รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 35 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 6.2 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1) สมาชิกสมัครใจและเข้าร่วมโครงการทุกรายตามที่แจ้ง ความประสงค์ ราย 250 250 100 2) ระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย มีน้ าใช้ในการ ท าการเกษตร และระบบน้ าสามารถมีน้ าใช้ได้ในระบบไร่นาจริง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ราย 250 250 100 3) สมาชิกในกลุ่มเป้าหมาย สามารถลดความเสี่ยงที่เกิดจาก ภัยแล้ง การขาดแคลนน้ าใช้เพื่อการเกษตร หรือมีระบบน้ าใช้ เพื่อเกษตรกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ราย 250 250 100 6.3 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ 1) เชิงปริมาณ (1) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้นจ านวน 11 แห่ง แบ่งเป็นสหกรณ์ จ านวน 9 แห่ง และกลุ่มเกษตรกรจ านวน 2 แห่ง สมาชิกทั้งสิ้นจ านวน 250 ราย งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จ านวน 12,500,000 บาท เงินค่าบริหารจัดการโครงการจ านวน 156,000 บาท (2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สามารถส่งช าระหนี้งวดที่ 1 ซึ่งครบก าหนดช าระในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565 ได้ตามก าหนด จ านวน 11 แห่ง เป็นเงินจ านวน 3,125,000 บาท 2) เชิงคุณภาพ (1) ลดความเสี่ยงจากวิกฤตการขาดแคลนน้ า เนื่องจากธรรมชาติเปลี่ยน และเกิดการขาดน้ า อย่างต่อเนื่อง (2) เกษตรกรมีโอกาสวางแผนการผลิตก่อนหรือหลังฤดูกาลได้ เนื่องจากมีแหล่งน้ าต้นทุน ส่งผลให้ผลผลิตทยอยออกสู่ตลาดในระยะเวลาที่เหมาะสม (3) ลดภาระหนี้สินที่เกิดความเสี่ยงจากการท าการเกษตรตามระบบธรรมชาติ เป็นการเกษตรมีระบบจัดการน้ าจากระบบชลประทาน และแหล่งน้ าตามธรรมชาติและมีแหล่งน้ าเสริม จากระบบน้ าในแปลงไร่นา (4) สมาชิกสหกรณ์และสมาชิกกลุ่มเกษตรกร สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ า เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพเสริม
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 36 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 7. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ 1) ระยะเวลาด าเนินโครงการไม่ตรงกับฤดูกาลผลิตของสมาชิก สมาชิกบางรายได้ท าการเพาะปลูก ผลผลิตไปเรียบร้อยแล้ว ท าให้มีอุปสรรคในการด าเนินการขุดสระเก็บกักน้ า/ขุดเจาะบ่อบาดาล เพราะต้องรอ เก็บเกี่ยวผลผลิตก่อนถึงจะด าเนินการได้ ท าให้การด าเนินการล่าช้า ไม่เป็นไปตามแผนที่ก าหนดไว้ 2) ปัญหาภัยธรรมชาติและผลกระทบจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ท าให้สมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรประสบปัญหาเกี่ยวกับผลผลิตที่ได้น้อยกว่าแผนที่ตั้งไว้รายได้ไม่เพียงพอต่อการส่งช าระหนี้ ส่งผลให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีความเสี่ยงในการติดตามการส่งช าระหนี้ของสมาชิก 8. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ 1) สมาชิกที่ท าการเพาะปลูกผลผลิตไปแล้ว ต้องรอเก็บเกี่ยวผลผลิตก่อนจึงจะสามารถเข้าไป ด าเนินการได้ 2) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรต้องจัดท าแนวทางการบริหารความเสี่ยงของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อป้องกันการผิดนัดช าระหนี้ที่อาจเกิดขึ้นในงวดปีถัดไปที่จะถึงก าหนดช าระ ติดตามการใช้เงินกู้ของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 37 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ติดตามการใช้อุปกรณ์การตลาด
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 38 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ การช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. การด าเนินการช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) แต่งตั้งผู้ช าระบัญชี 2) ติดตามความก้าวหน้าในการช าระบัญชี โดยให้ผู้ช าระบัญชีรายงานความเคลื่อนไหวการ ช าระบัญชีทุก 6 เดือน พร้อมปัญหาอุปสรรค 3) ผู้ช าระบัญชีจัดท ารายงานเมื่อได้ช าระบัญชีแล้วเสร็จ 4) ถอนชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ออกจากทะเบียน 2. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการช าระบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขั้นตอนการช าระบัญชี ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2564 ความก้าวหน้า/ขั้นตอน ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 1.สหกรณ์การเกษตรเกษตร อินทรีย์กกเดื่อพัฒนา จ ากัด ขั้นที่ 3 ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชี ม.80 ขั้นที่ 3 ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชี ม.80 2.สหกรณ์การเกษตรห้วย งาช้าง จ ากัด ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สิน ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและ หนี้สิน 3.สหกรณ์ปลูกผักและไม้ผล เขาค้อ จ ากัด ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นทส. ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นทส. 4.สหกรณ์การเกษตรสตรี นครบาลเพชรบูรณ์ จ ากัด ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นทส. ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นทส. 5.กลุ่มเกษตรกรท านาห้วย สะแก ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นทส. ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นทส. 6.กลุ่มเกษตรกรท าไร่ตาด กลอย ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นทส. ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นทส. 7.สหกรณ์ผู้ปลูกสับปะรด เพชรบูรณ์ จ ากัด ขั้นที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและผู้ช าระบัญชี ขั้นที่ 3 ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชี ม.80 8.กลุ่มเกษตรกรท าไร่ภูน้ า หยด ขั้นที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและผู้ช าระบัญชี ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นทส.
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 39 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขั้นตอนการช าระบัญชี ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2564 ความก้าวหน้า/ขั้นตอน ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 9.กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองไผ่ ขั้นที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและผู้ ช าระบัญชี ขั้นที่ 3 ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชี ม.80 10.สหกรณ์ทุ่งกังหันลมเขาค้อ จ ากัด ขั้นที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและผู้ ช าระบัญชี ขั้นที่ 10 ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชีและ เอกสาร (ถอนชื่อ) 11.กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านโภชน์ ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและ หนี้สิน ขั้นที่ 10 ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชีและ เอกสาร (ถอนชื่อ) 12.สหกรณ์พืชผักปลอดภัยเขาค้อ จ ากัด ขั้นที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและผู้ ช าระบัญชี ขั้นที่ 10 ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชีและ เอกสาร (ถอนชื่อ) 13.สหกรณ์สวนป่าจังหวัดเพชรบูรณ์ จ ากัด ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและ หนี้สิน ขั้นที่ 10 ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชีและ เอกสาร (ถอนชื่อ) 3. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มสหกรณ์ที่สามารถถอนชื่อได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ านวน 4 แห่ง 1) สหกรณ์ทุ่งกังหันลมเขาค้อ จ ากัด ถอนชื่อเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2565 2) สหกรณ์พืชผักปลอดภัยเขาค้อ จ ากัด ถอนชื่อเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 3) สหกรณ์สวนป่าจังหวัดเพชรบูรณ์ จ ากัด ถอนชื่อเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2565 4 )กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านโภชน์ ถอนชื่อเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2565
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 40 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) วิเคราะห์การกระจุกตัวของการฝากเงิน/การกู้เงินของสหกรณ์ 2) วิเคราะห์ความเสี่ยงของสหกรณ์จาการน าเงินไปฝาก หรือให้สหกรณ์อื่นกู้ยืม 3) วิเคราะห์ความสามารถในการช าระหนี้ของสหกรณ์ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตร 2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ ร้อยละของการบันทึกข้อมูลการท าธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ ร้อยละ 100 4. ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ทราบข้อมูลการท าธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ ว่ามีการกระจุกตัว หรือมีความเสี่ยงจากการท าธุรกรรมหรือไม่ รวมทั้งความสามารถในการช าระหนี้ของสหกรณ์ เพื่อเป็น แนวทางในการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 - 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ 6.1 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ 1) เชิงปริมาณ (1) รายงานการท าธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ ไตรมาส 3/2564 ร้อยละ 100 (2) รายงานการท าธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ ไตรมาส 4/2564 ร้อยละ 100 (3) รายงานการท าธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ ไตรมาส 1/2565 ร้อยละ 100 (4) รายงานการท าธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ ไตรมาส 2/2565 ร้อยละ 100 2) เชิงคุณภาพ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ สามารถวิเคราะห์ การท าธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ เพื่อเป็นแนวทางในการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ ช่วยลดความเสี่ยงจากการท าธุรกรรมทางการเงินได้ 7. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ สหกรณ์บางแห่ง ไม่ได้แยกบัญชีเงินรับฝากจากสหกรณ์อื่น 8. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ แนะน าให้สหกรณ์แยกบัญชีเงินรับฝากจากสหกรณ์อื่น โดยแยกเป็นราย สหกรณ์ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ร้อยละของการบันทึกข้อมูลการท าธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ แห่ง 75 75 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 41 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (น าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร) 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร ได้เข้าถึงองค์ ความรู้ ปัจจัยการผลิต รวมถึงการสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน 2) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงองค์วามรู้และการตลาดระหว่างเกษตรกรและสหกรณ์ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ ผู้เข้าร่วมโครงการน าลูกหลานเกษตรเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร จังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวน 12 ราย 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพการเกษตร 2) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 4. ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) เกษตรกรในโครงการได้กลับบ้านเกิด ได้อยู่ใกล้ชิดกับครอบครัว 2) ผู้เข้าร่วมโครงการน าลูกหลานเกษตรเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร จังหวัด เพชรบูรณ์ ได้เข้าถึงองค์ความรู้ ปัจจัยการผลิต รวมถึงการสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน เกิดความมั่นคง ในการประกอบอาชีพการเกษตร 3) สหกรณ์ในโครงการมีทายาทและผู้บริหารรุ่นใหม่ในการร่วมพัฒนาสหกรณ์ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 หน่วย : บาท ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ(บาท) ผลการเบิกจ่าย(บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 5,120 5,120 100 รวมทั้งสิ้น 5,120 5,120 100 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ 6.1 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาด้านการประกอบอาชีพ ราย 12 12 100 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะด้านการเกษตร มีรายได้ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 ราย 12 12 100 แผนงานงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 42 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ 1) เชิงปริมาณ (1) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพ จ านวน 12 ราย (2) เกษตรกรในโครงการสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตร 2 แห่ง จ านวน 12 ราย (3) สหกรณ์การเกษตรในพื้นที่เป็นพี่เลี้ยงส่งเสริม สนับสนุนแนวทางการท าการเกษตรของ ลูกหลานเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จ านวน 12 แห่ง (4) เกษตรกรในโครงการได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP จ านวน 1 ราย 2) เชิงคุณภาพ (1) เกษตรกรโครงการลูกหลานกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร ได้กลับบ้านเกิด ดูแล ครอบครัว ท าอาชีพเกษตรกรรมที่มีรายได้มั่นคง (2) เกษตรกรสามารถน าเทคโนโลยีการเกษตรมาใช้ในการประกอบอาชีพ เป็นการต่อยอด อาชีพด้านการเกษตรให้ทันสมัย (3) เกษตรกรในโครงการ เกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายร่วมกับสถาบันเกษตรกร และหน่วยงานภาคี 7. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ เกษตรกรบางรายไม่ได้อยู่ในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ 8. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ 1) เกษตรกรบางรายไม่ได้อยู่ในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ 2) การให้เงินกู้ ประกอบอาชีพการเกษตรผู้สมัครโครงการฯ ต้องเป็นสม าชิกสหกรณ์ 3) การจัดประชุม การสร้างทักษะในการประกอบอาชีพ ไม่สารถด าเนินการได้ เนื่องจาก สถานการณ์ การแพร่ระบาดของ COVD 19 ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ แนะน าส่งเสริมให้ลูกหลานเกษตรกรสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์ ราย 12 12 100 แนะน าส่งเสริมให้ลูกหลานเกษตรกรน าผลผลิตมาจ าหน่ายและ เชื่อมโยงกับสหกรณ์ ราย 12 12 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 43 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูป เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์การตลาด รวมทั้งสร้างองค์ความรู้ให้กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรในการพัฒนาการผลิต สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ การแปรรูป พัฒนาบรรจุภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพิ่มและ ส่งเสริมการตลาด 2) เพื่อพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจ ลดต้นทุน เพิ่มรายได้ให้กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์/กลุ่มเกษตร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ สหกรณ์การเกษตรเข้าร่วมโครงการ จ านวน 5 แห่ง และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เข้าร่วมโครงการ 2 แห่ง รวม 7 แห่ง ได้แก่ 1) สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด 2) สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด 3) สหกรณ์ผลิตผักน้ าดุกใต้ จ ากัด 4) สหกรณ์โคนมหล่มสัก จ ากัด 5) สหกรณ์ผักปลอดภัยภูทับเบิก จ ากัด 5) กลุ่มเกษตรอินทรีย์แสนสุข สังกัดสหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด จ ากัด 6) กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านวังน้ าอ้อมใต้ สังกัดสหกรณ์ กรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจ 5 แห่ง 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 3) ร้อยละ 70 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 4. ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเกิดการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างกัน 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า 3) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 4) สหกรณ์ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 หน่วย : บาท ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ(บาท) ผลการเบิกจ่าย(บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 18,000 18,000 100 รวมทั้งสิ้น 18,000 18,000 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 44 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ 6.1 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจัดท า และขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการด้านการตลาดการ แห่ง 8 8 100 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบบริหารจัดการ ผลผลิตทางการเกษตร ระดับจังหวัด ครั้ง 2 2 100 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ 1) เชิงปริมาณ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร ระดับจังหวัด จ านวน 2 ครั้ง โดยมีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จ านวน 38 ราย (2) น าเสนอแผนบูรณาการขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าเกษตร ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยมีหน่วยงานร่วมบูรณ์การ จ านวน 14 หน่วยงาน ได้แก่ 1) ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 36 2) ผู้บัญชาการ เรือนจ าจังหวัดเพชรบูรณ์3) ประกันสังคมจังหวัดเพชรบูรณ์4) สาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์5) อุตสาหกรรม จังหวัดเพชรบูรณ์6) ผู้อ านวยการโรงพยาบาลเพชรบูรณ์7) ผู้อ านวยการโรงพยาบาลเพชรรัตน์8) ผู้อ านวยการ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 9) ผู้อ านวยการโรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ์10) ผู้อ านวยการ โรงเรียนเมืองเพชรบูรณ์11) ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท ท๊อปแลนด์ เพชรบูรณ์ จ ากัด 12) ผู้จัดการฝ่าย การตลาดบริษัท เอก-ชัย ดิสทริบิวชั่น ซิสเทม จ ากัด (โลตัส) สาขาเพชรบูรณ์13) ผู้จัดการฝ่ายการตลาดบริษัทสยาม แม็คโคร จ ากัด (มหาชน) สาขาเพชรบูรณ์14) ผู้จัดการฝ่ายการตลาดบริษัทบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ ากัด (มหาชน) สาขาเพชรบูรณ์ 2) เชิงคุณภาพ (1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เกิดการเชื่อโยงเครือข่ายธุรกิจร่วมกัน (2) หน่วยงานที่ร่วมบูรณาการพร้อมให้การสนับสนุนสินค้าเกษตรจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (3) คณะกรรมการและฝ่ายจัดการ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความรู้ในการบริหารจัดการสินค้าเกษตร (4) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นจุดรวบรวมผลผลิตจากเกษตรกรสมาชิก มีตลาดจ าหน่ายผลผลิต ที่แน่นอน 7. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ -สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด ผลิตปุ๋ยสั่งตัด ไม่มีแม่ปุ๋ยจากปัญหาปุ๋ยเคมีราคาแพงทั่วประเทศ 8. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ - สหกรณ์ปรับลดอัตราก าลังการผลิตตามวัตถุดิบที่มีอยู่ และแจ้งเกษตรสมาชิกให้ปรับตัวในการใช้ ปุ๋ยเคมี และการลดต้นทุนการผลิต
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 45 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการอบรมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพื่อใช้รูปแบบการเกษตรแบบผสมผสานเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งของเกษตรกรในการด ารงชีพ ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร ส่งผลให้สมาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีผลผลิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น 2) เพื่อสนับสนุนให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้น าแนวทางการท าเกษตรผสมผสานลักษณะ เกษตรปลอดภัยมาปรับใช้ในการด าเนินกิจกรรมทางการเกษตรในพื้นที่ของตนเองตามความเหมาะสม โดยการถ่ายทอดความรู้การท าเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัยให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 2.1 กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 26 แห่ง สมาชิกจ านวน 227 ราย และเจ้าหน้าที่ จ านวน 16 ราย รวมทั้งสิ้น 243 ราย จ านวน 8 รุ่น 2.2 พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ อ าเภอหล่มสักอ าเภอหล่มเก่า อ าเภอวังโป่ง อ าเภอหนองไผ่ อ าเภอบึงสาม พัน อ าเภอวิเชียรบุรีและอ าเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกท าการเกษตรปลอดภัย จ านวน 26 แห่ง 2) จ านวนพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน จ านวน 1,135 ไร่ 3) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมท าการเกษตรปลอดภัย จ านวน 227 ราย 4) อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว ร้อยละ 3 5) สมาชิกที่ผ่านการอบรมได้มีการปรับเปลี่ยนไปท าการเกษตรปลอดภัย จ านวน 227 ราย 6) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 3 7) ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตาม เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของโครงการที่ก าหนด ร้อยละ 100 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) ผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้รูปแบบเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัย ในการผลิตการเกษตร ที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่ และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มรายได้ รวมทั้งลดการใช้สารเคมีในพื้นที่ 2) เกษตรกรที่ท าการผลิตแบบเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัย สามารถประกอบอาชีพ ในถิ่นฐานได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 46 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 420,000.00 420,000.00 100 รวมทั้งสิ้น 420,000.00 420,000.00 100 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ 6.1 รายละเอียดการด าเนินงานโครงการอบรม รุ่นที่ระหว่างวันที่ชื่อสหกรณ์/กลมุ่เกษตรกร เป้าหมาย (ราย) สถานทจี่ดัอบรม หมายเหตุ 1 1 - 3 ม.