35
หรือเพราะเกลียด
ศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี กับกฎหมาย
กฎหมายมีรากฐานและมีความเกี่ยวพันอยางใกลชิดกับศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี แตดวย
วิวัฒนาการและความซับซอนของสังคม กฎหมายจึงอาจไมเปนอันหนึ่งอันเดียวกับศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีต
ประเพณีเสมอไป เราจึงอาจมีและเห็นกฎหมายที่ไมไดตั้งอยูบนหลักความดี หลักศีลธรรม แตตั้งอยูบนเหตุผลทาง
เทคนิคบางประการเทาน้ัน อาทิ กฎหมายจราจร กาหนดใหตองหยุดรถเม่ือไฟแดง และไป ไดเมื่อไฟเขียว เปนตน
ศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี รวมตลอดถึงคุณธรรม จริยธรรม แนวปฏิบัติที่ดีของกลุม อาชีพ
ฯลฯ โดยรวมแลวถือเปนกฎกติกาของสังคมอยางหนึ่งเชนเดียวกัน เปนกฎกติกาที่ไมจาเปนตองเขียนไว เปนลาย
ลักษณอักษร แตกฎตาง ๆ เหลานี้โดยทั่วไปแลวจะมีความละเอียดกวากฎหมาย กลาวคือ ถาคนไมทาผิด กฎ
ศีลธรรม คน ๆ นั้นยอมไมทาผิดกฎหมาย เพราะกฎศีลธรรมละเอียดกวา ถาเปรียบเทียบกับตาขาย ก็คงเปน
ตาขายที่มีชองถี่กวา คนที่ถือศีล 5 ยอมไมพูดเท็จ ไมพูดเพอเจอ ไมพูดสอเสียด ไมพูดใสรายใหรายคนอื่น คน
ประเภทน้ียอมไมมีทางทาผิดกฎหมายฐานดูหมิ่นหรือหมิ่นประมาทใครเปนแน คนที่รักษาศีล 5 จึงไมใชคนที่จะไป
ทารายรางกายคนอื่น ฆาคนอื่น จึงไมผิดเลยที่จะกลาววา “หากคนในสังคมยึดถือกฎศีลธรรมแลว กฎหมายก็แทบ
ไมมีความจาเปน” หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง “สังคมใดมีกฎหมายมาก สังคมนั้นมีปญหามาก”
การรับมือกับการขัดกันแหงผลประโยชน
1. วิธีการที่ดีที่สุดในการจัดการกับเรื่องการขัดกันแหงผลประโยชนก็คือ การไมอยูในสถานการณการ
ขัดกันของผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวมเสียต้ังแตตนการหลีกเลี่ยงสภาวการณการขัดกันแหงผล
ประโยชนนั้น ถาสามารถหลีกเล่ียงไดก็เปนวิธีการรับมือกับการขัดกันแหงผลประโยชนท่ีดีท่ีสุด อาทิ นาย ก. อธิบดี
ไมพึงใหบริษัทของภรรยามาประมูลกอสรางอาคารในกรมท่ีตนกากับดูแลอยู หรือ นาย ก. ไม พึงรับหนาที่เปนกร
รมการสรรหา หากภริยา นาย กงท่ีดารงตาแหนนผูารับการคัดเลือกเปจะสมัครเขประสงค . นาย ก. เปนกรรมการ
สรรหา หรือหาก นาย ก. ประสงคจะเปนกรรมการผูมีหนาท่ีคัดเลือกและอนุมัติรายช่ือ บุคคลผูสมควรไดเขารับ
การศึกษา ภริยา นาย ก. ก็ไมพึงสมัครหรือรับการเสนอช่ือเพื่อศึกษาในหลักสูตรดังกลาว ในขณะท่ี นาย ก. เปน
กรรมการอยู เปนตน
2. ในกรณีท่ีผูมีอานาจหนาที่ไมสามารถหลีกเลี่ยง หรือไมทราบ หรือไมไดตระหนักต้ังแตเบ้ืองตนวา ตน
ตกอยูในสถานการณการขัดกันของผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม ผูมีอานาจหนาท่ีควรหยุด
ดาเนินการ และไมรวมพิจารณา วินิจฉัยหรือลงมติในประเด็นที่มีการขัดกันแหงผลประโยชนนั้น ถาสามารถกระทา
ไดโดยไมเกิดความเสียหายแกสวนรวม อาทิ นาย ก. กรรมการธนาคาร พึงออกจากหองประชุม ไมรวมพิจารณา
วินิจฉัยและลงมติในการอนุมัติ หรือไมอนุมัติการใหสินเช่ือแกบริษัทของตนเอง และตองไมกระทาการใด ๆ ท้ัง
ทางตรงและทางออมในการแทรกแซงการใชดุลยพินิจอยางอิสระของกรรมการอื่น ๆ
3. ในกรณีที่ผูมีอานาจหนาที่ไมสามารถหลีกเลี่ยงสถานการณการขัดกันของผลประโยชนสวนตน และผล
ประโยชนสวนรวมได และไมแนใจวาในสถานการณเชนนั้นควรดาเนินการอยางไร ควรจะรวมพิจารณา วินิจฉัยลง
มติหรือไม อยางไร ผูมีอานาจหนาท่ีควรตองแจง ประกาศหรือเปดเผยขอมูล ขอเท็จจริงตาง ๆ ที่ เกี่ยวของกับการ
ขัดกันแหงผลประโยชนตอบุคคลที่เกี่ยวของ ตอผูมีอานาจหนาที่ ตอผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไป หรือต่อ
สาธารณะเพ่ือความโปรงใสเพ่ือแสดงความบริสุทธิ์
36
แบบทดสอบย่อยครั้งท่ี 15
รายวิชา การป้องกันการทจุ ริต (สค22022)
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
1. ใหผูเรียนดูคลิปวิดีโอ เร่ือง “นิมนตยิ้มเดล่ีคนดีไมคอรรัปชัน” ตอน “แปะเจี๊ยะ” ตอน “ส่งเสริม
ลูกนอง” และ เรื่อง “รับสินบน” แลวตอบคาถามตอไปน้ี
เรื่อง “นิมนตยิ้มเดล่ีคนดีไมคอรรัปชัน” ตอน “แปะเจี๊ยะ” ตอน “สงเสริมลูกนอง”
เร่ือง “รับสินบน”
1. จากเรื่องที่ดู ทาใหเห็นจริยธรรมอะไรบาง
ตอบ…............................................................................................................... .......................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
2. จากเรื่องที่ดู ทาใหเห็นการทุจริตอะไรบาง
ตอบ............................................................................................................................. ............................
...................................................................................................... ....................................................................
............................................................................................................................. .............................................
3. ความแตกตางระหวางจริยธรรม และการทุจริต มีความสาคัญตอชุมชน สังคมหรือไม อยางไร
ตอบ............................................................................................................................. ............................
........................................................................................................................................................... ...............
.................................................................................................................... ......................................................
4. ใหผูเรียนดูคลิปวีดิโอ เรื่อง ผลประโยชนทับซอน พรอมตอบคาถามตอไปน้ี
(ที่มา: HTTPS://M.YOUTUBE.COM/WATCH?V=SHWJBALZMMA)
4.1 การกระทาเขาขายการขัดกันระหวางประโยชน์สวนตนและประโยชนสวนรวม มีอะไรบาง
ตอบ............................................................................................................................. .........................
............................................................................................................................. .............................................
...................................................................................... ....................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................... ...........................................
37
4.2 เราจะชวยปองกันการทจริตการเกิดผลประโยชนทับซอนไดอยางไร
ตอบ
............................................................................................................................................... ...........
....................................................................................................................... ...................................................
............................................................................................................................. .............................................
5. ใหผูเรียนดูคลิปวีดิโอ เรื่อง ทุจริตแกคะแนน พรอมวิเคราะหวา ครูประจาวิชาท่ีปรับคะแนนใหกับนักเรียน มี
การขัดแยงกันระหวางประโยชนสวนรวมกับประโยชนสวนตนอยางไร
(ที่มา : HTTPS://M.YOUTUBE.COM/WATCH?V=HRAZLM5WUP0)
ตอบ............................................................................................................................. ............................
...................................................................................................... ....................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................................... ...........................
........................................................................................................ ..................................................................
............................................................................................................................. .............................................
ชื่อ-สกุล.....................................................................ระดับ...................................ครูผู้สอน ...............................
38
เฉลยแบบทดสอบยอ่ ยครั้งท่ี 15
รายวชิ าการป้องกนั การทุจริต รหสั วิชา สค 22022
ข้อ 1 ตอบตามความคดิ นักศึกษา
ขอ้ 2 ตอบตามความคิดนักศึกษา
ขอ้ 3 ตอบตามความคดิ นักศึกษา
ขอ้ 4.1 การกระทาเขาขายการขัดกนั ระหวางประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวม มีอะไรบาง
1. การรบั ผลประโยชนตาง ๆ
2. การทาธุรกจกบั ตวั เอง เปนคสู ัญญา
3. การทางานหลงเกษียณ
4. การทางานพิเศษ
5. การรขู อมลู ภายใน
6. การใชบุคลากรหรือทรัพยสินของหนวยงานเพ่อื ประโยชนสวนตน
7. การทาโครงการลงในเขตเลือกตั้ง
8. ความสัมพันธระหวางเครอญาติ
9. การใชอิทธพิ ลเพอ่ื ผลประโยชนบางอยาง
4.2 เราจะชวยปองกันการทจริตการเกิดผลประโยชนทบั ซอนไดอยางไร
1. ตองคิดแยกแยะระหวางประโยชนสวนตน และประโยชนสวนรวมอย่างชดั เจน
เพ่ือไมใหเปนตนเหตุของการคอรรปชัน
2. ตองคดิ ถึงประโยชนสวนรวมกอน
ขอ้ 5 ตอบตามความคดิ นักศึกษา
39
แบบทดสอบหลังเรียน (Pre-test)
รายวิชา การป้องกนั การทจุ ริต (สค22022)
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
1. ขอใดตอไปนีเ้ ปนการปองกันการทุจริต
ก. ตง้ั คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ (ป.ป.ช.)
ข. ปฏิรปู กฎหมายทีเ่ ก่ยี วกับการบรหิ ารพสั ดุและการจัดซ้ือจดั จางใหโปร่งใส
ค. การเพมิ่ โทษในการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ
ง. การปลูกจิตสานกึ โตไปไมโกงใหแกเด็ก ๆ
นาย ก. เปนขาราชการเกษียณ ตอมาได้เปนสมาชิกสภาเทศบาล รลู ว่ งหน้าจากการประชมุ
สภาวา่ สภาเทศบาลอนุมัติให้ตดั ถนนผา่ นชมุ ชนแหงหนึ่ง นาย ก. จงึ ไดไปกวา้ นซื้อที่ดินบรเิ วณที่
ถนนตัดผา่ น เพ่อื เกง็ กาไรที่ดิน
2. จากขอความขางตน พฤติกรรมของ นาย ก. เปนผลประโยชนทับซอนรูปแบบใด
ก. การรับผลประโยชนตาง ๆ
ข. การรขู อมลู ภายใน
ค. การทางานหลงั กษียณ
ง. การทาธุรกิจของตนเอง
3. ขอใดไมใชการประพฤตติ นตามหลักความเปนพลเมืองโลกมาใชในการดาเนนิ ชีวิต
ก. นารถไปจอดขวางหนาบานคนอ่ืนในหมูบาน
ข. ผทู ม่ี ีจติ อาสาไปรวมกันพฒั นาคลอง
ค. การประชมุ ชาวบานในการประชาพิจารณเพื่อทาถนนในหมูบาน
ง. ชวยแจงขาวกับตารวจเมอ่ื พบเจอวัยรุนมั่วสมุ ยาเสพติดในชมุ ชน
4. การเลอื กต้งั องคกรนักศกึ ษา กศน. เปนการสงเสรมเร่ืองใด
ก. สงเสริมความเปนประชาธิปไตย
ข. พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพ
ค. ฝกให้ผู้เรยี นเหน็ คุณคาของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
ง. ถูกทกุ ขอ
5. หากเรามหี ลัก STRONG: จติ พอเพยี งตานทุจริตแลว จะสงผลใหสังคมเปนอยางไร ก.
ประชาชนชาวไทยจะมีความตื่นตวั ตอการทุจรติ มากขึน้
ข. ประชาชนชาวไทยมคี วามสนใจตอขาวสารการทจุ ริตมากข้นึ
ค. ประชาชนชาวไทยมคี วามตระหนักถึงผลกระทบของการทุจริตมากขน้ึ
ง. ถกู ทกุ ขอ
40
6. พฤตกิ รรมในขอใดที่แสดงวาเปนผูขาดความละอาย
ก. การแอบรบั เงนิ จากผูสมัคร อบต.
ข. พอชวยหาเสียงใหลูกทส่ี มคั ร ส.ส.
ค. ผูสมคั ร ส.ส. เดนิ หาเสยี งในตลาด
ง. ขามถนนบนทางมาลาย
7. ขอใดเปนการทุจริต
ก. ผรู บเหมากอสรางย่ืนซองประมูลประกวดราคา
ข. นักการเมืองออกเย่ียมประชาชนทปี่ ระสบภยั พบิ ตั ิโดยมอบของให้
ค. นกั ธุรกิจนากระเชาผลไมไปเยย่ี มภูมิปญญาในหมูบาน
ง. เจาหนาท่ขี องรฐั ให้บริการนักธุรกิจ โดยจายเงินตามชองทางตามปกตขิ องทางราชการแตเพ่มิ เงินใหเปน
คาบรกิ ารเพือ่ ความสะดวกรวดเรว็
8. เปาหมายของกระบวนการคิดเปน คือขอใด
ก. ความสขุ
ข. การคิดเปน
ค. แกปญหาเปน
ง. การประเมินผล
9. พฤติกรรมในขอใดเปนการไมทนตอการทุจริตหรือการกระทาที่ไมถกู ตอง
ก. แจงเจาหนาท่ตี ารวจทันทีท่ีพบเห็นการแซงคิว
ข. ใชวิธีการประณามตอสาธารณชนทุกครงั้ ท่ีพบเรื่องไมถูกตอง
ค. บอกผูแซงคิวใหทราบ และไปตอทายแถว
ง. ไมสนใจถาเราไมเดอื ดรอน
10. ขอใดหมายถงึ พลเมือง
ก. คนของรฐั
ข. คนทั่วไปของประเทศ
ค. ประชาชน ราษฎร ชาวประเทศ
ง. สมาชกิ ของสังคม
11. ขอใดเปนพฤติกรรมของพนกั งานในหางสรรพสินคาท่ีถอื วามีจิตสานกึ ที่ดี
ก. ปฏบิ ัติตามระเบยี บของหางสรรพสนิ คา
ข. เลอื กการให้การบริการตอลูกคา
ค. เกบ็ เงนิ ไดแลวนาไปคนื เจาของ
ง. ตองการใหหางสรรพสนิ คามีชื่อเสยี ง
41
12. กรณี นาย ก. ดารงตาแหนงกรรมการผูจดั การในธนาคารพาณิชยเอกชนแหงหน่งึ ซ่งึ มอี านาจหนาทใี่ นการ
พจิ ารณาอนมุ ตั สิ ินเชื่อ และบรษิ ัท A ซงึ่ มภี รรยาของ นาย ก. ดารงตาแหนงกรรมการผูจดั การ ไดมาขอ สินเชื่อ
จากธนาคารท่ี นาย ก. ทางานอยู แตขาดคุณสมบัตขิ องผูกูตามทธี่ นาคารกาหนด อยากทราบวา นาย ก. จะต
องปฏิบตั ติ นอยางไรจงึ จะเหมาะสมทส่ี ุด
ก. แตงต้งั คณะกรรมการพจิ ารณาวงเงินสินเชื่อของบริษัท A เต็มจานวน
ข. แตงตงั้ คณะกรรมการพจิ ารณาวงเงินสินเชอื่ ของบริษัท A แตมเี งื่อนไขอนุมัตภิ ายในวงเงนิ รอยละ50
ค. กาหนดใหบริษัท A นาหลกั ทรัพยค้าประกนั สินเช่ือมากกวาปกติ
ง. ไมอนุมตั ิวงเงินสนิ เชื่อ
13. การกระทาในขอใดไมใชการทุจรติ
ก. การใหผูอืน่ รับโทษแทนตน โดยใหคาจางตอบแทน
ข. การใหเงนิ เจาหนาท่เี พ่ือเปนคาสงเอกสารท่ีขอไว
ค. การอานวยความสะดวกเปนพิเศษเพื่อใหงานของตนเองราบรน่ื
ง. การสับเปลี่ยนสินคาทมี่ คี ุณภาพต่ากวาใหกบั ลูกคา
14. วฒั นธรรม ประเพณี เปนขอมลู ดานใดของกระบวนการคดิ เปน
ก. ตนเอง
ข. สังคมและสงิ่ แวดลอม
ค. วิชาการ
ง. ถูกทกุ ขอ
15. ภมู คิ ุมกนั ท่ีทาใหบคุ คลไมกระทาทุจรติ จะตองประกอบดวย
ก. ความรู ความเขาใจ และปลกุ ใหตนื่ รู
ข. ความรู ความเขาใจ และความเปนผูนา
ค. ความรู ความเขาใจ และความเอ้ืออาทร
ง. ความรู ความเขาใจ และการมุงไปขางหนา
16. การมีจิตพอเพยี งตานทจุ ริต ควรเร่ิมจากขอใดเปนอันดับแรก
ก. สังคม
ข. ตนเอง
ค. ครอบครวั
ง. ประเทศชาติ
42
17. STRONG: จิตพอเพียงตานทจุ ริต เปนการนาหลกการใดมาประยุกตใชตอตานการทุจริต
ก. หลกั คดิ เปน
ข. หลักศลี ธรรม
ค. หลักสมดุล
ง. หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
18. บคุ คลจะเกิดความละอายตอการทุจริต ควรเร่ิมตนจากขอใดเปนสาคัญ
ก. ความกลัวผูอ่ืนรู
ข. ความตระหนกั ถึงผลเสยี
ค. ความฉลาดรอบรู
ง. ความกาวหนาในการทางาน
19. ขอใดหมายถึง การกระทาทเ่ี ปนประโยชนสวนรวม
ก. เจาหนาท่ีของรฐั ใชเครอื่ งพิมพของสานักงานพมิ พรายงานสงอาจารย
ข. ใชเครอื่ งตัดหญาของหนวยงานรฐั ไปตัดหญาที่บานของหัวหนา
ค. เก็บใบไมแหงจากสวนสาธารณะไปทาปุยหมักทบ่ี าน
ง. ยืมเกาอจ้ี ากหนวยงานของรฐั ไปใชจัดงานบวชทบ่ี าน
20. หนวยงานใดมหี นาทีโ่ ดยตรงในการปองกันและปราบปรามการทจริตของประเทศไทย
ก. ป.ป.ง.
