4. ในการตอบข้อสอบชนดิ จับคู่ แต่ละข้อจะมโี อกาสในการเดาถกู ไม่เทา่ กนั
ข้อแรก ๆ เดาไดย้ าก ข้อหลงั ๆ เดาไดง้ ่าย จึงควรเพม่ิ กลุ่มขอ้ คาถามให้มากกว่า
กลุ่มคาตอบ ซกั 3 ข้อกาลงั ดี
5. ชุดข้อสอบจับคชู่ ดุ หนึง่ ๆ ควรกาหนดจานวนรายการกลุ่มข้อคาถามใหเ้ หมาะสม
โดยท่วั ไปควรมี 5 – 8 ขอ้ มากสุดไมเ่ กิน 10 ข้อ
6. การเรียงลาดับกอ่ น – หลงั ของรายการข้อคาตอบ ควรจดั เรียงให้สมเหตุสมผล
เพ่ือการสะดวกในการคน้ หาคาตอบ ส่วนรายการขอ้ คาถามควรจดั ใหก้ ระจายกนั
ไมใ่ หเ้ ป็นระบบ
7. แบบทดสอบปรนยั ชนิดจับคแู่ ต่ละชุด ควรจดั ให้อยู่ในหน้ากระดาษเดียวกัน
ท้งั รายการข้อคาถามและรายการขอ้ คาตอบ

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ จบั คู่

WEEK 7




“แบบทดสอบชนดิ เติมคา” เปน็ แบบทดสอบปรนยั ชนิดหนงึ่ ท่มี งุ่ ให้ผ้เู รยี นคิดหาคาตอบ
ด้วยตนเอง แลว้ เขียนคาตอบนน้ั ลงในช่องว่างต่อจากขอ้ ความท่ีไดเ้ ขียนคา้ งไว้
เพือ่ ให้เป็นข้อความทีถ่ กู ต้อง สมบรู ณ์
“แบบทดสอบชนิดตอบแบบสน้ั ” เปน็ แบบทดสอบปรนัยชนิดหน่ึงที่มุ่งใหผ้ ู้เรยี น
ตอบขอ้ สอบซงึ่ อยู่ในรปู ของประโยคคาถามหรอื ประโยคคาส่งั (ไมใ่ ชบ่ อกเลา่ )

ความหมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เตมิ คาและชนดิ ตอบแบบสน้ั

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เตมิ คาและชนดิ แบบตอบสน้ั

หลกั การหรอื แนวทางการสรา้ ง หลกั การหรอื แนวทางการสรา้ ง
แบบทดสอบปรนยั ชนดิ ตอบแบบสน้ั แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เตมิ คา

1. ใหข้ ้อแนะนาในการตอบข้อสอบอย่างชดั เจน 1. ให้ข้อแนะนาในการตอบข้อสอบอย่างชัดเจน
2. เขยี นข้อคาถามใหช้ ัดเจน ไม่วา่ จะอยใู่ นรปู 2. เขียนประโยคขอ้ ความทีเ่ ป็นข้อคาถามให้ชัดเจน
ประโยคคาถามหรือประโยคคาสั่ง และสมบูรณ์เพียงพอ เพอื่ ให้มคี าตอบที่ถูกตอ้ ง
3. ข้อคาถามควรมคี าตอบที่ถกู ตอ้ ง เพยี งคาตอบ เพียงคาตอบเดียวเท่านน้ั
เดยี วเทา่ น้ันและตรงกบั คาตอบทีค่ าดหวังไว้ 3. ประโยคขอ้ ความท่เี ป็นขอ้ คาถาม ควรสร้าง
4. ผสู้ อนควรประยกุ ตข์ ้อคาถามให้วัดสติปญั ญา ข้นึ ใหม่ ไม่ควรนามาจากในหนงั สอื เพราะจะเน้น
ในระดับสูงควบคู่ไปกับความรูค้ วามจา ให้ผเู้ รยี นใชค้ วามจาเกินไป
4. ควรเว้นช่องว่างสาหรบั เติมคาตอบใหม้ ี
ความยาวเพยี งพอ ในการเขียนคาตอบทค่ี าดหวงั ไว้
5.ข้อคาถามควรเปน็ เร่ืองท่สี าคัญของบทเรียน
สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้

