The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ครั้งที่ 2-3แผนวิชาเศรษฐกิอพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by g_shock_33, 2022-05-26 06:50:20

ครั้งที่ 2-3แผนวิชาเศรษฐกิอพอเพียง

ครั้งที่ 2-3แผนวิชาเศรษฐกิอพอเพียง

1

ตารางวิเคราะห์เนอื้ หาส

หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับกา
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 256

สาระทกั ษะการดำเนนิ ชีวิต รายวชิ าเศ

จำนวน 1 หน
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษ

มาตรฐานท่ี 4.1 มีความรู้ความเขา้ ใจ เจตคตทิ ีด่ เี กย่ี วกับหลักปรชั ญาของเศร

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ
รู้ เข้าใจ ตระหนกั และเห็นคุณคา่ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ยอ

ครอบครวั ชมุ ชน และสังคม อยา่ งสนั ติสขุ สร้างความร่วมมือในการพัฒนาชมุ
หัวเรอื่ ง 1. ความพอเพยี ง
3. การแกป้ ัญหาชุมชน

ครงั้ ที่ ตัวชว้ี ดั เนือ้ หา

2 1. รเู้ ขา้ ใจและวเิ คราะห์แนวคิด 1. ความเปน็ มา ความหมายหลกั แนวคดิ
หลกั การปรชั ญาของเศรษฐกิจ 2. ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พอเพียง 3. การจัดการความรู้

2

สาระการเรยี นร้รู ายวิชา

ารศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
64 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
ศรษฐกิจพอเพียง รหัสวิชา ทช31001
นว่ ยกติ 40 ช่ัวโมง
ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองนราธิวาส

รษฐกิจพอเพียง และสามารถ ประยุกต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ ได้อย่างเหมาะสม

อมรับ ประยกุ ต์ใชใ้ น ชมุ ชน และ มคี มุ้ กันในการดาเนนิ ชวี ิต และการอยรู่ ว่ มกันใน
มชน ท้องถ่ิน

วเิ คราะห์เนอื้ หา วธิ กี ารจดั การเรียนรู้

ง่าย ปาน ยาก เนือ้ หา กรต. ครสู อน สอน โครงงาน จำนวน

กลาง ลึกซงึ้ เสริม ช่วั โมง

ด  -- - (1) - - - 1
 - -
 - - (1) (0.5) - - 1.5

 (1) (0.5) - - 1.5



2. ชุมชนพอเพียง

ครง้ั ที่ ตวั ชีว้ ดั เนอ้ื หา

2 1. อธบิ ายและวเิ คราะห์การบริหาร 1. ความหมาย/ความสำคัญ การบริหาร

(ต่อ) จัดการชมุ ชน องค์กร ตามหลัก จดั การชมุ ชน องค์กร

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2. การบรหิ ารจัดการชมุ ชน องค์กร ตาม

2. อธบิ ายการบริหารจดั การชุมชน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

องค์กร และประยกุ ต์ใช้ในการดา 3. กระบวนการ เทคนคิ การบริหาร

เนินชีวติ อยา่ งสมดลุ พร้อมรับต่อ จดั การชุมชน องค์กร

การเปลย่ี นแปลงของชุมชนได้

3

วิเคราะห์เนื้อหา วิธีการจดั การเรียนรู้

งา่ ย ปาน ยาก เน้อื หา กรต. ครูสอน สอน โครงงาน จำนวน

กลาง ลึกซ้ึง เสริม ชัว่ โมง

ร 

 - - - (1) - - - 1

ม   - - (1) (1) - -2

  - - (1) (1) - -2

3. การแก้ปญั หาชุมชน

ครัง้ ที่ ตัวชีว้ ัด เนอื้ หา

2 1. สำรวจและวเิ คราะหป์ ัญหาของ 1.ปัญหาของชุมชนด้านสังคม

(ตอ่ ) ชมุ ชนด้านสังคม เศรษฐกจิ เศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ้ มและ

สง่ิ แวดล้อมและวฒั นธรรม-พน้ื ฐานของ วัฒนธรรมพ้นื ฐาน

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.การพัฒนาชมุ ชนด้านสงั คม

2. อธิบายแนวทางพัฒนาชมุ ชนดา้ น เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อมและ
สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอ้ มและ วัฒนธรรมตามหลักแนวคดิ ปรัชญา
วัฒนธรรมตามหลักแนวคดิ ปรัชญาของ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3.การมีสว่ นร่วมแกป้ ัญหาหรือ
เศรษฐกจิ พอเพียงได้
พัฒนาชมุ ชนด้านสงั คม เศรษฐกจิ
3. เสนอแนวทางและมสี ว่ นรว่ มในการ สง่ิ แวดลอ้ มและวฒั นธรรมโดยใช้
แกป้ ญั หาหรือพัฒนาชมุ ชนดา้ นสงั คม ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกจิ สงิ่ แวดล้อมและวัฒนธรรม 4.การสง่ เสรมิ เผยแพร่ ขยาย
โดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลงานการปฏิบัติตามหลกั ปรัชญา

4. มีส่วนรว่ มในการส่งเสรมิ เผยแพร่ ของเศรษฐกิจพอเพยี งของบุคคล
ขยายผลงานการปฏบิ ตั ติ ามหลกั
ชุมชนท่ปี ระสบผลสำเรจ็ สอู่ าเซยี น
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของ

บุคคล ชุมชนท่ีประสบผลสำเรจ็

รวมจำนวนชั่วโมง

4

วิเคราะห์เนือ้ หา วิธกี ารจัดการเรยี นรู้

ง่าย ปาน ยาก เนื้อหา กรต. ครูสอน สอน โครงงาน จำนวน

กลาง ลกึ ซึง้ เสริม ชัว่ โมง

  - - (2) (1) - -3

  - - (2) (1) - -3

 - -  - 2.5
(2) (0.5) -

 - (2) (0.5) - - 2.5
-

- - - - 14 6 - - 20

4. สถานการณข์ องประเทศกับความพอเพียง

คร้งั ท่ี ตวั ชีว้ ัด เน้อื หา

3 1. อธบิ ายและวิเคราะหก์ ารพัฒนา 1.การวเิ คราะห์สถานการณ์ของ

ประเทศตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ ประเทศโดยใชห้ ลักปรัชญา

พอเพยี งได้ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. ตระหนักในความสำคัญของการ 2.การพัฒนาประเทศ
พฒั นาประเทศและเลือกแนวทางหลกั -สถานการณ์ของประเทศที่เกี่ยวขอ้ ง
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมา กบั ผ้เู รียน(ภาวะเงนิ เฟอ้ ราคา
ผลผลติ ตกตำ่ คา่ ครองชีพสูงฯลฯ)
3. ประยกุ ต์ใชใ้ นการดำเนนิ ชีวิตอยา่ ง -การเลือกแนวทางการดาเนินชีวติ
สมดลุ และพร้อมรบั ต่อการ ภายใตส้ ถานการณ์ของประเทศโดย
เปล่ียนแปลงของประเทศชาติ ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

5

วิเคราะห์เน้อื หา วิธกี ารจดั การเรยี นรู้

ง่าย ปาน ยาก เนอ้ื หา กรต. ครูสอน สอน โครงงาน จำนวน

กลาง ลึกซ้ึง เสริม ช่วั โมง

  - - (2) (1) - -3

  - - (2) (1) - -3






๕. สถานการณ์โลกกับความพอเพียง

คร้งั ที่ ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หา

3 1. วเิ คราะห์การพฒั นาประเทศให้ 1.สถานการณ์ของโลก(ประเทศ

(ตอ่ ) ก้าวหนา้ ไปไดอ้ ยา่ งสมดุลภายใต้ ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน)์ ท่ี

กระแสโลกาภิวัตนโ์ ดยยึดหลักปรชั ญา เก่ยี วขอ้ งกบั ภาวะโลกร้อน การ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ส่ือสารไร้พรมแดน น้ามันเชื้อเพลงิ

2. ตระหนกั ในความสำคญั ของการ ฯลฯ

พัฒนาประเทศภายใต้กระแสโลกา 2.การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ของโลก

ภวิ ตั นแ์ ละเลือกแนวทางหลกั ปรชั ญา โดยใชห้ ลักปรชั ญาเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต์ใช้ในการ พอเพยี ง

ดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งสมดุลและพร้อมรบั ต่อ 3.การเลือกแนวทางการดำเนินชวี ติ

การเปลย่ี นแปลงของประเทศภายใต้ ภายใต้สถานการณ์ของโลกโดยใช้

กระแสโลกาภวิ ตั น์ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

6

วิเคราะห์เนอื้ หา วธิ ีการจดั การเรียนรู้

งา่ ย ปาน ยาก เน้อื หา กรต. ครูสอน สอน โครงงาน จำนวน

กลาง ลึกซงึ้ เสรมิ ช่วั โมง

  - - (2) (0.5) - - 2.5

ก   - - (2) (0.5) - - 2.5
-2
- - -  -
(2) -



๖. การประกอบอาชพี ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งเพ่อื การสรา้ งรายได้ อยา่ งมนั่ คง ม

ครงั้ ท่ี ตัวช้ีวดั เน้อื หา

3 1. อธิบายแนวทาง กระบวนการ 1. แนวทาง กระบวนการประกอบอาชีพ

(ตอ่ ) เข้าส่อู าชพี ได้ 1.1 การเข้าสูอ่ าชีพ

2. อธบิ ายแนวทางการพฒั นา 1.2 การพัฒนาอาชีพ

อาชพี ได้ 2. การสร้างงานอาชีพตามหลักปรัชญา

3. สามารถสรา้ งงานตามกลุ่ม ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5 กลมุ่ อาชพี

อาชพี ท่เี หมาะสมกับตนเองได้ 2.1 เกษตรกรรม

อยา่ งน้อย 1 อาชีพ 2.2 อุตสาหกรรม

4. นำความรู้มาใช้เป็นฐานในการ 2.3 พาณชิ ยกรรม

ประกอบอาชีพ 2.4 ความคดิ สรา้ งสรรค์

5. มคี ุณธรรมในการประกอบ 2.5 การอานวยการและอาชีพเฉพาะทาง

อาชีพ 3. แนวทางการประกอบอาชีพให้ประสบ

ความสำเร็จ

3.1 มีความรู้ คือ ตอ้ งรอบรู้ รอบคอบ

และระมัดระวัง

3.2 คุณธรรมท่สี ่งเสรมิ การประกอบ

อาชีพใหป้ ระสบความสำเรจ็ คอื ความ

ซื่อสัตย์ สจุ ริต ขยัน อดทน แบง่ ปัน

รวมจำนวนช่ัวโมง

7

ม่ังคัง่ และย่ังยนื

วิเคราะห์เนื้อหา วิธกี ารจัดการเรยี นรู้

ง่าย ปาน ยาก เนอื้ หา กรต. ครูสอน สอน โครงงาน จำนวน

กลาง ลึกซ้งึ เสรมิ ชว่ั โมง

  - - (1) (1) - -2

  - - (1) (1) - -2

ง -3


  - - (2) (1) -

- - - - 14 6 - - 20

8

9

แผนการจัดการเรยี นรรู ายสปั ดาห ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย คร้ังที่ 2
รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง รหสั วิชา ทช31001
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง

พบกลุม 6 ชั่วโมง /การเรียนรดู วยตนเอง 14 ชั่วโมง
วนั ที.่ .....................เดอื น...................................พ.ศ. ..........

มาตรฐานท่ี 4.1 มีความรู้ความเข้าใจ เจตคติทด่ี ีเกี่ยวกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และสามารถ ประยุกตใ์ ช้
ในการดาเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม

มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ

รู้ เข้าใจ ตระหนัก และเห็นคุณค่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยอมรับ ประยุกต์ใช้ใน ชุมชน และ มี
ภูมิคมุ้ กันในการดำเนินชีวติ และการอยู่รว่ มกนั ในครอบครัว ชมุ ชน และสังคม อยา่ งสันติสุข สร้างความร่วมมือในการ
พฒั นาชุมชน ท้องถิน่

เรื่อง ความพอเพยี ง
ตวั ชี้วัด ๑. รเู้ ข้าใจและวิเคราะห์แนวคิด หลกั การปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เร่อื ง ชุมชนพอเพียง
ตัวชวี้ ดั ๑. อธบิ ายและวิเคราะหก์ ารบรหิ ารจดั การชุมชน องคก์ ร ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๒. อธิบายการบริหารจัดการชุมชนองค์กร และประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลพร้อมรับต่อการ

เปลีย่ นแปลงของชุมชนได้

เร่อื ง การแก้ปัญหาชมุ ชน
ตัวชี้วัด ๑. สำรวจและวิเคราะห์ปัญหาของชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม-พ้ืนฐาน

ของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. อธิบายแนวทางพัฒนาชุมชนดา้ นสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อมและวัฒนธรรมตามหลกั แนวคิดปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียงได้
๓. เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและ

วัฒนธรรมโดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๔. มีส่วนร่วมในการส่งเสริม เผยแพร่ ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
บคุ คล ชุมชนท่ีประสบผลสำเร็จ

10

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) (ครั้งที่ 2)

วชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ทช31001
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

1. ขอ้ ใดอธบิ ายถึงแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี งได้ถกู ต้องท่ีสุด
ก. แนวคิดนี้ใชไ้ ดเ้ ฉพาะเกษตรกรเทา่ นนั้
ข. ความพอเพยี ง คือ การรจู้ กั คิด พอใจกับสง่ิ ทีต่ นมีอยู่
ค. ความพอเพียง หมายถึง พออยู่ พอกนิ พอใช้ และไมพ่ ง่ึ พาผ้อู ่นื
ง . ความพอเพยี ง คือ การพอมี พอกินสำหรบั ตนเอง และครอบครัว