ีค.65 สหกรณก์ารเกษตรเพชรบูรณ์จ ากดั 19 สหกรณก์ารเกษตรเพชรบูรณ์จ ากดักสส.1 สหกรณก์ารเกษตรท่าพลพฒันา จ ากดั 10 รวม 29 2 7 - 9 ม.ีค.65 กลุ่มเกษตรกรท าไร่เพชรละคร 7 สหกรณก์ารเกษตรบึงสามพนัจ ากดักสส.3 สหกรณก์ารเกษตรบึงสามพนัจ ากดั 6 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์กนัจุ 7 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์หนองแจง 4 รวม 24 3 9 - 11 ม.ีค.65 สหกรณก์ารเกษตร กรป.กลาง นพค.เพชรบรูณ์(สอง) จา กัด 16 วัดศรีสุมงัค์(วัดตาดกลอยเหนือ) กสส.2 กลุ่มเกษตรกรท าไร่โป่งสามขา ต าบลศลิา 8 กลุ่มเกษตรกรท าสวนศลิา 13 รวม 37 4 14 - 16 ม.ีค.65 สหกรณก์ารเกษตรวิเชียรบุรีจ ากดั 9 สหกรณก์ารเกษตรวิเชียรบุรีจ ากดักสส.3 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ยางสาว 10 (สาขาท่าโรง) รวม 19 5 16 - 18 ม.ีค.65 กลุ่มเกษตรกรท านานาซ า 19 วัดศรีบุญเรือง หมู่ 8 ต.นาซ า กสส.2 กลุ่มเกษตรกรท าไร่นาซ า 15 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ต าบลนาซ า 4 กลุ่มเกษตรกรท าไร่หินฮาว 8 รวม 46 6 21 - 23 ม.ีค.65 สหกรณก์ารเกษตรศรีเทพ จ ากดั 17 สหกรณก์ารเกษตรศรีเทพ จ ากดักสส.3 กลุ่มเกษตรกรท านานาสนุ่น 7 กลุ่มเกษตรกรท าไร่นาสนุ่น 4 กลุ่มเกษตรกรท าไร่สระกรวด 5 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ศรีเทพ 5 กลุ่มเกษตรกรท านาพขุาม 5 รวม 43 7 23 - 25 ม.ีค.65 กลุ่มเกษตรกรท าไร่น้ ากอ้ 15 ทที่ าการกลุ่มเกษตรกรท าไร่น้ ากอ้กสส.2 รวม 15 8 28 - 30 ม.ีค.65 สหกรณก์ารเกษตร กรป.กลาง.นพค.เพชรบรูณ์จ ากดั 4 สหกรณก์ารเกษตร กรป.กลาง กสส.3 กลุ่มเกษตรกรท านาวังศาล 4 นพค.เพชรบูรณ์จ ากดั กลุ่มเกษตรกรท าไร่ท่าข้าม 6 รวม 14 รวมทงั้สนิ้ 227
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 47 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ (1) ผลการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการด าเนินการจัดอบรมจ านวน 8 รุ่น (2) ผลการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการติดตามผลการด าเนินงานโครงการหลังอบรม จ านวน 26 แห่ง 6.2 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกท าการเกษตร ปลอดภัย แห่ง 26 26 100 2) จ านวนพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน ไร่ 1,135 1,135 100 3) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมท าการเกษตร ปลอดภัย ราย 227 227 100 4) อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว ร้อยละ 3 3 100 5) สมาชิกที่ผ่านการอบรมได้มีการปรับเปลี่ยนไปท าการเกษตร ปลอดภัย ราย 227 227 100 6) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ มี รายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 3 3 100 7) ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรม หลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของ โครงการที่ก าหนด ร้อยละ 100 100 100 จา นวน งบประมาณ สหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร รวม สมาชิก สหกรณ์ สมาชิกกลมุ่ เกษตรกร รวม เบกิจา่ย คงเหลอืสหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร รวม สมาชิก สหกรณ์ สมาชิกกลมุ่ เกษตรกร รวม (รนุ่ ) (บาท) (แหง่ ) (แหง่ ) (แหง่ ) (ราย) (ราย) (ราย) (บาท) (บาท) (แหง่ ) (แหง่ ) (แหง่ ) (ราย) (ราย) (ราย) 8 381,000 6 20 26 73 154 227 381,000 - 7 18 25 81 146 227 เปา้หมายและผลการดา เนินการ เปา้หมาย ผลการดา เนินการ แผน แผน แผนรวม ผลรวม (สะสม) แผน ผล (สะสม) คงเหลือ สหกรณฯ์ (แหง่ ) กลุ่มฯ (แหง่ ) (ครงั้) (ครงั้) (บาท) (บาท) (บาท) 1 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบรูณ์ 7 18 50 50 39,000 39,000 - 2.แผน/ผลการเบกิจา่ยงบประมาณใน การตดิตาม 1.แผน/ผลการตดิตาม ที่หนว่ยงาน
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 48 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 6.3 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ 1) เชิงปริมาณ (1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมให้สมาชิกท าการเกษตรปลอดภัย จ านวน 26 แห่ง พื้นที่ ได้รับการส่งเสริมจ านวน 1,135 ไร่ สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการจ านวน 227 ราย (2) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปรับเปลี่ยนไปท าการเกษตรปลอดภัยจ านวน 227 ราย มีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 3 2) เชิงคุณภาพ (1) ผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้รูปแบบเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัย ในการผลิตการเกษตรที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่ และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มรายได้ รวมทั้งลดการใช้ สารเคมีในพื้นที่ (2) เกษตรกรที่ท าการผลิตแบบเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัย สามารถประกอบ อาชีพในถิ่นฐานได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 49 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน(GAP) 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้การสร้างระบบรับรองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อมั่นในการผลิตสินค้า เกษตรปลอดภัยและเพื่อส่งเสริมการการจัดท าฐานข้อมูลด้านการเกษตรปลอดภัยร่วมกับสมาชิกสหกรณ์ 2) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีความรู้ในการผลิตผักและผลไม้ ให้มี คุณภาพได้มาตรฐาน GAP ตามหลักวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และได้มาตรฐานตามที่ต้องการของตลาด 3) เพื่อพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ปี 2563 ได้รับการรับรอง GAP ปี 2564 จ านวน 2 แห่ง 1) สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด 2) สหกรณ์ผลิตผักน้ าดุกใต้ จ ากัด สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ปี 2564 ได้รับการรับรอง GAP ปี 2565 จ านวน 1 แห่ง 1) สหกรณ์ผักปลอดภัยภูทับเบิก จ ากัด 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมให้สมาชิกท าการเกษตรปลอดภัย 2) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมการท าเกษตรปลอดภัย 3) อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัย 4) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 5) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ปี 2564 ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP 4. ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานความปลอดภัยตรงตามความ ต้องการของตลาด 3) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจ าหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 หน่วย : บาท ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ(บาท) ผลการเบิกจ่าย(บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 85,680 85,680 100 รวมทั้งสิ้น 85,680 85,680 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 50 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ 6.1 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ 1) เชิงปริมาณ (1) เกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ปี 2564 ได้รับการส่งเสริมการท าเกษตรกรปลอดภัย ตามกระบวนการผลิตสินค้า GAP ผ่านการรับรอง ปี 2565 จ านวน 12 ราย (2) เกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ปี 2563 ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2564 ได้รับความรู้และจัดท าฐานข้อมูลด้านการเกษตรปลอดภัย จ านวน 60 (3) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีความรู้ในการผลิตผักและผลไม้ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน GAP ตามหลักวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และได้มาตรฐานตามที่ต้องการของตลาดจ านวน 72 ราย (4) สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของจ านวน 3 แห่ง 72 ราย 2) เชิงคุณภาพ (1) เกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และแนวคิดในการท าเกษตรปลอดภัย เป็นต้นแบบกับชุมชนด้านการท าเกษตรปลอดภัยได้ (2) เกษตรกรสมาชิกผู้ผลิตมีสุขภาพดี ผู้บริโภคมีความปลอดภัย (3) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีช่องทางการจ าหน่ายผลผลิตที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP ที่แน่นอน ได้ราคาที่สูงกว่าท้องตลาด 7. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ - เกษตรกรสมาชิกบางรายมีแปลงปลูกพืชอยู่ในพื้นที่สูงชัน การเดินทางและการติดต่อสื่อสารกับ เกษตรสมาชิกท าได้ยาก - ช่วงเวลาและรอบในการผลิตพืชผักบางชนิดขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ ไม่ตรงกับการลงพื้นที่ตรวจ แปลงของเจ้าหน้าที่ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมให้สมาชิกท าการเกษตรปลอดภัย แห่ง 2 2 100 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมการท าเกษตรปลอดภัย ราย 60 60 100 อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัย แห่ง 3 3 100 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น แห่ง 3 2 66.6 สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ปี 2564 ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP ราย 12 12 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 51 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 8. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ - ประสานงานกับสหกรณ์ในพื้นที่ แจ้งข่าวสารให้เกษตรกรสมาชิกทราบ และนัดหมาย พร้อมเตรียม รถขับเคลื่อนสี่ล้อ ในการเข้าพื้นที่ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการเดินทาง - ให้เกษตรกรสมาชิกแจ้งวันเวลาปลูก-เก็บเกี่ยวผลผลิตที่แน่นอน เพื่อก าหนดแผนการเข้าตรวจ แปลงของเจ้าหน้าที่
