The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

305 เนื้อหา ตำรา วิชาอาวุธ ปี3 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Patiparn Potardee, 2020-09-21 09:52:28

3. วิชาอาวุธ ปี3 2563

305 เนื้อหา ตำรา วิชาอาวุธ ปี3 2563

บทที่ วิชาอา ุวธ 51

ปนื กล เอ็ม 60 ขนาด 7.62 มม.

กลา่ วนำ�

1. บทบาทของปนื กล
ปืนกลเป็นอาวุธยิงสนับสนุนพลปืนเล็กทั้งในการเข้าตีและตั้งรับ ปืนกลเป็น

อาวุธที่มีสมรรถนะในการยิงต่อที่หมายด้วยอำ�นาจการยิงเป็นกลุ่มก้อน และมีความ
แม่นยำ�ซึ่งปฏิบัติอยู่ข้างหลังของอำ�นาจการยิงของอาวุธประจำ�กาย สามารถสนับสนุน
พลปืนเล็กด้วยกลุ่มการยิงอย่างหนาแน่นโดยใกล้ชิดและต่อเนื่องตามความจำ�เป็น
เพื่อให้บรรลุภารกิจที่รับมอบในการเข้าตีสามารถทำ�การยิงระยะไกล การยิงป้องกัน
ระยะใกล้และการยิงป้องกันขั้นสุดท้าย โดยใช้เป็นอาวุธทำ�การตั้งยิงเป็นหน่วย อยู่เป็น
ส่วนหนึ่งของหน่วยยิงในการตั้งรับ

2. อาวธุ ศึกษา
2.1 กลา่ วทัว่ ไป

ปนื กลแบบ เอม็ 60 ระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศ บรรจกุ ระสนุ ดว้ ยสาย
เป็นอาวุธอัตโนมัติที่มีการท�ำงานด้วยแก๊ส (รูปที่ 1) เป็นอาวุธยิงจากท่าลูกเล่ือนเปิด
ป้อนกระสุนเข้าปืนด้วยสายกระสุนโลหะชนิดข้อต่อ ปืนทุกกระบอกจะได้รับจ่าย
ล�ำกล้องปืน 2 ล�ำกล้อง เป็นอาวธุ ทีจ่ ดั ระยะหน้าลูกเลื่อนแบบตายตัว ซง่ึ ท�ำให้เปลย่ี น
ล�ำกล้องได้รวดเรว็

52 วชิ าอาวธุ 2.2 เคร่อื งเลง็
ปนื กลแบบ เอม็ 60 มศี นู ยห์ นา้ ตดิ แนน่ อยกู่ บั ล�ำกลอ้ งเปน็ ใบศนู ยห์ ลงั ตดิ ตง้ั
อยบู่ นฐาน มแี หนบแบบกระดก (รปู ท่ี 2) สามารถทจ่ี ะพบั ศนู ยห์ ลงั ไปขา้ งหนา้ ใหอ้ ยตู่ ามแนว
พนื้ ระดบั ได้ ในเมอ่ื เคลอ่ื นยา้ ยเปน็ แผน่ มาตราระยะยงิ ตดิ อยทู่ ใ่ี บศนู ยห์ ลงั โดยมเี ครอื่ งหมาย
ทกุ  ๆ ระยะยงิ 100 เมตร ตงั้ แต่ 300 เมตร จนถงึ ระยะยงิ หวงั ผลสงู สดุ 1,100 เมตร การเปลยี่ น
ระยะยงิ อาจจะท�ำโดยใชก้ รอบเลอ่ื นศนู ยห์ รอื ควงมมุ สงู กไ็ ด้ กรอบเลอ่ื นศนู ยห์ ลงั มกั ใชส้ �ำหรบั
การแกม้ มุ สงู ทเ่ี ปน็ หลกั ใหญ ่ ๆ ควงมมุ สงู นน้ั ใชใ้ นการปรบั ในขน้ั รายละเอยี ด เชน่ ในระหวา่ ง
การยงิ ปรับศนู ย์ปืน ควงมมุ สงู เมือ่ หมนุ 4 คลิก จะแก้มมุ สูงของปืนได้ 1 มิลเลยี ม ศูนย์
สามารถปรบั ทางทิศไปทางขวาหรอื ทางซ้ายข้างละ 5 มลิ เลยี ม จาก 0 ควงมมุ ทิศ ติดตง้ั อยู่
ทางด้านซ้ายของตวั ศนู ย์ 1 คลิก ของควงมมุ ทศิ จะแก้ทางทศิ ได้เท่ากบั 1 มิลเลยี ม

รูปที่ 1 ปนื กลแบบ เอ็ม 60 ติดต้ังขาทรายและขาหยัง่

2.3 หา้ มไก วิชาอา ุวธ 53
แผ่นห้ามไกติดต้ังอยู่ทางด้านซ้ายของเรือนเครื่องลั่นไก โดยมีตัวหนังสือ
S (SAFE) และตวั หนังสอื F (FIRE) บอกต�ำแหน่งไว้ เมอ่ื อยู่ในท่าห้ามไก ลกู เลอ่ื นจะดึงมา
ขา้ งหลงั ไมไ่ ดห้ รอื จะปลดใหเ้ คลอ่ื นทไี่ ปขา้ งหนา้ กไ็ มไ่ ด้ ดนั รงั้ ลกู เลอื่ นอยตู่ ดิ กบั ทางขา้ งขวา
ของปนื ส�ำหรบั ดง่ิ ลกู เลอ่ื นมาขา้ งหลงั ทกุ ครง้ั ทด่ี งึ ลกู เลอื่ นมาขา้ งหลงั ดว้ ยมอื จะตอ้ งดนั คนั
รัง้ ลูกเลือ่ นกลบั ไปอยู่ในต�ำแหน่งข้างหน้าเสมอ
2.4 ปลอกป้องกันแสง
มปี ลอกปอ้ งกนั แสง ซง่ึ ตดิ อยตู่ อ่ จากปากล�ำกลอ้ งปนื ออกไป รอ่ งเซาะของ
ปลอกป้องกันแสงน้ี จะเกดิ อาการสน่ั ในระหว่างท�ำการยงิ และขจัดแสงและควนั ให้หมดไป
2.5 ขาทราย
ปืนกลแบบ เอ็ม 60 สามารถยิงอย่างได้ผลในเม่ือปืนกลติดต้ังขาทราย
เหลก็ พาดบ่ามไี ว้เพอ่ื รองรบั ด้านท้ายของปืน ด้ามหิว้ ปืนมไี ว้ส�ำหรบั น�ำปืนเคล่อื นทใ่ี นระยะ
ใกล้ ๆ และสามารถจดั ให้เบนหลบพ้นจากเส้นเลง็ ของพลยิงได้
2.6 ขาหย่ัง
ขาหยง่ั แบบ เอม็ 122 จดั ไว้เพอ่ื ท�ำให้ปนื เกดิ ความมน่ั คงในระหว่างการตงั้
ยงิ ปืนกลเอม็ 60 การยงิ ปืนจากขาหย่ังจะท�ำให้เกิดความแม่นย�ำมาก และบงั คบั ปืนได้ง่าย

รูปที่ 2 ใบศูนย์หลัง

3. รายการทว่ั ไป

3.1 กระสุน
กระสุน..........................................ขนาด 7.62 มม. ชนดิ ธรรมดา, ส่องวิถี,
เจาะเกราะ, เจาะเกราะเพลิง, ซ้อมรบ,
กระสนุ หัดบรรจุ ส�ำหรบั กระสนุ เจาะเกราะ
และเจาะเกราะเพลงิ ยงั ไมอ่ นมุ ตั ใิ ชเ้ พอ่ื ฝกึ
ความยาวของปืน.............................................................43 1/2 น้วิ
น�้ำหนักของปืน.................................................................23 ปอนด์
นำ้� หนกั ของขาหย่ัง เอม็ 122 พร้อมด้วย
เรือนควงสงู และควงส่วนและเดอื ยยึดปืน
และฐานยดึ ปืน...................................................................19.5 ปอนด์
ระยะยงิ ไกลสดุ ...................................................................3,725 เมตร
ระยะยงิ หวังผลสูงสุด..........................................................1.100 เมตร
ความสูงของปืนเมื่อติดขาหย่งั แบบ เอม็ 122.................16 1/2 นิ้ว
54 วชิ าอาวธุ 3.2 อัตราการยงิ
จงั หวะยงิ ตอ่ เนอื่ ง.....................................100 นดั ตอ่ นาที (เปลย่ี นล�ำกลอ้ งปนื
ทกุ 10 นาที)
จงั หวะยงิ เรว็ ...............................................200 นดั ตอ่ นาที (เปลยี่ นล�ำกลอ้ งปนื
ทุก 2 วินาที)
ความเรว็ ในการยงิ สงู สดุ ............................... ประมาณ 550 นัดต่อนาที
(เปลย่ี นล�ำกลอ้ งปนื ทกุ 10 นาท)ี
3.3 อัตรากระสนุ มูลฐาน
(ชุดพลประจ�ำปืน).............................................600 ถึง 900 นัด
พลยิงน�ำกระสุนชนิดกระเป๋าผ้า 100 นัด 3 สาย (หนง่ึ สายตดิ อยู่กบั ปืน)
พลยงิ ผู้ช่วยน�ำกระสุนชนดิ กระเป๋าผ้า 100 นดั 3 สาย
พลกระสนุ เม่อื ท�ำหน้าท่นี �ำกระสุนชนดิ กระเป๋าผ้า 100 นดั 3 สายต่อปืน
ระยะไกลสุดในการยงิ กราดเมอื่ ภูมิประเทศเป็น
พนื้ ที่ระดบั หรือภมู ิประเทศลาดเสมอ.....................................600 เมตร

มมุ ลง เม่อื ยึดขาหยง่ั ...........................................................200 มิลเลียม
มมุ ลง เมอ่ื ปล่อยขาหยง่ั ......................................................445 มลิ เลียม
มุมกด เม่อื ยดึ ขาหย่งั ...........................................................200 มิลเลียม
มมุ กด เมือ่ ปล่อยขาหย่งั ......................................................445 มิลเลยี ม
มมุ ส่าย บงั คับด้วยเรอื นควงมุมส่ายและมุมสูง.....................100 มลิ เลียม
เขตการยงิ ปกติ........................................................................875 มลิ เลยี ม
(เม่ือตดิ ขาหยั่ง)
การลุกไหม้หมดของกระสนุ ส่องวถิ .ี .......................................ประมาณ 900 เมตร

วิชาอา ุวธ 55

56 วชิ าอาวธุ การถอด และการประกอบ

1. กลา่ วท่ัวไป

1.1 ปืนกลแบบ เอ็ม 60 สามารถถอดและประกอบได้โดยไม่ต้องใช้กำ�ลัง
ยกเว้นแต่ชุดลำ�กล้องปืน เครื่องมือในการถอดปืนทุกชิ้นส่วน ใช้หัวกระสุนหรือวัตถุปลาย
แหลมอื่น ๆ

1.2 ในขณะทถี่ อดปนื ออกจะตอ้ งวางชนิ้ สว่ น (ตามล�ำ ดบั ทถี่ อด) บนพนื้ ทสี่ ะอาด
เรยี บ เชน่ บนโตะ๊ บนผา้ เตน็ ท์ หรอื บนแผน่ ชนิ้ สว่ นปนื การปฏบิ ตั ดิ งั นเี้ ปน็ การลดการตกหาย
ของชิ้นส่วนปืน และเป็นการช่วยในการประกอบปืนอีกด้วย การประกอบชิ้นส่วนจะกระทำ�
ยอ้ นกลบั ตามล�ำ ดบั ชนิ้ สว่ นของปนื ทกุ ชนิ้ สว่ นตอ้ งทราบในขณะทถี่ อดออกมา และประกอบ
เข้าที่ด้วย

1.3 การถอดและการประกอบชิ้นส่วนระบบแก๊ส และการปรับแผ่นมาตรา
ระยะยิงต้องกระทำ�น้อยที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการสึกหรอของชิ้นส่วนเหล่านั้น

1.4 ไม่อนุญาตให้ถอดปืนด้วยวิธีอื่น นอกจากที่บรรยายไว้ในคู่มือนี้ เว้นแต่
เจ้าหน้าที่สรรพาวุธที่รับการฝึกมาแล้ว

2. แบบของการถอดและประกอบ

การถอดและประกอบมี 2 แบบ คือ การถอดและประกอบปกติ และการถอด
และประกอบพิเศษ

รูปที่ 3 การถอดปนื กลออกเป็น 6 ชน้ิ ส่วนใหญ่

3. การถอดปกติ วิชาอา ุวธ 57

3.1 กลา่ วทัว่ ไป
3.1.1 ชิ้นส่วนใหญ่ 1 ชิ้นส่วน ได้แก่ ชุดพานท้ายปืน, ชุดเครื่องรับ
แรงถอย, ชุดเคลื่อนที่, ชุดเรือนลั่นไก, ชุดลำ�กล้อง และชุดโครงลกู เลื่อน (รูปที่ 3)
3.1.2 การถอดปกติ จะเริ่มเมื่อลูกเลื่อนอยู่ข้างหน้า ปิดฝาปิดห้อง
ลกู เลอื่ นและแผน่ หา้ มไกทอี่ ยทู่ หี่ า้ มไกกอ่ นทจี่ ะถอดปนื จะตอ้ งตรวจปนื ใหป้ ลอดภยั เสยี กอ่ น
3.2 การถอดชดุ พานท้ายปืน
3.2.1 ยกเหล็กพาดบ่าขึ้น แล้วสอดปลายหัวกระสุนเข้าไปในช่องสลัก
กลอน (รปู ที่ 4)
3.2.2 เมื่อสลักกลอนหลุด ให้เลื่อนพานท้ายออกมา โดยดึงออกมา
ทางด้านหลังตรง ๆ
3.3 การถอดชดุ เครื่องรับแรงถอย
ชดุ เครอื่ งรบั แรงถอยประกอบดว้ ย แผน่ กลอนเครอื่ งรบั แรงถอย และเครอื่ ง
รับแรงถอย (รูปที่ 3)

รูปท่ี 4 การปลดกลอนยดึ พานท้ายปนื

58 วชิ าอาวธุ รปู ที่ 5 การถอดชดุ เคร่ืองรบั แรงถอย

รปู ที่ 6 การแยกชดุ เคร่อื งรบั แรงถอย (แกนเครือ่ งรับแรงถอย)
ออกจากชุดเคลื่อนที่ (หวั แนบก้านสบู )