สรปุ องคค์ วามรู้

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เติมคาและชนดิ ตอบแบบสนั้

ความหมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เตมิ คาและชนดิ ตอบแบบสนั้
“แบบทดสอบชนิดเตมิ คา (Completion test)” เปน็ แบบทดสอบที่มงุ่ ใหผ้ ้เู รียนคิดหาคาตอบ

ด้วยตัวเอง แล้วเขยี นคาตอบลงในช่องวา่ งตอ่ จากข้อความท่ีได้เขยี นคา้ งไว้
“แบบทดสอบชนิดตอบแบบส้ัน (Short answer test)” เป็นแบบทดสอบท่มี ุง่ ใหผ้ เู้ รยี นตอบ

ขอ้ สอบซึ่งอยู่ในรูปของประโยคคาถามหรือประโยคคาสัง่ (ไม่ใชบ่ อกเล่า)
หลกั การหรอื แนวทางการสรา้ งแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เตมิ คา
1. ใหข้ อ้ แนะนาในการตอบข้อสอบอยา่ งชดั เจน วา่ จะใหต้ อบอยา่ งไร
2. เขยี นประโยคหรือขอ้ คาถามให้ชดั เจนและสมบูรณเ์ พียงพอ เพอื่ ให้มีคาตอบท่ีถกู เพยี งคาตอบเดยี ว
3. ประโยคข้อความท่เี ปน็ ข้อคาถามควรสรา้ งขึ้นใหม่ ไม่ควรคัดลอกมาจากหนังสอื ตารา
เพราะจะเน้นให้ผ้เู รียนใช้ความจามากเกนิ ไป
4. ควรเวร้ ชอ่ งว่างสาหรับเตมิ คาตอบให้มีความยาวเพียงพอในการเขียนคาตอบทีค่ าดหวงั ไว้
แต่ถา้ เปน็ ไปได้กค็ วรเวน้ ใหต้ อบเทา่ กันทุกขอ้ เพื่อปอ้ งกนั การชีแ้ นะคาตอบ
5. ขอ้ คาถามควรเปน็ เรือ่ งท่สี าคัญของบทเรยี น สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องการเรียนรู้
หลกั การหรอื แนวทางการสรา้ งแบบทดสอบปรนยั ชนดิ ตอบแบบสน้ั
1. ใหข้ อ้ แนะนาในการตอบขอ้ สอบอยา่ งชัดเจน ว่าจะให้ตอบอยา่ งไร
2. เขยี นข้อคาถามใหช้ ัดเจน ไม่วา่ จะอยู่ในรปู ประโยคคาถามหรอื ประโยคคาส่ัง
3. ข้อคาถามควรใหม้ ีคาตอบท่ถี ูกเพยี งคาตอบเดยี วเทา่ น้ัน
4. ผู้สอนควรประยกุ ตข์ อ้ คาถามให้วัดสติปัญญาในระดบั สูงควบคู่ไปกับความรู้ความจาดว้ ย

WEEK 8




แบบทดสอบชนดิ เลอื กตอบ เปน็ แบบทดสอบท่ีกาหนดคาตอบไวห้ ลายตวั เลือกในข้อสอบแต่ละขอ้
ซึง่ จะประกอบไปด้วย 2 สว่ น คอื สว่ นของคาถามนาหรือคาถามหลักและสว่ นของตวั เลือก

ความหมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ

หลกั การหรอื แนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ

1. ควรเขียนข้อคาถามให้ชัดเจน มีขอ้ มลู ทเ่ี พยี งพอสาหรบั ใชต้ อบคาถาม และควรอยใู่ นรูปของ
ประโยคคาถามโดยตรงมากกวา่ ประโยคหรือข้อความทไ่ี มส่ มบรู ณ์
2. ขอ้ สอบแตล่ ะขอ้ ควรมจี านวนตัวเลอื กอยู่ในช่วง 3 – 5 ตวั เลือก โดยทวั่ ไปนยิ ม 4 ตัวเลอื ก
(ตอ้ งดใู ห้เหมาะสมกบั วัยดว้ ย)
3. คาถามนาของข้อสอบ เขยี นรายละเอยี ดใหช้ ัดเจน สว่ นของตวั เลือก เขียนใหส้ นั้ กระชับ
4. หลีกเลย่ี งการคัดลอกขอ้ ความจากหนงั สอื ตารา เพราะจะเป็นข้อคาถามที่เน้นความจาเกินไป
5. ข้อคาถามประเภทให้เลือกคาตอบทีด่ ีทส่ี ดุ เป็นขอ้ คาถามท่ีม่ีประโยชนม์ าก สาหรบั การวดั กระบวนการคดิ
ขั้นสูง
6. หลกี เล่ียงการสรา้ งขอ้ คาถามท่เี ป็นเชิงลบหรอื ปฏเิ สธ
7. ตอ้ งแน่ใจวา่ ข้อสอบข้อหนึ่ง ๆ มีขอ้ คาตอบทีถ่ ูกต้องเพยี งขอ้ เดยี ว
8. หลกี เลย่ี งการใช้คา ข้อความ หรือสญั ลกั ษณต์ า่ ง ๆ ทีเ่ ปน็ การช้แี นะขอ้ คาตอบ
9. ต้องมั่นใจวา่ ตัวเลือกท้ังหมดมคี วามถกู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณซ์ งึ่ สอดคล้องสัมพนั ธ์กบั ข้อคาถามน้ัน ๆ
10. ตอ้ งมน่ั ใจว่า ไม่มีข้อสอบข้อใดข้อหน่ึงไปชแ้ี นะคาตอบใหข้ ้อสอบขอ้ อ่ืน ๆ
11. ตัวลวงของขอ้ สอบ ควรเป็นตัวลวงทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ
12. ตาแหน่งตวั เลือกท่ถี กู ตอ้ งของขอ้ สอบแตล่ ะขอ้ ควรเป็นไปอย่างสุม่ (ถ้า 4 ตัวเลอื ก ควรจะ 25 %)
13. หลกี เล่ียงการสร้างข้อสอบที่มีตวั เลอื กเป็น “ผดิ ทกุ ข้อ” หรือ “ถกู ทุกข้อ”
14. หลกี เล่ียงการใช้คาท่คี ลุมเครอื ซับซ้อน ยากต่อการอ่าน (หากไม่ได้ต้องการวดั การอ่าน)
15. หลกี เลยี่ งการใชค้ าขยายบางคาทไ่ี มเ่ หมาะสมในตัวเลือก เพราะจะเปน็ การช้ีนาคาตอบ/ทาให้ไม่เข้าใจ
16. พิจารณาความเหมาะสมในประเดน็ ตา่ ง ๆ ของข้อสอบ อยา่ งรอบคอบ

สรปุ องคค์ วามรู้

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ

ความหมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ
“แบบทดสอบชนดิ เลอื กตอบ (Multiple choice test)” เป็นแบบทดสอบท่มี กี ารกาหนด

ตัวเลอื กไว้หลายตวั เลือกในข้อสอบแต่ละขอ้ ซ่งึ ขอ้ สอบแตล่ ะข้อจะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ
1. ส่วนของคาถามนาหรือคาถามหลกั (Stem) สามารถเขยี นได้ 2 แบบ คอื