2. ขอ้ ใดต่อไปนี้ ควรยึดถือเป็นแบบอยา่ งในการดำรงชวี ติ ตามหลกั การเศรษฐกิจพอเพียงในชว่ งภาวะเศรษฐกจิ ของ
ประเทศตกต่ำ

ก. นติ ยา ส่งั จองรถยนตร์ ่นุ ใหม่ที่นำเข้ามาจากยโุ รป
ข. จนั ทิมา นงั่ รถประจำทางมาทำงานแทนการขับรถส่วนตัว
ค. สาวติ รี เดนิ ทางไปพักผอ่ นตา่ งประเทศเป็นประจำทุกเดอื น
ง. พรรณทภิ า สง่ั ซื้อเครอ่ื งสำอางของต่างประเทศทางอนิ เตอรเ์ น็ต

3. นายสมศักด์ิ อายุ ๔๕ ปี ถูกบรษิ ทั จา้ งใหอ้ อกจากงาน พรอ้ มท้ังให้เงนิ สดจำนวนหน่งึ ถ้านกั เรยี นเป็นสมศักดิ์ จะ
ทำอยา่ งไรจึงจะได้ช่ือวา่ ดำเนินชวี ิตตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง

ก. เปิดร้านขายของชำ
ข. นำเงนิ ไปลงทุนในตลาดหุน้
ค. นำเงินไปซอ้ื รถใหมป่ ้ายแดง
ง. นำเงินไปฝากธนาคารเพอื่ กินดอกเบย้ี

4. ทฤษฎีใหม่ หมายถงึ อะไร
ก. หลักการบริหารประเทศแบบใหม่
ข. หลกั การบริหารเศรษฐกจิ แบบใหม่
ค. หลักการบรหิ ารจดั การทดี่ ิน และนำ้ เพือ่ การเกษตร
ง. หลักการบริหารจดั การด้านอตุ สาหกรรมการเกษตร

11

5. หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียงที่สำคัญทสี่ ดุ คืออะไร
ก. การจัดการ
ข. การพง่ึ ตนเอง
ค. การวมกลุ่มของชาวบ้าน
ง. ความเอ้ือเฟื้อเผือ่ แผ่ และความสามัคคี

6. ตามหลักทฤษฎใี หม่ ขั้นตอนสดุ ท้าย คอื อะไร
ก. การดำเนินธุรกจิ ชุมชน
ข. การผลิตที่พึ่งพาตนเอง
ค. การดำเนนิ ธุรกจิ ระดับชาติ
ง. การรวมกลมุ่ กนั เปน็ สหกรณ์

7. ข้อใด มใิ ช่ การจดั แบง่ พ้ืนท่ีการเกษตรตามวิธีการเกษตรทฤษฎีใหม่
ก. สระนำ้
ข. พ้นื ทอ่ี ยูอ่ าศัย
ค. พ้นื ทอ่ี ุตสาหกรรม
ง. พ้ืนทที่ ำไร่ทำสวน

8. อตั ราส่วนการแบง่ พ้ืนทก่ี ารเกษตรทฤษฎีใหม่ คอื ข้อใด
ก. ๑๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๓๐
ข. ๓๐ : ๑๐ : ๓๐ : ๓๐
ค. ๓๐ : ๓๐ : ๑๐ : ๓๐
ง. ๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๑๐

9. นกั เรียนสามารถนำหลักการเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ นการเรียนยา่ งไร
ก. เนน้ การพง่ึ พาตนเองเปน็ สำคญั
ข. ไม่ทำความเดือดร้อนใหบ้ คุ คลอื่น
ค. ปฏิบัตติ นในลักษณะการพออยู่พอกิน
ง. ถกู ทกุ ข้อ

12

10. ตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียง การดำเนินชีวติ และการพัฒนาประเทศ ควรยึดหลกั ใด
ก. อิทธิบาท ๔
ข. สงั คหวัตถุ ๔
ค. ทางสายกลาง
ง. หริ ิ - โอตตัปปะ

11. ในการดำรงชวี ิต นกั เรยี นต้องดำเนินการอย่างไรจงึ จะเหมาะสม และดที ส่ี ุด
ก. การพึ่งตนเอง
ข. การพึ่งบดิ ามารดา
ค. การใหผ้ อู้ ื่นช่วยเหลือ
ง. คอยพระเจา้ ประทานให้

12. สงิ่ ใดเป็นเป้าหมายสำคญั ของเศรษฐกจิ พอเพียง
ก. ความหรูหรา
ข. ความฟุม่ เฟอื ย
ค. ความอยู่ดกี ินดี
ง. ความเป็นเอกภาพ

13. เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรชั ญาในการดำรงชวี ิตของคนกลมุ่ ใด
ก. นักเรยี น
ข. เกษตรกร
ค. ขา้ ราชการ
ง. ทกุ กลมุ่ อาชีพ

14. แนวความคดิ เกย่ี วกับระบบเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ พระราชดำริในพระมหากษัตรยิ ์พระองค์ใด
ก. พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อย่หู วั
ข. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว
ค. พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ง. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช

13

15. การผลิตและการบริโภคในข้อใดเปน็ ไปตามแนวทางพระราชดำริ "เศรษฐกิจพอเพยี ง" มากท่สี ดุ
ก. การผลิต การบริโภคสนิ คา้ และบรกิ ารทผ่ี ลติ ขึน้ จากทรพั ยากรในประเทศ
ข. การผลิตสินคา้ และบริการใหเ้ พยี งพอแกก่ ารบริโภคของประชาชนในประเทศ
ค. การบริโภคสนิ คา้ และบริการเฉพาะที่ผลติ ในประเทศและเทา่ ที่มีอยู่ในประเทศ
ง. การผลิตเฉพาะสนิ คา้ เกษตรกรรมออกจำหนา่ ยให้เพียงพอแก่การบรโิ ภคในประเทศ

16. ข้อใด มิใช่ หลักการของระบบเศรษฐกิจพอเพยี ง
ก. การพงึ่ ตนเอง
ข. การอยู่อย่างสันโดษ
ค. การรวมกลุ่มของชาวบ้าน
ง. ความสามคั คี และเอื้อเฟ้อื เผื่อแผ่

17. แนวทางปฏบิ ตั ิตนตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง ข้อใดท่ีนักเรยี นควรยดึ เปน็ แนวทางในการดำเนนิ ชวี ิต
ก. ประกอบอาชีพด้วยความสจุ รติ
ข. นำทรพั ยากรมาใช้อย่างรู้คณุ ค่า
ค. ใช้ความรู้ในการพฒั นาภูมิปัญญาท้องถิน่
ง.มีความประหยัด ลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีวติ

18. แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี งได้กำหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแห่งชาติฉบับใด
ก. ฉบบั ท่ี ๖
ข. ฉบบั ท่ี ๗
ค. ฉบับท่ี ๘
ง. ฉบับท่ี ๑๐

19. เศรษฐกิจพอเพยี งเป็นระบบเศรษฐกิจท่ยี ึดหลักตรงกบั สำนวนไทยในข้อใด
ก. นำ้ ข้นึ ให้รบี ตกั
ข. ช้าๆ ได้พร้าเลม่ งาม
ค. ตนเป็นท่พี ึ่งแห่งตน
ง. เงนิ คอื งานบนั ดาลสขุ

20. การเกษตรกรรมวิธีใดทส่ี นบั สนุนแนวคิดทฤษฎใี หมม่ ากทส่ี ุด
ก. การปลกู พชื หมุนเวยี น
ข. การเลี้ยงปลาในกระชงั
ค. การปลกู พชื แบบขั้นบันได
ง. การเกษตรแบบผสมผสาน

ชื่อ - สกลุ ............................................................... รหัสนกั ศกึ ษา..................................กลุ่ม ............................

14

เฉลย

1. ค 2. ข 3. ก 4. ค 5. ข 6. ก

7. ค 8. ง 9. ง 10. ค 11. ก 12. ค

13. ง 14. ง 15. ก 16. ข 17. ง 18. ง

19. ค 20. ง

15

วธิ กี ารเรยี น : แบบพบกลุ่ม (ON-Site)

กระบวนการจดั การเรียนรู้
การกำหนดสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O : Orientation)
1.ข้ันนาํ เขาสูบทเรยี น (30 นาที)

1.1 ครทู ักทายนักศกึ ษา และนําเข้าสูบทเรยี นโดยแจงขาวสารเหตกุ ารณ์ปจจบุ นั ใหน้ กั ศึกษา
ทราบพร้อมทั้งแลกเรยี นเปลีย่ นเรียนรูขอ้ มูลขาวสารเหตุการณป์ จจุบนั ร่วมกันวิเคราะห และแสดงควาคดิ เห็น ร่วมกนั
ในช้ันเรยี น

1.2 ครูชี้แจง สาระสําคัญ จุดประสงค์การเรียนรู เนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู้ส่ือและแหลงการเรียนรู้
การวดั และประเมนิ ผล และการติดตาม ในรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง

1.3 ครูและนักศึกษาร่วมกันวิเคราะหและแสดงความ คิดเห็น เกี่ยวกับปัญหา ความตองการ รูปแบบในการ
เรยี น และการแสวงหาความรู้จากสื่อตาง ๆ ในการเรียนวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง เรื่อง ความพอเพียง

การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning)
2. ข้ันการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ( 3 ชว่ั โมง 30 นาท)ี

2.1 ครใู ห้นักศกึ ษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) แบบปรนยั วิชาเศรษฐกจิ พอเพียง
จำนวน 20 ข้อ จากชุดแบบทดสอบ หรือจาก Google Form โดยเน้นให้นักศึกษามีความซื่อสัตย์ในการทำ
แบบทดสอบ

2.2 ครูตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) และแจ้งให้นักศึกษาทราบทันที หรือผ่านแอปพลิเคชัน LINE
นักศกึ ษาบันทกึ คะแนนลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.

2.3 ครูอธบิ ายเน้ือหาตามหนังสือเรยี นเศรษฐกิจพอเพยี ง เกี่ยวกบั เรื่องความพอเพยี ง ดังน้ี
2.3.1 ความพอเพียงตามแนวคิดของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และให้นกั ศกึ ษาจดสรปุ ใจความสำคญั
ลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน.
2.4 ครอู ธิบายเนื้อหาตามหนงั สือเรียนเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกี่ยวกับเรอื่ งความพอเพยี ง ดังน้ี
2.4.1 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และ การจัดการความรู้
2.4.2 ความหมาย/ความสำคัญ การบรหิ ารจดั การชุมชน องค์กร
2.4.3 การบรหิ ารจดั การชมุ ชน องค์กร ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
๒.4 4 กระบวนการ เทคนคิ การบริหารจัดการชุมชน องค์กร
2.4.5 ปัญหาของชุมชนด้านสังคม เศรษฐกจิ ส่ิงแวดล้อมและวฒั นธรรมพืน้ ฐาน
2.4.6 การพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกจิ สง่ิ แวดล้อมและวฒั นธรรมตามหลักแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
และให้นกั ศกึ ษาจดสรุปใจความสำคญั ลงในแบบบันทกึ การเรียนรู้ กศน.

16

2.5 หลังจากการบรรยายแล้ว ให้นักศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมเก่ียวกับเร่ืองความพอเพียง โดยนักศึกษาสามารถ
ศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติมได้จากหนังสือเรียนเศรษฐกิจพอเพียง (ทช31001) หรือ ใบความรู้ที่ 1 หรือ E-book หรือหา
ความรเู้ พ่ิมเตมิ ได้จากอินเตอร์เน็ต

2.6 ครูให้นักศึกษาแบบกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน หรือแล้วแต่ตามความเหมาะสม และให้
นกั ศกึ ษาศกึ ษาเนอื้ หาเพมิ่ เติม ดังน้ี

กลุ่มท่ี 1 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และ การจดั การความรู้
กลมุ่ ท่ี 2 ความหมาย/ความสำคัญ การบรหิ ารจัดการชุมชน องค์กร
กลมุ่ ท่ี 3 การบริหารจดั การชุมชน องคก์ ร ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
กลมุ่ ที่ 4 กระบวนการ เทคนิคการบริหารจดั การชมุ ชน องคก์ ร
กลมุ่ ที่ 5 ปัญหาของชมุ ชนด้านสงั คม เศรษฐกจิ สง่ิ แวดล้อมและวฒั นธรรมพนื้ ฐาน
กลุ่มที่ 6 การพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อมและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
2.7 ครูให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอหน้าช้ันเรียน และให้นักศึกษาทุกคนจดบันทึกที่ได้จากการฟัง
ลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน. โดยครจู ะเปน็ ผู้ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ใหค้ วามรู้เพ่มิ เติมและขอ้ เสนอแนะ
2.8 ครูสอนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเร่ือง ความสะอาด ความสุภาพ ความขยัน ความ
ประหยดั ความซ่อื สัตยส์ ุจริต ความสามัคคี ความมีนำ้ ใจ ความมวี ินัย ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทย และยดึ มัน่ ในวถิ ี
ชวี ติ และการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ

การปฏบิ ัติและนำไปประยกุ ต์ (I : Implementation)
3. ขน้ั การปฏิบัติและนำไปประยุกตใ์ ช้ ( 30 นาที )

3.1 ครสู ุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอ เพ่ือแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นซึง่ กันและกัน สรปุ สงิ่ ท่ีไดเ้ รียนร้รู ว่ มกันและให้
นักศกึ ษาบนั ทึกความรู้ท่ีได้ ลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน.

