The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nuttanicha Heng Heng, 2023-02-13 03:49:27

Report2565

Report2565

รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 1


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 2


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 3


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 4


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 5


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 6


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 7


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 8


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 9


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 10


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 11 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาค สังกัดกรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจในการแนะน าส่งเสริม พัฒนาสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และ ประชาชนทั่วไป ให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองค์กร สามารถ ยกระดับการให้บริการแก่สมาชิก และมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจและการบริหารงาน โดยให้น าหลัก ธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการ พร้อมทั้งประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ ด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีอัตราก าลัง จ านวน 53 คน ประกอบด้วย ข้าราชการ 26 คน ลูกจ้างประจ า 6 คนพนักงานราชการ 15 คน และพนักงานจ้างเหมาบริการ 6 คน ตามโครงสร้างส านักงานสหกรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ตามภารกิจในการขับเคลื่อนการด าเนินงานแผนงาน/โครงการ ตามยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2การ สร้างความสามารถในการแข่งขัน และยุทธศาสตร์ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย 1) กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ 2) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ 3) กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ 4) กลุ่มตรวจการสหกรณ์ 5) ฝ่ายบริหารทั่วไป และ 6) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ จ านวน 3 กลุ่ม ประกอบด้วย (1) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 รับผิดชอบพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ อ าเภอชนแดน และอ าเภอวังโป่ง (2) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 รับผิดชอบพื้นที่ 4 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอหล่มเก่า อ าเภอหล่มสัก อ าเภอเขาค้อ และอ าเภอน้ าหนาว (3) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 รับผิดชอบพื้นที่ 4 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอบึงสามพัน อ าเภอหนองไผ่ อ าเภอวิเชียรบุรี และอ าเภอศรีเทพ โดยได้รับการอนุมัติแผนปฏิบัติงาน จ านวน 5 แผนงาน 8 โครงการ และได้รับการจัดสรร งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ านวน 8,551,735.64 บาท ดังนี้ แผนงานบุคลากรภาครัฐ แผนงานบุคลาการภาครัฐ ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์ เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ แผนงานยุทธศาสตร์ เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 12 โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินด้านสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แผนงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการ พัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 1) โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร 2) โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร 3) โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน 4) โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในส าหรับสินค้าเกษตร แผนงานอื่น ๆ โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกรรองรับ ผลผลิตทางการเกษตร กองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการปกติและโครงการพิเศษ ผลการเข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในความรับผิดชอบแนะน า ส่งเสริมพัฒนา และก ากับดูแล สหกรณ์71 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 52 แห่ง รวมทั้งหมด 123 แห่ง 1. ผลการด าเนินงานในภาพรวม สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจ จ านวน1,447,262.34 ล้านบาท มีก าไรสุทธิ 845.01 ล้านบาท มีสมาชิก 151,646 คน กลุ่มเกษตรกรมีปริมารธุรกิจ จ านวน 6,747.11 ล้านบาท มีก าไรสุทธิ 209.17 ล้านบาท มีสมาชิก 3,858 คน 2. ผลการจัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดังนี้ 1) สหกรณ์ระดับชั้น 1 จ านวน 17 แห่ง 2) สหกรณ์ระดับชั้น 2 จ านวน 47 แห่ง 3) สหกรณ์ระดับชั้น 3 จ านวน 6 แห่ง 4) สหกรณ์ระดับชั้น 4 (ช าระบัญชี) จ านวน 6 แห่ง 5) กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 1 จ านวน - แห่ง 6) กลุ่มเกตษรกรระดับชั้น 2 จ านวน 49 แห่ง 7) กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 3 จ านวน 3 แห่ง 8) กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 4 (ช าระบัญชี) จ านวน 4 แห่ง 3. ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) สหกรณ์ที่น ามาจัดมาตรฐาน 66 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ จ านวน 37 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 56.06 2) กลุ่มเกษตรกรที่น ามาจัดมาตรฐาน 51 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ จ านวน 47 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 92.16


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 13 ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. ปัญหาด้านการบริหารองค์กรของสหกรณ์ในภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร เนื่องจาก ผู้บริหารองค์กร ซึ่งได้แก่คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์เป็นเกษตรกร ซึ่งไม่ถนัดทางด้านบริหารองค์กร ที่มีกฎหมายสหกรณ์กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ข้อบังคับและระเบียบที่ถือปฏิบัติ ท าให้เกิดการด าเนินงาน บกพร่องบ้าง จึงท าให้เกิดเป็นประเด็นข้อสังเกตจากหน่วยงานที่เข้าตรวจสอบการด าเนินงาน 2. คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ในภาคการเกษตร ยังไม่ให้ความส าคัญในเรื่องการจัดท า แผนงานประจ าปีให้ครอบคลุมทุกด้านและไม่มีการก ากับและติดตามประเมินผลเท่าทีควร จึงท าให้ไม่สามารถ ประเมินสถานะทางการเงินของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้ จึงมีความเสี่ยงในการด าเนินธุรกิจ 3. ปัญหาด้านเงินทุนหมุนเวียนและการขาดสภาพคล่อง โดยเฉพาะสหกรณ์ในภาคการเกษตร มีเงินทุนหมุนเวียนไม่เพียงพอต่อการบริหารงาน เนื่องด้วยปัญหาการปรับโครงสร้างหนี้ให้สมาชิกที่ไม่สามารถ ช าระหนี้ได้ท าให้ธุรกิจเติบโตช้า สมาชิกมีหนี้ค้างช าระกับสหกรณ์มากขึ้นและการตั้งหนี้ค้างช าระเป็นค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญเพิ่มจ านวนของผู้สอบบัญชี 4. ปัญหาจากภัยธรรมชาติ เช่น น้ าท่วม และภัยแล้ง 5. ปัญหาการช าระหนี้ของผู้เกษียณอายุราชการในสหกรณ์ประเภทออมทรัพย์ เนื่องจาก เงินเดือนและเงินประจ าต าแหน่งที่ลดลง 6. ปัญหาสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือโควิด 19ส่งผลต่อการ เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ และยังส่งผลให้การด าเนินธุรกิจของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับผลกระทบเป็นบางแห่ง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จะต้องศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล ด้านองค์กรและธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่รับผิดชอบให้รอบด้านและทันต่อยุกต์สมัย เพื่อให้การ ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 2. จัดท าแผนการแนะน าส่งเสริมตามข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร พร้อมทั้งติดตามและประเมินผลทุกเดือน 3. ประสานงานกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่รับผิดชอบอย่างต่อเนื่องทั้งลงพื้นที่และช่องทาง Online 4. สร้างองค์ความรู้ด้านการสหกรณ์ให้แก่คณะกรรมการอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากสหกรณ์ มีการเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการเป็นประจ าทุกปี เช่น กฎหมายสหกรณ์ ข้อบังคับ โดยเฉพาะอ านาจ กระท าการของสหกรณ์ ระเบียบต่าง ๆ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องในการด าเนินงานของสหกรณ์ 5. แนะน าแนวทางในด้านการด าเนินธุรกิจ การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนในการด าเนินกิจการต่าง ๆ แก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 6. กรณีที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไม่มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานให้มอบหมายคณะกรรมการ ด าเนินการท าหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดท าบัญชีและให้ผู้ที่ได้รับมอบหมายเข้ารับการฝึกอบรม เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 14 7. ปรับแผนการปฏิบัติงานและกระบวนการท างานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ให้สอดคล้อง กับยุค New Normal โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน เช่น การประชุมออนไลน์การส่งรายงาน และเอกสารออนไลน์ การให้สหกรณ์มีการติดต่อสื่อสารและตรวจสอบข้อมูลการท าธุรกิจกับสหกรณ์ ผ่าน APP ออนไลน์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ตามการประเมินการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์อยู่ในล าดับที่ 15 ของประเทศ ซึ่งปัจจัยส าคัญในการปฏิบัติ ราชการ เพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ ทั้งเชิงบวกและเชิงคุณภพ โดยค านึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก ตลอดจน การปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการต่าง ๆ เป้าหมายส าคัญ คือ การส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความ เข้มแข็ง ภูมิคุ้มกัน ทันต่อความเปลี่ยนแปลง ซึ่งต้องอาศัยการบูรณาการในการปฏิบัติงานกับทุกภาคส่วน ตลอดจนการปฏิบัติงานกับทุกภาคส่วน ตลอดจนการปฏิบัติงานตามนโยบายต่าง ๆ ของรัฐบาลควบคู่ไปพร้อม ๆ กัน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบู รณ์ ได้ รับความร่วมมือ ก าลังแรงกาย แรงใจจากสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร เครือข่ายขบวนการสหกรณ์ในจังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มอาชีพ เกษตรกร ประชาชนทั่วไป ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน ในการขับเคลื่อนให้สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งและยั่งยืน


