The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การผันวรรณยุกต์ ป.4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aonpracha1992, 2021-10-29 03:10:51

การผันวรรณยุกต์ ป.4

การผันวรรณยุกต์ ป.4

ส�ำหรับคค่มูรกูือลกุม่ารสเารรียะนกราดู้ ร้วเรยียตนนรเภู้อางษาไทย

การสอนการผันวรรณยกุ ต์

ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ – ๖

หน่วยศึกษานเิ ทศก์ สำ� นกั การศกึ ษา กรุงเทพมหานคร

ค�ำน�ำ

คมู่ อื การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองสำ� หรบั ครกู ลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เรอ่ื งการสอน
การผนั วรรณยกุ ต์ ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ – ๖ เป็นคู่มือท่ีหน่วยศึกษานเิ ทศก์
ส�ำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร จัดท�ำข้ึนตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์และ
คุณภาพการอ่าน เขียนภาษาไทย มุ่งเน้นให้ครูผู้สอนน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการ
จัดการเรียนรู้ เรื่อง การสอนการผันวรรณยุกต์ ซ่ึงเป็นเรื่องหนึ่งท่ีมีความส�ำคัญ
อย่างยิ่งในการเรียนภาษาไทย ท่ีครูผู้สอนควรต้องเน้น ย้�ำ ซ้�ำ ทวนให้แก่นักเรียน
เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ และน�ำไปใช้ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเองส�ำหรับครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเล่มน้ี
ประกอบด้วย เนื้อหา กจิ กรรม และแบบฝกึ ทกั ษะ ทคี่ รูผสู้ อนสามารถนำ� ไปศึกษาได้
ดว้ ยตนเองหรอื ปรบั ใชใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของนกั เรยี นได้ เพอื่ สง่ เสรมิ และมงุ่ เนน้
ให้นกั เรยี นมีความสามารถในการอ่าน และสร้างนิสัยรักการอ่าน โดยคณะผจู้ ดั ทำ�
ร่วมกันวิเคราะห์เน้ือหา ออกแบบและพัฒนาแบบฝึกให้สอดคล้อง เหมาะสมกับ
มาตรฐาน ตัวช้ีวดั ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ขอขอบคณุ ผบู้ รหิ ารกรงุ เทพมหานคร และผเู้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยทเี่ หน็ ความสำ� คญั
ของการอา่ นเพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธแิ์ ละคณุ ภาพการอา่ น เขยี นภาษาไทย ของนกั เรยี น
โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร คณะผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือการเรียนรู้
ดว้ ยตนเองสำ� หรบั ครกู ลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เรอื่ ง การสอนการผนั วรรณยกุ ต์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ – ๖ จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ให้เกิด
ประสิทธิภาพ เป็นไปตามหลักการ บรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ส่งผลต่อ
การน�ำไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำวนั และพฒั นาศักยภาพของผูเ้ รยี นตอ่ ไป

คณะผู้จัดทำ�

สารบญั ๔

คำ�ชีแ้ จงคู่มือการเรียนร ู้ ๗
มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด ๑๐
แบบทดสอบก่อนเรยี น ๒๕
วรรณยุกต์ ๓๕
กจิ กรรมการเรียนรู้มาตรากง ๔๖
กิจกรรมการเรยี นรู้มาตรากม ๕๙
กิจกรรมการเรยี นรมู้ าตรากน ๖๗
กจิ กรรมการเรยี นรมู้ าตราเกย ๘๑
กิจกรรมการเรยี นร้มู าตราเกอว ๙๑
กิจกรรมการเรียนรมู้ าตรากก ๑๐๑
กิจกรรมการเรียนรู้มาตรากด ๑๑๑
กจิ กรรมการเรยี นรมู้ าตรากบ ๑๑๙
ทบทวนการผันวรรณยกุ ต์ เขยี นถูกทกุ คน ๑๒๒
แบบทดสอบหลังเรยี น ๑๒๔
บรรณานกุ รม ๑๒๕
ภาคผนวก ๑๒๖
เพลงไตรยางศ์
เพลงสนกุ กับการผนั
เฉลยกิจกรรมการเรียนร ู้

คำ� ชแ้ี จงคูม่ อื การเรียนรู้

สำ�นักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ได้ดำ�เนินโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์และคุณภาพ

การอา่ น เขยี นภาษาไทย กจิ กรรมที่ ๑.๒ คมู่ อื การเรยี นรดู้ ว้ ยตวั เองสำ�หรบั ครกู ลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย เพ่ือเป็นการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการอ่าน เขียนภาษาไทย เรื่อง การสอน
การผันวรรณยุกต์ ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ – ๖ ต่อเนื่องจากคู่มือการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
สำ�หรับครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย การสอนการผันวรรณยุกต์ ระดับช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี ๑ – ๓
เนอ้ื หาของคมู่ อื การเรยี นรเู้ ลม่ นต้ี รงตามมาตรฐานตวั ชว้ี ดั ของหลกั สตู รแกนกลางขน้ั พน้ื ฐาน
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครผู สู้ อนควรศกึ ษาคมู่ อื ครเู ลม่ นใ้ี หเ้ ขา้ ใจ โดยมขี อบเขตเนอ้ื หาดงั ตอ่ ไปน้ี รปู และเสยี ง
วรรณยุกต์ อักษรสามหมู่ คำ�เปน็ คำ�ตาย การผนั อกั ษร หลกั สังเกตการผนั วรรณยุกต์ มาตรากง
มาตรากม มาตรากน มาตราเกย มาตราเกอว มาตรากก มาตรากด และมาตรากบ

มาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั

สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษา

มาตรฐาน ท. ๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษา
และพลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิ
ของชาติ

ตวั ชวี้ ัด ป. ๔ สะกดคำ�และบอกความหมายของคำ�ในบรบิ ทตา่ งๆ
ตัวชว้ี ดั ป. ๔/๑ ระบุชนิดและหนา้ ทข่ี องคำ�ในประโยค
ตัวชีว้ ัด ป. ๔/๒ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ�
ตวั ชว้ี ัด ป. ๔/๓ แตง่ ประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ตัวชี้วดั ป. ๔/๔ แต่งบทรอ้ ยกรองและคำ�ขวัญ
ตวั ชว้ี ัด ป. ๔/๕ บอกความหมายของสำ�นวน
ตวั ชวี้ ดั ป. ๔/๖ เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถ่นิ ได้
ตวั ชี้วัด ป. ๔/๗