3.2 นักศกึ ษานำความรทู้ ่ีไดจ้ ากการเรียนร้มู าเปน็ แนวทางในการแก้ปัญหาและการดำเนินชวี ิตในประจำวัน
ตอ่ ไป

ขน้ั ประเมนิ ผล (E : Evaluation)
4. ขั้นสรุปและประเมินผล (1 ชั่วโมง)

4.1 ครูและนักศึกษาสรุปส่ิงที่ได้เรียนรูร่วมกัน พรอมเพิ่มเติมความรู้และใหข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม นักศึกษา
บนั ทกึ ลงในแบบบนั ทึกการเรยี นรู้ กศน.

4.2 ให้นักศึกษาทําแบบทดสอบยอย เรื่อง ความพอเพียง ผา่ นเอกสารหรือ Google Form พรอมเฉลยและ
ประเมนิ ผล ใหน้ ักศกึ ษาบันทึกคะแนนลงในแบบบันทกึ การเรียนรู กศน.

4.3 ครูให้นักศึกษาสรุปการทําความดีและคุณธรรมท่ีไดปฏิบัติ พรอมบันทึกลงในสมุดบันทึกความดี เพ่ือการ
ประเมนิ คุณธรรม

17

5. ข้นั มอบหมายงาน
5.1 ครมู อบหมายใหน้ ักศกึ ษาไปทบทวนเน้อื หาของบทเรียนเพม่ิ เติม จากหนงั สือเรียนออนไลน์
(ลิงค์ http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1) พร้อมบันทึกสรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. ดงั นี้

- ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และ การจัดการความรู้
- ความหมาย/ความสำคัญ การบริหารจดั การชมุ ชน องคก์ ร
- การบริหารจดั การชุมชน องคก์ ร ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
- กระบวนการ เทคนคิ การบรหิ ารจัดการชมุ ชน องค์กร
- ปัญหาของชมุ ชนด้านสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ้ มและวฒั นธรรมพืน้ ฐาน
- การพัฒนาชมุ ชนด้านสงั คม เศรษฐกจิ สง่ิ แวดลอ้ มและวฒั นธรรมตามหลกั แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
5.2 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้าและทำในใบงาน เร่ืองความ โดยให้ใบงานผ่านทาง Google
Classroom แล้วสง่ ใบงานในการเรียนสปั ดาห์ต่อไป
6.ขั้นตดิ ตามผล (30 นาที)
6.1 ครูตดิ ตามงานทไ่ี ด้มอบหมายนกั ศึกษา เพอ่ื ติดตามความคบื หน้า ดังนี้
6.1.1 ตดิ ตามงานทไี่ ด้รับมอบหมายสปั ดาห์ทผ่ี ่านมา
6.1.2 การตดิ ตามการทำกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต (กพช.)
6.1.3 ติดตามสอบถามสุขภาพของนักศึกษา (การตรวจสุขภาพ/ความสะอาด/การ แตง่ กาย)
6.1.4 ตดิ ตามสอบถามการทำความดใี นแต่ละวัน สัปดาห์ที่ผ่านมาและตดิ ตามการ บันทึกกจิ กรรมทที่ ำความดี
ลงในสมดุ บนั ทกึ ความดเี พอื่ การประเมินคุณธรรม
6.1.5 ตดิ ตามสอบถามเกี่ยวกับงานอดิเรก สุนทรียภาพ การเล่นกีฬา การใชเ้ วลาว่าง ให้เป็นประโยชน์ ฯลฯ
6.1.6 ติดตามความก้าวหนา้ การทำโครงงาน
สื่อและแหลงการเรยี นรู
1. หนังสอื เรยี นวิชา ทช31001 เศรษฐกจิ พอเพียง
2. หนงั สอื เรียนออนไลน์ E-book
3. Power Point เรอื่ ง เศรฐกิจพอเพียง
4. แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) รายวชิ า ทช31001 จาํ นวน 20 ขอ (รปู แบบ Google Form)
5. ใบความรู้ เร่อื งความพอเพียง
6. แบบบนั ทกึ การเรียนรู้ กศน.
7. สมุดบนั ทึกความดี เพื่อประเมนิ คุณธรรม นกั ศึกษา กศน.
8. ค่มู ือนกั ศึกษา

18

การมอบหมายงาน กรต.
1. ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอานทบทวนเนื้อหาทั้งหมด เรื่อง ความพอเพียง และ สรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู
กศน.
2. ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศกึ ษาคนควา้ เรอื่ ง ความพอเพียง แล้วทําลงในใบงาน เร่ือง ความพอเพียง โดยให้ส
งในการเรยี นสปั ดาห์ตอไป
3. ครมู อบหมายนักศึกษาใหไ้ ปศกึ ษา เร่ืองความพอเพียง เพ่อื เตรียมการเรียนรูในครั้งต่อไป

การวดั และประเมินผล
1. การเขา้ เรียนดวยระบบออนไลน์
2. ตรวจแบบบนั ทกึ การเรยี นรู กศน.
3. ตรวจใบงาน
4. ตรวจแบบทดสอบ
5. ประเมนิ คุณธรรม

19

วธิ กี ารเรียน : แบบออนไลน์ (ON-Line)

กระบวนการจดั การเรยี นรู้
การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation)
1. ขั้นนำเข้าส่บู ทเรียน (30 นาท)ี

1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนำเข้าสู่บทเรียนโดยแจ้งข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน ผ่านทาง Google
Classroom หรือ LINE กลุ่ม ให้นักศึกษาทราบพร้อมท้ังแลกเรียนเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน
ร่วมกันวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน ผ่านทาง Google Classroom หรือ LINE กลุ่ม พร้อมอธิบายถึง
เหตผุ ลความจำเปน็ ทต่ี อ้ งจดั กิจกรรมการเรยี นรูปแบบออนไลน์

1.2 ครูช้ีแจง สาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา กระบวนการจัดการเรยี นรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
การวัดและประเมนิ ผล และการตดิ ตามในรายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผ่านทาง Google Classroom/Line กลุ่ม

1.3 ครูและนักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความ คิดเห็น เกี่ยวกับปัญหา ความต้องการ รูปแบบในการ
เรียน และการแสวงหาความรู้จากส่ือต่าง ๆ ในการเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านทาง Google Classroom/Line
กลุ่ม

การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning)
2. ข้นั จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน (3 ชัว่ โมง 30 นาท)ี

2.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) แบบปรนัย วิชาเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 20 ข้อ
โดยใช้ Google Form ผ่านทาง Google Classroom/Line กลุ่ม โดยเน้นให้นักศึกษามีความซื่อสัตย์ในการทำ
แบบทดสอบ

2.2 ครูตรวจแบ บ ท ดสอบ ก่อน เรียน (Pre-test) และแจ้งให้ นั กศึกษ าท ราบ ผ่าน ท าง Google
Classroom/Line กลุ่ม เพอ่ื จดบนั ทึกลงในแบบบนั ทึกการเรยี นรู้ กศน.

2.3 ค รู ม อ บ ห ม า ย ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ไ ป ศึ ก ษ า ห า ค ว า ม รู้ จ า ก ห นั ง สื อ เ รี ย น อ อ น ไ ล น์
(ลิงค์ http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1) หรือศึกษาหาความรู้จากใบงาน และให้สรุปลงในแบบ
บันทึกการเรียนรู้ กศน. ในหวั ข้อดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง และ การจัดการความรู้
2. ความหมาย/ความสำคญั การบรหิ ารจดั การชุมชน องค์กร
3. การบริหารจัดการชุมชน องคก์ ร ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. กระบวนการ เทคนิคการบริหารจัดการชุมชน องค์กร
5. ปัญหาของชมุ ชนดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ สง่ิ แวดล้อมและวัฒนธรรมพ้นื ฐาน
6. การพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อมและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

20

2.4 ครมู อบหมายให้นักศึกษาเลือกหัวข้อที่สนใจจำนวน 1 เร่ือง ให้ไปศึกษาค้นควา้ จากหนังสือเรยี นออนไลน์
(ลงิ ค์ http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1 )และใหส้ รุปลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน. ดังนี้

เรือ่ งท่ี 1 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และ การจัดการความรู้
เรื่องท่ี 2 ความหมาย/ความสำคัญ การบรหิ ารจัดการชุมชน องคก์ ร
เรอื่ งท่ี 3 การบริหารจัดการชมุ ชน องค์กร ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
เรอื่ งท่ี 4 กระบวนการ เทคนิคการบรหิ ารจดั การชมุ ชน องคก์ ร
เรื่องท่ี 5 ปัญหาของชมุ ชนด้านสงั คม เศรษฐกจิ สง่ิ แวดลอ้ มและวัฒนธรรมพื้นฐาน
เรื่องท่ี 6 การพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง
2.5 ครูเปิดโอกาสให้นักศึกษาซกั ถามประเด็นท่ีสงสยั และครตู อบขอ้ ซกั ถามผ่านทาง LINE กลุ่ม
2.6 ครูสอนและสอดแทรกคณุ ธรรม 11 ประการ ในเรื่อง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตัญญกู ตเวทคี วาม
ขยัน ความประหยัด ความซื่อสัตย์ ความมีน้าใจ ความมีวินัย ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทย และยึดมั่นในวิถีชีวิต
และการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข ผา่ นทาง LINE กลมุ่
การปฏบิ ตั ิและนำไปประยกุ ต์ (I : Implementation)
3. ขัน้ การปฏิบัตแิ ละนำไปประยุกต์ใช้( 30 นาที )
3.1 ครสู มุ่ ตวั แทนกลุ่มนำเสนอ เพ่ือแลกเปลยี่ นความคิดเห็นซง่ึ กันและกัน สรปุ ส่งิ ท่ีได้เรียนรรู้ ว่ มกนั และให้
นักศึกษาบันทึกความรู้ทีไ่ ด้ ลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน.
3.2 นักศึกษานำความรู้ท่ีได้จากการเรียนรู้มาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตในประจำวัน
ต่อไป

ขน้ั ประเมินผล (E :Evaluation)
4. ขน้ั สรุปและประเมินผล (1 ชั่วโมง)

4.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบจากชุดแบบทดสอบ หรือจาก Google From พร้อมเฉลยและประเมินผล
ใหน้ กั ศกึ ษาบนั ทึกคะแนนลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน.

4.2 ครูตรวจสอบงานที่ไดร้ บั มอบหมายทใี่ หน้ ักศกึ ษาไปศึกษาหาความรู้ จำนวน 1 เรือ่ ง
4.3 ครูให้นักศึกษาสรุปการทำความดีและคุณธรรมท่ีได้ปฏิบัติ พร้อมบันทึกลงในสมุดบันทึกความดีเพื่อการ
ประเมินคุณธรรม
5. ขัน้ มอบหมายงาน
5.1 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอ่านทบทวนเน้ือของบทเรียนเพ่ิมเติมจากหนังสือออนไลน์
(ลิงค์ http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1) พร้อมบนั ทึกสรปุ ลงในแบบบนั ทกึ การเรียนรู้ กศน. ดงั น้ี
5.1.1 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ การจัดการความรู้
5.1.2 ความหมาย/ความสำคญั การบริหารจดั การชมุ ชน องคก์ ร
5.1.3 การบริหารจดั การชมุ ชน องคก์ ร ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
5.1.4 กระบวนการ เทคนิคการบรหิ ารจดั การชุมชน องค์กร

21

5.5.5 ปญั หาของชมุ ชนด้านสังคม เศรษฐกจิ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมพ้นื ฐาน
5.5.6 การพัฒนาชุมชนด้านสงั คม เศรษฐกจิ ส่ิงแวดล้อมและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
5.2 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้าและทำในใบงาน เรื่องความพอเพียง โดยให้ใบงานผ่านทาง Google
Classroom โดยให้ส่งทางแอปพลิเคชนั Line ในการเรียนสปั ดาหต์ ่อไป
5.3 ครูมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมรายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ทช31001 จากหนังสือ
เรียนออนไลน์ (ลิงค์ http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1) เพื่อเตรียมการเรียนรู้ทางออนไลน์ครั้ง
ตอ่ ไป
6. ขนั้ ติดตามผล (30 นาที)
6.1 ครตู ิดตามงานท่ไี ดม้ อบหมายนักศกึ ษา เพ่ือติดตามความคบื หน้าทางแอปพลเิ คชัน Line ดงั น้ี
6.1.1 ติดตามงานท่ีได้รบั มอบหมายสัปดาหท์ ี่ผา่ นมา
6.1.2 การทำกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต (กพช.)
6.1.3 ติดตามสอบถามสุขภาพของนกั ศึกษา (การตรวจสุขภาพ/ความสะอาด/การแตง่ กาย)
6.1.4 ติดตามสอบถามการทำความดีในแต่ละวนั สัปดาหท์ ี่ผา่ นมาและติดตามการบันทึกกิจกรรมท่ีทำความดี
ลงในสมดุ บนั ทกึ บันทึกความดเี พ่ือการประเมนิ คุณธรรม
6.1.5 ตดิ ตามสอบถามเก่ยี วกับงานอดเิ รก สนุ ทรยี ภาพ การเลน่ กฬี า การใชเ้ วลาว่างให้ เปน็ ประโยชน์ ฯลฯ
6.1.6 ติดตามความกา้ วหนา้ การทำโครงงาน
สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้
แบบออนไลน์
1. Googgle Classroom / แอปพลิเคชนั Line
2. หนงั สอื เรยี นวิชา ทช31001 เศรษฐกจิ พอเพยี ง/หนงั สือเรียนออนไลน์
(ลงิ ค์ http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1)
3. แบบทดสอบกอ่ นเรียน (pre-test) (รปู แบบ Google Form)
4. แบบทดสอบ (รูปแบบ Google Form)
5. ใบความรู้ เรอ่ื งความพอเพียง
6. ใบงาน เรอื่ งความพอเพยี ง
7. อินเทอร์เน็ต ฯลฯ