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 15 หน้า บทสรุปผู้บริหาร ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพของหน่วยงาน 1 1) วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 2 2) แนวทางการขับเคลื่อนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3 รวมถึงนโยบายและทิศทางการพัฒนาจังหวัดในระดับพื้นที่ 3) โครงสร้างและกรอบอัตราก าลัง ประจ าปี 2565 6 4) งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 7 5) สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 8 (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2565) ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานและผลการปฏิบัติงาน/โครงการภายใต้แผนปฏิบัติงานและ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ 14 1) ผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 15 และงบประมาณอื่นที่หน่วยงานได้รับ ยุทธศาสตร์ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน 15 ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร 15 แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 15 แผนงานยุทธศาสตร์ การเกษตรสร้างมูลค่า 41 ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 52 ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม 52 แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทะศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 52 แผนงานยุทธศาสตร์ เพื่อสนับสนุนด้านกรสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 63 ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก 66 แผนงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 66 2) ผลการด าเนินงาน/โครงการตามนโยบายส าคัญ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 72 งานส่งเสริมและพัฒนา 72 งานก ากับติดตามและงานแก้ปัญหา 74 3) รางวัลที่หน่วยงานได้รับจากหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ ภายนอก 83 ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์ฯ โดดเด่นในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 85


รายงานประจ าปี 2565 Annual Report 2022 16 หน้า ส่วนที่ 4 รายงานข้อมูลงบการเงิน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2565) 89 1) งบแสดงฐานะการเงิน 90 2) งบแสดงผลการด าเนินงานทางการเงิน 91 3) หมายเหตุประกอบงบการเงิน 94 ส่วนที่ 5 ภาคผนวก ส่วนที่ 6 บรรณานุกรม


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 4 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 2 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 3 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ แนวทางการขับเคลื่อนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ รวมถึงนโยบายและทิศทางการพัฒนาจังหวัดในระดับพื้นที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้ด าเนินการจัดท าแผนยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมสหกรณ์ 20 ปี (พ.ศ.2560 -2579) (แผนระดับ 3) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนระยะยาวในการพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สู่ความเข้มแข็ง โดยวิเคราะห์ข้อมูลสภาพทั่วไป ทบทวนสถานภาพ/สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง สภาพปัจจัยภายใน และภายนอก ก าหนดประเด็นความท้าทาย ก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายและตัวชี้วัด และ กิจกรรม/โครงการตลอดจนมีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และการพัฒนาประเทศไปสู่ ประเทศที่มีรายได้สูงและขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี (ประเทศไทย 4.0) ซึ่งมุ่งเน้นคนเป็นศูนย์กลางของ การพัฒนาของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม มุ่งสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับภาคการเกษตรของประเทศภายใต้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงควบคู่ไปกับการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการเกษตร สร้างความ เข้มแข็งแก่เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร โดยในปีงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้จัดท า แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีสอดคล้องแผนทั้ง 2 ระดับ พร้อมทั้ง ได้ถ่ายทอดเป้าหมายและ ตัวชี้วัดของแผนแต่ละระดับไปยังหน่วยงานผู้ปฏิบัติ (ส านักงานสหกรณ์จังหวัด) เพื่อผลักดันให้ผลสัมฤทธิ์ การปฏิบัติงานของแผนแต่ระดับบรรลุเป้าหมายตามกรอบแนวทางและงบประมาณ ดังนี้ 1) ด้านการเกษตร 1.1 สหกรณ์มีความเข้มแข้งในระดับ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 1.2 กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ร้อยละ 25 1.3 อัตราการขยายตัวมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัย (GAP/อินทรีย์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 2) ด้านพลังทางสังคม 2.1 ดัชนีจัดทุนทางสังคมเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 (การรวมกลุ่มในชุมชนในรูปแบบของการสหกรณ์ เพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งการส่งเสริมโครงการในพื้นที่โครงการหลวงและโครงการ พระราชด าริ) 3) ด้านเศรษฐกิจฐานราก 3.1 ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ นอกจากจะด าเนินการขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการให้บรรลุ เป้าหมายผลสัมฤทธิ์ ตามตัวชี้วัดของแผนแต่ละระดับตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนดแล้วยังได้บูรณาการกับหน่วยงานในจังหวัดเพชรบูรณ์ ตามนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ขับเคลื่อนโครงการเพชรบูรณ์พอเพียงในด้านความมั่นคง ทางด้านอาหารอีกด้วย


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 4 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 5 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 6 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ลูกจ้างประจ า พนักงานจ้างเหมาบริการ - พนักงานพิมพ์ ส3 1 อัตรา - พนักงานขับรถยนต์ 1 อัตรา - พนักงานขับรถ ส2 5 อัตรา - พนักงานท าความสะอาด 3 อัตรา - พนักงานรักษาความปลอดภัย 2 อัตรา ข้าราชการ - สหกรณ์จังหวัด 1 อัตรา - นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ 3 อัตรา - นักจัดการงานทั่วไปช านาญการ 1 อัตรา - นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 11 อัตรา - นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ 6 อัตรา - นิติกรปฏิบัติการ 1 อัตรา - เจ้าหนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส 3 อัตรา พนักงานราชการ - นักวิชาการสหกรณ์ 5 อัตรา - นักวิเคราะห์นโยบายแผลแผน 1 อัตรา - นักวิชาการมาตรฐานสินค้า 1 อัตรา - นักจัดการงานทั่วไป 1 อัตรา - นิติกร 1 อัตรา - เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ 3 อัตรา - เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 1 อัตรา - เจ้าพนักงานธุรการ 2 อัตรา


