The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

305 เนื้อหา ตำรา วิชาอาวุธ ปี3 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Patiparn Potardee, 2020-09-21 09:52:28

3. วิชาอาวุธ ปี3 2563

305 เนื้อหา ตำรา วิชาอาวุธ ปี3 2563

ตอนท่ี 2 วิชาอา ุวธ 101
ดินระเบดิ แทง่ (Block Demolition Charge)

ดนิ ระเบดิ แทง่ เปน็ การบรรจวุ ตั ถรุ ะเบดิ แรงสงู ใชใ้ นการปฏบิ ตั กิ ารทำ� ลายทว่ั ๆ ไป
เชน่ ระเบดิ ตดั ระเบดิ แตกหกั และการระเบดิ เปน็ หลมุ ประกอบดว้ ย วตั ถรุ ะเบดิ แรงสงู เชน่ ทเี อน็ ที
เทตตรติ อล คอมโปซชิ น่ั ซี ชนดิ ตา่ ง ๆ และแอมโมเนยี มไนเตรท ดนิ ระเบดิ เหลา่ น้ี ทำ� เปน็ แทง่
สเ่ี หลยี่ ม ยกเวน้ ดนิ ระเบดิ แทง่ แอมโมเนยี มไนเตรท ขนาด 40 ปอนด์ และดนิ ระเบดิ แทง่ ทเี อน็ ที
ขนาด 1/4 ปอนด์ ซึ่งทำ� เป็นรูปทรงกระบอก

1. ดนิ ระเบิดแทง่ ทเี อ็นที (1/4,1/2 และ 1 ปอนด์)

1.1 คุณลักษณะ ดินระเบิดทรงกระบอก (ตามรูปท่ี 1) ผลิตออกมาเป็น
3 ขนาด คอื ขนาด 1/4 ปอนด์ เปน็ รปู รา่ งทรงกระบอก มกี ระดาษแขง็ หอ่ หมุ้ ภายนอกปอ้ งกนั นำ�้
ขนาด 1/2 ปอนด์ และขนาด 1 ปอนด์ ผลิตข้นึ มารูปร่างคล้ายกนั ทง้ั 3 ขนาดน้ี มโี ลหะปิด
หวั ท้าย ซง่ึ มีรูส�ำหรบั เสยี บเช้ือปะทุอยู่ด้านหนง่ึ

1.2 การใช้ ดินระเบิดแท่งทีเอ็นทีเป็นระเบิดท�ำลายมาตรฐาน และใช้ในงาน
การท�ำลายทุกแบบ อย่างไรก็ดี ดินระเบิดขนาด 1/4 ปอนด์ มีความมุ่งหมายใช้ในการฝึก
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความคนุ้ เคย

1.3 ประโยชน์ ดนิ ระเบดิ แท่งทีเอ็นที มีความเรว็ ในการระเบดิ สงู มคี วามคงทน
ไมไ่ วตอ่ การกระทบกระแทก หรอื การเสยี ดสี ปอ้ งกนั นำ�้ ได้ สามารถใชใ้ ตน้ ำ�้ และมรี ปู รา่ งขนาด
การบรรจทุ เ่ี หมาะในการใช้

1.4 ขอ้ จ�ำกัด ดนิ ระเบดิ แท่งทเี อน็ ที ไม่สามารถปั้นได้และมคี วามยากในการใช้
กบั เป้าหมายทม่ี ีรปู ร่างไม่ราบเรยี บสม�ำ่ เสมอ ทเี อน็ ทีไม่เหมาะสมทจ่ี ะใช้ในท่ซี งึ่ มอี ากาศอับ
เพราะมคี วันพษิ มาก (เม่ือระเบดิ แล้ว)

102 วชิ าอาวธุ รปู ท่ี 1 ดนิ ระเบดิ แทง่ T.N.T.

2. ดินระเบิดแท่ง เอ็ม 1 (2 1/2 ปอนด์ 75 - 25 เทตตริตอล)

2.1 คณุ ลกั ษณะดนิ ระเบดิ แทง่ เอม็ 1 (รปู ที่ 2) เปน็ แทง่ ของดนิ ระเบดิ เทตตรติ อล
75 - 25 มีดินระเบิดเทตตริตอลเป็นดินขยายการระเบิด ร้อยผ่านด้วยชนวนฝักแคระเบิด
หนกั แท่งละ 2 1/2 ปอนด์ จ�ำนวน 8 แท่ง บรรจใุ นถุงย่าม ทกุ แท่งห่อหุ้มด้วยกระดาษสีกากี
แกมเขียวเคลอื บด้วยแอสฟัลต์

2.2 การใช้ เทตตริตอล มีอำ� นาจมากกว่าทเี อน็ ที มปี ระสิทธภิ าพในการระเบดิ
ตดั ระเบิดแตกหกั สามารถใช้ทดแทนทเี อ็นทใี นงานการท�ำลายทั่ว ๆ ไป การใช้จะใช้ทง้ั พวง
หรอื ใช้เป็นแท่งกไ็ ด้

2.3 ประโยชน์ เพราะว่าบรรจุในถุงย่าม ดนิ ระเบดิ แท่งแบบ เอ็ม 1 จงึ เหมาะที่
จะใช้ในการทำ� ลาย เทตตรติ อลไม่ค่อยละลายในน�้ำจึงเหมาะทจ่ี ะใช้ในการทำ� ลายใต้น้�ำ

2.4 ขีดจ�ำกัด ดินระเบิดแท่งเทตตริตอลมีดินระเบิดเทตตริลเป็นดินขยาย
การระเบดิ ทที่ ำ� ให้ระเบดิ ขนึ้ โดยแนน่ อน ดนิ ขยายการระเบดิ เทตตรลิ มคี วามไวตอ่ การกระทบ
กระเทือนมากกว่าเทตตริตอล หรือทีเอ็นที และอาจถูกท�ำให้เกิดระเบิดได้ด้วยการยิงด้วย
ปืนหลัก นอกจากนย้ี ังแตกหกั ง่ายเมื่อตก หรอื ถูกกระทบกระแทก

3. ดนิ ระเบดิ แทง่ เอม็ 2 (2 1/2 ปอนด์, 75/25 เทตตรติ อล) วิชาอา ุวธ 103

คล้ายดินระเบดิ แท่ง เอ็ม 1 (รปู ท่ี 2) เว้นแต่มรี ูเสียบเช้ือปะทแุ ต่ละข้างรอบ ๆ
รูเสียบเช้ือปะทุมีดินเทตตริลเป็นดินขยายการระเบิด การใช้คงเหมือนกันกับดินระเบิดแบบ
เอม็ .1 ซ่งึ ใช้ในการระเบดิ ตัด, ระเบดิ แตกหัก

รปู ท่ี 2 ดนิ ระเบดิ แท่ง เอม็ 1 และเอ็ม 2

4. ดินระเบิดแท่ง เอ็ม 3 (2 1/2 ปอนด์, คอมโปซิช่ัน ซี 2 หรือ
คอมโปซิชนั่ ซี 3)

4.1 คณุ ลักษณะ ดินระเบดิ เอ็ม 3 (รปู ที่ 3) มีใช้ท้งั คอมโปซชิ ่นั ซี 2 และคอมโป
ซชิ น่ั ซี 3 ดนิ ระเบดิ แทง่ เอม็ 3 หอ่ หมุ้ ดว้ ยกระดาษสนี ำ้� ตาล ซงึ่ สามารถแกะเปดิ ได้ ไมม่ รี สู ำ� หรบั
เสยี บเช้ือปะทุ คอมโปซชิ ัน่ ซี 2, ซี 3 สามารถปั้นได้ในอณุ หภูมิ ระหว่าง - 20°F ถงึ + 125°F

4.2 การใช้ คอมโปซชิ นั่ ซี 2 และซี 3 คลา้ ยคลงึ กนั มอี ำ� นาจมากกวา่ ทเี อน็ ที และ
มคี วามไวพอกนั เพราะวา่ มคี วามเปน็ พลาสตกิ และมอี ำ� นาจสงู จงึ เหมาะในการระเบดิ ตดั เหลก็
และเป้าหมายท่ีมีรูปร่างที่ไม่ราบเรียบสม่�ำเสมอ สามารถปั้นได้แบบสนิทกับเป้าหมายได้ดี
การใช้ใต้นำ้� ถ้าไม่แกะส่งิ ห่อหุ้มออก จะสามารถทนต่อการกดั เซาะของนำ�้ ได้

