หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กล ุ ่ มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 2
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 หลักการของหลักสูตร 1. เป็นหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหลังสำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือ เทียบเท่า หรือมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ซึ่งเป็นการจัดการศึกษาด้านวิชาชีพและยกระดับ การ ศึกษาวิชาชีพของบุคคลให้สูงขึ้น สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแผนการศึกษา แห่ง ชาติเป็นไปตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียนหรือกรอบคุณวุฒอิื่นในระดับสากล มาตรฐานการศึกษาของชาติและกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติโดยเน้นการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ เพื่อพัฒนาสมรรถนะกำลังคนระดับเทคนิค รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพและกิจนิสัย ท ี่ เหมาะสมในการทำงาน ใหส้อดคล้องกับความต้องการกำลังคนของตลาดแรงงาน ชุมชน สังคม และการ พัฒนาประเทศ รวมทั้งประกอบอาชีพอิสระได้ 2. เป็นหลักสูตรท ี่ เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้หลายรูปแบบตามศักยภาพและโอกาสของผู้เรียน เน้นสมรรถนะ เฉพาะด้านในระดับเทคนิคด้วยการปฏิบัติจริง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถยกเว้นการเรียนรายวิชา โดยการ โอนผลการเรียน การเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรแู้ละประสบการณ์การเทียบโอน ผลลัพธ์ การเรียนรู้การเทียบโอนประสบการณ์ของบุคคล การเทียบโอนสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐาน อาชีพ กรอบ คุณวุฒิแห่งชาติและกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน มาตรฐานอาชีพระดับสากลเข้าสู่หน่วยกิ ตตามหลักสูตร ตามหลักเกณฑ์แนวปฏิบัติและวิธีการท ี่ คณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด 3. เป็น หลักสูตรท ี่ ส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือในการจัดการศึกษาและพัฒนาวิชาชีพร่วมกันระหว่าง สถาบัน การอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษากับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน องค์กรวิชาชีพ ทั้งใน และต่าง ประเทศ 4. เป็นหลักสูตรท ี่ เปิดโอกาสให้สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษา สถานประกอบการ ชุมชน และท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรให้ตรงตามความต้องการในการทำงานและการประกอบอาชีพ โดยยึดโยงกับมาตรฐานอาชีพ และสอดคล้องกับบริบทเชิงพื้นท ี่ ประเทศ และสังคมโลก เพื่อสร้าง ความ สามารถในการแข่งขัน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 3
จุดหมายของหลักสูตร 1. เพื่อใหม้ ีพฤติกรรมหรือการกระทำระดับบุคคลท ี่ สะท้อนถึงบุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย และค่านิยมท ี่ สะท้อน คุณลักษณะเฉพาะศาสตร์วิชาชีพ และสถาบัน มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจ นิสัยท ี่ ดีภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาตไิทย เคารพกฎหมายเคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบตาม บทบาทหน้าท ี่ ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ปฏิบัติตนตาม แบบแผน หรือข้อบังคับท ี่ สอดคล้องกับมาตรฐานในการปฏิบัตทิี่ ดีของคนใน สังคม มีจิตสาธารณะ จิตสำนึก รักษส์ ิ่งแวดล้อม และการดำรงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยพัฒนาผ่านการเรียนรู้และ การฝึกประสบการณ์ตามหลักสูตร 2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจทางทฤษฎีและเทคนิคเชิงลึกภายใต้ขอบเขตของงานอาชีพรวมทั้งใน ระดับทเ ี่ ชื่อม โยงกับการทำงาน 3. เพื่อใหม้ ีทักษะในการปรับใช้กระบวนการปฏิบัติงานให้เหมาะสม ทักษะด้านความปลอดภัยท ี่ เชื่อมโยงกัน ใน การทำงานท ี่ หลากหลาย ทักษะทางเทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะการคิดวิเคราะห์ และการแก้ปัญหา ทักษะในการวางแผน การบริหารจัดการการประสานงาน การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และ การสื่อสาร และการประเมินผลในการปฏิบัติงานด้วยตนเอง 4. เพื่อใหส้ามารถในการปฏิบัติงานตามแบบแผน และปรับตัวภายใต้ความเปลี่ยนแปลง การพัฒนานวัตกรรม ตามสายอาชีพสามารถแกป้ ัญหาท ี่ไม่คุ้นเคยหรือซับซ้อนและเป็นนามธรรมเป็นบางครั้ง 5. เพื่อให้ตระหนักและ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม มีความรักชาติสำนึกในความเป็นไทย เสียสละเพื่อส่วนรวม ธำรงรักษาไว้ซึ่งความมั่นคงของชาติศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ให้ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 4
หลักเกณฑ ์ การใช ้ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 1.การจัดการเรียนรู้ 1.1 หลักสูตรน ี้ ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนเรียนได้ทุกวิธีเรียนท ี่ กำหนด และนำผลการเรียนแต่ละวิธีมา ประเมินผลร่วมกันได้สามารถขอยกเว้นการเรียนรายวิชาโดยการโอนผลการเรียน การเทียบโอน ผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์การเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรู้การเทียบโอน ประสบการณ์ของบุคคล การเทียบโอนสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ กรอบคุณวุฒิแห่งชาติและกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน มาตรฐานอาชีพระดับสากลเข้าสู่หน่วยกิตตามหลักสูตร ตามหลักเกณฑ์แนวปฏิบัตแิละวิธีการท ี่ คณะกรรมการ การอาชีวศึกษากำหนด 1.2 การจัดการเรียนรู้เน้นการปฏิบัติจริงเพื่อพัฒนาสมรรถนะเฉพาะด้านในระดับเทคนิค สามารถ จัดการเรียนการสอนได้ด้วยรูปแบบและวิธีการท ี่ หลากหลาย โดยเน้นการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติทส ี่ อดคล้องกับ สาขาวิชาทเ ี่ รียน และสามารถเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้จากวิธีการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้เพื่อใหผู้้เรียนมี คุณลักษณะ สมรรถนะในการทำงาน และการประกอบอาชีพตามจุดหมาย หลักการ ของหลักสูตร และระดับ คุณวุฒิของแต่ละประเภทวิชาหรือกลุ่มอาชีพและสาขาวิชา 2. การจัดการศึกษาและเวลาเรียน 2.1 การจัดการศึกษาโดยรูปแบบการศึกษาในระบบ และรูปแบบการศึกษาระบบทวิภาคใีห้ใช้ระบบ ทวิภาค โดยกำหนดให้1 ปีการศึกษาแบ่งเป็น 2 ภาคเรียน และใน 1 ภาคเรียน มีระยะเวลาจัด การศึกษาไม่ น้อยกว่า 15 สัปดาห์หรือเทียบเคียงได้ไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ 2.2 หากไม่เป็นไปตามข้อ 2.1 สถาบันหรือสถานศึกษาจะต้องแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ ระบบการ ศึกษานั้นให้ชัดเจน ประกอบด้วยการแบ่งภาคเรียน ระยะเวลาการศึกษาในแต่ละภาคเรียน การคิดหน่วยกิต รายวิชา การเทียบเคียงหน่วยกิต รายวิชาภาคทฤษฎีและรายวิชาภาคปฏิบัติการ ฝึกประสบการณ์สมรรถนะ วิชาชีพหรือการฝึกอาชีพ หรือการฝึกภาคสนาม การทำโครงงานพัฒนาสมรรถนะ วิชาชีพหรือกิจกรรมอื่นใดท ี่ เสริมสร้างการเรียนรู้ให้มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับระบบการจัดการศึกษา โดยได้รับความเห็นชอบจาก สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 3. การคิดหน่วยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ให้มีจำนวนหน่วยกิตรวมระหว่าง 80 - 90 หน่วยกิต การคิด หน่วยกิต ดังน ี้ 3.1 รายวิชาทฤษฎีท ี่ใช้เวลาในการบรรยายหรืออภิปราย 15 ชั่วโมงต่อภาคเรียนมีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 5
3.2 รายวิชาปฏิบัติท ี่ใชเ้วลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัตใินห้องปฏิบัติการ 30 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มี ค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.3 รายวิชาปฏิบัติท ี่ใชเ้วลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม 45 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่า เท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.4 การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคีท ี่ใชเ้วลาไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคเรียนมีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.5 การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ ท ี่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 80 ชั่วโมง ต่อ ภาคเรียน มคี่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.6 การทำโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ทใี่ ช้เวลาไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.7 กิจกรรมการเรียนรอู้ื่นใดทส ี่ ร้างการเรียนรู้นอกเหนือจากรูปแบบท ี่ กำหนดข้างต้น การนับระยะ เวลาในการทำกิจกรรมนั้นต่อภาคเรียนปกติให้มคี่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ใหเ้ป็นไปตามท ี่ สถานศึกษากำหนด ในกรณีทส ี่ ถาบันใช้ระยะเวลาการจัดการศึกษามากกว่า 15 สัปดาห์ให้นับระยะเวลาการจัดการศึกษา และการคิดหน่วยกิตรายวิชาเทียบเคียง ตามข้อ 3.1 – 3.7 โดยใหส้ภาสถาบันดังกล่าวเป็นผู้กำหนด ทั้งน ี้ การ คิดหน่วยกิตให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 4. โครงสร้างหลักสูตร โครงสร้างของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 แบ่งเป็น 3 หมวดวิชา และ กิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังน ี้ 4.1 หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต 4.1.1 กลุ่มสมรรถนะภาษาและการสื่อสาร 4.1.2 กลุ่มสมรรถนะการคิดและการแก้ปัญหา 4.1.3 กลุ่มสมรรถนะทางสังคมและการดำรงชีวิต การจัดวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง สามารถทำได้ในลักษณะเป็นรายวิชาหรือลักษณะบูรณา การให้ครอบคลุมกลุ่มสมรรถนะภาษาและการสื่อสาร กลุ่มสมรรถนะการคิดและการแก้ปัญหา กลุ่มสมรรถนะ ทางสังคมและการดำรงชีวิต ในสัดส่วนท ี่ เหมาะสมตามกลุ่มอาชีพและสาขาวิชา 4.2 หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต 4.2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 4.2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ กำหนดให้มีการฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้และประสบการณ์ สมรรถนะวิชาชีพ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรจู้ากประสบการณ์จริง เพื่อสร้างความมั่นใจและเจตคติท ี่ ดีใน การทำงานและการประกอบอาชีพจากสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียนปกติรวมทั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 6
กำหนดให้มีการจัดทำโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ เพื่อเป็นการบูรณาการความรู้และประสบการณ์ท ี่ได้ เรียนรู้จัดทำโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพในลักษณะงานบุคคลหรืองานกลุ่มท ี่ สอดคล้องกับงานอาชีพ ไม่ น้อยกว่า 216 ชั่วโมงจำนวน 4 หน่วยกิต การจัดรายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ โดยในการกำหนดใหเ้ป็นสาขาวิชาใด ต้องมจีำนวน หน่วยกิตของกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐานและกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ รวมไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 4.3 หมวดวิชาเลือกเสรีให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และให้มจีำนวน หน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกิต 4.4 กิจกรรมเสริมหลักสูตร อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมงทุกภาคเรียน หรือไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อ ภาคเรียน 5. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 5.1 สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาต้องส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรม เพื่อ ส่งเสริมให้เกิดการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัยปลูกฝังจิตสำนึกและจิตอาสา เสริมสร้าง การเป็นพลเมืองไทยและพลโลกในด้านการรักชาติเทิดทูนพระมหากษัตริย์ส่งเสริมการปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทะนุบำรุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย อนุรักษส์ ิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการกีฬาและนันทนาการ ส่งเสริมการดำรงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอ เพียง โดยผเู้รียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ทุกภาคเรียน หรือไมน่ ้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคเรียน 5.2 ผู้เรียนท ี่ อยู่ในช่วงฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพหรือฝึกอาชีพในสถานประกอบการให้เข้าร่วม กิจกรรมเสริมหลักสูตรในสถานประกอบการ 5.3 การประเมินผลกิจกรรมเสริมหลักสูตร ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการ จัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 6. การปรับพื้นฐานวิชาชีพ 6.1 สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาต้องจัดให้ผู้เข้าเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงท ี่ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และผเู้ข้าเรียนท ี่ สำเร็จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ต่างประเภทวิชา กลุ่มอาชีพ และสาขาวิชาท ี่ กำหนด เรียน รายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพท ี่ กำหนดไว้ในหลักสูตร แต่ละประเภทวิชา สาขาวิชา เพื่อใหม้ ีความรู้และทักษะ พื้นฐานท ี่ จำเป็นสำหรับการเรียนในสาขาวิชานั้น 6.2 การจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลการเรียนรายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพ ให้เป็นไป ตาม ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 7