ข. ป.ป.ช. ค. สตง.
ง. สคบ.
43
เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น - หลังเรียน
แบบทดสอบกอนเรียน
1. ค. 11. ข.
2. ค. 12. ข.
3. ก. 13. ง.
4. ข. 14. ก.
5. ข. 15. ง.
6. ง. 16. ข.
7. ง. 17. ง.
8. ก. 18. ข.
9. ข. 19. ค.
10. ค. 20. ก.
แบบทดสอบหลังเรียน
1. ข. 11. ค.
2. ข. 12. ง.
3. ก. 13. ข.
4. ง. 14. ข.
5. ง. 15. ก.
6. ก. 16. ข.
7. ง. 17. ง.
8. ก. 18. ข.
9. ค. 19. ค.
10. ค. 20. ข.
44
แผนการจดั การเรียนรู้รายสปั ดาห์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ครั้งท่ี 16
กลุ่มสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาการป้องกนั การทุจรติ รหัสวิชา สค 22022
เวลาเรยี น 40 ชัว่ โมง แบบ ((On-Site) จานวน 6 ชว่ั โมง การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง 30 ชั่วโมง)
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองนราธวิ าส
วันท.่ี .....................................เดอื น.................................พ.ศ..............................
มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ
1. มคี วามรู้ ความเข้า ใจ ดาเนินชีวติ ตามวถิ ีประชาธิปไตย กฎระเบยี บของประเทศเพื่อนบา้ น
2. มีความรู้ ความเขา้ ใจ หลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวเิ คราะหข์ ้อมูล และกาหนดแนวทางการ
พฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม ให้สอดคล้องกับสภาพการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ปัจจุบนั
เร่อื ง 2. ความละอายและความไม่ทนตอการทจุ รติ
3. STRONG: จิตพอเพยี งตา้ นทจุ รติ
ตวั ชว้ี ดั
1. มคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ
2. ปฏิบัติตนเป็นผ้ลู ะอายและไม่ทนต่อการทจุ รติ ทุกรูปแบบ
3. ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อตา้ นและป้องกันการทุจริต
4. อธบิ ายเกี่ยวกับจิตพอเพียงต่อต้านการทจุ ริตและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5. อธบิ ายแบบอยา่ งความพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช
เนอ้ื หา
1. ความหมาย ความสาคัญและการปฏิบตั ิตนในการทาการบาน / ชิ้นงาน การทาเวร / การทา ความสะอาด
การสอบ การแตงกาย การเลือกตง้ั
2. การรวมกลุมเพ่ือสร้างสรรคปองกันการทจุ ริต
3. ความพอเพียงกบั การตา้ นการทุจริต
4. STRONG: จติ พอเพยี งต้านทุจริต
45
วธิ กี ารเรยี น : แบบพบกลุ่ม (ON-SITE)
กระบวนการจดั การเรียนรู้
กาหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ (O : Orientation)
1. ข้นั ตอนนาเข้าสบู่ ทเรยี น ( เวลา 30 นาที )
1.1 ครูทักทายนักศึกษาและนาเข้าสู่บทเรียนโดยแจ้งข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบันให้นักศึกษาทราบพร้อมทั้ง
แลกเปลีย่ นเรยี นรขู้ อ้ มูลขา่ วสารเหตกุ ารณ์ปัจจุบนั ร่วมกนั วเิ คราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ รว่ มกันในชน้ั เรียน
1.2 ครูช้ีแจงสาระจุดประสงค์การเรียนรู้เน้ือหากระบวนการจัดการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้การวัดและ
ประเมนิ ผลและการตดิ ตาม
1.3 ครแู ละนกั ศึกษารว่ มกันวเิ คราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั ปัญหาความตอ้ งการรูปแบบในการเรียน
และการแสวงหาความร้จู ากสื่อตา่ ง ๆ ในการเรยี นวิชาการป้องกันการทจุ ริต ในเร่ืองความละอายและความไมท่ นต
อการทุจรติ และ STRONG: จิตพอเพยี งตา้ นทจุ ริต
การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรยี นรู้ ( N : New way of lerning)
2. ขน้ั จดั การเรยี นการสอน ( เวลา 4 ชัว่ โมง )
2.1 ครใู หน้ ักศกึ ษานาเสนอผลงานท่ไี ด้มอบหมายให้ในสปั ดาหท์ ผ่ี า่ นหนา้ ชนั้ เรียน
2.2 ครูและนกั ศกึ ษารว่ มกนั สรุปเนื้อหาท่ีเพื่อนๆนาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี น
2.3 ครูอธบิ ายเนอื้ หาตามหนังสือเรยี นวชิ าการปอ้ งกันการทุจรติ เรอ่ื ง ความละอายและความไมท่ นตอการ
ทุจริต และ STRONG: จิตพอเพยี งต้านทจุ ริต จากสือ่ แหล่งเรยี นรตู้ ่าง ๆ และให้นักศึกษาสรุปลงในแบบบนั ทึกการ
เรยี นรูก้ ศน.
2.4 ครใู หน้ กั ศกึ ษาแบง่ กลุ่มเพ่ือศกึ ษาข้อมลู เกย่ี วกบั การป้องกันการทุจริต จากสือ่ และแหลง่ เรียนรู้
ตา่ ง ๆ
2.5 ครใู หน้ ักศกึ ษาแบง่ กลมุ่ ออกเปน็ 4 กล่มุ โดยให้นกั ศกึ ษาในแต่ละกลุ่มคัดเลือกประธานเลขานุการและส่ง
ตวั แทนออกมาจบั ฉลากเลอื กกลมุ่ ดังนี้
กลมุ่ ท่ี 1. ความหมาย ความสาคัญและการปฏิบตั ติ นในการทาการบาน / ช้นิ งาน การทาเวร / การ
ทา ความสะอาด การสอบ การแตงกาย การเลือกตง้ั
กลุ่มท่ี 2. การรวมกลุมเพ่ือสร้างสรรคปองกันการทจุ รติ
กลมุ่ ท่ี 3. ความพอเพยี งกับการตา้ นการทุจรติ
กลมุ่ ท่ี 4. STRONG: จติ พอเพียงตา้ นทุจรติ ประโยชนสวนตน และผลประโยชนสวนรวม
จากนั้นให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม และค้นคว้าจากหนังสือเรียน กศน. e - book ETV
อินเทอร์เนต็ หรอื แหล่งเรยี นรตู้ า่ ง ๆ จากน้ันออกมานาเสนอหน้าช้นั เรียน
2.6 ครูใหค้ วามรู้เพม่ิ เตมิ และตรวจสอบความถูกต้อง โดยให้นักเรียนทุกคนฟังและจดบันทึกสิ่งที่ได้รับในแบบ
บนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน.
2.7 ครูสอนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการในเรื่องความสุภาพ ความขยัน ความซ่ือสัตย์สุจริตความ
สามคั คี ความมีนา้ ใจ ความตรงตอ่ เวลา และความมีวินยั
46
การปฏิบัติและนาไปประยุกต์ (I : Implementation)
3. ข้นั การปฏิบัติและนาไปประยกุ ตใ์ ช้ ( 30 นาที )
3.1. ครูและนกั ศึกษารว่ มกันแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ สรุปความร้เู บ้อื งต้นเกย่ี วกับเรอ่ื งความละอายและความไม่
ทนตอการทุจริต และ STRONG: จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต จากสือ่ และแหล่งเรียนร้ตู ่าง ๆ ตรวจสอบความถูกต้องใน
เนื้อหาท่นี ักศึกษานามานาเสนอพร้อมบนั ทึกลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน.
3.2 ครใู หน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบยอ่ ย โดยใช้เอกสารหรือ google from พร้อมเฉลย ประเมนิ ผล และให้
นักศึกษาบันทึกคะแนนลงในแบบบันทกึ การเรียนรู้ กศน.
3.3 ครูให้นกั ศึกษาสรปุ การทาความดี และคุณธรรมที่ไดป้ ฏบิ ัติพร้อมบนั ทกึ ลงในสมุดบันทกึ ความดีเพื่อการ
ประเมินคุณธรรม
ขัน้ ประเมินผล (E : Evaluation)
4. ขนั้ สรุปและประเมินผล (1 ชั่วโมง)
4.1 ครูมอบหมายใหน้ ักศกึ ษาไปอา่ นทบทวนเน้ือหาเพ่ิมเติมในเร่อื ง ความละอายและความไม่ทนตอการทจุ รติ
และ STRONG: จิตพอเพียงต้านทจุ รติ จากหนงั สือเรยี นออนไลน์ และใหส้ รุปลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้กศน.
4.2 ครมู อบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาคน้ คว้าและทาใบงาน
เรื่องท่ี 1. ความหมาย ความสาคญั และการปฏบิ ตั ติ นในการทาการบาน / ชนิ้ งาน การทาเวร / การ
ทา ความสะอาด การสอบ การแตงกาย การเลอื กตง้ั
เร่ืองที่ 2. การรวมกลุมเพ่ือสร้างสรรคปองกนั การทุจรติ
เร่ืองท่ี 3. ความพอเพยี งกับการต้านการทจุ รติ
เรือ่ งที่ 4. STRONG: จติ พอเพียงตา้ นทุจรติ การเรียนสปั ดาห์ตอ่ ไป
4.3 ครูมอบหมายนกั ศึกษาให้ศกึ ษา เรื่อง พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
4.4 ครูตดิ ตามงานที่ไดม้ อบหมายและศกึ ษา เพื่อตดิ ตามความคบื หนา้ ดงั นี้
1 ติดตามงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายสปั ดาหท์ ่ผี ่านมา
2 การทากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ติ (กพช.)
3 ติดตามสอบถามสุขภาพของนกั ศึกษา (การตรวจสุขภาพ / ความสะอาด / การแตง่ กาย)
4 ตดิ ตามสอบถามการทาความดใี นแตล่ ะวัน สปั ดาห์ทีผ่ า่ นมา และติดตามการบันทกึ กิจกรรมที่ทา
ความดีลงในสมดุ บันทึกความดเี พ่ือการประเมนิ คุณธรรม
5 ตดิ ตามสอบถามเกีย่ วกบั งานอดิเรก สุนทรยี ภาพ การเล่นกฬี า การใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์
ฯลฯ
6. ติดตามความกา้ วหนา้ การทาโครงงาน
47
สอื่ และแหล่งเรียนรู้
1. หนงั สอื เรยี นวชิ า สค22022 วิชาการป้องกันการทุจรติ
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4
2. คู่มอื นักศกึ ษา
3. แบบทดสอบย่อย เรื่องความละอายและความไม่ทนตอการทจุ รติ และ STRONG: จติ พอเพียงต้านทจุ รติ
4. ใบงานที่ 1. เรือ่ ง. การเคารพสทิ ธหิ นาท่ตี อตนเองและผูอ่ืนทม่ี ตี อประเทศชาติ
ใบงานที่ 2. เรอ่ื ง ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย กบั การเป็นพลเมอื งทดี่ ีมสี วนรว่ มในการปองกันและ
ปราบปราม
5. แบบบันทกึ การเรียนรู้ กศน.
ขนั้ มอบหมายงาน
1. ครมู อบหมายใหน้ ักศึกษาไปอา่ นทบทวนเนือ้ หาเพ่มิ เติมจากหนังสอื เรียน เรื่อง การป้องกันการทุจริต ใน
หวั ข้อตอ่ ไปน้ี เรื่อง
1. หลกั การคิดเปน็ ความหมาย ความสาคญั ของหลักการคิดเป็น
2. ความแตกต่างระหว่างจรยิ ธรรมและการทจุ รติ
3. ความหมายของประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวม และการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชน สวน
ตนและผลประโยชนสวนรวม จากหนงั สือเรยี นออนไลนร์ ายวิชาการปอ้ งกันการทจุ รติ สค 22022 ตามลงิ ค์
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 และสรุปลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.
การวดั ผลประเมินผล
1. การสงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นร่วมรายบุคคล / รายกล่มุ
2. แบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน.
3. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน
4. ตรวจใบงาน
5. แบบทดสอบย่อย
6. ประเมนิ คณุ ธรรม
48
วิธกี ารเรยี น : แบบออนไลน์ (ON-LINE)
กระบวนการจัดการเรียนรู้
การกาหนดสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ (O : Orientation)
1. ขัน้ ตอนนาเข้าส่บู ทเรียน ( เวลา 30 นาที )
1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนาเข้าสู่บทเรียนโดยกล่าวถึง ความละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและ
STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต ให้นักศึกษาช่วยกันตอบ พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันวิเคราะห์ และแสดง
ความคิดเห็นร่วมกัน ผ่านทาง Google Classroom หรือ LINE กลุ่ม พร้อมอธิบายถึงเหตุผลความจาเป็นท่ีต้องจัด
กิจกรรมการเรยี นรูปแบบออนไลน์
1.2 ครูนาเข้าส่บู ทเรียนโดยครูเปิดวีดีทัศน์ เรื่อง ความละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและSTRONG: จิต
พอเพียงต้านทุจริต คืออะไร สาคัญอย่างไร? จาก https://www.youtube.com/watch?v=IwiMS1cKGnA และ
https://www.youtube.com/watch?v=npR-VZjU4io โดยครูส่งลิงค์ผ่านทาง Google Classroom หรือ แอป
พลิเคชัน LINE ให้นักศึกษารับชมเพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ พร้อมท้ังยกตัวอย่างสาเหตุของความละอาย
และความไม่ทนตอการทุจริตและSTRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต จากวีดีทัศน์ท่ีนักศึกษารับชม โดยให้นักศึกษา
รว่ มกนั วเิ คราะหแ์ ละแลกเปลย่ี นเรียนรแู้ สดงความคดิ เห็นผ่านทาง Google Classroom หรือ แอปพลิเคชัน LINE เพื่อ
เชื่อมโยงเขา้ สบู่ ทเรยี นตอ่ ไป
การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning)
2. ขั้นจัดการเรียนการสอน ( เวลา 4 ช่ัวโมง )
2.1 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาหาความรู้ เรื่อง ความละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและ
STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต จากหนังสือเรียนออนไลน์ รายวิชา การป้องกันการทุจริต สค 22022 ตามลิงค์
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 หรือจากสื่อ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และให้สรุปลงในแบบ
บนั ทกึ การเรียนรู้ กศน. ในหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้
1. ความหมาย ความสาคัญและการปฏบิ ตั ติ นในการทาการบาน / ชิ้นงาน การทาเวร / การทา ความ
สะอาด การสอบ การแตงกาย การเลือกต้ัง
2. การรวมกลุมเพ่ือสร้างสรรคปองกนั การทจุ รติ
3. ความพอเพียงกับการตา้ นการทุจริต
4. STRONG: จิตพอเพยี งต้านทจุ ริต
2.2 ครูมอบหมายใหน้ กั ศกึ ษาเลือกหวั ข้อทสี่ นใจ จานวน 1 เรื่อง ใหไ้ ปศกึ ษาคน้ ควา้ จากหนังสือเรยี นออนไลน์
รายวชิ าการปอ้ งกันการทจุ รติ สค 22022 ตามลงิ ค์ ttp://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 หรือจาก
แหลง่ การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ และใหน้ ักศึกษาจดั ทาสรปุ ความร้เู ป็นแผนผังความคิด ลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. ดังนี้
1. ความหมาย ความสาคัญและการปฏบิ ตั ิตนในการทาการบาน / ชนิ้ งาน การทาเวร / การทา ความ
สะอาด การสอบ การแตงกาย การเลอื กตั้ง
2. การรวมกลุมเพ่ือสร้างสรรคปองกนั การทจุ ริต
3. ความพอเพยี งกับการตา้ นการทจุ ริต
4. STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต
49
2.3 ครสู อนและสอดแทรกคณุ ธรรม 11 ประการ ในเร่ือง ความสะอาด ความสุภาพ ความกตัญญู
กตเวทีความขยัน ความประหยัด ความซื่อสัตย์ ความมีน้าใจ ความมีวินัย ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทย และยึดม่ัน
ในวถิ ีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ผ่านทาง LINE กลุม่
การปฏบิ ัตแิ ละนาไปประยกุ ต์ (I : Implementation)
3. ขัน้ สรุปและประเมนิ ผล ( เวลา 30 นาที )
3.1 ครูให้นักศึกษาทาแบบทดสอบย่อย เร่ือง ความละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและSTRONG: จิต
พอเพียงต้านทุจริต จากชุดแบบทดสอบ หรือจาก Google from พร้อมเฉลยและประเมินผล ให้นักศึกษาบันทึก
คะแนนลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.
3.2 ครใู หน้ กั ศกึ ษาสรปุ การทาความดแี ละคณุ ธรรมท่ีได้ปฏิบตั ิ พร้อมบันทึกลงในสมุดบันทกึ ความดี
เพือ่ การประเมินคุณธรรม
ขั้นประเมนิ ผล (E : Evaluation)
4. ขน้ั สรุปและประเมินผล (1 ชวั่ โมง)
4.1 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอ่านทบทวนเน้ือหาเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียน เร่ือง การป้องกันการทุจริต ใน
หวั ข้อต่อไปนี้ เรื่อง
เรื่องท่ี 1. ความหมาย ความสาคัญและการปฏบิ ตั ติ นในการทาการบาน / ช้นิ งาน การทาเวร / การ
ทา ความสะอาด การสอบ การแตงกาย การเลอื กต้งั
เรอ่ื งท่ี 2. การรวมกลุมเพื่อสร้างสรรคปองกนั การทจุ ริต
เรื่องท่ี 3. ความพอเพยี งกับการตา้ นการทุจริต
เร่อื งท่ี 4. STRONG: จติ พอเพียงต้านทจุ รติ จากหนงั สอื เรยี นออนไลน์รายวิชาการปอ้ งกันการทจุ ริต
สค 22022 ตามลงิ ค์ http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 และสรปุ ลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้
กศน.