4.3 ประโยชน์ ดินระเบิดชนิดน้ีสามารถท�ำเป็นรูปร่างปั้นได้แนบกับเป้าหมาย
ได้ดี

4.4 ขดี จำ� กดั ดนิ ระเบดิ ชนดิ นี้ อณุ หภมู ิ - 20°F จะเปราะ และถา้ สงู กวา่ +125°F
จะไหลเย้มิ และกลน่ิ ของมันทำ� ให้ผู้ได้กลิ่นเกดิ อาการวงิ เวยี นศรี ษะ

104 วชิ าอาวธุ รปู ท่ี 3 ดินระเบดิ แทง่ เอ็ม 3

5. ดนิ ระเบิดแทง่ เอม็ 5 เอ 1 (2 1/2 ปอนด,์ คอมโปซชิ ่นั ซี 4)

5.1 คุณลักษณะ ดินระเบิดแท่ง เอม็ 5 เอ 1 (รปู ที่ 4) คอมโปซิช่นั ซี 4 ห่อหุ้ม
ด้วยพลาสติกสีขาว มีรูเสียบเช้ือปะทุที่ปลายด้านหนึ่ง ดินระเบิดทั้งแท่งสามารถแบ่งใช้ได้
โดยแกะเปลอื กพลาสตกิ ออก คอมโปซชิ ัน่ ซี 4 สามารถรักษาคณุ ภาพในอณุ หภมู ริ ะหว่าง -
70°F ถึง+ 170°F

5.2 การใช้เอม็ 5เอ1สามารถใชใ้ นงานทำ� ลายไดท้ กุ แบบโดยเฉพาะในการระเบดิ
ตัดและระเบิดแตกหัก เพราะสามารถปั้นได้และมีอ�ำนาจสูง คอมโปซิชั่น ซี 4 จึงเหมาะ
ในการระเบดิ ตดั เหลก็ และเปา้ หมายทมี่ รี ปู รา่ งไมเ่ รยี บสมำ�่ เสมอ คอมโปซชิ น่ั ซี 4 ไมล่ ะลายนำ้�
และสามารถใช้ใต้นำ้� ได้

5.3 ประโยชน์ คอมโปซิช่ัน ซี 4 มอี �ำนาจมากกว่า ซี 3 สามารถรกั ษารูปร่างใน
อณุ หภมู ทิ เ่ี หนอื กว่า คงทนกว่า มคี วามเหนยี วน้อยกว่า (Is Iess sticky) ทนต่อการกดั เซาะ
ของนำ�้ ไดน้ อ้ ยกวา่ เพราะความเปน็ พลาสตกิ จงึ สามารถตดั และปน้ั ได้แนบกบั เป้าหมายไดด้ ี

5.4 ขดี จำ� กดั จากการทค่ี อมโปซชิ น่ั ซี 4 ในดนิ ระเบดิ แทง่ เอม็ 5 เอ 1 จงึ ยากตอ่
การพราง การไหลของนำ้� จะกดั กร่อนคอมโปซิชัน่ ซี 4 ถ้าไม่มีส่ิงห่อหุ้มป้องกัน

รปู ที่ 4 ดนิ ระเบิดแท่ง เอ็ม 5 เอ 1 วิชาอา ุวธ 105

6. ดนิ ระเบิดแทง่ เอม็ 112 (คอมโปซิช่ัน ซี 4, 1 1/2 ปอนด์)

6.1 คณุ ลกั ษณะ ดนิ ระเบดิ แท่ง เอ็ม 112 (รปู ท่ี 5) เป็นการปรบั ปรงุ รูปแบบของ
คอมโปซชิ น่ั ซี 4 ในดนิ ระเบดิ แทง่ เอม็ 5 เอ 1 โดยการแบง่ ดนิ ระเบดิ ออกเปน็ 2 สว่ น แตล่ ะแทง่
หนกั 1 1/4 ปอนด์ หอ่ หมุ้ ดว้ ยไมลาฟลิ ม์ บนดา้ นหนง่ึ จะมเี ทปกาวแบบพเิ ศษ ซงึ่ ปดิ ดว้ ยกระดาษ
6.2 การใช้ เอ็ม 112 ใช้ในงานเช่นเดียวกบั เอม็ 5 เอ 1 ดนิ ระเบดิ น้เี หมาะ
อย่างย่ิงสำ� หรบั ใช้เป็นดินระเบิดตัด ดินระเบิดชนดิ นมี้ เี ทปกาวพเิ ศษ สามารถตดิ กบั ผวิ ของ
เป้าหมายท่รี าบเรยี บได้ดี

6.3 ประโยชน์ เอม็ 112 มรี ปู ร่างและขนาดทเ่ี หมาะสมในการจบั ถอื ง่าย ในการ
ที่จะแนบเข้ากับเป้าหมาย สามารถตัดและปั้นได้และแนบเข้ากับเป้าหมายที่มีรูปร่างไม่
ราบเรียบ สขี องกระดาษท่หี ่อหุ้มเป็นการพรางได้เป็นอย่างดี

6.4 ขีดจ�ำกัด เศษของน�้ำหนักดินระเบิดท�ำให้ยากในการค�ำนวณ เทปกาว
จะไม่ยดึ แน่น ถ้าหน้าพน้ื ผวิ ของเป้าหมายเปียกหรอื ชื้น

106 วชิ าอาวธุ รูปท่ี 5 ดินระเบดิ แทง่ เอ็ม 112

7. ดนิ ระเบดิ แท่ง เอ็ม 118 (พอี ีทีเอน็ , 2 ปอนด)์

7.1 คุณลกั ษณะ เอม็ 118 หรือดนิ ระเบดิ แผ่น (รูปที่ 6) ใน 1 แท่ง ประกอบด้วย
ดินระเบิดแผ่นขนาด 1/4 ปอนด์ 4 แผ่น ห่อหุ้มด้วยกระดาษพลาสติกข้างหนึ่งของ
ดินระเบิดจะมเี ทปกาวแบบกาวพเิ ศษ

7.2 การใช้ ดินระเบดิ แท่ง เอม็ 118 ออกแบบสำ� หรบั ใช้เป็นดินระเบดิ ตดั และ
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ต่อเป้าหมายท่ีเป็นเหล็ก ความอ่อนตัวของดินระเบิดท�ำให้แนบกับ
เปา้ หมายทผี่ วิ ไมเ่ รยี บหรอื โคง้ และงา่ ยตอ่ การตดั ตามขนาดทตี่ อ้ งการ เอม็ 118 ควรใชก้ บั การ
ระเบดิ แตกหกั ขนาดเล็ก ไม่ควรจะใช้กบั งานท่ตี ้องใช้ดินระเบดิ เป็นจ�ำนวนมาก ๆ เน่อื งจาก
เป็นดนิ ระเบดิ ทีม่ รี าคาแพง

7.3 ประโยชน์ ความอ่อนตัว และกาวแบบพิเศษ ท�ำให้มีความรวดเร็ว
ในการประกอบดินระเบิดเข้ากับเป้าหมายต่าง ๆ ได้ดี ดินระเบิดสามารถแบ่งออกใช้ตาม
ขนาดต่าง ๆ ของเป้าหมาย และสามารถเพม่ิ ความหนาของดินระเบิด โดยเอาดนิ ระเบิดวาง
ซ้อนกันได้ไม่ละลายในนำ้� และสามารถใช้ใต้น้�ำได้

7.4 ขดี จ�ำกัด เทปกาวจะไม่เกาะตดิ ยดึ แน่นบนผิวหน้าที่เปียกชน้ื

รปู ที่ 6 ดนิ ระเบดิ แทง่ เอม็ 118 วิชาอา ุวธ 107

8. ดนิ ระเบิด (แบบม้วน) เอม็ 186

8.1 คณุ ลักษณะ เอม็ 186 (รปู ที่ 7) เหมอื นกบั ดินระเบิด เอ็ม 118 เว้นแต่ขนาด,
ความกว้าง, หนา ของดนิ ระเบดิ เอม็ 186 จะน้อยกว่า และเอม็ 186 จะอยู่ในรูปของม้วนบน
หลอดพลาสตกิ มคี วามยาว 50 ฟตุ ในความยาวแต่ละฟตุ ของดนิ ระเบิดม้วน จะมีดนิ ระเบิด
หนักประมาณ 1/2 ปอนด์ ในแต่ละม้วนของ เอม็ 186 จะประกอบด้วยเช้ือปะทชุ นวน เอ็ม 186
จ�ำนวน 15 อนั และถงุ ผ้าพร้อมสายหวิ้