เครื่องมอื ในการวดั และการประเมนิ ผล
แบบออนไลน์

1. การมีส่วนร่วมในการเข้าเรียน จาก Googgle Classroom / แอปพลิเคชัน Line
2. การตรวจแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน.
3. การตรวจใบงาน
4. การตรวจแบบทดสอบ

22

5. การประเมนิ คุณธรรม

การมอบหมายงาน กรต.
1. ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอานทบทวนเนื้อหาทั้งหมด เร่ือง ความพอเพียง และ สรุปลงในแบบบันทึก

การเรียนรู กศน.
2. ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาคนคว้า เร่ือง ความพอเพียง แล้วทําลงในใบงาน เร่ือง ความพอเพียง

โดยใหส้ งในการเรยี นสปั ดาห์ตอไป
3. ครูมอบหมายนักศึกษาให้ไปศึกษา เร่ืองความพอเพียง เพ่ือเตรียมการเรียนรูในคร้ังต่อไป ผ่านทาง

แอพพลิเคช่ัน Line

การวัดและประเมินผล
1. การเข้าเรยี นดวยระบบออนไลน์
2. ตรวจแบบบันทึกการเรยี นรู กศน.
3. ตรวจใบงาน
4. ตรวจแบบทดสอบ
5. ประเมนิ คณุ ธรรม

วิธีการเรยี น : แบบหนงั สือเรยี น มอบหมายงาน (ON - Hand)

กระบวนการจดั การเรยี นรู้
การกำหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation)
1. ขนั้ ตอนนำเขา้ สบู่ ทเรียน ( เวลา 30 นาที )

1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนำเข้าสู่บทเรียนโดยแจ้งข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน ผ่านทาง Google
Classroom หรือ LINE กลุ่ม ให้นักศึกษาทราบพร้อมทั้งแลกเรียนเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน
ร่วมกันวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน ผ่านทาง Google Classroom หรือ LINE กลุ่ม พร้อมอธิบายถึง
เหตุผลความจำเป็นที่ต้องจดั กิจกรรมการเรียนรปู แบบออนไลน์

1.2 ครูชี้แจง สาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
การวัดและประเมนิ ผล และการตดิ ตาม ผา่ นทาง Google Classroom หรือ LINE กลมุ่

1.3 ครูและนักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความ คิดเห็น เกี่ยวกับปัญหา ความต้องการ รูปแบบในการ
เรียน และการแสวงหาความรู้จากสื่อต่าง ๆ ในการเรียนรายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ความพอเพียงผ่านทาง
Google Classroom หรือ LINE กลมุ่

การแสวงหาขอ้ มูลและการจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning)
2. ข้ันจัดการเรยี นการสอน ( เวลา 3 ชั่วโมง 30 นาที )

23

2.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน (pre-test) แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ โดยใช้เอกสารหรือ
Google Form ผ่านทาง Google Classroom หรือ LINE และแจ้งผลสอบให้นักศึกษาทราบผ่านทาง Google
Classroom หรอื LINE และนักศกึ ษาบันทกึ คะแนนลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน.

2.2 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาหาความรู้จากหนังสือเรียนออนไลน์ วิชาเศรษฐกิจพอเพียง
http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1 หรือจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และให้สรุปลงในแบบบันทึกการ
เรียนรู้ กศน. ในหัวข้อตอ่ ไปน้ี

2.1.1 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และ การจดั การความรู้
2.1.2 ความหมาย/ความสำคัญ การบรหิ ารจัดการชุมชน องคก์ ร
2.1.3 การบริหารจดั การชุมชน องค์กร ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
2.1.4 กระบวนการ เทคนิคการบริหารจดั การชมุ ชน องค์กร
25.5.5 ปัญหาของชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ้ มและวัฒนธรรมพื้นฐาน
2.5.6 การพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ้ มและวัฒนธรรมตามหลักแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
2.3 ครูให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ส่ือสิ่งพิมพ์ อินเตอร์เน็ต และใบความรู้ เรื่องความพอเพียง
(โดยครูจะส่งใบความรู้ทาง Google classroom) พร้อมท้ังให้นักศึกษาสรุปเน้ือหาสาระสำคัญลงในแบบบันทึกการ
เรียนรู้ กศน. และทำใบงาน เรอ่ื งความพอเพยี ง (โดยครจู ะสง่ ใบงานทาง Google classroom)
2.4 ครูสอนและสอดแทรกคณุ ธรรม 11 ประการ ในเรือ่ ง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตญั ญูกตเวทีความ
ขยัน ความประหยัด ความซื่อสัตย์ ความมีน้ำใจ ความมีวินัย ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทย และยึดมั่นในวิถีชีวิต
และการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ผา่ นทาง LINE กลมุ่

การปฏบิ ัติและนำไปประยกุ ต์ (I : Implementation)
3. ขนั้ การปฏิบตั แิ ละนำไปประยกุ ต์ใช(้ 30 นาที )

3.1 ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน สรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้ร่วมกันและให้
นักศึกษาบนั ทกึ ความรู้ทีไ่ ด้ ลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน.

3.2 นักศึกษานำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้มาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตในประจำวัน
ตอ่ ไป

ข้ันประเมนิ ผล (E :Evaluation)
4. ข้ันสรปุ และประเมินผล ( เวลา 1 ช่ัวโมง )

4.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบย่อย ในรูปแบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ ผ่านทาง Google From พร้อม
เฉลยและประเมนิ ผล ใหน้ ักศกึ ษาบนั ทึกคะแนนลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน.

24

4.2 ครูตรวจสอบงานท่ีได้มอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาหาความรู้และที่สรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้
กศน. เรือ่ งความพอเพียง

4.3 ครใู หน้ กั ศึกษาสรุปการทำความดีและคณุ ธรรมท่ีไดป้ ฏิบตั ิ จากบันทกึ ลงในสมดุ บันทึกความดีเพื่อ
การประเมนิ คณุ ธรรม
5. ขัน้ มอบหมายงาน

5.1 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอ่านทบทวนเน้ือหาเพิ่มเติม จากหนังสือเรียนออนไลน์ ลิงค์
http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1 และใหส้ รุปลงในแบบบนั ทกึ การ เรียนรู้ กศน.

5.2 ครมู อบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้าและทำใบงาน เร่อื งความพอเพียง โดยให้สง่ ในการเรยี นสัปดาห์
ต่อไป (โดยครูจะส่งใบงานทาง Google classroom) และให้นักศกึ ษาสง่ งานทาง Google classroom หรือทาง LINE
ตามวันเวลาทีค่ รูนดั หมาย

5.3 ครูมอบหมายนักศึกษาให้ไปศึกษา เร่ือง ความพอเพียง จากหนังสือ เรียนออนไลน์ ลิงค์
http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1 เพ่อื เตรยี มการเรียนรู้ในสัปดาห์ตอ่ ไป
6. ขั้นตดิ ตามผล ( เวลา 30 นาท)ี
6.1 ครูตดิ ตามงานที่ได้มอบหมายนักศึกษา เพอื่ ติดตามความคบื หนา้ ทางแอปพลิเคชนั LINE ดงั น้ี

6.1.1 ติดตามงานท่ีได้รบั มอบหมายสัปดาห์ทีผ่ ่านมา
6.1.2 ติดตามการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.)
6.1.3 ตดิ ตามสอบถามสุขภาพของนกั ศกึ ษา (การตรวจสุขภาพ/ความสะอาด/การแตง่ กาย)
6.1.4 ติดตามสอบถามการทำความดใี นแตล่ ะวัน สปั ดาหท์ ่ีผา่ นมาและติดตามการบนั ทึกกิจกรรมที่ทำ
6 ความดี ลงในสมุดบนั ทกึ บนั ทกึ ความดเี พือ่ การประเมินคุณธรรม
6.1.5 ตดิ ตามสอบถามเกย่ี วกบั งานอดเิ รก สนุ ทรียภาพ การเล่นกฬี า การใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ ฯลฯ
6.1.6 ตดิ ตามความกา้ วหน้าการทำโครงงาน

สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรยี นวิชา ทช 31001 วิชาเศรษฐกิจพอเพียง หรือ หนงั สือเรยี นออนไลน์ ลิงค์

http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1

25

2. ค่มู ือนกั ศกึ ษา
3. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) แบบปรนยั จำนวน 20 ข้อ (ชดุ แบบทดสอบ หรือ Google Form)
4. ใบความรู้ เรอื่ งความพอเพียง
5. ใบงาน เร่อื งความพอเพยี ง
6. แบบบนั ทกึ การเรียนรู้ กศน.
การวัดและประเมินผล
1. การสังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นร่วมรายบุคคล/รายกลุ่ม
2. ตรวจแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.
3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบทดสอบยอ่ ย
6. ประเมนิ คณุ ธรรม

การมอบหมายงาน กรต.
1. ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอานทบทวนเนื้อหาทั้งหมด เร่ือง ความพอเพียง และ สรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู
กศน.
2. ครมู อบหมายให้นักศึกษาไปศกึ ษาคนคว้า เรือ่ ง ความพอเพียง แล้วทาํ ลงในใบงาน เร่ือง ความพอเพียง โดยให้ส
งในการเรียนสปั ดาหต์ อไป

การวัดและประเมนิ ผล
1. การสงั เกตพฤติกรรมการมีรายบุคคล/รายกลมุ่
2. การตรวจแบบบันทกึ การเรยี นรู้ กศน.
3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน/ชนิ้ งาน
4. การตรวจใบงาน
5. การตรวจแบบทดสอบ
6. การประเมนิ คุณธรรม

26

วธิ กี ารเรียน : แบบผา่ นชอ่ งทาง ETV (ON-Air)

กระบวนการจัดการเรยี นรู้
การกำหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ (O : Orientation)

1. ขั้นนำเขา้ สูบ่ ทเรยี น (30 นาที)
1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนำเข้าสู่บทเรียนโดยแจ้งข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน ผ่านทาง Google

Classroom หรือ LINE กลุ่ม ให้นักศึกษาทราบพร้อมท้ังแลกเรียนเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน
ร่วมกันวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน ผ่านทาง Google Classroom หรือ LINE กลุ่ม พร้อมอธิบายถึง
เหตผุ ลความจำเปน็ ท่ีต้องจัดกิจกรรมการเรยี นรปู แบบออนไลน์

1.2 ครูนำเข้าสูบ่ ทเรยี นโดย ใหน้ กั ศกึ ษาสมัครเป็นสมาชิก ETV ตามลิงค์
ต่อไปน้ีhttps://www.etvthai.tv/member/AddMember_ext.aspx เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษามรี หัสผ่านเพอื่ เข้าไปศึกษา
หาความรู้ตามตารางออนแอร์ ในแต่ละวนั ของสถานวี ทิ ยโุ ทรทัศนเ์ พื่อการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ตามลิงค์
รายการโทรทศั น์สง่ เสริมการศึกษานอกระบบโรงเรียน
http://www.etvthai.tv/Video/VDO_Detail_Ext.aspx?ContentID=320&videoid=1087&v=1&p=5 และ
นักศกึ ษาสามารถตดิ ตามข่าวสารไดใ้ นเฟสบุ๊ค ETV Channel ตามลงิ้ ต่อไปน้ี https://www.facebook.com/Etv-Channel-
1512499252411798/

1.3 ครูแจกตารางการออนแอร์ของรายการ ETV เพื่อใหน้ ักศกึ ษาตามวันและเวลาท่ีกำหนด

การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning)
2. ขัน้ จัดการเรยี นการสอน ( เวลา 3 ชั่วโมง 30 นาที )
2.1 ครูมอบหมายให้นักศึกษาเข้าไปศึกษาหาความรู้ ของสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการตาม
เวบ็ ไซต์ www.etvthai.tv โดย เข้าสู่ระบบด้วยรหัสผา่ นท่ีนักศึกษาสมัครไวแ้ ล้ว โดยสามารถดูตาราง ออนแอร์ได้ ตาม

27

ลิ้งhttp://www.etvthai.tv/Front_ETV/FETV_Schedule.aspx และสามารถดูรายการย้อนหลังได้ ตามลิ้ง
http://www.etvthai.tv/home/home_External.aspx อีกช่องทางการศึกษาหาความรู้โดยผ่าน ทีวีดิจิตอลช่อง 52 (กศน.) สามารถ
ติดตามข่าวสารและตารางออนแอร์ได้ในเฟสบุ๊ค : ETV ส่ือดิจิทัลเพ่ือการศึกษา สำนักงาน กศน. ตามลิ้งนี้

https://www.facebook.com/etv.digital/

2.2 ครูมอบหมายให้นกั ศกึ ษาเรียนร้แู บบ (ON-Air) ในเรอื่ งความพอเพยี ง
https://www.youtube.com/watch?v=8aE3JSNmswc&list=PLPBTQSTtkB-zD5VYVzf72WLbAUwPgMPv
และให้นักศกึ ษาสรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. นำสง่ ผ่านทาง Google Classroom หรอื แอปพลิเคชนั LINE
2.3 ครูมอบหมายให้นักศกึ ษาเลอื กโครงงานที่นกั ศกึ ษาสนใจ จำนวน 1 เรื่อง ให้ไปศึกษาคน้ คว้าจากหนังสือเรียน
ออนไลน์ (ลิงค์ http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1) และจากการศึกษาในรูปแบบ(ON-Air) ทั้งใน
เว็บไซต์ www.etvthai.tvและ ทีวดี ิจติ อลชอ่ ง 52 (กศน.) หรือจากแหล่งการเรยี นร้ตู ่างๆ และให้นกั ศึกษาจดั ทำสรุป
ความรูเ้ ป็นแผนผังความคิด ลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. ในหัวข้อ ดังนี้