3.4 การถอดชดุ เคล่ือนที่
ชดุ เคลือ่ นทปี่ ระกอบดว้ ย กา้ นสบู ลกู สบู ลกู เลอื่ น แหนบ สง่ กา้ นสบู และ
แกนแหนบส่งก้านสบู
3.4.1 ดึงแกนแหนบส่งก้านสูบ และแหนบออกจากโครงลูกเลื่อนแล้ว
แยกออกจากกัน

3.4.2 ใช้มือซ้ายจับที่ด้ามปืน แล้วดึงคันรั้งลูกเลื่อนมาข้างหลังจน วิชาอา ุวธ 59
กระทั่งลูกเลื่อนหลุดออกจากช่องที่ลำ�กล้องปืน สูบและลูกเลื่อนมาข้างหลังต่อไปโดยจับที่
หัวลูกเบี้ยว (รปู ที่ 7)

รปู ท่ี 7 การเล่อื นชดุ เคลอ่ื นที่มาด้านหลงั ของโครงลกู เลอ่ื น
3.4.3 เมอื่ กา้ นสบู และลกู เลอื่ น โผลอ่ อกมาจากโครงลกู เลอื่ นทางดา้ นหลงั
ประมาณ 4 นิ้ว แล้วให้ใช้มือจับด้วยความระมัดระวัง เพื่อป้องกันมิให้ลูกเลื่อนหมุน และ
ถอดออกมาจากโครงลกู เลื่อน (รูปที่ 8) คลายมือที่จับแล้วปล่อยให้ลูกเลื่อนหมุนช้าๆ ห้าม
แยกลูกเลื่อนออกจากก้านสบู

รปู ที่ 8 การถอดชุดเคลือ่ นทีอ่ อกจากโครงลกู เลือ่ น

60 วชิ าอาวธุ 3.5 การถอดชุดโครงเคร่อื งล่นั ไก
ชุดโครงเครื่องลั่นไก ประกอบด้วย โครงเครื่องลั่นไก (เรือนเครื่องลั่นไก
กระเดื่องไก แกนกระเดื่องไก แหนบแกนกระเดื่องไก สลักไก และไก) สลักโครงเครื่องลั่นไก
(สามารถเปลี่ยนทดแทนกันได้กับสลักกระเดื่องไก รปู ที่ 8) และใบแหนบเครื่องลั่นไก
3.5.1 ถอดสลัก กดปลายด้านหน้าของใบแหนบเครื่องลั่นไก แล้วหมุน
ปลายด้านหน้าลงข้างล่างเพื่อให้หลุดพ้นออกจากหัวสลักโครงเครื่องลั่นไก (รูปที่ 9) แล้วดึง
ไปข้างหน้าให้หลุดจากปุ่มด้านหลังของสลักกระเดื่องไก
3.5.2 ค่อย ๆ เลื่อนเรือนเครื่องลั่นไกไปข้างหน้าช้า ๆ ให้ด้านหน้าของ
โครงเครื่องลั่นไกค่อย ๆ หมุนลงข้างล่าง แล้วถอดออกมา (รปู ที่ 10)

รูปที่ 9 การถอนใบแหนบโครงเคร่อื งลน่ั ไก

รูปที่ 10 การถอดชุดโครงเครอื่ งลน่ั ไก วิชาอา ุวธ 61
รูปท่ี 10 การถอดชดุ โครงเคร่ืองล่นั ไก (ตอ่ )

62 วชิ าอาวธุ 3.6 การถอดชุดล�ำ กลอ้ งปืน
ชดุ ล�ำ กลอ้ งปนื ประกอบดว้ ย ล�ำ กลอ้ ง ปลอกปอ้ งกนั แสง ชดุ กา้ นศนู ยห์ นา้
และกระบอกสูบ ให้ยกกลอนยึดลำ�กล้องให้อยู่ในท่าตั้งแล้วค่อย ๆ ถอดลำ�กล้องออก
โดยดึงลำ�กล้องออกทางด้านหน้า (รปู ที่ 11)

รปู ที่ 11 การถอดชดุ ล�ำกล้องปืน
3.7 ชุดโครงลูกเลือ่ น
ชุดโครงลูกเลื่อนประกอบด้วย โครงลูกเลื่อน, รองลำ�กล้องปืน, ศนู ย์หลัง,
ฝาปิดห้องลูกเลื่อน, เครื่องป้อนกระสุน และด้ามหิ้ว การถอดปกติของปืนจะสมบูรณ์
เมื่อถอดชิ้นส่วนใหญ่ 5 ชิ้น ออกจากโครงลกู เลื่อนแล้ว

4. การถอดประกอบปกติ

4.1 การประกอบชดุ ลำ�กล้องปนื
ตรวจดใู หก้ ลอนยดึ ล�ำ กลอ้ งอยใู่ นต�ำ แหนง่ ตงั้ (รปู ที่ 11) แลว้ สอดดา้ นหลงั ของ
ลำ�กล้องเข้าไปข้างใต้ของรองลำ�กล้องปืน และจัดแนวให้สลักหัวกระบอกสูบตรงกับช่องที่
รองลำ�กล้องปืนแล้วกดกลอนยึดลำ�กล้องลงข้างล่างให้เข้าที่

4.2 การประกอบชุดโครงลกู เลอ่ื น วิชาอา ุวธ 63
วางแง่ยึดโครงเครื่องลั่นไกให้เข้าในช่องรับที่อยู่ด้านใต้ของเครื่องลั่นไก
(รปู ที่ 10) หมุนด้านหน้าโครงเครื่องลั่นไกขึ้นข้างบน แล้วจัดให้ตรงรูที่โครงลูกเลื่อน ใส่สลัก
โครงลั่นเข้าจากทางด้านซ้าย
ใสด่ า้ นหลงั ของใบแหนบเครอื่ งลนั่ ไก เขา้ กบั สลกั กระเดอื่ งไก (รปู ที่ 9) โดย
ให้ใบแหนบเข้าถูกที่จะทำ�ให้ส่วนโค้งกดดันด้านข้างของโครงลั่นไก แล้วหมุนด้านหน้าของ
ใบแหนบขึ้นข้างบน แล้วให้เข้ายึดอยู่กับหัวสลักโครงเครื่องลั่นไก
4.3 การประกอบชุดเคลอื่ นท่ี
4.3.1 สอดปลายของก้านสูบเข้าไปในโครงลูกเลื่อน โดยใช้มือข้างหนึ่ง
รองรับเอาไว้ มืออีกข้างหนึ่งดันท้ายลูกเลื่อนไปข้างหน้า หมุนลูกเลื่อนจนกระทั่งกลอน
ลูกเลื่อนอยู่ในท่าตั้งตรง (รูปที่ 12)

รปู ที่ 12 การใสช่ ุดเคล่ือนท่ีเข้าในโครงลกู เล่อื น
4.3.2 ให้ลูกเบี้ยวอยู่ด้านบน แล้วดันก้านสูบและลูกเลื่อนเข้าไปใน
โครงลกู เลื่อน จนกระทั่งปลายของก้านสบู เข้าที่ สุดด้านหลังของโครงลกู เลื่อน (รปู ที่ 13)
4.3.3 ใส่แกนแหนบส่งก้านสูบเข้าในแหนบส่งก้านสูบ แล้วสอดปลาย
ด้านตรงข้ามเข้าไปในช่องก้านสูบ (รูปที่ 13) เหนี่ยวไกและดันแหนบส่งก้านสูบเข้าไป
จนกระทั่งหัวของแกนแหนบเข้าไปได้ประมาณ 1 นิ้ว (รปู ที่ 6)

64 วชิ าอาวธุ รูปท่ี 13 การสอดแหนบสง่ ก้านสบู เข้าที่
4.4 การประกอบชุดเครอ่ื งรบั แรงถอย
4.4.1 สอดแกนเครื่องรับแรงถอยเข้าไปในแหนบส่งก้านสบู (รปู ที่ 6) แล้ว
ดันเครื่องรับแรงถอยไปข้างหน้า จนกระทั่งก้านสูบและลกู เลื่อนเคลื่อนไปข้างหน้าจนสุด
4.4.2 ดนั เครอื่ งรบั แรงถอยเขา้ ไปขา้ งใน จนกระทงั่ รอ่ งบนเครอื่ งรบั แรงถอย
ตรงแนวกับช่องในโครงลูกเลื่อนใส่แผ่นกลอนเครื่องรับแรงถอยจากทางด้านขนของ
โครงลูกเลื่อนลงมาให้เข้าที่ (รูปที่ 5)
4.5 การประกอบชดุ พานทา้ ยปืน
จดั รอ่ งทางเดนิ ของพานทา้ ยปนื ใหต้ รงกบั รอ่ งทางเดนิ ทโี่ ครงลกู เลอื่ น แลว้
ดันไปข้างหน้าจนกระทั่งพานท้ายที่สุดจะได้ยินเสียงกลอนยึดดังคลิก
4.6 การประกอบทถ่ี กู ตอ้ ง
การตรวจเพื่อการประกอบที่ถกู ต้อง คือ ดึงคันรั้งลกู เลื่อนมาข้างหลังแล้ว
ดนั กลบั ไปในต�ำ แหนง่ ขา้ งหนา้ ปดิ ฝาปดิ หอ้ งลกู เลอื่ นแลว้ เหนยี่ วไก ลกู เลอื่ นจะตอ้ งเคลอื่ นที่
ไปข้างหน้า

5. การตดิ ต้งั ขาทราย วิชาอา ุวธ 65

ขาทรายเป็นช้ินส่วนหน่ึงของชุดลำ�กล้องปืน หน่วยใช้ห้ามถอดขาทรายออก
โครงหัวขาทรายจะติดอยู่รอบ ๆ ลำ�กล้องปืน และติดยึดอยู่ได้ด้วยปลอกป้องกันแสง
(รปู ที่ 14)

รูปท่ี 14 ชดุ ขาทราย

66 วชิ าอาวธุ การฝกึ พลประจ�ำ ปนื

1. กลา่ วนำ�

1.1 กล่าวท่ัวไป
1.1.1 การฝึกพลประจำ�ปืน มิได้เป็นเพียงการฝึกให้พลประจำ�ปืนปฏิบัติ
ต่อปืนในการฝึกเบื้องต้นเท่านั้น แต่เป็นการฝึกทหารให้เกิดความเชื่อมั่นในความสามารถ
ของตนเองในการใช้ปืนกลอย่างถูกต้องและรวดเร็วในระหว่างการฝึก ต้องมีการฝึก
หมุนเวียนตามหน้าที่ของพลปืนทุก ๆ คน เพื่อที่จะให้ทุกคนรู้หน้าที่ของแต่ละตำ�แหน่ง
อย่างดี ความถูกต้องคือ การยึดมั่นอย่างแน่วแน่ในระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ เฉพาะเรื่อง เช่น
การตรวจอาวุธก่อนการยิงปืน การจับถือปืนในระหว่างการฝึก และการปฏิบัติตามระเบียบ
ปฏบิ ตั ใิ นการรกั ษาความปลอดภยั ความรวดเรว็ ท�ำ ใหก้ ารฝกึ มคี วามสมบรู ณห์ ลงั จากแกไ้ ข
ข้อผิดพลาดให้ถูกต้องแล้ว ความถูกต้องย่อมไม่เสียความรวดเร็ว
1.1.2 การฝกึ พลประจ�ำ ปนื ทดี่ �ำ เนนิ การฝกึ ในการยงิ ประกอบภมู ปิ ระเทศ
และการฝึกหมุนเวียนในระหว่างหลักสูตรการยิงอื่น ๆ อยู่ในดุลยพินิจของผู้บังคับหน่วย
ควรจะคำ�นึงถึงในเรื่องการจัดสำ�หรับการฝึกพลประจำ�ปืนตามที่บรรยายไว้ในบทนี้ ซึ่ง
กำ�หนดจะเป็นหนทางหนึ่งในการฝึกพลประจำ�ปืนในขั้นต้น และการจัดแบบนี้ย่อมจะใช้
ไม่ได้ในทุก ๆ สถานการณ์ทางยุทธวิธี

1.1.3 การฝึกพลประจำ�ปืน ตามที่ได้อธิบายไว้ ณ ที่นี้ รวมถึง ผบ.หมู่
อาวุธ และพลประจำ�ปืนของปืนกล 1 กระบอก ซึ่งมีพลยิง พลยิงผู้ช่วย และพลกระสุน
พลประจำ�ปืนอาจจะประกอบด้วยเพียงแต่พลยิง และพลยิงผู้ช่วยเท่านั้นก็ได้ เมื่อเป็น
เชน่ นพี้ ลยงิ ผชู้ ว่ ยจะตอ้ งน�ำ ทงั้ ถงุ ล�ำ กลอ้ งอะไหล่ และขาหยงั่ ไป และปฏบิ ตั หิ นา้ ทพี่ ลกระสนุ
เพิ่มขึ้นอีกด้วย
1.1.4 ผบ.หมู่ เปน็ ผใู้ ห้คำ�บอกค�ำ สัง่ ทั้งมวลแก่หมู่พลยิง และพลยิงผชู้ ว่ ย
เป็นผู้ทวนคำ�สั่ง ผบ.หมู่ สั่งหลังจากที่ปืนได้ตั้งยิงแล้ว พลยิงผู้ช่วยจะส่งสัญญาณต่าง ๆ
ที่ได้จาก ผบ.หมู่ ไปยังพลยิง และจากพลยิงไปยัง ผบ.หมู่
1.2 เครื่องใช้ของพลประจำ�ปนื
นอกจากอาวุธประจำ�กายและเครื่องมือเครื่องใช้แล้ว พลประจำ�ปืน
ยังต้องนำ�เคร่อื งมือเคร่อื งใช้ของการฝึกยิงด้วยขาทรายและขาหย่งั ไปด้วย รายการต่อไปนี้
เป็นข้อแนะนำ�ในการแบ่งเครื่องมือเครื่องใช้ในระหว่างพลประจำ�ปืนด้วยกัน และอาจจะ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขตามสถานการณ์บังคับ
ผู้บังคับหมู่และพลประจำ�ปืน เครื่องมือเครื่องใช้
ผู้บังคับหมู่ กล้องส่องสองตา, เข็มทิศ
พลยิง.............................................. ปืนกล กระเป๋ากระสุน 3 ใบ วิชาอา ุวธ 67
(พร้อมด้วยกระสุนหัดบรรจุ)
พลยิงผู้ช่วย.................................... ถุงลำ�กล้องอะไหล่ (ลำ�กล้องอะไหล่
เรือนควงมุมส่าย และเรือนควงมุมสูง
และเครอื่ งอปุ กรณ)์ กระเปา๋ กระสนุ 3 ใบ
(พร้อมด้วยกระสุนหัดบรรจุ)
พลกระสุน....................................... ขาหยงั่ แบบเอม็ 122,กระเปา๋ กระสนุ 3ใบ
(พร้อมด้วยกระสุนหัดบรรจุ)
1.3 การจดั แถวในการฝกึ พลประจ�ำ ปนื (ติดขาทรายหรอื ขาหยงั่ )
ผบ.หมู่ ออกค�ำ สงั่ จดั แถวฝกึ พลประจ�ำ ปนื พลประจ�ำ ปนื จดั แถวตอน ระยะตอ่
แตล่ ะคน 5 กา้ ว ตามล�ำ ดบั ดงั นี้ พลยงิ , พลยงิ ผชู้ ว่ ย, พลกระสนุ พลยงิ อยหู่ า่ งจากขา้ งหนา้
ผบ.หมู่ 5 กา้ ว เมอื่ พลประจ�ำ ปนื ปฏบิ ตั อิ ยตู่ ามต�ำ แหนง่ ถกู ตอ้ งแลว้ ใหท้ �ำ ทา่ นอน ตอ่ จากนนั้
ก็พร้อมที่จะฝึกพลประจำ�ปืนต่อไป (รูปที่ 15)