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 7 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 4) งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (แยกตามยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ) งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ (แยกตามยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ) ยุทธศาสตร์ชาติ บาท ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร 5,531,970.00 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 4,928,210.00 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า 603,760.00 ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม 2,941,965.64 แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 2,941,965.64 ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก 43,100.00 แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 43,100.00 รวม 8,517,035.64 43,100.00 0.51% ด้านที่2 การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร 2,941,965.64 34.54% 5,531,970.00 64.95% ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาส และความเสมอภาคทาง สังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม ด้านที่ 4 การสร้าง โอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 8 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 5) สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในจังหวัดเพชรบูรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ านวนสหกรณ์และจ านวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จ านวนสหกรณ์ คิดเป็น จ านวนสมาชิก คิดเป็น (แห่ง) ร้อยละ (คน) ร้อยละ 1. สหกรณ์การเกษตร 48 67.60 125,621 82.84 2. สหกรณ์ประมง 1 1.41 72 0.05 3. สหกรณ์นิคม - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 8 11.27 20,508 13.52 5. สหกรณ์ร้านค้า - - - - 6. สหกรณ์บริการ 12 16.90 3,581 2.36 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 2.82 1,864 1.23 รวม 71 100.00 151,646 100.00 สถานะสหกรณ์ จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสหกรณ์ ทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ประเภทสหกรณ์ ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุดด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก/ ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. สหกรณ์การเกษตร 46 1 6 - 53 2. สหกรณ์ประมง 1 - - - 1 3. สหกรณ์นิคม - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 8 - - - 8 5. สหกรณ์ร้านค้า - - - - - 6. สหกรณ์บริการ 12 - - - 12 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 - - - 2 รวม 69 1 5 - 76 ข้อมูลสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 9 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ ปริมาณ ธุรกิจ ของสหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า รวมทั้งสิ้น มาจ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต บริการ และอื่นๆ 1. สหกรณ์การเกษตร 46 595.48 1,036.83 517.66 390.69 16.63 1.95 2,559.24 2. สหกรณ์ประมง 1 0.15 - - - - - 0.15 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 8 384,882.70 1,050,462.08 - - - - 1,435,344.78 5. สหกรณ์ร้านค้า - - - - - - - - 6. สหกรณ์บริการ 12 1,076.98 5,733.58 1,345.57 - 39.18 192.21 8,387.52 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 236.10 721.01 13.54 - - - 970.65 รวม 69 386,791.41 1,057,953.50 1,876.77 390.69 55.81 194.16 1,447,262.34 ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ใน ภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร – ขาดทุน (1) จ านวน (แห่ง) (2) รายได้ (ล้าน บาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้านบาท) สหกรณ์ที่มีผลก าไร สหกรณ์ที่ขาดทุน (4) จ านวน (แห่ง) (5) ก าไร (ล้านบาท) (6) จ านวน (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้านบาท) 1. สหกรณ์การเกษตร 47 1,264.64 1,273.82 27 23.17 20 -32.35 -9.18 2. สหกรณ์ประมง 1 0.12 0.93 - - 1 -0.81 -0.81 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 8 1,385.46 538.90 8 846.56 - - 846.56 5. สหกรณ์ร้านค้า - - - - - - - - 6. สหกรณ์บริการ 12 27.48 19.33 12 8.15 - - 8.15 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 2.90 2.61 1 0.45 1 -0.16 0.29 รวมทั้งสิ้น 70 2,680.60 1,835.59 48 878.33 22 -33.32 845.01


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 10 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ จ าแนกตามประเภทของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ ชั้นที่ 1 สหกรณ์ ชั้นที่ 2 สหกรณ์ ชั้นที่ 3 สหกรณ์ ชั้นที่ 4 รวม สหกรณ์ภาคการเกษตร 4 39 5 6 54 1. สหกรณ์การเกษตร 4 38 5 6 53 2. สหกรณ์ประมง - 1 - - 1 3. สหกรณ์นิคม - - - - - สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 13 8 1 -- 22 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 2 - - 8 5. สหกรณ์ร้านค้า - - - - - 6. สหกรณ์บริการ 6 5 1 - 12 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 1 1 - - 2 รวม 17 47 6 6 76 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์เปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2563 – 2565) ระดับชั้น ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 (แห่ง/ร้อยละ) ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 (แห่ง/ร้อยละ) ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 (แห่ง/ร้อยละ) ชั้น 1 12 14 17 ชั้น 2 50 52 47 ชั้น 3 10 6 6 ชั้น 4 6 7 6 รวม 78 79 76 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ชั้น 4 ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 11 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวนกลุ่มเกษตรกรและจ านวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จ านวนกลุ่มเกษตรกร คิดเป็น จ านวนสมาชิก คิดเป็น (แห่ง) ร้อยละ (คน) ร้อยละ 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 25 48.08 2,116 54.84 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 2 3.85 82 2.13 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 7 13.45 409 10.60 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 18 34.62 1,251 32.43 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - - - - 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - รวม 52 100.00 3,858 100.00 สถานะกลุ่มเกษตรกร จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จ านวนสหกรณ์ ทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ประเภทกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุดด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก/ ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 25 - 2 - 25 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 2 - - - 2 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 7 - - - 7 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 17 1 3 - 21 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - - - - - 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - รวม 51 1 5 - 57 ข้อมูลกลุ่มเกษตรกร


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 12 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร ปริมาณธุรกิจ ของกลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รวม ทั้งสิ้น รับฝาก เงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต บริการและ อื่นๆ 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 25 14.01 1,560.93 188.77 - 6.42 28.23 1,798.36 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 2 - 132.60 70.31 1,477.35 - - 1,680.26 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 7 0.29 404.54 71.22 - - - 476.05 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 18 10.44 1,986.04 746.71 49.25 - - 2,792.44 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - - - - - - - - 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - - รวม 51 24.74 4,084.11 1,077.01 1,526.60 6.42 28.23 6,747.11 ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประเภทสหกรณ์ ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ใน ภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร – ขาดทุน (1) จ านวน (แห่ง) (2) รายได้ (ล้านบาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้านบาท) กลุ่มเกษตรกรที่มีผล ก าไร กลุ่มเกษตรกรที่ขาดทุน (4) จ านวน (แห่ง) (5) ก าไร (ล้านบาท) (6) จ านวน (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้านบาท) 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 25 377.92 274.11 25 103.81 - - 103.81 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 2 1,584.08 1,567.49 2 16.59 - - 16.59 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 7 112.77 114.69 5 12.99 2 -14.91 -1.92 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 18 924.79 833.90 18 90.89 - - 90.89 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - - - - - - - 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 52 2,999.56 2,790.19 50 224.28 2 -14.91 209.17


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 13 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร จ าแนกตามประเภทของกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร กลุ่ม เกษตรกร ชั้นที่ 1 กลุ่ม เกษตรกร ชั้นที่ 2 กลุ่ม เกษตรกร ชั้นที่ 3 กลุ่ม เกษตรกร ชั้นที่ 4 รวม 1. กลุ่มเกษตรกรท านา - 24 1 1 26 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน - 2 - - 2 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - 6 1 - 7 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - 17 1 3 21 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - - - - - 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - รวม 49 3 4 56 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองพัฒนาสหกรณ์ ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กราฟแสดงผลการจัดชั้นกลุ่มเกษตรกร ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 0 49 3 20 ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 14 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวนกลุ่มอาชีพและจ านวนสมาชิกกลุ่มอาชีพ แยกตามประเภทผลิตภัณฑ์ ประเภทกลุ่มอาชีพ (แยกตามผลิตภัณฑ์) จ านวนกลุ่มอาชีพ คิดเป็น จ านวนสมาชิก คิดเป็น (แห่ง) ร้อยละ (คน) ร้อยละ อาหารแปรรูป 25 49.02 532 42.22 ผ้าและเครื่องแต่งกาย 24 47.06 668 53.02 ของใช้/ของตกแต่ง/ของทีระลึก/เครื่องประดับ - - - - เลี้ยงสัตว์ - - - - บริการ - - - - เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - - - - เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ - - - - สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา 2 3.92 60 4.76 เพาะปลูก - - - - รวม 51 100.00 1,260 100.00 ข้อมูลกลุ่มอาชีพ