เรอ่ื งที่ 1 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง และ การจัดการความรู้
เรอ่ื งท่ี 2 ความหมาย/ความสำคัญ การบรหิ ารจดั การชมุ ชน องค์กร
เร่ืองที่ 3 การบริหารจดั การชุมชน องคก์ ร ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เรอ่ื งที่ 4 กระบวนการ เทคนิคการบรหิ ารจดั การชมุ ชน องค์กร
เร่ืองที่ 5 ปัญหาของชุมชนด้านสงั คม เศรษฐกจิ สงิ่ แวดล้อมและวฒั นธรรมพื้นฐาน
เร่ืองที่ 6 การพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง
และสง่ งานผ่านทาง Google Classroom หรือ แอปพลเิ คชนั LINE
2.4 ครูสอนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเร่อื ง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตัญญกู ตเวทีความขยนั
ความประหยัด ความซือ่ สัตย์ ความมีนำ้ ใจ ความมีวินัย ศาสน์ กษตั รยิ ์ รักความเป็นไทย และยดึ มน่ั ในวิถีชวี ติ และการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ผา่ นทาง LINE กลุ่ม

การปฏบิ ตั ิและนำไปประยกุ ต์ (I : Implementation)
3. ขน้ั การปฏิบตั แิ ละนำไปประยกุ ต์ใช้( 30 นาที )
3.1 ครูสมุ่ ตวั แทนกลุม่ นำเสนอ เพ่ือแลกเปลีย่ นความคิดเห็นซง่ึ กนั และกัน สรปุ สงิ่ ท่ีได้เรียนร้รู ่วมกนั และให้นักศึกษา
บนั ทกึ ความรู้ที่ได้ ลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน.
3.2 นกั ศึกษานำความร้ทู ่ไี ด้จากการเรยี นรมู้ าเป็นแนวทางในการแกป้ ญั หาและการดำเนนิ ชีวติ ในประจำวันต่อไป

ขั้นประเมินผล (E :Evaluation)
4. ขน้ั สรปุ และประเมินผล (1 ช่วั โมง )

28

4.1 ครใู ห้นกั ศึกษาทำแบบทดสอบย่อย ในรปู แบบปรนัย จำนวน 20 ขอ้ ผ่านทาง Google From พร้อมเฉลยและ

ประเมนิ ผล ใหน้ ักศึกษาบนั ทึกคะแนนลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน.

4.2 ครูตรวจสอบงานท่ีได้มอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาหาความรู้และที่สรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. เรื่อง
ความพอเพยี ง
4.3 ครูให้นักศึกษาสรุปการทำความดีและคุณธรรมท่ีได้ปฏิบัติ จากบันทึกลงในสมุดบันทึกความดีเพ่ือ การประเมิน
คณุ ธรรม
5. ขั้นมอบหมายงาน

5.1 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอ่านทบทวนเน้ือหาเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียนรายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง จา
กล้ิง ลิงค์ http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1 พร้อมบันทึกสรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน.
ดังนี้

เรือ่ งท่ี 1 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ การจัดการความรู้
เร่ืองท่ี 2 ความหมาย/ความสำคญั การบรหิ ารจัดการชุมชน องค์กร
เรอ่ื งที่ 3 การบรหิ ารจัดการชุมชน องคก์ ร ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
เรอ่ื งที่ 4 กระบวนการ เทคนิคการบรหิ ารจัดการชมุ ชน องคก์ ร
เรื่องท่ี 5 ปัญหาของชุมชนด้านสงั คม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ้ มและวฒั นธรรมพ้ืนฐาน
เรื่องท่ี 6 การพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง
5.2 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้าและทำในใบงาน เรื่องความพอเพียง โดยให้ใบงานผ่านทาง
Google Classroom โดยใหส้ ่งทางแอปพลิเคชัน Line ในการเรียนสัปดาห์ตอ่ ไป
5.3 ครูมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติมรายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ทช31001 จากหนังสือ
เรียนออนไลน์ (ลิงค์http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1) เพ่ือเตรียมการเรียนรู้ทางออนไลน์ครั้ง
ต่อไป

6. ขน้ั ติดตามผล ( เวลา 30 นาที)
6.1 ครูติดตามงานทีไ่ ดม้ อบหมายนักศกึ ษา เพอ่ื ติดตามความคบื หน้าทางแอปพลเิ คชนั LINE ดงั น้ี
6.1.1 ติดตามงานท่ไี ดร้ บั มอบหมายสปั ดาห์ที่ผ่านมา
6.1.2 ติดตามการทำกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต (กพช.)
6.1.3 ตดิ ตามสอบถามสุขภาพของนกั ศกึ ษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแต่งกาย)
6.1.4 ติดตามสอบถามการทำความดีในแต่ละวัน สัปดาหท์ ่ีผ่านมาและติดตามการบันทึกกิจกรรมท่ีทำความดี

ลงในสมุดบนั ทกึ บนั ทึกความดีเพอ่ื การประเมนิ คุณธรรม
6.1.5 ติดตามสอบถามเก่ียวกับงานอดิเรก สุนทรยี ภาพ การเล่นกีฬา การใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ ฯลฯ
6.1.6 ตดิ ตามความก้าวหน้าการทำโครงงาน

สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้

29

วิธีเรยี นผา่ นช่องทาง ETV (ON-AIR)
1.www.etvthai.tv
2.ทีวีดิจิตอลช่อง 52 (กศน.)
3.เฟสบ๊คุ https://www.facebook.com/etv.digital/ และ
https://www.facebook.com/Etv-Channel-1512499252411798/
4. Google Classroom / แอปพลเิ คชัน LINE
5. หนงั สือเรยี นวชิ า ทช31001 เศรษฐกิจพอเพยี ง/หนงั สือเรียนออนไลน์
(ลงิ ค์ http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1)
6. แบบทดสอบก่อนเรียน (pre-test) (รปู แบบ Google Form)
7. แบบทดสอบ (รปู แบบ Google Form)
8. ใบความรู้ เรอ่ื งความพอเพียง
9. ใบงาน เรอื่ งความพอเพยี ง
10. แบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.

การมอบหมายงาน กรต.
1. ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอานทบทวนเนื้อหาทั้งหมด เรื่อง ความพอเพียง และ สรุปลงในแบบบันทึก

การเรยี นรู กศน.
2. ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาคนคว้า เรื่อง ความพอเพียง แล้วทําลงในใบงาน เร่ือง ความพอเพียง

โดยใหส้ งในการเรียนสัปดาห์ตอไป

3. ครูมอบหมายนักศึกษาให้ไปศึกษา เร่ืองความพอเพียง เพื่อเตรียมการเรียนรูในครั้งต่อไป ผ่านทาง
แอพพลเิ คชั่น Line

การวดั และประเมินผล
1. การเขา้ เรยี นดวยระบบออนไลน์
2. ตรวจแบบบันทกึ การเรยี นรู้ กศน.
3. ตรวจใบงาน
4. ตรวจแบบทดสอบ
5. ประเมนิ คุณธรรม

30

วิธีการเรียน : ผา่ นแอปพลเิ คชนั (ON-Demand)

31

กระบวนการจัดการเรียนรู้
การกำหนดสภาพ ปัญหา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O : Orientation)
1. ขน้ั ตอนนำเข้าสู่บทเรียน ( เวลา 30 นาที )

1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนำเข้าสู่บทเรียนโดยแจ้งข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน ผ่านทาง Google
Classroom หรือ LINE กลุ่ม ให้นักศึกษาทราบพร้อมท้ังแลกเรียนเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน
ร่วมกันวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน ผ่านทาง Google Classroom หรือ LINE กลุ่ม พร้อมอธิบายถึง
เหตุผลความจำเป็นที่ต้องจดั กจิ กรรมการเรยี นรูปแบบออนไลน์

1.2 ครูชี้แจง สาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
การวัดและประเมินผล และการตดิ ตาม ผา่ นทาง Google Classroom หรอื LINE กลมุ่

1.3 ครูและนักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหา ความต้องการ รูปแบบในการ
เรียน และการแสวงหาความรู้จากสื่อต่าง ๆ ในการเรียนรายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง เร่ือง ความพอเพียง ผ่านทาง
Google Classroom หรือ LINE กล่มุ

การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรยี นรู้ (N : New ways of learning)
2. ขัน้ จดั การเรียนการสอน ( เวลา 3 ชั่วโมง 30 นาที )

2.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน (pre-test) แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ โดยใช้เอกสารหรือ

Google Form ผ่านทาง Google Classroom หรือ LINE และแจ้งผลสอบให้นักศึกษาทราบผ่านทาง Google

Classroom หรอื LINE และนักศกึ ษาบันทกึ คะแนนลงในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน.

2.2 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาหาความรู้จากหนังสือเรียนออนไลน์ วิชาเศรษฐกิจพอเพียง

http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1 หรือจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และให้สรุปลงในแบบบันทึกการ

เรยี นรู้ กศน. ในหวั ข้อต่อไปนี้

เรอ่ื งท่ี 1 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ การจดั การความรู้
(https://www.youtube.com/watch?v=fPvTTMYdeQk&t=81s)
เร่ืองท่ี 2 ความหมาย/ความสำคัญ การบรหิ ารจัดการชมุ ชน องคก์ ร
(https://www.youtube.com/watch?v=iKCCoLO82RU)
เรอื่ งท่ี 3 การบรหิ ารจดั การชมุ ชน องคก์ ร ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
(https://www.youtube.com/watch?v=cwH9KL_QpKw)
เรอ่ื งท่ี 4 กระบวนการ เทคนิคการบรหิ ารจดั การชมุ ชน องค์กร
(https://www.youtube.com/watch?v=eFI15EoK3sk)
เรอื่ งที่ 5 ปัญหาของชมุ ชนดา้ นสงั คม เศรษฐกิจ สงิ่ แวดล้อมและวฒั นธรรมพื้นฐาน
(https://www.youtube.com/watch?v=kmUqeI00TM8)

32

เรื่องที่ 6 การพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อมและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

(https://www.youtube.com/watch?v=95tg1QHwbuw&t=497s)
2.3 ครูให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ส่ือสิ่งพิมพ์ อินเตอร์เน็ต และใบความรู้ เรื่องความพอเพียง
(โดยครูจะส่งใบความรู้ทาง Google classroom) พร้อมท้ังให้นักศึกษาสรุปเนื้อหาสาระสำคัญลงในแบบบันทึกการ
เรียนรู้ กศน. และทำใบงาน เรื่อง ความพอเพยี ง (โดยครูจะสง่ ใบงานทาง Google classroom)
2.4 ครสู อนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเร่อื ง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตญั ญกู ตเวทีความ
ขยัน ความประหยัด ความซ่ือสตั ย์ ความมีน้ำใจ ความมวี นิ ยั ศาสน์ กษตั ริย์ รักความเป็นไทย และยึดม่ันในวิถีชวี ิต
และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ผา่ นทาง LINE กลมุ่

การปฏบิ ัติและนำไปประยุกต์ (I : Implementation)
3. ขนั้ การปฏิบัติและนำไปประยกุ ต์ใช้( 30 นาที )

3.1 ครสู ุ่มตัวแทนกล่มุ นำเสนอ เพื่อแลกเปลยี่ นความคิดเห็นซง่ึ กนั และกนั สรปุ ส่ิงท่ีได้เรียนรรู้ ่วมกันและให้
นกั ศึกษาบนั ทึกความรู้ทไี่ ด้ ลงในแบบบนั ทึกการเรยี นรู้ กศน.

3.2 นักศึกษานำความรู้ท่ีได้จากการเรียนรู้มาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตในประจำวัน
ต่อไป

ขั้นประเมนิ ผล (E :Evaluation)
4. ขน้ั สรปุ และประเมนิ ผล ( เวลา 1 ชั่วโมง )

4.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบ ผ่านทาง Google From พร้อมเฉลยและประเมินผล ให้นักศึกษาบันทึก
คะแนนลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน.