68 วชิ าอาวธุ รูปที่ 15 พลประจำ� ปนื อย่ใู นระหวา่ งการฝึกพลประจำ� ปืน

1.4 การหมนุ เวยี นหน้าทใ่ี นระหว่างการฝึกพลประจำ�ปืน
1.4.1 ในระหว่างการฝึกพลประจำ�ปืน ต้องฝึกหมุนเวียนหน้าที่ของแต่ละ
คน เพอื่ ประกนั ไดว้ า่ พลประจ�ำ ปนื แตล่ ะคนไดเ้ รยี นรหู้ นา้ ทขี่ องพลประจ�ำ ปนื ทกุ ต�ำ แหนง่ แลว้
1.4.2 คำ�บอกคำ�สั่งในการเปลี่ยนหน้าที่คือ “เปลี่ยน ผบ.หมู่” เมื่อได้ยิน
คำ�สั่งนี้ ทุกคนลุกขึ้นยืนเคลื่อนที่ไปข้างหน้า แล้วปฏิบัติในหน้าที่ใหม่ ผบ.หมู่ กลับมาทำ�
หน้าที่พลกระสุนพลยิงเคลื่อนที่ไปข้างหน้า และทำ�หน้าที่ ผบ.หมู่ พลยิงผู้ช่วยเลื่อนเป็น
พลยิง และพลกระสุนเลื่อนขึ้นมายังพลยิงผู้ช่วย ถ้าไม่ประสงค์จะเปลี่ยน ผบ.หมู่ จะต้อง
ใช้คำ�บอกคำ�สั่งว่า “เปลี่ยนพลยิง” เมื่อได้ยินคำ�สั่งเช่นนี้ พลประจำ�ปืนทั้งหมดลุกขึ้นยืน
พลยิงผู้ช่วยเลื่อนขึ้นเป็นพลยิง และพลกระสุนเลื่อนขึ้นเป็นพลยิงผู้ช่วย เมื่อพลประจำ�ปืน
เคลื่อนที่มาปฏิบัติในตำ�แหน่งหน้าที่ใหม่แล้ว ให้ขานตำ�แหน่งใหม่ตามลำ�ดับพลกระสุน
พลยิงผู้ช่วย พลยิง

2. การฝกึ พลประจำ�ปืน ปืนติดขาทราย

2.1 การตรวจเครื่องมือเคร่ืองใช้กอ่ นการยงิ
เมื่อเริ่มการฝึกทุก ๆ ขั้นการฝึกจะต้องตรวจเครื่องมือเครื่องใช้ให้ตลอด
เสียก่อน หลังจากพลประจำ�ปืนจัดแถวเพื่อการฝึกพลประจำ�ปืนแล้ว ผบ.หมู่ อาจจะออก
ค�ำ สงั่ “ตรวจเครอื่ งมอื เครอื่ งใชก้ อ่ นการยงิ ดว้ ยขาทราย” เมอื่ ไดย้ นิ ค�ำ สงั่ เชน่ นี้ พลประจ�ำ ปนื
แต่ละคนจะตรวจเครื่องมือเครื่องใช้

2.2 การตรวจของพลยงิ วิชาอา ุวธ 69
2.2.1 ประการแรกของพลยงิ ตอ้ งตรวจกระสนุ กอ่ น กระสนุ อยใู่ นสายขอ้ ตอ่
เรียบร้อย สะอาดไม่สกปรก และข้อต่อสายกระสุนคู่อยู่ด้านบน (พร้อมที่จะบรรจุ)
หลังจากที่พลยิงตรวจกระสุนแล้ว พลยิงปิดฝากระเป๋ากระสุนแล้วจัดสายสะพายผ้าคล้อง
ไว้ที่ไหล่ (ยกเว้นกระเป๋าสุดท้ายซึ่งต้องเตรียมที่จะใช้บรรจุ)
2.2.2 เสร็จแล้วพลยิงตรวจ โดยปฏิบัติดังนี้
2.2.2.1 ใชม้ อื ซา้ ยจบั อยทู่ รี่ องล�ำ กลอ้ งปนื มอื ขวาเออื้ มดงึ ขาทราย
อนั ขวามาขา้ งหลงั แลว้ กางออก เสรจ็ แลว้ พลยงิ เอือ้ มมอื ไปขา้ งใตข้ าทรายขวา กางขาทราย
ซ้ายออก (รปู ที่ 16) และจัดให้ปืนวางอยู่บนขาทราย

รูปท่ี 16 พลยงิ ก�ำลงั กางขาทรายออก
2.2.2.2 ติดกระเป๋ากระสุนเข้ากับปืน
2.2.2.3 ตั้งแผ่นห้ามไกไปอยู่ที่ FIRE ดึงคันรั้งลูกเลื่อนมาข้างหลัง
แลว้ ดนั แผน่ หา้ มไกไปอยทู่ ี่ SAFE ดนั คนั รงั้ ลกู เลอื่ นใหก้ ลบั ไปขา้ งหนา้ ยกฝาปดิ หอ้ งลกู เลอื่ น
ขึ้นดเู ครื่องป้อนกระสุน แล้วตรวจดูรังเพลิงว่าสะอาดไม่มีสิ่งกีดขวางอยู่ (รปู ที่ 17)

รปู ที่ 17 พลยิงก�ำลังตรวจรังเพลงิ

70 วชิ าอาวธุ รูปที่ 18 พลยงิ ก�ำลังตรวจลำ� กลอ้ งและรรู ะบายแกส๊
2.2.2.4 ขอแส้ทำ�ความสะอาดลำ�กล้อง และเครื่องมือควบจาก
พลยิงผู้ช่วย
2.2.2.5 คืนไปข้างหน้าแล้วใช้แส้แยงลำ�กล้องดูว่าปลอดภัย ขณะ
เมื่ออยู่ในท่านี้พลยิงตรวจดูว่ารูระบายแก๊สด้านหน้าของกระบอกสูบว่าสะอาดหรือไม่
(รปู ที่ 18)
2.2.2.6 ตรวจปลอกป้องกันแสงไม่แตกร้าว
2.2.2.7 ตรวจศนู ย์หน้ายึดแน่น และใบศูนย์หน้าไม่ชำ�รุด
2.2.2.8 ตรวจทอ่ ตอ่ กระบอกสบู จกุ รแู กส๊ และแปน้ เกลยี วกระบอก
แก๊สให้ขันแน่นด้วยเครื่องมือควบ
2.2.2.9 ตรวจด้ามหิ้วว่าสามารถจัดให้อยู่ในท่าที่ไม่บัง หรือขวาง
ในระหว่างทำ�การเล็งและยิง
2.2.2.10 ตรวจใหแ้ นใ่ จวา่ คนั กลอนยดึ ล�ำ กลอ้ งพบั ลง และล�ำ กลอ้ ง
ถูกยึดอยู่กับโครงลกู เลื่อนอย่างมั่นคง

พลยิงผู้ช่วย 2.2.2.11 ส่งคืนแส้ทำ�ความสะอาดและเครื่องมือควบให้แก่

2.2.2.12 เคลื่อนที่ถอยไปข้างหลังปืนแล้วตรวจส่วนเคลื่อนที่
ในฝาปิดห้องลกู เลื่อน
2.2.2.12.1 ตรวจคน้ เลอื่ นสายกระสนุ สะอาด และมกี าร
หล่อลื่นอย่างถกู ต้อง
2.2.2.12.2 ดันคันเลื่อนสายกระสุนกลับไปมาเพื่อตรวจ
ดวู ่าทำ�งานเป็นอิสระ
2.2.2.12.3 ดันขอรั้งกระสุนเพื่อดวู ่ามีแรงดึงของแหนบ
2.2.2.12.4 ดันเหล็กนำ�กระสุนดูว่ามีแรงดึงของแหนบ
2.2.2.13 ตรวจดูเครื่องป้อนกระสุนว่ากระเป๋ากระสุนสวมอยู่
เข้าที่สุด พลยิงกดที่ขอยึดสายกระสุนว่ามีแรงดึงของแหนบ
2.2.2.14 ลดฝาปดิ หอ้ งลกู เลอื่ นลง แลว้ ปดิ เสยี (โดยไมต่ อ้ งใสส่ าย
กระสุน)
2.2.2.15 เหนี่ยวไกเพื่อตรวจการทำ�งานของแผ่นห้ามไก
2.2.2.16 ดนั แผน่ หา้ มไกไปที่ FIRE แลว้ เหนยี่ วไกปลอ่ ยใหล้ กู เลอื่ น วิชาอา ุวธ 71
เคลื่อนที่ไปข้างหน้า
2.2.2.17 ตรวจศนู ย์หลัง ตั้งศนู ย์ที่ 500 เมตร และมุมทิศ 0 แล้ว
พับศูนย์ลง
2.2.2.18 ตรวจดเู หล็กพาดบ่าว่าทำ�งานถูกต้องและพับลง
2.3 การตรวจของพลยิงผชู้ ว่ ย
2.3.1 พลยิงผู้ช่วยอยู่ในท่านอนเริ่มต้นตรวจกระสุนก่อน
2.3.2 นำ�เอาแส้ทำ�ความสะอาด และเครื่องมือควบออกจากถุงลำ�กล้อง
อะไหล่ แล้วประกอบแส้เข้าด้วยกัน
2.3.3 เสร็จแล้วพลยิงผู้ช่วยน�ำเรือนควงมุมส่าย และเรือนควงมุมสูง
ออกมา (รูปท่ี 19)
มมุ สูงประมา ณ 112 น้ิว 2.3.3.1 หมุนด้วยแป้นควงมุมสูงให้เส้นเกลียวโผล่ต่�ำกว่าตัวควง

121 2.3.3.2 หมุนปลอกแกนควงมุมสูง ให้เส้นเกลียวโผล่ต�่ำจากตัว
แป้นควงประมาณ นิว้ หมุนแป้นควงมุมสูงจนกระทั่งจำ�นวนเกลียวแต่ละข้าง
2.3.3.3

มีเท่ากัน
2.3.3.4 ตรวจสลักก้านต่อของตัวก้านต่อ เพื่อดูว่าทำ�งานถูกต้อง
และมีแรงดึงของแหนบ
2.3.3.5 นำ�เรือนควงมุมส่ายและควงมุมสูงเข้าที่ แล้วนำ�ลำ�กล้อง
อะไหล่ออกมาจากถุงลำ�กล้องอะไหล่
2.3.4 การตรวจลำ�กล้องอะไหล่ พลยิงผู้ช่วย
2.3.4.1 ตรวจดูลำ�กล้อง และรูระบายแก๊สตอนหน้าของท่อต่อ
กระบอกสบู ว่าปลอดภัย
2.3.4.2 ตรวจดูปลอกป้องกันแสงไม่แตกร้าว
2.3.4.3 ตรวจดศู นู ย์หน้าขันแน่นและใบศูนย์ไม่ชำ�รุดเสียหาย
2.3.4.4 ตรวจดขู าทรายทำ�งานได้ถูกต้อง
2.3.4.5 ตรวจทอ่ ตอ่ กระบอกสบู จกุ รแู กส๊ และเปน็ เกลยี วกระบอก
72 วชิ าอาวธุ สูบโดยใช้เครื่องมือควบขันให้แน่น
2.3.4.6 ตรวจดทู ้ายลำ�กล้องปืนอยู่ในลักษณะปลอดภัย

รปู ท่ี 19 พลยงิ ผ้ชู ว่ ยถอดเรือนควงมุมส่าย และมุมสูงออกมาตรวจ

2.3.5 พลยิงผู้ช่วยจะทำ�การตรวจเครื่องมือเครื่องใช้อย่างเรียบร้อย วิชาอา ุวธ 73
ต่อเมื่อนำ�ลำ�กล้องอะไหล่เข้าเก็บในถุง ปิดฝาถุงแยกท่อนแส้ทำ�ความสะอาดเข้าเก็บ แล้ว
นำ�เครื่องมือควบเข้าเก็บในกระเป๋าเครื่องประกอบ แล้วตรวจดูเหล็กถอดปลอกกระสุน
แปรงทำ�ความสะอาดลำ�กล้อง แปรงทำ�ความสะอาดรังเพลิง แปรงทำ�ความสะอาดห้องลูก
เลื่อน และถุงมือกันความร้อน ว่ายังสามารถใช้การได้

2.4 การตรวจของพลกระสนุ
2.4.1 พลกระสุนอยู่ท่านอน ทำ�การตรวจกระสุน
2.4.2 เมื่อเสร็จแล้วทำ�การตรวจขาหยั่งดังนี้
2.4.2.1 ตรวจดูว่าขาหยั่งพับเข้าหากันได้เกือบสนิท
2.4.2.2 ตรวจดูกลอนปลอกขาหยั่งว่ามีแหนบยึดและยังใช้งานได้
2.4.2.3 ตรวจดูกลอนยึดเดือยปืนว่าได้ยึดติดอยู่ภายในช่องรับ
เดือยปืน และเดือยปืนสามารถหมุนตัวในช่องรับอย่างอิสระ
2.4.2.4 ตรวจเดือยฐานปืนอันหน้าไม่สกปรกและชี้ไปข้างหน้า
2.4.2.5 ปลดกลอนบังคับฐานปืนลง
2.4.2.6 กดกลอนฐานปืนดูว่าไม่สกปรก และมีแรงดันของแหนบ
2.4.3 การปฏิบัติตามนี้เป็นการตรวจเครื่องเมื่อเครื่องใช้ของพลกระสุน
2.5 การรายงานการตรวจเครื่องมือเคร่อื งใช้แลว้
เมอื่ ไดต้ รวจเครอื่ งมอื เครอื่ งใชแ้ ลว้ พลประจ�ำ ปนื แตล่ ะคนตอ้ งรายงานดงั นี้
2.5.1 พลกระสนุ รายงาน “พลกระสนุ เรยี บรอ้ ย” หรอื รายงานขอ้ บกพรอ่ ง
2.5.2 พลยิงผู้ช่วยรายงาน “พลกระสุน และพลยิงผู้ช่วยเรียบร้อย”
หรือรายงานข้อบกพร่อง
2.5.3 พลยิงรายงาน “ทั้งหมดเรียบร้อย” หรือรายงานข้อบกพร่อง
2.5.4 ในระหว่างการตรวจถ้าพบข้อบกพร่องไม่เรียบร้อยให้รายงานด้วย
2.6 การนำ�ปืนตั้งยงิ
การนำ�ปืนตั้งยิง ผบ.หมู่ จะออกคำ�สั่งตั้งยิงและให้สัญญาณดังนี้
“ปืนตั้งยิงตรงนี้” (ชี้ที่ตั้งยิงให้กับปืน) “ข้างหน้า” (ชี้ตรงไปยังทิศทางที่ยิง)
“ตั้งยิง” (กำ�มือชี้ในทิศทางที่กำ�หนดให้ปืนเข้าตั้งยิง)