หมายเหตุ ส่วนประกอบของดินระเบิดในเอ็ม 186 นั้น ข้ึนอยู่กับบริษัท
ผผู้ ลติ ใน ปจั จบุ นั นบี้ างบรษิ ทั ใชพ้ อี ที เี อน็ เปน็ หลกั ในดนิ ระเบดิ ในขณะทบ่ี างบรษิ ทั ใชอ้ ารด์ เี อก็ ซ์
ในอนาคตบรษิ ทั ผู้ผลติ อาจจะเปล่ยี นดนิ ระเบดิ เป็นชนิดอ่นื

8.2 การใช้ เอม็ 186 นนั้ ใช้เช่นเดยี วกบั เอม็ 118, เอม็ 186 นน้ั มลี กั ษณะพเิ ศษ
ทสี่ ามารถปรบั ดนิ ระเบดิ ใหเ้ ขา้ กบั เปา้ หมายทจี่ ะวางได้ ซง่ึ เปา้ หมายเหลา่ นตี้ อ้ งการดนิ ระเบดิ
ทม่ี คี วามอ่อนตวั ซ่ึงมคี วามยาวมากกว่า 12 นิว้

8.3 ประโยชน์ เอม็ 186 เหมอื นกบั เอ็ม 118, เอม็ 186 สามารถตดั ในความ
ยาวท่เี ราต้องการได้

108 วชิ าอาวธุ 8.4 ขีดจ�ำกัด แถบกาวทางด้านหลังไม่สามารถใช้ติดกับพ้ืนผิวท่ีเปียก หรือ
พน้ื ผวิ ท่ีมนี �้ำแข็งเกาะได้

ขอ้ ควรระวงั การตดั เอม็ 186 ควรจะตดั ดว้ ยมดี ทค่ี มบนพนื้ ผวิ (ทรี่ อง) ตอ้ ง
ไม่มีประกายไฟ และห้ามฉกี

รปู ที่ 7 ดินระเบิด (แบบม้วน) เอ็ม 186

9. ดินระเบดิ แทง่ แอมโมเนียมไนเตรท 40 ปอนด์

9.1 คณุ ลักษณะ แอมโมเนยี มไนเตรท 40 ปอนด์ (รปู ที่ 8) เปลอื กเป็นโลหะ
ทรงกระบอกบรรจดุ นิ ระเบดิ แอมโมเนยี มไนเตรท 30 ปอนด์ เปน็ ดนิ ระเบดิ หลกั และมดี นิ ระเบดิ
ทเี อน็ ที 10 ปอนด์ เปน็ ดนิ ขยายการระเบดิ อยตู่ รงกลางบรเิ วณทเี่ สยี บเชอื้ ปะทุ มรี สู ำ� หรบั เสยี บ
เชื้อปะทุ 2 รู รหู น่ึงส�ำหรบั เสียบเชื้อปะทชุ นวน เอม็ 7 หรอื เชือ้ ปะทไุ ฟฟ้า เอม็ 6 อีกรหู นึง่
สำ� หรบั รอ้ ยชนวนฝกั แคระเบดิ ผา่ น และผกู เงอ่ื นทปี่ ลายชนวนฝกั แคระเบดิ หมดุ ระหวา่ งรเู สยี บ
เชื้อปะทุท้ังสองส�ำหรับผูกชนวนฝักแคเวลา สายไฟเชื้อปะทุไฟฟ้า หรือชนวนฝักแคระเบิด
ให้ติดแน่น ห่วงโลหะท่อี ยู่ด้านบนดนิ ระเบดิ ใช้ส�ำหรบั ร้อยเชือกหย่อนดนิ ระเบิดลงไปในหลมุ

9.2 การใช้ แอมโมเนยี มไนเตรท มีอตั ราความเร็วในการระเบดิ ต่�ำ ดงั นั้น จึงไม่
เหมาะตอ่ การใชใ้ นการระเบดิ ตดั และระเบดิ แตกหกั อยา่ งไรกต็ าม ผลของการระเบดิ กอ่ ใหเ้ กดิ
แรงดันของแก๊สท�ำให้เกิดการผลักดันหรือการอุ้มยก ซ่ึงท�ำให้เหมาะส�ำหรับงานท�ำหลุมและ
คดู นิ ระเบดิ แทง่ แอมโมเนยี มไนเตรท 40 ปอนด์ ไดอ้ อกแบบมาเพอื่ เปน็ ดนิ ระเบดิ มาตรฐานใน
การท�ำหลมุ เนอื่ งจากปรมิ าณของดนิ ระเบิดมีเป็นจ�ำนวนมาก จึงอาจนำ� ไปใช้ในการท�ำลาย
อาคารและป้อมค่าย และการระเบดิ ท�ำลายตอม่อสะพาน

รูปท่ี 8 ดินระเบดิ แอมโมเนยี ไนเตรท วิชาอา ุวธ 109

9.3 ประโยชน์ ขนาดและรูปร่างของดินระเบิดนี้ เหมาะในการท�ำหลุมระเบิด
และราคากไ็ ม่แพงกว่าดนิ ระเบิดชนิดอน่ื ๆ

9.4 ขีดจ�ำกัด แอมโมเนียมไนเตรท ดูดความเปียกช้ืนได้ง่าย ท�ำให้ยาก
ในการจุดระเบิด ต้องตรวจตราให้แน่นอนว่าไม่มีน�้ำเข้าไปในดินระเบิดและรูเสียบ
เชือ้ ปะทุ มฉิ ะน้ัน แล้วจะทำ� ให้ดินระเบิดไม่ระเบิด แอมโมเนียมไนเตรทจะต้องจดุ ระเบิดด้วย
การจุดระเบดิ คู่

10. ไดนาไมตท์ างทหาร เอม็ 1 (1/2 ปอนด์)

10.1 คณุ ลกั ษณะ ไดนาไมตท์ างทหาร เอม็ 1 (รปู ที่ 9) มอี ารด์ เี อก็ ซเ์ ปน็ ดนิ ระเบดิ
หลกั และไม่มไี นโทรกลเี ซอรนี บรรจอุ ยู่ ทำ� ให้ปลอดภยั ในการเกบ็ รกั ษา จบั ถอื และการขนส่ง
ดกี วา่ ดนิ ไดนาไมตท์ างการคา้ ไดนาไมตท์ างทหาร เอม็ 1 มขี นาดหนกั 1/2 ปอนด์ หอ่ หมุ้ ดว้ ย
กระดาษฉาบพาราฟิน มขี นาดเส้นผ่าศนู ย์กลาง 1 1/4 นว้ิ มีความยาว 8 นว้ิ

10.2 การใช้ ไดนาไมต์ทางทหาร เอ็ม 1 ใช้ในงานช่างทวั่ ไป ในงานแหล่งดนิ
แหล่งหินและสามารถใช้ทำ� ลายใต้น้ำ� ได้

10.3 ประโยชน์ ไดนาไมตท์ างทหาร เอม็ 1 ไมแ่ ขง็ ตวั ถา้ เกบ็ ในทเ่ี ยน็ ไมไ่ หลเยมิ้
ถา้ เกบ็ ในทร่ี อ้ นสว่ นผสมไมด่ ดู หรอื เกบ็ ความชน้ื มคี วามปลอดภยั ในการขนสง่ การเกบ็ รกั ษา
การจับถอื จงึ สามารถใช้ในพ้นื ท่ีการรบได้

110 วชิ าอาวธุ 10.4 ขีดจำ� กดั ไดนาไมต์ทางทหาร เอม็ 1 เชื่อถือได้ในการวางใต้น�ำ้ เพยี ง 24
ชวั่ โมงเทา่ นน้ั ดนิ ชนดิ นม้ี คี วามไวในการใชจ้ ะตอ้ งอดั ลงไปในรใู หแ้ นน่ ไมใ่ หม้ ชี อ่ งวา่ ง เพอื่ ผล
ในการทำ� ลาย