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 15 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 16 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ สรุปผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ผลการด าเนินงานสะสมตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565) แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผล การด าเนินงาน งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร+โอนเพิ่ม ผล การเบิกจ่าย หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ แผนงานบุคลากรภาครัฐ ผลผลิต รายการค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ กิจกรรมหลัก ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมรอง บุคลากรภาครัฐ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 15 อัตรา 15 อัตรา 100 4,472,810 4,472,810 100 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข้งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (แผน ต้นปี : แห่ง) 126 แห่ง 126 แห่ง 100 455,400.00 455,400.00 100 แผนงานยุทธศาสตร์ เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการ ส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/ กลุ่ มเกษต รก รในพื้ นที่โค รงกา รอั น เนื่องมาจากพรราชด าริ 1) ส่งเสริมและพัฒนาในพื้นที่โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด าริ 1 แห่ง 1 แห่ง 100 157,000.00 157,000.00 100 2) ส่งเสริมสหกรณ์ตามพระราชด าริ สมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1 แห่ง 1 แห่ง 100 11,800.00 11,800.00 100 3) คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ 4 ครั้ง 4 ครั้ง 100 9,100.00 9,100.00 100 4) ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และส่งเสริมการเกษตรตามแนวทาง ทฤษฎีใหม่ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 7 แห่ง 7 แห่ง 100 1,900.00 1,900.00 100


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 17 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผล การด าเนินงาน งบประมาณที่ ได้รับ จัดสรร+โอนเพิ่ม ผล การเบิกจ่าย หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง กิจกรรมรอง พัฒนาสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง 1 แห่ง 1 แห่ง 100 32,700 32,700 100 โครงการ ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้ เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร 21 แห่ง 4,799 ราย 21 แห่ง 4,799 ราย 100 2,729,465.64 2,729,465.64 100 โครงการ พัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ กิจกรรมหลัก น าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร กิจรรมรอง น าลูกหลานเกษตรกร กลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร 1)จัดประชุมหรือประสานลูกหลาน เกษตรกรเป้าหมายเข้าร่วมประชุมเชิง ปฏิบัติการสร้างทักษะในการประกอบ อาชีพ 12 ราย 12 ราย 100 5,120 5,120 100 2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสร้าง ทักษะการตลาดสินค้าเกษตร 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 29,580 29,580 100 โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล 1) จัดประชุมคณะท างานด้านการ ส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ภายใต้คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดิน จังหวัด 4 ครั้ง 140 ราย 4 ครั้ง 140 ราย 100 4,900 4,900 100 2) จัดอบรมพัฒนาอาชีพของ สมาชิกสหกรณ์ให้มีความรู้ในด้าน ก า ร ส่งเส ริม แล ะพัฒน าอ าชีพ การเกษตร แห่ง / ราย 1/25 (2) ค่ าใ ช้ จ่ า ยใน ก า ร สั ม ม น า แ ล ะ ฝึกอบรม (ถัวจ่ายได้ภายในการจัด อบรม) ที่เหมาะสมกับพื้นที 1 แห่ง 20 ราย 1 แห่ง 20 ราย 100 20,200 20,200 100


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 18 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผล การด าเนินงาน งบประมาณที่ ได้รับ จัดสรร+โอนเพิ่ม ผล การเบิกจ่าย หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ โครงการ ส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในส าหรับสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก พัฒนากลไกการตลาดเพื่อเพิ่มช่องทางการจ าหน่ายสินค้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) ประสานงาน แนะน าส่งเสริมสหกรณ์แล ละ กลุ่มเกษตรกรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการตลาดสินค้าเกษตร 8 แห่ง 8 แห่ง 100 5,100 5,100 100 2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหาร จัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัดครั้งที่ 1 20 ราย 20 ราย 100 6,800 6,800 100 2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหาร จัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 2 18 ราย 18 ราย 100 6,100 6,100 100 โครงการ พัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลัก ส่งเสริมเกษตรแปรรูปในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง พัฒนาศักยภาพสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตร แปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะ ด้านการผลิตการรวบรวมการแปรรูป รวมทั้ง การบริหารจัดการการผลิตและการตลาดแก่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/กลุ่มอาชีพ 7 แห่ง 7 แห่ง 100 19,200 19,200 100 1) ประชุมเพื่อวางแผนและขับเคลื่อนการใช้ อุปกรณ์การตลาดให้มีประสิทธิภาพ 2 แห่ง 40 ราย 2 แห่ง 40 ราย 100 15,200 15,200 100 2) ประชุมสรุปผลการขับเคลื่อนการใช้ อุปกรณ์การตลาดที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ผลิตภัณฑ์ 2 แห่ง 40 ราย 2 แห่ง 40 ราย 100 15,200 15,200 100 โครงการ ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมเกษตรผสมผสานใน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) แนะน าให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย ส ารวจ ตรวจสอบ และจัดท า ฐานข้อมูลการท าการเกษตรผสมผสาน 26 แห่ง 227 ราย 26 แห่ง 227 ราย 100 39,000 39,000 100 2) จัดอบรมหลักสูตรเกษตรผสมผสานและ เกษตรทฤษฎีใหม่ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 227 ราย 227 ราย 100 381,000 381,000 100


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 19 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณที่ ได้รับ จัดสรร+โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ โครงการ ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง พัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้า เกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ มาตรฐาน GAP 1) ประสานงาน แนะน า ก ากับ ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายให้ส่งเสริม สมาชิกท าการเกษตรปลอดภัย 3 แห่ง 72 ราย 3 แห่ง 72 ราย 100 55,680 55,680 100 2) แนะน าส่งเสริม ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าฐานข้อมูลด้านสินค้าผักและผลไม้ปลอดภัย ร่วมกับสมาชิกที่ได้รับมาตรฐาน GAP ในปี2564 2 แห่ง 60 ราย 2 แห่ง 60 ราย 100 38,400 38,400 100 3) แนะน าส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สนับสนุนการผลิตและรวบรวมผลผลิตเกษตร ปลอดภัยของสมาชิก 2 แห่ง 60 ราย 2 แห่ง 60 ราย 100 3,840 3,840 100 4) แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้สมาชิกท าการผลิตสินค้าผักและผล ไมให้ได้มาตรฐาน GAP โดยจัดท าฐานข้อมูล ด้านการเกษตรปลอดภัยร่วมกับสมาชิกที่ได้รับ มาตรฐาน GAP ในปี2565 2 แห่ง 60 ราย 2 แห่ง 60 ราย 100 11,520 11,520 100 5) แนะน าส่งเสริม สนับสนุน ขับเคลื่อนให้ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจัดท าแผนการรวบรวม ผลผลิตจากเกษตรกรที่ได้รับการรับรอง GAP ปี2565 2 แห่ง 60 ราย 2 แห่ง 60 ราย 100 1,920 1,920 100 6) อบรมให้ความรู้ด้านการสร้างระบบ รับรองมาตรฐานเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการ ผลิตสินค้าปลอดภัยให้กับเกษตรกรที่ได้รับการ รับรอง GAP ปี2564 2 แห่ง 60 ราย 2 แห่ง 60 ราย 100 22,800 22,800 100 รวม 8,551,735.64 8,551,735.64 100 กองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการปกติ 17 สัญญา 17 สัญญา 100 47,800,000 47,800,000 100 โครงการพิเศษ 24 สัญญา 24 สัญญา 100 32,590,000 32,590,000 100 รวม 100 80,390,000.00 80,390,000.00 100