74 วชิ าอาวธุ 2.6.1 เมื่อได้รับคำ�บอกคำ�สั่ง “ตั้งยิง” พลยิงจะลุกขึ้นยืนจับด้ามหิ้วปืน
ด้วยมือซ้าย มือขวาจับด้านบนของพานท้ายปืน ยกปืนอยู่ในท่าถือปืนโดยให้ปากลำ�กล้อง
ปืนไปข้างหน้า แล้วเคลื่อนที่ไปเข้าที่ตั้ง (รปู ที่ 20)

รูปท่ี 20 พลยิงนำ� ปนื เขา้ ท่ตี ั้งยงิ
2.6.2 เมอื่ ปนื น�ำ เขา้ ถงึ ทตี่ งั้ ยงิ แลว้ พลยงิ วางปนื ลงทพี่ นื้ แลว้ พลยงิ หมอบ
นอนอยู่ด้านหลังปืน จัดด้ามหิ้วปืนให้อยู่ในท่าที่ไม่บังขวางในระหว่างทำ�การเล็งและยิง
จัดแนวปืนไปในทิศทางที่จะยิงแล้วยกศูนย์หลังขึ้น (รูปที่ 21) แล้วเปิดฝาปิดห้องลูกเลื่อน
น�ำ กระสนุ นดั แรกเขา้ บรรจใุ นรอ่ งเครอื่ งปอ้ นกระสนุ แลว้ ปดิ ฝาหอ้ งลกู เลอื่ น (ตรวจดวู า่ กระสนุ
ต้องไม่หล่นออกมาจากร่องเครื่องป้อนกระสุน) เสร็จแล้วยกเหล็กพาดบ่าขึ้นประทับปืน
วางเหล็กพาดบ่าลงบนไหล่ทำ�ท่ายิงอย่างถกู ต้อง (รูปที่ 22)

รูปที่ 21 พลยิงเตรียมปนื ท�ำการยงิ

2.6.3 พลยงิ ผชู้ ว่ ยรอเวลาจนพลยงิ ท�ำ ทา่ นอนแลว้ พลยงิ ผชู้ ว่ ยจะเคลอื่ นที่ วิชาอา ุวธ 75
มาถึงที่ตั้งยิงแล้วทำ�ท่านอนตะแคงสะโพกข้างซ้ายติดพื้น เท้าทั้งสองชี้ไปข้างหลังอยู่ทาง
ด้านซ้ายของปืน วางถุงลำ�กล้องอะไหล่ขนานกับทิศทางของปืน ให้ทางด้านปิดตรงไปยัง
ปืน แล้วเปิดถุงลำ�กล้องอะไหล่ออกมา กางขาทรายออกวางลำ�กล้องอะไหล่ลงบนถุงให้
ลำ�กล้องอยู่ข้างหน้า และอยู่ในระดับเดียวกับปากลำ�กล้องปืนที่ตั้งยิง (รูปที่ 22)

26.4 พลกระสุนรอเวลาจนผู้ช่วยพลยิงทำ�ท่านอนแล้ว พลกระสุนจะ
เคลื่อนที่มาถึงที่ตั้งยิง แล้วตั้งขาหยั่งหนึ่งทางด้านซ้ายของลำ�กล้องปืนในแนวเดียวกับปืน
ใหห้ วั ขาหยงั่ หนั ออกจากปนื ปลดสายรดั ขาหยงั่ ออกแลว้ จงึ ตงั้ ขาหยงั่ ทงั้ สองตอ่ ไป แลว้ ออกไป
ทางซา้ ยของทตี่ งั้ ปนื หา่ งประมาณ 10 เมตร ในทา่ นอนยงิ แลว้ เตรยี มยงิ ไป ณ พนื้ ทที่ หี่ มายดว้ ย
อาวุธประจำ�กายของตน (รปู ที่ 23)

รูปที่ 22 พลยงิ อยูใ่ นท่าตั้งยิง
รปู ที่ 23 ตำ� แหนง่ ที่อยขู่ องพลกระสนุ

76 วชิ าอาวธุ 2.6.5 ถา้ จ�ำ ตอ้ งปรบั ขาทราย พลยงิ ผชู้ ว่ ยจะคบื ตวั ไปขา้ งหนา้ ใชม้ อื ซา้ ย
จับที่คานหัวขาทราย ยกปากลำ�กล้องปืน พลยิงผู้ช่วยต้องสวมถุงมือ แล้วจัดความสงู ของ
ขาทรายด้วยมือขวา

2.6.6 เมื่อปืนพร้อมที่จะยิง (รปู ที่ 24) พลยิงจะเลื่อนแผ่นห้ามไกตั้งอยู่ที่
FIRE แล้วรายงาน “พร้อม” พลยิงผู้ช่วยให้สัญญาณ “พร้อม” ไปยังผู้บังคับหมู่

รูปที่ 24 ปืนพร้อมที่จะยงิ
2.7 การเปลย่ี นล�ำ กล้องปนื
เพื่อให้เกิดความชำ�นาญและรวดเร็วในการเปลี่ยนลำ�กล้องปืนเรื่องนี้
จึงได้กำ�หนดไว้ในการฝึกพลประจำ�ปืนด้วยการปฏิบัติกระทำ�ดังต่อไปนี้
2.7.1 เมื่อพลยิงรายงาน “พร้อม” และพลยิงผชู้ ว่ ยให้สัญญาณ “พร้อม”
ผู้บังคับหมู่ออกคำ�สั่ง “เปลี่ยนลำ�กล้อง”
2.7.2 พลยิงวางพานท้ายปืนกับพื้นแล้ว จัดแผ่นห้ามไกอยู่ที่ “ห้ามไก”
(SAFE) แล้วยกคันกลอนยึดลำ�กล้องปืนด้วยมือขวา เลื่อนไปข้างหลังแล้ววางจับอยู่ที่
ด้านบนของพานท้ายปืน ใช้มือซ้ายรองอยู่ข้างใต้ของรองลำ�กล้องปืน มือขวากดพาน
ท้ายปืนลงเพื่อให้ปากลำ�กล้องปืนยกขึ้น แล้วใช้มือซ้ายยกปากลำ�กล้องปืนขึ้น (รปู ที่ 25)

รปู ที่ 25 ท่าท่ีถูกเมื่อเปลี่ยนล�ำกล้องปืน วิชาอา ุวธ 77
2.7.3 พลยงิ ผชู้ ว่ ย (สวมถงุ มอื ทนความรอ้ น) จบั ล�ำ กลอ้ งตรงเรอื นกระบอก
แก๊สถอดออกจากปืน แล้ววางให้ท้ายลำ�กล้องปืนอยู่บนถุงอะไหล่ จับลำ�กล้องปืนอะไหล่
ตรงเรือนกระบอกแก๊สสอดเข้าไปในร่องลำ�กล้องปืน
2.7.4 พลยงิ พบั คนั กลอ้ งยดึ ล�ำ กลอ้ งปนื ลง เลอื่ นแผน่ หา้ มไกตงั้ อยทู่ ี่ FIRE
ทำ�ท่ายิงที่ถูกต้องแล้วรายงาน “พร้อม” พลยิงผู้ช่วยให้สัญญาณ “พร้อม” แก่ ผบ.หมู่
2.8 การเลกิ ตัง้ ยิง
ในการปฏิบัติต่อปืนเพื่อเลิกตั้งยิง ผบ.หมู่ ออกคำ�สั่งและให้สัญญาณ
เลิกยิง พลยิงและพลยิงผู้ช่วยทวนคำ�สั่ง
2.8.1 เมื่อได้รับคำ�สั่ง “เลิกยิง” พลกระสุนเคลื่อนที่มายังที่ตั้งยิงโดย
สะพายอาวุธประจำ�กายไว้ เก็บกระเป๋ากระสุนซึ่งวางไว้ เก็บขาหยั่งปืนแล้วนำ�มาอยู่ที่เดิม
ซงึ่ อยขู่ า้ งหลงั ทตี่ งั้ ปนื ประมาณ 15 กา้ ว กม้ ตวั ลงท�ำ ทา่ นอนโดยจดั ใหข้ าหยงั่ ปนื อยขู่ า้ งหนา้
หัวขาหยั่งอยู่ทางด้านซ้าย
2.8.2 พลยิงผู้ช่วยพับขาหยั่งของลำ�กล้องอะไหล่ แล้วนำ�เข้าเก็บในถุง
ก่อนที่จะลุกขึ้นต้องตรวจดูว่าถุงลำ�กล้องอะไหล่ปืนมีลำ�กล้องอะไหล่และเรือนควงมุมส่าย
และควงมมุ สงู อยู่ แลว้ กลบั ไปยงั ทีเ่ ดมิ ซึง่ อยขู่ า้ งหลงั ทีต่ ัง้ ยงิ ประมาณ 10 กา้ ว แลว้ รออยใู่ น
ท่านอน พลยิงผู้ช่วยใช้เวลาขณะนี้ปิดฝาถุงลำ�กล้องอะไหล่ให้เรียบร้อย ในเมื่อไม่สามารถ
ปฏิบัติได้ ณ ที่ตั้งปืน
2.8.3 พลยิงวางพานท้ายปืนลงบนพื้น โดยให้ลูกเลื่อนอยู่ด้านหลัง
เลื่อนแผ่นห้ามไกไปตัง้ อยูท่ ี่ SAFE แล้วยกฝาปดิ ห้องลกู เลื่อนขึ้นถอดกระสนุ ออกจากเครื่อง
ปอ้ นกระสนุ น�ำ เขา้ ใสค่ นื ในกระเปา๋ กระสนุ แลว้ ปดิ ฝากระเปา๋ กระสนุ พลยงิ ตรวจดรู งั เพลงิ วา่

78 วชิ าอาวธุ ปลอดภัยปิดฝาปิดห้องลกู เลื่อน ดันแผ่นห้ามไกไปตั้งที่ FIRE แล้วเหนี่ยวไก แล้วเลื่อนแผ่น
หา้ มไกตงั้ อยทู่ ี่ SAFE มอื ขวาปดิ เหลก็ พาดบา่ ลง และมอื ซา้ ยพบั ศนู ยห์ ลงั ลง มอื ซา้ ยจบั ดา้ ม
หวิ้ ปนื มอื ขวาจบั ทพี่ านทา้ ยปนื ลกุ ขนึ้ ยนื ใหเ้ ทา้ ขวาเปน็ จดุ หมนุ หมนุ ตวั โดยทปี่ นื ไมห่ มนุ ตาม
คลา้ ยกับยกปนื ด้วยสะโพกดา้ นซา้ ยแล้วเคลือ่ นที่ไปยงั ที่เดิม (รปู ที่ 26) เมือ่ เคลื่อนที่มาถึงที่
เดิมมองตรวจดูว่าพลกระสุน และพลยิงผู้ช่วยอยู่ ณ ที่เดิมแล้ว ทำ�ท่านอนโดยให้ปืนอยู่
ด้านขวา พับขาทรายให้แนบตามลำ�กล้องปืน แล้วรายงาน “พร้อม” ไปยัง ผบ.หมู่

รปู ท่ี 26 พลยิงเคลื่อนที่กลบั เข้าท่เี ดิม

บทท่ี วิชาอา ุวธ 79

การปรับการยิง ค. และ ป.

1. การปรบั การยงิ ค. และ ป.

1.1 กล่าวน�ำ
ก. แม้ว่าวิวัฒนาการในการค้นหาเป้าหมายและตรวจการณ์ด้วย
เครอ่ื งมอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์กำ� ลงั ก้าวหน้าไปกต็ าม แต่การยงิ อย่างได้ผลของอาวธุ ปืนใหญ่
และเครื่องยิงลูกระเบิดก็ยังคงข้ึนอยู่กับผู้ตรวจการณ์ด้วยสายตาเป็นส่วนมาก
ผู้ตรวจการณ์ซง่ึ ตรวจการณ์ด้วยสายตาเป็นเจ้าหน้าทส่ี ่วนหนงึ่ ของชุดหลกั ยิงตามปกติ
กจ็ ะเป็นผู้ทเ่ี หน็ ข้าศกึ ก�ำลงั ฝ่ายเรา และการยิงของหน่วยรบต่างๆ ทีก่ ระท�ำต่อข้าศึก
ด้วยตาจรงิ ๆ
ข. อาวธุ ปนื ใหญแ่ ละเครอื่ งยงิ ลกู ระเบดิ เปน็ อาวธุ ทส่ี ามารถทำ� การ
ยงิ ไดด้ ว้ ยวธิ เี ลง็ ตรง คือการท่พี ลประจ�ำอาวธุ มองเหน็ เป้าหมาย หรือด้วยวิธีเล็งจำ� ลอง
ซงึ่ พลประจำ� อาวธุ มองไมเ่ หน็ เปา้ หมาย ซง่ึ วธิ หี ลงั นเ้ี ปน็ วธิ หี ลกั ทใ่ี ชก้ นั อยู่ มอี งคป์ ระกอบ
ส�ำคัญในการทจ่ี ะท�ำการยิงถกู เป้าหมายอยู่ 3 ส่วน เรยี กว่า ชุดหลกั ยิง ประกอบด้วย
ส่วนยิง ศูนย์อำ� นวยการยงิ และผู้ตรวจการณ์
วิธีปฏิบัติของผู้ตรวจการณ์ที่จะกล่าวต่อไปเป็นการตรวจการณ์
เฉพาะด้วยสายตา ซึ่งรวมการตรวจการณ์ทางพื้นดินของผู้ตรวจการณ์หน้า และการ
ตรวจการณ์โดยทหารเหล่าพลรบไว้ด้วย
ค. เปา้ หมายทจี่ ะทำ� การยงิ ดว้ ย ป. หรอื ค. ควรมคี วามเหมาะสมและ
คุ้มค่าหากผู้ตรวจการณ์หรือทหารพลรบตรวจพบทหารข้าศึกเพียง 2-3 คน