6.3 กรณีผเู้ข้าเรียนทม ี่ ีความรู้และประสบการณ์ในรายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพท ี่ หลักสูตรกำหนด มา ก่อนเข้าเรียน สามารถขอยกเว้นการเรียนรายวิชา โดยการโอนผลการเรียน การเทียบโอนผลการเรียน การ เทียบโอนความรู้และประสบการณ์การเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรู้การเทียบโอนประสบการณ์ของบุคคล การ เทียบโอนสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ กรอบคุณวุฒิแห่งชาติและกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน มาตรฐานอาชีพระดับสากลเข้าสู่หน่วยกิตตามหลักสูตร ตามหลักเกณฑแ์นวปฏิบัติและวิธีการทค ี่ ณะกรรมการ การอาชีวศึกษากำหนด และตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผล การ เรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 7. การจัดแผนการเรียน การจัดแผนการเรียนเป็นการกำหนดรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตรในแต่ละภาคเรียน ขึ้นอยู่กับ ลักษณะหรือกระบวนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสาขาวิชา โดยจัดอัตราส่วนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อ ภาคปฏิบัติในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ประมาณ 40: 60 และพิจารณาจากผลลัพธ์การเรียนรรู้ายปีท ี่ กำหนด ไว้ในหลักสูตร ดังน ี้ 7.1 ให้จัดแผนการเรียนในภาคเรียนปกติสำหรับการลงทะเบียนเรียน ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 22 หน่วยกิต ในแต่ละภาคเรียนปกติสำหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต สำหรับการลงทะเบียนเรียนภาคปกตแิต่ไมเ่ต็มเวลาหรือภาคเรียนฤดูร้อน 7.2 จัดรายวิชาในแต่ละภาคเรียน คำนึงถึงผลลัพธ์การเรียนรรู้ายปีทก ี่ ำหนดไว้ในหลักสูตร รายวิชา ท ี่ ต้องเรียนตามลำดับก่อนและหลัง ความง่ายและยาก ความต่อเนื่องและความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันของรายวิชา รวมทั้งรายวิชาท ี่ สามารถบูรณาการจัดการเรียนรรู้่วมกันในลักษณะของงาน โครงงานและหรือชิ้นงานในแต่ละ ภาคเรียน 7.3 จัดรายวิชาให้ครบถ้วนทุกหมวดวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร 7.4 จัดรายวิชาในหมวดวิชาเลือกเสรีใหผู้้เรียนได้เลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ โดยเปิด โอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 7.5 การฝึกอาชีพในการ ศึกษาระบบทวิภาคีและการฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ ในสถานประกอบการ ให้สถาบันการอาชีวศึกษา และสถานศึกษาอาชีวศึกษากำหนดรายวิชาท ี่ ตรงกับลักษณะ งานของสถานประกอบการ เพื่อนำไปเรียนหรือฝึก ในภาคเรียนท ี่ฝึกอาชีพหรือฝึกประสบการณ์สมรรถนะ วิชาชีพ ตามเงื่อนไขของหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ 7.6 จัดรายวิชาโครงงาน จำนวน 4 หน่วยกิต (12 ชั่วโมงต่อสัปดาห์หรือ 180 ชั่วโมงต่อภาคเรียน) ให้ เป็นไปตามเงื่อนไขของหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ โดยกำหนดสัดส่วน ดังน ี้ 1) การจัดทำโครงงานสมรรถนะวิชาชีพ ให้นักศึกษา เรียนในชั้นเรียน จำนวน 4 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์หรือ 60 ชั่วโมงต่อภาคเรียน 2) ให้เรียนรู้ด้วยตนเอง จำนวน 8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์หรือ 120 ชั่วโมงต่อภาคเรียน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 8
3) หากจัดให้เรียนรายวิชาโครงงาน 2 หน่วยกิต คือ โครงงาน 1 และโครงงาน 2 ให้สถานศึกษา อาชีวศึกษา หรือสถาบันจัดให้มีชั่วโมงเรียนต่อสัปดาห์ท ี่ เทียบเคียงกับเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น 7.7 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ในแต่ละภาคเรียน อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมงทุกภาคเรียน หรือไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคเรียน 7.8 การจัดแผนการเรียนของสถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาให้เป็นไป ตาม โครงสร้างหลักสูตร ทั้งน ี้ หากสถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษามีเหตุผลและความจำเป็น ใน การจัดหน่วยกิตและเวลาในการจัดการเรียนการสอนแต่ละภาคเรียนท ี่ แตกต่างไปจากเกณฑข์ ้างต้น อาจทำได้ แต่ต้องไม่กระทบต่อมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา โดยให้คำนึงถึงความสมดุลของจำนวนหน่วยกิต และชั่วโมง รวมตามแผนการเรียนของสถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาเป็นสำคัญ 8. การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษา สามารถนำรายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ไปกำหนดรายละเอียดการฝึกอาชีพร่วมกับสถานประกอบการ โดยจัดทำแผนการฝึกอาชีพ การวัด และประเมิน ผลในแต่ละรายวิชาร่วมกับสถานประกอบการ เพื่อนำไปใช้ในการฝึกอาชีพ การวัดและประเมินผล เป็นรายวิชา ทั้งน ี้ให้เป็นไปตามมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีทค ี่ ณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนด หากรายวิชาในหมวดสมรรถนะวิชาชีพไม่สอดคล้องกับลักษณะงานของสถานประกอบการ สามารถ พัฒนารายวิชาเพิ่มเติมได้ตามเงื่อนไขของหลักสูตร โดยต้องพัฒนาร่วมกับสถานประกอบการ และรายงานให้ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทราบ 9. การเข้าเรียน 9.1 ผู้เรียนต้องสำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า หรือระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า 9.2 ผู้ท ี่ ยังไมส่ ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า หรือระดับมัธยมศึกษา ตอน ปลายหรือเทียบเท่าให้อยู่ในสถานะผเู้ข้าเรียน 10. การประเมินผลการเรียน การประเมินผลการเรียนเน้นการประเมินผลตามสภ าพ จริงและเป็นไป ตามระเบียบ กระทรวง ศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง 11. การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 11.1 ไดร้ายวิชาและจำนวนหน่วยกิตสะสมในทุกหมวดวิชาครบถ้วนตามท ี่ กำหนดไว้ในหลักสูตร แต่ละประเภทวิชา กลุ่มอาชีพ และสาขาวิชาและตามแผนการเรียนท ี่ สถานศึกษากำหนด หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 9 11.2 ไดค้ ่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน 11.3 ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพท ี่ ยึดโยงกับผลลัพธ์การเรียนรตู้ามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือผ่านเกณฑ์การประเมินตามมาตรฐานท ี่ สอดคล้อง กับมาตรฐานอาชีพ ขององค์กรรับรองในประเทศหรือสากล 11.4 ไดเ้ข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามแผนการเรียนท ี่ สถานศึกษากำหนด และ "ผ่าน" ทุก ภาคเรียน 11.5 ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงต้องสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ หรือเทียบเท่าหรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาท ี่ใช้ระบบการวัดผลและการสำเร็จการศึกษา ทแ ี่ ตกต่าง จากน ี้ จะต้องกำหนดให้มีค่าเทียบเคียงกันได้ 12. การพัฒนารายวิชาในหลักสูตร 12.1 สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาสามารถพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมได้ตาม เงื่อนไขท ี่ หลักสูตรกำหนด โดยต้องพัฒนาร่วมกับสถานประกอบการ องค์กรวิชาชีพ ภาคีเครือข่าย ท ี่ เกี่ยวข้อง และรายงานให้สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทราบ 12.2 การพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์สาขาวิชาหรือมาตรฐานการศึกษา วิชาชีพของสาขาวิชา โดยสถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดำเนินการดังน ี้ 1) หมวดวิชา สมรรถนะแกนกลาง สามารถพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมในแต่ละกลุ่มสมรรถนะ เพื่อเลือกเรียนนอกเหนือจาก รายวิชาท ี่ กำหนดให้เป็นวิชาบังคับได้โดยสามารถพัฒนาเป็นรายวิชาหรือลักษณะ บูรณาการ ผสมผสานเนื้อหา วิชาท ี่ ครอบคลุมสาระ โดยพิจารณาจากมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มวิชานั้น ๆ เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ของ หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 2) หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ สามารถพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมในกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ ได้ตามความ ต้องการของสถานประกอบการหรือยุทธศาสตร์ของภูมิภาคเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของ ประเทศ 12.3 การกำหนดรหัสวิชา จำนวนหน่วยกิต และจำนวนชั่วโมงเรียนให้เป็นไปตามท ี่ หลักสูตรกำหนด 13. การปรับปรุงแก้ไข พัฒนารายวิชา และการอนุมัติหลักสูตร 13.1 สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาสามารถพัฒนาหรือปรับปรุงรายวิชาเพิ่มเติม ได้ตามเงื่อนไขของหลักสูตร โดยต้องรายงานให้สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทราบ 13.2 ให้สถาบัน การอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดให้มีการประเมินและรายงานผลการ ใช้หลักสูตร ให้สำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาทราบ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาหลักสูตรหรือการปรับปรุง หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง หรืออย่างน้อยทุก 5 ปี หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 10 13.3 การอนุมัติหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ให้เป็นหน้าท ี่ ของสำนักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ใหด้ำเนินการ ดังต่อไปน ี้ หมวดวิชา
สมรรถนะแกนกลาง (1 และกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน ให้เป็นหน้าท ี่ ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หมวด สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ และหมวดวิชาเลือกเสรี(2ให้เป็นหน้าท ี่ ของสถานศึกษาโดย ความเห็นชอบของหน่วย งานท ี่ กำกับดูแลด้านหลักสูตร และเสนอต่อคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพื่อพิจารณาอนุมัติ13.4 การ ประกาศใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงให้ทำเป็นประกาศสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา 14. การประกันคุณภาพของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน การประกันคุณภาพของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ให้สำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษา และสถานศึกษาอาชีวศึกษา กำหนดระบบการประกันคุณภาพของ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาท ี่ เปิดสอน โดยมีองค์ประกอบในการประกันคุณภาพอย่าง น้อย 4 ด้าน ดังน ี้ 14.1 หลักสูตรท ี่ ยึดโยงกับมาตรฐานอาชีพ 14.2 ครูทรัพยากรและการสนับสนุน 14.3 วิธีการจัดการเรียนรู้การวัดและประเมินผล 14.4 ผู้สำเร็จการศึกษา ในกรณีสถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาใดจัดการศึกษาไม่เป็นไปตามข้างต้น หรือจัดให้ผู้ เรียนได้รับการศึกษาอย่างไมม่ ีคุณภาพ สถานศึกษาต้องรับผิดชอบในผลแห่งความเสียหายท ี่ เกิด ขึ้นกับผู้เรียน ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท ี่ พ.ศ. 2539 และตามกฎหมายอื่น ท ี่ เกี่ยวข้อง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 11 การกา หนดรหสั วชาิหลกสั ตูรประกาศนย ี บต ั ร วชาิชพ ี ช ้ น ั สงูพทุธศก ั ราช 2567
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 12 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กล ุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล
ขอบเขตสาขาวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชา การจัดการสำนักงาน ดิจิทัล จัดอยู่ในสาขาวิชาชีพ (Occupational) พนักงานบริหารงานสำนักงาน, เจ้าพนักงานธุรการ คุณวุฒิ วิชาชีพ ระดับ 4, 5 โดยมีขอบเขตสาขาวิชา (Areas of activity and working conditions) คือ การตัดสินใจ วางแผน และแก้ไขปัญหาทซ ี่ ับซ้อนในการปฏิบัติงาน ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อดิจิทัลในการ บริหารงานสำนักงานดิจิทัล วิเคราะห์วางแผนบริหารงานบุคคล การสรรหาบุคลากร ดำเนินงานตามหลักการ และกระบวนการเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานสำนักงานดิจิทัล ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการบริหารงานเอกสาร ในสำนักงานทุกรูปแบบ บริหารจัดการเอกสารอย่างเป็นระบบ การใช้เทคโนโลยใีนการเก็บข้อมูลและการ สื่อสารออนไลน์วิเคราะห์ออกแบบจัดการประชุมสัมมนา แบบออนไซต์และออนไลน์(On side/Online) และ จัดนิทรรศการรูปแบบต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์การบริหารเวลาในการปฏิบัติงาน การใช้แอปพลิเคชั่นใน การ ปฏิบัติงานท ี่ เกี่ยวข้องกับงานสำนักงานดิจิทัล บุคคลท ี่ประกอบอาชีพในสาขาวิชาน ี้ ทำงานบริหาร สำนักงาน งานธุรการ ต้องวางแผนบริหารงานบุคคล ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการบริหารงานเอกสารใน สำนักงานทุกรูป แบบ ออกแบบการประชุมสัมมนาแบบออนไซต์และออนไลน์จัดนิทรรศการรูปแบบต่าง ๆ ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการ จัดการสำนักงานดิจิทัล สามารถประกอบอาชีพ ในตำแหน่งงานท ี่ เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาชีพ (Career) ได้แก่ พนักงานฝ่ายบุคคล นักจัดประชุมและนิทรรศการ พนักงานบริหารงานทั่วไป เจ้าพนักงานธุรการ เจ้าหน้าท ี่ บริหารงานสำนักงาน หัวหน้างานธุรการ/ประสานงาน พนักงานบันทึกข้อมูล เลขานุการ พนักงานบริการ ลูกค้า และอาชีพอื่น ๆ ท ี่ เกี่ยวข้อง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 13 มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้สำเร็จการศึกษาระดับคุณวุฒกิารศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล ประกอบด้วย 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะท ี่ พึงประสงค์คุณลักษณะตามบรรทัดฐานท ี่ ดีของสังคม และ ลักษณะบุคคล 1.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะท ี่ พึงประสงค์และคุณลักษณะตามบรรทัดฐานทด ี่ ีของ สังคม ได้แก่ความเสียสละ ความซื่อสัตยส์ุจริต ความกตัญญูกตเวทีความอดกลั้น การละเว้นสิ่งเสพติดและ การ พนัน การมจีิตสำนึกและเจตคติท ี่ ดีต่อวิชาชีพและสังคม ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพ กฎหมาย เคารพสิทธขิองผู้อื่น ประพฤติปฏิบัติตามบทบาทหน้าท ี่ ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความรักสามัคคีมีมนุษยสัมพันธ์ความเชื่อมั่นในตนเอง สนใจใฝ่รู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ขยัน ประหยัด อดทน พึ่งตนเอง ต่อต้านความรุนแรงและการทุจริต ปฏิบัติตนและปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 1.2 ลักษณะบุคคลใน สาขาวิชา ได้แก่พฤติกรรมหรือการกระทำระดับบุคคลท ี่ สะท้อนถึงบุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย และค่านิยมท ี่ สะท้อนคุณลักษณะเฉพาะศาสตร์วิชาชีพและสถาบัน ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อดิจิทัลในการ บริหารงานสำนักงาน วางแผน บริหารงานบุคคล ดำเนินงานตามหลักการและ กระบวนการเพื่อสนับสนุนการ ปฏิบัติงานสำนักงาน บริหารงานเอกสารในสำนักงานทุกรูปแบบ บริหารจัดการ เอกสารอย่างเป็นระบบ จัด ประชุมสัมมนารูปแบบต่าง ๆ การบริหารเวลาในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติงานท ี่ เกี่ยวข้องกับงานธุรการ 2. ด้านสมรรถนะแกนกลาง 2.1 ด้านความรู้ได้แก่ 2.1.1 หลักการใช้ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร 2.1.2 หลักการใช้เหตุผล การคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาและการจัดการ 2.1.3 หลักการดำรงตน การปรับตัว อยู่ร่วมกับผอู้ื่นในสังคม และการดำเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่ 2.2 ด้านทักษะ ได้แก่ 2.2.1 ทักษะการสื่อสารและการเรียนรู้โดยใช้ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2.2 ทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและการจัดการ โดยใช้หลักการและกระบวนการทาง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 14 วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 2.2.3 ทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิตตามหลักศาสนา วัฒนธรรมและความเป็นพลเมือง หลักการ พัฒนา บุคลิกภาพและสุขอนามัย 2.3 ด้านความสามารถในการประยุกตใ์ช้และความรับผิดชอบ ได้แก่ 2.3.1 สื่อสารโดยใช้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศในชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ 2.3.2 แก้ไขปัญหา
และพัฒนางานอาชีพ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 2.3.3 พัฒนาบุคลิกภาพ สุข อนามัยคุณลักษณะ ท ี่ เหมาะสมกับการปฏิบัติงานอาชีพ การอยู่ร่วมกับ ผู้อื่น ปฏิบัติตนตามหลักศาสนา วัฒนธรรม ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมทางสังคม และสิทธิหน้าท ี่ พลเมือง 3. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ 3.1 ด้านสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 3.1.1 ด้านความรู้ได้แก่ 3.1.1.1 หลักทฤษฎีและเทคนิคเชิงลึกภายใต้ขอบเขตของงานอาชีพพื้นฐาน 3.1.1.2 หลักการคิดวิเคราะห์ตัดสินใจ วางแผน และแก้ไขปัญหาท ี่ ซับซ้อน 3.1.1.3 หลักการการ บริหารจัดการงานอาชีพและการประเมินผลการปฏิบัติงานอาชีพ 3.1.1.4 หลักการเป็นผู้ประกอบ การ การจัดตั้งธุรกิจ 3.1.1.5 หลักกฎหมายธุรกิจ และนิติกรรม 3.1.1.6 หลักการตลาด การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด (SWOT) 3.1.1.7 หลักเศรษฐศาสตร์ 3.1.1.8 หลักการด้านบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิตในองค์การ 3.1.1.9 หลักการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการสื่อสาร และการทำงานร่วมกันผ่านระบบคลาวด์เพื่อ พัฒนางาน อาชีพ 3.1.2 ด้านทักษะ ได้แก่ 3.1.2.1 ทักษะการใช้เชิงลึกภายใต้ขอบเขตของงานอาชีพ 3.1.2.2 ทักษะคิดวิเคราะห์ตัดสินใจ วางแผน และแก้ไขปัญหาท ี่ ซับซ้อน 3.1.2.3 ทักษะการบริหาร จัดการงานอาชีพและประเมินผลการปฏิบัติงานอาชีพด้วยตนเอง 3.1.2.4 ทักษะการจัดทำแผนธุรกิจ และ ดำเนินธุรกิจตามแผนธุรกิจ 3.1.2.5 ทักษะการจัดทำเอกสารทเ ี่ กี่ยวข้องกับกฎหมายตามหลักการ 3.1.2.6 ทักษะการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด และพฤติกรรมผู้บริโภคตาม สถานการณ์กำหนดส่วนประสมการตลาดตามหลักการ 3.1.2.7 ทักษะการวิเคราะห์เศรษฐกิจในสภาพปัจจุบัน 3.1.2.8 ทักษะการวางแผนการจัดการองค์การและเพิ่มประสิทธิภาพขององค์การตามหลักการ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 15 3.1.2.9 ทักษะการทำงานผ่านระบบคลาวด์โปรแกรมสร้างสื่อดิจิทัล และการใช้งานดิจิทัลเพื่อ ความมั่นคงปลอดภัย 3.1.3 ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ได้แก่ 3.1.3.1 เลือกใชแ้ละบำรุงรักษาเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ในงานอาชีพตามหลักการและ
กระบวนการโดยคำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัย 3.1.3.2 วางแผน ดําเนินงานและจัดการงานตามหลักการและกระบวนการ โดยคำนึงถึงการ บริหารงานคุณภาพ การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และ กฎหมายทเ ี่ กี่ยวข้อง 3.1.3.3 ดำเนินงานอาชีพการจัดการตามหลักการและแบบแผนทก ี่ ำหนด โดยใช้เลือกใช้ปรับ ใช้กระบวนการปฏิบัตงิานท ี่ เหมาะสม 3.1.3.4 ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการประกอบธุรกิจ 3.1.3.5 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนในอาชีพการจัดการ 3.2 ด้านสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 3.2.1 ด้านความรู้ได้แก่ 3.2.1.1 หลักทฤษฎีเทคนิคการวิเคราะห์ในงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล 3.2.1.2 หลักการคิด วิเคราะห์ในการวางแผน ตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาในงานอาชีพการจัดการ สำนักงานดิจิทัล 3.2.1.3 หลักการในการเลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ในงานอาชีพการจัดการสำนักงาน ดิจิทัล 3.2.1.4 หลักการประสานงาน ประเมินผลการปฏิบัติงานและบริหารจัดการงานอาชีพการจัดการ สำนัก งานดิจิทัล 3.2.1.5 หลักการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้และพัฒนางานอาชีพ 3.2.1.6 หลักการด้านสุข ภาวะและความปลอดภัย ตามข้อกำหนดกฎหมายท ี่ เกี่ยวข้องกับงาน อาชีพ 3.2.1.7 แนวคิดการวางแผนติดต่อสื่อสาร และการประชาสัมพันธ์ด้วยสื่อดิจิทัล 3.2.1.8 หลักการแนว คิดการวางแผนการจัดการประชุมและนิทรรศการ 3.2.1.9 หลักการแนวคิดการสรรหา คัดเลือก ประเมิน ผล และพัฒนาบุคลากร 3.2.1.10 หลักทฤษฎีเทคนิคการวางแผน ตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาในงานอาชีพ การจัดการ สำนักงานดิจิทัล 3.2.1.11 หลักทฤษฏีเทคนิคในการจัดทำเอกสารสำนักงานทุกรูปแบบ จัดเก็บเอกสารอย่างเป็น ระบบ การ เก็บข้อมูล การใช้เครื่องมือสื่อสารออนไซต์และออนไลน์ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 16 3.2.2 ด้านทักษะ ได้แก่ 3.2.2.1 ทักษะการเลือกใชว้ิธีการ เครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึง ความ ประหยัดและความปลอดภัย 3.2.2.2 ทักษะการคิดวิเคราะห์การวางแผน และแก้ไขปัญหา การบริหารจัดการ การ ประสานงาน และการประเมินผลการปฏิบัติงานอาชีพ 3.2.2.3 ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสีารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3.2.2.4 ทักษะการ จัดการประชุมและนิทรรศการออนไซต์และออนไลน์การจัดนิทรรศการ รูปแบบต่าง ๆ 3.2.2.5 ทักษะการสรรหา คัดเลือก ประเมินผล และพัฒนาบุคลากร
3.2.2.6 ทักษะการใช้แอปพลิเคชั่นในการปฏิบัติงานท ี่ เกี่ยวข้องกับงานสำนักงานดิจิทัล 3.2.2.7 ทักษะด้านสุขภาวะและความปลอดภัยตามระเบียบข้อบังคับท ี่ เชื่อมโยงกันในการ ปฏิบัตงิานใน งานอาชีพ 3.2.3 ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ได้แก่ 3.2.3.1 ตัดสินใจ วางแผน แก้ไขปัญหาดําเนินงานตามหลักการและกระบวนการโดยคำนึงถึง งานอาชีพการ จัดการสำนักงานดิจิทัล การบริหารงานคุณภาพ การอนุรักษพ์ลังงาน ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม หลัก อาชีวอนามัย และความปลอดภัย และกฎหมายท ี่ เกี่ยวข้อง 3.2.3.2 ปฏิบัติงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล ตามหลักการและแบบแผนท ี่ กำหนด โดย ใช้/เลือกใช้/ ปรับใช้กระบวนการปฏิบัติงานท ี่ เหมาะสม 3.2.3.3 เลือกใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในงานอาชีพตามหลักการและ กระบวนการ โดยคำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัย 3.2.3.4 วางแผน ตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาทไี่ ม่คุ้นเคยหรือซับซ้อนและเป็นนามธรรม ในงาน อาชีพ การ จัดการสำนักงานดิจิทัล ท ี่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมในบางเรื่อง 3.2.3.5 ประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะทางวิชาชีพ ในการนำเทคโนโลยีท ี่ ทันสมัยมาใช้ในการ ปฏิบัตงิาน และการแก้ไขปัญหาในงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล 3.2.3.6 บริหารจัดการ ประสานงานและประเมินผลการปฏิบัติงานอาชีพการจัดการสำนักงาน ดิจิทัล 3.2.3.7 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศบริหารจัดการระบบเอกสารในงานสำนักงานดิจิทัลครบวงจร 3.2.3.8 ใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการจัดประชุม อบรม สัมมนา จัดนิทรรศการในรูปแบบออน ไซต์และออนไลน์แบบครบ วงจร 3.2.3.9 วางแผนดำเนินการเกี่ยวกับการสรรหา คัดเลือกบุคลากรและการบริหารทรัพยากร บุคคลได้ ตามท ี่ได้รับมอบหมาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 17 ผลลัพธ์การเรียนรู้รายปีของผู้เรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพ การจัดการ สาขาวิชา การจัดการสำนักงานดิจิทัล ประกอบด้วย ชั้นปีท ี่1 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะทพ ี่ ึงประสงค์คุณลักษณะตามบรรทัดฐานท ี่ ดีของสังคม และลักษณะบุคคล พฤติกรรมหรือการกระทำระดับบุคคลท ี่ สะท้อนความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าท ี่ ของตนเองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์รงเป็นประมุข ปฏิบัติตนตามแบบแผน หรือข้อบังคับทส ี่ อดคล้อง กับมาตรฐานในการปฏิบัติทด ี่ ีของคนในสังคม มีจิตสาธารณะ จิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม และการดำรงตนตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยพัฒนาผ่านการเรียนรู้