ตัวชว้ี ดั ป. ๕ ระบุชนดิ และหน้าท่ขี องคำ�ในประโยค
ตวั ชว้ี ดั ป. ๕/๑ จำ�แนกสว่ นประกอบของประโยค
ตัวชี้วดั ป. ๕/๒ เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้
ตัวชวี้ ัด ป. ๕/๓ ใช้คำ�ราชาศพั ท์
ตวั ชว้ี ัด ป. ๕/๔ บอกคำ�ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
ตัวชว้ี ดั ป. ๕/๕ แต่งบทร้อยกรอง
ตัวชว้ี ัด ป. ๕/๖ ใช้สำ�นวนไดถ้ ูกตอ้ ง
ตวั ชว้ี ัด ป. ๕/๗

ตวั ชี้วัด ป. ๖
ตัวช้วี ดั ป. ๖/๑ วิเคราะหช์ นิดและหน้าท่ขี องคำ�ในประโยค
ตัวชี้วัด ป. ๖/๒ ใชค้ ำ�ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คล
ตวั ชี้วัด ป. ๖/๓ รวบรวมและบอกความหมายของคำ�ภาษาตา่ งประเทศทใี่ ช้ในภาษาไทย
ตวั ชี้วดั ป. ๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค
ตวั ชี้วัด ป. ๖/๕ แต่งบทรอ้ ยกรอง
ตัวชี้วดั ป. ๖/๖ วเิ คราะห์และเปรียบเทยี บสำ�นวนทเี่ ปน็ คำ�พงั เพยและสุภาษิต

6

แบบทดสอบก่อนเรียน

คำ� ชแ้ี จง เขยี นเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ทบั ตวั อกั ษรในกระดาษคำ� ตอบทถ่ี กู ตอ้ งเพยี งขอ้ เดยี ว
๑. คำ� ในข้อใดมีเสยี งวรรณยกุ ต์ตา่ งจากข้ออน่ื

ก. เลย่ี งเมอื ง ข. เร่อื งราว
ค. ย่องเบา ง. ไขข่ าว

๒. อกั ษรหมู่ใดผนั วรรณยกุ ต์ได้ครบ ๕ เสยี ง
ก. อกั ษรกลาง ค�ำเปน็ ข. อักษรสูง คำ� ตาย
ค. อกั ษรต�่ำ ค�ำเป็น ง. อักษรสงู คำ� เปน็

๓. ขอ้ ใดมเี สียงวรรณยกุ ตค์ รบทงั้ ๕ เสียง
ก. น้ำ� ขึน้ ให้รบี ตกั ข. สีซอใหค้ วายฟัง
ค. ได้ทีขแ่ี พะไล ่ ง. นำ้� เชีย่ วอยา่ ขวางเรอื
๔. ข้อใดมเี สียงวรรณยกุ ต์เหมือนคำ� ว่า “ช่วยด้วย”
ก. กลว้ ยหอม ข. ขา้ วสวย
ค. แมค่ ้า ง. ผา้ ซ่ิน
๕. ข้อใดมีเสยี งวรรณยุกตเ์ หมือนกบั ค�ำว่า “ต้นไม้”
ก. ทอ้ งฟ้า ข. แม่น้�ำ
ค. ข้าวฟ่าง ง. เสื้อผา้

๖. ขอ้ ใดอา่ นออกเสียงวรรณยกุ ต์ เหมือนค�ำวา่ “เฉยเมย” ในมาตราเกย
ก. ขายเนย ข. เสยี หวย
ค. เตยสวย ง. เลยปา้ ย

7

๗. “เขามาคน………..อีกประ……….เขากก็ ลบั ” ควรเติมค�ำใด
ก. เดียว เดีย่ ว ข. เด่ยี ว เดยี้ ว
ค. เด่ียว เด๋ยี ว ง. เดยี ว เดีย๋ ว

๘. “ถล่ี อดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น” คำ� มาตรากง ออกเสียงวรรณยุกต์ใด
ก. เสียงเอก เสียงโท ข. เสียงโท เสยี งเอก
ค. เสยี งตรี เสียงเอก ง. เสยี งตรี เสยี งโท

๙. “ชาวนาใชเ้ คียวเกย่ี วขา้ ว” มีเสยี งวรรณยกุ ต์ใดมากที่สุด
ก. เสยี งสามัญ ข. เสียงเอก
ค. เสียงโท ง. เสียงตรี

๑๐. ตอนเช้าแม่ไปซ้ือ……….ทีต่ ลาด ข. โจก้
ก. โจก ง. โจ๋ก
ค. โจก๊

๑๑. ค�ำวา่ “เค้ก” มเี สียงวรรณยกุ ตใ์ ด ข. เสียงเอก
ก. เสียงสามัญ ง. เสยี งตรี
ค. เสียงโท

๑๒. ขอ้ ใดผนั วรรณยุกตไ์ ด้ถูกต้อง ข. เฟือง เฟอื๊ ง เฟ๋อื ง
ก. ขะ ขะ้ ง. คัน ค้นั ค๊ัน

ค. คาง ค่าง ค้าง

๑๓. คำ� ว่า “งานบ้าน” ตรงกับวรรณยุกตเ์ สยี งใด
ก. เสยี งสามญั เสยี งเอก ข. เสยี งสามญั เสยี งโท
ค. เสยี งตร ี เสียงโท ง. เสยี งโท เสยี งตรี

8

๑๔. ค�ำในข้อใดมีเสยี งวรรณยกุ ตเ์ หมอื นกนั ทกุ ค�ำ
ก. ออ่ นหวาน เพมิ่ พนู ข. เพ่อื นบา้ น ถิ่นฐาน
ค. เชิญชวน วันจันทร ์ ง. เงินเหรียญ บญุ คณุ

๑๕. “หมอบกราบ” มเี สียงวรรณยุกต์ เหมอื นค�ำในขอ้ ใด
ก. ราบคาบ ข. พับเพียบ

ค. เจบ็ แสบ ง. เปรยี บเทียบ

๑๖. “กลอง” ผันวรรณยกุ ต์ได้กี่เสียง ข. ๓ เสยี ง
ก. ๒ เสยี ง ง. ๕ เสยี ง
ค. ๔ เสียง

๑๗. ค�ำในขอ้ ใดมเี สยี งวรรณยุกตเ์ ดียวกันทุกค�ำ
ก. ฉลาด เฉลียว ข. พยาธิ อากาศ
ค. ตลาด จรวด ง. หฤโหด คฤหาสน์

๑๘. ค�ำในขอ้ ใดมเี สยี งวรรณยุกตเ์ หมือนคำ� ว่า “กฎเกณฑ”์
ก. ศรทั ธา ข. รถยนต์
ค. ประโยชน ์ ง. เวทมนตร์