80 วชิ าอาวธุ ซ่ึงสามารถใช้อาวุธปืนเล็กหรือปืนกลท�ำการยิงได้ ก็ไม่จ�ำเป็นต้องขอให้ ป.หรือ ค.
ท�ำการยิงต่อเป้าหมายน้ัน อาจเป็นการส้ินเปลืองทั้งเวลา และจ�ำนวนกระสุน
พึงจ�ำไว้ว่ากระสุนปืนใหญ่หรือลูกระเบิดยิงมีน�้ำหนักมาก ก่อให้เกิดปัญหาในการ
ล�ำเลียงทดแทนอยู่บ้าง เป้าหมายท่เี หมาะจะท�ำการยิงด้วย ป. หรอื ค. ได้แก่

1) หน่วยทหารในทโ่ี ล่งหรือหลมุ เปิด ทหารขุดดินในสนามรบ
2) ปืนกล
3) อาวุธหนกั เช่น ปืนใหญ่ หรือเครอ่ื งยงิ ลกู ระเบิด
4) ที่รวมพล
5) รถบรรทกุ ท่ีจอดหรือเคลอื่ นท่ี
6) ทหารราบทป่ี ฏบิ ัตริ ่วมกบั รถถัง
7) คลงั กระสุน
8) ที่ตรวจการณ์
9) ที่ต้ังอาวธุ มั่นคงแขง็ แรง
10) พ้ืนท่ซี ่งึ ต้องการสร้างฉากควนั
11) เป้าหมายทอ่ี ยู่หลังทก่ี ำ� บัง เช่น ตกึ หรอื เนิน
1.2 บทบาทของผู้ตรวจการณใ์ นการยิงเปา้ หมาย
ก. เม่ือผู้ตรวจการณ์ค้นพบเป้าหมายและหาที่ต้ังของเป้าหมาย
ซ่ึงอยู่บนพื้นที่ได้แล้ว ผู้ตรวจการณ์ก็ส่งค�ำขอยิงเพ่ือท�ำลายหรือตัดรอนก�ำลังต่อเป้าหมาย
ไปยังศูนย์อ�ำนวยการยิง (ศอย.) หลังจากที่อาวุธได้ท�ำการยิงไปแล้ว ผู้ตรวจการณ์
ก็รายงานผลความเสียหายของเป้าหมายท่ีเกิดขึ้นเน่ืองจากการยิงน้ันๆ เมื่อจ�ำเป็น
ผู้ตรวจการณ์จะต้องปรับการยิง เพ่ือให้ได้ผลการยิงสูงสุดต่อเป้าหมายตามที่ต้องการ
ผู้ตรวจการณ์จะต้องน�ำความสามารถในการตรวจการณ์และความรู้เก่ียวกับสถานการณ์
การรบมาใช้ประโยชน์ เพื่อช่วยให้หน่วยของตนได้รับข่าวสารอย่างเพียงพอตลอดเวลา
ยง่ิ กว่านนั้ ผู้ตรวจการณ์ต้องทราบและเข้าใจวธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องศนู ย์อำ� นวยการยงิ เป็นอย่างดอี กี
ดว้ ย เมอ่ื นำ� มาประกอบกบั การตดั สนิ ใจของตน กจ็ ะชว่ ยใหช้ ดุ หลกั ยงิ สามารถปฏบิ ตั ภิ ารกจิ
ได้เตม็ ท่สี มความมุ่งหมาย
ข. ผู้ตรวจการณ์จะต้องเข้าใจการด�ำเนินภารกิจยิงว่ามีขั้นตอนใน
การปฏบิ ตั แิ บ่งออกเป็น 2 ข้นั คอื

1) ขน้ั ปรบั การยงิ หลงั จากทอี่ าวธุ ไดท้ ำ� การยงิ มาใหต้ ามคำ� ขอยงิ ของ วิชาอา ุวธ 81
ผู้ตรวจการณ์ หากต�ำบลระเบิดท่ีตรวจได้ไม่ตรงเป้าหมาย หรือใกล้พอที่จะท�ำอันตราย
ต่อเป้าหมายได้ตามความต้องการ ผู้ตรวจการณ์จะแก้ไขให้ต�ำบลระเบิดเข้าสู่เป้าหมาย
โดยเร็วท่ีสดุ เพอ่ื ขอให้อาวุธท�ำการยงิ หาผลต่อไป

2) ขนั้ การยงิ หาผล เมอ่ื อาวธุ ได้ทำ� การยงิ นดั แรกหรอื ชดุ แรกมาแล้ว
ผู้ตรวจการณ์ตรวจตำ� บลระเบดิ ได้วางเป้าหมาย หรือผู้ตรวจการณ์ได้ปรบั การยงิ แล้ว ก็จะ
น�ำเข้าสู่ขั้นการยิงหาผลหน่วยยิงจะท�ำการยิงมาด้วยจ�ำนวนอาวุธ และกระสุนตามความ
ต้องการ

ค. การยิงซ่งึ กระทำ� ต่อเป้าหมายโดยความมุ่งหมายต่างๆ เช่น ตัดรอน
กำ� ลัง รบกวน หรอื ท�ำลายน้นั แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื

1) การยงิ เปน็ พน้ื ท่ี สว่ นใหญก่ ระทำ� การยงิ ตอ่ เปา้ หมายมวี ญิ ญาณซง่ึ
เคลอ่ื นท่ีได้ เช่น คน สตั ว์ ซ่ึงรวมท้งั ยานพาหนะด้วย กระท�ำเพอื่ ตดั รอนก�ำลังโดยการวาง
การยงิ อยา่ งหนาแนน่ ลงบนพนื้ ทแ่ี หง่ หนงึ่ ดว้ ยการจโู่ จมและรวดเรว็ ตอ้ งการใหเ้ กดิ อนั ตราย
ต่อเป้าหมายด้วยอ�ำนาจและสะเก็ดจากการระเบิดของลูกกระสุน ไม่จ�ำเป็นต้องให้ถูก
เป้าหมายโดยตรง ตามปกติจะยิงด้วยอาวุธ 1 หรือ 2 กระบอก ในข้ันปรับการยิง ส่วน
ในขน้ั ยงิ หาผลจะใชอ้ าวธุ จำ� นวนมากพอทจี่ ะทำ� ใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อเป้าหมายตามทต่ี ้องการ
ซง่ึ อาจเป็นหมวด กองร้อย หรอื มากกว่าก็ได้

2) การยิงประณีต กระท�ำโดยการวางจุดปานกลางมณฑลของ
กลุ่มการยงิ ต่อเป้าหมายเป็นจดุ เล็กๆ ซึง่ อยู่กับท่เี พอ่ื ท�ำลายเป้าหมาย ซงึ่ เรียกว่า “การยิง
ท�ำลาย” หรอื หาตวั แก้ ซงึ่ เรียกว่า “การยิงหาหลกั ฐาน” ฯลฯ ใช้อาวธุ เพยี งกระบอกเดียว
ท�ำการยิงตง้ั แต่ข้ันปรบั การยงิ จนจบขนั้ ยิงหาผล

สรปุ

ผตู้ รวจการณอ์ าจเปน็ ใครกไ็ ดไ้ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเปน็ ผตู้ รวจการณห์ นา้ ของ ป. หรอื ค.
เมอ่ื ผใู้ ดเหน็ เปา้ หมาย กำ� หนดทตี่ งั้ เปา้ หมาย สง่ คำ� ขอยงิ และทำ� การปรบั การยงิ ใหก้ บั ป. หรอื ค.
ผู้นนั้ กท็ ำ� หน้าท่เี ป็นผู้ตรวจการณ์หน้าให้กับ ป. หรอื ค. ในขณะน้นั

ชดุ หลักยงิ ซึง่ ประกอบด้วย ผู้ตรวจการณ์ ศนู ย์อ�ำนวยการยงิ และส่วนยงิ มีแต่
ผตู้ รวจการณเ์ ทา่ นนั้ ทเี่ หน็ เปา้ หมาย ฉะนน้ั การทจี่ ะทำ� ใหก้ ระสนุ ถกู เปา้ หมายอยา่ งแมน่ ยำ�
และรวดเรว็ เพียงใดนัน้ ย่อมข้นึ อยู่กับผู้ตรวจการณ์เป็นส�ำคัญ

การส่งค�ำขอยงิ ของผู้ตรวจการณ์น้นั เมื่อพบเป้าหมาย กำ� หนดท่เี ป้าหมายแล้ว
ก็จะส่งค�ำขอยิงไปยังศูนย์อ�ำนวยการยิง และท�ำการปรับการยิงโดยส่งตัวแก้ไปยังศูนย์
อำ� นวยการยงิ

ศนู ย์อำ� นวยการยงิ เม่อื รับคำ� ขอยิงหรือตัวแก้จากผู้ตรวจการณ์แล้ว เจ้าหน้าท่ี
ในศูนย์อ�ำนวยการยงิ กจ็ ะท�ำการแปลงหลกั ฐานทไ่ี ด้จากผู้ตรวจการณ์ ให้เป็นค�ำส่ังยิงแล้ว
สั่งไปยังส่วนยงิ

ส่วนยิงรับค�ำส่ังจากศูนย์อ�ำนวยการยิงแล้ว ท�ำการต้ังหลักฐานยิงแล้วท�ำการ
ยิงไปยังเป้าหมาย

82 วชิ าอาวธุ

บทท่ี

เคร่ืองยงิ ลูกระเบดิ แบบ 88
ขนาด 60 มม.

1. กล่าวนำ�
อาวุธเครื่องยิงลูกระเบิด เป็นอาวุธกระสุนวิถีโค้งที่ทหารราบมีไว้ในอัตรา
เพอ่ื เสรมิ กำ� ลงั ยงิ ของทหารราบเอง ทจ่ี ะยงิ ทำ� ลายเปา้ หมายทอ่ี ยหู่ ลงั ทก่ี ำ� บงั ทหารราบ
ได้มอี าวธุ เล็งตรง คือ บรรดาอาวธุ ซ่ึงมวี ิถีราบ และยงั ได้มีอาวธุ เล็งจำ� ลอง คือ บรรดา
อาวธุ ซึ่งมกี ระสนุ วถิ ีโค้ง เมอ่ื ทหารราบมอี าวธุ ท่กี ล่าวแล้วข้างต้นในหน่วยทหารราบเอง วิชาอา ุวธ 83
จึงท�ำให้ทหารราบบรรลภุ ารกจิ หลักทางยทุ ธวิธี เข้าตี ตงั้ รบั เป็นส่วนใหญ่ เพราะทหาร
ราบเป็นผู้เข้าถึงพื้นที่ของข้าศึกด้วยการยิงและการเคลื่อนท่ี เข้ายึดพ้ืนท่ีข้าศึกไว้ด้วย
การปอ้ งกนั ตนเองขน้ั ตน้ ดว้ ยอาวธุ ของตนเอง หรอื ขบั ไลห่ รอื ไลต่ ดิ ตามขา้ ศกึ ออกไปดว้ ย
การยิงระยะใกล้ในขน้ั ต้นของอาวธุ ตนเอง

2. ลกั ษณะท่ัวไป

เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด 60 มม.จัดอยู่ในประเภทอาวุธประจ�ำหน่วย
ปัจจบุ ันน้ี ทบ.ไทยมใี ช้อยู่หลายแบบ เป็นอาวธุ กระสนุ วถิ โี ค้ง ปฏบิ ัตกิ ารยงิ ด้วยวิธเี ล็ง
จำ� ลอง หรอื ปฏบิ ตั กิ ารยงิ ดว้ ยวธิ เี ลง็ ตรงไดเ้ มอื่ มองเหน็ เปา้ หมาย ความแมน่ ยำ� ทเ่ี กดิ จาก
ผลการยิงของเคร่ืองยิงลูกระเบิดน้ีผู้ใช้อาวุธจะต้องศึกษาให้มีความเข้าใจอย่างแท้จริง
แล้วฝึกจนเกิดความช�ำนาญตามล�ำดับขั้นการฝึกในหลักเกณฑ์ก�ำหนดไว้ทุกต�ำแหน่ง
ตามหน้าที่ ในอัตราการจัดของหน่วยจนสามารถผ่านการทดสอบมาตรฐานการฝึกที่
กำ� หนดไว้น้นั ได้ จะเป็นผู้ทม่ี ีความสามารถใช้อาวธุ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

84 วขิ าอาวธุ ลักษณะของเครื่องยิงลูกระเบิด เป็นอาวุธท่ีมีล�ำกล้องภายในเกล้ียง บรรจุ
ลูกระเบิดทางปากลำ� กล้องด้วยมอื ทีละนดั ท�ำการยงิ ด้วยมุมสงู

เครื่องยิงชนิดแบบท่ีเป็นมาตรฐาน มีชิ้นส่วนใหญ่ ๆ 3 ชิ้นส่วน และสามารถ
ถอดออกจากกันได้ มีน้�ำหนักเบา สามารถน�ำไปในภูมิประเทศได้ด้วยพลประจ�ำเคร่ืองยิง
เพยี งคนเดยี ว กล้องเล็งท่ใี ช้กบั เคร่ืองยิงใช้กล้องเล็งเอม็ 4 เป็นเครอ่ื งช่วยเลง็ ของเครอื่ งยงิ
ด้วยมมุ สูง และมุมทิศ

ค. ขนาด 60 มม. แบ่งออกได้ ดังน้ี
1. ค.88 ขนาด 60 มม. สหรัฐอเมริกา
- เอม็ 2
- เอม็ 19
- ที 18 อี 1 (เครื่องยงิ ถอื )
2. ค.ขนาด 60 มม. ศอว.ทบ.
- เอ 1
- เอ 2
- เอ 3 (คอมมานโด)

รปู ที่ 1 เคร่อื งยงิ ลูกระเบดิ ขนาด 60 มม. แบบเอ็ม 2 แผน่ ฐานเอม็ 5

รปู ที่ 2 เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด 60 มม. แบบ เอ็ม 19 แผ่นฐาน เอ็ม 5 วิชาอา ุวธ 85
รปู ท่ี 3 เครือ่ งยิงลกู ระเบดิ ขนาด 60 มม. แบบ ที 18 อี 6