2. ด้านความรู้ มีความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีหลักการ เทคนิค การวิเคราะห์ในงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล หลักการคิด วิเคราะห์ในการวางแผน ตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาในงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล หลักการในการ เลือกใช้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล หลักการวางแผนการ จัดการประชุม สัมมนา นิทรรศการรูปแบบต่าง ๆ หลักการสรรหา คัดเลือก ประเมินผล และพัฒนาบุคลากร 3. ด้านทักษะ มีทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงการประหยัดและ ความปลอดภัย ทักษะคิดวิเคราะห์การวางแผน แก้ไขปัญหา การบริหารจัดการ การประสานงานและการ ประเมินผลการ ปฏิบัติงานอาชีพ 4. ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ สามารถวางแผน ดําเนินงานตามหลักการและกระบวนการโดยคำนึงถึงการบริหารงานคุณภาพ การอนุรักษ์ พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม หลักอาชวีอนามัยและความปลอดภัย และกฎหมายทเ ี่ กี่ยวข้อง ปฏิบัตงิาน อาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัลตามหลักการและแบบแผนท ี่ กำหนดโดยใช้/เลือกใช้/ปรับใช้กระ บวนการ ปฏิบัติงานท ี่ เหมาะสม เลือกใชแ้ละบำรุงรักษาเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในงานอาชีพตามหลักการและ กระบวนการโดยคำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัย วางแผน ตัดสินใจและแก้ไขปัญหาท ี่ไมคุ่้นเคย หรือ ซับซ้อนและเป็นนามธรรมในงานอาชีพ การจัดการสำนักงานดิจิทัลท ี่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมในบางเรื่อง ภาพความสำเร็จรายปีของโลกอาชีพ ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีและสื่อสารในการปฏิบัติงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล บริหาร เอกสารสำนักงาน วางแผนการจัดการประชุมและนิทรรศการรูปแบบต่าง ๆ ตามหลักและกระบวนการ ด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคมและพร้อมปรับตัวใหท้ ันต่อการเปลี่ยนแปลง เชื่อมโยงกับอาชีพนักจัดการการจัด ประชุม ระดับ 5 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 18 วิเคราะห์วางแผน แก้ไขปัญหาท ี่ ซับซ้อนในงานอาชีพ ประสานงาน ประยุกตใ์ช้ทักษะทาง วิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการดำเนินงานบริหารงานบุคคล เชื่อมโยงกับอาชีพสรรหา และคัดเลือกบุคลากร ระดับ 4 ชั้นปีท ี่2 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะทพ ี่ ึงประสงค์คุณลักษณะตามบรรทัดฐานท ี่ ดีของสังคม และลักษณะบุคคล พฤติกรรมหรือการกระทำระดับบุคคลท ี่ สะท้อนถึงบุคลิกภาพลักษณะนิสัย และค่านิยมท ี่ สะท้อนคุณ ลักษณะเฉพาะศาสตร์วิชาชีพ และสถาบัน มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยท ี่ ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาตไิทย เคารพกฎหมายเคารพสิทธิของผู้อื่น โดยพัฒนาผ่านการเรียนรู้และ การฝึกประสบการณ์จากหลักสูตรให้มีความเหมาะสมกับแต่ละระดับมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา 2. ด้าน
ความรู้ มีความรู้เกี่ยวกับหลักการปฏิบัติงานและบริหารจัดการงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล หลักการ ประสานงานการจัดการการจัดประชุม สัมมนา นิทรรศการรูปแบบต่าง ๆ หลักการสรรหา คัดเลือก ประเมินผล และพัฒนาบุคลากร หลักการใช้เทคโนโลยดีิจิทัลในการเรียนรู้และพัฒนางานอาชีพ หลักการด้าน สุขภาวะและ ความปลอดภัยตามข้อกำหนดกฎหมายท ี่ เกี่ยวข้องกับงานอาชีพ 3. ด้านทักษะ มีทักษะการปฏิบัติงานและบริหารจัดการงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล ทักษะ ประสานงาน การจัดการการจัดประชุม สัมมนา นิทรรศการรูปแบบต่าง ๆ ทักษะสรรหา คัดเลือก ประเมินผล พัฒนา บุคลากรในการปฏิบัติงานและบริหารจัดการงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล ทักษะการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลในการเรียนรแู้ละพัฒนางานอาชีพ ทักษะด้านสุขภาวะและความปลอดภัยตามระเบียบ ข้อบังคับท ี่ เชื่อม โยงกันในการปฏิบัติงานในงานอาชีพ 4. ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะทางวิชาชีพในการนำเทคโนโลยีท ี่ ทันสมัยมาใชใ้นการปฏิบัตงิาน และการ แก้ไขปัญหาในงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล บริหารจัดการ ประสานงานและประเมินผลการ ปฏิบัติ งานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศบริหารจัดการระบบเอกสารในงาน สำนัก งานดิจิทัล ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการบริหารจัดการการจัดประชุม อบรม สัมมนา จัดนิทรรศการ รูปแบบออ นไซต์และออนไลน์วางแผนดำเนินการเกี่ยวกับการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การบริหาร ทรัพยากรบุคคล ได้ตามท ี่ไดร้ับมอบหมาย ภาพความสำเร็จรายปีของโลกอาชีพ ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีดิจิทัลและสื่อสารในงานอาชีพการจัดการสำนักงานดิจิทัล จัดการประชุม สัมมนา นิทรรศการรูปแบบต่าง ๆ สโู่ลกดิจิทัลตามหลักและกระบวนการ ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและ พร้อมปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เชื่อมโยงกับอาชีพนักจัดการการจัดประชุม ระดับ 5 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 19 วิเคราะห์ตัดสินใจ วางแผน แก้ไขปัญหาท ี่ ซับซ้อนในงานอาชีพ ประสานงาน ประยุกต์ใช้ทักษะ ทางวิชาชีพ เทคโนโลยีดิจิทัลและสื่อสารในการดำเนินงานการสรรหา คัดเลือก ประเมินผล พัฒนาบุคลากรใน งานอาชีพ การบริหารทรัพยากรบุคคลเชื่อมโยงกับอาชีพสรรหาและคัดเลือกบุคลากร ระดับ 4
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 20 จุดประสงค ์ สาขาวิชา 1. เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านภาษาและการสื่อสาร ทักษะการคิดและการ แก้
ปัญหา และทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิตในการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 2. เพื่อให้มีความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้หลักการบริหารและจัดการวิชาชีพการใชเ้ทคโนโลยี สารสนเทศและหลักการของงานอาชีพท ี่ สัมพันธเ์กี่ยวข้องกับการพัฒนาวิชาชีพ การจัดการสำนักงานดิจิทัล ให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าของเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี 3. เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการและกระบวนการทำงานในกลุ่มงานพื้นฐานด้านการจัดการ สำนัก งานดิจิทัล 4. เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเทคโนโลยีด้านการจัดการสำนักงานดิจิทัล ในการพัฒนา ตน เอง และวิชาชีพ 5. เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานวิเคราะห์แก้ปัญหา สร้างสรรค์และนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนางาน ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อดิจิทัลในการบริหารงานสำนักงาน วางแผนบริหารงานบุคคล ดำเนิน งานตามหลักการและกระบวนการเพื่อสนับสนุนการปฏิบัตงิานสำนักงาน บริหารงานเอกสารใน สำนักงานทุก รูปแบบ บริหารจัดการเอกสารอย่างเป็นระบบ จัดประชุมสัมมนารูปแบบต่าง ๆ และมีการบริหาร เวลาในการ ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานท ี่ เกี่ยวข้องกับงานธุรการ 6. เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานการจัดการสำนักงานดิจิทัล ในสถานประกอบการและประกอบอาชีพ อิสระ รวมทั้งการใช้ความรู้และทักษะเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นได้ 7. เพื่อให้มีเจตคติทด ี่ ีต่องานอาชีพ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย เป็นผู้มี ความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ต่อต้านความรุนแรงและสารเสพติด หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 21 โครงสร ้ าง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567
ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชา การจัดการสำนักงานดิจิทัล จะต้องศึกษารายวิชาจากหมวดวิชาต่าง ๆ รวมไม่น้อยกว่า 80 หน่วยกิต และ เข้า ร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังโครงสร้างต่อไปน ี้ 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต 1.1 กลุ่มสมรรถนะภาษาและการ สื่อสาร ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 1.2 กลุ่มสมรรถนะการคิดและการแก้ปัญหา ไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกิต 1.3 กลุ่มสมรรถนะทางสังคมและการดำรงชีวิต ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต 2. หมวดวิชา สมรรถนะวิชาชีพ ไมน่ ้อยกว่า 60 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน ไม่น้อยก่วา 18 หน่วยกิต 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ ไมน่ ้อยกว่า 42 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรีไม่ น้อยกว่า 5 หน่วยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์หรือไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมง ต่อภาคเรียน) รวม ไม่น้อยกว่า 80 หน่วยกิต โครงสร้างน ี้ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในประเภทวิชา บริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล หรือเทียบเท่า หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 22 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชา กลุ่มอาชีพหรือ สาขา วิชาอื่น หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทียบเท่า ท ี่ไม่มพี ื้นฐานวิชาชีพ ต้องเรียนรายวิชาปรับ พื้นฐาน วิชาชีพ รวมไม่เกิน 15 หน่วยกิต ต่อไปน ี้ รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30200-0001 การบัญชีเบื้องต้น 2-2-3 Basic Accounting 30200-0002 พิมพไ์ทย-อังกฤษดิจิทัล 0-4-2 Thai-English digital printing
30200-0003 งานสารบรรณเชิงปฏิบัติการ 1-2-2 Workshop correspondence work 30200-0004 งานสำนักงานเชิงปฏิบัติการ 1-4-3 Office work operating 30200-0005 การโต้ตอบจดหมายในงานสำนักงาน 1-2-2 Mail correspondence in the office 30200-0006 การจัดประชุมและนิทรรศการ 2-2-3 Organizing conference and exhibitions 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต 1.1 กลุ่มสมรรถนะภาษาและการสื่อสาร (ไม่ น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) ให้เรียนรายวิชา 30000-1101 รายวิชา 30000-1201 และรายวิชา 30000-1202 แล้วเลือกเรียน รายวิชาอื่นท ี่ สอดคล้องกับการปฏิบัติงานของกลุ่มอาชีพท ี่ เรียนจนครบหน่วยกิตท ี่ กำหนด รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30000-1101 ทักษะภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ 1-2-2 Thai Language Skills for Career Communication 30000-1102 ทักษะการเขียนและการพูดภาษาไทยในงานอาชีพ 1-2-2 Occupational Thai Writing and Speaking Skills 30000-1103 ทักษะภาษาไทยเพื่อการนำเสนอเชิงวิชาชีพ 1-2-2 Thai for Occupational Presentation 30000-1104 ทักษะภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์1-2-2 Creative Thai Language Skills 30000-1105 ทักษะการเขียนรายงานเชิงวิชาการ 1-2-2 Thai Language Skills for Academic Writing หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 23 รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30000-1106 ทักษะภาษาไทยเพื่อการปฏิบัติงาน 1-2-2 Thai on the Job 30000-1107 ทักษะภาษาไทยระดับสูงเพื่อปฏิบัติงานครัวอาหารไทย 1-2-2 High-level Thai Language Skills for Thai Kitchen Work 30000-1201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1-2-2 English for Communication 30000-1202 การเขียนและการนำเสนอโครงงานภาษาอังกฤษ 0-2-1 Writing and Presenting English Project Work 30000-1203 ภาษาอังกฤษเทคโนโลยอีุตสาหกรรม 0-2-1 English for Industrial Technology 30000-1204 ภาษาอังกฤษพื้นฐานสำหรับช่างอิเล็กทรอนิกส์0-2-1 Basic English for Electronic Technician 30000-1205 ภาษาอังกฤษสำหรับช่างแมคคาทรอนิกส์0-2-1 English for Mechatronics