๑๙. “ขาน” ผนั วรรณยุกต์ไดก้ เ่ี สยี ง ข. ๓ เสียง
ก. ๒ เสยี ง ง. ๕ เสยี ง
ค. ๔ เสยี ง

๒๐. “จะปรากฏยศย่ิงสงิ่ ทั้งปวง” ไมม่ เี สยี งวรรณยกุ ต์ใดในขอ้ ความน้ี
ก. เสียงสามญั ข. เสยี งเอก
ค. เสยี งตรี ง. เสียงจัตวา

9

วรรณยกุ ต์

10

วรรณยกุ ต์

เสียงวรรณยุกตแ์ ละรูปวรรณยกุ ต์

วรรณยกุ ต์ประกอบดว้ ยเสยี งวรรณยุกต์และรูปวรรณยกุ ต์
เสียงวรรณยุกต์ หมายถึง ระดับสูงต�่ำของเสียงท่ีปรากฏในพยางค์หรือค�ำ และท�ำให้ค�ำ
มคี วามหมายแตกตา่ งกัน เสียงวรรณยุกตใ์ นภาษาไทยมี ๕ เสยี ง คอื สามัญ เอก โท ตรี จตั วา

การผนั วรรณยุกต์

การผันวรรณยุกต์ หมายถึง การเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ที่ประกอบด้วย
พยญั ชนะตน้ กบั สระ หรอื พยญั ชนะตน้ กบั สระและตวั สะกดอยา่ งเดยี วกนั ใสร่ ปู วรรณยกุ ตต์ า่ งกนั
ตามท่ีปรากฏเปน็ พยางคใ์ นภาษาไทยได ้ เชน่ คา ค่า ค้า หรือ คาง ค่าง คา้ ง
พยางคจ์ ะผนั วรรณยกุ ตใ์ ดได้ขนึ้ อยู่กับ

๑. หมูอ่ ักษรของพยญั ชนะต้น (อักษรกลาง อกั ษรสูง อักษรตำ�่ )
๒. ลักษณะพยางคท์ ีเ่ ป็น ค�ำเป็น หรือคำ� ตาย
๓. สระเสียงสนั้ หรือเสยี งยาวของพยางคท์ ่เี ปน็ ค�ำตาย
๔. รปู วรรณยุกต์

ขอ้ เสนอแนะในการสอนเรอื่ งวรรณยุกต์

๑. ควรอธิบายวา่ วรรณยกุ ตท์ ่ีใชม้ ากคือ – – วรรณยกุ ต ์ – – ใชน้ ้อย ส่วนใหญ่
มาจากคำ� เลียนเสยี งและคำ� ยมื จากภาษาจีน

๒. ฝึกผนั ค�ำท่ใี ช้บ่อยๆ ทงั้ ฝกึ ออกเสยี ง และฝกึ เขยี น เช่น
คะ นะ ยะ ละ (เสียงวรรณยุกตต์ ร)ี
คะ่ น่ะ ย่ะ ล่ะ (เสียงวรรณยุกตโ์ ท)

๓. คำ� ตายผนั ออกเสยี งยาก อาจเปน็ ปญั หาแกเ่ ดก็ อาจใชว้ ธิ จี ำ� โดยเฉพาะคำ� อกั ษรตำ�่ ทใ่ี ช้
อยูบ่ ่อยๆ เชน่ คะ ค่ะ แซบ่ เชิด เชติ้ โนต้ ฯลฯ

11

รูปวรรณยุกต์

รปู วรรณยกุ ตม์ ที ั้งหมด ๔ รูป ดงั นี้
ไม้เอก ไมโ้ ท ไมต้ รี ไมจ้ ตั วา
ไมเ้ อก ไม้โท
ไม้ตรี
ไมจ้ ัตวา

12

เสียงวรรณยกุ ต์


เสยี งวรรณยกุ ต์ มี ๕ เสียง ดังตอ่ ไปน้ี

เสยี งเอก เสยี งโท เสียงตรี

เสยี งสามญั เสียงจตั วา

เสยี งเอก เสยี งโท
เสยี งตรี

เสยี งจตั วา

เสียงสามัญ

13

อกั ษร ๓ หมู่

ไตรยางศห์ รอื อักษร ๓ หมู่ ไดแ้ ก่

อักษรสูง อกั ษรกลาง อกั ษรตำ่�
อักษรคู่ อกั ษรเดี่ยว

พนื้ เสยี ง คำ�เปน็ พ้นื เสยี ง คำ�เป็น พนื้ เสียงเปน็ เสียงสามัญ พืน้ เสยี งเป็นเสียง

คำ�ตายเปน็ เสยี งจตั วา คำ�ตายเปน็ เสยี งสามญั มีเสียงคูก่ บั อกั ษรสงู สามญั ไมม่ เี สียงคู่

มี ๑๑ ตัว ได้แก่ มี ๙ ตัว ไดแ้ ก่ มี ๑๔ ตวั จัดได้ ๗ คู่ กับอักษรสงู มี

ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ ไดแ้ ก่ ๑๐ ตัว ไดแ้ ก่

ส ห ค ฅ ฆ คู่กบั ข ฃ ง ญ ณ น ม ย

ช ฌ คูก่ บั ฉ ร ล ว ฬ

ซ คกู่ บั ศ ษ ส

ถ ฒ ฑ ธ คูก่ บั ฐ ถ

พ ภ คกู่ บั ผ

ฟ คูก่ บั ฝ

ฮ คู่กบั ห

14

การผันวรรณยุกตอ์ ักษรสงู ดว้ ยนว้ิ มือ ถ

อกั ษรสงู มี ๑๑ ตัว

ข ฃ ฉ ฐ

ผ ฝ ศ ษ

ห เสยี งเอก เสยี งโท เสียงตรี
เสยี งจตั วา
เสียงสามญั ข่า ขา้

ขา

15

การผนั วรรณยุกตอ์ กั ษรกลางดว้ ยน้วิ มือ

อกั ษรกลางมี ๙ ตวั จ ฎ ฏ



ด ต บ



เสยี งเอก เสียงโท เสียงตรี
จา๊ เสียงจัตวา
จ่า จ้า

เสียงสามญั จ๋า

จา

16

การผันวรรณยกุ ต์อักษรต�่ำดว้ ยน้วิ มือ

อักษรตำ�่ มี ๒๔ ตัว

ค ฅ ฆ ง ช ซ
ฌ ญ ฑ ฒ ฌ ท
ธ น พ ฟ ภ ม
ย ร ล ว ฬ ฮ

เสียงเอก เสยี งโท

คา่ เสียงตรี
คา้ เสียงจัตวา

เสียงสามญั

คา

17

การผนั วรรณยุกต์

อักษรสูง

คำ�เป็น ผันได้ ๓ เสียง จัตวา ขา ขง ขน ขม เขย ขาว
พน้ื เสยี งเปน็ เสยี ง เอก ข่า ข่ง ข่น ข่ม เข่ย ขา่ ว
ผันด้วยไม้ -่ เปน็ เสยี ง โท ขา้ ข้ง ข้น ขม้ เขย้ ข้าว
ผันดว้ ยไม้ - ้ เป็นเสียง