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 20 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 1) ผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และ งบประมาณอื่นที่หน่วยงานได้รับ งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่อให้การส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเกิดความเข้มแข็งตามศักยภาพตามเกณฑ์ ประเมินความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ สหกรณ์ในจังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวน 70 แห่ง และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวน 52 แห่ง 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับชั้น 1 และระดับชั้น 2 รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (สหกรณ์ 63 แห่ง) กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับชั้น 1 รวมกันไม่น้อยร้อยละ 25 (กลุ่มเกษตรกร 13 แห่ง) 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินโครงการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สามารถด าเนินงานเพื่อรักษาระดับชั้น 1 และ 2 และสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร ชั้น 3 สามารถยกระดับชั้นให้สูงขึ้นได้ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วย : บาท ประเภทงบประมาณ รายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 455,400.00 455,4000.00 100 6. สรุปผลการด าเนินงานโครงการ 1. สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับชั้น 1 จ านวน 17 แห่ง ระดับชั้น 2 จ านวน 47 แห่ง ระดับชั้น 3 จ านวน 6 แห่ง 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับชั้น 2 จ านวน 49 แห่ง ระดับชั้น 3 จ านวน 3 แห่ง ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3. การเกษตร แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 21 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์ชั้น 1 และ 2 รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 แห่ง 90 64 91.43 2. กลุ่มเกษตรกรชั้น 1 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 แห่ง 25 0 0 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร สามารถรักษาและ ยกระดับความเข็ม แข็งให้สูงขึ้นได้ ระดับชั้น 1 จ านวน 17 แห่ง ระดับชั้น 1 0 แห่ง ระดับชั้น 2 จ านวน 47 แห่ง ระดับชั้น 2 49 แห่ง ระดับชั้น 3 จ านวน 6 แห่ง ระดับชั้น 3 3 แห่ง 7. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ - 8. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ -


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 22 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการส่งเสริมและผลักดันสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีมาตรฐานเป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง เป็นที่ยอมรับ ของสมาชิกและสังคมได้อย่างยั่งยืน 2) เพื่อก ากับและส่งเสริมการบริหารงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีธรรมาภิบาลโปร่งใสและตรวจสอบได้ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตร จ านวน 54 แห่ง (น ามาจัดมาตรฐาน จ านวน 44 แห่ง) 2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จ านวน 22 แห่ง (น ามาจัดมาตรฐาน จ านวน 22 แห่ง) 3) กลุ่มเกษตรกร จ านวน 54 แห่ง (น ามาจัดมาตรฐาน จ านวน 51 แห่ง) 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 3.1) เกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ 7 ข้อ (1) ผลการด าเนินงานในรอบสองปีย้อนหลัง สหกรณ์มีผลการด าเนินงานไม่ขาดทุน เว้นแต่ปีใด มีอุทกภัยหรือภัยธรรมขาติ จนเกิดความเสียหายต่อสมาชิกและสหกรณ์โดยรวมให้ตัดปีนั้นออก (2) ผลการด าเนินงานในรอบสองปีย้อนหลัง ไม่มีการกระท าอันถือว่าทุจริตต่อสหกรณ์ (3) ผลการด าเนินงานในรอบสองปีบัญชีสุดท้าย สหกรณ์จัดท างบการเงินแล้วเสร็จและส่งให้ ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้วน าเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ของสหกรณ์ ภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวัน จากวันสิ้นปีทางบัญชา (4) ผลการด าเนินงานในรอบปีสุดท้าย สหกรณ์ต้องมีสมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของสมาชิก ทั้งหมดที่ท าธุรกิจกับสหกรณ์ (5) ต้องจัดจ้างเจ้าหน้าที่สหกรณ์ปฏิบัติงานประจ ารับผิดชอบการด าเนินการและธุรกิจของ สหกรณ์ หากไม่มีการจัดจ้างต้องมีกรรมการด าเนินการหรือสมาชิกที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ประจ า (6) ผลการด าเนินงานในรอบสองปีย้อนหลัง สหกรณ์ต้องมีการจัดสรรก าไรสุทธิและจ่ายทุน สวัสดิการสมาชิกหรือทุนสาธารณประโยชน์อย่างน้อยหนึ่งครั้ง (7) ผลการด าเนินงานในรอบปีบัญชีสุดท้าย สหกรณ์ต้องไม่กระท าการอันเป็นการฝ่าฝืน กฎหมายระเบียบหรือค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 3.2) เกณฑ์การจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร (1) คณะกรรมการด าเนินการจัดให้มีการจัดท างบดุลรอบสิบสองเดือนแล้วเสร็จและจัดให้ มีผู้ตรวจสอบได้ภายใน 150 วัน ตามกฎหมาย (2) ไม่มีข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีเกี่ยวข้องกับรายการข้อบกพร่องทางการเงินและบัญชีอย่างร้ายแรง (3) มีการท าธุรกิจหรือบริการอย่างน้อย 1 ชนิด (4) มีการประชุมใหญ่สามัญประจ าปีภายในก าหนดเวลา 150 วัน ตามกฎหมาย (5) มีก าไรสุทธิประจ าปีและมีการจัดสรรก าไรสุทธิประจ าปีตามกฎหมาย


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 23 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ทั้งนี้ตัวชี้วัดของโครงการ คือ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จะต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามรายละเอียด ข้างต้น ดังนี้ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตรผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตรผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3) กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ81 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดเพชรบูรณ์ มีความเข้มแข็งทั้งในภาคของกระบวนการบริหาจัดการ และควบคุมภายในของสหกรณ์ ส่งผลให้การด าเนินธุรกิจมีความเจริญก้าวหน้า และเป็นศูนย์กลางการ ให้บริการสมาชิกอย่างเหมาะสม ภายใต้เกณฑ์การจัดมาตรฐานที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนด 5. สรุปผลการด าเนินโครงการ ผลการประเมินมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีผลประเมินโดยแยกเป็น (1) สหกรณ์ภาคการเกษตรผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ ร้อยละ 43.18 (2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 81.82 (3) กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 92.16 5.1 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1.สหกรณ์ภาคการเกษตรผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ แห่ง 44 19 43.18 2. สหกรณ์นอกภาคการเกษตรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 22 18 81.82 3. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร แห่ง 51 47 92.16 5.2 ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ การจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป็นการประเมินเพื่อวัดการด าเนินงานและ การควบคุมภายในของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้มีการพัฒนาปรับปรุง การด าเนินงาน การบริหารจัดการ การให้บริการสมาชิก และการควบคุมภายในอย่างเหมาะสม ผ่านเกณฑ์ การจัดมาตรฐานแต่ละข้อ ตลอดจนการยกระดับสหกรณ์ให้เป็นองค์กรที่มีศักยภาพในการบริหารงานอย่าง มีประสิทธิภาพ สมาชิกได้รับประโยชน์จากการด าเนินงานและมีความเข้มแข็ง เจริญก้าวหน้าต่อไป 6. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)ส่งผลกระทบต่อการด าเนินงาน ของสหกรณ์ ทั้งในส่วนของการมีส่วนร่วมของสมาชิก ที่จะต้องอยู่ภายใต้มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุม การแพร่ระบาดของโรค สมาชิกมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นสูงขึ้น จากการที่ราคาสินค้ามีแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องจากปัญหาด้าน การขนส่งสินค้าและบริการ และยังส่งผลให้การช าระหนี้ของสหกรณ์ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ซึ่งท าให้ผลการ ด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หลายแห่งประสบปัญหาการขาดทุน ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร เป็นต้น


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 24 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการพัฒนาและส่งเริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) พัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น 2) คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ ก าหนด 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 6 แห่ง สหกรณ์ในภาคการเกษตร จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ 1. สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด 2. สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ สอง จ ากัด สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการส่วนท้องถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ์ จ ากัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูเพชรบูรณ์ จ ากัด กลุ่มเกษตรกร จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ 1. กลุ่มเกษตรกรท านานาสนุ่น 2. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ท่าข้าม 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงาน 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินโครงการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานสู่ดีเด่น จ านวน 6 แห่ง 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ใช้งบด าเนินงานแผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 6. สรุปผลการด าเนินงานโครงการ สหกรณ์ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานสู่ดีเด่น จ านวน 6 แห่ง คณะกรรมการ คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด คัดเลือกสหกรณ์ที่ได้คะแนนตามเกณฑ์การตัดสิน ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก าหนดไว้ 5 หมวด สหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัด คือ สหกรณ์ ออมทรัพย์ข้าราชการส่วนท้องถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ์ จ ากัด ได้คะแนนรวม 903.00 คะแนน 6.1 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน การด าเนินงาน แห่ง 6 6 100