Technician 30000-1206 ภาษาอังกฤษเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล 0-2-1 English for Digital Business Technology 30000-1207 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานโรงแรม 1-2-2 Communicative English for Hotel 30000-1208 ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารสำหรับการค้าระหว่างประเทศ 0-2-1 English Communication for international Trades 30000-1209 ภาษาอังกฤษสำหรับงานอาหารไทย 0-2-1 English for Thai Food Services 30000-1210 ภาษาอังกฤษสำหรับเกษตรและประมง 0-2-1 English for Agriculture and Fishery 30000-1211 ภาษาอังกฤษเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร 1-2-2 English Agro-Industrial Technology 30000-1212 ภาษาอังกฤษเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร 1-2-2 English for Agricultural Technology and Innovation 30000-1213 ภาษาอังกฤษในงานอุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศ 0-2-1 English for Digital Information Technology Industry 30000-1214 ภาษาอังกฤษสำหรับนักดนตรี0-2-1 English for Musician หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 24 รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30000-1215 ภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม 0-2-1 English for Food and Beverage Services English for Musician 30000-1216 ภาษาอังกฤษเพื่อปฏิบัติงานครัวอาหารไทย 0-2-1 English for Thai Cuisine 30000-1217 ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติงานเรือ 0-2-1 English for Maritime 30000-1218 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 0-2-1 Chinese Language and Culture 30000-1219 การสนทนาภาษาจีนเพื่อการทำงาน 0-2-1 Chinese Conversation for Work 30000-1220 ภาษาจีนอุตสาหกรรม 0-2-1 Chinese Language for Industry 30000-1221 ภาษาจีนธุรกิจ 0-2-1 Business Chinese 30000-1222 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว 0-2-1 Chinese Language for Tourism Business 30000-1223 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น 0-2-1 Japanese Language and Culture 30000-1224 สื่อสารภาษาญี่ปุ่นในการทำงาน 0-2-1 Japanese Communication for Work 30000-1225 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี0-2-1 Korean Language and Culture 30000-1226 สื่อสารภาษาเกาหลีในการทำงาน 0-2-1 Korean Communication for Work 30000-1227 ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม 0-2-1 Vietnamese Language and Culture 30000-1228 สื่อสารภาษาเวียดนามในการทำงาน 0-2-1 Vietnamese Communication for Work 30000-1229 ภาษาและวัฒนธรรมอินโดนีเซีย 0-2-1 Indonesian Language and Culture
30000-1230 สื่อสารภาษาอินโดนีเซียในการทำงาน 0-2-1 Indonesian Communication for Work หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 25 รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30000-1231 ภาษาและวัฒนธรรมมาเลเซีย 0-2-1 Malaysian Language and Culture 30000-1232 สื่อสารภาษามาเลเซียในการทำงาน 0-2-1 Malaysian Communication for Work 30000-1233 ภาษาและวัฒนธรรมเมียนมาร์0-2-1 Mianmar Language and Culture 30000-1234 สื่อสารภาษาเมียนมาร์เพื่อการทำงาน 0-2-1 Mianmar Communication for Work 30000-1235 ภาษาและวัฒนธรรมกัมพูชา 0-2-1 Cambodian Language and Culture 30000-1236 สื่อสารภาษากัมพูชาเพื่อการทำงาน 0-2-1 Cambodian Communication for Work 30000-1237 ภาษาและวัฒนธรรมลาว 0-2-1 Laotian Language and Culture 30000-1238 สื่อสารภาษาลาวเพื่อการทำงาน 0-2-1 Laotian Communication for Work 30000-1239 ภาษาและวัฒนธรรมฟิลิปปินส์0-2-1 Filipino Language and Culture 30000-1240 สื่อสารภาษาฟิลิปปินส์เพื่อการทำงาน 0-2-1 Filipino Communication for Work 30000-1241 ภาษาและวัฒนธรรมรัสเซีย 0-2-1 Russian Language and Culture 30000-1242 สื่อสารภาษารัสเซียเพื่อการทำงาน 0-2-1 Russian Communication for Work 30000-1243 ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมัน 0-2-1 German Language and Culture 30000-1244 สื่อสารภาษาเยอรมันเพื่อการทำงาน 0-2-1 German Communication for Work 30000-1245 ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส 0-2-1 French Language and Culture 30000-1246 สื่อสารภาษาฝรั่งเศสเพื่อการทำงาน 0-2-1 French Communication for Work หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 26 30000*1101ถึง30000*1199 และ30000*1201ถึง30000*1299 รายวิชาท ี่ สถานศึกษา *-*-* อาชีวศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษาพัฒนา เพิ่มเติมตามความ ต้องการของสถานประกอบการหรือ ตามยุทธศาสตร์ของภูมิภาค 1.2 กลุ่มสมรรถนะการคิดและการแก้ปัญหา (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) ให้เลือกเรียนรายวิชาทส ี่ อดคล้องกับการปฏิบัติงานของกลุ่มอาชีพท ี่ เรียนจนครบหน่วยกิตท ี่ กำหนด รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30000-1301 วิทยาศาสตร์งานอาชีพธุรกิจและบริการ 2-2-3 (Science for Business and Services Careers) 30000-1302 วิทยาศาสตร์งานอาชีพไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และการสื่อสาร 2-2-3 Science for Electrical Electronics and Communications Careers 30000-1303 วิทยาศาสตร์งานอาชีพประมงและเกษตรกรรม 2-2-3 Science for Fisheries and
Agriculture Careers 30000-1304 วิทยาศาสตร์งานอาชีพเครื่องกลและการผลิต 2-2-3 Science for Mechanical and Production Careers 30000-1305 วิทยาศาสตร์งานอาชีพก่อสร้าง โยธา และสถาปัตยกรรม 2-2-3 Science for Construction Civil and Architectural and Careers 30000-1306 วิทยาศาสตรง์านอาชีพอุตสาหกรรมยาง 2-2-3 Science for Rubber Industrial Careers 30000-1307 วิทยาศาสตรง์านอาชีพอุตสาหกรรมสิ่งทอ 2-2-3 Science for Textile Industrial Careers 30000-1308 วิทยาศาสตร์งานอาชีพศิลปกรรมและศิลปะสร้างสรรค์2-2-3 Science for Fine Arts and Creative Arts Careers 30000-1309 วิทยาศาสตร์งานอาชีพอุตสาหกรรมเครื่องประดับและอัญมณี2-2-3 Science for Jewelry and Gem Industrial Careers 30000-1310 วิทยาศาสตร์งานอาชีพอุตสาหกรรมอาหารและโภชนาการ 2-2-3 Science for Food and Nutrition Industrial Careers 30000-1311 ฟิสิกส์เทคโนโลยีการเดินเรือ 2-2-3 Physics of Navigation Technology 30000-1312 ฟิสิกส์และเคมีเทคโนโลยีการบิน 2-2-3 Physics and Chemistry of Aviation Technology หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 27 รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30000-1313 การวิจัยเบื้องต้นเพื่องานอาชีพ 2-2-3 Introduction to Career Research 30000-1314 เทคโนโลยีการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม 2-2-3 Energy and environmental management technology 30000-1401 คณิตศาสตร์และสถิติเพื่องานอาชีพ 3-0-3 Mathematics and Statistics for Careers 30000-1402 คณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการคิด 3-0-3 Mathematics for Thinking Skills Development 30000-1403 สถิติการทดลองและการวางแผน 3-0-3 Statistics and Experimental Design 30000-1404 แคลคูลัส 1 3-0-3 Calculus 1 30000-1405 แคลคูลัส 2 3-0-3 Calculus 2 30000-1406 แคลคูลัส 3 3-0-3 Calculus 3 30000-1407 คณิตศาสตร์อุตสาหกรรม 3-0-3 Industrial Mathematics 30000-1408 คณิตศาสตร์ธุรกิจและบริการ 3-0-3 Mathematics for Business and Service 30000-1409 คณิตศาสตร์เกษตรกรรม 3-0-3 Agricultural Mathematics 30000-1410 คณิตศาสตร์เพื่อการเดินเรือ 3-0-3 Mathematics for Navigation 30000-1411 คณิตศาสตรเ์พื่อการบิน 3-0-3 Mathematics for Aviation 30000*1301ถึง30000*1399 และ30000*1401ถึง30000*1499 รายวิชาทส ี่ ถานศึกษา *-*-*
อาชีวศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษาพัฒนา เพิ่มเติมตามความ ต้องการของสถานประกอบการหรือตาม ยุทธศาสตร์ของภูมิภาค หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 28 1.3 กลุ่มสมรรถนะทางสังคมและการดำรงชีวิต (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) ให้เลือกเรียนรายวิชาท ี่ สอดคล้องกับการปฏิบัติงานของกลุ่มอาชีพท ี่ เรียนจนครบหน่วยกิตท ี่ กำหนด รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30000-1501 สังคมไทยในยุคดิจิทัล 1-2-2 Thai Society in the Digital Era 30000-1502 การพัฒนาท้องถิ่น 1-2-2 Local Development 30000-1503 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำเนินชีวิต 1-0-1 Sufficiency Economic Philosophy for Life style 30000-1601 การพัฒนาสุขภาพ 2-0-2 Health Improvement 30000-1602 ทักษะแห่งความสุข 2-0-2 Happiness Skill 30000-1603 ลีลาศเพื่อพัฒนาสุขภาพและบุคลิกภาพ 0-2-1 Social Dance for Health and Personality Development 30000-1604 นันทนาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 0-2-1 Recreation for Life Quality Development 30000-1605 การจัดการกีฬาและการออกกำลังกายเพื่ออาชีพ 0-2-1 Sport Management and Exercise for Career 30000*1501ถึง30000*1599 และ30000*1601ถึง30000*1699 รายวิชาทส ี่ ถานศึกษา *-*-* อาชีวศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษาพัฒนา เพิ่มเติมตามความ ต้องการของสถานประกอบการหรือตาม ยุทธศาสตร์ของภูมิภาค 2. หมวดสมรรถนะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน (18 หน่วยกิต ) ให้เรียนรายวิชา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการปฏิบัติงานของกลุ่มอาชีพ หลักการบริหารและ จัดการวิชาชีพ การใชเ้ทคโนโลยีดิจิทัล และหลักการงานอาชีพท ี่ สัมพันธ์เกี่ยวข้อง รวมทั้งการใชเ้ป็นพื้นฐานใน การศึกษารายวิชากลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ ตามหน่วยกิตท ี่ กำหนด รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30001-1001 การเป็นผู้ประกอบการ 2-2-3 Entrepreneurship หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล
29 รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30001-1002 องค์การและการบริหารงานคุณภาพ 3-0-3 Organization and Quality Administration 30001-1003 การประยุกต์ใชเ้ทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพ 2-2-3 Application of Digital Literacy for Career 30200-0001 กฎหมายธุรกิจ 3-0-3 Business Law 30200-0002 หลักการตลาด 2-2-3 Principle of Marketing 30200-0003 หลักเศรษฐศาสตร์3-0-3 Principles of Economics 30001*1001ถึง30001*1099 และ30200*0001ถึง30200*0099 รายวิชาทส ี่ ถานศึกษา *-*-* อาชีวศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษาพัฒนา เพิ่มเติมตามความ ต้องการของสถานประกอบการหรือตาม ยุทธศาสตร์ของภูมิภาค 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ (42 หน่วยกิต) ให้เลือกเรียนรายวิชา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มสีมรรถนะในการประกอบอาชีพตามสาขาอาชีพ ท ี่ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ ทั้งน ี้ เพื่อประโยชน์แก่นักเรียนนักศึกษาในการขอใบรับรอง คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพนักจัดการการจัดประชุม ระดับ 5 และอาชีพสรรหาและคัดเลือกบุคลากร ระดับ 4 ให้ สถานศึกษาเลือกรายวิชาดังต่อไปน ี้ รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30216-2001 การจัดการสำนักงานสมัยใหม่2-2-3 Modern Office Management 30216-2002 ธุรการสำนักงาน 2-2-3 Administrative Work 30216-2003 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานสำนักงานดิจิทัล 2-2-3 Office Software Packages digital 30216-2004 มนุษยสัมพันธแ์ละการทำงานเป็นทีมในสำนักงาน 1-4-3 Human Relations and Teamwork in office 30216-2005 เทคนิคการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 2-2-3 Workshop Techniques 30216-2006 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสำนักงานดิจิทัล 2-2-3 Information Technology for Office Works digital หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 30 รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30216-2007 สัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดการสำนักงาน 1-4-3 Practical Seminar on Office Management 30216-2008 เทคนิคการปฏิบัติงานสำนักงาน 2-2-3 Office Operations 30216-2009 การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2-2-3 Performance Evaluation 30216-2010 หลักการจัดการเอกสาร 2-2-3 Principles of Document Management 30216-2011 การผลิตเอกสารเพื่องานสำนักงาน 1-4-3 Office Document Production