86 วขิ าอาวธุ 3. ขนาดและน้�ำหนัก

ชนิ้ สว่ นของเครอ่ื งยงิ ลกู ระเบดิ แบบ 88 ขนาด 60 มม. แบง่ ออกเปน็ 3 ชน้ิ สว่ นใหญ่
ดงั น ้ี

1. ขาหย่ัง 2. ลำ� กล้อง 3. ฐานรบั ล�ำกล้อง
รปู ที่ 4 ลำ� กล้อง

รูปที่ 5 ขาหยั่ง

รปู ที่ 6 แผ่นฐาน

ค. ขนาด 60 มม. แบบ 88 (สหรฐั อเมรกิ า) 42.0 ปอนด์ วิชาอา ุวธ 87
ค. เคร่อื งพร้อม เอม็ 2 45.2 ปอนด์
ค. เครอื่ งพร้อม เอม็ 19 20.5 ปอนด์
ค. ที 18 อี 6 41.88 ปอนด์
44.09 ปอนด์
ค. ขนาด 60 มม. ศอว.ศอพท. 24.25 ปอนด์
ค. เครอื่ งพร้อม เอ 1
ค. เครอ่ื งพร้อม เอ็ม 2
ค. เคร่อื งพร้อม เอ 3 (คอมมานโด)

4. ขีปนวธิ ี

ระยะยงิ ไกลสดุ ขน้ึ อยู่กับลกู ระเบดิ ยิงแต่ละชนิดทใ่ี ช้ท�ำการยงิ
ค. ขนาด 60 มม. แบบ 88 (สหรฐั อเมรกิ า)
- ลย./สงั หาร บ.49 ป.2 1,790 เมตร
- ลย./ควนั บ.302 1,450 เมตร
- ลย./ส่องแสง บ.83 ป.1 1,000 เมตร

- ลย./ซ้อมยงิ บ.50 ป.2 1,790 เมตร
- ลย./ฝึกยิง บ.69 225 เมตร
ค. ขนาด 60 มม. ศอว.ศอพท.
ลย./สังหาร
- ไกลสดุ ส่วนบรรจุ 4 1,800 เมตร
- ใกล้สุด ส่วนบรรจุ 0 100 เมตร
อตั ราการยงิ
- สงู สดุ 30 นัด/นาที
- ต่อเน่อื ง 18 นัด/นาที
หมายเหต ุ ถ้ายงิ ด้วยความเร็วสงู สดุ นานเกนิ กว่า 1 นาที จะท�ำให้แก๊สร่ัวออก
ทางเคร่อื งปิดท้าย

88 วขิ าอาวธุ 5. การท�ำงานของเครือ่ งกลไก

ลกั ษณะการท�ำงานของเครอ่ื งกลไก เครอื่ งยงิ ท�ำการยงิ ลกู ระเบดิ ออกไปไดด้ ว้ ย
การหย่อนลกู ระเบดิ ยงิ พร้อมนดั ลงทางปากล�ำกล้อง โดยเอาทางครบี หางลงไปในล�ำกล้อง
แล้วปล่อยลูกระเบิดยิง มุมสูงของล�ำกล้องและน้�ำหนักของลูกระเบิดยิงเองจะท�ำให้
ลูกระเบิดยิงเลื่อนลงไปท้ายล�ำกล้อง เมื่อถึงท้ายจอกกระทบแตกของส่วนบรรจุหลักที่
หางของลูกระเบิดยิงจะกระแทกกับเข็มแทงชนวนซึ่งโผล่ยื่นออกมาจากเครื่องปิดท้าย
ประมาณ 1/20 นิ้ว ก็จะเกิดการจุดระเบิดของส่วนบรรจุหลักเป็นประกายเปลวเพลิง
จากการระเบิดของส่วนบรรจุหลักจะไปจุดส่วนบรรจุเพ่ิม ด้วยการเผาไหม้ของส่วนบรรจุ
จะกลายเป็นแก๊สผลักดันให้ลูกระเบิดยิงพุ่งข้ึนข้างบนและออกจากล�ำกล้องปืนไป ที่ตัว
ลูกระเบิดยิงจะมีแหวนกันแก๊สอยู่ด้วยท�ำหน้าท่ีป้องกันแก๊สร่ัวไหลออกไปก่อนที่ลูกระเบิด
ยงิ จะพน้ จากปากลำ� กลอ้ งและทำ� หนา้ ทป่ี ระคองลกู ระเบดิ ยงิ ในขณะเคลอื่ นทอ่ี ยใู่ นลำ� กลอ้ ง
ด้วยสลักนิรภยั ทช่ี นวนหัวของลูกระเบิดยิงจะป้องกันมิให้ชนวนอยู่ในลักษณะพร้อมท�ำงาน
เพ่ือความปลอดภยั จนกว่าลูกระเบดิ ยิงจะพ้นจากปากล�ำกล้องไปแล้วประมาณ 4-5 วินาที
เมอื่ ลกู ระเบิดยงิ พ้นจากปากลำ� กล้องไปแล้วภายในล�ำกล้องจะว่างเปล่า พร้อมทจ่ี ะท�ำการ
ยิงลกู ระเบดิ ยงิ นัดต่อไปทันที

6. ลูกระเบดิ ยงิ ดา้ น วิชาอา ุวธ 89

แบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื ด้านนอก และด้านใน
1. ดา้ นใน หมายถงึ เมอื่ บรรจลุ กู ระเบดิ ยงิ ลงไปในลำ� กลอ้ งแลว้ ไมล่ น่ั ออกไป
ลักษณะเช่นน้ีอาจเกิดจากจอกกระทบแตกของส่วนบรรจุหลักไม่ท�ำงานหรือเข็มแทงชนวน
ที่เคร่ืองปิดท้ายล�ำกล้องหักหรือช�ำรุด เม่ือปรากฏว่าลูกระเบิดยิงด้านในลำ� กล้อง จะต้อง
คอยอย่างน้อย 30 วนิ าที ห้ามมใิ ห้ชะโงกหน้าไปดูในล�ำกล้องซึง่ อาจจะได้รบั อนั ตรายจาก
การลน่ั ออกมาของลกู ระเบดิ ยงิ กรณลี กู ระเบดิ ยงิ ดา้ นในล�ำกลอ้ งใหเ้ ทลกู ระเบดิ ยงิ ออกจาก
ปากล�ำกล้องด้วยการคลายด้ามเกลียวเร่งปลอกรัดล�ำกล้องพอให้ปลอกรัดล�ำกล้องหลวม
แลว้ หมนุ ลำ� กลอ้ งใหเ้ ดอื ยทา้ ยลำ� กลอ้ งพน้ ออกจากการขดั กบั ชอ่ งรบั เดอื ยทา้ ยล�ำกลอ้ ง แลว้
ยกท้ายลำ� กล้องให้สูงขนึ้ ลูกระเบดิ ยงิ จะเลอ่ื นออกมา และคอยใช้มอื รองรบั ไว้ นำ� ลวดสลกั
นิรภัยสวมเข้าต�ำแหน่งเดิมที่ชนวนหัว น�ำลูกระเบิดยิงด้านแยกไว้เพื่อหาสาเหตุการด้าน
จดั เครือ่ งยงิ เข้าทแ่ี ล้วใช้ลกู ระเบดิ ยงิ นดั ใหม่ท�ำการยงิ ต่อไป
2. ดา้ นนอก หมายถงึ เมอื่ ทำ� การยงิ ลกู ระเบดิ ยงิ ออกไปแลว้ กระทบทเี่ ปา้ หมาย
ไม่ระเบิดข้ึน ลักษณะเช่นน้ีเกิดจากการไม่ท�ำงานของชนวนหัวลูกระเบิดยิง การด้านของ
ลูกระเบิดยิงในลักษณะเช่นนี้อันตรายมาก เนื่องจากชนวนหัวของลูกระเบิดยิงพร้อมท่ีจะ
ท�ำงานได้ทุกขณะ เม่ือตรวจพบลูกระเบิดยิงด้านนอกห้ามแตะต้องตัวลูกระเบิดยิง ให้ท�ำ
เครอื่ งหมายไวด้ ว้ ยธงหรอื หลกั ทาสขี าวไว ้ แลว้ รายงานใหเ้ จา้ หนา้ ที่ สพ.ทบ.มาทำ� ลายตอ่ ไป

7. กลอ้ งเล็ง เอม็ 4

กล้องเล็ง เอ็ม 4 เป็นอุปกรณ์ส�ำหรับตั้งเครื่องยิงให้ตรงทิศ และตั้งมุมสงู ให้
กบั เครือ่ งยิงได้ตามระยะทต่ี ้องการ กล้องเลง็ นส้ี วมอยู่ที่แท่นรบั ก้านเครือ่ งเลง็ ด้านซ้ายของ
เครอ่ื งยิง เป็นเคร่อื งเล็งมาตรฐานท่ใี ช้กับเครือ่ งยิง ขนาด 60 มม. เอ 1, เอ 2, เอ 3 และ
ค.88 เอม็ 2 และเอม็ 19 ประกอบด้วยชน้ิ ส่วนต่าง ๆ ดังน้ี

- กล้องสอบการเลง็
- ศูนย์เปิด เส้นเลง็ หางม้าสดี ำ�
- ควงมุมทศิ ดรรชนชี ม้ี าตรา มาตรามุมสงู ส่วนใหญ่ มาตรามมุ สูงส่วนย่อย
- หลอดระดบั มมุ สงู
- หลอดระดบั แก้เอยี ง
- ก้านกล้องเลง็ และกระเดือ่ งก้านกล้องเลง็

90 วขิ าอาวธุ รปู ท่ี 7 กล้องเล็ง เอม็ 4

วธิ ีใช้กล้องเลง็ เอ็ม 4

1. นำ� กลอ้ งเลง็ ออกจากกลอ่ ง สวมเขา้ กบั แทน่ รบั กลอ้ งเลง็ ตรวจดวู า่ เขา้ ทสี่ นทิ
เรยี บร้อยแล้ว

2. ตงั้ มมุ สงู และมมุ ทศิ ตามทต่ี อ้ งการ ตามคำ� สงั่ ยงิ หรอื จากตารางยงิ ใหถ้ กู ตอ้ ง
3. หมนุ ควงสงู ปรบั หวอดระดบั ทางสงู หมนุ ควงสา่ ยปรบั แนวเสน้ เลง็ แลว้ ปรบั
หวอดระดบั ทางขา้ งจนกระทงั่ เสน้ เลง็ อยขู่ อบซา้ ยของหลกั เลง็ การยงิ 3 นดั แรกใหถ้ อดกลอ้ ง
เล็งออกก่อน เพ่ือให้พล่ัวของแผ่นฐานฝังตัวแน่นกับพ้ืน การกระทบกระเทือนมาก ๆ อาจ
ทำ� ให้ชนิ้ ส่วนท่บี อบบางช�ำรดุ ได้
4. การถอดกล้องเล็งออกจากแท่นรับก้านกล้องเล็ง มือซ้ายจับกล้องเล็ง
หัวแม่มือกับนิ้วช้ีขวาผลักกระเด่ืองก้านกล้องเล็งไปทางขวาจนสุด มือซ้ายดึงกล้องเล็งข้ึน
ขา้ งบน ใหก้ ลอ้ งเลง็ หลดุ ออกมา ตงั้ มมุ สงู 40 องศา มมุ ทศิ 0 มลิ เลยี ม เกบ็ เขา้ กลอ่ งกลอ้ งเลง็

8. เคร่ืองให้แสง เอม็ 37 วิชาอา ุวธ 91

เครื่องให้แสงนี้ใช้เป็นเครื่องช่วยเล็งในเวลากลางคืนของกล้องเล็ง เอ็ม 4 ใช้
ถ่านไฟฉายขนาด 1 1/2 โวลต์ มปี ลายสายสองอนั ใชส้ ่องสว่างในกล้องสอบการเลง็ หนงึ่ อนั
และใช้ส่องดูมาตรามุมสูงและมุมทิศอีกหน่ึงอัน ถ้าหน่วยไม่มีจะพัฒนาดัดแปลงโดย
ใช้ไฟฉายขนาดเล็กปิดด้วยกระดาษสีดำ� เจาะรูเล็ก ๆ ให้แสงสว่างผ่านเพียงพอที่จะใช้
สอ่ ง ดา้ นหนา้ ทางขา้ งชดิ กลอ้ งสอบการเลง็ จะเหน็ เสน้ สขี าวในกลอ้ งสอบการเลง็ เปน็ สแี ดง

9. ไฟฉายหวั หลกั เลง็ เอ็ม 41

ใช้ประกอบเครื่องให้แสง เอ็ม 37 เม่ือต้องการเล็งในเวลากลางคืน วางสวม
ไว้บนหัวหลักเล็ง เอ็ม 10 หรือหลักเล็งเพ่ิมที่เตรียมไว้มีขนาดเท่ากัน บางคร้ังจำ� เป็นต้อง
เตรียมไว้หลายๆ อัน โดยดัดแปลงไว้ให้มีลักษณะใกล้เคียงหรือเหมือนกันได้ วิธีเล็ง ให้
เส้นเล็ง ที่หลอดไฟฉายหัวหลักเล็งอยู่ด้านบน เส้นเล็งในกล้องตรวจสอบการเล็งต่อเป็น
แนวดง่ิ อยู่ด้านล่าง

10. หลกั เล็ง เอม็ 10

เป็นหลักเล็งท่ีท�ำด้วยเหล็กยาว 25 1/2 นิ้ว มีมาตรามิลเลียมที่บรรทัดวัดมุม
หรอื ชท้ี ศิ ทางยงิ ขนั้ ตน้ ใหเ้ ครอ่ื งยงิ ถา้ ใชม้ าตราวดั มมุ เปน็ มลิ เลยี ม ใหย้ ดึ หลกั เลง็ อยหู่ า่ งตา
18 นว้ิ ห่างกนั ขดี ละ 10 มลิ เลยี ม จาก 0 ไปทางขวาและทางซ้ายข้างละ 100 มลิ เลียม
หลกั เลง็ นจ้ี ะใช้ไม้ท�ำแทนได้ขนาดโดยประมาณ คือ 2 นิว้ X 1 น้วิ ยาว 2 ฟุต

หมายเหตุ ความสมั พนั ธ์ของควงส่ายกบั ควงแก้เอียง คอื หมนุ ควงส่าย 1 รอบ
และหมนุ ควงแกเ้ อยี งไป 1-9 รอบ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั จะท�ำใหห้ ลอดระดบั ไมเ่ ปลยี่ นแปลง

11. ลกู ระเบิดยิง

ลูกระเบิดยงิ ท่ใี ช้กบั เครื่องยิงลูกระเบดิ ขนาด 60 มม. เป็นลูกระเบดิ ยิงครบนดั
กล่าวถึงลกู ระเบดิ ยงิ ทั้งนดั เคร่อื งหมายและหลกั ฐานทางขีปนวธิ ี

ลกู ระเบดิ ยงิ ท่ใี ช้กบั ค.88 ขนาด 60 มม. แบ่งประเภทตามลักษณะการใช้
มอี ยู่ 5 ประเภท

92 วขิ าอาวธุ ลูกระเบิดยงิ ชนดิ สังหาร
ลกู ระเบิดยงิ ชนดิ ควนั
ลูกระเบดิ ยงิ ชนดิ ส่องแสง
ลูกระเบดิ ยงิ ชนดิ ฝึกยงิ
ลกู ระเบิดยิงชนดิ ซ้อมยิง

รปู ท่ี 8 ลกู ระเบิดยิง ค. ขนาด 60 มม.