4.2 ครูตรวจสอบงานท่ีได้มอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาหาความรู้และที่สรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้
กศน. เรอ่ื งความพอเพยี ง

4.3 ครใู ห้นักศกึ ษาสรุปการทำความดีและคณุ ธรรมท่ีได้ปฏบิ ตั ิ จากบันทึกลงในสมุดบนั ทึกความดเี พ่ือ
การประเมนิ คุณธรรม

5. ขน้ั มอบหมายงาน
5.1 ครมู อบหมายใหน้ กั ศกึ ษาไปอ่านทบทวนเน้ือหาเพ่ิมเตมิ จากหนังสอื เรยี นออนไลน์ ลงิ ค์

http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1 และให้สรปุ ลงในแบบบันทึกการ เรยี นรู้ กศน.
5.2 ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้าและทำใบงาน ความพอเพียง โดยให้ส่งในการเรียนสัปดาห์

ต่อไป (โดยครูจะสง่ ใบงานทาง Google classroom) และให้นกั ศึกษาส่งงานทาง Google classroom หรือทาง LINE
ตามวนั เวลาทีค่ รนู ดั หมาย

33

5.3 ครูมอบหมายนักศึกษาให้ไปศึกษา เร่ือง ความพอเพียง จากหนังสือเรียนออนไลน์ ลิงค์
http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1 เพอ่ื เตรียมการเรียนร้ใู นสปั ดาหต์ อ่ ไป
6. ขัน้ ติดตามผล ( เวลา 30 นาท)ี

6.1 ครตู ดิ ตามงานที่ไดม้ อบหมายนักศึกษา เพื่อตดิ ตามความคืบหนา้ ทางแอปพลเิ คชัน LINE ดังน้ี
6.1.1 ตดิ ตามงานท่ีไดร้ บั มอบหมายสัปดาห์ที่ผ่านมา
6.1.2 ตดิ ตามการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ (กพช.)
6.1.3 ติดตามสอบถามสขุ ภาพของนกั ศึกษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแต่งกาย)
6.1.4 ติดตามสอบถามการทำความดีในแต่ละวนั สัปดาห์ที่ผา่ นมาและติดตามการบันทึกกิจกรรมที่ทำความดี
ลงในสมดุ บนั ทกึ บันทกึ ความดเี พ่อื การประเมนิ คุณธรรม
6.1.5 ติดตามสอบถามเกี่ยวกับงานอดเิ รก สุนทรยี ภาพ การเลน่ กีฬา การใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ ฯลฯ
6.1.6 ติดตามความก้าวหนา้ การทำโครงงาน

สอื่ และแหล่งเรยี นรู้
วธิ ีเรยี นผ่าน แอปพลเิ คชั่น (ON-Demand)

1. หนังสอื เรยี นวชิ า ทช 31001 เศรษฐกิจพอเพยี ง หรือ หนงั สอื เรียนออนไลน์ ลิงค์
http://online.pubhtml5.com/nmzp/nvlf/#p=1

2. คูม่ ือนักศกึ ษา
3. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) แบบปรนยั จำนวน 20 ขอ้ (ชดุ แบบทดสอบ หรือ Google Form)
4. ใบความรู้ เรอื่ งความพอเพียง
5. ใบงาน เร่อื งความพอเพียง
6. แบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน.
การวดั และประเมนิ ผล
1. การสงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมรายบคุ คล/รายกลมุ่
2. ตรวจแบบบันทกึ การเรียนรู้ กศน.
3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบทดสอบย่อย
6. ประเมนิ คณุ ธรรม

การมอบหมายงาน กรต.

34

1. ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปอานทบทวนเน้ือหาทั้งหมด เรื่อง ความพอเพียง และ สรุปลงในแบบบันทึก
การเรียนรู กศน.

2. ครูมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาคนคว้า เร่ือง ความพอเพียง แล้วทําลงในใบงาน เร่ือง ความพอเพียง
โดยให้สงในการเรยี นสัปดาห์ตอไป

3. ครูมอบหมายนักศึกษาให้ไปศึกษา เรื่องความพอเพียง เพื่อเตรียมการเรียนรูในคร้ังต่อไป ผ่านทาง
แอพพลเิ คช่ัน Line
การวดั และประเมินผล

1. การเข้าเรยี นดวยระบบออนไลน์
2. ตรวจแบบบนั ทกึ การเรียนรู้ กศน.
3. ตรวจใบงาน
4. ตรวจแบบทดสอบ
5. ประเมินคณุ ธรรม

การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) คร้งั ท่ี 2

(จำนวน 14 ชัว่ โมง)
สาระทกั าะการดำเนินชีวิต รายวิชา ทช31001 เศรษฐกิจพอเพียง

ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

คำสั่ง ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเป็น 6 กลุ่ม และไปทำกิจกรรมการเรียนรู้ต่อเน่ือง (กรต) โดยการไปศึกษา
ค้นคว้า อ่านหนังสือ จดบันทึก จากหนังสือแบบเรียน ตำรา หนังสือ และส่ืออ่ืนๆ ในห้องสมุดประชาชนจังหวัด
ห้องสมุดประชาชนอำเภอ โรงเรยี นประถมศึกษา โรงเรียนมธั ยมศึกษา วิทยาลยั ชุมชนในพน้ื ท่อี ำเอเมอื งนราธิวาสหรือ
อำเภออน่ื ๆ หรอื ไปสอบถามขอความร้จู ากบคุ คล ในหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้

กลุ่มที่ 1 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ การจัดการความรู้

35

กลุ่มท่ี 2 ความหมาย/ความสำคัญ การบริหารจัดการชุมชน องคก์ ร
กลุ่มท่ี 3 การบรหิ ารจัดการชุมชน องค์กร ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
กล่มุ ที่ 4 กระบวนการ เทคนิคการบรหิ ารจดั การชมุ ชน องคก์ ร
กล่มุ ท่ี 5 ปัญหาของชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวดลอ้ มและวัฒนธรรมพื้นฐาน
กลุ่มที่ 6 การพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

ขน้ั ตอนของการไปเรยี นรตู้ ่อเนอ่ื ง (กรต.) ของนกั ศึกษา มดี งั น้ี
1. แผนการเรียนรู้ต่อเนื่อง (กรต.) ในแตล่ ะแตล่ ะสัปดาห์ แต่ละครั้งที่ครู กศน.ตำบล/ครู ศรช. หรือครปู ระจำ

กลมุ่ กล่มุ มอบหมาย
2. ให้บริหารเวลาและใช้เวลาในการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและทำกิจกรรมการเรียนรู้ต่อเนื่อง (กรต.)

สปั ดาหล์ ะ 15 ชงั่ โมงเปน็ อยา่ งน้อย
3. อ่านหนังสอื สอบถามผู้รู้ และจดบันทึกทุกครั้งทมี ีการทำกิจกรรม กรต. และเก็บหลักฐานไว้ทุกครั้งเพื่อส่ง

ครูกศน.ตำบล/ครศู รช. หรอื ครูประจำกลมุ่ ตรวจใหค้ ะแนนการทำ กรต.
4. จัดทำรายงานเป็นเล่ม ตามแบบรายงานท่ีศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกำหนด

และให้ส่งในวนั ทมี่ กี ารนำเสนอผลการทำกรต. ในเรื่องน้นั ๆ
5. ตัวแทนกลุ่มนำเสนอด้วยตนเอง (กรณีท่ีทำกรต.คนเดียว) โดยให้นำเสนอผลงานตามขอ้ 4 กลุ่มละ/คนละ

ไมเ่ กนิ 10 นาที ในวนั พบกลมุ่ ครง้ั ตอ่ ไป

ใบความรู้ที่ 1
เร่อื ง ความพอเพียง

36

เศรษฐกจิ พอเพียง คืออะไร
เศรษฐกจิ พอเพียง (Sufficiency Economy) เป็นปรัชญาท่พี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระ

ราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนนิ ชีวิตแก่พสกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดรวมถงึ การพฒั นาและบรหิ ารประเทศ ทีต่ ั้งอยู่
บนพ้ืนฐานของ ทางสายกลาง คำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้
ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทำ
หลักแนวคิดของเศรษฐกจิ พอเพียง

หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาที่ต้ังอยู่บนพื้นฐาน
ของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทำ ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง มหี ลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้

1. กรอบแนวคิด เป็นปรชั ญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเป็น โดยพ้ืนฐานมา
จากวิถีชีวิตด้ังเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการ
เปลยี่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา มงุ่ เนน้ การรอดพน้ จากภยั และวิกฤตเพื่อความมน่ั คง และความยัง่ ยืนของการพัฒนา

2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการ
ปฏิบตั ิบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน

3. คำนยิ าม ความพอเพียงจะต้องประกอบดว้ ย 3 คณุ ลกั ษณะ พร้อม ๆ กนั ดงั นี้
3.1 ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ไี่ ม่นอ้ ยเกินไป และไมม่ ากเกนิ ไปโดยไม่

เบียดเบยี นตนเองและผู้อ่นื เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ
3.2 ความมีเหตุผล หมายถงึ การตัดสินใจเกี่ยวกบั ระดบั ของความพอเพียงนนั้ จะต้องเป็นไป

37

อย่างมีเหตผุ ล โดยพิจารณาจากเหตปุ จั จยั ที่เก่ยี วข้อง ตลอดจนคำนงึ ถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขนึ้ จากการกระทำนัน้ ๆ

อยา่ งรอบคอบ

3.3 การมีภูมิคุ้มกันทดี่ ใี นตวั หมายถงึ การเตรียมตัวใหพ้ ร้อมรบั ผลกระทบและการ

เปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ขึน้ โดยคำนึงถึง ความเปน็ ไปได้ของสถานการณต์ า่ ง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต

ท้ังใกล้และไกล

4. เงอ่ื นไข การตดั สินใจและการดำเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพียงนั้น ต้องอาศยั ทงั้ ความรู้ และ

คณุ ธรรมเปน็ พ้ืนฐาน

4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ กยี่ วกับวชิ าการตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วข้องอยา่ งรอบ

ดา้ นความรอบคอบ ทีจ่ ะนำความรูเ้ หลา่ นัน้ มาพิจารณาให้เช่ือมโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวงั

ในข้นั ปฏบิ ัติ

4.2 เง่ือนไขคุณธรรม ทจ่ี ะต้องเสริมสรา้ งประกอบดว้ ยมีความตระหนกั ในคณุ ธรรม มีความ

ซื่อสตั ยส์ จุ รติ และมีความอดทน มีความเพยี รใชส้ ติปัญญาในการดำเนนิ ชวี ติ

5. แนวทางปฏิบตั ิ/ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช้ คือ การ

พัฒนาทส่ี มดุลและยง่ั ยนื พรอ้ มรบั ต่อการเปล่ียนแปลง ในทกุ ด้าน ท้งั ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม ความรู้และ

เทคโนโลยี

หลักการของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ ปรัชญาทถ่ี อื ว่าเปน็ นวตั กรรมทม่ี ี

คณุ ค่ายิ่ง และยังมีความลึกซ้ึงกา้ วหนา้ และเหมาะสมสำหรับสงั คม หลกั การสำคัญของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มี

5 ประการ คือ

1. ความพอประมาณ คอื ความพอดี ไมน่ อ้ ยเกินไป ไม่มากเกินไป ไม่เตบิ โตเรว็ เกนิ ไป ไม่ชา้ เกินไปและ
ไม่โดเดน่ เกินไป

2. ความมีเหตผุ ล คอื ทุกอย่างต้องมที ี่ไปท่ีมา อธบิ ายได้ การสง่ เสรมิ กนั ในทางทีด่ สี อดคล้องกบั หลักพุทธ
รรม คือ ความเป็นเหตเุ ป็นผลเพราะสิง่ น้ีทำให้เกิดสิ่งน้ี ทุกส่งิ ทกุ อย่างเกิดข้นึ ตามเหตุผลปจั จยั

3. ความมภี ูมคิ ุ้มกนั ที่ดี จะต้องปกป้องค้มุ ครองไม่ให้เกดิ ความเสยี่ งทไ่ี ม่ควรจะเป็น เช่น เกดิ ความเส่ยี ง
เพราะมีความโลภมากเกนิ ไป

4. ความรอบรู้ ต้องมีความรอบคอบ มีการใชค้ วามรู้ ใช้วิทยาการดา้ นความระมดั ระวัง มีการจดั องค์

ความร้ทู ่ีดี ดำเนินการอยา่ งรอบคอบ ครบถว้ นรอบด้าน ครบทุกมติ ิ ซง่ึ ประกอบดว้ ยความซื่อสัตย์
5. ความมคี ุณธรรมความดี คุณธรรมความดีเป็นพนื้ ฐานของความมนั่ คง