คำ�ตายผนั ได้ ๒ เสยี ง เอก ขะ ขก ขด ขบ ขาก
พ้ืนเสยี งเป็นเสยี ง โท ข้ะ ขก้ ขด้ ข้บ ขา้ ก
ผันด้วยไม้ -้ เปน็ เสยี ง


อกั ษรกลาง

คำ� เป็น ผันไดค้ รบ ๕ เสยี ง
พืน้ เสียงเปน็ เสยี งสามญั รูปและเสยี งตรงกัน

ตัวอยา่ ง กาน กา่ น กา้ น กา๊ น กา๋ น

คำ� ตาย ผันได้ ๔ เสียง
พืน้ เสียงเปน็ เสียงเอก รปู และเสยี งตรงกนั
ตัวอยา่ ง ตก ต้ก ต๊ก ต๋ก

18

อกั ษรต�่ำ

คำ�เปน็ ผันได้ ๓ เสียง คา คงั คนั คัม เคย คาว
พน้ื เสยี งเป็นเสยี งสามญั คา่ ค่งั คนั่ คั่ม เค่ย คา่ ว
ผนั ดว้ ยไม้ -่ เป็นเสยี งโท ค้า คง้ั คน้ั คั้ม เคย้ คา้ ว
ผันด้วยไม้ -้ เป็นเสยี งตร ี

คำ�ตาย ผันได้ ๒ แบบ
คำ�ตายสระเสียงส้นั พ้ืนเสยี งเป็นเสยี งตร ี คะ คัก คด คบ
ผนั ดว้ ยไม้ -่ เปน็ เสียงโท คะ่ ค่กั คด่ คบ่

คำ�ตายสระเสียงยาว พ้ืนเสียงเป็นเสยี งโท คาก คาด คาบ
ผันด้วยไม้ -้ เป็นเสียงตรี ค้าก ค้าด ค้าบ
ผนั ด้วยไม้ -๋ เปน็ เสยี งจตั วา ค๋าก ค๋าด ค๋าบ

19

หลกั ที่ ๑ ส�ำหรับเทยี บค�ำเป็น

๑๒๓๔๕๖
ก กง กน กม เกย กาว
ก่ ก่ง ก่น กม่ เก่ย ก่าว
ก้ ก้ง กน้ ก้ม เกย้ กา้ ว
ก๊ กง๊ กน๊ ก๊ม เก๊ย กา๊ ว
ก๋ ก๋ง ก๋น ก๋ม เก๋ย กา๋ ว

หลักที่ ๒ สำ� หรบั เทียบค�ำตาย

๑๒๓๔
กะ กก กด กบ
ก้ะ กก้ ก้ด กบ้
ก๊ะ ก๊ก ก๊ด ก๊บ
ก๋ะ กก๋ ก๋ด ก๋บ

20

คำ� เปน็ ค�ำตาย

ค�ำเปน็ คำ� ตาย หมายถงึ พยางคท์ ี่มีลกั ษณะอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ดงั นี้
คำ�เปน็ คำ�ตาย

๑. พยางคท์ ป่ี ระสมสระเสยี งยาว (ทฆี สระ) ๑. พยางคท์ ปี่ ระสมสระเสยี งสนั้ (รสั สระ)
ไมม่ พี ยัญชนะสะกด เช่น พ่อ คา้ เรอื ไม่มพี ยัญชนะสะกด เช่น ติ ปะ ผุ เละ
๒. พยางค์ท่ีมีพยัญชนะสะกดในแม่ กง กน ๒. พยางคท์ ี่มีพยัญชนะสะกดในแมก่ ก กด กบ

กม เกย เกอว หรอื พยางคท์ ่ี ประสม เชน่ ลกู คิด ติด กบั
สระอ�ำ ใอ ไอ เอา เช่น วาง เพลนิ ลม
คอย สาว ย�้ำ ใจ ไว้ เรา

หลกั การสังเกต นมยวง หลักการสงั เกต กบด

21

การผนั วรรณยกุ ต์

อ่านและพจิ ารณาการผนั อกั ษร กลาง สงู ต�ำ่ ทเ่ี ป็นค�ำเปน็ และคำ� ตาย

หมอู่ กั ษร/คำ� เสยี งวรรณยุกต์ จัตวา
สามญั เอก โท ตรี กา๋
อักษรกลาง ปา๋ ง
คำ�เปน็ กา กา ก่า ก้า กา๊ จะ๋
ปาง ปาง ป่าง ปา้ ง ป๊าง ป๋าด
คำ�ตาย จะ - จะ จะ้ จะ๊
ปาด - ปาด ปา้ ด ปา๊ ด ผา
ถาน
อักษรสงู - ผ่า ผา้ - -
คำ�เปน็ ผา - ถา่ น ถา้ น - -
ถาน - ฉุ ฉุ้ - -
คำ�ตาย ฉุ - ขาก ข้าก -
ขาก - ถาด ถ้าด - -
ถาด -
ชำ� - ชำ่� ช้ำ� คะ๋
อกั ษรต่ำ� ฟอน - ฟอ่ น ฟ้อน ค๋าก
คำ�เปน็ ชำ�
ฟอน - - คะ่ คะ
คำ�ตาย คะ - - คาก ค้าก
คาก

หมายเหต ุ ถา้ ตอ้ งการทราบว่า พยางค์หรือค�ำใดเปน็ เสียงวรรณยุกต์ใด ให้เทียบเสียงการผนั อักษรกลางเป็นหลัก

22

อา่ นและผันอักษรต�ำ่ คำ� เปน็ ให้ครบทกุ เสียง โดยใชอ้ กั ษรสูง หรืออกั ษรกลางชว่ ย

คำ� สามญั เอก เสยี งวรรณยกุ ต์ หมายเหตุ

โท ตรี จัตวา

ชา ชา ฉ่า ชา่ ช้า ฉา ใชอ้ ักษรสงู ฉ ช่วย
ย้า อย๋า ใชอ้ กั ษรกลาง อ ชว่ ย
ยา ยา อยา่ ฉา้ คา้ ย ขาย ใช้อกั ษรสูง ข ช่วย
ย่า ม้ัน หมนั ใช้อกั ษรสูง ห ชว่ ย