ลูกระเบดิ ยงิ สงั หาร เอม็ 49 เอ 2

ใชส้ งั หารบคุ คลและไดผ้ ลมากในการท�ำใหบ้ าดเจบ็ ชน้ิ ระเบดิ สามารถกระจาย
ไปได้รอบตวั รัศมีฉกรรจ์ทางกว้าง 18 เมตร ทางลกึ 9 เมตร ลูกระเบดิ ยงิ หนกั ประมาณ
3.0 ปอนด์ มสี ่วนบรรจุ 4 ส่วนบรรจุ ภายในบรรจดุ นิ ทีเอน็ ที หนัก 0.34 ปอนด์ ยงิ ได้
ไกลสดุ 1,790 เมตร ท่ตี ัวลกู ระเบิดยงิ ทาสกี ากีแกมเขยี ว อักษรเหลอื ง

ลูกระเบิดยิงควนั เอม็ 302 วิชาอา ุวธ 93

ใช้ทำ� ฉากควัน ท�ำอาณัติสัญญาณ ท�ำให้บาดเจ็บ และทำ� ให้เกิดการเผาไหม ้
บรรจภุ ายในด้วยฟอสฟอรสั ขาว เมอ่ื ถูกความร้อน 100 องศาฟาเรนไฮต์ หรอื มากกว่าขึ้น
ไป จะกลายเปน็ วตั ถเุ หลว การเกบ็ ลกู ระเบดิ ยงิ จะตอ้ งเอาหวั ชนวนขนึ้ ขา้ งบน รศั มอี นั ตราย
15 เมตร ระยะยงิ ไกลสุด 1,450 เมตร ท่ตี ัวลูกระเบิดยงิ ทาสีเทา เคร่ืองหมายสเี หลอื ง

ลูกระเบิดยิงส่องแสง เขม็ 83 เอ 1, เอ 3

ใช้ยิงในเวลากลางคืน เพื่อส่องสว่างใช้ในการตรวจการณ์ ภายในบรรจุวัตถุ
สอ่ งแสงและรม่ ใชช้ นวนแตกอากาศ เอม็ 65 ชนวนเรมิ่ ทำ� งานเมอ่ื ยงิ ออกไปแลว้ 14.5 วนิ าที
เริ่มจากชนวนเช้ือจุดวัตถุส่องแสง จุดดินด�ำ ดินด�ำขับร่มให้เปลือกลูกระเบิดยิงแตกออก
จากกัน ร่มจะกลางออก มีวัตถุส่องแสงสว่างแขวนห้อยอยู่ด้วยนานประมาณ 25 วินาที
ถ้ายิงด้วยลูกระเบิดยิง เอ็ม 83 เอ 1 จะให้แสงสว่าง 145,000 แรงเทียน ลูกระเบิดยิง
เอ็ม 83 เอ 3 ให้แสงสว่าง 330,000 แรงเทียน อัตราการตกของร่ม 3 เมตร ต่อวินาที
ลูกระเบิดยิงทง้ั นดั หนัก 5.14 ปอนด์ ระยะยิงไกลสดุ 1,000 เมตร

ลูกระเบิดซอ้ มยิง เอ็ม 50 เอ 2

ลกั ษณะเหมอื นลกู ระเบดิ ยงิ สงั หาร ผดิ กนั ทสี่ ที า ใชใ้ นการฝกึ และมคี วามมงุ่ หมาย
เชน่ เดยี วกบั ลกู ระเบดิ ยงิ สงั หารเพราะมลี กั ษณะทางขปี นวธิ เี หมอื นกนั ตวั ลกู ระเบดิ ยงิ ทาสฟี า้
บรรจุดนิ ด�ำเล็กน้อยและวตั ถปุ รบั น�้ำหนักแทนดิน ทีเอ็นที

ลูกระเบิดฝึกยงิ เอม็ 69

ลูกระเบิดฝึกยิงเป็นเหล็กเหนียวแข็ง และส่วนครีบหางเป็นแบบท่ีมาตรฐาน
หนัก 4.4 ปอนด์ ยงิ ได้ไกล 225 เมตร การเลือกสนามฝึกยิงควรจะหาพน้ื ท่เี ป็นดนิ อ่อน
จะท�ำให้ลูกระเบดิ ยิงมอี ายใุ ช้งานได้นาน

หมายเหตุ มีลูกระเบิดยิงชนิดสังหาร ได้รับการพัฒนามีใช้อยู่หลายแบบ
ไม่มเี อกสารอ้างองิ ไว้ ดงั นั้นผู้ใช้จะต้องพิจารณาโดยรอบคอบ นำ� ตารางยิงไปใช้ให้ตรงกบั
ลูกระเบดิ ยิงนน้ั ด้วย

12. ตารางยิง

คือ หลักฐานการต้ังมุมสูงและส่วนบรรจุตามระยะยิงที่ก�ำหนดไว้เป็นเมตร
หรือเป็นหลา ซึ่งอาจจะแจ้งรายการอื่นๆ ท่ีเกี่ยวกับการใช้ลูกระเบิดยิงแต่ละชนิด เช่น

เวลาแลน่ สงู ยอดกระสนุ วถิ ี ยา่ นคลาดเคลอื่ นคาดคะเนทางระยะและทางทศิ บางชนดิ แจง้
ให้ทราบการท�ำงานของชนวนไว้ด้วย ตารางยิงของลูกระเบิดยิงต่างชนิดกันที่ไม่ก�ำหนดไว้
จงึ ใช้ร่วมกนั ไม่ได้ มขี ้อพจิ ารณาการใช้ตารางยงิ ไว้ดังน้ี

ก. การยงิ ควบ ให้เลอื กใช้มมุ ยงิ ทม่ี สี ่วนบรรจเุ พม่ิ ลดระยะยงิ หรอื เพม่ิ ระยะยงิ
ได้หลายระยะ

ข. ระหว่างการยิงควบ ไม่ควรเปล่ียนส่วนบรรจุเพ่ิมที่ต่างกันจะท�ำให้ความ
แม่นยำ� ลดน้อยลง

ค. การยิงทางลึก หรือการยิงเป้าหมายที่เปล่ียนไปในทางลึกให้เลือกเปล่ียน
มุมยิงท่ใี ช้ส่วนบรรจุเดมิ

ง. การยิงต่อระยะหน้าหรือฝ่ายเดียวกัน อยู่ห่างเป้าหมาย 300 เมตรลงมา
ให้เลือกใช้มมุ ยิงท่มี สี ่วนบรรจตุ �่ำท่สี ดุ

จ. ตารางยงิ ทีม่ ีระยะยิงเป็นหลา เม่อื ต้องการยงิ ระยะมากกว่า 1,500 หลา จะ
ตอ้ งเพม่ิ มมุ สงู ลงไปใหต้ รงกบั ระยะยงิ ทเ่ี พมิ่ ครง้ั ละ 25 หลาดว้ ย (เพราะระยะยงิ หา่ งกนั ชว่ งละ
100 หลา)

94 วขิ าอาวธุ

บทที่ วิชาอา ุวธ 95

คุณลักษณะของวัตถุระเบดิ ทางทหาร

ตอนที่ 1
กลา่ วทั่วไป

ความม่งุ หมาย

1. บทเรยี นนแ้ี นะนำ� การใชว้ ตั ถรุ ะเบดิ ทางทหาร ในการทำ� ลายเครอื่ งกดี ขวาง
ทางทหารใช้ในงานก่อสร้างต่าง ๆ ซ่งึ มรี ายละเอยี ดดังต่อไปน้ี คือ

1.1 ชนิดคุณลักษณะพิเศษตลอดจนการใช้วัตถุระเบิดและอุปกรณ์
ในการจดุ ระเบดิ

1.2 การเตรยี มการ การวางดนิ ระเบิด ตลอดจนการจดุ ระเบดิ
1.3 สูตรการค�ำนวณหาดนิ ระเบดิ (Charge calculation formulas)
1.4 วธิ กี ารท�ำลายแบบประณตี และเร่งด่วนสำ� หรบั ใช้ในเขตหน้า
1.5 กฎความปลอดภัยต่าง ๆ
1.6 การจบั ถอื การขนส่ง และการเกบ็ รกั ษาวตั ถุระเบิด
1.7 การใช้ดนิ ระเบดิ ท่เี หมาะสมต่อการทำ� ลาย

96 วชิ าอาวธุ 2. การทำ� ลายในทางทหาร
การท�ำลายในทางทหารมีการท�ำลายด้วยไฟ ด้วยน้�ำ ด้วยวัตถุระเบิด
ด้วยเครื่องมือกลและด้วยอาวุธยิง การท�ำลายจะท�ำลายด้วยวิธีใดก็แล้วแต่สถานท่ี
และเป้าหมายที่จะท�ำลายโดยให้ส�ำเร็จผลตามความมุ่งหมายของทางทหาร แต่ในที่นี้
จะกลา่ วถงึ การทำ� ลายดว้ ยวตั ถรุ ะเบดิ เพยี งอยา่ งเดยี ว การทำ� ลายดว้ ยวตั ถรุ ะเบดิ เราสามารถ
ใช้ได้ท้ังในการรุกและในการต้ังรับ เช่น ท�ำลายฉากขัดขวางของข้าศึกเพื่อความสะดวก
ในการเคล่ือนที่ของฝ่ายเราและท�ำลายให้เป็นเครื่องกีดขวางเพื่อร้ังหน่วง หรือจ�ำกัด
การเคลอ่ื นทข่ี องข้าศึก เป็นต้น

วัตถุระเบดิ ทางทหาร

1. วตั ถรุ ะเบดิ ทางทหารเปน็ สสารชนดิ หนง่ึ ซงึ่ เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมี เมอื่ ไดร้ บั
ความรอ้ น การเสยี ดสี การกระทบกระแทก หรอื ไดร้ บั แรงกระตนุ้ เตอื นเรม่ิ แรกอยา่ งเหมาะสม
ทำ� ใหเ้ กดิ เปน็ สารอยา่ งใหมข่ นึ้ หรอื กลายเปน็ แกส๊ จำ� นวนมาก ๆ เราแยกชนดิ ของวตั ถรุ ะเบดิ แรงตำ่�
และวัตถุระเบิดแรงสูงด้วยอัตราความเร็วในการระเบิด (เป็นฟุต หรือเมตรต่อวินาที)
ซงึ่ ผลจากการระเบดิ นีเ้ ป็นลักษณะพเิ ศษของวตั ถรุ ะเบดิ แต่ละชนดิ

2. วตั ถรุ ะเบดิ แรงตำ�่ วตั ถรุ ะเบดิ แรงตำ�่ เกดิ จากการเผาไหมจ้ ากของแขง็ ไปเปน็
แกส๊ อยา่ งชา้ ๆ สมำ�่ เสมอ(อตั ราเรว็ ในการระเบดิ ตงั้ แตเ่ รม่ิ ตน้ จนถงึ 400เมตรหรอื 1,312ฟตุ /วนิ าท)ี
คณุ ลกั ษณะพเิ ศษน้ี ทำ� ใหว้ ตั ถรุ ะเบดิ แรงตำ่� เหมาะสมอยา่ งมากเมอื่ ตอ้ งการใหเ้ กดิ ผลในการ
ผลกั ดัน ตัวอย่างของวตั ถรุ ะเบดิ แรงต�่ำ ได้แก่ ดนิ ไร้ควัน และดนิ ด�ำ

3. วัตถุระเบิดแรงสูง เกิดจากการเปล่ียนแปลงของวัตถุระเบิดเป็นแก๊สอย่าง
รวดเรว็ ในอตั รา 1,000 เมตร/วนิ าที (3,280 ฟตุ /วนิ าท)ี ถงึ 8,500 เมตร/วนิ าที (27,880 ฟตุ /วนิ าท)ี
ก่อให้เกิดผลการฉกี ขาดต่อเป้าหมาย วตั ถรุ ะเบดิ แรงสูงนี้ใช้บรรจุเป็นดินระเบดิ แท่ง บรรจุใน
ทุ่นระเบดิ กระสนุ ปืนใหญ่ และในลกู ระเบิดต่าง ๆ