รปู ที่ 9 ดนิ ระเบดิ ไดนาไมต์ทางทหาร เอม็ 1

11. ดินระเบดิ เชฟชารจ์ (SHAPED CHARGES)

ดนิ ระเบิดเชฟชาร์จ (รปู ที่ 10) ใช้ในการปฏบิ ัติการทางทหาร บรรจุด้วยดนิ ระเบิด
แรงสงู ในรูปทรงกระบอก ปลายด้านหน่ึงเป็นรปู กรวยครง่ึ ซกี ใช้วางเข้ากับวัสดุ เพอื่ เจาะทะลุ
ทะลวงโลหะ คอนกรีต ดิน หรอื วสั ดุชนดิ อ่นื ๆ ไม่สามารถใช้ใต้น�้ำได้ ในการทำ� ลายจะให้
ได้ผลสูงสุดจะต้องต้ังบนขาตั้งมาตรฐาน ซ่ึงมีระยะแน่นอนจากเป้าหมายในการจุดระเบิด
ไม่จ�ำเป็นจะต้องใช้จดุ ด้วยการจดุ ระเบิดคู่

11.1 ดินระเบิดเชฟชาร์จ 15 ปอนด์ เอ็ม 2 เอ 3 ดินระเบิดชนิดน้ีบรรจุด้วย
ดนิ ระเบดิ คอมโปซชิ น่ั บี 9 1/2 ปอนด์ และมดี นิ ระเบดิ เพน็ โทไลท์ 50 - 50 หนกั 2 ปอนด์ เปน็ ดนิ
ขยายการระเบิดบรรจุในไฟเบอร์ ซึ่งป้องกันการเปียกชื้นได้ มีขาต้ังเป็นรูปทรงกระบอก
ทำ� ด้วยไฟเบอร์

11.2 ดนิ ระเบดิ เชฟชาร์จ 15 ปอนด์ เอ็ม 2 เอ 4 ดินระเบิดชนดิ นไ้ี ด้พัฒนาใช้
ดนิ ระเบิดท่มี ีความไวในการระเบดิ จากการยงิ ด้วยปืนน้อยกว่าแบบ เอ็ม 2 เอ 3, เอม็ 2 เอ 4
เหมอื นกบั เอ็ม 2 เอ 3 ในการประกอบและการท�ำ แต่ผิดกันในขนาดของดินขยายการระเบิด
และวัสดดุ งั ต่อไปน้ี ดนิ ขยายการระเบดิ เพ็นโทไลท์ 50 - 50 เป็นดินระเบิดคอมโปซิช่นั เอ 3
หนัก 50 กรัม ดนิ ระเบิดหลกั คอมโปซิช่นั บี ได้บรรจุเพิ่มมากข้นึ ซ่ึงน�ำ้ หนกั รวมท้งั หมดแล้ว
กจ็ ะเท่ากบั แบบ เอ็ม 2 เอ 3

11.3 ดินระเบดิ เชฟชาร์จ 40 ปอนด์ เอม็ 3 ดินระเบดิ ชนิดนี้บรรจุด้วยดนิ ระเบดิ
คอมโปซชิ น่ั บี ประมาณ 27 1/2 ปอนด์ และมีดินระเบดิ เพ็นโทไลท์ 50 - 50 เป็นดินขยายการ
ระเบิดมีเปลอื กเป็นโลหะ มขี าตัง้ ท่กี �ำหนดระยะทำ� ด้วยโลหะเช่นเดียวกัน

11.4 ดินระเบิดเชฟชาร์จ 40 ปอนด์ เอ็ม 3 เอ 1 ดินระเบิดนี้ได้พัฒนาใช้ดิน วิชาอา ุวธ 111
ระเบดิ ทมี่ คี วามไวในการระเบดิ จากการยงิ ดว้ ยปนื นอ้ ยกวา่ แบบเอม็ 3, เอม็ 3 เอ 1 เหมอื นกบั
เอ็ม 3 การประกอบและการท�ำ แต่ผิดกันในขนาดของดินขยายการระเบิดและวัสดุดังนี้
ดนิ ขยายการระเบดิ เพ็นโทไลท์ 50 - 50 เปล่ียนเป็นดนิ ระเบิดคอมโปซชิ ่นั เอ 3 หนกั 50 กรัม
ดินระเบิดหลกั คอมโปซิชนั่ บี ได้บรรจเุ พม่ิ ขน้ึ ซ่งึ นำ้� หนกั รวมแล้วเท่ากบั แบบ เอม็ 3

11.5 การใชด้ นิ ระเบดิ เชฟชารจ์ ในการเจาะทะลทุ ะลวงพนื้ ดนิ แผน่ โลหะกำ� แพงอฐิ
ก่อคอนกรตี พน้ื ผวิ ถนนทกุ ชนดิ ผลการท�ำลายทะลุขึน้ อยู่กบั ขนาดชนดิ ของวัสดนุ ้ัน ๆ

รูปท่ี 10 ดนิ ระเบดิ เชฟชารจ์
11.6 ข้อระมดั ระวังพเิ ศษ การท่ีจะใช้ดนิ ระเบิดชนิดน้ใี ห้ได้ผลต้องปฏิบตั ดิ ังนี้
11.6.1 จดุ ก่ึงกลางของดนิ ระเบดิ ต้องอยู่เหนือเป้าหมาย
11.6.2 ให้แกนของดนิ ระเบิดอยู่ในแนวเดียวกบั รทู ตี่ ้องการเจาะ
11.6.3 จะต้องใช้ขาต้ังมาตรฐาน เพราะระยะของขาตั้งเป็นระยะท่ีได้ผล
ในการทะลทุ ะลวงดีที่สุด
11.6.4 ต้องแน่ใจว่าไม่มีส่ิงหนึ่งส่ิงใดมาขวางกั้นระหว่างดินระเบิดกับ
เป้าหมาย

112 วชิ าอาวธุ 12. ดนิ ระเบิดบังกะโลตอร์ปิโด เอม็ 1 เอ 1 และเอ็ม 1 เอ 2

12.1 คณุ ลกั ษณะดนิ ระเบดิ ชนดิ นป้ี ระกอบดว้ ยบงั กะโลตอรป์ โิ ด 10 ทอ่ น (รปู ที่ 11)
แต่ละท่อนห่อหุ้มด้วยโลหะยาว 5 ฟตุ และมีเส้นผ่าศนู ย์กลาง 2 1/8 นว้ิ และมรี ูเสยี บเชือ้ ปะทุ
ทัง้ สองข้างแบบ เอ็ม 1 เอ 1 บรรจดุ ้วยดนิ ระเบดิ อมาตอล และมีดินระเบิดทเี อ็นที 4 น้ิว เป็น
ดนิ ขยายการระเบดิ ทีป่ ลายท้งั สองด้านแบบ เอ็ม 1 เอ 2 เหมอื นกบั เอม็ 1 เอ 1 แต่ผิดกันที่
ดินระเบิดหลักใช้ดินระเบิดคอมโปซิช่ัน บี และดินขยายการระเบิดใช้ดินระเบิดคอมโปซิช่ัน
เอ 3 รูเสียบเช้ือปะทุทั้งสองด้านสามารถใช้จุกเกลียวมาตรฐานแต่ละชุดจะมีปลอก
ข้อต่อและมหี ัวครอบ

12.2 การใช้บังกะโลตอร์ปิโด ใช้ในการกวาดล้างเครื่องกีดขวางประเภทลวด
หนาม และสนามทุ่นระเบิด บังกะโลตอร์ปิโดสามารถกวาดล้างเครื่องกีดขวางประเภทลวด
หนาม เปน็ เสน้ ทางเดนิ ไดก้ วา้ ง 3 ถงึ 4 เมตร ถา้ เปน็ สนามทนุ่ ระเบดิ สามารถระเบดิ ทนุ่ ระเบดิ
สังหารบุคคลและทุ่นระเบิดดักรถถังท่ีอยู่ใกล้ให้ระเบิดขึ้นได้ง่าย และยังสามารถกวาดล้าง
ปา่ ทบึ หรอื ปา่ ไผไ่ ด้ (สำ� หรบั ทนุ่ ระเบดิ ดกั รถถงั และสงั หารบคุ คล จะไดช้ อ่ งทางกวา้ งประมาณ
1 เมตร จาก FM 5-25,1986)