คาย คาย ขา่ ย อยา้
ค่าย

ขา้ ย
มนั มัน หมัน่ มั่น

หมัน้

23

มาตรา

24

มกาตงรา

อกั ษรกลาง

กาง จาง ดาง ตาง บาง
ปาง อาง

อักษรสูง

ขาง ฉาง ถาง ผาง ฝาง
สาง หาง

อักษรต่ำ�

คาง งาง ชาง ซาง ทาง
นาง พาง ฟาง ยาง ราง
ลาง วาง ฮาง

25

กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี ๑

ฝึกผนั วรรณยกุ ต์ (มาตรากง)
อ่านคำ� ทม่ี พี ยัญชนะต้น อักษรกลาง
อักษรต่�ำและอกั ษรสูง ผสมสระเสียงยาว

หมูอ่ ักษร คำ� สามัญ เอก วรรณยกุ ต์ ตรี จัตวา

กาง กาง* ก่าง โท กา๊ ง กา๋ ง
จา๊ ง จ๋าง
กลาง จาง จาง* จ่าง ก้าง บา๊ ง บ๋าง
จา้ ง - ขาง*
บาง บาง* บ่าง บ้าง - ฉาง*
ขาง - ขา่ ง ขา้ ง - หาง*
ฉา้ ง คา้ ง -
สงู ฉาง - ฉา่ ง ห้าง ย้าง -
ค่าง ว้าง -
หาง - ห่าง ย่าง
คาง คาง* - ว่าง

ต�ำ่ ยาง ยาง* -

วาง วาง* -

* พื้นเสียง คอื คำ� ทไ่ี ม่มรี ูปวรรณยกุ ต์กำ� กับ

26

กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ ๒

คำ� ชีแ้ จง ฝกึ ผันวรรณยุกต์และเลือกคำ� เตมิ ในช่องวา่ งให้ถูกตอ้ ง
๑. คณุ แม่………........มุ้งให้นอ้ งนอน
(กาง กา่ ง กา้ ง กา๊ ง ก๋าง)
๒. คุณแม่บอกให้ลกู ระวัง………….ปลาติดคอ
(กาง กา่ ง ก้าง กา๊ ง กา๋ ง)
๓. เด็กๆ เล่นลกู …......……….อย…ู่ ......………..บา้ น
(ขาง ข่าง ขา้ ง)
๔. คุณย่า…………อาหาร…………..ไว้บนโตะ๊
(วาง ว่าง วา้ ง)
๕. พอ่ ก�ำลัง……………กับการขนขา้ วใส…่ ………….จน…………………กดั ขา
(ยุง ยงุ่ ยุ้ง)

27

กิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ ๓

คำ� ชีแ้ จง เติมรูปวรรณยกุ ต์ใหถ้ กู ต้องตามระดบั เสยี ง

๑. กาง เอก โท ตรี จตั วา
เอก โท ตรี จัตวา
สามญั เอก โท ตรี จตั วา
เอก โท ตรี จัตวา
๒. จาง เอก โท ตรี จัตวา

สามัญ

๓. ฝงู

สามญั

๔. นอง

สามัญ

๕. โยง

สามญั

28

กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ ๔

คำ� ชีแ้ จง ฝกึ ผันวรรณยุกต์ และสังเกตคำ� (มาตรากง) และขดี เสน้ ใตค้ ำ� ให้ถกู ตอ้ ง
๑. แขง่ (วิง ว่งิ ว้ิง) ควาย
๒. ยาย (ปิง ปงิ่ ป้ิง ปงิ๊ ป๋งิ ) ปลา
๓. ตา (นงั นัง่ น้งั ) นิง่
๔. ลงิ (แยง แย่ง แย้ง) กล้วย
๕. สวย และ (เกง เก่ง เกง้ เกง๊ เก๋ง )

29

กิจกรรมการเรียนร้ทู ่ี ๕

ค�ำชแ้ี จง เลือกคำ� คล้องจองเตมิ ในชอ่ งวา่ งให้ถูกต้อง

ย่างก้าว โคลงเคลง โกงกาง เพลงซ้ึง ข้างโอ่ง
เก่งจรงิ กลองดงั ปงิ ปอง กางเกง โพงพาง

๑. วางโพงพาง ไว…้ ……................……………...
๒. เรอื ………................……………... เด็ก………................……………...
๓. เลน่ ………................……………... ตี………................……………...
๔. ป่า………................……………....... เดนิ ………................……………...
๕. น่งุ ………................……………... ฟัง………................……………...

30

กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ ๖

ค�ำชี้แจง เลอื กค�ำทใ่ี ชว้ รรณยกุ ตไ์ ดถ้ กู ตอ้ งเติมลงในช่องว่างใหเ้ หมาะสม

เกง เก่ง เก้ง เก๊ง เกง๋

๑. เด็ก………………. เร่งเรียนรู้
๒. ตอนเชา้ ตร ู่ น่ังรถ………………………..
๓. เลิกเรยี น เปลี่ยนกาง……………….
๔. ไปด…ู …………… ทเี่ ขาดนิ

มงุ มงุ่ มงุ้

๕. หลังคา …………….ดว้ ยจาก
๖. ยุงกดั มาก ไม่กาง………….
๗. จิตใจ ยังหมาย………………
เขา้ เมืองกรงุ งามรุ่งเรอื ง

หาง หา่ ง หา้ ง

๘. วันหยุด ไปเทย่ี ว……………………….
มีงานช้าง นา่ สนใจ
๙. เห็นชา้ ง ให้………………………..ไกล
๑๐. อย่าเหลวไหล ดึง……………..มัน

31

กิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ ๗

ค�ำช้ีแจง เขยี นคำ� ตามความหมาย

๑. คอื ของเหลว ไหลจากแผลของต้นไม้ ………………………………………

๒. คอื วธิ เี ลียนแบบไดใ้ ชเ้ ปน็ เย่ียง ………………………………………

๓. ทำ� ให้สุกดว้ ยไฟถ่านวางเคยี ง ………………………………………

๔. เครือ่ งประดับกายมคี า่ ยิง่ ………………………………………

๕. เขา้ ใจจริง ชดั เจนเด่นชัดแน่ ………………………………………

๖. อยากจำ� ไดใ้ ห้พูดบอ่ ยไม่ผันแปร ………………………………………

๗. ความเป็นแมต่ งั้ ครรภ์นัน้ เกา้ เดอื น ………………………………………

๘. อวัยวะส่วนล่างบนใบหน้า ………………………………………

๙. เป็นสัตว์ป่าหนา้ คล้ายลงิ โหนต้นไม ้ ………………………………………

๑๐. งานไม่ได้สะสางวางเป็นกอง ………………………………………

32

กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๘

คำ�ชีแ้ จง หาคำ�มาตรากงสองพยางค์มาเตมิ ในชอ่ งวา่ งให้เหมาะสมและไดใ้ จความ
ตัวอยา่ ง เราหลกี เลี่ยงอาหาร ….........…………… (ปง้ิ ย่าง)