30216-2012 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ 2-2-3 Personality Development 30216-2013 การประชาสัมพันธ์เพื่องานสำนักงาน 2-2-3 Public Relations for Work Office 30216-2014 โครงงาน *-*-4 Project 30216-2015 โครงงาน 1 *-*-2 Project 1 30216-2016 โครงงาน 2 *-*-2 Project 2 30216*2001ถึง30216*2099 รายวิชาท ี่ สถานศึกษา *-*-* อาชีวศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษาพัฒนา เพิ่มเติมตามความ ต้องการของสถาน ประกอบการหรือตามยุทธศาสตร์ของภูมิภาค 3. หมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจรายวิชาจาก หมวดวิชาทเ ี่ ปิดสอนในหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ทุกประเภทวิชาและสาขาวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 31 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์หรือไมน่ ้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคเรียน) ให้จัด กิจกรรมเสริมหลักสูตร ภาคเรียนท ี่ 1 ให้เรียน รายวิชา 30000-2001 และเลือกเรียนรายวิชา กิจกรรมเสริม หลักสูตรอื่นให้ครบทุกภาคเรียน รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 30000-2001 กิจกรรมเสริมสร้างสุจริต จิตอาสา 0–2-0 Strengthen Honest and Service Mind 30000-2002 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 1 0–2-0 Vocational Organization Activity 1 30000-2003 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 2 0–2-0 Vocational Organization Activity 2 30000-2004 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 3 0–2-0 Vocational Organization Activity 3 30000-20XX กิจกรรมในสถานประกอบการ 0–2-0 Activity in workplace 30000*20XX กิจกรรมเสริมสร้างผู้เรียนตามอัธยาศัย 0–2-0 Activities to develop learners in informal education 30000*20XX กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร/กิจกรรมท ี่ สถานศึกษาจัด 0–2-0 30000*2001ถึง 30000*2099 รายวิชาท ี่ สถานศึกษา *-*-* อาชีวศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษาพัฒนา เพิ่มเติมตามความ ต้องการของสถาน ประกอบการหรือตามยุทธศาสตร์ของภูมิภาค
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 32 คำอธิบายรายวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กล ุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล หมวดสมรรถนะแกนกลาง (รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา ตามเอกสารนอกเล่ม)
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 33 คำอธิบายรายวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กล ุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล รายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพ 30200-0001 การบัญชเีบื้องต้น 2-2-3 Basic Accounting 30200-0002 พิมพ์ไทย-อังกฤษดิจิทัล 0-4-2 Thai-English digital printing 30200-0003 งานสารบรรณเชิงปฏิบัติการ 1-2-2 Workshop correspondence work
30200-0004 งานสำนักงานเชิงปฏิบัติการ 1-4-3 Office work operating 30200-0005 การโต้ตอบจดหมายในงานสำนักงาน 1-2-2 Mail correspondence in the office 30200-0006 การจัดประชุมและนิทรรศการ 2-2-3 Organizing conference and exhibitions หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 34 30200-0001 การบัญชีเบื้องต้น 2-2-3 Basic Accounting อ้างอิงมาตรฐาน ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา บันทึกรายการค้าตามหลักการบัญชีธุรกิจบริการเจ้าของคนเดียวในสมุดรายวันทั่วไป สมุดเงินสด 2 ช่อง ผ่านรายการไปสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป งบทดลอง กระดาษทำการชนิด 6 ช่อง งบการเงิน ปรับปรุง ปิดบัญชีและสรุปวงจรบัญชี จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการวิธีการและขั้นตอนการจัดทำบัญชีธุรกิจเจ้าของคนเดียว 2. ปฏิบัติงานบัญชตีามหลักการบัญชีทร ี่ องรับทั่วไปสำหรับกิจการเจ้าของคนเดียว 3. กิจนิสัย มีระเบียบ ละเอียด รอบคอบ ซื่อสัตย์และเจตคติทด ี่ ีในการจัดทำบัญชี 4. ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการจัดทำบัญชี สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับการบัญชีเบื้องต้น 2. ปฏิบัติงานบัญชตีามหลักการบัญชีทร ี่ องรับทั่วไปสำหรับกิจการเจ้าของคนเดียว 3. ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการจัดทำบัญชี
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย วัตถปุระสงค์และประโยชนข์องการบัญชีข้อสมมติทางบัญชี ความหมายของสินทรัพย์หนี้สิน และส่วนของเจ้าของตามกรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน สมการ บัญชีการวิเคราะห์รายการค้า การบันทึกรายการค้าตามหลักการบัญชทีี่ รับรองทั่วไปของธุรกิจบริการ เจ้าของ คนเดียวในสมุดรายวันทั่วไป สมุดเงินสด 2 ช่อง ผ่านรายการไปสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป งบทดลอง กระดาษทำการชนิด 6 ช่อง งบการเงิน ปรับปรุง ปิดบัญชีและสรุปวงจรบัญชี หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 35 30200-0002 พิมพ์ไทย-อังกฤษดิจิทัล 0-4-2 Thai-English digital printing อ้างอิงมาตรฐาน - ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา พิมพ์สัมผัสภาษาไทย ภาษาอังกฤษด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ผลิตเอกสารเบื้องต้นในงานสำนักงาน บันทึกข้อมูลและเรียกใช้ข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ต บำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอรเ์บื้องต้น มีเจตคติและกิจ นิสัยท ี่ ดีต่อการปฏิบัติงาน จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้เกี่ยวกับหลักการพิมพ์สัมผัสภาษาไทย ภาษาอังกฤษด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 2. ผลิตเอกสารเบื้องต้นในงานสำนักงานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 3. มีความขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบมีกิจนิสัยและเจตคติท ี่ ดีในการปฏิบัติงาน 4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการผลิต บันทึกข้อมูล เรียนใช้ข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย สมรรถนะรายวิชา 1. พิมพ์สัมผัสภาษาไทย ภาษาอังกฤษด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 2. ผลิตเอกสารเบื้องต้นในงานสำนักงาน 3. บันทึกข้อมูลและเรียกใช้ข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ต
4. บำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น คำอธิบายรายวิชา ปฏิบัติเกี่ยวกับการพิมพ์สัมผัสภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์การพิมพ์วางศูนย์การ พิมพ์บัญชร การพิมพ์หนังสือราชการ การพิมพ์จดหมายธุรกิจ การบันทึกข้อมูลและเรียกใชข้้อมูลผ่านระบบ อินเตอร์เน็ต การบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 36 30200-0003 งานสารบรรณเชิงปฏิบัติการ 1-2-2 Workshop correspondence Work อ้างอิงมาตรฐาน - ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา ปฏิบัติงานตามระเบียบงานสารบรรณในสำนักงาน มีเจตคติและกิจนิสัยท ี่ ดีต่อการปฏิบัตงิาน จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจเกี่ยวกับระเบียบงานสารบรรณในสำนักงาน 2. มีทักษะในการปฏิบัตงิานตามระเบียบงานสารบรรณและงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 3. มีเจตคตแิละกิจนิสัยท ี่ ดตี่อการปฏิบัติงานตามระเบียบงานสารบรรณในสำนักงาน 4. ประยุกต์ใช้ความรใู้นการปฏิบัติงานตามระเบียบงานสารบรรณ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการงานสารบรรณ 2. รับ - ส่งหนังสือและลงทะเบียนตามระเบียบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 3. ร่างและพิมพ์หนังสือตามระเบียบงานสารบรรณด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. เก็บรักษาหนังสือตามวิธีการและขั้นตอนของระเบียบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 5. ให้บริการข้อมูลข่าวสารตามระเบียบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับระเบียบงานสารบรรณในสำนักงาน การรับหนังสือ การส่งหนังสือ การร่าง และการพิมพ์การจัดเก็บ ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์และการให้บริการข้อมูลข่าวสารด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 37 30200-0004 งานสำนักงานเชิงปฏิบัติการ 1-4-3 Office work operation อ้างอิงมาตรฐาน - ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มาปฏิบัติงาน บันทึกและถอดข้อความด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จัดพื้นท ี่ใน สำนักงาน การใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงาน และบำรุงรักษาเครื่องใช้สำนักงาน จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการงานสำนักงาน 2. ปฏิบัติงานสำนักงานเชิงปฏิบัติการ 3. มีกิจนิสัยและเจตคติท ี่ ดศีึกษาเรียนรแู้ละปฏิบัตงิานสำนักงาน 4. ใช้เทคโนโลยีปฏิบัติงานสำนักงาน สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับหลักการงานสำนักงาน 2. ปฏิบัติงานสำนักงานและใช้วัสดเุครื่องใช้สำนักงานตามลักษณะงาน 3. ใช้เทคโนโลยีปฏิบัติงานสำนักงาน คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับงาน การนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาปฏิบัติงานสำนักงาน การบันทึกและถอด ข้อความด้วยอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์การจัดพื้นท ี่ในสำนักงาน การใช้วัสดุอุปกรณเ์ครื่องใช้สำนักงาน และการ บำรุงรักษาเครื่องใช้สำนักงาน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 38 30200-0005 การโต้ตอบจดหมายในงานสำนักงาน 1-2-2 Mail Correspondence in the Office อ้างอิงมาตรฐาน - ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา จัดทำร่างและโต้ตอบ ใชส้ำนวนภาษาร่าง โต้ตอบ และตรวจทานหนังสือราชการและธุรกิจ จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการร่างและโต้ตอบหนังสือ 2. ร่างและโต้ตอบหนังสือราชการและธุรกิจ 3. กิจนิสัยและเจตคติทด ี่ ีศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติงาน การร่างและโต้ตอบหนังสือ 4. ใช้เทคโนโลยีปฏิบัติงานร่างและโต้ตอบหนังสือ สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับหลักการร่างและโต้ตอบหนังสือ 2. ปฏิบัติงานร่างและโต้ตอบหนังสือราชการและธุรกิจ 3. ใช้เทคโนโลยีปฏิบัติงานร่างและโต้ตอบหนังสือ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการร่างและโต้ตอบ การใช้สำนวนภาษาในการร่างและโต้ตอบหนังสือ ราชการและธุรกิจ การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายแก้ไขจากร่าง การร่างและการตรวจทาน
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 39 30200-0006 การจัดประชุมและนิทรรศการ 2-2-3 Organizing conference and exhibitions อ้างอิงมาตรฐาน - ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา จัดเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับเอกสาร วัสดุอุปกรณ์สถานท ี่ และบุคลากรท ี่ เกี่ยวข้องกับการประชุม และนิทรรศการ ดำเนินการจัดประชุมและนิทรรศการตามกระบวนการ จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการจัดประชุมและนิทรรศการ 2. จัดประชุมและนิทรรศการตามกระบวนการ 3. มีกิจนิสัยและเจตคติท ี่ ดศีึกษาเรียนรแู้ละปฏิบัตงิานตามหลักการประชุมและนิทรรศการ 4. ใช้เทคโนโลยีในการจัดการประชุมและนิทรรศการ สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับหลักการจัดประชุมและนิทรรศการ 2. เตรียมความพร้อมในการจัดประชุมและนิทรรศการ และดำเนินการประชุมและนิทรรศการตาม กระบวนการ 3. ใช้เทคโนโลยีในการจัดการประชุมและนิทรรศการ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการจัดประชุมและนิทรรศการ เอกสาร วัสดุอุปกรณ์สถานทแ ี่ ละ
บุคลากร การเตรยีมการประชุมก่อนการดำเนินการประชุม ระหว่างประชุม และหลังการประชุม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 40 คำอธิบายรายวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กล ุ่มอาชีพ การจัดการ สาขาวิชา การจัดการสำนักงานดิจิทัล หมวดสมรรถนะวิชาชีพ กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 30001-1001 การเป็นผู้ประกอบการ 2-2-3 Entrepreneurship 30001-1002 องค์การและการบริหารงานคุณภาพ 3-0-3 Organization and Quality Administration 30001-1003 การประยุกต์ใชเ้ทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพ 2-2-3 Application of Digital Literacy for Career 30200-0001 กฎหมายธุรกิจ 3-0-3 Business Law 30200-0002 หลักการตลาด 2-2-3 Principle of Marketing 30200-0003 หลักเศรษฐศาสตร์3-0-3 Principles of Economics กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 30216-2001 การจัดการสำนักงานสมัยใหม่2-2-3 Modern Office Management