รปู ท่ี 11 บงั กะโลตอร์ปโิ ด

12.3 การประกอบ ทกุ ทอ่ นของบงั กะโลตอรป์ โิ ดทปี่ ลายทงั้ สองดา้ นจะมรี สู ำ� หรบั วิชาอา ุวธ 113
เสียบเช้อื ปะทุ การต่อแต่ละท่อนให้ใช้ต่อด้วยปลอกข้อต่อ หวั ครอบ ใช้สวมเข้ากับท่อนแรก
เพอื่ ปอ้ งกนั มใิ หไ้ ปสะดดุ เขา้ กบั สง่ิ กดี ขวางตา่ ง ๆ เมอื่ เราเตรยี มทอ่ นแรกไปแลว้ กใ็ ชป้ ลอกขอ้ ตอ่
ต่อเข้ากบั ท่อนต่อมาเร่ือย ๆ จนกว่าจะได้ความยาวตามต้องการ

12.4 การจุดระเบิดบังกะโลตอร์ปิโด สามารถจุดด้วยเช้ือปะทุไฟฟ้าทางทหาร
ในการกวาดล้างเครื่องกีดขวาง จะจุดบังกะโลตอร์ปิโดเม่ือได้วางเรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้
อาจจะใช้เคร่อื งจุดชนวนถ่วงเวลาแบบ 8 วินาที หรือ 15 วนิ าที ก็ได้

ข้อระมัดระวังความปลอดภยั
เกยี่ วกบั การใชว้ ัตถุระเบดิ

กฎปลอดภยั ท่วั ไป

กฎปลอดภัยท่เี ก่ยี วกับวตั ถุระเบดิ เชือ้ ปะทุ และเครอ่ื งมอื ทำ� ลายที่กำ� หนดขนึ้ น้นั
จะต้องปฏิบัติโดยเคร่งครัด ในระหว่างการฝึกในสถานการณ์นอกเหนือจากการฝึก จะต้อง
พยายามปฏบิ ตั ิเท่าที่มีเวลามอี ยู่ 2 ข้อ คอื

1. อย่าจบั ถอื วัตถรุ ะเบดิ ด้วยความสะเพร่า
2. ไม่แบ่งความรับผิดชอบในการเตรียมการวางระเบิด และการจุดระเบิดต้อง
มอบความรบั ผดิ ชอบให้ผู้หน่ึงผู้ใดเป็นผู้ก�ำหนดตรวจตราทกุ ข้ันตอน และกำ� หนดผู้สำ� รองไว้
แทน ในเม่อื จะมีความจำ� เป็นเกดิ ขนึ้

114 วชิ าอาวธุ ตอนท่ี 3
อุปกรณ์ในการจุดระเบดิ

ชนวนฝกั แคเวลา

ชนวนฝักแคเวลาสามารถจุดด้วยไม้ขีด หรือเครื่องจุดชนวนเป็นตัวถ่วงเวลา
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในการจดุ ระเบดิ มอี ยู่ 2 ชนดิ คอื ชนวนปลอดภยั และชนวนฝกั แคเวลา
เอ็ม 700 ซ่ีงึ สามารถสบั เปลี่ยนกนั ใช้ได้

1. ชนวนฝกั แคเวลาปลอดภัย (Safety fuse)

ใช้ในการท�ำลายท่ัว ๆ ไป ประกอบด้วย ดินหุ้มห่อด้วยวัสดุป้องกันน้�ำซึมมี
หลายสี แต่ส่วนมากแล้วจะเป็นสสี ้ม อตั ราการลกุ ไหม้ 30 - 45 วินาท/ี ฟตุ จึงต้องทดสอบ
การลุกไหม้จะเหมือนกันหรือแตกต่างกันอยู่ท่ีสภาพอากาศและก่อนที่จะน�ำไปใช้ทุกม้วน
จะต้องทดสอบการลุกไหม้ก่อนเพื่อความปลอดภัย โดยเฉพาะในการใช้ใต้น�้ำการลุกไหม้
อาจจะเรว็ ข้นึ จึงต้องมกี ารทดสอบการลกุ ไหม้ในนำ้� ด้วย

รูปท่ี 12 ชนวนฝักแคเวลาแบบปลอดภัย

2. ชนวนฝกั แคเวลา เอม็ 700 (รูปที่ 13) วิชาอา ุวธ 115

ชนวนชนิดน้ีเหมือนกับชนวนฝักแคเวลาแบบปลอดภัย และการใช้ก็ใช้เหมือน
แต่สามารถก�ำหนดเวลาการลุกไหม้ได้แน่นอนกว่าชนวนฝักแคเวลาแบบธรรมดา สีเป็นสี
เขยี วเข้ม มเี ส้นผ่าศนู ย์กลาง 0.2 นิ้ว ห่อหุ้มด้วยพลาสตกิ ผวิ เรยี บ ในระยะ 1 ฟตุ จะมีแถบ
สีเหลืองคาด 1 แถบ ในระยะ 5 ฟตุ มแี ถบคาด 2 แถบ แถบคาดนีเ้ พื่อให้ง่ายในการวดั ระยะ
ชนวนฝักแคเวลามอี ัตราการลกุ ไหม้ 40 วนิ าท/ี ฟตุ แต่อย่างไรกต็ ามก่อนท่จี ะนำ� ไปใช้ต้องมี
การทดสอบอตั ราการลกุ ไหม้เหมอื นกบั ชนวนฝักแคเวลาปลอดภัยเสมอ (ชนวนฝักแคเวลาน้ี
ความยาว 1 ฟตุ จะมีระยะเผ่อื ไว้อกี 6 นวิ้ ในระยะ 5 ฟตุ จงึ มคี วามยาว 90 นิว้ )

รูปท่ี 13 ชนวนฝกั แคเวลา

3. การบรรจุหีบหอ่

3.1 ชนวนฝักแคเวลาแบบปลอดภยั
3.1.1 ชนวนฝักแคเวลา 1 ม้วน ยาว 50 ฟตุ บรรจุ 2 ม้วนต่อ 1 กล่อง และ
30 กล่อง (3,000 ฟุต) บรรจใุ นลังไม้ ขนาด 24 พ × 15 พ × 12 ฝ น้ิว นำ้� หนกั รวมทั้งลงั หนกั
71.8 ปอนด์

116 วชิ าอาวธุ 3.1.2 1 ม้วน 50 ฟตุ 2 ม้วนต่อ 1 กล่อง 5 กล่อง บรรจุในกระป๋องโลหะ
และ 8 กระป๋อง (4,000 ฟุต) บรรจใุ นลงั ไม้ ขนาด 30 1/8 × 15 1/8 × 14 7/8 น้วิ นำ้� หนกั รวม
ท้งั ลัง 94 ปอนด์

ชนวนฝกั แคระเบิด

1. คณุ ลักษณะชนวนฝักแคระเบดิ มีวัตถุระเบดิ พีอที ีเอ็น หรอื อาร์ดีเอ็กซ์ บรรจุ
อยู่ตรง แกนกลาง หุ้มด้วยช้นั บาง ๆ ของแอสฟัลต์ เปลือกนอกเป็นพลาสตกิ ชนวนฝักแค
ระเบดิ เปน็ สอ่ื ในการส่งผา่ นคลนื่ ระเบดิ จาก ณ จดุ หนงึ่ ไปยงั อกี ทห่ี นง่ึ อตั ราความเรว็ ระหว่าง
20,000 - 24,000 ฟตุ ต่อวนิ าที (FM 1968)

2. การใช้ชนวนฝักแคระเบดิ ใช้ในการระเบดิ และเป็นตวั จุดระเบดิ ดินระเบิดอ่ืน
เม่ือวัตถุระเบิดที่บรรจุอยู่ในแกนกลางถูกจุดระเบิดด้วยเช้ือปะทุหรือเครื่องจุดอ่ืน มันจะส่ง
ผ่านคล่นื ระเบดิ ไปยังดินระเบดิ โดยไม่จำ� กัดจ�ำนวน