1.1 เขียนเป็นคาถามโดยตรง
1.2 เขียนเป็นประโยคหรอื ขอ้ ความทไี่ ม่สมบรู ณ์
2. สว่ นของตวั เลอื ก (Alternatives) มี 2 ชนิด คือ
2.1 ตัวเลอื กทเี่ ปน็ คาตอบทีถ่ กู
2.2 ตัวเลอื กทีเ่ ป็นคาตอบที่ผิดหรอื ตัวลวง
หลกั การหรอื แนวทางการสรา้ งแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ
1. ควรเขียนข้อคาถามให้ชัดเจน กระชับ รดั กมุ มขี ้อมูลเพยี งพอสาหรับตอบคาถาม และควรอยู่
ในรูปประโยคคาถามโดยตรงมากกวา่ ประโยคหรอื ขอ้ ความทไ่ี มส่ มบรู ณ์
2. ข้อสอบแตล่ ะขอ้ ควรมตี ัวเลือกอยูใ่ นช่วง 3 – 5 ตัวเลือก โดยท่วั ไปนิยม 4 ตวั เลอื ก
(ตอ้ งดใู ห้เหมาะสมกับวยั ของผ้เู รยี น)
3. ในสว่ นที่เป็นคาถามนา ควรเขียนเนือ้ หาให้ละเอียด ชัดเจน สว่ นของตัวเลือกควรเขียนให้ส้ัน
และกระชับ รวมถงึ จัดตาแหนง่ ตัวเลอื ก เพอื่ ให้ง่ายตอ่ การค้นหาคาตอบ

สรปุ องคค์ วามรู้

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ

4. หลกี เลีย่ งการคดั ลอกข้อความจากหนงั สือ ตารา เพราะจะเปน็ ขอ้ คาถามที่เน้นความจาเกนิ ไป
5. ขอ้ คาถามประเภทใหเ้ ลือกคาตอบทด่ี ที ่ีสดุ (Best answer) เป็นขอ้ คาถามท่ีม่ปี ระโยชนม์ าก
สาหรับการวัดกระบวนการคดิ ขัน้ สงู
6. หลกี เลี่ยงการสรา้ งข้อคาถามท่ีเปน็ เชงิ ลบหรือปฏเิ สธ เช่น ไม่ ยกเว้น ไม่ถกู ต้อง เป็นตน้
7. ต้องแน่ใจวา่ ข้อสอบขอ้ หน่งึ ๆ มขี อ้ คาตอบทีถ่ ูกตอ้ งเพียงข้อเดยี ว
8. หลกี เลย่ี งการใช้คา ขอ้ ความ หรอื สัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ที่เปน็ การชี้แนะข้อคาตอบ
9. ตอ้ งมั่นใจว่าตัวเลอื กท้งั หมดมคี วามถูกตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ ซง่ึ สอดคล้องกบั ขอ้ คาถามน้ัน ๆ
10. ต้องม่ันใจวา่ ไม่มขี ้อสอบขอ้ ใดข้อหนึ่งไปช้ีแนะคาตอบให้ขอ้ สอบข้ออื่น ๆ ()
11. ตวั ลวงของขอ้ สอบ ควรเป็นตวั ลวงท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ (ดงึ ดดู ให้ผู้สอบเลือก)
12. ตาแหน่งตวั เลอื กที่ถกู ตอ้ งของขอ้ สอบแตล่ ะขอ้ ควรเปน็ ไปอยา่ งสุ่ม (ถา้ เป็นข้อสอบ 4 ตัวเลือก
ควรจะได้ choice ละ 25 %)
13. หลีกเลยี่ งการสรา้ งขอ้ สอบทม่ี ตี ัวเลือกเปน็ “ผดิ ทุกขอ้ ” หรือ “ถูกทกุ ขอ้ ”
14. หลกี เลย่ี งการใชค้ าท่ีคลมุ เครือ ซับซอ้ น ยากตอ่ การอา่ น (หากไมไ่ ดต้ ้องการวดั การอ่าน)
15. หลกี เล่ียงการใชค้ าขยายบางคาที่ไม่เหมาะสมในตัวเลอื ก เพราะจะเปน็ การชน้ี าคาตอบ/ทาให้
ไม่เข้าใจ เชน่ เสมอ ไม่เลย แน่นอน บางที โดยท่วั ไป นาน ๆ ครัง้ ไม่คอ่ ยบ่อย เปน็ ต้น
16. พจิ ารณาความเหมาะสมในประเดน็ ตา่ ง ๆ ของข้อสอบ อย่างรอบคอบ

WEEK 9






การตรวจคณุ ภาพของแบบทดสอบ

ความเทยี่ งตรง ระดับคณุ ภาพของเครอื่ งมอื วดั ผล ความเท่ียงตรงตามเนื้อหา
ความเปน็ ปรนยั ทบี่ ง่ บอกว่า ข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการวดั นัน้ ความเทยี่ งตรงตามโครงสร้าง
มีความถกู ต้องหรือไม่ เพยี งใด
ความเท่ยี งตรงเกณฑส์ มั พันธ์