30216-2002 ธุรการสำนักงาน 2-2-3 Administrative Work 30216-2003 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานสำนักงานดิจิทัล 2-2-3 Office Software Packages digital 30216-2004 มนุษยสัมพันธ์และการทำงานเป็นทีมในสำนักงาน 1-4-3 Human Relations and Teamwork in office หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 41 30216-2005 เทคนิคการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 2-2-3 Workshop Techniques 30216-2006 เทคโนโลยสีารสนเทศเพื่อการจัดการสำนักงานดิจิทัล 2-2-3 Information Technology for Office Works digital 30216-2007 สัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดการสำนักงาน 1-4-3 Practical Seminar on Office Management 30216-2008 เทคนิคการปฏิบัติงานสำนักงาน 2-2-3 Office Operations 30216-2009 การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2-2-3 Performance Evaluation 30216-2010 หลักการจัดการเอกสาร 3-0-3 Principles of Document Management 30216-2011 การผลิตเอกสารเพื่องานสำนักงาน 1-4-3 Office Document Production 30216-2012 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ 2-2-3 Personality Development 30216-2013 การประชาสัมพันธ์เพื่องานสำนักงาน 2-2-3 Public Relations for Work Office 30216-2014 โครงงาน *-*-4 Project 30216-2015 โครงงาน 1 *-*-2 Project 1 30216-2016 โครงงาน 2 *-*-2 Project 2 30216-2001 ถึง 30216-2099 รายวิชาท ี่ สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันพัฒนาเพิ่มเติม *-*-* ตามความต้องการของสถานประกอบการ หรือตามยุทธศาสตรข์องภูมิภาค หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 42 คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน
30001-1001 การเป็นผู้ประกอบการ 2-2-3 Entrepreneurship อ้างอิงมาตรฐาน - ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา เขียนแผนธุรกิจอย่างง่าย วางแผนจัดตั้งธุรกิจ การเป็นผู้ประกอบการ การใชเ้ทคโนโลยีดิจิทัลในการ ประกอบธุรกิจ อย่างมีจรรยาบรรณและคุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจ จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจหลักการเขียนแผนธุรกิจอย่างง่าย การจัดตั้งธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ 2. มีทักษะในการเขียนแผนธุรกิจ การวางแผนจัดตั้งธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ 3. มีจรรยาบรรณและคุณสมบัตขิองผู้ประกอบธุรกิจ 4. มีความสามารถประยุกต์ความรู้สู่การเป็นผปู้ระกอบการธุรกิจดิจิทัล สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนธุรกิจ การจัดตั้งธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ 2. วางแผนจัดตั้งธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการตามหลักการ 3. เขียนแผนธุรกิจอย่างง่าย 4. วางแผนการจัดตั้งธุรกิจผ่านช่องทางเทคโนโลยีดิจิทัล คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ การจัดตั้งธุรกิจ การผลิต การบริหาร เงินทุน การเงิน การจัดรูปแบบองค์กร การเขียนแผนธุรกิจ การใช้เทคโนโลยดีิจิทัลในการประกอบธุรกิจ จรรยาบรรณและ คุณสมบัติของผู้ประกอบการ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 43 30001-1002 องค์การและการบริหารงานคุณภาพ 3-0-3 Organization and Quality Administration อ้างอิงมาตรฐาน มาตรฐานสถาบันรับรองระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐานไอเอสโอ (ISO)
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา จัดกิจกรรมการบริหารงานคุณภาพองค์การ การเพิ่มผลผลิต บริหารจัดการคุณภาพ ตามมาตรฐาน ไอ เอสโอ ด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ มีวินัย และสามารถทำงานร่วมกัน จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจหลักการบริหารงานองค์การ การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต 2. มีทักษะในการจัดการองค์การ กิจกรรมการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต 3. มีเจตคตแิละกิจนิสัยท ี่ ดใีนการจัดการงานอาชีพด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ มีวินัย และ สามารถทำงานร่วมกัน 4. นำความรู้การบริหารงานองค์การ การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับหลักการบริหารงานองค์การ การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต 2. วางแผนการจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพขององค์การตามหลักการ 3. วางแผนการบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐานไอเอสโอ 4. ประยุกต์กิจกรรมระบบคุณภาพและการเพิ่มผลผลิตในการบริหารงานอาชีพ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับการบริหารงานคุณภาพในองค์การ การจัดการความเสี่ยง การจัดการความขัดแย้งใน องค์การ การเพิ่มประสิทธิภาพองค์การ กลยุทธ์การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน มาตรฐานไอเอสโอ การ จัด เตรียมเอกสารทเ ี่ กี่ยวข้องกับการขอรับรองตามกระบวนการขอรับรองมาตรฐานไอเอสโอ การบริหารงาน คุณภาพผลผลิต การนำกิจกรรมระบบคุณภาพและการเพิ่มผลผลิตมาประยุกตใ์ชใ้นการจัดการงานอาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 44 30001-1003 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพ 2-2-3 Application of Digital Literacy for Career อ้างอิงมาตรฐาน มาตรฐานสนับสนุนการทำงานด้านการใช้ดิจิทัล ระดับ 3
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการทำงานร่วมกันแบบออนไลน์บนระบบคลาวด์สร้างสื่อดิจิทัล ประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐใ์นงานอาชีพ และมีความเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัล จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจเกี่ยวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล 2. มีทักษะการใช้โปรแกรมทำงานร่วมกันแบบออนไลน์บนระบบคลาวด์ 3. มีคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ และตระหนักถึงการเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัล 4. มีความสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนในอาชีพ สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัลตามหลักการ 2. ใช้โปรแกรมทำงานร่วมกันแบบออนไลน์บนระบบคลาวด์ 3. วิเคราะห์กรณีศึกษาเทคโนโลยดีิจิทัลเชื่อมโยงอาชีพ 4. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลตามสถานการณ์ในอาชีพ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งาน คอมพิวเตอร์เทคโนโลยีดิจิทัล อินเทอร์เน็ต โปรแกรม ประมวล ผลคำ โปรแกรมตารางคำนวณ โปรแกรมนำเสนอ โปรแกรมทำงานร่วมกันแบบออนไลน์บนระบบ คลา วด์โปรแกรมสร้างสื่อดิจิทัล เทคโนโลยีเก็บข้อมูล (Block Chain) โปรแกรม ระบบอัตโนมัติสำหรับ การ วิเคราะห์ข้อมูล การทำธุรกรรมการเงินดิจิทัล สกุลเงินดิจิทัล หรือครปิโทเคอร์เรนซี(Cryptocurrency) การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐเ์พื่องานอาชีพ การใช้งานดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย และ การเป็น พลเมืองในยุคดิจิทัล หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 45 30200-0001 กฎหมายธุรกิจ 3-0-3 Business Law อ้างอิงมาตรฐาน 1. (ร่าง) เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พ.ศ. 2567
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับบุคคล นิติกรรม ประเภทของกฎหมายธุรกิจ ความรับผิดทางกฎหมายของธุรกิจ หน ี้ เอกเทศสัญญาท ี่ สำคัญ ซื้อขายแลกเปลี่ยน ให้เช่าทรัพย์เช่าซื้อ จ้างแรงงาน จ้างทำของ รับขน ฝากทรัพย์ยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำ ตัวแทน นายหน้า ประนีประนอม การพนันขันต่อ บัญชีเดินสะพัด ตั๋วเงิน เช็ค หุ้นส่วนและบริษัท สมาคม กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาและกฎหมายการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์การ วาง แผนภาษีเพื่อบุคคลและธุรกิจ และกฎหมายเฉพาะเรื่องอื่น ๆ ในอาชีพ จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักกฎหมาย ประเภทของกฎหมายธุรกิจ ความรับผิดทางกฎหมายของธุรกิจ ท ี่ เกี่ยวข้องในธุรกิจเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารต่าง ๆ ในธุรกิจ 2. มีทักษะการร่างและเขียนสัญญา เอกสารประกอบสัญญา การวางแผนภาษีเพื่อบุคคลและธุรกิจ 3. มีเจตคตทิี่ ดีมีความรับผิดชอบและ จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักกฎหมายท ี่ เกี่ยวข้องในธุรกิจ 2. ร่างและเขียนสัญญาตามสาระสำคัญของสัญญา วางแผนภาษีเพื่อบุคคลและธุรกิจ 3. จัดทำเอกสารทเ ี่ กี่ยวข้องกับกฎหมายตามหลักการ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับบุคคล ประเภทของกฎหมายธุรกิจ ความรับผิดทางกฎหมายของธุรกิจ นิติกรรม หน ี้ เอกเทศสัญญาท ี่ สำคัญ ซื้อขายแลกเปลี่ยน ให้เช่าทรัพย์เช่าซื้อ จ้างแรงงาน จ้างทำของ รับขน ฝากทรัพย์ยืม ค้ำ ประกัน จำนอง จำนำ ตัวแทน นายหน้า ประนีประนอม การพนันขันต่อ บัญชีเดินสะพัด ตั๋วเงิน เช็ค หุ้นส่วนและ บริษัท สมาคม กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาและกฎหมายการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์การวาง แผนภาษีเพื่อ บุคคลและธุรกิจ และกฎหมายท ี่ เกี่ยวข้องในอาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 46 30200-0002 หลักการตลาด 2-2-3 Principle of Marketing อ้างอิงมาตรฐาน 1. มาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ รหัส ECM-ZZZ-4-016ZA อาชีพนักการตลาดพื้นท ี่ สีเขียว ระดับ 4-5
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา รู้เกี่ยวกับพื้นฐานการตลาด วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภคตาม สถานการณ์กำหนดส่วนประสมการตลาดตามหลักการ ประยุกตใ์ช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางการตลาด จุด ประสงค์รายวิชา เพื่อให้สามารถ 1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการการตลาด 2. วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภค 3. กำหนดส่วนประสมการตลาด 4. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางการตลาด 5. มีเจตคตแิละกิจนิสัยท ี่ ดใีนการดําเนินงานด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย สนใจ ใฝรู่้ มีความคิดสร้างสรรค์และอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานการตลาด 2. วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภคตามสถานการณ์ 3. กำหนดส่วนประสมการตลาดตามหลักการ 4. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางการตลาด คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการตลาด แนวความคิดทางการตลาด หน้าท ี่ ทางการตลาด การ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด พฤติกรรมผู้บริโภคและกระบวนการตัดสินใจซื้อ การแบ่งส่วนตลาด ตลาดเป้าหมาย ผลิตภัณฑ์และการกําหนดตําแหน่งผลิตภัณฑ์การกําหนดราคา การจัดจําหน่าย และการ ส่งเสริมการตลาด การจัดการลูกค้าสัมพันธ์เทคโนโลยีดิจิทัลทางการตลาด และจรรยาบรรณนักการตลาด หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 47 30200-0003 หลักเศรษฐศาสตร์3-0-3 Principles of Economics อ้างอิงมาตรฐาน -
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา มีความรู้ความเข้าใจหลักเศรษฐศาสตร์อุปสงค์อุปทาน ภาวะดุลยภาพของตลาด พฤติกรรมผู้บริโภค การผลิต ตลาดในระบบเศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติการเงินการธนาคาร นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง การค้าระหว่างประเทศ วัฏจักรเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักเศรษฐศาสตร์อุปสงค์อุปทาน พฤติกรรมผู้บริโภค การผลิต ตลาดในระบบ เศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติการเงินการธนาคาร นโยบายการเงินการคลัง การค้าระหว่างประเทศ และวัฏจักร เศรษฐกิจ 2. สามารถนำแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3. ประยุกต์หลักเศรษฐศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวันและงานอาชีพ 4. เห็นคุณค่าและความสำคัญของหลักเศรษฐศาสตร์ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักเศรษฐศาสตร์อุปสงค์อุปทาน พฤติกรรมผู้บริโภค การผลิต ตลาดใน ระบบเศรษฐกิจ รายไดป้ระชาชาติการเงินการธนาคาร นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง การค้าระหว่าง ประเทศและวัฏจักรเศรษฐกิจ 2. วิเคราะห์เศรษฐกิจในสภาพปัจจุบัน คำอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับหลักเศรษฐศาสตร์อุปสงค์อุปทาน ภาวะดุลยภาพของตลาด พฤติกรรมผู้บริโภค การ ผลิต ตลาดในระบบเศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติการเงินการธนาคาร นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง การค้า ระหว่างประเทศ วัฏจักรเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 48 คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 30216-2001 การจัดการสำนักงานสมัยใหม่2-2-3 Modern Office Management