3. ข้อควรระวังในการใช้ ปลายของชนวนฝักแคระเบิดจะต้องมีเครื่องป้องกัน
นำ�้ ซมึ เขา้ ไป เพอื่ ปอ้ งกนั ความชน้ื เขา้ ไป เมอ่ื ใชช้ นวนฝกั แคระเบดิ ในนำ้� หรอื ทง้ิ ไวห้ ลาย ๆ ชวั่ โมง
ก่อนท�ำการจุดระเบิด จะต้องตัดชนวนฝักแคระเบิดท้ิงก่อน 6 นิ้ว เพ่ือป้องกันความชื้นที่
หลงเหลืออยู่ที่ปลายสายชนวนฝักแคระเบิดให้หมดไป เพ่ือการป้องกันความผิดพลาด
(ล้มเหลว) ในการระเบดิ

ผวิ นอกเคลือบ

รูปที่ 14 ชนวนฝกั แคระเบดิ

เชือ้ ปะทุ วิชาอา ุวธ 117

เชอ้ื ปะทใุ ช้สำ� หรบั จดุ วัตถรุ ะเบิดแรงสูง ได้ออกแบบข้นึ มาสำ� หรับเสียบใส่เข้าไป
ในรูเสียบเชื้อปะทุ และสามารถใช้กับเครื่องจุดระเบิดได้ ใช้ในกิจการทหารมี 2 ชนิด คือ
เชือ้ ปะทุชนวนและเชอ้ื ปะทุไฟฟ้า

1. เช้อื ปะทไุ ฟฟ้า (รปู ท่ี 15) ใช้ในการจดุ ระเบดิ ด้วยระบบไฟฟ้าระเบดิ ขน้ึ ด้วย
เครื่องก�ำเนดิ ไฟฟ้าชนดิ ต่าง ๆ เช่น เครอ่ื งจดุ ระเบิดแบตเตอรี่ท่สี ามารถหาได้ ท่ใี ช้อยู่ 2 ชนดิ
คือ ที่ใช้ในกิจการทหารและทางการค้า ทางทหารเป็นแบบทันทีทันใด ทางการค้าท้ังแบบ
ทันทที นั ใด และถ่วงเวลา แบบถ่วงเวลาของการค้า สามารถถ่วงเวลาตัง้ แต่ 0.025 วนิ าที ถงึ
12 วนิ าที สำ� หรับแบบถ่วงเวลาท่ใี ช้ทางทหารสามารถถ่วงเวลาได้ต้ังแต่ 1.00 วินาที ถึง 1.53
วนิ าที เชอ้ื ปะทุไฟฟ้ามสี ายไฟความยาวขนาดต่าง ๆ สำ� หรบั ต่อกับวงจรไฟฟ้า โดยมากตาม
ปกติสายคู่ยาว 12 ฟุต เพ่ือป้องกันอบุ ัตเิ หตุจดุ ระเบิดก่อนเวลา ปลายสายจะทำ� การลัดวงจร
ไว้ ซง่ึ จะตอ้ งไมแ่ ยกออกจากกนั กอ่ นทำ� การจดุ ระเบดิ เชอื้ ปะทไุ ฟฟา้ ทางทหารทมี่ าตรฐาน คอื
เชื้อปะทุไฟฟ้าแบบ M 6

รูปท่ี 15 เชือ้ ปะทไุ ฟฟา้

118 วชิ าอาวธุ 2. เชื้อปะทุชนวน (รูปท่ี 16) เช้ือปะทุชนวนจะถูกท�ำให้ระเบิดขึ้นด้วยชนวน
ฝักแคเวลาเครอ่ื งจดุ ระเบิดและชนวนฝักแคระเบิด เชือ้ ปะทชุ นวนไม่สามารถจุดระเบดิ ใต้น�้ำ
หรอื ทเ่ี ปียกช่้นื ได้ เพราะว่ายากในการป้องกันนำ้� ซึมเข้าได้ แต่ถ้ามคี วามจ�ำเป็นจริง ๆ แล้ว ก็
ตอ้ งหาเครอ่ื งปอ้ งกนั นำ�้ ซมึ ปดิ ทบั ใหด้ ี เชอื้ ปะทชุ นวนทางการคา้ มแี บบ J 1, แบบ 6 และเบอร์ 8
ส่วนทางทหารกม็ ีเช้อื ปะทุชนวนแบบ M 7

รูปท่ี 16 เชือ้ ปะทุชนวนทางทหาร

คมี บบี เชอ้ื ปะทุ เอ็ม 2 วิชาอา ุวธ 119

คมี บบี เชอื้ ปะทุ เอม็ 2 (รปู ท่ี 17) ใชใ้ นการบบี เชอื้ ปะทชุ นวนใหต้ ดิ กบั ชนวนฝักแค
เวลา ฐานเครอื่ งจดุ ระเบดิ มาตรฐานหรอื ชนวนฝกั แคระเบดิ เพอ่ื ใหต้ ดิ แนน่ ไมส่ ามารถทจี่ ะดงึ
ใหห้ ลดุ ออกมาได้ จะมปี มุ่ เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หค้ มี บบี เชอ้ื ปะทุ บบี เชอ้ื ปะทมุ ากเกนิ ไปอยทู่ ด่ี า้ มคมี
ด้านหนงึ่ ชอ่ งว่างของปากคมี ดา้ นนอกใช้สำ� หรบั บบี เชอื้ ปะทใุ ห้ตดิ ชอ่ งวา่ งด้านในใชส้ ำ� หรบั
ตดั ชนวนฝักแคเวลา หรอื ชนวนฝักแคระเบดิ ปลายด้านหนึ่งของคมี มีปลายแหลมใช้สำ� หรบั
เจาะดนิ ระเบดิ ใหเ้ ปน็ รสู ำ� หรบั เสยี บเชอ่้ื ปะทเุ ขา้ ไป ปลายอกี ดา้ นหนง่ึ แบนสำ� หรบั ใชเ้ ปน็ ไขควง
คมี บบี เชอ้ื่ ปะททุ ำ� ดว้ ยวสั ดอุ โลหะทบ่ี อบบาง จงึ ตอ้ งไมใ่ ชใ้ นความมงุ่ หมายอน่ื ซง่ึ อาจจะทำ� ให้
คมี นเ้ี สยี หายได้ ปากของคมี จะตอ้ งระวงั รกั ษาใหส้ ะอาด และใชส้ ำ� หรบั ตดั ชนวนฝกั แคระเบดิ
หรอื ชนวนฝักแคเวลาเท่านน้ั

รปู ที่ 17 คมี บบี เชื้อปะทแุ บบ เอ็ม 2

120 วชิ าอาวธุ เคร่อื งตรวจวงจรกลั วานอมิเตอร์

เครื่องตรวจวงจรกัลวานอมิเตอร์ (รูปที่ 18) เป็นเครื่องมือท่ีใช้ในการทดสอบ
ระบบการจุดระเบิดด้วยไฟฟ้า ซึ่งใช้ตรวจวงจร (เชื้อปะทุไฟฟ้า สายไฟจุดระเบิด สายต่อ)
เมื่อปลายสองปลายติดกัน ใช้เคร่ืองตรวจวงจรกัลวานอมิเตอร์ตรวจเข็มบนหน้าปัดจะชี้ไป
ทางขวา เครอื่ งตรวจวงจรกลั วานอมเิ ตอร์ เวลาใชจ้ ะตอ้ งระมดั ระวงั รกั ษาใหด้ ี สามารถทดสอบ
ก่อนนำ� ไปใช้ได้ โดยใช้วัสดทุ ี่เป็นโลหะวางพาดลงไปท่ีปุ่มสองปุ่ม ถ้าเข็มไม่กระดกิ แสดงว่า
ถา่ นออ่ นตอ้ งเปลย่ี นถา่ นใหม่ (ถา่ นทใ่ี ชถ้ า่ นซลิ เวอรค์ ลอไรด์ มแี รงเคลอื่ นไฟฟา้ เพยี ง 0.9 โวลต)์

รูปที่ 18 เครื่องตรวจสอบวงจร (กัลวานอมเิ ตอร)์

รปู ท่ี 19 เคร่อื งจุดระเบิด M 57 และเครอื่ งตรวจสายวงจรไฟฟา้ M 40 วิชาอา ุวธ 121
รูปที่ 20 เครอื่ งจดุ ระเบิด

122 วชิ าอาวธุ เครือ่ งจุดระเบดิ (BLASTING MACHINES) (รูปท่ี 20)