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 25 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ สหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัด คือ สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการส่วนท้องถิ่น จังหวัดเพชรบูรณ์ จ ากัด ได้คะแนนตามเกณฑ์ตัดสินตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก าหนดไว้ 5 หมวด รวม 903.00 คะแนน 7. ปัญหาและอุปสรรคของการด าเนินโครงการ หลักเกณฑ์การคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ตามเกณฑ์การตัดสินกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ก าหนดไว้ 5 หมวด สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรยังไม่สามารถเข้าใจได้อย่างถูกต้อง 8. แนวทางการแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการควรจัดอบรม “แนวทางการ ด าเนินงานพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น “ พร้อมทั้งติดตามการด าเนินงาน อย่างสม่ าเสมอ ตรวจการงานก ากับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ และงาน ก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ให้สหกรณ์ด าเนินกิจการให้เป็นไปตาม ข้อบังคับ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี และด าเนินการตรวจการโดยทีม ตรวจสอบระดับจังหวัด และตรวจการสหกรณ์ตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ข้อบกพร่อง กลุ่มเป้าหมาย ก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรในพื้นที่ จังหวัดเพชรบูรณ์124 แห่ง (สหกรณ์70 แห่ง, กลุ่มเกษตรกร 54 แห่ง) ด าเนินกิจการให้เป็นไป ตามข้อบังคับ ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ข้อบกพร่อง


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 26 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ตัวชี้วัดความส าเร็จ 1. การจัดประชุมซักซ้อมการตรวจการ จ านวน 1 ครั้ง 2. ตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด จ านวน 18 แห่ง 3. ตรวจการสหกรณ์ตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมด 4. จัดประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มี ข้อบกพร่อง (จกบ.) ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง 5. รักษาสถานะภาพสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่อง หรือมีแต่ได้รับการแก้ไขแล้วเสร็จ สมบูรณ์ 124 แห่ง (สหกรณ์70 แห่ง, กลุ่มเกษตรกร 54 แห่ง) 6. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรณีที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไข/ผลักดันให้แก้ไขแล้วเสร็จสมบูรณ์ 1แห่ง (สหกรณ์ 1 แห่ง) ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ : สามารถรักษารักษาสถานะภาพสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่อง หรือ มีแต่ได้รับการแก้ไขแล้วเสร็จสมบูรณ์ 112 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 และผลักดันให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรณี ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้วเสร็จสมบูรณ์ จ านวน 1 แห่ง เชิงคุณภาพ : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด าเนินกิจการเป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี เพื่อป้องกันและรักษาสถานภาพของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไม่ให้ มีข้อบกพร่อง หรือหากมีข้อบกพร่องเกิดขึ้นก็สามารถด าเนินการแก้ไขจนแล้วเสร็จสมบูรณ์ งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบประมาณที่ได้รับจัดสรรส าหรับการด าเนินงานการก ากับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ และงานตรวจการ จ านวนรวมทั้งสิ้น 80,900.- บาท รายละเอียดดังนี้ (1) จัดประชุมซักซ้อมการตรวจการ 4,400. - บาท (2) ตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด 35,400.- บาท (3) ตรวจการตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ (ร้อยละ 15) 14,700.- บาท (4) ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่อง 2,000.- บาท (5) จัดประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) 11,400.- บาท สรุปผลการด าเนินงานโครงการ ด าเนินการแต่งตั้งคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ระดับจังหวัดพร้อมคณะผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ ระดับจังหวัด และผู้ตรวจการสหกรณ์ทุกแห่ง จากนั้นจัดประชุมซักซ้อมการตรวจการให้แก่ผู้ตรวจการสหกรณ์ ในจังหวัดเพชรบูรณ์เพื่อรับทราบแนวทาง/เป้าหมาย/การรายงานผลการตรวจสอบกิจการและฐานะการเงิน ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ โดยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ระดับจังหวัด และผู้ตรวจการสหกรณ์ตามค าสั่ง นายทะเบียนสหกรณ์เข้าตรวจการตามเป้าหมายที่ก าหนด


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 27 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ สามารถรักษาสถานภาพสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่องหรือมีแต่ได้รับการแก้ไข แล้วเสร็จสมบูรณ์ได้ ร้อยละ 100 ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่อง จัดประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการด าเนินงานของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) จ านวน 4 ครั้ง จากการที่คณะท างานฯได้มีค าแนะน าและแนวทาง ปฏิบัติในการแก้ไขข้อบกพร่องให้แก่สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง 18 แห่ง และคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ แก้ไขปัญหาข้อบกพร่องเสร็จสิ้นสมบูรณ์ จ านวน 1 สหกรณ์ โดยสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีแผนการแก้ไข ปัญหาข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นให้แล้วเสร็จ มีการติดตามเงินจากผู้ต้องชดใช้อาทิ การฟ้องร้องด าเนินคดีทั้งทาง แพ่งและอาญา สามารถรักษาผลประโยชน์คืนให้กับสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและบรรดาสมาชิกสามารถกลับมา ด าเนินงานภายใต้กรอบกฎหมาย และวัตถุประสงค์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมทั้งมีการแก้ไข/ให้มี ผู้รับผิดชอบชดใช้กรณีตรวจพบว่ามีการปฏิบัติผิดระเบียบของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส่งผลให้สหกรณ์ได้รับ ความเชื่อมั่นและศรัทธาจากสมาชิกกลับคืนมา ปัญหา/อุปสรรค การด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ปัจจุบันมีความซับซ้อนและหลากหลาย รวมทั้งมีผลประโยชน์ใน การด าเนินธุรกิจเข้ามาเกี่ยวข้องมากขึ้น การตรวจสอบให้พบว่ามีการด าเนินงานที่ผิดกฎหมาย ข้อบังคับ หรือ ระเบียบ ฯลฯ จ าเป็นต้องใช้ความรู้เฉพาะทางและมีการตรวจสอบอย่างเข้มข้นมากขึ้น อีกทั้งเมื่อตรวจพบ แล้วต้องใช้ระยะเวลาในการแก้ไขปัญหา หรือการติดตามเงินที่เสียหายให้ได้รับกลับคืนมาค่อนข้างยาก เนื่องจากถูกยักย้าย ถ่ายเท หรือสหกรณ์ได้แต่ด าเนินคดีทางอาญา ส่วนทางแพ่งไม่ได้รับการชดใช้ แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ ต้องส่งเสริมให้สหกรณ์มีการควบคุมภายในที่ดี และมีผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ ที่ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดข้อบกพร่อง รวมถึงอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะ ในด้านการตรวจการสหกรณ์ให้แก่ผู้ตรวจการสหกรณ์ให้สามารถด าเนินการตรวจการสหกรณ์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 28 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ งาน/โครงการต่าง ๆ (เพิ่มเติม จากการใช้จ่ายงบประมาณในแผนงานพื้นฐานด้านการสร้าง ความสามารถในการแข่งขันของหน่วยงาน โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระ ของสมาชิก 1. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ให้มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกได้เพิ่มขึ้น 2) เพื่อเสริมสร้างรายได้ให้แก่สมาชิก โดยผ่านกลไกการให้บริการของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1) กลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์การเกษตรน้ าหนาว จ ากัด ให้มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาหนี้ ค้างช าระของสมาชิกได้เพิ่มขึ้น 2) พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ อ าเภอน้ าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) ผลการเบิกจ่ายงบประมาณร้อยละ 100 2) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดมีต้นแบบ (Model) การแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกสหกรณ์ จังหวัดละ 1 ต้นแบบ 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) สหกรณ์ได้รับการส่งเสริมและพัฒนามีความสามารถในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างของสมาชิกเพิ่มขึ้น 2) สมาชิกของสหกรณ์ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านอาชีพ/ การตลาดมีรายได้เพิ่มขึ้น 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินการ 2,900.00 2,900.00 100 รวมทั้งสิ้น 2,900.00 2,900.00 100