4.2 ครูตดิ ตามงานทไ่ี ดม้ อบหมายนักศึกษา เพ่ือติดตามความคืบหน้าทางแอปพลิเคชนั Line ดังนี้
1 ติดตามงานที่ได้รบั มอบหมายสัปดาห์ทีผ่ า่ นมา
2 ติดตามการทากิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.)
3 ตดิ ตามสอบถามสขุ ภาพของนกั ศกึ ษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแตง่ กาย)
4 ติดตามสอบถามการทาความดีในแต่ละวัน สัปดาห์ท่ีผ่านมาและติดตามการบันทกึ
กจิ กรรมท่ที าความดีลงในสมุดบันทกึ บันทึกความดีเพื่อการประเมินคุณธรรม
5 ตดิ ตามสอบถามเกยี่ วกับงานอดเิ รก สนุ ทรยี ภาพ การเลน่ กีฬา การใชเ้ วลาวา่ งให้เป็น
ประโยชน์ ฯลฯ
6 ติดตามความก้าวหนา้ การทาโครงงาน ตามวันเวลาทีค่ รูกาหนด
50
สอื่ และแหลง่ การเรยี นรู้
1. Google Classroom / แอปพลิเคชนั LINE
2. หนงั สือเรียนวชิ าการปอ้ งกันการทุจรติ สค 22022 หรอื หนงั สอื เรยี นออนไลน์ ลิงค์
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4
3. วดี ที ัศน์, YouTube เกย่ี วกับ ความละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและSTRONG: จิตพอเพียงต้าน
ทุจริต ตามลงิ ค์ https://www.youtube.com/watch?v=IwiMS1cKGnA และ
https://www.youtube.com/watch?v=npR-VZjU4io
4. แบบทดสอบย่อย เร่อื ง ความละอายและความไมท่ นตอการทจุ ริตและSTRONG: จติ พอเพยี งต้านทุจรติ
(ชดุ แบบทดสอบ หรอื Google Form)
5. แบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.
ขั้นมอบหมายงาน
4.1 ครมู อบหมายให้นกั ศึกษาไปอา่ นทบทวนเนื้อหาเพิ่มเติมจากหนงั สอื เรยี น เร่ือง การป้องกันการทุจรติ ใน
หวั ข้อตอ่ ไปน้ี เรือ่ ง
1. หลักการคดิ เปน็ ความหมาย ความสาคญั ของหลกั การคิดเป็น
2. ความแตกตา่ งระหว่างจริยธรรมและการทจุ ริต
3. ความหมายของประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวม และการขัดกนั ระหวา่ งผลประโยชน สวน
ตนและผลประโยชนสวนรวม จากหนงั สอื เรียนออนไลนร์ ายวิชาการปอ้ งกนั การทจุ ริต สค 22022 ตามลงิ ค์
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 และสรปุ ลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.
การวดั และประเมนิ ผล
1. การสังเกตพฤติกรรมการมีรายบคุ คล/รายกลุ่ม
2. การตรวจแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.
3. ประเมินการนาเสนอผลงาน/ช้ินงาน
4. การตรวจใบงาน
5. การตรวจแบบทดสอบ
6. การประเมินคุณธรรม
51
วธิ ีการเรียน : แบบหนงั สือเรยี น มอบหมายงาน (ON - Hand)
กระบวนการจัดการเรียนรู้
กาหนดสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O : Orientation)
1. ขนั้ ตอนนาเข้าสบู่ ทเรียน ( เวลา 30 นาที )
1.1 ครทู ักทายนกั ศึกษา และนาเขา้ สู่บทเรียนโดยแจง้ ข่าวสารเหตุการณป์ จั จบุ นั ใหน้ ักศึกษาทราบพร้อมท้ัง
แลกเรียนเปล่ยี นเรียนรขู้ อ้ มลู ขา่ วสารเหตกุ ารณ์ปจั จุบนั รว่ มกันวิเคราะห์ และแสดงความคดิ เห็นรว่ มกนั ในชนั้ เรยี น
1.2 ครูชแ้ี จง สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หา กระบวนการจดั การเรียนรู้ สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้
การวดั และประเมนิ ผล และการตดิ ตาม ในรายวชิ าการป้องกันการทุจริต
1.3 ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั วเิ คราะห์และแสดงความ คดิ เห็น เก่ียวกบั ปญั หา ความต้องการ รปู แบบ ในการ
เรยี น และการแสวงหาความรู้จากสือ่ ตา่ ง ๆ ในการเรยี นวิชาการป้องกนั การทจุ ริต
การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ ( N : New way of lerning)
2 ขั้นจัดการเรียนการสอน ( เวลา 4 ชั่วโมง )
1 ครูใหน้ กั ศึกษานาเสนอผลงานที่ไดม้ อบหมายให้ในสปั ดาห์ทผี่ ่านโดยผ่านสอ่ื
2. ครแู ละนกั ศกึ ษาร่วมกนั สรุปเนื้อหาท่ีเพื่อนๆนาเสนอ
2.3 ครอู ธิบายเนือ้ หาตามหนังสอื เรยี นวิชาการปอ้ งกนั การทุจริต เก่ียวกบั การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์
สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม และให้นกั ศึกษาสรปุ ลงในแบบบันทกึ การเรียนรู้ กศน.
2.4 ครูร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้กบั ผเู้ รียน เกยี่ วกบั การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม โดยสามารถเขียนออกมาในรูปแบบแผนผังความคิด
2.5 ครูแบง่ กลุ่มผู้เรียนเลน่ กจิ กรรมเกมส์กระซิบส่งสาร
2.5.1 ครูแบง่ กลุ่มนักศึกษาออกเปน็ 5 แถวๆละ 5 คน โดยให้หวั แถวเป็นผู้เขยี นคาตามท่ีครบู อกลงในกระดาษ
แลว้ ให้คนแรกกระซิบต่อกันไปจนถงึ คนสดุ ท้าย หลังจากน้ันให้คนสุดทา้ ยเขยี นคาที่ไดย้ ินลงในกระดาษสง่ ครู และอ่าน
ใหเ้ พือ่ นฟัง
2.6 ครสู อนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเรอ่ื ง ความสะอาด ความสภุ าพ ความขยนั ความประหยัด
ความซอ่ื สัตย์สุจรติ ความสามัคคี ความมนี ้าใจ ความมวี นิ ยั ศาสน์ กษัตรยิ ์ รักความเป็นไทย และยึดม่ันในวิถชี ีวติ และ
การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ
การปฏบิ ตั แิ ละนาไปประยุกต์ (I : Implementation)
3. ขัน้ สรปุ และประเมนิ ผล ( เวลา 1 ชั่วโมง )
3.1 ครูและนักศึกษาสรุปสิง่ ท่ีได้เรียนร้รู ว่ มกนั พร้อมเพ่มิ เติมความรูแ้ ละใหข้ ้อเสนอแนะเพม่ิ เติม ให้นักศึกษา
บันทกึ ลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.
3.2 ครใู ห้นกั ศึกษาทาแบบทดสอบย่อย เรือ่ ง การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม จากชดุ แบบทดสอบ หรอื จาก Google from พร้อมเฉลยและประเมนิ ผล ใหน้ ักศึกษาบันทึกคะแนนลงใน
แบบบนั ทึกการเรยี นรู้ กศน.
52
3.3 ครูใหน้ ักศึกษาสรปุ การทาความดแี ละคุณธรรมทไี่ ด้ปฏิบตั ิ พร้อมบนั ทึกลงในสมดุ บนั ทกึ ความดีเพ่ือการ
ประเมนิ คุณธรรม
ขนั้ ประเมินผล (E : Evaluation)
4. ขั้นสรปุ และประเมนิ ผล (1 ชั่วโมง)
4.1 ครแู บ่งนักศึกษาออกเป็น 4 กล่มุ
4.1.1 ครูมอบหมายใหผ้ เู้ รยี นกลุ่มท่ี 1 ศกึ ษาเร่ือง ความหมาย ความสาคญั และการปฏบิ ัติตนในการ
ทาการบาน / ชิน้ งาน การทาเวร / การทา ความสะอาด การสอบ การแตงกาย การเลือกต้งั โดยเลอื กฟังหรือดจู าก
you tube แลว้ ใหส้ รปุ ประเด็นจากเรอื่ งทฟี่ งั หรือดูตามหลกั การท่ีไดศ้ ึกษาจากนน้ั ให้วิเคราะห์ข้อเทจ็ จรงิ นาเสนอต่อ
กล่มุ ตามความคดิ เหน็ ของตนเอง และ รวบรวมไวใ้ นสมุดบนั ทกึ กศน .
4.1.2 ครูมอบหมายให้ผ้เู รยี นกล่มุ ท่ี 2 ศึกษาเรื่องการรวมกลุมเพอ่ื สร้างสรรคปองกนั การทจุ รติ โดย
เลือกฟังหรือดูจาก you tube แล้วใหส้ รปุ ประเด็นจากเรื่องทฟ่ี ังหรือดตู ามหลักการท่ีได้ศึกษาจากนั้นให้วิเคราะห์
ข้อเท็จจรงิ นาเสนอต่อกลุ่มตามความคิดเห็นของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมดุ บันทึก กศน.
4.1.3 ครูมอบหมายใหผ้ ู้เรยี นกลุม่ ที่ 3 ศึกษาเรื่องความพอเพยี งกบั การต้านการทจุ ริตโดยเลือกฟงั
หรอื ดจู าก you tube แล้วให้สรุปประเด็นจากเร่ืองที่ฟงั หรือดตู ามหลักการท่ีได้ศกึ ษาจากนน้ั ให้วเิ คราะห์ข้อเท็จจรงิ
นาเสนอต่อกลมุ่ ตามความคดิ เหน็ ของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมุดบนั ทกึ กศน.
4.1.4 ครมู อบหมายให้ผเู้ รียนกลมุ่ ที่ 3 ศึกษาเร่ือง STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจรติ โดยเลือกฟงั หรอื
ดจู าก you tube แลว้ ให้สรุปประเดน็ จากเรื่องท่ฟี งั หรือดตู ามหลักการทไี่ ด้ศึกษาจากน้นั ให้วิเคราะหข์ ้อเทจ็ จรงิ
นาเสนอต่อกลุ่มตามความคดิ เหน็ ของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมุดบนั ทกึ กศน.
4.2 ครมู อบหมายใหน้ ักศกึ ษาศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ เร่ือง ความละอายและความไม่ทนตอการทจุ ริตและ
เร่อื ง STRONG: จิตพอเพียงต้านทจุ รติ โดยบนั ทกึ ลงสมุดบันทกึ กศน.
4.3 ครมู อบหมายนกั ศกึ ษาทาใบงานเร่ือง
1. พลเมืองกับความรับผิดชอบตอ่ สังคม
4.5 ครตู ิดตามงานที่ไดม้ อบหมายนักศึกษา เพ่อื ติดตามความคืบหนา้ ดังนี้
1. ติดตามงานที่ได้รบั มอบหมายสัปดาห์ท่ผี า่ นมา
2. การตดิ ตามการทากจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต (กพช.)
3. ติดตามสอบถามสุขภาพของนกั ศึกษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแตง่ กาย)
4. ติดตามสอบถามการทาความดใี นแต่ละวัน สปั ดาห์ทีผ่ ่านมาและติดตามการบันทกึ กจิ กรรมทที่ า
ความดีลงในสมดุ บันทกึ บันทึกความดเี พื่อการประเมนิ คณุ ธรรม
5. ตดิ ตามสอบถามเกี่ยวกับงานอดเิ รก สนุ ทรียภาพ การเล่นกีฬา การใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์
ฯลฯ
6. ติดตามความกา้ วหนา้ การทาโครงงาน
53
สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรียนวิชาการป้องกันการทจุ รติ สค 22022 หรือ หนังสือเรยี นออนไลน์ ลงิ ค์
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4
2. คมู่ อื นักศึกษา
3. แบบทดสอบย่อย เร่อื ง ความละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและเรือ่ ง STRONG: จิตพอเพียงต้าน
ทจุ ริต (ชดุ แบบทดสอบ หรอื Google Form)
4. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความละอายและความไม่ทนตอการทุจรติ และเรื่อง STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจรติ
5. ใบงานที่ 1 เร่ืองความละอายและความไม่ทนตอการทจุ ริตและเรอื่ ง STRONG: จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต 6.
แบบบันทกึ การเรยี นรู้ กศน.
ข้ันมอบหมายงาน
ครูแบ่งนกั ศกึ ษาออกเป็น 4 กลมุ่
1. ครูมอบหมายให้ผเู้ รียนกลุ่มท่ี 1 ศึกษาเรื่อง ความหมาย ความสาคัญและการปฏบิ ตั ติ นในการทาการบาน
/ ชิน้ งาน การทาเวร / การทา ความสะอาด การสอบ การแตงกาย การเลอื กตั้ง โดยเลือกฟงั หรอื ดจู าก you tube
แล้วใหส้ รปุ ประเดน็ จากเร่ืองท่ีฟงั หรือดตู ามหลักการท่ีได้ศึกษาจากนั้นใหว้ เิ คราะห์ข้อเท็จจริงนาเสนอต่อกลมุ่ ตามความ
คิดเห็นของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมุดบันทึก กศน .
2. ครูมอบหมายให้ผูเ้ รยี นกลุ่มท่ี 2 ศึกษาเรื่องการรวมกลุมเพอ่ื สร้างสรรคปองกนั การทจุ รติ โดยเลือกฟงั หรือดู
จาก you tube แลว้ ใหส้ รุปประเด็นจากเร่ืองท่ีฟังหรือดตู ามหลกั การท่ีได้ศึกษาจากนัน้ ให้วิเคราะหข์ ้อเทจ็ จรงิ นาเสนอ
ต่อกล่มุ ตามความคดิ เห็นของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมุดบนั ทกึ กศน.
3 ครูมอบหมายให้ผู้เรียนกลุม่ ท่ี 3 ศกึ ษาเรือ่ งความพอเพยี งกบั การต้านการทุจริตโดยเลือกฟงั หรือดูจาก you
tube แล้วให้สรปุ ประเด็นจากเร่ืองทฟี่ ังหรือดตู ามหลกั การทีไ่ ดศ้ ึกษาจากนน้ั ใหว้ เิ คราะห์ข้อเทจ็ จริงนาเสนอต่อกลุม่
ตามความคิดเหน็ ของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมดุ บันทึก กศน.
4 ครมู อบหมายให้ผ้เู รยี นกล่มุ ที่ 3 ศกึ ษาเรอื่ ง STRONG: จิตพอเพยี งตา้ นทุจรติ โดยเลือกฟงั หรือดจู าก you
tube แล้วใหส้ รปุ ประเด็นจากเรอ่ื งทฟ่ี ังหรือดตู ามหลกั การทไี่ ดศ้ ึกษาจากนน้ั ใหว้ ิเคราะห์ข้อเท็จจริงนาเสนอต่อกลุ่ม
ตามความคิดเหน็ ของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมดุ บันทึก กศน.
5. ครมู อบหมายใหน้ ักศกึ ษาศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ เรื่อง ความละอายและความไมท่ นตอการทุจริตและ
เรื่อง STRONG: จติ พอเพยี งต้านทจุ ริต โดยบนั ทกึ ลงสมุดบันทกึ กศน.
6. ครมู อบหมายนักศึกษาทาใบงานเร่อื ง
1. พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม
การวดั และประเมินผล
1) การสังเกตพฤติกรรมการมีรายบคุ คล/รายกลุม่
2) การตรวจแบบบนั ทึกการเรยี นรู้ กศน.
3) ประเมนิ การนาเสนอผลงาน/ชิน้ งาน
4) การตรวจใบงาน 5) การตรวจแบบทดสอบ
6) การประเมนิ คุณธรรม
54
วิธีการเรยี น : แบบผ่านช่องทาง ETV (ON-AIR)
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
กาหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ (O : Orientation)
1. ขนั้ ตอนนาเข้าส่บู ทเรียน ( เวลา 30 นาที )
1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนาเข้าสู่บทเรียนโดยแจ้งข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน ผ่านทางช่องทางออนไลน์
เช่น Microsoft teams, Google Meet ให้นักศึกษาทราบพร้อมท้ังแลกเรียนเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์
ปจั จุบัน ร่วมวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และแสดงความคิดเห็นร่วมกันในกลุ่ม LINE พร้อมท้ังอธิบายถึง
เหตผุ ลความจาเปน็ ที่ตอ้ งจัดกจิ กรรมการเรยี นรูปแบบ (On-Air)
1.2 ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นโดย ใหน้ กั ศึกษาสมัครเป็นสมาชิก ETV ตามลง้ิ ตอ่ ไปนี้
https://www.etvthai.tv/member/AddMember_ext.aspx เพ่อื ใหน้ ักศึกษามีรหสั ผ่านเพอื่ เขา้ ไปศึกษาหาความรู้
ตาม ตารางออนแอร์ ในแตล่ ะวนั ของสถานวี ิทยโุ ทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ตามล้ิง รายการโทรทัศน์
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบโรงเรยี น
http://www.etvthai.tv/Video/VDO_Detail_Ext.aspx?ContentID=320&videoid=1087&v=1&p=5 และและ
นกั ศึกษาสามารถตดิ ตามข่าวสารได้ในเฟสบุ๊ค ETV Channel ตามล้งิ ต่อไปน้ี https://www.facebook.com/Etv-
Channel-1512499252411798/
การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรยี นรู้ ( N : New way of lerning)
2. ข้ันจัดการเรียนการสอน ( เวลา 4 ช่ัวโมง )
2.1 ครมู อบหมายใหน้ ักศกึ ษาเข้าไปศึกษาหาความรู้ ของสถานีวทิ ยุโทรทศั นเ์ พ่ือการศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ ารตามเวบ็ ไซต์ www.etvthai.tv โดย เข้าสรู่ ะบบดว้ ยรหัสผา่ นท่ีนักศึกษาสมัครไวแ้ ล้ว โดยสามารถ
ดูตาราง ออนแอร์ได้ ตามลิ้ง http://www.etvthai.tv/Front_ETV/FETV_Schedule.aspx และสามารถดูรายการ
ยอ้ นหลังได้ ตามล้ิง http://www.etvthai.tv/home/home_External.aspx
อกี ช่องทางการศึกษาหาความรู้โดยผา่ น ทีวดี ิจิตอลช่อง 52 (กศน.) สามารถติดตามขา่ วสารและตารางออน
แอร์ได้ในเฟสบุ๊ค : ETV สอ่ื ดิจทิ ัลเพื่อการศึกษา สานักงาน กศน. ตามลิง้ น้ี
https://www.facebook.com/etv.digital/
2.2 ครูมอบหมายใหน้ กั ศกึ ษาเรยี นรแู้ บบ (On-Air)
ในเร่อื งการฟงั ท่สี อ่ื สารไมส่ ัมฤทธ์ิผล (https://youtu.be/joXPKB90HF8)
และให้นักศึกษาสรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. นาส่งผ่านทาง Google Classroom หรือ
แอปพลิเคชนั LINE
2.3 ครมู อบหมายใหน้ กั ศกึ ษาใหไ้ ปศึกษาคน้ คว้าจากหนังสือ เรยี นออนไลน์ รายวิชาการปอ้ งกันการทุจริต สค
22022 ตามลิงค์ http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 และจากการศึกษาในรูปแบบ (ON-Air) ท้งั
ในเว็บไซต์ www.etvthai.tv และ ทวี ีดจิ ติ อลช่อง 52 (กศน.) หรือจากแหล่งการเรียนรู้ตา่ งๆ และใหน้ ักศึกษาจดั ทา
สรุปความรเู้ ปน็ แผนผงั ความคิด ลงในแบบบนั ทึกการเรยี นรู้ กศน. ในหวั ขอ้ การฟงั ทส่ี ื่อสารไม่สัมฤทธ์ิผล และส่งงาน
ผ่านทาง Google Classroom หรอื แอปพลิเคชนั LINE
55
2.4 ครสู อนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเรอื่ ง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตญั ญู
กตเวทีความขยัน ความประหยัด ความซ่ือสัตย์ ความมีน้าใจ ความมีวินัย ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทย และยึดม่ั น
ในวถิ ชี ีวติ และการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ผา่ นทาง LINE กลมุ่
การปฏบิ ตั แิ ละนาไปประยกุ ต์ (I : Implementation)
3. ขน้ั สรปุ และประเมินผล (1 ช่ัวโมง )
3.1 ครูให้นักศึกษาทาแบบทดสอบย่อย เรื่อง ความละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและSTRONG: จิต
พอเพียงต้านทุจริต การชุดแบบทดสอบ หรือจาก Google Classroom หรือ Line พร้อมเฉลยและประเมินผล ให้
นกั ศกึ ษาบันทกึ ลงคะแนนในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน.