บง่ บอกว่าแบบทดสอบชุดนัน้ มีความชดั แจง้
ในการเขียนคาช้ีแจงและขอ้ คาถามแตล่ ะขอ้
รวมถึงตวั เลือกตา่ ง ๆ

ความยากรายขอ้ การวเิ คราะห์ “ดชั นคี วามยากรายข้อ” หรอื นิยมใช้เฉพาะแบบทดสอบอิงกลุม่
“ระดบั ความยากรายขอ้ ” ของแบบทดสอบ
เปน็ รายขอ้ คาถาม สญั ลกั ษณ์ “p”

อานาจจาแนกรายขอ้ อิงกลุ่ม
การวเิ คราะห์ “ดัชนอี านาจจาแนกรายขอ้ ” ของแบบทดสอบเป็นรายข้อคาถาม

สัญลักษณ์ “r” หรอื “D” หมายถงึ ระดบั คณุ ภาพของขอ้ สอบแต่ละขอ้
ของแบบทดสอบฉบับหน่ึง ๆ ทส่ี ามารถแยกคนเป็นสองกลุม่

องิ เกณฑ์
การวเิ คราะห์ “ดชั นีอานาจจาแนกรายข้อ” ของแบบทดสอบเป็นรายขอ้ คาถาม
เรยี กวา่ “B - index” ซงึ่ จะตอ้ งมกี ารกาหนดเกณฑ์ผ่าน (c) “จดุ ตดั ” ไว้

ความเชอื่ มน่ั ของแบบทดสอบ บ่งบอกว่าสามารถวัดคุณลักษณะทต่ี ้องการวดั ได้คงเส้นคงวา
วดั ก่คี รงั้ กไ็ ด้ผลเหมอื นเดมิ หรอื ใกล้เคียงกับของเดิม

สรปุ องคค์ วามรู้

การตรวจคณุ ภาพของแบบทดสอบ

1. ความเทย่ี งตรงหรอื ความตรง (Validity)
หมายถึง ระดับคุณภาพของเครือ่ งมอื วดั ผล ท่บี ่งบอกวา่ ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการวดั

สงิ่ ทต่ี อ้ งการวัดดว้ ยเคร่อื งมอื นั้น ๆ มคี วามถูกตอ้ งหรือไม่ เพียงใด *ความเท่ียงตรงของ
แบบทดสอบมคี วามสาคัญทส่ี ดุ สามารถแบง่ เปน็ 3 ประเภททแ่ี ตกต่างกนั

1) ความเทย่ี งตรงตามเน้ือหา (Content validity)
2) ความเทย่ี งตรงตามโครงสรา้ ง (Construct validity)
3) ความเท่ียงตรงเกณฑ์สัมพนั ธ์ (Criterion – related validity)

3.1) ความเท่ียงตรงตามสภาพ (Concurrent validity)
3.2) ความเท่ยี งตรงตามพยากรณ์ (Predictive validity)
2. ความเปน็ ปรนยั (Objectivity)
บ่งบอกวา่ แบบทดสอบชุดนน้ั มีความชัดแจง้ ในการเขียนคาชแี้ จงและขอ้ คาถาม
แต่ละขอ้ รวมถึงตวั เลือกตา่ ง ๆ อีกทงั้ ยังมคี วามสอดคลอ้ งตรงกนั ของการตรวจ
ให้คะแนนและแปลความหมายของคะแนน ซึ่งมีคณุ สมบตั ิ 3 ประการ ดังน้ี
1) ความชดั แจ้งของขอ้ คาถาม ไม่ว่าใครตรวจก็แปลความหมายตรงกัน
2) ความสอดคล้อง/ตรงกนั ในการตรวจใหค้ ะแนนขอ้ สอบแตล่ ะขอ้ (Rubrics)
3) ความสอดคล้องตรงกนั ในการแปลความหมายของคะแนน


Click to View FlipBook Version