สุจรติ มานะอดทน พากเพยี รและใช้สติปญั ญาในการดำเนินชีวิต
ชมุ ชนพอเพียง

38

แนวคิดการบริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนมีความสำคัญ สืบเนื่องมาจากปัจจัย
ภายนอกประเทศของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์ทุนนิยมและระบบเศรษฐกิจโลกของ
ประเทศทางตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริกา ท่ีเน้นระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เสรีนิยม หรือบริโภคนิยม ที่ให้
ความสำคัญกับวัตถุ เงินตรา ประสิทธิภาพ กำไร ความรวดเร็ว การต่อสู้แข่งขัน ผลประโยชน์สูงสุด รวมทั้งเน้นความ
เจริญก้าวหน้า การขยายตลาด และการขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยใช้ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพ่ิมมาก
ข้ึน ๆ แนวคิดดังกล่าวนี้ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อแนวคิด แนวทางการพัฒนา และแนวทางการบริหารจัดการ
ภายในประเทศและในชุมชนของไทยท่ีผ่านมา ตัวอย่างเช่น ในปี 2517 ช่วงกลางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2515-2519) และในช่วงปี พ.ศ. 2530-2539 ขณะนั้นเศรษฐกิจของประเทศขยายตวั ในอตั รา
ท่ีสูงตามแนวคิดของระบบทุนนิยมดังกล่าว และประมาณปี 2540 ระบบเศรษฐกิจของไทยเสียหายอย่างมหาศาล ใน
สว่ นของประชาชนบางส่วนยังคงมีความโลภ บริโภคอยา่ งฟุ่มเฟือย ตกอยู่ในภาวะหน้ีสนิ อย่างถอนตวั ไม่ออก และขาด
หลักพ้ืนฐานในการดำรงชีวิตได้อย่างม่ันคง ทำให้ถูกนำไปสู่การกระทำท่ีเบียดเบียนกันได้ง่ายมากข้ึน ประกอบกับ
ปัจจัยภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ประชาชนในทุกชุมชนจำนวนไม่น้อยได้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างฟุ่มเฟือยและต่อเนื่อง ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติเส่ือมสภาพ เส่ือมสลาย หรือถูกทำลายเป็นจำนวน
มาก โดยบางอย่างหมดสิ้นไปและไม่อาจหาทดแทนได้ อาจเปรียบเทียบได้ว่า ประชาชนใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม 3 ส่วน ขณะท่ีทำนุบำรุงได้เพียง 1 ส่วน หากปล่อยให้แนวคิด แนวทางการพัฒนา และแนวทางการ
บริหารจัดการภายในประเทศของไทยยังคงเป็นเช่นนี้ต่อไป ประเทศชาติและประชาชนย่อมได้รับความเสียหายและ
เดือดรอ้ นเพิ่มมากข้ึน ๆ กล่าวคือ ประเทศชาติเจริญก้าวหน้าแบบกระจุกตัวเฉพาะบางพื้นท่ีบางชุมชนโดยไม่กระจาย
ความเจริญไปยังพ้ืนที่หรือชุมชนอ่ืนด้วยอย่างสมดุล เกิดการต่อสู้แข่งขันเพื่อสร้างความร่ำรวยอย่างเกินความจำเป็น
เกิดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนภายในประเทศเพ่ิมมากข้ึน และระบบทุนนิยมยังทำลายทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมให้หมดส้ินไป เส่ือมสลาย ด้อยคุณภาพ หรือใช้อย่างไม่คุ้มค่าเป็นจำนวนมหาศาลเพื่อนำทรัพยากร
ธรรมชาติมาใช้ในกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม ทำให้เหลือและปล่อยท้ิงกากพิษสารพิษออกมาจากปลายทาง
ของการผลิตเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ระบบนิเวศน์ของชุมชนสูญเสียความสมดุลและเกิดภัยธรรมชาติเพ่ิมมากข้ึน ในส่วน
ของประชาชนต้องเผชิญกับความเดือดร้อนทุกข์ยาก เช่น ประชาชนขาดคณุ ธรรมและจริยธรรมเพ่มิ มากข้ึน ครอบครัว
และชุมชนแตกแยก เกิดการเอารัดเอาเปรียบกันต้องต่อสู้ด้ินรนและแสวงหาเกินความจำเป็น รวมท้ังเกิดการแย่งชิง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระหว่างประชาชนและชุมชนเพ่ิมมากขึ้นด้วย ผนวกกับแนวทางการพัฒนา
ประเทศหรอื แนวทางการบรหิ ารจดั การภายในประเทศและในชมุ ชนทผี่ ่านมายังไมป่ ระสบผลสำเรจ็ มากเทา่ ท่ีควร

สาเหตุท่ีเกิดจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในประเทศที่มีความสัมพันธ์กันได้สร้างความเสียหายและ
เดือดร้อนแก่ประเทศชาติและชุมชนข้างต้น ได้นำมาสู่การเกิดหรอื การนำเสนอแนวคิดและแนวทางการบริหารจัดการ
ตามแนวทาง “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” สำหรับในที่นี้เรียกว่า การบริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

39

โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริท่ีจะเห็นการสร้างเศรษฐกิจพอเพียงให้เกิดข้ึนเพ่ือนำมาใช้ในการ
บริหาร จดั การหรือการพฒั นาประเทศชาติและชุมชนไทย พร้อมกบั คาดหวังใหป้ ระชาชนยึดถือการบริหารจัดการและ
การดำเนินชีวติ ตามแนวทางน้ีเป็นหลกั พนื้ ฐาน อนั จะนำไปสูจ่ ุดหมายปลายทางสำคัญ คือ ประเทศชาติและประชาชน
อยู่เย็นเป็นสุข โดยประเทศชาติมีความเจริญก้าวหน้าอย่างม่ันคง ย่ังยืน รวมท้ังประชาชนในชาติทุกระดับมีคุณภาพ
ชีวติ ที่ดขี ้นึ และอย่เู ย็นเป็นสขุ รว่ มกัน

ความเป็นมาของแนวคิดและแนวทางการบรหิ ารจดั การตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มีสาเหตจุ ากปจั จยั
ภายนอกและภายในประเทศ
ปจั จัยภายนอก ปจั จยั ภายใน

แนวคิดและระบบเศรษฐกิจโลกแบบ ประชาชนบางส่วนโลภ บริโภคอย่างทุนนิยม เสรีนิยม และบริโภคนิยม
ของฟุ่มเฟือย รวมท้ังใช้ ทำให้เส่ือมสลายและเหตุตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลต่อแนวคิด ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ้ ม และแนวทางการบริหารจัดการภายใน อย่างตอ่ เนอ่ื ง อกี ทง้ั แนวทางการบรหิ าร ประเทศและในชุมชนของ
ไทย จัดการท่ีผ่านมาไม่สำเร็จเท่าที่ควรประเทศชาติและประชาชนได้รับความเสียหายเดือดร้อน เช่น เกิดความ
เจริญแบบกระจกุ ตวั ผล เกิดช่องวา่ งระหวา่ งคนจนและคนรวย ประชาชนได้รับความเดอื ดร้อน (เกิดปัญหา) เช่น ขาด
คณุ ธรรม ครอบครวั แตกแยก ต้องต่อสูด้ ้นิ รนเกินความจำเปน็
แนวคิดและแนวทางการบริหารจัดการ เกิดแนวคิด ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทาง เพื่อนำมาใช้ใน
ประเทศชาติและชุมชนไทย การบริหารจัดการ ประเทศชาติและประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข ประเทศชาติมีความ

40

เจรญิ ก้าวหน้าอยา่ งมั่นคง ยัง่ ยนื รวมท้ัง จุดหมาย ประชาชนมีคุณภาพชีวิตทด่ี ขี ึ้นและอยูเ่ ยน็ เป็นสขุ ร่วมกัน ปลายทาง
สำคัญ

สำหรับความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง อธิบายได้ว่า คำว่า เศรษฐกิจพอเพียง มิได้เน้นเฉพาะด้าน
เศรษฐกิจเพียงด้านเดียว แต่ในการดำรงชีวิตและการปฏิบัติงานของประชาชนและชุมชนทุกระดับจะต้องพอเพียงใน
ทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านวัตถุและจิตใจ หรือด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครองและการบริหาร โดยคำว่า
ความพอเพียง หมายถึง ทางสายกลางที่มีองค์ประกอบอย่างน้อย 3 ประการ ซ่ึงไม่อาจขาดประการใดประการหน่ึง
ดังนี้

1. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ่ีไม่น้อยเกินไปและไมม่ ากเกนิ ไปโดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและผูอ้ ่ืน
เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคทอ่ี ยใู่ นระดับพอประมาณ กินอยใู่ ชแ้ ตเ่ พยี งพอดตี ามกำลังความสามารถ ไมฟ่ มุ่ เฟอื ย

2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดย
พจิ ารณาจากเหตุปจั จยั ที่เกยี่ วขอ้ งตลอดจนคำนึงถงึ ผลที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนจากการกระทำนัน้ ๆ อยา่ งรอบคอบ

3. การมีภูมิคุ้มกัน หมายถึง การสร้างหรือเตรียมตัวด้วยการหาข้อมูลข่าวสารหรือศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม
เพ่ือให้มีพื้นฐานหรือมีความพร้อมมากเพียงพอท่ีจะรบั ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง หรือสถานการณ์ทั้งหลายที่จะ
เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกลด้วยความไม่ประมาท ท้ังนี้ ในการดำรงชีวิตและการปฏิบัติงานของประชาชนและ
ชุมชนต้องอาศัยความรู้และ คุณธรรมควบคู่กันไปด้วย โดยความรู้จะต้องประกอบด้วยความรอบรู้ ความรอบคอบ
และความระมัดระวังที่จะนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการคิดหรือการวางแผนและการปฏิบัติงานทุกขั้นตอน ส่วน
คุณธรรมนั้น เป็นการเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของประชาชนในชุมชน ซ่ึงรวมท้ังเจ้าหน้าที่ของรัฐ และบุคลากรในทุก
ภาคทุกระดับให้มีสำนึกในเร่ืองความซื่อสัตย์ สุจริต อดทน ความเพียร และมีสติปัญญาในการดำรงชีวิตและการ
ปฏิบัติงาน เป็นต้น ความพอเพียงดงั กล่าวนี้ถือเป็นส่วนสำคัญของการบริหารจดั การตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงซึ่ง
ในท่ีสดุ จะนำไปสู่จดุ หมายปลายทางสูงสุด คอื ประเทศชาตแิ ละประชาชนอยู่เยน็ เป็นสุขอยา่ งมนั่ คงและยัง่ ยืน

การแกป้ ัญหาชุมชน
การมสี ว่ นร่วมในการแกป้ ัญหาหรอื พัฒนาสังคม ชุมชน
ประชาชนกับการมีสว่ นร่วมในการพฒั นาสังคม
บทบาทของประชาชนในการพัฒนาสังคม มนุษย์จัดเป็นทรัพยากรท่ีมีค่ามากในสังคมและเป็นองค์ประกอบท่ีเป็น
หนว่ ยย่อยของสังคม สงั คมจะเจรญิ หรอื พัฒนาไดน้ ้ันข้ึนอยูก่ ับคุณภาพของประชาชนทเ่ี ป็นองค์ประกอบในสังคมนั้น ๆ
การท่ีสังคมจะพัฒนาได้จำเป็นต้องเริ่มต้นพัฒนาในหน่วยย่อยของสังคม อันได้แก่การพัฒนาคนก่อน การพัฒนา
ครอบครัว หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด และประเทศ การพัฒนาสังคมในหน่วยย่อยไปสู่การพัฒนาสังคมท่ีเป็น

41

หน่วยใหญ่ ๆ มีจุดเริ่มต้นที่เหมือนกันคือการพัฒนาท่ีตัวบุคคล บุคคลเหล่าน้ันจะกระจัดกระจายอยู่ตามสังคมต่าง ๆ
โดยเฉพาะประชาชนจำนวนมากอยู่ตามชนบท ถ้าประชากรเหล่าน้ันได้รบั การพัฒนาให้เป็นบุคคลท่ีมีจิตใจดี มีความ
เอ้ือเฟื้อ มีคุณธรรม รู้จักพึ่งตนเอง มีความร่วมมือร่วมใจกัน มีความคิดริเร่ิมดี มีความเชื่อม่ันในภูมิปัญญาของตนและ
พรอ้ มที่จะรับความรูท้ างด้านวชิ าการ วิชาชีพ และข่าวสาร ข้อมลู ทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและสงั คมแลว้ ประชาชน
เหล่าน้ีจะเปน็ กลุ่มท่ีมคี ุณภาพและเปน็ กำลงั สำคัญใน
การพฒั นาประเทศ

การพัฒนาไม่ว่าจะเป็นชนบทหรือในเมือง การฝึกให้คนมีความสามารถและมีการเรียนรู้ที่จะเข้ามามีส่วนร่วม
ในการดำเนินงาน นับว่าเป็นปัจจัยพ้ืนฐานท่ีสำคัญ ซ่ึงการพัฒนาคนท่ีดีท่ีสุด คือ การรวมกลุ่มประชาชนให้เป็น
องค์กรเพ่ือพัฒนาคนในกลุ่ม เพราะกลุ่มน้ันก่อให้เกิดการเรียนรู้ การคิดและการแก้ปัญหา กลุ่มฝึกบุคลิกภาพของคน
ฝกึ การทำงานร่วมกนั ชว่ ยใหค้ นพฒั นาในด้านความคดิ ทศั นคติ ความมเี หตุผล อันเปน็ รากฐานของประชาธิปไตย

การพัฒนามีจุดมุ่งหมาย คือ สร้างความสุขความเจริญแก่ประชาชนช่วยให้สถานการณ์ที่ไม่น่าพอใจไปสู่
สถานการณท์ ีน่ ่าพอใจ ดังนน้ั ประชาชนจึงควรเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการดำเนนิ การทุก ๆ ขั้นตอน เพราะถา้ หากเขาเป็น
ผู้คิดค้นปัญหา จัดลำดับความสำคัญของปัญหา กำหนดหลักวิธีการและขั้นตอนการแก้ปัญหาและเข้าร่วมการ
ปฏิบัติงานแลว้ จะทำให้ประชาชนได้รบั ผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเตม็ ที่ ดังน้ันบทบาทของประชาชน ในการ
พัฒนาสังคม ก็คือ ประชาชนต้องมบี ทบาททต่ี ้องกระทำใน 2 ดา้ น คือการพัฒนาตนเอง และการพัฒนาสังคมโดยการ
มสี ว่ นรว่ ม ดังนี้
1. การพฒั นาตนเอง

การพัฒนาตนเอง หมายถึง การพัฒนาตนเองด้วยตนเอง หรือการสอนใจตนเองในการสรา้ งอุปนิสัยที่ดีเข้า
ทดแทนอุปนสิ ัยที่ไมด่ ี ซงึ่ จะก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์แก่ตนเอง และประโยชนใ์ นการอยภู่ ายในสงั คมไดอ้ ย่างสงบสขุ ไดแ้ ก่

• การพัฒนาบุคลิกภาพ เชน่ ความซ่ือสัตย์ การยกย่องผทู้ ีท่ ำความดี ความเออื้ เฟื้อเผอ่ื แผ่ รกั ของ
ส่วนรวม การตรงตอ่ เวลา การร้จู กั เสียสละในทางทีถ่ ูกทคี่ วร