วัตถรุ ะเบิดใช้ในทางทหาร วิชาอา ุวธ 97

1. แอมโมเนียมไนเตรท (AMMONIUM NITRATE)
แอมโมเนียมไนเตรท เป็นวัตถุระเบิดท่ีมีความไวในการระเบิดน้อยท่ีสุด
ในบรรดาวตั ถรุ ะเบดิ ทางทหาร จงึ ต้องมดี นิ ขยายการระเบดิ ในการระเบดิ เพราะว่าดนิ ระเบดิ
แอมโมเนียมไนเตรทมีความไวในการระเบิดน้อย จึงใช้ผสมส�ำหรับการใช้เป็นดินระเบิดตัด
หรอื ระเบดิ แตกหกั แตเ่ ราจะนำ� ไปใชส้ ำ� หรบั ระเบดิ ทำ� หลมุ หรอื ขดุ คู สว่ นมากจะนำ� ไปใชด้ า้ น
อตุ สาหกรรมเหมอื งแร่ หรอื การขดุ ดนิ แอมโมเนยี มไนเตรทจะชนื้ เมอ่ื ถกู อากาศ ดงั นน้ั จงึ ตอ้ ง
บรรจุให้ดเี พือ่ ป้องกันมใิ ห้อากาศเข้าได้ ฉะน้นั วัตถรุ ะเบิดชนดิ นี้จงึ ไม่เหมาะสมทีจ่ ะใช้ใต้นำ้�
นอกจากจะได้มกี ารป้องกนั มิให้ถูกนำ้� ซมึ เท่านนั้
2. พอี ีทีเอ็น (PENTAERYTHRITE TETRANITRATE) (PETN)
พอี ที เี อน็ เปน็ วตั ถรุ ะเบดิ ทมี่ คี วามไวสงู (highly sensitive) และมอี ำ� นาจมากทสี่ ดุ
ในบรรดาวตั ถรุ ะเบดิ ทางทหาร มอี ำ� นาจพอ ๆ กบั อารด์ เี อก็ ซ์ และไนโทรกรเี ซอรนี พอี ที เี อน็ ใช้
เปน็ ดนิ ขยายการระเบดิ บรรจใุ นชนวนฝกั แคระเบดิ และเชอื้ ปะทบุ างชนดิ และบางทกี ใ็ ชผ้ สม
กับดินระเบดิ ทเี อ็นที หรือใช้กบั ไนโตรเซลลูโลส เช่น ดนิ ระเบดิ M118 พอี ที เี อน็ ไม่ละลายนำ้�
จึงสามารถใช้ในการทำ� ลายใต้นำ้� ได้
3. อาร์ดีเอก็ ซ์ (CYCCLOTRIMETHLENETRINITRAMINE) (RDX)
อาร์ดีเอ็กซ์ เป็นวัตถุระเบิดที่มีความไวในการระเบิดมาก มีอ�ำนาจในการ
ทำ� ลายสงู และเปน็ วตั ถรุ ะเบดิ ทางทหารทมี่ อี ำ� นาจมากชนดิ หนงึ่ อารด์ เี อก็ ซใ์ ชเ้ ปน็ วตั ถรุ ะเบดิ
หลกั ในเชอ้ื ปะทไุ ฟฟา้ เอม็ 6 และเชอ้ื ปะทชุ นวน เอม็ 7 ดนิ ระเบดิ ชนดิ นถี้ า้ ทำ� ใหห้ มดความไวใน
การระเบดิ แลว้ สามารถใชเ้ ปน็ ดนิ ชว่ ยขยายการระเบดิ ดนิ ระเบดิ ทำ� ลาย และดนิ ระเบดิ แทง่ ได้
ส่วนใหญ่ดินระเบิดอาร์ดีเอ็กซ์ ใช้เป็นส่วนผสมท�ำเป็นดินระเบิดชนิดอ่ืน ๆ เช่น ดินระเบิด
คอมโปซิชัน่ เอ, บี หรือคอมโปซชิ น่ั ซี
4. ทเี อ็นที (TRINITROTOLUENE) (TNT)
ทีเอ็นที เยอรมนีผลิตขึ้นใช้เป็นชาติแรก โดยใช้โทลูอีนจากถ่านหินเป็น
วตั ถดุ บิ ตอ่ มาสหรฐั ฯ ใชโ้ ทโลอนี จากปโิ ตรเลยี ม ทำ� ใหส้ ามารถผลติ ไดอ้ ยา่ งเพยี งพอ เนอ่ื งจาก
ทเี อน็ ทมี คี ณุ สมบตั ใิ นการหลอมบรรจไุ ดด้ ี ฉะนน้ั ทเี อน็ ทจี งึ มที ใ่ี ชอ้ ยา่ งกวา้ งขวางจดั เปน็ วตั ถุ
ระเบิดมาตรฐานท่ีส�ำคัญในราชการทหาร มีลักษณะเป็นผลึกสีเหลืองอ่อน มีความคงทนดี

98 วชิ าอาวธุ มคี วามไวนอ้ ยถา้ ลกุ ไหมใ้ นทโ่ี ลง่ จะเกดิ ควนั สดี ำ� ใชส้ ำ� หรบั บรรจลุ กู กระสนุ ปนื ใหญ่ ลกู ระเบดิ
อากาศ ลูกระเบิดขว้าง ดนิ ระเบดิ ทำ� ลาย ท�ำส่วนประกอบของดินเร่มิ และส่วนประกอบของ
ดินกระสุนบางชนิด เมื่อเก็บรักษาในท่ีมีอากาศร้อนอาจเกิดการไหลเย้ิมได้ ซึ่งเป็นอันตราย
ตอ่ การใช้ นอกจากนด้ี นิ ระเบดิ ทเี อน็ ทยี งั เปน็ วตั ถรุ ะเบดิ หลกั ทางทหาร ซงึ่ ใชเ้ ปน็ กำ� ลงั เปรยี บ
เทยี บอ�ำนาจการระเบดิ กบั วตั ถุระเบิดชนิดอนื่ ๆ

5. เทตตริล (TETRYL)
เทตตรลิ ใชเ้ ปน็ ดนิ ขยายการระเบดิ ใชท้ ำ� วตั ถรุ ะเบดิ ผสม และใชใ้ นการระเบดิ
ทำ� ลาย เทตตรลิ มคี วามไวและอำ� นาจมากกวา่ ทเี อน็ ที อยา่ งไรกต็ ามเทตตรลิ และวตั ถรุ ะเบดิ
ทม่ี สี สี ว่ นผสมของเทตตรลิ กำ� ลงั ไดร้ บั การทดแทนดว้ ย RDX และพอี ที เี อน็ ซงึ่ มอี ำ� นาจมากกวา่
6. ไนโทรกลเี ซอรีน (NITROGLYCERIN)
ไนโทรกลเี ซอรนี เปน็ วตั ถรุ ะเบดิ ทม่ี อี ำ� นาจมากพอกบั อารด์ เี อก็ ซ์ และพอี ที เี อน็
ใช้เป็นดินระเบิดหลักในไดนาไมต์ทางการค้า ไนโทรกลีเซอรีนมีความไวในการระเบิด
เมื่อถูกกระทบกระแทกเสียดสีสูง เพราะมีความไวในการระเบิดสูง จึงยากต่อการจับถือ
จึงไม่น�ำมาใช้เป็นวัตถุระเบิดทางทหาร และดินไดนาไมต์ทางการค้า จะไม่น�ำมาใช้ในพื้นที่
การรบ (combat area)
7. ดินดำ� (BLACK POWDER)
ดนิ ด�ำ เป็นวตั ถรุ ะเบิดทเี่ ก่าแก่ และรู้จกั กนั มานานว่าเป็นดนิ ขบั ดินด�ำเป็น
ส่วนผสมของโพแทสเซยี ม หรอื โซเดยี มไนเตรทกับถ่านโค้ก และกำ� มะถัน ดินด�ำใช้ในชนวน
ฝักแคเวลาดนิ ปะทุ และเคร่ืองจดุ บางชนดิ เพื่อเป็นส่วนถ่วงเวลา
8. อมาตอล (AMATOL)
อมาตอล เป็นส่วนผสมของแอมโมเนียมไนเตรท และทีเอ็นที และสามารถ
นำ� ไปใช้แทน ทีเอ็นที อมาตอล 80 - 20 (80% แอมโมเนียมไนเตรท และ 20% ทเี อ็นที)
ใชบ้ รรจบุ งั กะโลตอรป์ โิ ดรนุ่ เกา่ ในระหวา่ งสงครามโลกครง้ั ที่ 1 ทเี อน็ ทเี กดิ ขาดแคลน องั กฤษ
จึงได้คิดค้นอมาตอลข้ึน แต่อมาตอล 80 - 20 มีความยุ่งยากต่อการบรรจุลงในลูกกระสุน
จงึ หันมาใช้อมาตอล 50 - 50 ซึ่งสามารถหลอมบรรจุได้ ต่อมาเมอื่ สามารถผลิตพีอที เี อ็นได้

อย่างเพยี งพอแล้ว จึงได้ใช้วตั ถรุ ะเบิดผสมอย่างอืน่ ท่ีก�ำลงั มากกว่า เช่น คอมโปซชิ ่นั บี และ วิชาอา ุวธ 99
เพนโทไลท์แทนอมาตอล

9. คอมโปซชิ น่ั เอ 3 (COMPOSITION A 3)
คอมโปซชิ น่ั เอ 3 ทำ� จากอาร์ดเี อก็ ซ์ 91% ขผี้ ง้ึ 9% มอี ำ� นาจฉกี ขาดดี เหมาะ
ส�ำหรับการอดั บรรจลุ ูกกระสุน ต่อมาได้มกี ารปรบั ปรงุ ส่วนประกอบ โดยเพมิ่ ส่วนลดความไว
เข้าไปและเปล่ยี นมาเป็น เอ 2, เอ 3 ปัจจบุ ันนี้มใี ช้ถึง เอ 4 และ เอ 5 คอมโปซชิ นั่ เอ 3 ใช้เป็น
ดินขยายการระเบิดในดินระเบิดแท่งแบบเซฟชาร์จชนิดใหม่ และในบังกะโลตอร์ปิโดและยัง
ใช้เป็นระเบดิ หลักในดนิ ระเบดิ พลาสติกแรงสูง
10. คอมโปซิช่ัน บี (COMPOSITION B)
เนอ่ื งจากอารด์ เี อก็ ซห์ าไดง้ า่ ย และมอี ำ� นาจฉกี ขาดและการระเบดิ ดกี วา่ ทเี อน็ ที
เราจงึ ใชอ้ ารด์ เี อก็ ซ์ ผสมกบั ทเี อน็ ที เรยี กวา่ คอมโปซชิ นั่ บี ซงึ่ มอี ตั ราสว่ นอารด์ เี อก็ ซ์ 60% ทเี อน็ ที
39% และข้ีผ้ึง 1% คอมโปซชิ น่ั บี ใช้เป็นดนิ ระเบดิ หลักในเชฟชาร์จ
11. คอมโปซชิ นั่ บี 4 (COMPOSITION B 4)
คอมโปซชิ นั่ บี 4 ประกอบดว้ ย อารด์ เี อก็ ซ์ 60% ทเี อน็ ที 39.5% และแคลเซยี ม
ซลิ เิ กต 5% คอมโปซชิ น่ั บี 4 ใชเ้ ปน็ ดนิ ระเบดิ หลกั ในบงั กะโลตอรป์ โิ ดแบบใหม่ และในเชฟชารจ์
12. คอมโปซิชัน่ ซี 2 และ ซี 3 (COMPOSITION C2 AND C3)
คอมโปซิชัน่ ซี 2 เป็นดนิ ระเบดิ ทมี่ สี ่วนประกอบของอาร์ดเี อก็ ซ์ 60% และ
ดนิ ระเบดิ พลาสตกิ 20% ดนิ ระเบดิ พลาสตกิ ประกอบดว้ ย ดนิ ระเบดิ ทเี อน็ ที และสว่ นผสมของ
ดินระเบิดชนดิ อน่ื คอมโปซชิ ั่น ซี 2 ได้ถกู แทนทด่ี ้วยคอมโปซิชัน่ ซี 3 ซ่งึ ประกอบด้วย อาร์ดี
เอ็กซ์ 77%
และดนิ ระเบดิ พลาสติก 23% ซ่งึ ประกอบด้วย ทีเอน็ ที เทตตรลิ ไนโตรเซลลูโลส
และส่วนผสมของดินระเบิดชนิดอื่น ดินระเบิดทั้งสองชนิดน้ีจะอ่อนและปั้นได้ ณ อุณหภูมิ
ระหว่าง -20°F ถงึ + 125°F เพราะว่าเป็นดินระเบดิ ท่ีมีอตั ราความเร็วในการระเบดิ สูง จึงใช้
เป็นดนิ ระเบดิ ในการท�ำลาย และทำ� เป็นดนิ ระเบิดแท่งเหมาะส�ำหรับใช้ท�ำลายใต้น�ำ้

100 วชิ าอาวธุ 13. คอมโปซิชน่ั ซี 4 (COMPOSITION C4)
คอมโปซิชั่น ซี 4 ประกอบด้วย ดินระเบิดอาร์ดีเอ็กซ์ 91% และของ
วสั ดทุ ี่เป็นพลาสตกิ ทีม่ ิใช่ดนิ ระเบิด 9% คอมโปซิช่นั ซี 4 มอี ำ� นาจเท่ากับคอมโปซชิ ัน่ ซี 3
แต่สามารถรกั ษาสภาพได้ดกี ว่า (อณุ หภูมิระหว่าง - 70°F ถึง + 170°F) และสามารถคงทน
ต่อการกดั เซาะของน้ำ� ได้ดเี ม่ือใช้ทำ� ลายใต้น้�ำ
14. เทตตรติ อล (TETRYTOL)
เทตตรติ อลประกอบดว้ ยเทตตรลิ และทเี อน็ ที (เทตตรลิ 75% ทเี อน็ ที 25%)
ใช้ทำ� ดนิ ระเบิดแท่ง ส่วนผสมของดนิ ระเบิดชนดิ อืน่ และใช้การท�ำลาย เทตตริตอลมีอำ� นาจ
มากกว่าทเี อ็นที และมีความไวน้อยกว่าเทตตรลิ ดนิ ระเบิดชนดิ น้ีเปราะแตกหักง่าย การใช้
ต้องระมดั ระวงั อย่าให้ตก จะทำ� ให้อ�ำนาจการระเบดิ น้อยลงไป
15. เพนโทไลท์ (PENTOLITE)
เพนโทไลท์ ประกอบดว้ ยทเี อน็ ที กบั พอี ที เี อน็ ในอตั ราสว่ น 50 : 50 ซง่ึ ไว
ต่อการจุดระเบิดให้อ�ำนาจการฉีกขาดดี และเหมาะในการหลอมบรรจุ เน่ืองจากมีอัตรา
การจุดระเบดิ และอ�ำนาจสงู จงึ ใช้เป็นดินขยายการระเบิดในเชฟชาร์จ
16. ไดนาไมต์ (DYNAMITES)
เดิมใช้เรียกช่ือส่วนผสมของไนโตรกลีเซอรีน กับสารท่ีดูดซึม
ไนโตรกลีเซอรีนต่อมาได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงส่วนผสมบางอย่าง ท�ำให้เกิดเป็น
ไดนาไมต์หลายชนดิ ได้แก่ สเตรทไดนาไมต์ แอมโมเนียไดนาไมต์ เยลาตนิ ไดนาไมต์ และ
แอมโมเนยี มเยลาตนิ ไดนาไมต์ ไดนาไมตเ์ หลา่ นม้ี ไี นโตรกลเี ซอรนี ผสมอยดู่ ว้ ย เปน็ ไดนาไมต์
ทางการค้า
17. ไดนาไมตท์ างทหาร (MILITART DYNAMITES)
ไดนาไมต์ทางทหารประกอบด้วย อารดีเอก็ ซ์ 75% ทเี อน็ ที 15% และ
อีก 10% เป็นวสั ดทุ ่ีท�ำให้หมดความไว และวัสดทุ เี่ ป็นพลาสตกิ มีอำ� นาจเท่ากับกบั ไดนาไมต์
60% ทางการค้าดนิ ระเบิดทางทหารไม่มไี นโตรกลเี ซอรีน จงึ มีความแน่นอนปลอดภยั ในการ
เก็บรกั ษา และการจบั ถอื ดีกว่าไดนาไมต์ทางการค้า


Click to View FlipBook Version