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 52 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ วัตถุประสงค์หลักในการส่งเสริมให้สมาชิกด าเนินธุรกิจร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในการผลิต และการจ าหน่ายตามแนววิธีทางสหกรณ์ เป็นองค์กรกลางให้ทราบถึงภาวะราคาและตลาด เพื่อเป็นข้อมูลใน การตัดสินใจในการผลิต เพื่อให้ได้คุณภาพและปริมาณตามความต้องการของตลาด ยังส่งผลให้เกษตรกร ขายผลผลิตได้ในราคาที่ดีขึ้นกว่าปัจจุบัน ท าให้ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมดีขึ้น ก่อให้เกิดความมั่นคง ต่อครอบครัวและประเทศชาติ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ สหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงห้วยน้ าขาว จ ากัด ต าบลเข็กน้อย อ าเภอเขาค้อ 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการฯ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ 2) สหกรณ์ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 80 3) สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 4) ปริมาณธุรกิจสหกรณ์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 5) ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมาย ร้อยละ 100 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ได้รับการส่งเสริม และพัฒนาความเข้มแข็งตามศักยภาพ 2) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ มีปริมาณธุรกิจ เพิ่มขึ้น 3) ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมาย ที่กรมก าหนด 4) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สหกรณ์ และมีความเข้มแข็งอยู่ในระดับ 1 สมาชิกมีส่วนร่วมด าเนินงานมากกว่าร้อยละ 70 ขึ้นไป ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่4 การสร้างโอกาสละความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนงานงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 53 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วย : บาท ประเภทงบประมาณ รายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 32,700.00 32,7000.00 100.00 6. สรุปผลการด าเนินงานโครงการ 6.1 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 1 0 0 2. สหกรณ์มีความเข้มแข็งระดับ 1 แห่ง 1 0 0 3. สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 -0.66 0 4. ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายให้เป็นไปตาม เป้าหมาย ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 100 100 สหกรณ์ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ได้รับการส่งเสริม พัฒนาความเข้มแข็งตามศักยภาพ แต่เนื่องจากในรอบสองปีย้อนหลังสหกรณ์มีผลการด าเนินงานขาดทุน ติดต่อกัน และไม่ได้มีการจัดสรรก าไรสุทธิและจ่ายทุนสวัสดิการสมาชิกหรือทุนสาธารณประโยชน์อย่างน้อย หนึ่งครั้ง รวมถึงการมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์ ต่ ากว่าร้อยละ 60 จึงท าให้สหกรณ์ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มีความเข้มแข็งอยู่ในระดับที่ 2และปริมาณธุรกิจลดลงร้อยละ 0.66 รายละเอียดดังนี้ 1) ธุรกิจเงินรับฝาก ลดลงจาก 834,501.4 บาท ในปี 2564 เหลือ 7,000 บาท ในปี 2565 ท าให้ ปริมาณเงินฝากลดลงเป็นจ านวน 827,501.40 บาท คิดเป็นร้อยละ -99.16 2) การให้กู้ระหว่างเดือนของสหกรณ์นั้น ในระหว่างปีสหกรณ์ไม่ได้ด าเนินธุรกิจสินเชื่อแต่อย่างใด มีเพียงการรับช าระหนี้จากลูกหนี้ผิดนัดช าระ เท่านั้น จึงส่งผลให้ปริมาณการธุรกิจสินเชื่อไม่มีการเพิ่มขึ้น 3) ธุรกิจจัดหาสินค้าและอุปกรณ์มาจ าหน่าย เพิ่มขึ้นจาก 4,669.00 บาท ในปี 2564 เป็น 603,331บาท ในปี 2565 ท าให้ปริมาณของธุรกิจจัดหาสินค้าและอุปกรณ์มาจ าหน่ายเพิ่มขึ้นเป็นจ านวน 598,662 บาท คิดเป็น ร้อยละ 12,822.06 4) ธุรกิจรวบรวมผลิตผล ลดลงจาก 2,452,026บาท ในปี 2564 เหลือ 354,350 บาท ในปี 2565 ท าให้ปริมาณการรวบรวมลดลงเป็นจ านวน 2,097,676บาท คิดเป็นร้อยละ -85.55 5) ธุรกิจการแปรรูปสินค้าระหว่างปีสหกรณ์ไท้ได้แปรรูปผลิตผลการเกษตรกร จึงท าให้ไม่มี การเพิ่มขึ้นของธุรกิจการแปรรูปสินค้า
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 54 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 7. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ 1. สมาชิกขาดความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทหน้าที่ตนเอง และไม่ให้ความร่วมมือกับสหกรณ์ 2. สมาชิกขาดความเชื่อมั่นในคณะกรรมการด าเนินการ 3. สมาชิกมีรายจ่ายมากกว่ารายได้ ไม่มีอาชีพเสริม เนื่องจากเป็นโครงการพระราชด าริ จึงมีข้อจ ากัดในการประกอบอาชีพ 4. สหกรณ์ด าเนินธุรกิจรวบรวมมันในปีที่ผ่าน ชุมชนมีการร้องเรียนเรื่องมลภาวะเป็นพิษ จึงท าให้ สหกรณ์ ต้องหยุดด าเนินธุรกิจรวบรวม 5. สหกรณ์ขาดเงินทุนหมุนเวียน เนื่องจากสมาชิกไม่ช าระหนี้ ไม่มีการระดมทุน 6. สหกรณ์ขาดการประชาสัมพันธ์ที่ดี แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ 1.จัดให้มีการอบรมให้กับสมาชิก คณะกรรมการ และฝ่ายจัดการ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ของตนเอง 2. คณะกรรมการต้องเป็นผู้น าที่ดีให้แก่สมาชิก เช่น มีหนี้กับสหกรณ์ต้องส่งช าระให้ได้ ตามก าหนดเวลาเพื่อเป็นตัวอย่างแก่สมาชิก ให้ค าแนะน าสมาชิกเมื่อสมาชิกมีปัญหาในการช าระหนี้ 3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริมอาชีพเสริมให้กับสมาชิก เช่น การเลี้ยงไหม การเลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ ปลูกผัก เป็นต้น 4. ประสานพ่อค้าคนกลางเพื่อท าธุรกิจรวบรวม สหกรณ์จะได้รับค่าบริการในการด าเนินธุรกิจ 5. สหกรณ์จะต้องมีการจูงใจให้สมาชิกระดมทุน ระดมเงินฝาก และการทวงถามหนี้จากสมาชิก เพื่อสหกรณ์จะได้มีเงินทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ 6. คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ จะต้องออกพบปะกับสมาชิกตามบ้านเพื่อประชาสัมพันธ์ให้สมาชิก มีความเชื่อมั่น เชื่อถือในสหกรณ์ และคณะกรรมการด าเนินการของสหกรณ์
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 55 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการส่งเสริมการสหกรณ์ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 1.วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อแนะน าส่งเสริมสมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ให้สามารถด าเนิน กิจกรรมช่วยเหลือสมาชิกทั้งในด้านเศรษฐกิจ และสังคมมีความเป็นอยู่ที่ดีในพื้นที่โครงการฯ 2) เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรรวมถึงสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้น าหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการด าเนินงานและในชีวิตประจ าวัน 3) เพื่อรักษา ยกระดับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานหรือสูงขึ้นกว่าเดิม 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ สหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 1 แห่ง (สหกรณ์การเกษตรเขาค้อพัฒนา จ ากัด) 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการฯ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ 2) สหกรณ์ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 80 3) สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 4) ปริมาณธุรกิจสหกรณ์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 5) ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมาย ร้อยละ 100 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาความเข้มแข็งตามศักยภาพ 2) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 3) ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมาย ที่กรมก าหนด 4) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สหกรณ์ และมีความเข้มแข็งอยู่ในระดับ 1 สมาชิกมีส่วนร่วมด าเนินงานมากกว่าร้อยละ 70 ขึ้นไป 5. ผลการด าเนินงาน งาน/กิจกรรมที่ด าเนินการ แผน ผล ผลงาน ร้อยละ ส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแข็งตามศักยภาพสหกรณ์ในพื้นที่โครงการฯ 1 แห่ง 1 100 ประสานหน่วยงานเพื่อส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ 6 หน่วยงาน 6 100 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความ เข้มแข็งของสหกรณ์ให้ปิดบัญชีได้และผ่านมาตรฐานสหกรณ์ 1 ครั้ง/10 ราย 1/10 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 56 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 6.งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วย : บาท ประเภทงบประมาณ รายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 4,800 4,800 100 รวมทั้งสิ้น 4,800 4,800 100 7. ผลลัพธ์ 1.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 1 0 0 สหกรณ์มีความเข้มแข็งระดับ 1 แห่ง 1 0 0 สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 -0.66 0 ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายให้เป็นไปตาม เป้าหมาย ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 100 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ได้รับการส่งเสริมพัฒนา ความเข้มแข็งตามศักยภาพ แต่เนื่องจากในรอบสองปีย้อนหลังสหกรณ์มีผลการด าเนินงานขาดทุนติดต่อกัน และ ไม่ได้มีการจัดสรรก าไรสุทธิและจ่ายทุนสวัสดิการสมาชิกหรือทุนสาธารณประโยชน์อย่างน้อยหนึ่งครั้ง รวมถึง การมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์ ต่ ากว่าร้อยละ 60 จึงท าให้สหกรณ์ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มีความเข้มแข็ง อยู่ในระดับที่ 2และปริมาณธุรกิจลดลงร้อยละ 0.66 รายละเอียดดังนี้ งาน/กิจกรรมที่ด าเนินการ แผน ผล ผลงาน ร้อยละ แนะน า ส่งเสริม การด าเนินกิจกรรมสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งตาม ศักยภาพ สามารถรักษาหรือยกระดับชั้นความเข้มแข็ง 1 แห่ง 1 100 แนะน าให้สหกรณ์จัดท าฐานข้อมูลสหกรณ์ให้เป็นปัจจุบัน 1 แห่ง 1 100 แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์ ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 1 แห่ง 1 100 รายงานข้อมูลปริมาณธุรกิจสหกรณ์ในระบบ 12 ครั้ง 11 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 57 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ธุรกิจเงินรับฝาก ลดลงจาก 834,501.4 บาท ในปี 2564 เหลือ 7,000 บาท ในปี 2565 ท าให้ปริมาณ เงินฝากลดลงเป็นจ านวน 827,501.40 บาท คิดเป็นร้อยละ -99.16 การให้กู้ระหว่างเดือนของสหกรณ์นั้น ในระหว่างปีสหกรณ์ไม่ได้ด าเนินธุรกิจสินเชื่อแต่อย่างใด มีเพียงการรับช าระหนี้จากลูกหนี้ผิดนัดช าระ เท่านั้น จึงส่งผลให้ปริมาณการธุรกิจสินเชื่อไม่มีการเพิ่มขึ้น ธุรกิจจัดหาสินค้าและอุปกรณ์มาจ าหน่าย เพิ่มขึ้นจาก 4,669.00 บาท ในปี 2564 เป็น 603,331บาท ในปี 2565 ท าให้ปริมาณของธุรกิจจัดหาสินค้าและอุปกรณ์มาจ าหน่ายเพิ่มขึ้นเป็นจ านวน 598,662 บาท คิดเป็น ร้อยละ 12,822.06 ธุรกิจรวบรวมผลิตผล ลดลงจาก 2,452,026บาท ในปี 2564 เหลือ 354,350 บาท ในปี 2565 ท าให้ ปริมาณการรวบรวมลดลงเป็นจ านวน 2,097,676บาท คิดเป็นร้อยละ -85.55 ธุรกิจการแปรรูปสินค้า ระหว่างปีสหกรณ์ไท้ได้แปรรูปผลิตผลการเกษตรกร จึงท าให้ไม่มีการเพิ่มขึ้น ของธุรกิจการแปรรูปสินค้า 8. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19) ส่งผลกระทบต่อการ ด าเนินงานของสหกรณ์ ทั้งในส่วนของการมีส่วนร่วมของสมาชิก ที่ต้องอยู่ภายใต้มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรค กิจกรรมการด าเนินการหลายอย่างของสหกรณ์ ถูกเลื่อนหรือยกเลิก เช่น ธุรกิจการแปรรูปสินค้า ธุรกิจการรวบรวมผลผลิต ธุรกิจเงินรับฝาก โค ร งก า รส่ งเส ริมสหก รณ์ต ามพ ร ะ ร าชด า ริสมเด็จพ ร ะกนิษ ฐ า ธิ ร าชเจ้ าก รมสมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการทัศนศึกษาเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์ให้แก่นักเรียนและครูที่รับผิดชอบ กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนตามพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัด เพชรบูรณ์ ประจ าปี พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อสนองพระราชด าริในการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ให้เป็นแหล่งความรู้ในวิธีการสหกรณ์และการ ฝึกการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง 2) เพื่อเสริมสร้างให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ และมีประสบการณ์กว้างไกล 3) เพื่อเป็นการปลูกฝังนิสัยรักการออม พร้อมน าความรู้มาปรับใช้กับการด าเนินกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียน 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านโป่งตะแบก อ าเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ 3. ผลการด าเนินงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ประสานงานหน่วยงานต้น สังกัดและโรงเรียนตามพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในจังหวัดเพชรบูรณ์
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 58 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อคัดเลือกนักเรียนและครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนเข้าร่วมโครงการฯ 21 คน และประสาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมจัดกิจกรรม 1) จัดท าหนังสือราชการภายนอกถึงต้นสังกัดของโรงเรียนเป้าหมายรับทราบรายละเอียดโครงการ ประสานงานต่างๆ ท าหนังสือถึงหน่วยงานรัฐ/เอกชน ที่จะน าผู้เข้าร่วมโครงการเข้าศึกษาดูงาน 2) ยืมเงินทดรองราชการ จัดซื้อจัดจ้างวัสดุ 3) ด าเนินการจัดโครงการทัศนศึกษา ตามเป้าหมาย และวันเวลา สถานที่ตามที่ก าหนด 4) รวบรวมเอกสารค่าใช้จ่ายส่งใช้เงินยืมทดรองราชการ 5) จัดท าสรุปรายงานการจัดโครงการกิจกรรมทัศนศึกษาฯ ให้กับกองประสานงานโครงการ พระราชด าริ 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการ 17 คน ประกอบด้วยครู 3 คน นักเรียน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทราบถึงพระราชด าริในการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ โดยนักเรียนได้เรียนรู้ด้านวิชาการ มีความเข้าใจวิธีการสหกรณ์จากประสบการณ์จริงและน าไปใช้ ในชีวิตประจ าวัน และนักเรียนสามารถเผยแพร่กิจกรรมสหกรณ์ไปสู่ผู้ปกครองนักเรียนและญาติพี่น้องต่อไปได้ 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข เนื่องจากปีงบประมาณ 2564 เกิดโรคระบาดโควิด 19 ท าให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมทัศนศึกษาได้ ในพื้นที่ต่างจังหวัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์จึงได้จัดทัศนศึกษาในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูเพชรบูรณ์ จ ากัด และเสริมสร้างการเรียนรู้นอกสถานที่ ณ อ าเภอเขาค้อ จังหวัด เพชรบูรณ์ เพื่อให้นักเรียนได้น าความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวัน ภาพกิจกรรมทัศนศึกษา
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 59 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการกิจกรรมประกวดการออมทรัพย์ ‘กิจกรรมสุดยอดเด็กดี มีเงินออม’ จังหวัดเพชรบูรณ์ ประจ าปี พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อให้นักเรียนรู้จักวางแผนในการใช้จ่ายเงิน และมีวินัยในการใช้จ่ายเงิน 2) เพื่อต่อยอดการเรียนรู้ทักษะกางวางแผนจัดการด้านการเงินให้กับนักเรียน 3) นักเรียนได้ตระหนักถึงการออม และใช้เงินอย่างถูกวิธี 4) นักเรียนมีความตระหนักว่าการออมเป็นการด าเนินชีวิตอย่างพอเพียงตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง 5) เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด แก่นักเรียนภายใต้แนวคิด “รู้หา รู้เก็บ รู้ใช้ รู้จักให้” 6) เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีการแบ่งปัน ความมีน้ าใจ และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้กับคนอื่นๆในสังคม 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านโป่งตะแบก อ าเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ 3. ผลการด าเนินงาน 1) ประชุมครู และผู้ปกครองร่วมกันก าหนดแนวทาง 2) จัดท า เอกสารออมทรัพย์ เอกสารควบคุมการออมทรัพย์ เอกสารแจ้งยอดออมทรัพย์ 3) ปลุกจิตส านึกนักเรียน ป.1-ป.6 ฝากเงินทุกเดือน 4) สิ้นปีการศึกษาตรวจนับเงินที่ฝากในกระปุกออมสิน ของนักเรียน ป.1-ป.6 เพื่อมอบรางวัลแก่เด็ก นักเรียนที่ออมเงิน ได้มากที่สุด อันดับ 1-6 ชื่อนักเรียนที่ได้รับรางวัล ดังนี้ อันดับที่ 1 ด.ญ. สุวรรณี ค าสุข จ านวนเงินรางวัล 300 บาท อันดับที่ 2 ด.ญ. สหัญญา เดช จ านวนเงินรางวัล 200 บาท อันดับที่ 3 ด.ช. ภูผา นิมลพันธ์ จ านวนเงินรางวัล 200 บาท อันดับที่ 4 ด.ช. อธิป พิบูลแถว จ านวนเงินรางวัล 100 บาท อันดับที่ 5 ด.ญ. กวินธิดา พรมแสง จ านวนเงินรางวัล 100 บาท อันดับที่ 6 ด.ญ. พฤษภา หงส์กลาง จ านวนเงินรางวัล 100 บาท 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) ร้อยละ 100 นักเรียนโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านโป่งตะแบกเข้าร่วมโครงการ 2) ร้อยละ 100 ของนักเรียนโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านโป่งตะแบก ในปีการศึกษา 2565 มีเงินออมเป็น ค่าใช้จ่ายการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 60 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ นักเรียนโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านโป่งตะแบกทุกคนมีวินัยในการใช้จ่ายเงิน และมีการวางแผนจัดการด้านการเงินและสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างเหมาะสมกับวัย โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย ได้รับความรู้ด้านการสหกรณ์ เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ในการพัฒนาให้มีความเป็นอยู่ที่ดี 2) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะด้านการสหกรณ์ และสร้างลักษณะนิสัยที่สอดคล้องกับอุดมการณ์ สหกรณ์ สร้างจิตส านึกในการท างานร่วมกันให้ประชาชน จนสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 3) เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกร มีความรู้ความเข้าใจในระบบเกษตรทฤษฎีใหม่ สามารถน าไปปรับใช้เพื่อ ประกอบอาชีพ ได้อย่างมั่นคง 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ ครั้งที่ 1 ณ วัดศรีชมชื่น ต.น้ าก้อ อ.หล่มสัก จ านวนผู้เข้ารับการบริการ 110 ราย ครั้งที่ 2 ณ อบต.วังบาล ต.วังบาล อ.หล่มเก่า จ านวนผู้เข้ารับการบริการ 100 ราย ครั้งที่ 3 ณ ร.ร.บ้านลาดน้อย ต.พุทธบาท อ.ชนแดน จ านวนผู้เข้ารับการบริการ 100 ราย ครั้งที่ 4 ณ อบต.หนองแจง ต.หนองแจง อ.บึงสามพัน จ านวนผู้เข้ารับการบริการ 105 ราย
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 61 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรม เบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ก าหนด 2) ประชาชนเข้ารับบริการโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 4. ผลการด าเนินงาน ประชาชนในพื้นที่เป้าหมายได้รับแจกเอกสารเผยแพร่ความรู้ด้านสหกรณ์ เกี่ยวกับหลักการ และ วิธีการสหกรณ์ ตลอดจนซักถามเกี่ยวกับการจัดตั้งและการรวมกลุ่มสมาชิก เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ในการพัฒนาให้มีความเป็นอยู่ที่ดี 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วย : บาท ประเภทงบประมาณรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 9,100 9,100 100 รวมทั้งสิ้น 9,100 9,100 100 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณและเบิกจ่ายให้เป็นไปตาม เป้าหมายที่ก าหนด ร้อยละ 100 100 100 ผลลัพธ์ เกษตรกร/ประชาชน เข้าร่วมโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามกุฏราชกุมาร ได้รับจากการศึกษาข้อมูลจากนิทรรศการเผยแพร่ที่จัดแสดงไว้ ได้รับแจก เอกสารความรู้เรื่องสหกรณ์ตามความสนใจของตนเองโดยได้รับการแนะน าจากเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวน 410 ราย งาน/กิจกรรมที่ด าเนินการ แผน ผล ผลงาน ร้อยละ 1. ประสานงานและบูรณาการร่วมกับส านักงานจังหวัด ส านักงานเกษตร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4 ครั้ง 4 100 2. จัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์เพื่อให้บริการแก่เกษตรกรในเวทีกิจกรรม 4 ครั้ง 4 100 3. รายงานผลการด าเนินกิจกรรมตามแบบรายงานที่ กคร. ก าหนด 4 ครั้ง 4 100 4. รายงานผลการด าเนินงานในระบบ 4 ครั้ง 4 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 62 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 7. ปัญหาและอุปสรรคของการด าเนินโครงการ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ท าให้การด าเนินงานโครงการ อยู่ภายใต้มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม การแพร่ระบาด กิจกรรมบางอย่างจึงไม่สามารถด าเนินการได้ ภาพกิจกรรม โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ครั้งที่ 1 – 4 ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้น า แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการด าเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2) เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสามารถน้อมน าแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในการด าเนินงาน ได้อย่างโดดเด่น และสามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นได้ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ เป้าหมายทั้งหมด 5 แห่ง สหกรณ์ จ านวน 3 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์ การเกษตรหล่มเก่า จ ากัดสหกรณ์ออมทรัพย์กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 30 จ ากัดสหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด กลุ่มเกษตรกรท านานาสนุ่น และกลุ่มเกษตรกรท าไร่น้ าก้อ 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงาน 2) ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไป ตามเป้าหมายที่ก าหนด