1. เครอ่ื งจดุ ระเบดิ ชนดิ 10 ดอก เปน็ เครอื่ งกำ� เนดิ ไฟฟา้ กระแสตรงขนาดเลก็
ซ่ึงผลติ ขน้ึ มามกี ระแส 15 แอมแปร์ เพยี งพอทจ่ี ะจุดเชอ้ื ปะทไุ ฟฟ้าได้ 10 ดอก ต่อแบบเรยี ง
ลำ� ดบั มนี �้ำหนกั ประมาณ 50 ปอนด์ วิธีการใช้ดังต่อไปน้ี

1.1 ลองเคร่ืองจุดระเบิดเพื่อดูว่าใช้งานได้หรือไม่ด้วยกระบวนการทดสอบ
ตามข้อ 1.3 ถงึ 1.5 ลองทำ� หลาย ๆ ครั้ง จนกระท่งั ท�ำงานได้อย่างดี ก่อนท่ีจะน�ำสายไฟ
จดุ ระเบดิ ต่อเข้ากบั เครอ่ื ง

1.2 ตอ้ งนำ� เครอื่ งจดุ ระเบดิ ตดิ ตวั ตลอดเวลา ในขณะทตี่ อ่ วงจรการจดุ ระเบดิ
1.3 ต่อสายไฟฟ้าเข้าในเคร่อื งจดุ ระเบดิ ให้แน่น
1.4 สอดมือเข้าไปในห่วงนว้ิ
1.5 มือซ้ายสอดเข้าไปในห่วงน้ิว และถือเครื่องจุดระเบิดให้อยู่กึ่งกลาง
ให้แน่น
1.6 จับมือถอื ด้วยมือขวา และหมุนอย่างแรงตามเข็มนาฬิกาอย่างเรว็
2. เครอื่ งจดุ ระเบดิ ขนาด 30 ดอก เครอื่ งจดุ ระเบดิ ชนดิ นสี้ ามารถจดุ เชอื้ ปะทุ
ไฟฟ้าให้ได้ 30 ดอก เมอ่ื ต่อแบบวงจรเรยี งอันดับ น�้ำหนัก 20 ปอนด์ การใช้
2.1 ดงึ มอื ถอื ให้สงู
2.2 กดมอืิ ถอื ลงอย่างรวดเรว็ ให้สดุ

3. เครื่องจุดระเบิดแบบ 50 ดอก และ 100 ดอก

3.1 เครื่องจุดระเบิดแบบ 50 ดอก สามารถจุดเช้ือปะทุไฟฟ้าได้ จ�ำนวน
50 ดอก ต่อแบบวงจรเรยี งอันดับ มนี �ำ้ หนกั 20 ปอนด์ การใช้เช่นเดยี วกับเครอื่ งจุดระเบิด
ชนิด 30 ดอก

3.2 เครอ่ื งจดุ ระเบดิ แบบ 100 ดอก คลา้ ยคลงึ กบั แบบ 50 ดอก เวน้ แตข่ นาด
และนำ้� หนกั ต่างกัน ส่วนการใช้งานเหมือนกัน

เคร่อื งจุดระเบิดถ่วงเวลา

1. M1 A1 ถ่วงเวลา 15 วินาที (รูปท่ี 21) ท�ำงานแบบเสยี ดสี เมือ่ ถอดสลัก
นิรภัยแล้วดึงท่ีห่วงกลมด้านท้าย จึงเกิดประกายไฟไปจุดชนวนถ่วงเวลา ชนวนถ่วงเวลา
จะถ่วงเวลา 15 วินาที จงึ จะจุดดนิ ปะทุทีอ่ ยู่ในหลอดเช้ือปะทชุ นวน ตวั หลอดเชอ้ื ปะทุชนวน
จะมคี รอบปอ้ งกนั เมอ่ื จะประกอบเครอ่ื งจดุ ระเบดิ นเ้ี ขา้ กบั ดนิ ระเบดิ จะตอ้ งถอดครอบปอ้ งกนั
ออกก่อน

6 นิ้่ว

ปลอกปอ้ งกันเชอื้ ปะทุ ดนิ ปะทุ ตวั จดุ ระเบิด (เสียดส)ี ห่วงดึง วิชาอา ุวธ 123
ชนวนถว่ งเวลา

ฐานสลักมาตรฐาน ห่วงสลกั นิรภยั

รูปท่ี 21 เชือ้ ปะทชุ นวนถว่ งเวลา M1A1

ปลอกป้องกัน การใช้
1. ถอดปลอกป้องกนั ออก
2. ประกอบดินระเบดิ
3. ถอดสลกั นริ ภยั
4. ดึงห่วงสลกั ขดั จนสลกั หลดุ

เชือ้ ปะทชุ นวน ดินระเบดิ ถ่วงเวลา จอกกระทบแตก

124 วชิ าอาวธุ เข็มแทงชนวน

รตู รวจ หลกั นิรภยั

รูปท่ี 22 เครื่องจุดระเบิดถ่วงเวลา M1 A2

2. M1 A2 ถ่วงเวลา 15 วนิ าที ทำ� งานแบบจอกกระทบแตก เมอื่ ถอดสลกั นริ ภยั
แลว้ ดงึ หว่ งกลมดา้ นทา้ ย จนกระทง่ั สลกั ขดั เขม็ แทงชนวนหลดุ ออกมา เขม็ แทงชนวนจะพงุ่ ไป
กระแทกจอกกระทบแตก เกดิ ประกายไฟไปจดุ ดนิ ถว่ งเวลาซงึ่ จะถ่วงเวลา 15 วนิ าที จงึ จะจดุ
เชอ้ื ปะทชุ นวน ตวั หลอดเชอื้ ปะทชุ นวนมคี รอบปอ้ งกนั เมอ่ื จะประกอบเครอ่ื งจดุ ระเบดิ ชนดิ น้ี
เขา้ กบั ดนิ ระเบดิ จะตอ้ งถอดครอบปอ้ งกนั ออกกอ่ น เครอื่ งจดุ ระเบดิ ถว่ งเวลาชนดิ นแี้ ละชนดิ
M1 A1 สามารถใช้แทนกนั ได้

วิชาอา ุวธ 125

รูปท่ี 23 เคร่อื งจุดระเบิดถว่ งเวลา M 2
3. M2 ถ่วงเวลา 8 วินาที ท�ำงานแบบเสียดสี เมื่อถอดสลกั นิรภยั แล้วดงึ ห่วง
รูปตัว T ท้ายชนวนจะเกิดประกายไฟไปจุดชนวนถ่วงเวลา ซ่งึ ถ่วงเวลา 8 วินาที จะจดุ ดิน
ปะทุในหลอดเชื้อปะทุชนวน ตัวหลอดเช้ือปะทุชนวนมีครอบป้องกัน การประกอบเข้ากับ
ดินระเบิดจะต้องถอดครอบป้องกนั ออกก่อน

ปลอกปอ้ งกัน การใช้
1. ถอดปลอกป้องกนั ออก
2. ประกอบดนิ ระเบดิ
3. ถอดสลกั นริ ภัย
4. ดึงห่วงสลกั ขัดจนสลักหลดุ

เช้ือปะทชุ นวน

ดินระเบดิ ถ่วงเวลา จอกกระทบแตก

เข็มแทงชนวน

รตู รวจ หลกั นิรภยั

รูปที่ 24 เครื่องจุดระเบิดถ่วงเวลา M2 A1

126 วชิ าอาวธุ 4. M2 A1 ถว่ งเวลา 8 วนิ าที ทำ� งานแบบจอกกระทบแตก เมอ่ื ถอดสลกั นริ ภยั แลว้
จงึ ดงึ หว่ งรปู ตวั T ทา้ ยชนวนกระทงั่ สลกั ขดั เขม็ แทงชนวนหลดุ ออกมา เขม็ แทงชนวนจะพงุ่ ไป
กระแทกจอกกระทบแตก เกดิ ประกายไฟไปจดุ ดนิ ถว่ งเวลา ซง่ึ จะถว่ งเวลา 8 วนิ าที จงึ จะจดุ เชอ้ื
ปะทชุ นวน ตวั หลอดเชอ้ื ปะทชุ นวนจะมคี รอบป้องกัน การประกอบเข้ากับดินระเบิด จะต้อง
ถอดครอบปอ้ งกนั ออกกอ่ น เครอื่ งจดุ ระเบดิ ถว่ งเวลาชนดิ นแ้ี ละชนดิ M2 สามารถใชแ้ ทนกนั ได้