๑. เดก็ ๆ บางคนชอบ………........………………ลูกทุ่งเสียงดัง
๒. คำ� พังเพยกล่าววา่ น้ำ� ท่วมทงุ่ ผักบ้งุ ………........………………
๓. ฝนไมต่ กนานมากท�ำให้พ้นื ทน่ี าบางแห่ง………........………………
๔. นกั เรียนกำ� ลัง………........………………กนั ในสนาม
๕. นอ้ งดู ลงิ คา่ ง ชา้ ง และ………........………………ในสวนสัตว์
๖. แตงกวาอยู่บา้ นหลงั ใหญ่คนเดียวท�ำให้รู้สกึ ………........………………
๗. การออกก�ำลังกายทำ� ให้ร่างกาย………........………………
๘. คนรปู ร่างสูงบางคนมกั เดนิ ………........………………
๙. คนจนใสเ่ สอ้ื ผา้ เก่าจนขาด………........………………
๑๐. เขามีความสามารถและขยันทำ� งานจนกจิ การเจรญิ ………........………………

33

กิจกรรมการเรียนร้ทู ี่ ๙

คำ�ชี้แจง หาคำ�มาตรากงจากบทรอ้ ยกรองมาใส่ลงในแกว้ เสียงวรรณยุกต์ใหถ้ ูกตอ้ ง

โอง่ อ่างนงั่ ชงิ ชา้ ต่างย้มิ ร่าสองพ่ีนอ้ ง
ลงุ ยอ่ งมาจ้องมอง ยินเสยี งร้องกึกก้องดงั

เสยี งสามัญ เสียงเอก

เสยี งโท

เสียงตรี เสียงจัตวา

34

กมมาตรา

กจิ กรรมการเรยี นรูท้ ี่ ๑

คำ� ชี้แจง อา่ นค�ำท่ีมตี วั สะกดมาตรากมตามเสียงวรรณยุกต์

อกั ษรกลาง จาม ดม ตูม บม๊ั
อม่ิ กรรม ออม เต็ม
แกม้ ดื่ม ตาม กลุม่ กลม
ป้อม เฉม่ิ ถาม ผม สมุ่
โดม ถม ห้าม สาม ขอม
หม่ สม้ ขุม เสียม
อักษรสูง งม ชาม ซ่อม ทมุ้
พมุ่ แฟ้ม มุม รม่
ขิม ยาม เค็ม เล็ม ชิม
หาม
หอม

อักษรต�่ำ

เค็ม
นิ่ม
ลอ้ ม

35

กจิ กรรมการเรียนรูท้ ี่ ๒

ค�ำชี้แจง ฝกึ ผนั วรรณยกุ ต์และเลอื กค�ำมาเตมิ ในชอ่ งว่างให้ถูกตอ้ ง

๑. ฉนั รบั ประทานอาหาร…………………..มาก (อมิ อ่ิม อ้ิม อม๊ิ อม๋ิ )
๒. คุณแม่เก็บขยะทีล่ อยมา………………ล�ำคลอง (ตาม ตา่ ม ตา้ ม ตา๊ ม ต๋าม)
๓. ฉันเหน็ ขโมยก�ำลัง…………………มองบ้านเศรษฐี (ดอม ด่อม ด้อม ด๊อม ด๋อม)
๔. นักเรียนต้งั ค�ำ……………………..จากเรือ่ งที่อ่าน (ถาม ถา่ ม ถ้าม)
๕. คณุ ครใู ห้การบ้าน……………………..ข้อ (สาม ส่าม สาม ส้าม)
๖. ……………………..เดินลดั สนาม (หาม หา่ ม หา้ ม)
๗. พีข่ องฉัน……………………..ฟตุ บอลทุกวัน (ซอม ซอ่ ม ซ้อม)
๘. ฉนั กาง……………………..กนั แดด (รม รม่ รม้ )
๙. คุณแม่……………………..ผมสีนำ้� ตาล (ยอม ยอ่ ม ย้อม)
๑๐. ครูสอนเรื่อง……………………..ฉาก (มมุ ม่มุ มุ้ม)

36

กิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ ๓

คำ� ชี้แจง ฝกึ อา่ นค�ำหรือพยางค์ทม่ี พี ยญั ชนะต้น อกั ษรตำ�่ และอกั ษรสูงผันวรรณยกุ ต์
มีพยญั ชนะมาตรากมสะกด

รปู โท ตรี จตั วา
เสยี ง สามัญ เอก

ซอ, สอ ซอม ส่อม ซ่อม, สอ้ ม ซ้อม สอม
ฮา, หา ฮาม ห่าม ฮา่ ม, หา้ ม ฮา้ ม หาม
เฮียม, เหยี ม เฮยี ม เห่ียม เฮ่ียม, เหี้ยม เฮย้ี ม เหียม
เพยี , เฝีย เฟียม เฝ่ยี ม เฟ่ียม, เฝี้ยม เฟีย้ ม เฝยี ม

37

กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ ๔

คำ� ชแ้ี จง ฝึกผนั วรรณยุกต์ และอ่านค�ำทีม่ พี ยญั ชนะตน้ อกั ษรกลาง อักษรสงู
และอักษรต�ำ่ ผสมสระเสยี งยาว

หมูอ่ กั ษร คำ� วรรณยกุ ต์ จัตวา
สามญั เอก โท ตรี

อกั ษรกลาง จาม จาม* จา่ ม จา้ ม จา๊ ม จ๋าม
ปอม ปอม* ป่อม ป้อม ปอ๊ ม ปอ๋ ม
แกม แกม* แก่ม แกม้ แก๊ม แกม๋
อกั ษรสงู ขาม - ข่าม ขา้ ม - ขาม*
เสียม - เสีย่ ม เสี้ยม - เสยี ม*
หาม - ห่าม หา้ ม - หาม*
อกั ษรต�่ำ ซอ่ ม ซอม* - ซอ่ ม ซอ้ ม -
ทุ้ม ทุม* - ทุ่ม ทมุ้ -
ล้อม ลอม* - ลอ่ ม ล้อม -

* พน้ื เสยี ง คือ คำ�ทไ่ี มม่ ีวรรณยุกตก์ ำ�กับ

38

กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี ๕

คำ� ชี้แจง นำ� คำ� ที่ก�ำหนดให้ใสใ่ นช่องใหต้ รงกบั เสียงวรรณยุกต์

เกม ขม กลา้ ม ม้าม ส่มุ หาม
ด่มื ชุ่ม เอ้อื ม ย้มิ เรมิ่ เสรมิ
ยอม ซ้อม ปลอม ขาม เทอม เสียม
คลุม กล่มุ ห่ม หอม ยอ้ ม หลุม

สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

39

กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ ๖

คำ� ช้แี จง เขยี นค�ำมาตรากมใหต้ รงกบั เสยี งวรรณยกุ ต์

สำ� นวน สามัญ วรรณยกุ ต์ จัตวา
เอก โท ตรี
น้ำ� ท่วมปาก
ดาบสองคม
คนดผี คี ุม้
อัฐยายซอ้ื ขนมยาย
ฝนทั่งให้เป็นเข็ม
ไฟสุมขอน
หวานนอกขมใน
หนามยอกอก
เหยียบเรือสองแคม
ไมง้ ามกระรอกเจาะ

40

กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ ๗

ค�ำชีแ้ จง เติมรปู วรรณยกุ ตค์ �ำทขี่ าดหายไปให้สมบรู ณ์
แลว้ บอกเสยี งวรรณยกุ ต์ให้ถกู ตอ้ ง

เสยี งวรรณยุกต์

๑. ยมิ แยม ………………………. ……………………….
๒. แกมอิม ………………………. ……………………….
๓. งุมงาม ………………………. ……………………….
๔. จมิ ลมิ ………………………. ……………………….
๕. นมุ นมิ ………………………. ……………………….
๖. ซอมแซม ………………………. ……………………….
๗. หอมลอม ………………………. ……………………….
๘. ตอมแตม ………………………. ……………………….
๙. รมุ ราม ………………………. ……………………….
๑๐. ซมุ ซาม ………………………. ……………………….

41

กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ ๘

ค�ำชแี้ จง ให้นกั เรยี นน�ำค�ำมาตรากมเติมในกาพย์ยานี ๑๑ ใหถ้ ูกตอ้ ง



สง่ั สม ชมรม นิยาม ทำ�ตาม
บา้ นเรามี (๑)……………… เพื่อ (๒)………………ความดงี าม
ผูค้ นพร้อม (๓)………………………
คำ� (๔)…………………คือรวมตัว

๒ อารมณ์ พวงแก้ม
เต็ม (๒) …………บอกไมตรี
ย้ิมแยม้ ช่ืนชม ต่างชาตนิ แี้ สน (๔)…………..
คนไทยหนา้ (๑)…………………
หัวเราะ (๓) …………………..ด ี



ขมข่ืน ตรอมตรม ร่นื รมย์ รกั ขม
อกหักเพราะ (๑)…………….. แสน (๒)………….ในหวั ใจ
(๓)………….ไปทำ�ไม พาชีวติ ไม่ (๔)……………..

42

กจิ กรรมการเรียนร้ทู ี่ ๙

คำ� ชีแ้ จง ให้เตมิ เสยี งวรรณยุกต์หลงั ช่ือดอกไม้ให้ถูกตอ้ ง

เสยี ง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

๑. ดอกพวงคราม ………………………………..
๒. ดอกพยอม ………………………………..
๓. ดอกนางแย้ม ………………………………..
๔. ดอกล่นั ทม ………………………………..
๕. ดอกพวงชมพ ู ………………………………..
๖. ดอกก้ามป ู ………………………………..
๗. ดอกเขม็ ………………………………..
๘. ดอกปทมุ มา ………………………………..
๙. ดอกชมนาด ………………………………..
๑๐. ดอกชวนชม ………………………………..

43

กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี ๑๐

คำ� ช้แี จง อ่านบทรอ้ ยกรองต่อไปนี้แลว้ เติมคำ� มาตรากมทมี่ เี สยี งวรรณยกุ ต์ใหเ้ หมาะสม

๑. เลน่ กีฬาทา้ ทายได้ออ่ นช้อย (…………………………)
๒. มองเหน็ รอยบนใบหน้าพาสขุ สนั ต์ (…………………………)
๓. รู้ประหยัด หดั สะสม เงนิ ทรพั ย์สิน (…………………………)
๔. เรยี กอาหารการกินชาวอีสาน (…………………………)
๕. เดินทางคด ลดเล้ยี ว ไปเน่นิ นาน (…………………………)
๖. ผรู้ กั ษาความปลอดภัยให้ทกุ ที่ (…………………………)
๗. คนใชด้ ี ใสข่ อง ตอ้ งมสี าย (…………………………)
๘. เกียรตยิ ศอยา่ ดถู กู ท้งั หญงิ ชาย (…………………………)
๙. เรียกความสวยด้วยหนา้ ตาพาหลงใหล (…………………………)
๑๐. เรยี กกิ่งไมม้ กี ารแยกแตกเปน็ สอง (…………………………)

44

กจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ ๑๑

ค�ำชีแ้ จง เติมค�ำให้ถกู ตอ้ งตามหลกั การผนั วรรณยุกต์

๑. วันนีม้ ี……………..พดั แรงจนเรอื ……………..ฉันจึงหก……………..บนเรือใหญ่
(ลม ล่ม ล้ม)
๒. คุณพอ่ ……………..ตามใจเพราะคณุ แม่…………………เหนือกวา่ เสมอ
(ยอม ย่อม ย้อม)
๓. แมลงวันบนิ มา………………… ………………….น้ำ� เหลืองทีข่ าของนอ้ ง
(ตอม ต่อม ตอ้ ม ต๊อม ต๋อม)
๔. ร้านน้�ำ……………..ร้านน้ขี ายดีมากมผี คู้ นมา………………ลอ้ มแยง่ กนั ซือ้
(หอม หอ่ ม หอ้ ม)
๕. ฉนั เหน็ …………….สะพาย………………สีสนั สวยงามมาก
(ยาม ยา่ ม ยา้ ม)
๖. กะ………………..เป็นชอ่ื ของกิ้งก่าบางสายพนั ธ์ุมีล�ำตัว…………………ส้ัน
(ปอม ปอ่ ม ปอ้ ม ป๊อม ปอ๋ ม)
๗. คณุ ครแู บ่ง……………….ให้ทำ� งาน ฉนั ………………..ใจได้เพ่ือนทไ่ี มช่ ่วยกนั ทำ�
(กลุม กลุม่ กลมุ้ กลุม๊ กลุ๋ม)
๘. นา้ ………………พาฉนั ไปรบั ประทานจ้มิ ……………….
(จุม จุม่ จ้มุ จมุ๊ จมุ๋ )
๙. พ่ีของฉัน……………….ร้วั ไปเกบ็ มะ………………..ทีห่ ลน่ จากต้น
(ขาม ข่าม ขา้ ม
๑๐. ป้า……………..น่ังขาย……………..เขยี วหวานอย่ใู นตลาด
(สม ส่ม ส้ม)