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 63 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรน้อมน าแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการ ด าเนินงานได้อย่างโดดเด่นและสามารถเป็นแบบอย่างได้ พร้อมขับเคลื่อนลงสู่สมาชิก 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วย : บาท ประเภทงบประมาณ รายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 1,900 1,900 100 รวมทั้งสิ้น 1,900 1,900 100 6. ผลลัพธ์ 6.1 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ สนับสนุนการด าเนินงาน แห่ง 5 5 100 6.2 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 6 แห่ง น้อมน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินงาน และส่งเสริม สนับสนุนให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการ ด าเนินชีวิตตามแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2) ผลการคัดเลือกไม่มีสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรใดที่มีผลคะแนนผ่านเกณฑ์ตามคุณสมบัติ ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนด โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2) เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสน าเงินส่วนที่ได้รับ การช่วยเหลือไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน แผนงานงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 64 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 2.1 กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตร ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 ต้นเงินกู้ขอรับการชดเชยไม่เกิน 300,000 บาท จ านวน 21 แห่ง สมาชิกเข้าร่วมโครงการจ านวน 4,799 ราย 2.2 พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ อ าเภอหล่มสัก อ าเภอหล่มเก่า อ าเภอน้ าหนาว อ าเภอวังโป่ง อ าเภอชน แดน อ าเภอหนองไผ่ อ าเภอบึงสามพัน อ าเภอวิเชียรบุรีและอ าเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบี้ย จ านวน 21 แห่ง สมาชิกจ านวน 4,799 ราย 2) จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินเพิ่มขึ้น ร้อยละ 62 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับความช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนด้านภาระหนี้สิน 2) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับโอกาสในการฟื้นฟูตนเองในช่วงการพักช าระหนี้ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบเงินอุดหนุน 2,729,465.64 2,729,465.64 100 รวมทั้งสิ้น 2,729,465.64 2,729,465.64 100 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ ล า ดับ ชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับจัดสรร ปี2565 ผลการเบิกจ่าย จ านวนเงิน มูลหนี้ต้นเงิน สมาชิก เงินชดเชยดอกเบี้ย เงินชดเชยดอกเบี้ย คงเหลือส่งคืน (บาท) (ราย) (บาท) (บาท) (บาท) 1 สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ จ ากัด 30,005,923.00 269 93,841.45 93,841.45 - 2 สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์(สอง) จ ากัด 7,114,731.08 93 26,723.05 26,723.05 - 3 สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด 27,929,343.85 223 103,171.04 103,171.04 - 4 สกรณ์การเกษตรท่าพลพัฒนา จ ากัด 30,000.00 2 119.82 119.82 - 5 สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด 19,868,352.15 184 110,761.56 110,761.56 - 6 สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์จ ากัด 1,543,419.31 1,008 712,061.34 712,061.34 - 7 สหกรณ์การเกษตรลาดแคจ ากัด 3,050,238.00 63 18,598.48 18,598.48 - 8 สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรีจ ากัด 706,000.00 10 2,575.10 2,575.10 -
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 65 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ล า ดับ ชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มูลหนี้ต้นเงิน สมาชิก ได้รับจัดสรร ปี2565 ผลการเบิกจ่าย จ านวนเงิน เงินชดเชยดอกเบี้ย เงินชดเชยดอกเบี้ย คงเหลือส่งคืน (บาท) (ราย) (บาท) (บาท) (บาท) 10 สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่จ ากัด 149,787,833.31 1,357 649,958.47 649,958.47 - 11 สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่าจ ากัด 81,474,056.00 337 337,360.67 337,360.67 - 12 สหกรณ์การเกษตรหล่มสักจ ากัด 89,378,367.20 652 357,436.74 357,436.74 - 13 สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดิน ศรีมงคลจ ากัด 774,400.50 13 2,342.61 2,342.61 - 14 สหกรณ์การเกษตรท่าแดงจ ากัด 4,206,293.00 38 21,891.58 21,891.58 - 15 กลุ่มเกษตรกรท านาโคกสะอาด 28,500.00 1 112.42 112.42 - 16 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์กันจุ 435,814.00 17 2,465.62 2,465.62 - 17 กลุ่มเกษตรกรท านาสระกรวด 354,000.00 28 1,940.37 1,940.37 - 18 กลุ่มเกษตรกรท าไร่วังพิกุล 251,930.00 8 941.05 941.05 - 19 กลุ่มเกษตรกรท านากันจุ 343,785.11 9 1,071.61 1,071.61 - 20 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ศรีเทพ 413,240.00 10 1,728.88 1,728.88 - 21 สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดิน บึงสามพัน จ ากัด 1,192,564.29 38 7,366.46 7,366.46 - รวมทั้งสิ้น 725,147,035.82 4,799.00 2,729,465.64 2,729,465.64 - 6.1 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้ เพื่อการเกษตร ได้รับการลดภาระดอกเบี้ย จ านวน 21 แห่ง สมาชิกจ านวน 4,799 ราย แห่ง/ราย 4,799 4,799 100 2) จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีอัตราส่วนเงินออมของ สมาชิกต่อหนี้สินเพิ่มขึ้น ร้อยละ 62 ร้อยละ 62 62 100 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ 1) เชิงปริมาณ (1) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตรได้รับการ ลดภาระดอกเบี้ยและมีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินเพิ่มขึ้นร้อยละ 62 จ านวนสมาชิก 4,799 ราย ชดเชยดอกเบี้ย 2,729,465.64 บาท (2) เบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยตามโครงการให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวน 4,799 ราย ดอกเบี้ยที่ได้รับชดเชย จ านวน 2,729,465.64 บาท 2) เชิงคุณภาพ (1) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับความช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนด้านภาระหนี้สิน (2) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับโอกาสในการฟื้นฟูตนเองในช่วงการพักช าระหนี้
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 66 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 7. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ 1) เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไม่ครบถ้วน และ ข้อมูลไม่ถูกต้อง ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขโครงการ 2) คุณสมบัติสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการไม่ถูกต้อง เนื่องจากเลขบัตรประจ าตัวประชาชนไม่ถูกต้อง ตรงกับข้อเท็จจริง ท าให้การตรวจสอบความซ้ าซ้อนกับ ธ.ก.ส. ไม่ถูกต้อง 3) การค านวณดอกเบี้ยชดเชย มีความคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง 4) รายละเอียดข้อมูลประกอบการขอเบิกชดเชยดอกเบี้ยไม่ครบถ้วนและไม่ตรงกับเอกสาร/ หลักฐานส่งผลให้ดอกเบี้ยที่ขอเบิกชดเชยคลาดเคลื่อน 5) การลดดอกเบี้ยให้กับสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไม่ได้จัดท าหลักฐานการลดดอกเบี้ยให้กับสมาชิก 6) งบประมาณที่ได้รับเพื่อด าเนินการให้ความช่วยเหลือไม่ทันต่อสถานการณ์ได้ทันท่วงที ท าให้สมาชิกขาดสภาพคล่องและขาดเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครอบครัว 8. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ 1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ควรมีการแจ้งประชาสัมพันธ์โครงการ/มาตรการช่วยเหลือต่าง ๆ ให้สมาชิกทราบทั่วกันทุกครั้ง เช่น ติดป้ายประชาสัมพันธ์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แจ้งในที่ประชุมกลุ่ม จดหมายข่าว 2) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรต้องมีการจัดท าฐานข้อมูลสมาชิกที่ถูกต้องครบถ้วน เพื่อใช้ในการ ตรวจสอบคุณสมบัติ เช่น ชื่อ – สกุล เลขบัตรประจ าตัวประชาชน ส าหรับการขอรับการสนับสนุนช่วยเหลือ โครงการ/มาตรการต่าง ๆ ของภาครัฐต่อไป 3) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดควรมีการจัดเก็บฐานข้อมูลทะเบียนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อใช้ใน การตรวจสอบคุณสมบัติของสมาชิก กรณีขอรับการช่วยเหลือด้านหนี้สินตามมาตรการ/โครงการต่าง ๆ ที่ด าเนินการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ เป้าหมายในการอบรมพัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์ และบูรณาการ แนะน าส่งเสริมระหว่างหน่ายงาน สหกรณ์การเกษตร คทช.จังหวัดเพชรบูรณ์ จ ากัด พื้นที่ ป่าห้วยทินและป่าคลองตีบ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐาน ราก แผนงานงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 67 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ 2) จัดท าฐานข้อมูลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ คทช. 3) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้น 4. ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้น 2) สหกรณ์มีบทบาทในการด าเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิต และการแปรรูปขั้นต้นจากผลผลิตของ สมาชิกสหกรณ์ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 หน่วย : บาท ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ(บาท) ผลการเบิกจ่าย(บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 27,000 27,000 100 รวมทั้งสิ้น 27,000 27,000 100 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ 6.1 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ประสานงาน แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์/เกษตรกร เป้าหมาย แห่ง 1 1 100 จัดประชุมเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานหน่วยงานภายใต้ คณะอนุกรรมการส่งเสริมพัฒนาอาชีพระดับจังหวัด ครั้ง/ราย 4/140 4/140 100 จัดอบรมส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ให้กับสมาชิกสหกรณ์ ราย 25 25 100 ร่วมบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการ ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ แห่ง 1 1 100 แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์ คทช.ที่จัดตั้งแล้ว สหกรณ์ รวบรวม/แปรรูปผลผลิต แห่ง 4 4 100 ตรวจสอบและจัดท าฐานข้อมูลสมาชิกสหกรณ์ที่ได้รับการ อบรมส่งเสริมพัฒนาอาชีพ แห่ง 1 1 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 68 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ เชิงปริมาณ (1) สมาชิกสหกรณ์การเกษตร คทช.จังหวัดเพชรบูรณ์ จ ากัด ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา อาชีพการแปรรูปมะขามเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม จ านวน 25 ราย (2) ร่วมบูรณาการคณะท างานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด จ านวน 38 หน่ายงาน (3) จัดประชุมคณะท างานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด จ านวน 4 ครั้ง 140 ราย (4) แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์ คทช.