อ้างอิงมาตรฐาน มาตรฐาน คุณวุฒิวิชาชีพ หน่วยงาน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) รหัส M111, M112, อาชีพนักจัดการการประชุม ระดับ 5 ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา บริหารจัดการประชุมและจัดการสำนักงานสมัยใหม่ โดยใช้เทคโนโลยี จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการประชุมและจัดการสำนักงานสมัยใหม่ 2. วิเคราะห์การจัดการประชุมท ี่ ตรงตามความต้องการจัดประชุมและจัดการสำนักงานสมัยใหม่แบบ ครบวงจร 3. มีเจตคตกิิจนิสัยท ี่ ดีและความรับผิดชอบต่อหน้าท ี่ในการจัดประชุมและการจัดการสำนักงาน สมัยใหม่ 4. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดประชุมและบริหารจัดการสำนักงานสมัยใหม่ สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับหลักการจัดการสำนักงานสมัยใหม่ 2. วางแผนและนำเสนอแผนการจัดการสำนักงานสมัยใหม่ 3. จัดการโครงสร้าง วางแผนผังสำนักงาน และจัดระบบงานในสำนักงานสมัยใหม่ 4. ใช้เทคโนโลยีในการจัดการสำนักงานสมัยใหม่ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการจัดการสำนักงานสมัยใหม่กระบวนการวางแผนงาน การจัดการ โครงสร้างสำนักงานสมัยใหม่การจัดระบบงานในสำนักงานสมัยใหม่นำเสนอแผนงานท ี่ สอดคล้องกับนโยบาย จำแนกประเภทของแผน องค์ประกอบของแผน ปฏิบัติตนตามหลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการ ดำเนินงาน การใชอ้ ุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงานโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่วิเคราะห์การจัดการประชุมท ี่ ตรงตาม ความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่ม กฎระเบียบท ี่ เกี่ยวข้อง เตรียมและดำเนินการประมูลสิทธิกระบวนการ งบประมาณและพยากรณ์ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานการจัดประชุม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 49 30216-2002 ธุรการสำนักงาน 2-2-3 Administrative Work อ้างอิงมาตรฐาน มาตรฐาน คุณวุฒิวิชาชีพ หน่วยงาน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) รหัส 20101, 20501 อาชีพ สรรหาและคัดเลือกบุคคลากร ระดับ 4
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท ี่ ของพนักงานธุรการถูกต้องตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย ระเบียบงานสารบรรณและระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธุรการสำนักงาน 2. มีทักษะในการปฏิบัตงิานธุรการสำนักงาน 3. มีเจตคตกิิจนิสัยท ี่ ดีและมีคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงานธุรการสำนักงาน 4. ปฏิบัติงานธุรการสำนักงานตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยระเบียบงานสารบรรณระบบ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับธุรการสำนักงาน 2. ปฏิบัติงานธุรการสำนักงานตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยระเบียบงานสารบรรณ ระบบ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 3. ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท ี่ ของพนักงานธุรการสำนักงาน คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการปฏิบัติงานธุรการสำนักงาน ประเภทงานธุรการสำนักงาน บทบาท หน้าท ี่ ของพนักงานธุรการสำนักงาน ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยระเบียบงานสารบรรณ การใช้ระบบ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์การติดต่อสื่อสาร การต้อนรับ การนัดหมาย และการบริการ การใช้วัสดุอุปกรณ์ สำนักงาน จริยธรรมของพนักงานสำนักงาน การกำหนดเป้าหมายในการสื่อสาร การเลือกและใช้สื่อช่องทาง การสื่อสารทช ี่ ัดเจนตรงประเด็นครบถ้วนเหมาะสม เก็บข้อมูลความคิดเห็น และ Feedback จากการสื่อสารใน ช่องทางต่าง ๆ ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และจรรยาบรรณวิชาชีพ ใชข้้อมูลและทรัพยากรของ องค์การอย่างซื่อสัตย์สุจริตและมีประสิทธิภาพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 50 30216-2003 การใชโ้ปรแกรมสำเร็จรูปในงานสำนักงานดิจิทัล 2-2-3 Office Software Packages Digital อ้างอิงมาตรฐาน มาตรฐาน คุณวุฒิวิชาชีพ หน่วยงาน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) รหัส M004 อาชีพนักจัดการการจัดประชุม ระดับ 5
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานสำนักงานดิจิทัล เสนอแนวคิดไอเดียที่มีความทันสมัยให้ตรงกับความ ต้องการของรูปแบบการจัดประชุมและนิทรรศการ จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานสำนักงานดิจิทัล 2. ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานสำนักงานดิจิทัล 3. มีเจตคตแิละกิจนิสัยท ี่ ดใีนการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานสำนักงานดิจิทัล 4. ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปนำเสนอในการจัดประชุมและนิทรรศการ สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานสำนักงานดิจิทัล 2. ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานสำนักงานดิจิทัล 3. ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปนำเสนอในการจัดประชุมและนิทรรศการ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานสำนักงานดิจิทัล งานเอกสารรูปแบบต่าง ๆ การสร้างจดหมายเวียน การเก็บเอกสารในระบบคอมพิวเตอร์ทั้งออนไลน์และออฟไลน์งานคำนวณและการ นำ เสนอข้อมูลในรูปกราฟ ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการนำเสนองาน ศิลปะคิดสร้างสรรคก์ารจัดประชุมและ นิทรรศการ คิดสร้างสรรค์และระบุแนวคิดใหม่ๆ ในการจัดประชุมและนิทรรศการท ี่ มีความทันสมัย เสนอ ไอเดียใหม่ๆ ให้ตรงกับความต้องการของรูปแบบของการจัดประชุมและนิทรรศการ ออกแบบสื่อดิจิทัลได้ตรง กับรูปแบบของงานประชุมและนิทรรศการ ประยุกต์เทคนิคในการใชส้ื่อดิจิทัลออกแบบงานได้อย่างสร้างสรรค์ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 51 30216-2004 มนุษยสัมพันธแ์ละการทำงานเป็นทีมในสำนักงาน 2-2-3 Human Relations and Teamwork in Office อ้างอิงมาตรฐาน มาตรฐาน คุณวุฒิวิชาชีพ หน่วยงาน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) รหัส 10107, 20401, 20601 อาชีพ สรรหาและคัดเลือกบุคคลากร ระดับ 4
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา มีมนุษยสัมพันธ์และทำงานเป็นทีมในงานสำนักงาน มีภาวะผู้นำ ใช้เทคโนโลยีปฏิบัติงานสำนักงาน บริหารทรัพยากรบุคคลขององค์กร จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์และการทำงานเป็นทีมในสำนักงาน 2. บริหารจัดการองค์การและทรัพยากรบุคคล 3. มีเจตคตแิละกิจนิสัยท ี่ ดใีนการบริหารจัดการองค์การและทรัพยากรบุคคล 4. บริหารจัดการองค์การและทรัพยากรบุคคลครบวงจร สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์และการทำงานเป็นทีมในงานสำนักงาน 2. มีภาวะผู้นำและทำงานเป็นทีม 3. ใช้เทคโนโลยีปฏิบัติงานสำนักงาน คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์หลักจิตวิทยาและทฤษฎีท ี่ เกี่ยวข้องกับมนุษย์สัมพันธ์ แรงจูงใจสำหรับมนุษย์สัมพันธ์ในสำนักงาน องค์ประกอบและหลักการสร้างมนุษย์สัมพันธ์การสร้างภาวะผู้นำ ท ี่ มีผลต่อการพัฒนาทีมงาน การทำงานเป็นทีมโดยใช้เทคนิคการสื่อสาร การประสานงาน การวิเคราะห์กรณี ศึกษาทั้งท ี่ประสบผลสำเร็จและล้มเหลวในสำนักงาน นำเทคโนโลยีมาใช้ปฏิบัติงานสำนักงาน การปฏิบัติ ตนเป็นแบบอย่างท ี่ ดีในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในการ ปฏิบัติงาน ยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนแนวคิดวิธีการในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง บริหารจัดการองค์การและทรัพยากรบุคคล เครื่องมือและแนวปฏิบัติบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์กร รวม ถึงความเชื่อมโยงของงาน บริหารทรัพยากรบุคคล เข้าใจ อธิบายบทบาทภาระหน้าท ี่ในการบริหาร ทรัพยากรบุคคล แผนปฏิบัติงานประจำด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ร่วมงาน สร้างความสัมพันธ์ทด ี่ ีให้คำ แนะนำ แลกเปลี่ยนข้อมูล หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 52 30216-2005 เทคนิคการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 2-2-3 Workshop Techniques อ้างอิงมาตรฐาน มาตรฐาน คุณวุฒิวิชาชีพ หน่วยงาน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) รหัส M002, M113 อาชีพ นักจัดการการจัดประชุม ระดับ 5
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา จัดประชุมและจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ และสามารถสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษพื้นฐานในการจัด ประชุมและนิทรรศการ จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 2. มีทักษะในการจัดประชุมและจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ใช้ภาษาอังกฤษพื้นฐานในการสื่อสาร การ จัดประชุมและนิทรรศการ 3. มีเจตคตแิละกิจนิสัยท ี่ ดมีีความรับผิดชอบในการปฏิบัตงิาน 4. ประยุกต์ใช้ความรใู้นการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ และใชภ้าษาอังกฤษในการสื่อสารการจัด ประชุมและนิทรรศการ สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 2. ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารการจัดประชุมและนิทรรศการ 3. จัดการประชุมและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการสำรวจความต้องการในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ประเภทของการ ฝึกอบรม การเขียนโครงการ ขั้นตอนและเทคนิคการฝึกอบรม ปัจจัยท ี่ ต้องคำนึงถึงในการเลือกรูปแบบการ ฝึก อบรม อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์สำหรับการฝึกอบรม หน้าท ี่ และความรับผิดชอบของผู้ทเ ี่ กี่ยวข้องกับ การฝึก อบรม จัดฝึกอบรมตามกระบวนการตั้งแต่เตรียมการก่อนฝึกอบรม ระหว่างดำเนินการฝึกอบรม และ หลังเสร็จ สิ้นการฝึกอบรม การรายงานผลการฝึกอบรม วิเคราะห์ข้อมูลตีความจากสารและทำงานตามท ี่ได้รับ มอบหมาย ด้วยภาษาอังกฤษ ใช้คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐานสื่อสารกับผู้อื่น และให้คำแนะนำ ข้อมูลต่าง ๆ ตอบคำถามให้ กับผู้เข้าร่วมงานหรือลูกค้าทเ ี่ กี่ยวข้องกับการจัดประชุมและนิทรรศการ สร้างและเป็นผู้นำ ทีมงาน แก้ไขปัญหา ซับซ้อนทค ี่ าดการณ์ด้วยตนเองและให้คำแนะนำพนักงาน กำหนดอัตรากำลังคนและ จัดสรรพนักงานในการ ปฏิบัติงาน รู้หน้าทแ ี่ ละความรับผิดชอบของพนักงานและรายละเอียดของงานท ี่ ต้องทำ (Job Description) ติดตามการทำงานของพนักงาน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 53 30216-2006 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสำนักงานดิจิทัล 1-2-2 Information Technology for Office Work Digital อ้างอิงมาตรฐาน มาตรฐาน คุณวุฒิวิชาชีพ หน่วยงาน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) รหัส M0031, M0032, M0033 อาชีพ นักจัดการการจัดประชุม ระดับ 5
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและโปรแกรมสำเร็จรูป (Microsoft Office) และบริหารจัดการสำนักงาน ดิจิทัล จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและโปรแกรมสำเร็จรูป (Microsoft Office) ใน การปฏิบัติงาน 2. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการปฏิบัติงาน 3. มีเจตคตแิละกิจนิสัยท ี่ ดมีีความรับผิดชอบในการปฏิบัตงิาน 4. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการปฏิบัติงานการจัดประชุม และนิทรรศการ สมรรถนะรายวิชา 1. ประมวลผลความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและโปรแกรมสำเร็จรูป (Microsoft Office) 2. สืบค้นข้อมูลในระบบอินเทอร์เน็ต ส่งข้อมูลด้วยระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ 3. ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ติดต่อสื่อสารในการปฏิบัติงาน 4. ใช้โปรแกรมท ี่ เกี่ยวข้องกับงานจัดประชุมและนิทรรศการและโปรแกรมเพื่อนำเสนองาน คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการใช้เทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารในงานสำนักงาน การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและโปรแกรมสำเร็จรูป (Microsoft Office) และเทคโนโลยีการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) ในการจัดระบบงานสำนักงาน การสร้างและจัดทำฐานข้อมูลท ี่ เกี่ยวข้อง สืบค้นข้อมูลใน ระบบอินเทอร์เน็ต ส่งข้อมูลด้วยระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการติดต่อสื่อสาร และปฏิบัติงาน งานจัดเก็บเอกสาร งานธุรการ งานนัดหมาย นำเสนองานสำนักงาน ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศทเ ี่ กี่ยวข้องกับงานจัดประชุมและนิทรรศการ คุณธรรมจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2567 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มอาชีพการจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำนักงานดิจิทัล 54 30216-2007 สัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดการสำนักงาน 1-4-3 Practical Seminar on Office Management อ้างอิงมาตรฐาน มาตรฐาน คุณวุฒิวิชาชีพ หน่วยงาน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) รหัส M001 อาชีพ นักจัดการการจัดประชุม ระดับ 5