The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR รร.ราชประชานุเคราะห์ 53 ปี 63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chompu.piyarat, 2021-09-08 03:59:09

SAR รร.ราชประชานุเคราะห์ 53 ปี 63

SAR รร.ราชประชานุเคราะห์ 53 ปี 63

บทสรุป
สำหรับผบู้ ริหำร

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๓ จังหวัดสกลนคร ต้ังอยู่ที่ ๗๘ หมู่ ๑๒ ตาบลนาหัวบ่อ อาเภอ
พรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร จัดการศกึ ษาสาหรับเด็กด้อยโอกาส ๑๐ ประเภท ตั้งแต่ช้ันประถมศึกษาปีท่ี
๑ ถึงช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ประเภทอยปู่ ระจา มีเขตบริการในจงั หวัดสกลนคร และจงั หวัดนครพนม จัดการ
เรียนรู้เป็นไปตามศักยภาพผู้เรียน เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะชีวิตควบคู่คุณธรรม
สามารถพง่ึ พาตนเองไดเ้ มอื่ จบการศกึ ษา โดยส่งเสริมทักษะอาชีพแกผ่ ูเ้ รยี นอยา่ งหลากหลาย ตามโครงการ
การศึกษา เพ่ือการมีงานทาบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรดู้ ้วยการ
ปฏิบัติจริง ในห้องปฏิบัติการงานอาชีพท่ีทันสมัย มีรายได้ระหว่างเรียน และสามารถนาความรู้ท่ีได้ไป
ปรับใชใ้ นชีวิตจริงได้ ตลอดจนมที ักษะการดารงชีวติ สามารถอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข

ผลจากการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา พบว่า มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพ
ของผู้เรียน อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม อันเป็นผลมาจาก สถานศกึ ษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
อย่างหลากหลาย เป็นไปตามความถนัด ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาได้เต็มตามศักยภาพ สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพของชุมชนท้องถิ่น ผู้เรียน
สามารถอา่ นเขยี นสือ่ สารและคิดคานวณได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของหลักสูตรแต่ละระดับช้ัน ผู้เรยี นรอ้ ยละ
88.95 มีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนในระดับดีข้ึนไป ผู้เรียนมี
ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ท่ีช่วยแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่ผู้เรียนพบเห็น และได้รับ
รางวัลจากการแข่งขันในเวทีประกวดและแสดงผลงานในเวทีวิชาการต่าง ๆ ผู้เรียนร้อยละ ๙7.07 มี
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระดับดีข้ึนไป มีผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการสูง
กว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด ผู้เรียนร้อยละ ๙6.88 มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติท่ีดีต่องาน
อาชีพ ในระดบั ดขี ้นึ ไป ผู้เรยี นร้อยละ ๙8.84 มผี ลการประเมนิ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับดขี น้ึ
ไป และสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด และผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐ มีผลการประเมินผ่านทักษะการ
ดารงชวี ติ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหาร และการจัดการ อยใู่ นระดับ ยอดเยยี่ ม อนั เป็นผลมาจาก
สถานศึกษามีวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายที่ชัดเจน สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของ
สถานศึกษา นโยบายของหนว่ ยงานต้นสงั กดั ผปู้ กครองชมุ ชนท้องถิน่ และสอดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏิรูป
ตามแผนการศึกษาชาติ มีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ ผู้บริหารปฏิบัติตนเป็น
ตัวอย่างที่ดี มีวิสัยทัศน์กว้างไกลทันต่อการเปล่ียนแปลง ใช้หลักการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
มีกระบวนการทางานเป็นข้ันตอนตามระบบ PDCA ทาให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธผิ ล บรรลุเปา้ หมายเปน็ ไปตามทก่ี าหนดไว้ ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นน้ คุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมายเช่ือมโยงกับชีวิตจริงและเป็นแบบอย่างได้ มีการพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศกึ ษาให้มคี วามรู้ความเช่ยี วชาญตามมาตรฐานตาแหน่ง และจัดให้มชี ุมชนการเรียนรู้
ทางวชิ าชีพเพอ่ื พฒั นางาน จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและเอือ้ ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ จดั ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ได้เหมาะสมตลอดจนบุคลากรผู้มีส่วน
เก่ียวข้องทุกฝ่ายมสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคญั อยใู่ นระดบั ยอดเย่ยี ม โดยครูรอ้ ยละ ๑๐๐ จัดกระบวนการเรียนรแู้ ละกิจกรรมพฒั นา
ผเู้ รยี นอย่างหลากหลายรอบด้าน ตามโครงสรา้ งหลกั สตู รท่ีสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ขนั้