3.2 ครใู ห้นักศึกษาสรุปการทาความดีและคุณธรรมที่ได้ปฏิบัติ พร้อมบันทึกลงในสมุดบันทึกความดี เพื่อการ
ประเมินคณุ ธรรม
ขัน้ ประเมินผล (E : Evaluation)
4. ขน้ั สรปุ และประเมินผล (1 ชวั่ โมง)
4.1 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอ่านทบทวนเน้ือหาเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียน รายวิชาการป้องกันการทุจริต
สค 22022 ตามลิงค์ http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 (แบบเรียนออนไลน์) โดยศึกษาในเร่ือง
ความละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและSTRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต และสรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้
กศน.
4.2 ครมู อบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาจากหนังสือเรียนออนไลน์ เรียน รายวิชาการป้องกันการ
ทุจริต สค 22022 ตามลิงค์ http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 และศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้
และทาใบงานที่ 1 ความหมาย ความสาคัญและการปฏิบัติตนในการทาการบาน / ชิ้นงาน การทาเวร / การทา ความ
สะอาด การสอบ การแตงกาย การเลือกตัง้ ใบงานท่ี 2 การรวมกลุมเพ่ือสร้างสรรคปองกันการทุจริต ใบงานที่ 3 ความ
พอเพียงกบั การต้านการทจุ ริต ใบงานท่ี 4 STRONG: จติ พอเพยี งตา้ นทุจรติ และทาแบบทดสอบย่อย และให้นักศึกษา
ส่งงาน (โดยครูจะส่งใบงานทาง Google classroom) และให้นักศกึ ษาสง่ งานทาง LINE
4.3 ครูมอบมายงานให้แต่ละคน/หรือรายกลุ่ม ศึกษาเรื่อง พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม จาก
อินเทอร์เน็ตจากนั้นให้วิเคราะห์ข้อมูลจริงนาเสนอต่อกลุ่มตามความคิดเห็นของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมุดบันทึก
กศน.
4.4 ครตู ิดตามงานท่ไี ดม้ อบหมายนกั ศึกษา เพ่อื ติดตามความคืบหนา้ ทางแอปพลเิ คชนั Line ดงั นี้
1 ติดตามงานที่ได้รบั มอบหมายสปั ดาห์ท่ผี า่ นมา
2 ตดิ ตามการทากิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.)
3 ตดิ ตามสอบถามสุขภาพของนักศึกษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแต่งกาย)
4 ติดตามสอบถามการทาความดีในแต่ละวัน สัปดาห์ที่ผ่านมาและติดตามการ บันทึก กิจกรรมท่ีทา
ความดีลงในสมุดบันทกึ บันทกึ ความดีเพื่อการประเมนิ คุณธรรม
5 ติดตามสอบถามเก่ียวกับงานอดิเรก สุนทรียภาพ การเล่นกีฬา การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ฯลฯ
6 ติดตามความก้าวหน้าการทาโครงงาน
56
ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้
1. www.etvthai.tv
2.ทีวดี จิ ติ อลชอ่ ง 52 (กศน.)
3. เฟสบุ๊ค https://www.facebook.com/etv.digital/ และ
https://www.facebook.com/Etv-Channel-1512499252411798/
4. Google Classroom / แอปพลเิ คชัน LINE
5. หนงั สอื เรียนรายวชิ าการป้องกนั การทจุ ริต สค 22022 ตามลิงค์
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4
6. คูม่ ือนกั ศึกษา https://www.youtube.com/watch?v=87x1M-2g9Cs
7. ใบความร้ทู ่ี 1
8. แบบบันทกึ การเรยี นรู้ กศน.
ขัน้ มอบหมายงาน
1 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอ่านทบทวนเนื้อหาเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียน รายวิชาการป้องกันการทุจริต
สค 22022 ตามลิงค์ http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 (แบบเรียนออนไลน์) โดยศึกษาในเรื่อง
ความละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและSTRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต และสรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้
กศน.
2 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาจากหนังสือเรียนออนไลน์ เรียน รายวิชาการป้องกันการ
ทุจริต สค 22022 ตามลิงค์ http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 และศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้
และทาใบงานท่ี 1 ความหมาย ความสาคัญและการปฏิบัติตนในการทาการบาน / ชิ้นงาน การทาเวร / การทา ความ
สะอาด การสอบ การแตงกาย การเลือกต้ัง ใบงานที่ 2 การรวมกลุมเพ่ือสร้างสรรคปองกันการทุจริต ใบงานที่ 3 ความ
พอเพยี งกับการตา้ นการทจุ รติ ใบงานท่ี 4 STRONG: จิตพอเพียงต้านทจุ รติ และทาแบบทดสอบย่อย และให้นักศึกษา
สง่ งาน (โดยครจู ะส่งใบงานทาง Google classroom) และให้นักศึกษาส่งงานทาง LINE
3 ครูมอบมายงานให้แต่ละคน/หรือรายกลุ่ม ศึกษาเรื่อง พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม จาก
อินเทอร์เน็ตจากน้ันให้วิเคราะห์ข้อมูลจริงนาเสนอต่อกลุ่มตามความคิดเห็นของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมุดบันทึก
กศน.
การวดั และประเมินผล
1. การสงั เกตพฤติกรรมการมีรายบคุ คล/รายกลมุ่
2. การตรวจแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน.
3. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน/ช้นิ งาน
4. การตรวจใบงาน
5. การตรวจแบบทดสอบ
6. การประเมนิ คุณธรรม
57
วธิ กี ารเรียน : ผา่ น แอปพลิเคช่ัน (ON-Demand)
กระบวนการจัดการเรยี นรู้
กาหนดสภาพ ปัญหา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O : Orientation)
1. ขัน้ ตอนนาเข้าสบู่ ทเรยี น ( เวลา 30 นาที )
1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนาเข้าสู่บทเรียนโดยแจ้งข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน ผ่านทางช่องทางออนไลน์
เช่น Microsoft teams , Google Meet ให้นักศึกษาทราบพร้อมท้ังแลกเรียนเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์
ปัจจุบัน ร่วมวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นร่วมกันพร้อมอธิบายถึงเหตุผลความจาเป็นที่ต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบออนไลน์
1.2 ครูช้ีแจง สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู้ ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล การติดตาม ในรายวิชาภาษาไทยผ่านทางช่องทางออนไลน์ เช่น Microsoft teams , Google
Meet
1.3 ครูและนักศึกษาร่วมวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับปัญหา ความต้องการ รูปแบบในการเรียน
และการแสวงหาความรู้จากสื่อต่าง ๆ ในการเรียนวิชาภาษาไทย ผ่านทางช่องทางออนไลน์เช่น Microsoft teams ,
Google Meet
การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรยี นรู้ ( N : New way of lerning)
2. ขน้ั จดั การเรียนการสอน ( เวลา 4 ชวั่ โมง )
2.1 ครูให้นักศึกษาดูคลปิ เร่อื งความละอายและความไม่ทนตอการทจุ ริตและSTRONG: จติ พอเพียงตา้ นจริต
จาก https://www.youtube.com/watch?v=IwiMS1cKGnA และ ttps://www.youtube.com/watch?v=npR-
VZjU4ioผ่าน Google Classroom หรอื Line แลว้ ร่วมกันวิเคราะห์สง่ิ ที่ไดร้ ับชมคลิปผ่าน Google Classroom
2.2 ครมู อบหมายใหน้ ักศึกษาไปศึกษาคน้ คว้าเนอ้ื หาจากหนงั สือเรยี นออนไลนร์ ายวิชารายวิชา การป้องกนั
การทุจริต สค 22022 ตามลงิ ค์ http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 และศึกษาหาความรู้ ผ่าน
เว็บไซต์ www.etvthai.tv และ ชอ่ ง YouTube
2.4 ครสู อนและสอดแทรกคุณธรรม ๑๑ ประการ ในเรือ่ ง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตัญญูกตเวทีความ
ขยนั ความประหยดั ความซอ่ื สตั ย์ ความมนี า้ ใจ ความมีวินัย ศาสน์ กษัตริย์ รกั ความเป็นไทย และยึดมั่นในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ผ่านทาง Google Classroom หรือ Line
และแจ้งผลสอบใหน้ กั ศกึ ษาทราบผา่ นทาง Google Classroom หรือ Line
การปฏบิ ัตแิ ละนาไปประยุกต์ (I : Implementation)
3. ขั้นสรปุ และประเมนิ ผล ( เวลา 1 ช่วั โมง )
3.1 ครูและนักศึกษาสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน พร้อมเพ่ิมเติมความรู้และให้ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม และให้
นักศึกษาบนั ทึกลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน.]
3.2 ครูให้นักศึกษาทาแบบทดสอบย่อย เร่ือง วามละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและSTRONG: จิต
พอเพียงต้านจริต จากชุดแบบทดสอบ หรือจาก Google Classroom หรือ Line พร้อมเฉลยและประเมินผล ให้
นักศกึ ษาบันทกึ ลงคะแนนในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน.
58
3.3 ครูให้นักศึกษาสรุปการทาความดีและคุณธรรมที่ได้ปฏิบัติ พร้อมบันทึกลงในสมุดบันทึกความดีเพ่ือ
ประเมินคุณธรรม
ขน้ั ประเมนิ ผล (E : Evaluation)
4. ข้นั สรปุ และประเมนิ ผล (1 ชั่วโมง)
4.1 ครแู บ่งนกั ศกึ ษาออกเป็น 4 กลุ่ม โดยแบ่งจานวนนกั ศกึ ษาตามลาดับรหัสนักศึกษาในกลุ่มตนเอง และ จัด
มอบหมายงานผ่านทาง Google Classroom หรอื Line
ครมู อบหมายให้ผ้เู รียน กลุ่มที่ 4.1.11. ความหมาย ความสาคัญและการปฏิบตั ิตนในการทาการบาน
/ ชน้ิ งาน การทาเวร / การทา ความสะอาด การสอบ การแตงกาย การเลอื กตั้ง โดยเลือกฟงั หรือจาก you tube
จากนนั้ ใหว้ ิเคราะหข์ ้อเทจ็ จริงนาเสนอต่อกลุ่มตามความคิดเหน็ ของตนเอง ๒ รวบรวมไวใ้ นสมดุ บนั ทกึ กศน.
4.1.2 ครูมอบหมายให้ผู้เรียนกลุ่มท่ี 2 ศึกษาเรื่องการรวมกลุมเพ่ือสร้างสรรคปองกันการทุจริต จาก
อินเทอร์เน็ตจากนั้นให้วิเคราะห์ข้อมูลจริงนาเสนิต่อกลุ่มตามความคิดเห็นของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมุดบันทึก
กศน.
4.1.3 ครูมอบหมายให้ผู้เรียนกลุ่มที่ 3 ศึกษาเรื่องความพอเพียงกับการต้านการทุจริต จาก
อินเทอร์เน็ตจากน้ันให้วิเคราะห์ข้อมูลจริงนาเสนอต่อกลุ่มตามความคิดเห็นของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมุดบันทึก
กศน.
4.1.4 ครมู อบหมายให้ผเู้ รยี นกลมุ่ ที่ 4 ศกึ ษาเร่ือง STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต จากอินเทอร์เน็ต
จากน้ันให้วเิ คราะห์ข้อมูลจรงิ นาเสนอต่อกลุ่มตามความคดิ เห็นของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมุดบนั ทึก กศน.
4.2 ครูมอบหมายให้นักศึกษาศึกษาเน้ือหาจากใบความรู้ เร่ืองความละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและ
STRONG: จิตพอเพยี ง และบนั ทกึ ลงสมดุ บนั ทกึ กศน.
4.3 ครูมอบหมายนักศึกษาทาใบงานผ่านทาง Google Classroom หรือ Line เร่ือง ความละอายและความ
ไม่ทนตอการทุจรติ และSTRONG: จิตพอเพียง แล้วกาหนดส่งกลับในสัปดาห์ต่อไปผ่าน ผ่านทาง Google Classroom
หรอื Line
4.4 ครูติดตามที่ได้รับมอบหมายนักศึกษา เพ่ือติดตามความคืบหน้าผ่านทางช่องทางออนไลน์ เช่น Google
Classroom หรือ Line
1 ตดิ ตามงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายสปั ดาห์ท่ีผ่านมา
2 ติดตามการทากจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ (กพช.)
3 ติดตามสอบถามสขุ ภาพของนักศึกษา (การตรวจสุขภาพ/ความสะอาด/การแตง่ กาย)
4 ติดตามสอบถามการทาความดีในแต่ละวัน สัปดาห์ที่ผ่านมาและติดตามการบันทึกกิจกรรมท่ีทา
ความดลี งในสมุดบนั ทกึ ความดีเพ่ือการประเมนิ คณุ ธรรม
5 ติดตามสอบถามเก่ียวกับงานอดิเรก สุนทรียภาพ การเล่นกีฬา การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ฯลฯ
6 ติดตามความกา้ วหนา้ การทาโครงการ
59
ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้
1. ช่องทางออนไลนเ์ ชน่ Google Classroom หรอื Line
2. หนังสือเรียนหนังสือเรียนออนไลน์ รายวิชา การป้องกันการทุจริต สค 22022 ตามลิงค์
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4
3. คลิปวิดีโอ https://www.youtube.com/watch?v=IwiMS1cKGnA และ
https://www.youtube.com/watch?v=npR-VZjU4io
4. แบบทดสอบย่อย เรื่อง การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (ชุด
แบบทดสอบ หรอื Google from)
5. ใบความรู้
6. ใบงาน
7. แบบบนั ทกึ การเรียนรู้ กศน.
ขน้ั มอบหมายงาน
1 ครูแบ่งนักศึกษาออกเป็น 4 กลุ่ม โดยแบ่งจานวนนักศึกษาตามลาดับรหัสนักศึกษาในกลุ่มตนเอง และ จัด
มอบหมายงานผ่านทาง Google Classroom หรือ Line
ครมู อบหมายให้ผู้เรยี น กลุ่มท่ี 11. ความหมาย ความสาคัญและการปฏิบตั ิตนในการทาการบาน /
ชิ้นงาน การทาเวร / การทา ความสะอาด การสอบ การแตงกาย การเลือกต้ัง โดยเลอื กฟังหรือจาก you tube
จากนน้ั ใหว้ ิเคราะห์ข้อเทจ็ จริงนาเสนอต่อกลุ่มตามความคิดเหน็ ของตนเอง ๒ รวบรวมไว้ในสมดุ บนั ทกึ กศน.
2 ครูมอบหมายให้ผู้เรียนกลุ่มที่ 2 ศึกษาเร่ืองการรวมกลุมเพื่อสร้างสรรคปองกันการทุจริต จาก
อินเทอร์เน็ตจากนั้นให้วิเคราะห์ข้อมูลจริงนาเสนิต่อกลุ่มตามความคิดเห็นของตนเอง และ รวบรวมไว้ในสมุดบันทึก
กศน.
3 ครูมอบหมายให้ผู้เรียนกลุ่มท่ี 3 ศึกษาเรื่องความพอเพียงกับการต้านการทุจริต จากอินเทอร์เน็ต
จากนั้นใหว้ ิเคราะห์ขอ้ มลู จรงิ นาเสนอตอ่ กลุ่มตามความคดิ เห็นของตนเอง และ รวบรวมไวใ้ นสมุดบันทึก กศน.
4 ครูมอบหมายให้ผู้เรียนกลุ่มที่ 4 ศึกษาเรื่อง STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต จากอินเทอร์เน็ต
จากนั้นให้วเิ คราะห์ขอ้ มูลจรงิ นาเสนอตอ่ กลุม่ ตามความคิดเหน็ ของตนเอง และ รวบรวมไวใ้ นสมุดบันทกึ กศน.
2 ครูมอบหมายให้นักศึกษาศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ เร่ืองความละอายและความไม่ทนตอการทุจริตและ
STRONG: จติ พอเพียง และบนั ทึกลงสมดุ บนั ทกึ กศน.