• การพัฒนาทางด้านอารมณ์ ได้แก่ มีความเชื่อมนั่ ในตัวเอง การมองโลกในด้านดี การมีสติ เป็นต้น
• การพฒั นาดา้ นสติปัญญา เชน่ การพัฒนาความรู้ การพัฒนาทกั ษะทางวิชาชีพ การพฒั นาความคิด

ฯลฯ
• การพัฒนาด้านการเข้าสังคม เชน่ มนษุ ยสัมพนั ธ์ ความอ่อนนอ้ มถ่อมตน การทำงานร่วมกับผูอ้ น่ื ได้

มลี กั ษณะของการเปน็ ผูน้ ำและผ้ตู ามท่ีดี
นอกจากการพัฒนาตนเองในด้านบุคลิกภาพ อารมณ์ สังคม สติปัญญา แล้วบุคคลควรมีค่านิยมที่เก้ือหนุน
การพัฒนาสังคมอีกด้วย อันได้แก่ ความมีระเบียบวินัย ความขยันขันแข็งมานะอดทน การอดออม การไม่ฟุ้งเฟ้อ

42

ความขยันหม่ันเพียร การทำงานหนัก ความประหยัด ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ การยกย่องผู้ที่ทำความดี ความ
เอื้อเฟื้อเผ่อื แผ่ รักของสว่ นรวม ตรงตอ่ เวลา ร้จู ักเสียสละในทางที่ถกู ทีค่ วร
2. การพัฒนาสังคมโดยการมสี ่วนรว่ ม

• การมีส่วนร่วมคือกระบวนการท่ีประชาชนเขา้ มามีสว่ นเกย่ี วข้อง ในทุกขัน้ ตอนของการพัฒนาไม่
ว่าจะเป็นการวางแผน การดำเนินการ การจัดการตามแผน การกำกับติดตาม การประเมินผล และการรับประโยชน์
จากการพัฒนาโดยถอื ว่าการพัฒนานนั้ เปน็ ของประชาชน ซ่ึงสามารถแบ่งระดบั ของการมีสว่ นร่วมได้ 3 ระดบั คอื

1. ระดับเป็นผู้ใชป้ ระโยชน์ เป็นการเขา้ มามสี ่วนเก่ยี วข้องด้วยการรบั ประโยชนอ์ ยา่ งเดยี ว โดย
ไม่ได้มสี ว่ นเก่ียวข้องอยา่ งอ่ืน ซ่ึงถือเปน็ ระดบั ตำ่ สดุ ของการมสี ว่ นร่วม

2.ระดบั เป็นผ้ใู หค้ วามร่วมมอื เป็นระดบั การมสี ่วนร่วมทีส่ งู ขึน้ มา ระดบั นปี้ ระชาชนเข้ามามีส่วน
เก่ียวข้อง โดยการคอยให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าท่ีรัฐ โดยเจ้าหน้าที่รัฐจะเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะขอความร่วมมือ
จากประชาชนในเร่ืองใด และเม่ือใด การรูจ้ ักกาลเทศะ มีความอดทน ควบคุมอารมณไ์ ด้ดี ต้องตัดสินใจได้รวดเร็ว รูจ้ ัก
ใชค้ ำพูดได้อยา่ งเหมาะสม และเป็นนักฟงั ท่ดี ี

3. ระดับเปน็ ผู้ตัดสนิ ใจ ระดบั นี้ประชาชนจะเปน็ ผศู้ ึกษาสถานการณ์ และตดั สนิ ใจทีจ่ ะดำเนินการ
ในเรื่องต่าง ๆ นับตั้งแต่การวางแผนการดำเนินการ การประเมินผล และการแบ่งปันผลประโยชน์ เจ้าหน้าที่
ของรัฐจะเป็นเพียงผู้คอยให้คำแนะนำปรึกษา ซ่ึงถือเป็นระดับสูงสุดของการมีส่วนร่วม อย่างไรก็ตาม การที่ให้มี
ตัวแทนของประชาชนเพียงบางคนเข้ามาร่วมประชุมกับเจ้าหน้าที่ เพ่ือตัดสินใจทำกิจกรรมสำหรับหมู่บ้านนั้น ไม่ใช่
“การมสี ่วนรว่ มของประชาชน”

การมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง จะต้องเปิดโอกาสให้ทุกคน ทุกกลุ่มในหมู่บานมีส่วนเก่ียวข้องในการ
ตดั สินใจที่จะดำเนินการใด ๆ เพ่ือตัวเขา และเพื่อหมู่บ้านของเขา โดยตวั ของเขาเอง ซ่ึงลกั ษณะการทำงานดงั กลา่ วจะ
มีลักษณะของ “หุ้นส่วน” ระหว่างเจ้าหน้าท่ีรัฐกับประชาชน ซึ่งจะเป็นผู้ได้รับผลท่ีเกิดขึ้นจากการพัฒนา การ
ทำงานลักษณะน้ี จะต้องเริ่มโดยการรวมกลุ่มประชาชน ตามกิจกรรมพัฒนาท่ีจัดข้ึนและค่อย ๆ เพ่ิมความสามารถ
และความรับผิดชอบ ในการดำเนินการตามกระบวนการพัฒนาให้แก่ประชาชน จนในที่สุดให้ประชาชนสามารถ
ดำเนินงานดว้ ยตนเองตาม ลำพังได้ โดยทเ่ี จ้าหน้าทรี่ ัฐจะต้องมีความต้งั ใจและจรงิ ใจที่จะสนับสนุนการปฏิบัติงานของ
ประชาชนใหเ้ ป็นดังน้อี ยา่ งต่อเน่อื งและอดทน

• ข้นั ตอนของการมีส่วนรว่ ม การมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการพัฒนาสงั คมมขี ัน้ ตอนต่อไปน้ี
การมีสว่ นร่วมในการค้นหาปัญหาและสาเหตุของปญั หา

ขั้นตอนน้ี เป็นข้ันตอนแรกทม่ี ีความสำคญั ท่สี ุด เพราะถา้ ประชาชนยังไม่สามารถเข้าใจปญั หา และสาเหตุของ
ปัญหาด้วยตัวของเขาเอง กิจกรรมต่าง ๆ ที่ตามมาก็ไร้ประโยชน์ เพราะประชาชนจะขาดความเข้าใจ และมองไม่เป็น

43

ความสำคัญของกิจกรรมนั้น ส่ิงหนึ่งท่ีแน่นอนที่สุดคือ ประชาชนเป็นผู้อยู่กับปัญหาและรู้จักปัญหาของตนดีที่สุด แต่
อาจจะมองปัญหาของตนไม่ชัดเจน จนกว่าจะมีเพ่ือนมาช่วยตนวิเคราะห์ถึงปญั หาและสาเหตุของปัญหา

1. การมสี ่วนรว่ มในการวางแผนการดำเนินงาน การวางแผนดำเนนิ กิจกรรม เปน็ ขั้นตอนต่อไปที่
ขาดไม่ได้ เพราะถ้าหากเจ้าหน้าท่ีต้องการแต่ผลงานการพัฒนาวัตถุให้เสร็จส้ินโดยฉับไวก็จะดำเนินการวางแผนงาน
ด้วยตนเอง ผลที่ตามมาก็คือต่อไปเมื่อขาดเจ้าหน้าท่ีประชาชนก็ไม่สามารถจะดำเนินการวางแผนงานได้ด้วยตนเอง
อาจจะมีความยากลำบากท่ีจะผลักดันให้เจ้าหน้าท่ีทำหน้าที่ เป็นเพียงเพ่ือนของประชาชนในการวางแผน เพราะ
ประชาชนอาจจะมีการศึกษาน้อย แต่ถ้าไม่ให้เขาเข้าร่วมใน ขั้นตอนน้ี โอกาสที่ประชาชนจะได้รับการศึกษา และ
พัฒนาตนเอง ในการวางแผนดำเนินงานก็จะหมดไป เพราะฉะนั้น เจ้าหน้าท่ีจะต้องทำใจให้ได้ว่า การศึกษาใดก็ตาม
ต้องเร่ิมจากความยก ง่าย เร็ว ช้า จากระดบั ของผ้ทู ี่จะรบั การศกึ ษาไม่ใชจ่ ากระดับความรู้ความสามารถของเจา้ หน้าท่ี

2. การมสี ว่ นร่วมในการลงทนุ และปฏบิ ตั งิ าน ประชาชนมีแรงงาน และมปี ระสบการณ์ทีส่ ามาร
เข้าร่วมในกิจกรรมข้ันน้ีได้เพราะในกิจกรรมพัฒนาบางประเภท ถ้าหากให้ประชาชนร่วมลงทุนในกิจกรรม จะทำให้
เขามีความรู้สึกเป็นเจ้าของ เกิดการบำรุงรักษา รักและหวงแหน ในทางตรงข้าม ถ้าเขาไม่มีส่วนร่วมในข้ันตอนนี้ ถ้า
การลงทุนและการปฏิบัติงานทั้งหมดมาจากภายนอกถ้าเกิดอะไรเสียหาย เขาก็ไม่เดือดร้อนมากนัก เพราะเม่ือไม่ใช่
ของเขา เขาก็จะไม่บำรุงรักษาไม่รักไม่หวงแหน นอกจากน้ันการเข้าร่วมปฏิบัติงานด้วยตนเอง จะทำให้เขาเรียนรู้การ
ดำเนินกจิ กรรมอยา่ งใกลช้ ิด และสามารถดำเนนิ กจิ กรรมชนดิ นน้ั ด้วยตนเองต่อไปได้

3. การมีส่วนรว่ มในการตดิ ตามและประเมินผลงาน ประชาชน ควรมสี ว่ นรว่ มในการติดตามและ
ประเมินผลงาน เพ่ือท่ีจะสามารถบอกได้ว่างานที่ทำไปน้ันได้รับผลดี ได้รับประโยชน์หรือไม่อย่างไร ดังน้ันในการ
ประเมินผลควรท่ีจะต้องมีทั้งประชาชนในชุมชนน้ันเอง และคนนอกชุมชนช่วยกันพิจารณาว่า กิจกรรมที่กระทำลงไป
น้ันเกดิ ผลดหี รือไม่ดอี ยา่ งไร ซึ่งจะทำให้ประชาชนเห็นคุณคา่ ของการทำกิจกรรมนั้นรว่ มกนั

44

การสง่ เสริม เผยแพร่ผลงานการปฏิบตั ิตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ตัวอยา่ งเกษตรกรท่ีประสบผลสำเรจ็ นายบญุ เป็ง จันต๊ะภา
กนิ ทุกอยา่ งที่ปลูก ปลูกทกุ อย่างทีก่ ิน

ยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง ปลกู ทุกอย่างท่ีกนิ กินทุกอย่างทีป่ ลูก ชวี ติ อยไู่ ดอ้ ยา่ งย่ังยืน
ตลอดเวลากวา่ 30 ปี นับตั้งแต่ปี 2517 เปน็ ตน้ มา พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยต่อสถานการณแ์ ละปัญหา
ตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ขึ้น สง่ ผลกระทบตอ่ การดำรงชีวิตของคนไทยในยคุ โลกาภิวัตน์ จนกระท่ังเข้าสหู่ ้วงเวลาที่ประสบวิกฤติ
ทางเศรษฐกิจในปี 2540 และภายหลงั จากวิกฤติปัญหา พระองคท์ รงพระราชทานแนวทางแก้ไขปญั หาเพือ่ ให้รอดพ้น
และสามารถดำรงอยู่ได้ ภายใต้กระแสการเปลยี่ นแปลงตา่ ง ๆ ด้วยปรชั ญา “เศรษฐกิจพอเพยี ง” ทรงเตือนทุกฝา่ ยให้
รู้จกั คำว่า “เพยี งพอ” อยา่ ทำอะไรเกินตัว ทำอะไรรอบคอบ ไมป่ ระมาท ดำรงชีวติ อย่างสมถะและสามัคคี จึงจะนำพา
ตนเองและประเทศชาติใหร้ อดพน้ ภาวะวกิ ฤติตา่ ง ๆ และนำไปสู่ความสุขได้

เมอ่ื ปี พ.ศ. 2551 ท่ีผ่านมาทางสำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษ เพ่ือประสานงานโครงการอนั เน่อื งมาจาก
พระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ไดจ้ ดั โครงการเฉลิมพระเกยี รติ ภายใตช้ ื่อ “80 พรรษาปวงประชา เป็นสขุ ศานต์”
เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 โดยกำหนดใหม้ ีการจัดประกวดผลงาน
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ กจิ กรรมสำคญั ในการเฉลิมพระเกยี รติคร้ังน้ี โดยแบ่งประเภทการประกวดเปน็ 2
ประเภท ได้แก่ ประเภทบุคคลและประเภทธุรกจิ โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือการเผยแพรป่ รัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ดว้ ย
ตวั อยา่ งความสำเรจ็ ของบุคคลและองคก์ รภาคธุรกิจ ท่ีได้น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน และการบรหิ ารกิจการ จนเกิดผลสำเร็จและย่ังยืน อีกท้ังเปน็ ตวั อย่างในการนำไปประยุกต์ และปฏิบัติ
ในการดำเนินชวี ิต หนึง่ ของผู้ท่ชี นะการประกวด คือ นายบุญเปง็ จนั ตะ๊ ภา ได้รับรางวลั รองชนะเลิศ ผลงาน ตาม


Click to View FlipBook Version