ที่จัดตั้งแล้ว สหกรณ์รวบรวม/แปรรูปผลผลิตจ านวน 4 แห่ง (5) ตรวจสอบและจัดท าฐานข้อมูลสมาชิกสหกรณ์ที่ได้รับการอบรมส่งเสริมพัฒนาอาชีพ จ านวน 1 แห่ง 703 ราย เชิงคุณภาพ (1) เกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ มีอาชีพเสริมในการแปรรูปผลผลิตมะขาม (2) เกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้และปัจจัยการผลิต จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (3) เกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ลดต้นทุนการผลิต จ าหน่ายผลผลิตได้ราคาสูงขึ้น ท าให้มีรายได้เพิ่มขึ้น 7. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ เกษตรกรในพื้นที่ คทช. กระจายอยู่ในพื้นที่ ต่างๆ บางพื้นที่ห่างไกลจากชุมชน ท าให้การ ติดต่อสื่อสารและการรวมกลุ่มท าได้ยาก 8. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ ประสานงานกับหน่วยงานในพื้นที่ชุมชน ติดต่อสื่อสารข้อมูลการรับรู้ให้เกษตรกรในพื้นที่ คทช. ในพื้นที่ห่างไกลชุมชน ให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 69 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในส าหรับสินค้าเกษตร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ สหกรณ์การเกษตรเข้าร่วมโครงการ จ านวน 7 แห่ง และกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 1 แห่ง รวม 8 แห่ง ได้แก่ 1) สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด 2) สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด 3) สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด 4) สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด 5) สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด 6) สหกรณ์ผลิตผักน้ าดุกใต้ จ ากัด 7) สหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด 8) กลุ่มเกษตรกรท านานาสนุ่น จ ากัด 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการ ด้านการตลาดการ เชื่อมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์ 8 แห่ง 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 3) ร้อยละ 70 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 4. ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเกิดการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างกัน 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า 3) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 4) สหกรณ์ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 หน่วย : บาท ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ(บาท) ผลการเบิกจ่าย(บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 18,000 18,000 100 รวมทั้งสิ้น 18,000 18,000 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 70 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ 6.1 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ 1) เชิงปริมาณ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร ระดับจังหวัด จ านวน 2 ครั้ง โดยมีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จ านวน 38 ราย (2) น าเสนอแผนบูรณาการขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าเกษตร ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยมีหน่วยงานร่วมบูรณ์การ จ านวน 14 หน่วยงาน ได้แก่ 1) ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 36 2) ผู้บัญชาการเรือนจ าจังหวัดเพชรบูรณ์ 3) ประกันสังคมจังหวัดเพชรบูรณ์ 4) สาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ 5) อุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบูรณ์ 6) ผู้อ านวยการโรงพยาบาลเพชรบูรณ์ 7) ผู้อ านวยการโรงพยาบาลเพชรรัตน์ 8) ผู้อ านวยการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 9) ผู้อ านวยการโรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ์ 10) ผู้อ านวยการโรงเรียนเมืองเพชรบูรณ์ 11) ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท ท๊อปแลนด์ เพชรบูรณ์ จ ากัด 12)ผู้จัดการฝ่ายการตลาดบริษัท เอก-ชัย ดิสทริบิวชั่น ซิสเทม จ ากัด (โลตัส) สาขาเพชรบูรณ์ 13) ผู้จัดการฝ่ายการตลาดบริษัทสยามแม็คโคร จ ากัด (มหาชน) สาขาเพชรบูรณ์ 14) ผู้จัดการฝ่ายการตลาดบริษัทบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ ากัด (มหาชน) สาขาเพชรบูรณ์ 2) เชิงคุณภาพ (1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เกิดการเชื่อโยงเครือข่ายธุรกิจร่วมกัน (2) หน่วยงานที่ร่วมบูรณาการพร้อมให้การสนับสนุนสินค้าเกษตรจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (3) คณะกรรมการและฝ่ายจัดการ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความรู้ในการบริหาร จัดการสินค้าเกษตร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจัดท าและ ขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการด้านการตลาดการ แห่ง 8 8 100 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบบริหารจัดการผลผลิต ทางการเกษตร ระดับจังหวัด ครั้ง 2 2 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 71 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ (4) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นจุดรวบรวมผลผลิตจากเกษตรกรสมาชิก มีตลาดจ าหน่าย ผลผลิตที่แน่นอน 7. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ - สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด ผลิตปุ๋ยสั่งตัด ไม่มีแม่ปุ๋ยจากปัญหาปุ๋ยเคมีราคาแพงทั่ว ประเทศ 8. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ - สหกรณ์ปรับลดอัตราก าลังการผลิตตามวัตถุดิบที่มีอยู่ และแจ้งเกษตรสมาชิกให้ปรับตัวในการใช้ ปุ๋ยเคมี และการลดต้นทุนการผลิต การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 72 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 2) ผลการด าเนินงาน/โครงการตามนโยบายส าคัญ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งานส่งเสริมและพัฒนา โครงการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานด้านการตลาด เชื่อมโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ 2) เพื่อส่งเสริมการบริหารจัดการการผลิตตลอดห่วงโซ่ ตั้งแต่ต้นน้ า กลางน้ า และปลายน้ า 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ 1) แปลงใหญ่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2563 จ านวน 15 แปลง 2) แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวน 9 แปลง 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินโครงการ 1) แปลงใหญ่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2563 มีแผนการตลาด จ านวน 15 แปลง 2) เกษตรกรสมาชิกแปลงใหญ่ มีต้นทุนการผลิตลดลง 3) เกษตรกรสมาชิกแปลงใหญ่ มีผลผลิตสินค้าเกษตรที่สูงขึ้น 4) แปลงใหญ่จ าหน่ายผลผลิตได้ราคาสูงขึ้น 4. ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการด าเนินงานโครงการ 1) กลุ่มแปลงใหญ่มีการเชื่อมโยงด้านการตลาดกับผู้ซื้อและสหกรณ์การเกษตรในพื้นที่ 2) กลุ่มแปลงใหญ่มีการบริหารจัดการผลผลิต ตลอดห่วงโซ่การผลิต 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 หน่วย : บาท ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ(บาท) ผลการเบิกจ่าย(บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 2,400 2,400 100 รวมทั้งสิ้น 2,400 2,400 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 73 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 6. สรุปผลการด าเนินโครงการ 6.1 ผลส าเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินโครงการ 1) เชิงปริมาณ (1) แปลงใหญ่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2563 มีแผนการตลาด จ านวน 15 แปลง (2) แปลงใหญ่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2563 ด าเนินการตามแผนการตลาด จ านวน 15 แปลง (3) ติดตามการด าเนินงานแปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวน 9 แปลง 2) เชิงคุณภาพ (1) กลุ่มแปลงใหญ่มีการเชื่อมโยงด้านการตลาดกับผู้ซื้อและสหกรณ์การเกษตรในพื้นที่ มีตลาดรองรับที่แน่นนอน (2) สมาชิกเกษตรกรแปลงใหญ่จ าหน่ายผลผลิตได้ราคาสูงขึ้น 7. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ ข้อมูลกลุ่มแปลงใหญ่ ของแต่ละหน่วยงานไม่ตรงกัน 8. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ ร่วมบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ติดตามการด าเนินงานแปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แห่ง 9 9 100 จัดท าแผนการตลาดแปลงใหญ่กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ปี 2563 แห่ง 15 15 100 แปลงใหญ่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2563 ด าเนินการตามแผนการตลาด แห่ง 15 15 100
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 74 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระยะเวลาด าเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565 1. ที่มาของกองทุนพัฒนาสหกรณ์ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 โอนเงินทุนหมุนเวียนส่งเสริม การสหกรณ์ มาเป็นของกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ต่อมาปี พ.ศ. 2545 พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติ ให้สอดคล้อง กับการโอนอ านาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ให้กองทุนพัฒนาสหกรณ์อยู่ในความดูแลของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ตั้งแต่วันที่ 6 ตุลาคม 2545 เป็นต้นมา มีวัตถุประสงค์ให้สหกรณ์กู้ยืมเพื่อเป็นทุนหมุนเวียนสนับสนุนกิจการของสหกรณ์ และเพื่อด าเนินการขับเคลื่อน นโยบายส าคัญ หรือเพื่อเป็นการช่วยเหลือแก้ปัญหาแก่สมาชิกเป็นการเฉพาะ 2. คุณสมบัติของสหกรณ์ที่จะกู้ยืม 1) สหกรณ์ทุกประเภทในจังหวัดเพชรบูรณ์ 2) มีทุนเรือนหุ้นไม่ต่ ากว่า 50,000 บาท 3) มีวินัยทางการเงิน และไม่มีหนี้ผิดนัดค้างช าระต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ทุกเงินทุน ส าหรับกรณี สหกรณ์ได้รับการผ่อนผัน การขยายเวลาช าระหนี้ การลดหนี้ การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ การไกล่เกลี่ยคดี การประนีประนอมหนี้ และสหกรณ์สามารถช าระหนี้ได้ตามเงื่อนไข 4) ไม่มีการทุจริต และไม่มีข้อบกพร่องทางการเงินและทางบัญชี ในกรณีที่สหกรณ์มีข้อบกพร่องหรือ ทุจริต ต้องได้รับการแก้ไขแล้ว 5) สหกรณ์ตั้งใหม่ไม่เกิน 1 ปี ให้กู้ได้ไม่เกิน 500,000 บาท 3. กิจกรรม/งานที่ด าเนินการ 1) ส ารวจ และจัดท าข้อมูลความต้องการเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ 2) ให้ค าแนะน าสหกรณ์ในการจัดท าค าขอกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ 3) รับค าขอกู้จากสหกรณ์/ตรวจสอบเอกสารประกอบค าขอกู้/วิเคราะห์ค าขอกู้ 4) เตรียมเอกสารการประชุม/จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ กพส. ระดับจังหวัด 5) จัดท ารายงานผลการประชุมเสนอผู้มีอ านาจพิจารณาอนุญาต/ไม่อนุญาต 6) แจ้งผลการอนุญาตให้สหกรณ์ทราบ/รายงานขอเบิกเงินจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ 7) รับหนังสือขอเบิกรับเงินกู้จากสหกรณ์/ตรวจสอบเอกสาร/เบิกจ่ายเงินกู้ให้กับสหกรณ์ 8) ตรวจสอบติดตามการใช้เงินกู้ 9) เร่งรัดกรช าระหนี้ก่อนและหลังครบก าหนดช าระ 10) ยืนยันยอดเงินกู้คงเหลือ 11) จัดชั้นลูกหนี้ของสหกรณ์เสนอกรมส่งเสริมสหกรณ์/แจ้งผลการจัดชั้นให้สหกรณ์ 12) ตรวจสอบหลักประกันเงินกู้/เรียกให้สหกรณ์จัดท าหลักประกันเงินกู้เพิ่มเติม 13) จัดท ารายงานผลการปฏิบัติงานประจ าเดือน/ประจ าไตรมาส/ประจ าปี