3 ครูมอบหมายนักศึกษาทาใบงานผ่านทาง Google Classroom หรือ Line เร่ือง ความละอายและความไม่
ทนตอการทุจริตและSTRONG: จิตพอเพียง แล้วกาหนดส่งกลับในสัปดาห์ต่อไปผ่าน ผ่านทาง Google Classroom
หรอื Line
การวัดและประเมินผล
1. การมีสว่ นร่วมในการเขา้ หอ้ งเรยี น ช่องทางออนไลน์ เชน่ Google Classroom หรือ Line
2. ตรวจแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. 3. การตรวจใบงาน
4. การตรวจแบบทดสอบ 5. ประเมนิ คณุ ธรรม
60
การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) ครงั้ ที่ 16
(จานวน 30 ชั่วโมง)
สค 22022 รายวิชาการป้องกนั การทจุ ริต
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
คาสั่ง ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเป็น 7 กลุ่ม และไปทากิจกรรมการเรียนรู้ต่อเนื่อง (กรต) โดยการไปศึกษาค้นคว้า อ่าน
หนงั สอื จดบนั ทึก จากหนังสอื แบบเรยี น ตารา หนังสือ และสื่ออ่ืนๆ ในห้องสมุดประชาชนจังหวัด ห้องสมุดประชาชน
อาเภอ โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรยี นมัธยมศึกษา วิทยาลัยชุมชนในพื้นท่ีอาเอเมืองนราธิวาสหรืออาเภออ่ืนๆ หรือไป
สอบถามขอความรู้จากบคุ คล ในหวั ขอ้ ตอ่ ไปนี้
กลุ่มที่ 1 ความพอเพียง
กลมุ่ ที่ 2 ความโปรงใส
กลมุ่ ที่ 3 ความต่ืนรู
กลมุ่ ที่ 4 ความรู้
กลมุ่ ที่ 5 จิตพอเพียงต่อตา้ นทุจริต
กลุ่มท่ี 6 มงุ ไปขา้ งหนา
กลมุ่ ที่ 7 ความเอ้ืออาทร
ขัน้ ตอนของการไปเรยี นรู้ต่อเนือ่ ง (กรต.) ของนกั ศกึ ษา มีดังน้ี
1. แผนการเรียนรู้ต่อเนอื่ ง (กรต.) ในแต่ละแต่ละสัปดาห์ แต่ละคร้ังท่ีครู กศน.ตาบล/ครู ศรช. หรือครูประจา
กลุ่มกลมุ่ มอบหมาย
2. ใหบ้ รหิ ารเวลาและใชเ้ วลาในการศึกษาเรยี นรู้ดว้ ยตนเองและทากจิ กรรมการเรียนรู้ต่อเน่ือง (กรต.) สัปดาห์
ละ 15 ช่งั โมงเป็นอยา่ งนอ้ ย
3. อ่านหนังสือ สอบถามผู้รู้ และจดบันทึกทุกคร้ังทีมีการทากิจกรรม กรต. และเก็บหลักฐานไว้ทุกคร้ังเพื่อส่ง
ครกู ศน.ตาบล/ครศู รช. หรือครูประจากลมุ่ ตรวจให้คะแนนการทา กรต.
4. จัดทารายงานเป็นเลม่ ตามแบบรายงานท่ีศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกาหนดและ
ใหส้ ่งในวนั ทม่ี กี ารนาเสนอผลการทากรต. ในเร่อื งน้ันๆ
5. ตวั แทนกล่มุ นาเสนอดว้ ยตนเอง (กรณีที่ทากรต. คนเดียว) โดยให้นาเสนอผลงานตามข้อ4 กลุ่มละ/คนละไม่
เกิน 10 นาที ในวันพบกลุม่ คร้ังต่อไป
61
ใบความรู้คร้งั ท่ี 16
รายวชิ า การป้องกนั การทุจริต (สค22022)
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
เรื่องท่ี 1 ความละอายและความไมทนตอการทุจริต
การสรางสังคมใหมีความละอายและไมทนตอการทุจริต เปนการปรับเปลี่ยนสภาพสังคมใหเกิดภาวะ
“ที่ไมทนตอการทุจริต” ตองเริ่มต้ังแตกระบวนการกลอมเกลาทางสังคมในทุกชวงวัย เพื่อสรางวัฒนธรรม ตอตาน
การทุจริต ปลูกฝงความพอเพียง ความมีวินัย ซื่อสัตยสุจริต และความเปนพลเมืองดี ที่มีจิตสาธารณะ ผานทาง
สถาบันหรือกลุมตัวแทนที่ทาหนาที่ในการกลอมเกลาทางสังคม เพื่อใหเด็ก เยาวชน ผูใหญ เกิดพฤติกรรม ที่
ละอายตอการกระทาความผิด การไมยอมรับและตอตานการทุจริตทุกรูปแบบ
ความหมายและความสาคัญ
ละอาย หมายถึง การรูสึกอายที่จะทาในสิ่งที่ไมถูก ไมควร เชน ละอายที่จะทาผิด ละอายใจ ความ
ละอาย เปนความรูสึกอายและความเกรงกลัวตอสิ่งที่ไมดี ไมถูกตอง ไมเหมาะสม จึงไมกลาที่จะกระทาใหตนเอง
ไมหลงทาในสิ่งที่ผิด เพราะเห็นถึงโทษหรือผลกระทบที่จะได รับจากการกระทานั้น ลักษณะของความละอาย
แบงเปน 2 ระดับ ไดแก
1. ความละอายระดับตน หมายถึง ความละอายไมกลาที่จะทาในสิ่งที่ผิด เนื่องจากกลัววา เมื่อตนเอง
ไดทาลงไปแลวจะมีคนรับรู หากถูกจับไดจะไดรับการลงโทษหรือไดรับความเดือดรอนจากสิ่งที่ตนเองไดทาลงไป
จึงไมกลาที่จะกระทาผิด
2. ความละอายระดับสูง คือ ความละอายที่แมไมมีใครรับรูหรือเห็นในสิ่งที่ตนเองไดทาลงไป ก็ไม
กลาท่ีจะทาผิด เพราะนอกจากตนเองจะไดรับผลกระทบแลว ครอบครัว สังคมก็จะไดรับผลกระทบตามไปดวย ทั้ง
ช่ือเสียงของตนเองและครอบครัวก็จะเสื่อมเสีย เชน การลอกขอสอบ เปนตน
ความไมทน หมายถึง การแสดงออกตอการกระทาที่เกิดขึ้นกับตนเอง บุคคลที่เกี่ยวของหรือ สังคมใน
ลักษณะที่ไมยินยอม ไมยอมรับในสิ่งที่เกิดขึ้น ซึ่งสามารถแสดงออกไดหลายลักษณะ ทั้งในรูปแบบของ กริยาทา
ทางหรือคาพูด เชน การแซงคิวเพื่อซื้อของ เปนการกระทาที่ไมถูกตอง ผูถูกแซงคิวจึงตองแสดงออกให ผูที่แซงคิว
รับรูวาตนเองไมพอใจ โดยแสดงกิริยาหรือบอกกลาวใหทราบ เพื่อใหผูที่แซงคิวยอมที่จะตอทายแถว กรณีนี้แสดง
ใหเห็นวาผูที่ถูกแซงคิว ไมทนตอการกระทาที่ไมถูกตอง และหากผูที่แซงคิวไปตอแถวก็จะแสดงให เห็นวาบุคคล
นั้นมีความละอายตอการกระทาที่ไมถูกตอง เปนตน
ทุจริต หมายถึง ประพฤติชั่ว ประพฤติไมดี ไมซื่อตรง คดโกง ฉอโกง โดยใชอุบายหรือเลหเหลี่ยม
หลอกลวง เพ่ือใหไดส่ิงท่ีตองการ
ความไมทนตอการทุจริต เปนการแสดงออกอยางใดอยางหนึ่ง เพื่อใหรับรูวาจะไมทนตอบุคคล
หรือการ กระทาใด ๆ ที่เปนการทุจริต ความไมทนตอการทุจริต สามารถแบงระดับตาง ๆ ไดมากกวาความละอาย
ใชเกณฑความรุนแรงในการแบงแยก เชน การวากลาวตักเตือนตอบุคคลที่ทุจริต การประณาม การประจาน การ
ชุมนุมประทวง เปนตน
62
ตัวอยางเชน เพ่ือนลอกขอสอบเรา ซ่ึงเราจะไมยินยอมใหเพื่อนทุจริตในการลอกขอสอบ เราก็ใชมือ
หรือกระดาษมาบังสวนที่เปนคาตอบไว เชนนี้ก็เปนการแสดงออกถึงการไมทนตอการทุจริต นอกจากนี้ยังมี การ
แสดงออกในระดับที่แตกตางกันไป เชน การชุมนุมประทวงของประชาชนเพื่อตอตานการทุจริตตาม กรณีศึกษา
ทายบท
ความจาเปนของการท่ีไมทนตอการทุจริตถือเปนสิ่งสาคัญ เพราะการทุจริตไมวาระดับเล็กหรือใหญ
ยอมกอใหเกิดความเสียหายตอสังคมและประเทศชาติ ดังนั้น จึงมีความจาเปนอยางยิ่งที่จะตองสรางใหบุคคล
เกิดความตระหนักและรับรูถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการทุจริตในทุกรูปแบบ ทุกระดับ หากบุคคลในสังคม มี
ความละอายและความไมทนตอการทุจริต จะทาใหสังคมนาอยูและมีการพัฒนาในทุก ๆ ดาน
การปฏิบัติตนเพื่ออยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข ไมสรางความเดือดรอนใหกับตนเอง
ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ ทุกคนจะตองรูบทบาทหนาที่ ไมเอารัดเอาเปรียบ มีความรับผิดชอบโดย
สมาชิกในสังคม ตองปฏิบัติตามขอตกลงในสังคมที่ถูกตองตามหลักธรรม เริ่มตั้งแตการปฏิบัติตนในฐานะสมาชิก
ของครอบครัวและ สถานศึกษา ซึ่งเปนสถาบันแรกท่ีบมเพาะทักษะพ้ืนฐานในการดาเนินชีวิต
การปฏิบัติตนของผูเรียนในสถานศึกษา เพื่อใหเปนผูมีจิตใจที่ดีเปนที่ชื่นชมของผูอื่น และสามารถ
อยู ในสังคมรวมกับผูอื่นไดอยางดี มีแนวทางการปฏิบัติตน ดังน้ี
1. การปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมาย ไดแก
1.1 การทาการบานหรือช้ินงานควรสงตามเวลาท่ีกาหนด โดยไมลอกการบานหรือชิ้นงานผูอ่ืน
1.2 การทาเวรหรือทาความสะอาด จะตองปฏิบัติดวยความรับผิดชอบ ไมเอารัดเอาเปรียบผูอื่น
กรณีที่เราพบเห็นเพ่ือนที่ละเลยจากการปฏิบัติงานท่ีไดรับมอบหมาย เราควรตักเตือนเพื่อน หรือ
รายงานตอครู
2. การสอบ ผูเรียนจะตองปฏิบัติตามระเบียบของการเขาสอบ ไดแก
2.1 แตงกายตามที่สถานศึกษากาหนด
2.2 ปฏิบัติตามระเบียบเก่ียวกับการสอบ และคาส่ังของผูกากับการสอบ โดยไมทุจริตในการสอบ
2.3 มิใหผูเขาสอบคนอื่นคัดลอกคาตอบของตน รวมทั้งไมพูดคุยกับผูใดในเวลาสอบ เมื่อมี
ขอสงสัย หรือมีเหตุจาเปนใหแจงตอผูกากับการสอบ
2.4 ไมนากระดาษสาหรับเขียนคาตอบที่ผูกากับการสอบแจกใหออกไปจากหองสอบ
3. การแตงกาย เปนสิ่งสาคัญตอภาพลักษณ และบุคลิกภาพของบุคคล เครื่องแตงกายที่ดีจะตอง
เหมาะสมกับโอกาส สถานที่ หรือกาลเทศะ สรางความประทับใจแกผูพบเห็น หลักสาคัญของการแตงกาย มีดังน้ี
3.1 ถูกตองตามกาลเทศะ
3.2 สะอาด
3.3 ประหยัด
3.4 เหมาะสมกับวัย รูปราง และฐานะความเปนอยู
63
กรณีที่เราพบเห็นผูที่แตงกายไมเหมาะสมตอสถานที่หรือกาลเทศะ บุคคลที่ไมทนตอการทุจริต
หรือการกระทาที่ไมถูกตอง ควรใหคาแนะนาหรือแสดงออกอยางใดอยางหนึ่ง เพื่อใหผูที่แตงกายไมเหมาะสม
ทราบ เปนตน
การแตงกายเขาวัดที่เหมาะสม การแตงกายท่ีไมเหมาะสม
ท่ีมา : HTTPS://IMG.KAPOOK.COM/U/2017/RUNGTIP/2017-3/JJ9.JPG ท่ีมา : HTTPS://MGRONLINE.COM/CELEBONLINE/DETAIL/9570000117491
4. การเลือกตั้ง เปนการใชสิทธิออกเสียงในการลงคะแนนเลือกผูแทนเพ่ือทาหนาท่ีแทนตนเอง การ
เลือกตั้งท่ีเปนประชาธิปไตย เปนการเลือกตั้งโดยเสรี คือ เปดกวางใหอิสระในการตัดสินใจ ทั้งในแงของผูสมัคร
และผูออกเสียง ตองเปนไปโดยบริสุทธ์ิและ ยุติธรรม ไมมีการช้ีนาหรือบังคับ เชน การเลือกตั้ง องคกรนักศึกษา
กศน. เพื่อเปนตัวแทนนักศึกษา ทั้งหมดในสถานศึกษา ซ่ึงเปนการสงเสริมการเรียนรู ประชาธิปไตยในสถานศึกษา
การรณรงคใชสิทธิเลือกตั้ง
ท่ีมา : HTTPS://WWW.MSN.COM/TH-
TH/NEWS/NATIONAL
ท้ังน้ี การเลือกตั้งของประเทศไทย จะมีการ เลือกตั้งระดับตาง ๆ ดังนี้
1. ระดับหมูบาน คือ การเลือกต้ังผูใหญบาน
2. ระดับตาบล คือ กานัน สมาชิก อบต. หรือ สมาชิกสภาเทศบาล หรือนายก อบต. หรือ
นายกเทศมนตรี
3. ระดับจังหวัด คือ การเลือกต้ังสมาชิกสภาจังหวัด (สจ.)
การเลือกต้ัง
นายกองคการบริหารสวนจังหวัด (นายก อบจ.)
ที่มา : HTTPS://WWW.MSN.COM/TH-TH/NEWS/NATIONAL
64
4. ระดับชาติ คือ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร การเลือกผูแทนที่ถูกตอง ผูเรียนควรเลือกผูที่มี
ความจริงใจ เสียสละเพื่อสวนรวม มีความรู ความสามารถ มีอาชีพสุจริต ไมควรเลือกผูที่มีเบื้องหลังไมสุจริต และ
ซ้ือเสียง เพราะเขายอมหวังผลประโยชนกลับคืนมา
ในการเลือกตั้งทุกระดับมักมีขาวเกี่ยวกับการทุจริตซื้อเสียง ขายเสียง หรือโกงการเลือกตั้ง ซึ่งหาก
เราพบเห็นเหตุการณ และมีหลักฐานการทุจริต เราควรแจงหนวยงานหรือผเกยวของทราบ เพื่อดาเนินการตาม
กฎหมายตอไป
เร่ืองที่ 2 การรวมกลุมเพื่อสรางสรรคปองกันการทุจริต
สถานการณการทุจริตของประเทศไทยในปจจุบัน ถือเปนภาวะวิกฤตที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนา
ประเทศ การทุจริตที่เกิดขึ้นยอมสงผลตอภาพลักษณของประเทศ หากประเทศใดมีการทุจริตนอยจะสงผลให
ประเทศนั้นมีความเปนอยูที่ดี นักลงทุนมีความตองการที่จะมาลงทุนในประเทศ ซึ่งหมายถึง เศรษฐกิจของ
ประเทศจะสามารถพัฒนาไปไดอยางตอเนื่อง แตหากมีการทุจริตเปนจานวนมาก นักธุรกิจยอมไมกลาที่จะ ลงทุน
ในประเทศนั้น ๆ เนื่องจากตองเสียคาใชจายในการทาธุรกิจที่มากกวาปกติ แตหากสามารถดาเนินธุรกิจ ดังกลาว
ได ผลที่เกิดขึ้นยอมตกแกผูบริโภคที่จะตองซื้อสินคาและบริการที่มีราคาสูง หรืออีกกรณีหนึ่งคือ การใช้
สินคาและบริการท่ีไมมีคุณภาพ
ดังนั้น จึงไดมีการวัดและจัดอันดับประเทศตาง ๆ เพ่ือบงบอกถึงสถานการณ การทุจริต ซึ่งการทุจริต
ที่ผานมานอกจากจะพบเห็นขาวการทุจริตดวยตนเอง และผานสื่อตาง ๆ แลว ยังมี ตัวชี้วัดที่สาคัญอีกตัวหนึ่งที่ได
รับการยอมรับ คือ ตัวชี้วัดขององคกรเพื่อความโปรงใสนานาชาติ (TRANSPARENCY INTERNATIONAL : TI) ไดจัด
อันดับดัชนีชี้วัดภาพลักษณคอรรัปชันประจาป 2560 พบวา ประเทศไทยได 37 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100
คะแนน อยูอันดับที่ 96 จากการจัดอันดับทั้งหมด 180 ประเทศทั่วโลก หากเทียบกับป 2559 ประเทศไทยได
คะแนน 35 คะแนน อยูอันดับที่ 101 เทากับวาประเทศไทยมีคะแนนความโปรงใสดีขึ้น แตยังแสดงใหเห็นวา
ประเทศไทยยังมีการทุจริตคอรรัปชันอยูในระดับสูง ซึ่งสมควรไดรับการแกไขอยางเรงดวน โดยคะแนนที่ประเทศ
ไทยไดรับต้ังแตอดีต – ปจจุบัน ไดคะแนนและลาดับ ดังนี้
65
ตารางท่ี 1 แสดงภาพลักษณคอรรัปชันของประเทศไทย ระหวางป 2547 – 2560
ป พ.ศ. คะแนน อันดับ จานวนประเทศ
2547 3.60 (คะแนนเต็ม 10) 64 146
2548 3.80 (คะแนนเต็ม 10) 59 159
2549 3.60 (คะแนนเต็ม 10) 63 163
2550 3.30 (คะแนนเต็ม 10) 84 179
2551 3.50 (คะแนนเต็ม 10) 80 180
2552 3.40 (คะแนนเต็ม 10) 84 180
2553 3.50 (คะแนนเต็ม 10) 78 178
2554 3.40 (คะแนนเต็ม 10) 80 183
2555 37 (คะแนนเต็ม 100) 88 176
2556 35 (คะแนนเต็ม 100) 102 177
2557 38 (คะแนนเต็ม 100) 85 175
2558 38 (คะแนนเต็ม 100) 76 168
2559 35 (คะแนนเต็ม 100) 101 176
2560 37 (คะแนนเต็ม 100) 96 180
ท่ีมา : HTTP://WWW.MUA.GO.TH/USERS/BHES/PDF/ANTI-CORRUPTION%20EDUCATION/ANTI-
CORRUPTION%20EDUCATION.PDF
เม่ือจัดอันดับประเทศในกลุมอาเซียน จานวน 10 ประเทศ เพื่อเปรียบเทียบดัชนีช้ีวัดภาพ
ลักษณ คอรรัปชันในป พ.ศ. 2560 ประเทศสิงคโปรยังคงอันดับหน่ึงในกลุมอาเซียนเชนเดียวกับ ป พ.ศ.