45

กนมาตรา

อ่านค�ำหรือพยางค์ที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางพื้นเสียงเป็นสามัญ ผันได้ครบท้ัง
๕ เสียง คือ ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท ผันด้วย
วรรณยกุ ต์ตรีเป็นเสียงตรี ผันดว้ ยวรรณยุกตจ์ ตั วาเป็นเสียงจัตวา เช่น

หมอู่ กั ษร สามญั วรรณยุกต์ จตั วา
กลาง กาน* เอก โท ตรี กา๋ น
(คำ� เปน็ ) แบน* กา่ น กา้ น กา๊ น แบ๋น
ปีน* แบน่ แบน่ แบ๊น ปน๋ี
ปนี่ ปีน้ ปีน๊

อ่านค�ำหรอื พยางค์ท่มี พี ยัญชนะตน้ เปน็ อักษรสูง ผันวรรณยกุ ตไ์ ด้ ๓ เสียง พ้นื เสียงเป็น
เสยี งจตั วา ผันดว้ ยวรรณยุกต์เอกเป็นเสยี งเอก ผันด้วยวรรณยุกตโ์ ทเปน็ เสยี งโท

หมอู่ กั ษร วรรณยกุ ต์
สงู
สามัญ เอก โท ตรี จัตวา
(คำ�เป็น) - ขาน*
- ข่าน ขา้ น - ผนื *
- ผ่ืน ผืน้ - สอน*
ส่อน ส้อน -

46

อา่ นคำ� หรอื พยางคท์ ่มี พี ยญั ชนะต้นเปน็ อักษรต่ำ� ผันวรรณยุกต์ได้ ๓ เสียง พน้ื เสยี งเป็น
เสยี งสามัญ ผันดว้ ยวรรณยกุ ตเ์ อกเป็นเสยี งโท ผันด้วยวรรณยุกตโ์ ทเป็นเสียงตรี

หมู่อักษร สามญั วรรณยุกต์ จัตวา
ต่�ำ งาน* เอก โท ตรี -
นอน* - งา่ น งา้ น -
(คำ�เป็น) ริน* - นอ่ น น้อน -
- รนิ่ ร้ิน

* พน้ื เสยี ง คือ คำ�ทไ่ี มม่ ีรูปวรรณยุกต์กำ�กบั

กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ ๑

คำ� ชแ้ี จง ฝึกอา่ นค�ำทมี่ ี น สะกด

ตืน่ เต้น เล่นล้ิน ถ่านหนิ ดนิ ปืน
ตา้ นทาน วานซนื เสน้ ตืน้ งอ่ นแง่น
ลานบิน ล่อนจ้อน กินนอน อ้อนแอน้
เวยี นเทยี น ดินแดน ขุนแผน อ่อนโยน

เด่นเดือนเพือ่ นวุน้ เสน้ จนี นอนเลน่ เนน้ เขยี นอา่ น
ต่นุ แตนแสนงนุ่ งา่ น งอนจนุ้ จา้ นร่อนจานบนิ

ล้านเล่ียนเหยี้ นเตยี นโลน้ ก่อนเผ่นโผนโยนก้อนหนิ
ออ้ นแอน้ แขนเป้ือนดิน ยนื เอนโอนโดนเพ่อื นงอน
บานชน่ื ต่ืนเพน่ พ่าน มนึ เมน่ หา่ นกินถา่ นก้อน
ขนุ เขื่อนขึ้นเรือนนอน ร้อนแร้นแคน้ แดนดินดาน

ชมพร เพชรอนนั ตก์ ลุ

47

กจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ ๒

คำ� ช้แี จง หาค�ำมาตรากน ที่มเี สียงวรรณยกุ ตท์ ก่ี ำ� หนด ๒ คำ�

เสยี งสามัญ ๑…………………..

๒.…………….……

เสยี งเอก ๓………………….

๔…………………

เสียงโท ๕………………….

๖…………………

เสยี งตร ี ๗………………….

๘…………………..

เสียงจตั วา ๙………………….

๑๐ ………………

48

กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี ๓

ตอนที่ ๑

คำ� ช้ีแจง ให้นกั เรยี นใสว่ รรณยกุ ตบ์ นค�ำท่ขี ดี เส้นใต้ใหถ้ กู ตอ้ ง

๑. นกขมินเป็นนกท่ีมขี นสเี หลือง

๒. งขู ยอนหนูทก่ี นิ เขา้ ไป

๓. ช้างรอ้ งเสียงดังแปรน แปรน

๔. นอ้ งอรพูดออนโยน ชอบทำ� เสยี งออนหวานเหมอื นเดก็ ขอี้ อน

๕. พ่อซื้อออ้ ยควนั และมีดควานมาจากตลาด

ตอนที่ ๒

คำ� ช้แี จง เลอื กค�ำในวงเลบ็ เติมลงในช่องวา่ งให้ได้ใจความ

๖. ชาวนา…………เมล็ดข้าวเพื่อเพาะกลา้ ลงในนา (หวาน หวา่ น หวา้ น)
๗. ตก๊ั แตนเป็นคนขยัน……………….เพยี ร (หมัน หม่นั หมนั้ )
๘. ทกุ คนควรช่วยกันตอ่ ………………คนทุจริต (ตาน ตา่ น ต้าน ต๊าน ตา๋ น)
๙. บ้านเมอื งไม่……………..วาย ถา้ คนในชาติสามัคคี (วุน วุ่น ว้นุ )
๑๐. คุณลุงปว่ ยเปน็ โรคดี……………. (ซาน ซ่าน ซ้าน)

49

กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี ๔

คำ� ช้ีแจง ฝกึ อ่านคำ� หรอื พยางค์ที่มพี ยัญชนะต้นเป็นอักษรตำ่� และอักษรสูง

ฮา, หา ฮาน หา่ น ฮ่าน, ห้าน ฮา้ น หาน
คึ, ข ึ คึน ขึ่น ค่นึ , ข้ึน ค้นึ ขนึ
ชอื , ฉือ ชน่ื ฉน่ื ชื่น, ฉื้น ชื้น ฉืน
เซ, เส เซน เส่น เซ่น, เส้น เซ้น เสน
โพ, โผ โพน โผ่น โพ่น, โผน้ โพ้น โผน
รอ รอน หรอ่ น รอ่ น, หรอ้ น รอ้ น หรอน
ว ุ วุน หวุน่ วุ่น, หวุ้น วนุ้ หวนุ

50


Click to View FlipBook Version