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 75 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 4. ผลการด าเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ได้อนุมัติกรอบวงเงิน งบประมาณที่สามารถปล่อยกู้ให้แก่สหกรณ์ได้รวมจ านวน 62 ล้านบาท คือ 1) โครงการปกติเพื่อด าเนินงาน ตามแผนงานปกติ จ านวน 24 ล้านบาท 2) โครงการพิเศษ จ านวน 9 โครงการ เพื่อให้สหกรณ์ด าเนินการภายใต้ นโยบายภาครัฐ จ านวน 25 ล้านบาท 5. สรุปผลการด าเนินงานโครงการ สหกรณ์ได้รับเงินกู้สอดคล้องกับแผนธุรกิจ และฤดูการผลิตของสมาชิก ท าให้การใช้เงินกู้ตรงตาม วัตถุประสงค์ และสามารถส่งช าระหนี้ได้ตามก าหนด อีกทั้งการปฏิบัติในการให้บริการกับสมาชิกอย่างเต็มใจ โปร่งใส และเสมอภาคทุกสหกรณ์ ท าให้สหกรณ์มีความน่าเชื่อถือและให้ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ กับส านักงาน สหกรณ์จังหวัดเป็นอย่างดี 6. ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินโครงการ คณะกรรมการด าเนินการ และฝ่ายจัดการสหกรณ์ ศึกษาหลักเกณฑ์และระเบียบการกู้เงินกองทุน พัฒนาสหกรณ์น้อยมาก ท าให้การปฏิบัติงานเข้าใจคลาดเคลื่อน ส่งผลให้การด าเนินการช้าในแต่ละขั้นตอน ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 76 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกร รองรับผลผลิต ทางการเกษตร (พรก.เงินกู้) โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกร รองรับ ผลผลิตทางการเกษตร มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับศักยภาพสถาบันเกษตรกรให้เป็นศูนย์กลางในการบริหาร จัดการผลผลิตทางการเกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตร สนับสนุนและส่งเสริมให้สถาบันเกษตรกร เป็นกลไกหลักในระดับชุมชนในการอ านวยความสะดวกให้แก่สมาชิกและเกษตรกรทั่วไปในการเพาะปลูก การรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูปผลผลิตการเกษตร ผลักดันให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ขอรับการ สนับสนุนให้ความช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิก และเกษตรกรทั่วไปที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับพื้นที่ให้มีรายได้จากการประกอบอาชีพเกษตรอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มช่องทาง จ าหน่ายผลผลิตทางการเกษตรในภาวะความผันผวนของตลาดสินค้าเกษตร ทั้งนี้ กรมส่งเสริมสหกรณ์ ใน ฐานะหน่วยงานหลักในการส่งเสริม สนับสนุน และผลักดันให้สหกรณ์ภาคการเกษตร จ านวน 4,509 สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 4,661 กลุ่ม รวมไม่น้อยกว่า 9,170 แห่ง ซึ่งเป็นองค์กรธุรกิจในระดับชุมชนที่เป็น หลักในการช่วยเหลือ ให้บริการ และเป็นที่พึ่งให้กับเกษตรกรสมาชิก และเกษตรกรทั่วไปในพื้นที่ได้ทั้งใน ด้านเศรษฐกิจและสังคมระดับชุมชนอีกด้วย รายการที่ได้รับ/งบประมาณที่ได้รับ สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร รายการ จ านวน หน่วย นับ กรมโอนเงิน จังหวัด วงเงินรวม ตามสัญญา วงเงิน อุดหนุน คงเหลือ ส่งคืนกรม สหกรณ์การเกษตร เพชรบูรณ์จ ากัด โกดัง ขนาดไม่น้อยกว่า 1,000 ตัน 1 แห่ง 5,772,600 6,414,000 5,772,600 6,544.94 โกดัง ขนาดไม่น้อยกว่า 10,000 ตัน 1 แห่ง 43,722,000 48,580,000 43,722,000 44,340.16 เครื่องชั่งพร้อมห้องควบคุม ขนาดไม่น้อยกว่า 80 ตัน 1 แห่ง 1,546,110 1,717,900 1,546,110 7,389.00 เครื่องอบลดความชื้นพร้อม โรงคลุมขนาดไม่น้อยกว่า 500 ตัน/วัน 1 แห่ง 53,099,100 58,999,000 53,099,100 - สหกรณ์การเกษตรเพื่อ การตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. เพชรบูรณ์จ ากัด รถแทรกเตอร์ขนาดไม่น้อย กว่า 95 แรงม้า พร้อม อุปกรณ์ 1 คัน 1,394,100 1,549,000 1,394,100 - สหกรณ์การเกษตร ชนแดน จ ากัด โกดัง ขนาดไม่น้อยกว่า 1,000 ตัน 1 แห่ง 5,791,500 6,435,000 5,791,500 - เครื่องอบลดความชื้นพร้อม โรงคลุม ขนาดไม่น้อยกว่า 250 ตัน/วัน 1 แห่ง 16,965,000 18,850,000 16,965,000 - สหกรณ์การเกษตร ท่าแดง จ ากัด ลานตาก ขนาดไม่น้อยกว่า 1,600 ตารางเมตร 1 แห่ง 772,200 858,000 772,200 -
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 77 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร รายการ จ านวน หน่วย นับ กรมโอนเงิน ให้จังหวัด วงเงินรวม ตามสัญญา วงเงิน อุดหนุน คงเหลือ ส่งคืนกรม สหกรณ์การเกษตร บึงสามพัน จ ากัด รถตักล้อยาง ขนาดไม่น้อยกว่า 120 แรงม้า 1 คัน 1,179,900 1,311,000 1,179,900 - รถแทรกเตอร์ขนาดไม่น้อยกว่า 95 แรงม้า พร้อมอุปกรณ์ 1 คัน 1,434,150 1,593,500 1,434,150 - สหกรณ์การเกษตร วิเชียรบุรีจ ากัด รถตักล้อยาง ขนาดไม่น้อยกว่า 130 แรงม้า 1 คัน 1,575,000 1,750,000 1,575,000 - รถแทรกเตอร์ขนาดไม่น้อยกว่า 95 แรงม้า พร้อมอุปกรณ์ 1 คัน 1,434,150 1,593,500 1,434,150 - สหกรณ์การเกษตร หนองไผ่จ ากัด รถแทรกเตอร์ขนาดไม่น้อยกว่า 95 แรงม้า พร้อมอุปกรณ์ 1 คัน 1,431,000 1,590,000 1,431,000 - โกดัง ขนาดไม่น้อยกว่า 500 ตัน 1 แห่ง 2,160,000 2,400,000 2,160,000 - ลานตาก ขนาดไม่น้อยกว่า 1,600 ตารางเมตร 1 แห่ง 860,400 956,000 860,400 - ข้อมูลการใช้ประโยชน์ ที่ สหกรณ์ ปี 2564 ปี 2565 ชนิดผลผลิต รวบรวม/ แปรรูป (ตัน) มูลค่ารวบรวม/ แปรรูป ชนิดผลผลิต รวบรวม/แปรรูป (ตัน) มูลค่ารวบรวม/ แปรรูป 1 สหกรณ์การเกษตร ชนแดน จ ากัด ข้าวเปลือก ข้าวสาร 362 107 2,716,504.60 2,265,206.40 ข้าวเปลือก ข้าวโพด ปาล์ม ไม้ ข้าวสาร 598 1,547 68 458 25 4,487,759 10,056,055 320,911 343,842 528,108 2 สหกรณ์การเกษตร ท่าแดง จ ากัด ข้าวเปลือก พืชผัก ถั่วเขียว 3,296 98 376 24,720,851 1,964,091 11,672,616 ข้าวเปลือก พืชผัก ถั่วเขียว 2,327 140 357 17,452,857 2,793,792 10,689,182 3 สหกรณ์การเกษตร บึงสามพัน จ ากัด ข้าวเปลือก 188 1,413,015 ข้าวเปลือก ข้าวโพด 411 177 3,084,197 1,151,220 4 สหกรณ์การเกษตร วิเชียรบุรี จ ากัด ข้าวเปลือก ข้าวโพด ข้าวโพดเมล็ด 1,598 2,207 241 11,510,281 15,451,232 1,813,221 ข้าวเปลือก ข้าวโพด มันส าปะหลัง ข้าวโพดเมล็ด 975 1,881 1,694 177 7,024,637 12,681,879 5,083,735 1,331,084
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 78 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่ สหกรณ์ ปี2564 ปี 2565 ชนิดผลผลิต รวบรวม/ แปรรูป (ตัน) มูลค่า รวบรวม/แปร รูป ชนิดผลผลิต รวบรวม/ แปรรูป (ตัน) มูลค่ารวบรวม/ แปรรูป 5 สหกรณ์การเกษตรเพื่การตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส.เพชรบูรณ์จ ากัด ข้าวเปลือกข้าวโพด ใบยาสูบ 1,001 1,760 475 7,510,493 12,321,017 23,774,806 ข้าวเปลือก ข้าวโพด 2,127 162 15,959,033 1,166,705 6 สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด ข้าวเปลือก ข้าวโพด ถั่วเขียว ข้าวโพดเมล็ด 15,912 3,109 949 460 114,571,984 22,386,047 32,295,176 3,455,306 ข้าวเปลือก ข้าวโพด ถั่วเขียว ข้าวโพดเมล็ด 10,732 1,613 1,255 370 77,272,150 11,619,101 42,676,210 2,781,313 7 สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด ข้าวเปลือก ถั่วเขียว ข้าวโพด ข้าวสาร 4,675 399 84 705 37,404,656 12,376,657 607,005 17,632,599 ข้าวเปลือก ถั่วเขียว ข้าวโพด ข้าวสาร 9,575 242 328 2,141 76,60,6050 7,509,282 2,301,612 53,537,267 ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินการตามโครงการฯ สหกรณ์ต้องเรียนรู้ระบบการท างานของเครื่องอบลดความชื้นให้สามารถด าเนินงานอบลด ความชื้นผลผลิตข้าวโพดได้อย่างมีประสิทธิภาพ การแข่งขันด้านราคาผลผลิตในพื้นที่ แนวทางการแก้ไข/ข้อเสนอแนะ สหกรณ์แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการใช้งานและดูแลอุปกรณ์การตลาดทุกรายการ และเรียนรู้ ระบบการท างานของเครื่องอบลดความชื้นให้สามารถด าเนินงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ภาพประกอบการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์ สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด เครื่องอบลดความชื้น พร้อมโรงคลุม ขนาดไม่น้อยกว่า 250 ตัน/วัน โกดัง ขนาดไม่น้อยกว่า 1,000 ตัน
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 79 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ สหกรณ์การเกษตรท่าแดง จ ากัด ลานตาก ขนาดไม่น้อยกว่า 1,600 ตารางเมตร สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด รถตักล้อยางขนาดไม่น้อยกว่า 120 แรงม้า รถแทรกเตอร์ ขนาดไม่น้อยกว่า 95 แรงม้าพร้อมอุปกรณ์
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 80 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด รถแทรกเตอร์ ขนาดไม่น้อยกว่า 95 แรงม้าพร้อมอุปกรณ์ รถตักล้อยาง ขนาดไม่น้อยกว่า 130 แรงม้า สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.เพชรบูรณ์ จ ากัด รถแทรกเตอร์ ขนาดไม่น้อยกว่า 95 แรงม้าพร้อมอุปกรณ์
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 81 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่จ ากัด รถแทรกเตอร์ขนาดไม่น้อยกว่า 95 แรงม้าพร้อมอุปกรณ์ ลานตากขนาด ไม่น้อยกว่า 1,600 ตรม. สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด โกดัง ขนาดไม่น้อยกว่า 10,000 ตัน เครื่องอบลดความชื้น พร้อมโรงคลุม ขนาดไม่น้อยกว่า 500 ตัน/วัน
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 82 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ เครื่องชั่งพร้อมห้องควบคุม ขนาดไม่น้อยกว่า 80 ตัน
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 83 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09.00 น. นายกฤษณ์ คงเมือง ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ มอบใบประกาศเกียรติคุณแก่ส่วนราชการที่ร่วมด าเนินการ และขับเคลื่อนโครงการ “เพชรบูรณ์พอเพียง ระยะที่ 2” ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมีนายอนุสรณ์ ศรีนาราง สหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ เข้ารับใบประกาศเกียรติคุณดังกล่าว ณ ห้องเมืองราด ชั้น 5 ศาลากลางจังหวัดเพชรบูรณ์ (อาคาร 2) ต าบลสะเดียง อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ มอบใบประกาศเกียรติคุณแก่ส่วนราชการที่ร่วมด าเนินการ และขับเคลื่อนโครงการ “เพชรบูรณ์พอเพียง ระยะที่ 2” ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานประจ าปี 2565 (Annual Report) | 84 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์