เคร่อื งจุดชนวน

1. M2 เปน็ เครอื่ งจดุ ชนวน ทกุ สภาพอากาศ ใชจ้ ดุ ชนวนฝกั แคเวลา การประกอบ
ชนวนฝกั แคเวลาเขา้ กบั เครอื่ งจดุ ชนวน กระทำ� ไดโ้ ดยดงึ ครอบกระดาษออก ดงึ จกุ ยางออกจาก
เครอื่ งจดุ ชนวน พยายามอยา่ ใหส้ ารเหนยี วทตี่ ดิ อยรู่ ะหวา่ งจกุ ยางกบั เครอื่ งจดุ ชนวนหลดุ ออก
จากเครอื่ งจดุ ชนวน สอดชนวนฝกั แคเวลาเขา้ ไปตรงชอ่ งทดี่ งึ จกุ ยางออกจนแนน่ ใชส้ ารเหนยี ว
ปดิ รอบรอยตอ่ ระหวา่ งชนวนฝกั แคเวลา และเครอื่ งจดุ ชนวน เพอื่ ปอ้ งกนั นำ้� การจดุ ใชม้ อื หนง่ึ
จบั เครื่องจดุ อกี มือหนง่ึ ดึงท่ีห่วงสลกั ขดั เขม็ แทงชนวน จนกระทั่งหลุดออกมา เข็มแทงชนวน
จะไปกระแทกจอกกระทบแตกเกดิ ประกายไฟไปจดุ ชนวนฝักแคเวลา

รปู ที่ 25 เคร่ืองจดุ ชนวน M 2 วิชาอา ุวธ 127
2. M 60 (รูปท่ี 26) เป็นเครื่องจุดชนวนทุกสภาพอากาศ ใช้จุดชนวนฝักแค
ประกอบชนวนฝักแคเวลาเข้ากับเครื่องจุดชนวน กระท�ำโดยหมุนครอบปลายเครื่อง
จุดชนวนให้หลวม จนสามารถดึงจุกอุดเคร่ืองจุดชนวนออกมาได้สะดวก แล้วสอดปลาย
ชนวนฝักแคเวลาเข้าแทนจุกชนกับปลายจอกกระทบแตกท่ีอยู่ด้านใน (ดันต่อไปไม่ได้)
หลังจากนั้นหมุนครอบปลายเครื่องจุดชนวนเข้าที่ให้แน่น ชนวนฝักแคเวลาติดกับเครื่อง
จุดชนวน ท�ำการจุดชนวนโดยถอดสลักนิรภัยออกแล้วดึงท่ีห่วงรับแรงดึง เข็มแทงชนวน
จะหลุดออกพุ่งไปกระแทกจอกกระทบแตก ท�ำให้เกิดประกายไฟไปจุดชนวนฝักแคเวลา
การดึงจะต้องดึงช้า ๆ ก่อนแล้วดึงแรง ๆ ในตอนสุดท้าย ในกรณีท่ีจุดไม่ติดเคร่ือง
จดุ ชนวนชนดิ นสี้ ามารถทำ� ใหจ้ ดุ ใหมไ่ ด้ โดยการดนั แกนยดึ เขม็ แทงชนวนเขา้ ไปอยา่ งรวดเรว็
แล้วดึงออก และกระท�ำซ�้ำ ๆ จนกว่าจะจุดติด การจุดใหม่น้ีไม่สามารถกระท�ำใต้น�้ำได้
เพราะน�้ำจะซมึ เข้าไปภายในตวั เครอื่ งจดุ ชนวน เครอื่ งจดุ ชนวนน้ีสามารถน�ำกลับมาใช้ได้อีก
โดยเปลีย่ นจอกกระทบ

128 วชิ าอาวธุ รปู ที่ 26 เครอ่ื งจุดชนวน M60

สายไฟฟา้ และล้อมว้ นสายไฟ

1. ชนดิ ของสายไฟฟา้ สายไฟฟา้ ทใ่ี ชส้ ำ� หรบั จดุ ระเบดิ ดว้ ยระบบเชอ้ื ปะทุ
ไฟฟา้ ในล้อมว้ นสายยาวประมาณ 500 ฟตุ เปน็ สายไฟฟา้ สองสายเบอร์ 18 หอ่ ห้มุ ดว้ ยฉนวน
บรรจุอยู่ในล้อม้วนสาย แบบอาร์แอล 39 เอ (รปู ที่ 27)

2. ล้อม้วนสายแบบ อาร์แอล 39 เอ ประกอบด้วย ล้อม้วนสายซ่ึง
สามารถเกบ็ สายไฟฟ้าได้ยาว 500 ฟุต มอื ถอื ข้อเหวยี่ ง แกนเพลา และสายรดั บ่าสองสาย
ปลายสายด้านในสดุ ร้อยออกมาจากรู ซง่ึ อย่ดู ้านหนงึ่ ของล้อม้วน มอื ถอื ทำ� ด้วยเหลก็ รปู ตวั ยู
สองอัน (รูปท่ี 27)

รปู ท่ี 27 สายไฟฟ้าและล้อมว้ นสายไฟ

กล่องใส่เช้อื ปะทุชนวน ถงุ บรรจุ
เครอ่ื งจุดระเบดิ

หบี เครื่องมอื คีมบีบเช้ือปะทุ

เคร่อื งตรวจองศา มดี พบั ใช้ไขและปลอกสายไฟ

พลั่วเหล็ก สว่านขดุ ดนิ ชดุ ล้อม้วนสาย เทปค�ำนวณ วิชาอา ุวธ 129

รปู ที่ 28 เคร่อื งมือขุดหลมุ รูปที่ 29 เครอื่ งมือชดุ ท�ำลาย

ถุงบรรจุ กล่องใส่เช้อื ปะทชุ นวน

คีมบบี เช้ือปะทุ

มีดพบั ใช้ไขและปลอกสายไฟ

เทปค�ำนวณ

รูปที่ 30 เครอ่ื งมอื ชุดทำ� ลายระบบเชื้อปะทุชนวน

130 วชิ าอาวธุ บรรณานุกรม

โรงเรียนทหารช่าง (2536). วัตถรุ ะเบิดและการท�ำลาย ราชบุรี : น.179
Department of the Army. TM 5-280 OP 3121 Rev 1 Afer 60H-1-1-1 (Technical

Manual). The Navy and the AirFolce Washington, D.C. : (1971), P.345
Department of the Army.(1971). FM 5-25 Field Manual Washington : Explosive and

Demolition Headquarters.
Department of the Army.(1986).FM 5-25 Field Manual Washington : Explosive and

Demolition Headquarters.
Headquarters Department of the Army FM 5-31 (Field Manual) Boobytraps Washington,

D.C. : (1965), P.133
Headquarters Department of the Army FM -34(Field Manual) Engineer Filed Data

Washington, D.C. : (1976), P.435
Headquarters Department of the Army FM 30-32(Field Manual) Land Mine Warfare.

Data Washington, D.C. :(1963), P.102
Headquarters Department of the Army FM 30-32 (Field Manual) Mine/Countermine

Operations to the Company Level. Washington, D.C. :(1976), P.252
แผนกวิชาสงครามทุ่นระเบิด
1. FM 5-3 (Field Manual)Boobytraps Headquarters Department of the Army FM 30-32

(Field Manual) Mine/Countermine Operations to the Company Level. Washington,
D.C.:14 September 1965. 133P.
2. FM-34 (Field Manual) Engineer Filed Data Headquarters Department of the Army FM
30-32 (Field Manual) Mine/Countermine Operations to the Company Level. Washington,
D.C., 24 September 1976. 435P.
3. TM 5-280 OP 3121 Rev 1 Afto 60 H-1-1-1 (Technical Manual) Department of
the Army, the Navy and the Air Folce Washington, D.C., 15 July 1971. 345 P.
4. FM 20-32 (Field Manual) Land Mine Warfare. Headquarters Department of the Army
Washington 25, D.C., 22 October 1963. 102 P.
5. FM 20-32 (Field Manual) Mine/Countermine Operations to the Company Level. Wash-
ington, D.C., 30 November 1976. 252 P.


Click to View FlipBook Version