2559 ตามตารางท่ี 2
ตารางที่ 2 แสดงภาพลักษณคอรรัปชัน ประจาป 2558-2560 ในภูมิภาคอาเซียน
อันดับในอาเซียน ประเทศ คะแนนป 2560 คะแนนป 2559 คะแนนป 2558
1 สิงคโปร 84 84 85
2 บรูไน 62 58 -
3 มาเลเซีย 47 59 50
4 อินโดนีเซีย 37 37 36
5 ไทย 37 35 38
6 เวียดนาม 35 33 31
7 ฟลิปปนส 34 35 35
8 เมียนมาร 30 28 22
9 ลาว 29 30 26
10 กัมพูชา 21 21 21
ท่ีมา:http://www.mua.go.th/users/bhes/pdf/Anti-Corruption%20Education/Anti-
Corruption%20Education.pdf
66
ผลคะแนนดัชนีภาพลักษณการคอรรัปชัน (CORRUPTION PERCEPTION INDEX : CPI) ในป พ.ศ. 2561
ประเทศไทยได 36 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน เปนอันดับที่ 99 จาก 180 ประเทศท่ัวโลก และเปน
อันดับ 5 ในประเทศกลุมอาเซียน จานวน 10 ประเทศ
ผลกระทบของการทุจริตตอการพัฒนาประเทศ
การทุจริตมีผลกระทบตอการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ดาน เปนพื้นฐานที่กอใหเกิดความขัดแยงของ คน
ในชาติ จากการเห็นประโยชนสวนตนมากกวาประโยชนของประเทศ ประชาชนไดรับบริการสาธารณะหรือ สิ่ง
อานวยความสะดวกไมเต็มที่อยางที่ควรจะเปน เงินภาษีของประชาชนตกไปอยูในกระเปาของผูทุจริต และ
ผลกระทบอื่น ๆ อีกมากมาย นอกจากนี้แลว หากพิจารณาในแงการลงทุนจากตางประเทศเพื่อประกอบกิจการ
ตาง ๆ ภายในประเทศ พบวา นักลงทุนตางประเทศจะมองวาการทุจริตถือวาเปนตนทุนอยางหนึ่ง ซึ่งนักลงทุน
จากตางประเทศจะใชประกอบการพิจารณาการลงทุนกับปจจัยดานอื่น ๆ ทั้งนี้ หากตองเสียตนทุน ที่สูงจากการ
ทุจริต นักลงทุนจากตางประเทศอาจพิจารณาตัดสินใจยายการลงทุนไปยังประเทศอื่น สงผลให การจางงาน
การสรางรายไดใหแกประชาชนลดลง เมื่อประชาชนมีรายไดลดลงก็จะสงผลตอการจัดเก็บภาษีอากรซึ่งเปนราย
ไดของรัฐลดลง จึงสงผล ตอการจัดสรรงบประมาณและการพัฒนาประเทศ
ในการปองกันและปราบปรามการทุจริตของประเทศไทยจะมีหนวยงานหลักที่ดาเนินการปองกัน และ
ปราบปรามการทุจริต คือ สานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (สานักงาน ป.ป.ช.)
นอกจากนี้ยังมีหนวยงานอื่นที่มีภารกิจในลักษณะเดียวกันหรือใกลเคียงกับสานักงาน ป.ป.ช. เชน สานักงานการ
ตรวจเงินแผนดิน สานักงานผูตรวจการแผนดิน สานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตใน
ภาครัฐ นอกจากนี้ยังมีหนวยงานภาคเอกชนที่ใหความรวมมือในการปองกันและปราบปรามการทุจริต อีกหลาย
หนวยงาน และสาหรับหนวยงานภาครัฐในปจจุบันประเทศไทยไดมีการประกาศใชยุทธศาสตรชาติ วาดวยการ
ปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) เพื่อเปนมาตรการแนวทาง การดาเนินงาน
ทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน
รูปแบบการทุจริต
การทุจริตที่เกิดขึ้นในวงราชการและแวดวงการเมือง เปนพฤติกรรมที่เจาหนาที่ของรัฐใชอานาจ
ในตาแหนงหนาที่โดยมิชอบ เพื่อมุงหวังผลประโยชนสวนตัว สามารถแบงได 3 ลักษณะ คือ แบงตาม ผูที่เกี่ยว
ของ แบงตาม กระบวนการที่ใช และแบงตามลักษณะรูปธรรม ดังน้ี
1. แบงตามผูที่เกี่ยวของ เปนรูปแบบการทุจริตในเรื่องของอานาจและความสัมพันธแบบอุปถัมภ
ระหวางผูที่ใหการอุปถัมภหรือผูใหการชวยเหลือ กับผูถูกอุปถัมภหรือผูที่ไดรับการชวยเหลือ โดยใน กระบวนการ
การทุจริตจะมี 2 ประเภทคือ
1.1 การทุจริตโดยขาราชการ หมายถึงการกระทาที่มีการใชหนวยงานราชการเพื่อมุงแสวงหา
ผลประโยชนจากการปฏิบัติงานของหนวยงานนั้น ๆ มากกวาประโยชนสวนรวมของสังคมหรือประเทศ โดย
ลักษณะของการทุจริตโดยขาราชการสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้
1.1.1 การคอรรัปชันตามน้า (CORRUPTION WITHOUT THEFT) จะปรากฏขึ้นเมื่อเจาหนาที่ของ
รัฐ ตองการสินบนโดยใหมีการจายตามชองทางปกติของทางราชการ แตใหเพิ่มสินบนรวมเขาไวกับการจาย
คาบริการ ของหนวยงานนั้น ๆ โดยที่เงินคาบริการปกติที่หนวยงานนั้นจะตองไดรับก็ยังคงไดรับตอไป เชน
67
การจายเงินพิเศษ ใหแกเจาหนาที่ในการออกเอกสารตาง ๆ นอกเหนือจากคาธรรมเนียมปกติที่ตองจายอยูแลว
เปนตน
1.1.2 การคอรรัปชันทวนน้า (CORRUPTION WITH THEFT) เปนการคอรรัปชันในลักษณะท่ี
เจาหนาที่ของรัฐจะเรียกรองเงินจากผูขอรับบริการโดยตรง โดยที่หนวยงานนั้นไมไดมีการเรียกเก็บเงินคาบริการ
แตอยางใด เชน ในการออกเอกสารของหนวยงานราชการไมไดมีการกาหนดใหตองเสียคาใชจายในการ
ดาเนินการ แตกรณีน้ีมีการเรียกเก็บคาใชจายจากผูท่ีมาใชบริการของหนวยงานของรัฐ
1.2 การทุจริตโดยนักการเมือง (POLITICAL CORRUPTION) เปนการใชหนวยงานของทางราชการ
โดยบรรดานักการเมือง เพื่อมุงแสวงหาผลประโยชนในทางการเงินมากกวาประโยชนสวนรวมของสังคมหรือ
ประเทศเชนเดียวกัน โดยรูปแบบหรือวิธีการทั่วไปจะมีลักษณะเชนเดียวกับการทุจริตโดยขาราชการ แตจะเปน
ในระดับที่สูงกวา เชน การทุจริตในการประมูลโครงการกอสรางขนาดใหญ และมีการเรียกรับ หรือยอมจะรับ
ทรัพยสินหรือประโยชนตาง ๆ จากภาคเอกชน เปนตน
2. แบงตามกระบวนการท่ีใช มี 2 ประเภทคือ
2.1 เกิดจากการใช อานาจในการกาหนด กฎ กติกาพื้นฐาน เชน การออกกฎหมาย และ
กฎระเบียบ ตาง ๆ เพ่ืออานวยประโยชนตอกลุมธุรกิจของตนหรือพวกพอง
2.2 เกิดจากการใชอานาจหนาที่เพื่อแสวงหาผลประโยชนจากกฎ และระเบียบที่ดารงอยู ซึ่งมัก
เกิดจากความไมชัดเจนของกฎและระเบียบเหลานั้นที่ทาใหเจาหนาที่สามารถใชความคิดเห็นของตนได และการ
ใชความคิดเห็นน้ันอาจไมถูกตองหากมีการใชไปในทางท่ีผิดหรือไมยุติธรรมได
3. แบงตามลักษณะรูปธรรม มีทั้งหมด 4 รูปแบบ คือ
3.1 คอรรัปชันจากการจัดซื้อจัดหา (PROCUREMENT CORRUPTION) เชน การจัดซื้อสิ่งของในหนวย
งาน โดยมีการคิดราคาเพิ่มหรือลดคุณสมบัติแตกาหนดราคาซ้ือไวเทาเดิม
3.2 คอรรัปชันจากการใหสัมปทานและสิทธิพิเศษ (CONCESSIONAIRE CORRUPTION) เชน การให
เอกชนรายใดรายหน่ึงเขามามีสิทธิในการจัดทาสัมปทานเปนกรณีพิเศษตางกับเอกชนรายอ่ืน
3.3 คอรรัปชันจากการขายสาธารณสมบัติ (PRIVATIZATION CORRUPTION) เชน การขายกิจการ
ของรัฐวิสาหกิจ หรือการยกเอาท่ีดิน ทรัพยสินไปเปนสิทธิการครอบครองของตางชาติ เปนตน
3.4 คอรรัปชันจากการกากับดูแล (REGULATORY CORRUPTION) เชน การกากับดูแลในหนวยงาน
แลวทาการทุจริตตาง ๆ เปนตน
นักวิชาการที่ไดศึกษาเกี่ยวกับปญหาการทุจริต ไดมีการกาหนดหรือแบงประเภทของการทุจริต
เปนรูปแบบตาง ๆ ไว เชน การวิจัยของรองศาสตราจารย ดร.นวลนอย ตรีรัตน และคณะ ไดแบงการทุจริต คอร
รัปชันออกเปน 3 รูปแบบ ไดแก
1) การใชอานาจในการอนุญาตใหละเวนจากการปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐเพื่อลดตนทุนการ
ทาธุรกิจ
2) การใชอานาจในการจัดสรรผลประโยชนในรูปของส่ิงของ และบริการ หรือสิทธิใหแกเอกชน
3) การใชอานาจในการสรางอุปสรรคในการใหบริการแกภาคประชาชนและภาคธุรกิจ เนื่องจาก
เงินเดือนและผลตอบแทนในระบบราชการตา่ เกินไปจนขาดแรงจูงใจในการทางาน
68
ในฐานะประชาชนคนไทย เราตางมีหนาที่ในการเปนพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย การชวยกัน
กาจัดการทุจริตถือเปนหนาท่ีของคนไทยทุกคน
การรวมกลุมเพ่ือสรางสรรคและปองกันการทุจริต
การรวมกลุมเพื่อสรางสรรคและปองกันการทุจริตเปนการรวมกลุมกันเพื่อดูแล ตรวจสอบ สามารถ
ชวยใหการปองกันและกาจัดการทุจริตเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งผูเรียนสามารถศึกษากรณีตัวอยางไดจาก
คลิปวีดิโอ ตอไปน้ี
แมคาและคนในตลาดรวมตัวกันต่อตานผูที่มา ซ้ือของ ซึ่งเปนบุคคล ที่
ทุจริตการเลือกตั้ง
ท่ีมา : HTTPS://WWW.YOUTUBE.COM/WATCH?V=6XTI4QCGXZS จาก ACT
คนยื่นเงินใหกับเจาหนาท่ี ซ่ึงเจาหนาท่ีที่เปนลูกน้องไม่
ยอมรับหัวหนาท่ีโกง และ ออกมาต่อตาน
สิ่งที่ปรากฏในคลิปวีดิโอ ทั้ง 2 เรื่อง เปนเครื่องยืนยันวา หากพวกเราในฐานะสมาชิกในสังคมรวมมือ
กัน ในการปฏิบัติตนตามกฎ กติกา ของชุมชน สังคม รวมทั้งตอตานบุคคล องคกร ที่กระทาการทุจริต ใชการ
ลงโทษ ทางสังคม โดยการกดดันและแสดงปฏิกิริยาตอตานใหเกิดความอับอายขายหนา และไดรับโทษของการ
ทุจริต ตามกฎหมาย เพราะการทุจริตที่เกิดขึ้นไมวาจะเปนระดับใด ลวนแลวแตสงผลกระทบในทางลบตอสังคม
และประเทศชาติ ดังนั้น การปลูกฝงใหคนมีความละอายและไมทนตอการทุจริต รวมถึงการรวมกลุม เพื่อสราง
สรรคและปองกันการทุจริต จึงเปนหนทางหนึ่งที่จะแกปญหาการทุจริตในประเทศของเราได
เรื่องที่ องคประกอบของโมเดล STRONG
จิตพอเพียงตานทุจริต ตามที่ประเทศไทยไดมียุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการ
ทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ไดมีการวิเคราะหภาพอนาคตของประชาชนและสังคมไทยในระยะ 5 ป
ขางหนา ไววา หากยุทธศาสตรชาติฯ ไดรับความรวมมือรวมใจจากทุกภาคสวนของสังคมไทยในการนาไป ปฏิบัติ
จริง ประชาชนไทยจะมีความตื่นตัวต อการทุจริตมากขึ้น มีการใหความสนใจตอขาวสารและตระหนักถึง
ผลกระทบของการทุจริตที่มีตอประเทศ มีการแสดงออกซึ่งการตอตานการทุจริตทั้งในชีวิตประจาวันและ การ
แสดงออกผานสื่อสาธารณะและสื่อสังคมออนไลนตาง ๆ ประชาชนในแตละชวงวัยไดรับกระบวนการ กลอมเกลา
ทางสังคมวา การทุจริต ถือเปนพฤติกรรมที่นอกจากจะผิดกฎหมายและทาใหเกิดความเสียหายตอ ประเทศแลว
69
ยังเปนพฤติกรรมที่ผิดจริยธรรม ไมไดรับการยอมรับจากสังคม ประชาชนตองเริ่มเรียนรูการ ปรับเปลี่ยนฐาน
ความคิดท่ีทาใหสามารถแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมได วัฒนธรรมทางสังคมที่มี
ฐานอยูบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องจากมีพื้นฐานจิตที่พอเพียงมีความ ละอายตอการทุจริต
ประพฤติมิชอบ และไมยอมใหผูอ่ืนกระทาการทุจริตอันสงผลใหเกิดความเสียหายตอสังคม สวนรวม
หน วยงานทุกภาคส วนต องให ความสาคัญอย างแท จริงกับการตระหนักถึงจิตพอเพียงต านทุจริต
โดยประชาชนทุกคนนาการประยุกต หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ประกอบกับหลักการต อตานการ
ทุจริต อื่น ๆ เพื่อสรางฐานคิดจิตพอเพียงตอตานทุจริตใหเกิดขึ้นเปนพื้นฐานความคิดของปจเจกบุคคลโดย
ประยุกตหลัก “STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต” ซึ่งคิดคนโดย รองศาสตราจารย ดร.มาณี ไชยธีรา-นุวัฒศิริ
ในป พ.ศ. 2560 มาเปนแนวทางในการพัฒนาวัฒนธรรมหนวยงาน รวมพัฒนาใหเกิด ความเอื้อเฟออาทร ตอกัน
บนพื้นฐาน ของจริยธรรมและ จิตพอเพียง
แสวงหาความรูอย่างตอเนื่อง บุคคลและหน่วยงาน
ปฏิบัติงานบนฐาน ของ
เพ่ือใหเทาทันตอสถานการณการ ความโปรงใส
ทุจริต
รูและพรอม ลงมือปอง
กันทุจริต
ที่มา : HTTP://WWW.STOPCORRUPTION.MOPH.GO.TH=สะกดจิตเขาสูภวังค
70
STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต ประกอบดวย
1) S (SUFFICIENT) : ความพอเพียง หมายถึง ผูนา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน
นอมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกตเปนหลักความพอเพียงในการทางาน การดารงชีวิต
การพัฒนาตนเองและสวนรวม รวมถึงการปองกันการทุจริตอยางยั่งยืน ซึ่งความพอเพียงตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งของ
มนุษยแมวาจะแตกตางกันตามพื้นฐาน แตการตัดสินใจวาความพอเพียงของตนเองตองตั้งอยูบนความมีเหตุมีผล
รวมทั้งตองไมเบียดเบียนตนเอง ผูอื่น และสวนรวม ความพอเพียงดังกลาวจึงเปนภูมิคุมกันใหบุคคลนั้น ไม
กระทาการทุจริต ซึ่งตองใหความรูความเขาใจ และปลุกใหต่ืนรู
2) T (TRANSPARENT): ความโปรงใส หมายถึง ผูนา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชนตอง
ปฏิบัติงานบนฐานของความโปรงใส ตรวจสอบได ดังนั้น จึงตองมีและปฏิบัติตามหลักปฏิบัติ ระเบียบ ขอปฏิบัติ
กฎหมาย ดานความโปรงใส ซ่ึงตองใหความรูความเขาใจ และปลุกใหตื่นรู
3) R (REALIZE): ความตื่นรู หมายถึง ผูนา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน มีความรู
ความเขาใจ และตระหนักรูถึงรากเหงาของปญหาและภัยรายแรงของการทุจริตประพฤติมิชอบ ภายในชุมชน
และประเทศ ความต่ืนรูจะบังเกิดเมื่อไดพบเห็นสถานการณที่เส่ียงตอการทุจรต ยอมจะมีปฏิกิริยาเฝาระวัง และไม
ยินยอมตอการทุจริตในที่สุดซึ่งตองใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับสถานการณการทุจริตที่เกิดขึ้น ความรายแรง
และผลกระทบตอระดับบุคคลและสวนรวม
4) O (ONWARD): มุงไปขางหนา หมายถึง ผูนา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน มุง
พัฒนาและปรับเปลี่ยนตนเองและสวนรวมใหมีความเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน บนฐานความโปรงใส ความ
พอเพียงและรวมสรางวัฒนธรรมสุจริตใหเกิดขึ้นอยางไมยอทอ ซึ่งตองมีความรูความเขาใจในประเด็น ดังกลาว
5) N (KNOWLEDGE): ความรู หมายถึง ผูนา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน ตองมีความรู
ความเขาใจสามารถนาความรูไปใช สามารถวิเคราะห สังเคราะห ประเมินไดอยางถองแท ในเรื่อง สถานการณ
การทุจริต ผลกระทบที่มีตอตนเองและสวนรวม ความพอเพียงตานทุจริต การแยกแยะผลประโยชน สวนตนและ
ผลประโยชนสวนรวมที่มีความสาคัญยิ่งตอการลดการทุจริตในระยะยาว รวมทั้ง ความอายไมกลา กระทาการ
ทุจริตและเกิดความไมทนเมื่อพบเห็นวามีการทุจริตเกิดข้ึนเพื่อสรางสังคมไมทนตอการทุจริต
6) G (GENEROSITY): ความเอ้ืออาทร หมายถึง คนไทยมีความเอ้ืออาทร มีเมตตา มีนา้ ใจ ตอกัน
บนฐานของจิตพอเพียงตานทุจริต ไมเอื้อตอการรับหรือการใหผลประโยชนตอพวกพอง
เร่ือง การประยุกตหลกความพอเพียงดวยโมเดล STRONG : จิตพอเพยงตานทุจริต
การนาหลักความพอเพียงมาประยุกตใชดวยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต มาใชในเรื่อง
ตาง ๆ ตอไปน้ี
2.1 ความพอเพียง (SUFFICIENT)
พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) พระราชทานแกบุคคล
ตาง ๆ ที่เขาเฝาฯ ถวายชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัยสวนจิตรลดาฯ
พระราชวังดุสิต วันที่ 4 ธันวาคม 2541
71
“...คาวาพอเพียง มีความหมายกวางออกไปอีก ไมไดหมายถึงการมีพอสาหรับใชของตัวเองมี ความ
หมายวาพอมี พอกิน พอมีพอกินนี้ ถาใครไดมาอยูที่นี่ ในศาลานี้เมื่อ 24 ป 2517 ถึง 2541 ก็ 24 ป ใชไหม วันนั้น
ไดพูดถึงวา เราควรจะปฏิบัติใหพอมีพอกิน พอมี พอกินนี้ก็แปลวาเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถาแตละคนพอมี พอ
กิน ก็ใชได ยิ่งถาทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดีและประเทศไทยก็เวลานั้น ก็เริ่มจะเปน ไมพอมี บางคนก็มีมาก บาง
คนก็ไมมีเลย สมัยกอนนี้พอมีพอกิน มาสมัยนี้ชักจะไมพอมีพอกิน จึงตองมีนโยบาย ที่จะทาเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อที่จะใหทุกคนมีพอเพียงได
“...คาวาพอก็เพียง พอเพียงนี้ก็พอดังนั้นเอง คนเราถาพอในความตองการ ก็มีความโลภนอย เมื่อมี
ความโลภนอย ก็เบียดเบียนคนอื่นนอย ถาทุกประเทศใดมีความคิด อันนี้ไมใชเศรษฐกิจ มีความคิดวา ทาอะไร
ตองพอเพียง หมายความวา พอประมาณ ไมสุดโตง ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงนี้อาจจะ มีมาก
อาจจะมีของหรูหราก็ได แตวาตองไมไปเบียดเบียนคนอื่น ตองใหพอประมาณ พูดจาก็พอเพียง ทาอะไร
ก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง...”