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 29 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ 1) กิจกรรมที่เข้าไปด าเนินการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างของสมาชิกให้เห็นผลส าเร็จเป็น รูปธรรม ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ (ทีมโค้ช) และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมกับ ทีมปฏิบัติงานของสหกรณ์การเกษตรน้ าหนาว จ ากัด และสมาชิกสหกรณ์ จัดประชุมร่วมกันเพื่อขับเคลื่อน การแก้ไขปัญหาหนี้ค้างของสมาชิก เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2565 ณ หอประชุมหมู่ 5 ต าบลน้ าหนาว โดยเป็นการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของ สมาชิก มีเนื้อหา ดังนี้ 1.1) ที่มา/ปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิก ได้แก่ - การใช้เงินกู้ผิดวัตถุประสงค์ - สมาชิกจ าหน่ายผลผลิตได้น้อย เนื่องจากประสบภัยธรรมชาติท าให้ผลผลิตไม่ได้ตาม แผนการผลิต - ต้นทุนการผลิตสูง เช่น ปุ๋ยเคมี - ราคาผลผลิตตกต่ า ท าให้รายได้ไม่เพียงพอในการประกอบอาชีพ - สมาชิกมีหนี้สินหลายทาง 1.2) แนวทาง/วิธีการด าเนินการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิก ได้แก่ -คณะกรรมการด าเนินการของสหกรณ์ ควรมีการติดตามตรวจสอบการใช้เงินกู้ของสมาชิกให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม เพื่อป้องการการใช้เงินกู้ผิดวัตถุประสงค์และเป็นการลดความเสี่ยงที่สมาชิก จะผิดนัดช าระหนี้ - สหกรณ์ควรส่งเสริมให้สมาชิกท าการเกษตรผสมผสาน ท าเกษตรหมุนเวียน เพื่อเพิ่ม ผลผลิตให้สามารถมีผลผลิตจ าหน่ายได้ตลอดปี เป็นการเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกนอกเหนือจากการท าพืชหลัก ของตนเอง - สหกรณ์ควรส่งเสริมให้สมาชิกผลิตปุ๋ยใช้เอง เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ รวมถึงการปลูกพืช คลุมดิน เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต จากการใช้ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว - สหกรณ์ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐ ในเรื่องของราคาผลผลิตที่ตกต่ า โดยสหกรณ์ขอรับความช่วยเหลือ และประชาสัมพันธ์ แนะน าให้สมาชิกเข้าร่วมรับมาตรการช่วยเหลือต่าง ๆ จากทางภาครัฐเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนด้านราคาผลผลิต - สหกรณ์แนะน าให้สมาชิกวางแผนการใช้จ่ายเงิน วางแผนรายรับ - จ่ายในครัวเรือน ใช้จ่ายเฉพาะที่จ าเป็น และหาอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 30 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 1.3) ปัจจัยแห่งความส าเร็จของสหกรณ์ที่สามารถแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกได้ - สหกรณ์มีการวางแผนร่วมกันกับสมาชิกในการส่งช าระหนี้ให้กับสหกรณ์ - สหกรณ์มีการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้กับสมาชิก - คณะกรรมการ มีการติดตามเร่งรัดหนี้สมาชิกตามฤดูกาลผลิตของสมาชิกแต่ละราย - สหกรณ์ มีการก าหนดมาตรการจูงใจให้สมาชิกมาส่งช าระหนี้กับสหกรณ์ 1.4) ผลลัพธ์/ความส าเร็จในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกสหกรณ์ - สมาชิกที่มีหนี้ค้างช าระสามารถส่งช าระหนี้ได้ตามแผน - สมาชิกมีอาชีพเสริม ก่อให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น มีรายได้เพียงพอต่อการด ารงชีพ - ผลการด าเนินการของสหกรณ์ มีผลขาดทุนลดลง เนื่องจากมีรายได้จากการรับช าระหนี้ จากสมาชิกเพิ่มขึ้น - สหกรณ์มีเงินทุน สามารถส่งช าระหนี้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ได้ ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1) ผลการเบิกจ่ายงบประมาณร้อยละ 100 บาท 2,900 2,900 100 2) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดมีต้นแบบ (Model) การแก้ไข ปัญหาหนี้ค้ างช า ระของสม าชิกสหกรณ์ จังหวัดละ 1 ต้นแบบ ต้นแบบ 1 1 100 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ 1) เชิงปริมาณ สหกรณ์การเกษตรน้ าหนาว จ ากัด มีต้นแบบการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิก สหกรณ์ 1 ต้นแบบ 2) เชิงคุณภาพ (1) สหกรณ์ได้รับการส่งเสริมและพัฒนามีความสามารถในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างของ สมาชิกเพิ่มขึ้น (2) สมาชิกของสหกรณ์ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ ด้านอาชีพ/การตลาดมีรายได้เพิ่มขึ้น 1.7 ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ สหกรณ์การเกษตรน้ าหนาว จ ากัด ไม่ได้ด าเนินธุรกิจกับสมาชิกสหกรณ์ เนื่องจากสหกรณ์เรียกเก็บ หนี้จากสมาชิกไม่ได้ ท าให้สหกรณ์ขาดรายได้และไม่มีเงินทุนหมุนเวียน สหกรณ์มีเพียงการติดตามหนี้ค้าง ช าระของสมาชิกเพียงอย่างเดียว


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 31 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 1.8 แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ สหกรณ์ขอรับการสนับสนุนเงินทุนจากภาครัฐ เพื่อเป็นทุนให้สมาชิกกู้ยืมปลอดดอกเบี้ย ส่งเสริมให้ สมาชิกประกอบอาชีพเสริม เป็นการเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิก เพื่อให้สมาชิกมีรายได้เพียงพอต่อการส่งช าระหนี้เดิม โดยส ารวจความต้องการของสมาชิกเพื่อให้การใช้เงินตรงตามวัตถุประสงค์ และสหกรณ์รวบรวมหรือจัดหา ช่องทางการจ าหน่ายให้กับสมาชิก ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ (ทีมโค้ช) ประชุมขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างของสมาชิก ร่วมกับทีมปฏิบัติงานของสหกรณ์การเกษตรน้ าหนาว จ ากัด เพื่อรับทราบที่มาของปัญหาหนี้ค้างช าระของ สมาชิก และหาแนวทาง/วิธีการแก้ไขร่วมกัน พร้อมทั้งตรวจติดตามสวนผลไม้ของสมาชิกสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 32 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2 1. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพื่อสร้างโอกาสในการท าเกษตรกรรม และลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนน้ า 2) เพื่อส่งเสริมการจัดระบบไร่นาของเกษตรกรให้มีความยั่งยืน มีแหล่งน้ าในฟาร์มของตนเอง ลดการพึ่งพาน้ าจากระบบชลประทานและแหล่งน้ าธรรมชาติ 3) เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงจากระบบการท าเกษตรกรรมแบบพึ่งพาธรรมชาติ เป็นการเกษตร แบบบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากการขาดน้ า 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ 2.1 กลุ่มเป้าหมาย 1) สถาบันเกษตรกรทั้งในเขตชลประทาน และเขตรับน้ าฝนในจังหวัด ประกอบด้วยสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 11 แห่ง มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการจ านวน 250 ราย 2) สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนเพื่อให้สถาบันเกษตรกรกู้ยืม ปลอดดอกเบี้ย ระยะเวลา 6 ปี เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการขุดสระเก็บกักน้ าพร้อมอุปกรณ์ และขุดเจาะระบบน้ าบาดาล หรือปรับปรุงระบบน้ า พร้อมอุปกรณ์ 3) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้นจ านวน 250 ราย โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้ (1) สมาชิกต้องไม่เคยได้รับการสนับสนุนจากโครงการอื่นของรัฐในลักษณะเดียวกัน (2) มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิท ากินในพื้นที่ถูกต้องตามกฎหมาย หากเป็นที่เช่าท ากิน ต้องมีระยะเวลาเช่าต่อเนื่องครอบคลุมระยะเวลาโครงการและได้รับอนุญาตจากเจ้าของที่ดินให้ด าเนินการ ตามโครงการได้ (3) พื้นที่ท ากินรายละ 10 ไร่ หรือเมื่อรวมกับสมาชิกทุกรายในสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรนั้น ๆ แล้วเฉลี่ยได้รายละ 10 ไร่ (4) กรณีสมาชิกได้รับเงินกู้ยืมไม่เกินรายละ 50,000 บาท แล้วไม่เพียงพอในการขัดสระเก็บ กักน้ า/ขุดเจาะบ่อบาดาล แต่สมาชิกยังประสงค์จะด าเนินการฯ กรณีนี้สมาชิกต้องเป็นผู้จ่ายเงินสมทบใน ส่วนที่เกิน 2.2 พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ อ าเภอหล่มเก่า อ าเภอวังโป่ง อ าเภอหนองไผ่ อ าเภอบึงสามพัน อ าเภอวิเชียรบุรี และอ าเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 33 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) สมาชิกสมัครใจและเข้าร่วมโครงการทุกรายตามที่แจ้งความประสงค์ 2) ระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย มีน้ าใช้ในการท าการเกษตร และระบบน้ าสามารถ มีน้ าใช้ได้ในระบบไร่นาจริงไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3) สมาชิกในกลุ่มเป้าหมาย สามารถลดความเสี่ยงที่เกิดจากภัยแล้ง การขาดแคลนน้ าใช้ เพื่อการเกษตร หรือมีระบบน้ าใช้เพื่อเกษตรกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) ลดความเสี่ยงจากวิกฤตการขาดแคลนน้ า เนื่องจากธรรมชาติเปลี่ยน และเกิดการขาดน้ า อย่างต่อเนื่อง 2) เกษตรกรมีโอกาสวางแผนการผลิตก่อนหรือหลังฤดูกาลได้ เนื่องจากมีแหล่งน้ าต้นทุน ส่งผลให้ ผลผลิตทยอยออกสู่ตลาดในระยะเวลาที่เหมาะสม 3) ลดภาระหนี้สินที่เกิดความเสี่ยงจากการท าการเกษตรตามระบบธรรมชาติ เป็นการเกษตรมีระบบ จัดการน้ าจากระบบชลประทาน และแหล่งน้ าตามธรรมชาติและมีแหล่งน้ าเสริมจากระบบน้ าในแปลงไร่นา 4) สมาชิกสหกรณ์และสมาชิกกลุ่มเกษตรกร สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ า เพื่อเป็น ทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพเสริม 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565 ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบเงินอุดหนุน (เงินนอก) 12,500,000.00 12,500,000.00 100 งบด าเนินงาน (เงินนอก) 156,000.00 107,420.00 68.85 รวมทั้งสิ้น 12,656,000.00 12,607,420.00 99.62 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ 6.1 ขั้นตอนการด าเนินงาน 1) จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้แทนสถาบันเกษตรกรเป้าหมายเพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ วิธีการ ขั้นตอนด าเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสมเพื่อบูรณาการ โครงการในระดับพื้นที่ 2) ส ารวจความเหมาะสมของพื้นที่สมาชิกที่ประสงค์จะเข้าร่วมโครงการร่วมกับหน่วยงานราชการ ที่เกี่ยวข้อง โดยสมาชิกต้องมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิท ากินในพื้นที่ถูกต้องตามกฎหมาย หากเป็นที่เช่าท ากินต้องมี ระยะเวลาการเช่าต่อเนื่องครอบคลุมระยะเวลาโครงการและได้รับอนุญาตจากเจ้าของที่ดินให้ด าเนินการ ตามโครงการได้ มีอาชีพเกษตรกรรม และพื้นที่มีความเหมาะสมในกรขุดสระเก็บกักน้ า/ขุดเจาะบ่อบาดาล 3) เข้าร่วมประชุมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในครั้งที่มีมติขอกู้เงิน และรวบรวม/ตรวจสอบเอกสาร


รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 34 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 4) สรุปผลการส ารวจพื้นที่ของสมาชิกเสนอคณะกรรมารพิจารณาเงินกู้ฯ ระดับจังหวัด เพื่อพิจารณาคัดเลือกและให้ความเห็นประกอบตามความเหมาะสมของพื้นที่ ทั้งนี้สถาบันเกษตรกรแต่ละแห่ง ต้องมีสมาชิกส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม 5) จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ฯ ระดับจังหวัด พิจารณาและวิเคราะห์ค าขอกู้ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรของสถาบันเกษตรกรตามพื้นที่เป้าหมาย น าเสนอผู้มีอ านาจเพื่ออนุมัติเงินกู้ให้ สถาบันเกษตรกร 6) สถาบันเกษตรกรน าเงินกู้ยืมที่ได้รับจัดสรรให้สมาชิกกู้ยืม อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0 ต่อปี เพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาตามแผนผังพื้นที่ที่ส ารวจ/จัดท าข้อมูล และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ พิจารณาเงินกู้ฯ ระดับจังหวัดแล้วว่า สมาชิกมีศักยภาพและพื้นที่มีความเหมาะสมในการเก็บกักน้ าได้ 7) ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ติดตาม ตรวจสอบ แนะน าการด าเนินงานตามแผนงานและกิจกรรม ที่ระบุไว้ในแผนค าขอกู้เงินของสถาบันเกษตรกร เพื่อติดตามการใช้เงินกู้ยืมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ประเมิน โครงการและรายงานให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบตามก าหนด สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร จ านวน สมาชิก (ราย) ต้นเงินกู้ยืม (บาท) ใช้เงินกู้ตาม วัตถุประสงค์ (ราย) จัดท าพิกัด แผนที่แล้ว (ราย) ส่งช าระ งวดที่ 1 (บาท) 1. สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด 22 1,100,000 22 22 275,000 2. สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด 58 2,900,000 58 58 725,000 3. สหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ (สอง) จ ากัด 15 750,000 15 15 187,500 4. สหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ จ ากัด 4 200,000 4 4 50,000 5. สหกรณ์การเกษตรท่าแดง จ ากัด 11 550,000 11 11 137,500 6. สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด 20 1,000,000 20 20 250,000 7. สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด 50 2,500,000 50 50 625,000 8. สหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด 51 2,550,000 51 51 637,500 9. สหกรณ์โคนมศรีเทพ จ ากัด 7 350,000 7 7 87,500 10. กลุ่มเกษตรกรท าไร่สระกรวด 8 400,000 8 8 100,000 11. กลุ่มเกษตรกรท าไร่นาสนุ่น 4 200,000 4 4 50,000 รวมทั้งสิ้น 250 12,500,000 250 250 3,125,000


Click to View FlipBook Version