“...อยางเคยพูดเหมือนกันวา ทานทั้งหลายท่ีนั่งอยูตรงน้ี ถาไมพอเพียง คือ อยากจะไปนั่งบนเกาอี้ ของ
ผูที่อยูขาง ๆ อันนั้นไมพอเพียงและทาไมได ถาอยากนั่งอยางนั้นก็เดือนรอนกันแนเพราะวาอึดอัด จะทาให
ทะเลาะกัน และเมื่อมีการทะเลาะกันก็ไมมีประโยชนเลย ฉะนั้น ควรที่จะคิดวาทาอะไรพอเพียง...”
“...ถาใครมีความคิดอยางหน่ึงและตองการใหคนอ่ืนมีความคิดอยางเดียวกับตัวซึ่งอาจจะไมถูก อันนี้
ก็ไมพอเพียง การพอเพียงในความคิดก็คือ แสดงความคิด ความเห็นของตัว และปลอยใหอีกคนพูดบาง และมา
พิจารณาวาที่เขาพูดกับที่เราพูด อันไหนพอเพียง อันไหนเขาเรื่อง ถาไมเขาเรื่องก็แกไขเพราะวาถาพูด กันโดยท่ี
ไมรูเรื่องกัน ก็จะกลายเปนการทะเลาะ จากการทะเลาะดวยวาจาก็กลายเปนการทะเลาะดวยกาย ซึ่งในที่สุดก็
นามาสูความเสียหาย เสียหายแกคนสองคนที่เปนตัวการ เปนตัวละครทั้งสองคน ถาเปนหมูก็เลย เปนการตีกัน
อยางรุนแรง ซึ่งจะทาใหคนอื่นอีกมากเดือดรอน ฉะนั้น ความพอเพียงนี้ก็แปลวา ความพอประมาณ และความมี
เหตุผล...”
การนอมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ
“เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ ตั้งแต
ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดาเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเปนที่จะตองมีระบบ
ภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้
จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนาวิชาการตาง ๆ มาใชในการ
วางแผนและการดาเนินการทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
เจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสานึกในคุณธรรมความซื่อสัตยสุจริต และ ใหมีความ
รอบรูที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อให สมดุลและ
พรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม
จากโลกภายนอกไดเปนอยางดี”
72
การนอมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ ทุกคนสามารถนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง มาเปนหลักปฏิบัติในการดาเนินชีวิตได ไมใชเฉพาะในหมูคนจนหรือเกษตรกร โดยตอง
“ระเบิดจากขางใน” คือ การเกิดจิตสานึก มีความศรัทธา เชื่อมั่น เห็นคุณคา และนาไปปฏิบัติดวยตนเอง แลวจึง
ขยายไปสูครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติตอไป
ความพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว มุงเนนใหบุคคลและครอบครัวอยูรวมกันอยางมีความสุข ทั้ง
ทางกายและทางใจ พึ่งพาตนเองอยางเต็มความสามารถ ไมทาอะไรเกินตัว ดาเนินชีวิตโดยไมเบียดเบียน ตนเอง
และผูอื่น รวมทั้งใฝรูและมีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง เพื่อความมั่นคงในอนาคต และเปนที่พึ่งให ผูอื่นไดใน
ที่สุด เชน หาปจจัยสี่มาเล้ียงตนเองและครอบครัวจากการประกอบสัมมาชีพ รูขอมูลรายรับ-รายจาย ประหยัดแต
ไมใชตระหนี่ ลด-ละ-เลิก อบายมุข สอนใหเด็กรูจักคุณคา รูจักใช และรูจักออมเงินและสิ่งของ เครื่องใช ดูแล
รักษาสุขภาพ มีการแบงปนภายในครอบครัว ชุมชน และสังคมรอบขาง รวมถึงการรักษา วัฒนธรรม ประเพณี
และการอยู รวมกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล อมได อยางเหมาะสม
ความพอเพียงระดับชุมชน คนในชุมชนมีการรวมกลุมกันทาประโยชนเพื่อสวนรวม ชวยเหลือเกื้อกูล
กัน ภายในชุมชนบนหลักของความรูรักสามัคคี สรางเปนเครือขายเชื่อมโยงกันในชุมชนและนอกชุมชนทั้งดาน
เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน การวมกลุมอาชีพ องคกรการเงิน สวัสดิการชุมชน
การชวยดูแลรักษาความสงบ ความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอย รวมทั้งการใชภูมิปญญาทองถิ่นและ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในชุมชนมาสรางประโยชนไดอยางเหมาะสม เพื่อสรางเสริมชุมชนใหมี ความ
เขมแข็งและมีความเปนอยูท่ีพอเพียง
ความพอเพียงในภาคธุรกิจเอกชน เริ่มจากความมุงมั่นในการดาเนินธุรกิจที่หวังผลประโยชนหรือ
กาไรในระยะยาวมากกวาระยะสั้น แสวงหาผลตอบแทนบนพื้นฐานของการแบงปน มุงใหทุกฝายที่เกี่ยวของ ได
รับประโยชนอยางเหมาะสมและเปนธรรมทั้งลูกคา คูคา ผูถือหุน และพนักงานดานการขยายธุรกิจตองทา อยาง
คอยเปนคอยไป รวมทั้งตองมีความรูและเขาใจธุรกิจของตนเอง รูจักลูกคา ศึกษาคูแขง และเรียนรู
การตลาดอยางถองแท ผลิตในสิ่งที่ถนัดและทาตามกาลังสรางเอกลักษณที่แตกตางและพัฒนาคุณภาพ
ผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง มีการเตรียมความพรอมตอการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น มีความซื่อสัตยรับผิดชอบตอ
สังคมและปองกันผลกระทบตอสงแวดลอม ที่สาคัญตองสรางเสริมความรูและจัดสวัสดิการใหแกพนักงานอยาง
เหมาะสม
ความพอเพียงระดับประเทศ เปนการบริหารจัดการประเทศ โดยเริ่มจากการวางรากฐาน ใหประชาชน
สวนใหญอยูอยางพอมีพอกิน และพึ่งตนเองได มีความรูและคุณธรรมในการดาเนินชีวิต มีการ รวมกลุมของชุมชน
หลาย ๆ แหง เพ่ือแลกเปลี่ยนความรู สืบทอดภูมิปญญา และรวมกันพัฒนาตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงอยางรู
รักสามัคคี เสริมสรางเครือขายเชื่อมโยงระหวางชุมชนใหเกิดเปนสังคมแหงความ พอเพียงในท่ีสุด
การประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในดานตาง ๆ
ดานเศรษฐกิจ ไมใชจายเกินตัว ไมลงทุนเกินขนาด คิดและวางแผนอยางรอบคอบ มีภูมิคุมกัน ไมเสี่ยง
เกินไป
73
ดานจิตใจ มีจิตใจเขมแข็ง มีจิตสานึกท่ีดี เอ้ืออาทร เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตัว
ดานสังคมและวัฒนธรรม ชวยเหลือเก้ือกูลกัน รูรัก สามัคคี สรางความเขมแข็งใหครอบครัวและ
ชุมชน รักษาเอกลักษณ ภาษา ภูมิปญญา และวัฒนธรรมไทย
ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รูจักใชและจัดการอยางฉลาดและรอบคอบ ฟนฟูทรัพยากรเพื่อ
ใหเกิดความยั่งยืนและคงอยูชั่วลูกหลาน
ดานเทคโนโลยี รูจักใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคลองกับความตองการและสภาพแวดลอมและ
พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปญญาชาวบาน
ผลท่ีคาดวาจะไดรับ
การนอมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในทุกภาคสวนของสังคมอยางจริงจัง จะ
สงผลใหการพัฒนาประเทศกาวหนาไปอยางสมดุล มั่นคง และยั่งยืน พรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้ง
ดานชีวิต เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และเทคโนโลยี อันจะนาไปสู “ความอยูเย็นเปนสุข รวมกันใน
สังคมไทย”
74
แบบทดสอบย่อยครง้ั ท่ี 16
รายวิชา การป้องกันการทุจริต (สค22022)
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
1. ผูเรียนสามารถมีสวนรวมในการสงเสริมสนับสนุนการเลือกต้ังไดอยางไร ตอบมาอยางนอย 3 ขอ
ตอบ............................................................................................................................. .........................
............................................................................................................................. .............................................
...................................................................................... ....................................................................................
2. ใหผูเรียนตอบคาถามจากภาพที่กาหนดให ดังนี้
2.1 ผูเรียนคิดวา เด็กผูชายกาลังทาอะไร
ตอบ............................................................................................................................. ............................
2.2 ผูเรียนคิดวา การกระทาของเด็กผูชายคนน้ีถูกตองหรือไม อยางไร
ตอบ.........................................................................................................................................................
2.3 ถาผูเรียนเปนเด็กผูชายคนน้ี ผูเรียนจะทาตามพฤติกรรมของเด็กผูชายคนนี้หรือไม เพราะอะไร
ตอบ............................................................................................................................. ............................
2.4 ถาผูเรียนลอกขอสอบเพ่ือนแลวไดคะแนนสูง ผูเรียนจะภาคภูมิใจหรือไม เพราะเหตุใด
ตอบ........................................................................................................................................... ..........
2.5 ถามีการสอบ ผูเรียนควรปฏิบัติตนอยางไร
ตอบ............................................................................................................................. ........................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
75
3. ใหผูเรียนรวมกลุมนาเสนอความรูและความคิดเห็นที่ไดจากการระดมความคิดรวมกันเพื่อหาแนวทางปองกัน
การทุจริต ดังตอไปนี้
3.1 ใหผูเรียนยกตัวอยางการกระทาท่ีเปนการทุจริตคอรรัปชัน
ตอบ............................................................................................................................. ........................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
............................................................................................................................. .............................................
...................................................................... ....................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.2 ใหผูเรียนบอกผลเสียที่เกิดจากการทุจริตคอรรัปชัน
ตอบ............................................................................................................................. ........................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
............................................................................................................................. .............................................
...................................................................... ....................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.4 ใหผูเรียนบอกแนวทางการปองกันการทุจริตคอรรัปชัน
ตอบ............................................................................................................................. ........................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
76
เฉลยแบบทดสอบยอ่ ยครัง้ ที่ 16
รายวิชาการป้องกนั การทุจริต รหสั วชิ า สค 22022
1. ผเู รียนสามารถมีสวนรวมในการสงเสริม สนับสนุนการเลอื กต้ังไดอยางไร ตอบมาอยางนอย 3 ขอ
1. รณรงคใหมีการไปใชสิทธ์ิลงคะแนนในการเลือกตั้ง
2. ติดตามขาวสารของผูแทนมาเผยแพร
3. การรวมกจิ กรรมประกวดคาขวญั
4. เชญิ ชวนกนั ไปใชสิทธอ์ิ อกเสียง
5. แนะนาคนในครอบครัว หรือเพื่อนบานใหเหน็ ภัยของการซื้อขายเสียง และรวมกันรณรงค ตอตาน
2. จากภาพท่กี าหนด
2.1 เดก็ ผชู ายกาลังทาขอสอบ
2.2 ไมถูกตอง เพราะ คดิ จะลอกขอสอบของผูอ่ืน
2.3 ไมควรทา เพราะ เปนสิ่งทไ่ี มถกู ตอง ไมซอื่ สตั ยตอตนเอง
2.4 ไมภาคภูมิใจ เพราะ ไมไดทาขอสอบตามความสามารถของตน และเปนการทจุ รต
2.5 ผูเรยี น ควรปฏบิ ัติตนดังน้ี
1. ไมลอกขอสอบ หรือไมถามคาตอบจากเพ่อื นผูเรยี น
2. ตง้ั ใจเรียน ทาแบบฝกหัด และอานหนังสืออยางสมา่ เสมอ
3. เม่อื เรียนไมเขาใจควรถามผูรู ครู เพือ่ น
3. ใหผูเรียนรวมกลุมนาเสนอความรูและความคิดเห็นที่ไดจากการระดมความคิดรวมกันเพื่อหาแนวทางปองกัน
การทุจริต ดังตอไปน้ี
3.1 ตวั อยางการกระทาทีเ่ ปนการทจุ ริตคอรรปั ชนั มีดงั น้ี
1. การเสนอโครงการหรือเลอื กโครงการที่ไมใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจมาก แตมีโอกาส ทีจ่ ะไดเงินใต
โตะมากกวา
2. การซอื้ วัสดุอปุ กรณท่ีตา่ กวามาตรฐาน หรอื ราคาสงู กว
าความเปนจริง
3. การจายเงินใหกบั เจาหนาทเี่ พ่ือใหมีการยกเวนกฎ ระเบียบท่เี กี่ยวกับการบงั คบั ใชกฎหมาย
4. การยกั ยอกทรัพยสินของรัฐไปเปนของตน
5. การซือ้ ขายตาแหนงหรือการกระทาท่มี ีผลกระทบตอระบบคณุ ธรรมของราชการ
6. การใหและรบั สนิ บน การขูเข็ญบงั คับและการใหส่งิ ลอใจ ฯลฯ
3.2 ผลเสยี ทีเ่ กดิ จากการทุจริตคอรรปั ชนั
1. บอนทาลายศีลธรรมของทุกสงั คม
2. รกุ ลา้ สทิ ธทิ างสงั คมและเศรษฐกิจของคนยากจนและออนแอ
3. ทาใหประชาธปิ ไตยออนแอ
4. ขดั ตอกฎ กตกิ า กฎหมาย ซง่ึ เปนพน้ื ฐานของทกุ สงั คม
77
5. ขดั ขวางการพัฒนาสงั คมและประเทศชาติ
6. ทาใหสังคมผูยากไรและผูดอยโอกาสไมไดรับประโยชนจากระบบเศรษฐกจิ เสรี
3.3 แนวทางการปองกนั การทจรติ คอรรัปชนั
1. มคี วามซอ่ื สัตย สุจริต ไมทนตอการทจรติ และการกระทาทไี่ มถกู ตอง คานงึ ถงึ ประโยชน
สวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน
2. เลอื กผูนาชมุ ชน นกั การเมืองที่มีความมุงมนั่ ตงั้ ใจทจะอาสาเขามาทางานเพอ่ื ประโยชน
ของบานเมืองอยางแทจริง
3. แสวงหาความรูใหเทาทันเทคนิคกลโกง และการทจริตคอรรปชนั ทุกวิธี
4. มีสวนรวมในการรณรงคตอตานการทจุ รติ อยางตอเน่ืองในชุมชน หมูบาน ตาบล และ ทุก
ภาคสวนของสังคมฯลฯ
78
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายสปั ดาห์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น คร้งั ท่ี 17
กล่มุ สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าการป้องกันการทุจรติ รหสั วิชา สค 22022
เวลาเรียน 40 ชวั่ โมง แบบ ((On-Site) จานวน 6 ชัว่ โมง การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 14 ช่ัวโมง)
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองนราธวิ าส
วนั ท.ี่ .....................................เดอื น.................................พ.ศ..............................
มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ
1. มคี วามรู้ ความเข้า ใจ ดาเนินชีวติ ตามวิถีประชาธปิ ไตย กฎระเบยี บของประเทศเพื่อนบา้ น
2. มคี วามรู้ ความเข้า ใจ หลกั การพฒั นาชุมชน สังคม สามารถวเิ คราะหข์ ้อมูล และกาหนดแนวทางการ
พัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม ใหส้ อดคล้องกับสภาพการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ปัจจบุ ัน
เรื่องท่ี 4 พลเมืองกับความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
ตัวชวี้ ัด
1. รแู ละและเข้าใจ เกี่ยวกับความรบั ผิดชอบเกีย่ วกบั ตนเองและผู้อนื่
๒. ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี ท้ังรับผิดชอบต่อตนเองและผ้อู นื่
3. รู เข้าใจ บอกความหมายของความเป็นพลเมือง
4. ประพฤตปิ ฏิบัติตนตามหลักความเป็นพลเมืองในการดาเนินชีวิต
5. รู เขา้ ใจ บอกความหมายของความเปน็ พลโลก
6. ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนตามหลักความเปน็ พลโลกในการดาเนินชีวติ
เน้อื หา
1. ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อนื่
2. ความเป็นพลเมือง
3. ความเปน็ พลโลก
79
วิธกี ารเรยี น : แบบพบกลุ่ม (ON-SITE)
กระบวนการจัดการเรยี นรู้
กาหนดสภาพ ปัญหา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O : Orientation)
1. ขัน้ ตอนนาเขา้ สู่บทเรียน ( เวลา 30 นาที )
1.1 ครูทักทายนักศึกษาและนาเข้าสู่บทเรียนโดยแจ้งข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบันให้นักศึกษาทราบพร้อมท้ัง
แลกเปลี่ยนเรียนร้ขู อ้ มลู ขา่ วสารเหตุการณ์ปัจจุบนั รว่ มกันวเิ คราะห์และแสดงความคดิ เห็นร่วมกันในชน้ั เรียน
1.2 ครชู ี้แจงสาระจุดประสงคก์ ารเรียนรู้เนือ้ หากระบวนการจดั การเรียนรูส้ ือ่ และแหลง่ การเรียนรู้การวัดและ
ประเมินผลและการตดิ ตาม
1.3 ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั วเิ คราะหแ์ ละแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาความต้องการรูปแบบในการ
เรยี นและการแสวงหาความรู้จากส่อื ต่าง ๆ ในการเรยี นวิชาการปอ้ งกันการทุจรติ ในพลเมอื งกับความรับผดิ ชอบตอ่
สังคม
การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ ( N : New way of lerning)
2. ขัน้ จดั การเรยี นการสอน ( เวลา 4 ชวั่ โมง )
1 ครูใหน้ กั ศึกษานาเสนอผลงานท่ีไดม้ อบหมายใหใ้ นสัปดาห์ที่ผา่ นหนา้ ช้ันเรียน
2. ครแู ละนักศกึ ษารว่ มกันสรปุ เนื้อหาทเี่ พือ่ นๆนาเสนอหนา้ ชน้ั เรียน
3. ครอู ธบิ ายเนื้อหาตามหนังสอื เรยี นวิชาการป้องกันการทุจรติ เรือ่ ง พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสงั คม
จากสอื่ แหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ และให้นกั ศึกษาสรปุ ลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน.
4. ครูให้นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มเพอ่ื ศกึ ษาข้อมูลเกีย่ วกับการป้องกันการทจุ ริต จากสอื่ และแหลง่ เรยี นรู้
ต่าง ๆ
5. ครใู ห้นักศกึ ษาแบง่ กลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม โดยให้นักศึกษาในแต่ละกลุ่มคัดเลือกประธานเลขานุการและส่ง
ตวั แทนออกมาจบั ฉลากเลือกกลมุ่ ดังน้ี
กลุ่มท่ี 1. ความรับผิดชอบต่อตนเองและผ้อู ื่น
กล่มุ ท่ี 2. ความเป็นพลเมือง
กลุ่มท่ี 3. ความเปน็ พลโลก
จากนั้นใหน้ กั ศึกษาแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาหาความรู้เพมิ่ เติม และคน้ ควา้ จากหนังสือเรียน กศน .e - book ETV
อนิ เทอรเ์ นต็ หรือแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ จากนัน้ ออกมานาเสนอหน้าช้ันเรียน
6. ครูใหค้ วามร้เู พมิ่ เตมิ และตรวจสอบความถกู ตอ้ ง โดยใหน้ ักเรียนทุกคนฟังและจดบันทึกสิ่งที่ได้รับในแบบ
บนั ทึกการเรยี นรู้ กศน.
7. ครูสอนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการในเร่ืองความสุภาพ ความขยัน ความซ่ือสัตย์สุจริตความ
สามคั คี ความมีน้าใจ ความตรงตอ่ เวลา และความมวี นิ ยั
80
การปฏบิ ัติและนาไปประยุกต์ (I : Implementation)
3. ขั้นการปฏิบัติและนาไปประยุกต์ใช้ ( 30 นาที )
1. ครูและนักศกึ ษารว่ มกันแลกเปล่ียนเรียนรู้ สรปุ ความรเู้ บ้ืองต้นเก่ยี วกบั เรอื่ งพลเมืองกับความรับผิดชอบ
ต่อสงั คม จากสอื่ และแหลง่ เรียนรตู้ ่าง ๆ ตรวจสอบความถูกต้องในเน้ือหาทนี่ กั ศึกษานามานาเสนอพรอ้ มบันทึกลงใน
แบบบนั ทกึ การเรียนรู้ กศน.
2. ครใู หน้ ักศึกษาทาแบบทดสอบย่อยในรปู แบบปรนัยจานวน 20 ข้อ โดยใช้เอกสารหรอื google from
พรอ้ มเฉลย ประเมนิ ผล และใหน้ ักศกึ ษาบนั ทึกคะแนนลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน.
3. ครใู ห้นกั ศึกษาสรปุ การทาความดี และคุณธรรมท่ีได้ปฏิบัตพิ รอ้ มบันทึกลงในสมดุ บนั ทกึ ความดีเพ่ือการ
ประเมนิ คุณธรรม
ขน้ั ประเมินผล (E : Evaluation)
4. ข้ันสรปุ และประเมินผล (1 ชัว่ โมง)
4.1 ครูมอบหมายให้นกั ศกึ ษาไปอา่ นทบทวนเน้ือหาเพ่ิมเติมในเรอื่ ง พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบต่อสังคม
จากหนงั สอื เรยี นออนไลน์ และใหส้ รปุ ลงในแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน.
4.2 ครูมอบหมายใหน้ ักศึกษาไปศึกษาค้นคว้าและทาใบงาน
เรอ่ื งท่ี 1. ความรบั ผดิ ชอบตอตนเองและผูอ่ืน
เรอ่ื งท่ี 2. ความเปนพลเมือง
เรอื่ งที่ 3. ความเปนพลโลก
4.3 ครตู ดิ ตามงานท่ีไดม้ อบหมายและศึกษา เพื่อติดตามความคบื หน้าดงั น้ี
1 ติดตามงานทไี่ ด้รบั มอบหมายสัปดาหท์ ผี่ ่านมา
2 การทากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ (กพช.)
3 ตดิ ตามสอบถามสุขภาพของนักศึกษา (การตรวจสุขภาพ / ความสะอาด / การแต่งกาย)
4 ตดิ ตามสอบถามการทาความดีในแต่ละวัน สัปดาห์ทผี่ า่ นมา และตดิ ตามการบนั ทึกกิจกรรมทที่ า
ความดีลงในสมุดบันทึกความดีเพ่อื การประเมนิ คุณธรรม
5 ตดิ ตามสอบถามเกย่ี วกับงานอดเิ รก สุนทรยี ภาพ การเล่นกฬี า การใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์
ฯลฯ
6. ตดิ ตามความกา้ วหน้าการทาโครงงาน
ส่อื และแหล่งเรยี นรู้
1. หนังสอื เรียนวิชา สค22022 วิชาการปอ้ งกันการทุจรติ
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4
2. คมู่ ือนักศกึ ษา
3. แบบทดสอบย่อย เร่ือง พลเมอื งกับความรับผิดชอบต่อสังคม
4. ใบงานที่ 1. ใบงานที่ 2.
5. แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) วิชาการป้องกันการทจุ รติ จานวน 20 ขอ้
6. แบบบนั ทกึ การเรียนรู้ กศน.
81
ขนั้ มอบหมายงาน
1. ครมู อบหมายใหน้ กั ศึกษาไปอ่านทบทวนเนื้อหาเพ่มิ เติมในเรื่อง พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อสงั คม จาก
หนังสอื เรยี นออนไลน์ และให้สรปุ ลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.
2. ครมู อบหมายใหน้ กั ศกึ ษาไปศกึ ษาค้นคว้าและทาใบงาน
เรือ่ งที่ 1. ความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
เรอ่ื งท่ี 2. ความเป็นพลเมือง
เรอ่ื งที่ 3. ความเป็นพลโลก
การวัดผลประเมนิ ผล
1. การสงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ มรายบคุ คล / รายกลุ่ม
2. แบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน.
3. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน
4. ตรวจใบงาน
5. แบบทดสอบย่อย
6. ประเมินคุณธรรม
82
วธิ กี ารเรียน : แบบออนไลน์ (ON-LINE)
กระบวนการจัดการเรยี นรู้
การกาหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation)
1. ข้นั ตอนนาเข้าสู่บทเรียน ( เวลา 30 นาที )
1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนาเข้าสู่บทเรียนโดยกล่าวถึงเร่ือง พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม ให้
นกั ศึกษาช่วยกันตอบ พรอ้ มท้งั แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ร่วมกันวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน ผ่านทาง Google
Classroom หรอื LINE กลมุ่ พรอ้ มอธิบายถงึ เหตผุ ลความจาเป็นทตี่ ้องจัดกจิ กรรมการเรียนรปู แบบออนไลน์
1.2 ครนู าเข้าสู่บทเรยี นโดยครูเปิดวดี ที ัศน์ เร่ือง พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อสังคม คืออะไร สาคัญ
อย่างไร? จาก https://www.youtube.com/watch?v=rXZH2TD70vs โดยครสู ่งลงิ ค์ผา่ นทาง Google
Classroom หรอื แอปพลเิ คชนั LINE ให้นกั ศึกษารับชมเพื่อให้นักศึกษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจ พร้อมทั้งยกตวั อยา่ ง
ความรับผิดชอบตอตนเองและผูอ่ืน จากวีดีทัศนท์ นี่ ักศึกษารบั ชม โดยให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์และแลกเปลี่ยน
เรยี นร้แู สดงความคดิ เห็นผ่านทาง Google Classroom หรือ แอปพลเิ คชัน LINE เพ่ือเชื่อมโยงเข้าสบู่ ทเรยี นตอ่ ไป
การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรยี นรู้ (N : New ways of learning)
2. ขนั้ จดั การเรยี นการสอน ( เวลา 4 ช่ัวโมง )
2.1 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาหาความรู้ เร่ือง พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม จากหนงั สือ
เรยี นออนไลน์ รายวชิ า การปอ้ งกันการทจุ ริต สค 22022 ตามลิงค์
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 หรอื จากส่ือ และแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ และใหส้ รปุ ลงในแบบ
บันทกึ การเรยี นรู้ กศน. ในหวั ข้อต่อไปนี้
1. ความรบั ผดิ ชอบตอตนเองและผูอื่น
2. ความเปนพลเมือง
3. ความเปนพลโลก
2.2 ครมู อบหมายให้นกั ศึกษาเลือกหัวข้อทส่ี นใจ จานวน 1 เรอ่ื ง ให้ไปศึกษาคน้ คว้าจากหนังสอื เรียน
ออนไลน์รายวิชาการปอ้ งกันการทจุ ริต สค 22022 ตามลิงค์ ttp://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4
หรือจากแหลง่ การเรยี นร้ตู ่าง ๆ และใหน้ กั ศึกษาจัดทาสรปุ ความรู้เปน็ แผนผงั ความคดิ ลงในแบบบนั ทึกการเรยี นรู้
กศนดงั น้ี .
1. ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อนื่
2. ความเป็นพลเมือง
3. ความเป็นพลโลก
2.3 ครสู อนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเรอื่ ง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตญั ญู
กตเวทคี วามขยนั ความประหยดั ความซ่อื สตั ย์ ความมีนา้ ใจ ความมีวินยั ศาสน์ กษตั ริย์ รักความเป็นไทย และยึดมั่น
ในวิถีชวี ิตและการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ผ่านทาง LINE กลุ่ม
83
การปฏบิ ัติและนาไปประยกุ ต์ (I : Implementation)
3. ขั้นสรปุ และประเมนิ ผล ( เวลา 30 นาที )
3.1 ครูให้นกั ศึกษาทาแบบทดสอบย่อย เรื่อง พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อ จากชุดแบบทดสอบ หรือจาก
Google from พรอ้ มเฉลยและประเมินผล ใหน้ ักศกึ ษาบันทึกคะแนนลงในแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน.
3.2 ครใู ห้นักศกึ ษาทาแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) แบบปรนัย วชิ า การปอ้ งกนั การทจุ รติ
จานวน 20 ข้อ จากชุดแบบทดสอบ หรือผ่านทาง Google Form พร้อมเฉลยและประเมินผล ให้นักศึกษาบันทึก
คะแนนลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.
3.3 ครใู ห้นกั ศกึ ษาสรปุ การทาความดแี ละคณุ ธรรมท่ีไดป้ ฏบิ ัติ พรอ้ มบันทึกลงในสมดุ บันทึกความดี
เพ่ือการประเมินคณุ ธรรม
ข้นั ประเมินผล (E : Evaluation)
4. ข้ันสรปุ และประเมนิ ผล (1 ช่ัวโมง)
4.1 ครูมอบหมายให้นกั ศกึ ษาไปอ่านทบทวนเน้ือหาเพิ่มเตมิ จากหนังสอื เรียน เรื่อง การป้องกันการทจุ ริต ใน
หวั ขอ้ ต่อไปน้ี เรอื่ ง
1. ความรับผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อนื่
2. ความเป็นพลเมือง
3. ความเป็นพลโลก จากหนงั สอื เรยี นออนไลน์รายวิชาการป้องกนั การทุจรติ สค 22022 ตามลิงค์
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 และสรปุ ลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน .
4.2 ครตู ดิ ตามงานทไี่ ด้มอบหมายนักศึกษา เพ่ือตดิ ตามความคืบหนา้ ทางแอปพลิเคชนั Line ดงั น้ี
1. ตดิ ตามงานท่ีได้รับมอบหมายสัปดาห์ทผี่ ่านมา
2. ติดตามการทากจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต (กพช.)
3. ตดิ ตามสอบถามสุขภาพของนกั ศกึ ษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแต่งกาย)
4. ตดิ ตามสอบถามการทาความดีในแต่ละวัน สปั ดาหท์ ผี่ ่านมาและตดิ ตามการบันทกึ
กจิ กรรมที่ทาความดีลงในสมดุ บนั ทกึ บนั ทกึ ความดเี พ่ือการประเมินคณุ ธรรม
5. ตดิ ตามสอบถามเก่ียวกบั งานอดิเรก สุนทรยี ภาพ การเล่นกฬี า การใชเ้ วลาวา่ งให้เป็น
ประโยชน์ ฯลฯ
6. ติดตามความกา้ วหนา้ การทาโครงงาน ตามวันเวลาทคี่ รูกาหนด
ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
1. Google Classroom / แอปพลเิ คชนั LINE
2. หนังสือเรียนวิชาการปอ้ งกันการทจุ ริต สค 22022 หรอื หนงั สือเรยี นออนไลน์ ลิงค์
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4
3. วดี ีทัศน์, YouTube เกีย่ วกบั เรอื่ ง พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อสังค ตามลิงค์
https://www.youtube.com/watch?v=rXZH2TD70vs
84
4. แบบทดสอบย่อย เรอ่ื ง พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบต่อสังค ตามลิงค์ แบบปรนยั จานวน 10 ข้อ (ชุด
แบบทดสอบ หรือ Google Form)
5. แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) เรอ่ื ง พลเมืองกับความรับผดิ ชอบตอ่ สงั ค ตามลงิ ค์ จานวน 20 ข้อ
(ชดุ แบบทดสอบ หรือ Google Form)
6. แบบบันทกึ การเรยี นรู้ กศน.
ข้นั มอบหมายงาน
1. ครูมอบหมายใหน้ ักศกึ ษาไปอา่ นทบทวนเนอ้ื หาเพม่ิ เติมจากหนังสอื เรยี น เรื่อง การป้องกันการทจุ รติ ใน
หวั ขอ้ ต่อไปนี้ เรือ่ ง
1. ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อ่ืน
2. ความเป็นพลเมือง
3. ความเป็นพลโลก จากหนงั สือเรยี นออนไลน์รายวชิ าการป้องกันการทุจรติ สค 22022 ตามลงิ ค์
http://online.pubhtml5.com/hpzd/ouqh/#p=4 และสรปุ ลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน .
การวัดและประเมนิ ผล
1. การสังเกตพฤติกรรมการมีรายบคุ คล/รายกลุม่
2. การตรวจแบบบันทกึ การเรียนรู้ กศน.
3. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน/ช้ินงาน
4. การตรวจใบงาน
5. การตรวจแบบทดสอบ
6. การประเมินคณุ ธรรม