พ้ืนฐาน หลักสูตรท้องถนิ่ หลักสูตรทวิศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียนไดม้ ีโอกาสเลือกเรียนตามความถนดั ความ

ต้องการ ความสนใจ จัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีเทคนิควิธีการสอนท่ีเป็นไป
ตามความต้องการของหลักสูตรและบริบทของสถานศึกษา จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีบูรณาการหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน สอดแทรกความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และจัด

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลาย ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ มีระบบดูแลและ
ช่วยเหลอื ผู้เรียนเพอ่ื พัฒนา ช่วยเหลอื และแก้ปญั หาผู้เรียนรายบุคคล มีการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ โดย

ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดผลประเมินผลที่เหมาะสม มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ทาให้ผู้เรียน
เรียนรอู้ ยา่ งมคี วามสุข สามารถนาความรู้ท่ีไดไ้ ปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจรงิ ได้ สรปุ ผลการประเมินคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ในภาพรวมอยใู่ นระดับ ยอดเย่ียม

แนวทางการพัฒนาในอนาคต
โรงเรียนมีแนวทางการพัฒนาในมาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน ใช้วิธีการปลูกฝังนิสัย

รักการอ่านให้กับนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาสามารถอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง
ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ท่องสตู รคูณได้ โดยการสอนเสรมิ การฝึกใหน้ ักเรียนไดใ้ ชท้ กั ษะกระบวนการ
คิด คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างเป็นระบบ คิดอย่างมีวิจารณญาณที่จะเกิดข้ึนในรายวิชาวิทยาการคานวณ

การเรียนในรูปแบบโค๊ดด้ิงที่บูรณาการกับรายวิชาอ่ืน ๆ เป็นการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดการ
เรียนรู้ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหาร และการจัดการ การพัฒนาครูและบุคลากรให้ได้เข้ารับการ

อบรมพฒั นาตามมาตรฐานของตาแหนง่ มกี ารเลอ่ื นวิทยฐานะให้สงู ข้นึ และมากขนึ้ มกี ารสร้างความร่วมมือ
ระหว่างครูกับโรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพของนักเรียน และส่งเสริมให้ครูได้เข้ารับการฝึกอบรมให้มี
ความรู้ ความสามารถตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีระบบการนิเทศ ติดตาม การดาเนินงานอยา่ งต่อเน่อื ง

ครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือทุกกลุ่มงานโดยการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาตรฐานที่ ๓
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จัดให้มีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วน

รว่ มในการจัดการเรียนร้ไู ปพร้อมกับการใช้เทคโนโลยี ที่จะเปน็ การสร้างสรรคน์ วัตกรรมหรือรูปแบบ วิธกี าร
สอนใหม่ ๆ ซงึ่ จะสามารถนาไปเปน็ แบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียน ผูป้ กครอง ชุมชน และหนว่ ยงานภายนอกที่
เก่ียวข้องสามารถเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงานท่ีจะเป็นส่วนช่วยในการพัฒนาคุณภาพการจัด

การศกึ ษาทส่ี ูงขึ้น
แผนพัฒนำเพอ่ื ใหไ้ ดม้ ำตรฐำนท่สี ูงขนึ้

แผนปฏิบัตงิ านที่ 1
1. สง่ เสรมิ นิสัยรกั การอ่านให้กับผ้เู รยี น
2. จดั โครงการนวตั กรน้อย

3. เสรมิ สรา้ งวนิ ยั และคุณธรรมจริยธรรม
แผนปฏบิ ัติงานท่ี 2

การพัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
แผนปฏิบตั ิงานที่ 3

1. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในศตวรรษที่ 21 มาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้

2. สง่ เสริมการแลกเปลยี่ นเรียนรู้โดยกระบวนการ PLC
3. สง่ เสรมิ วธิ ีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ

คำนำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปี
๒๕๖๓ ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๓ จังหวัดสกลนคร ฉบับน้ี จัดทาข้ึนเพื่อรายงานการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาประจาปีของสถานศึกษา เป็นรายงานท่ีแสดงภารกิจการดาเนินงานและผลการ
ดาเนินงานประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ เป็นฐานข้อมูลที่จาเป็นสาหรับการประเมินภายนอก และเป็น
รายงานประจาปีท่ีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้อง คณะกรรมการสถานศึกษา พ่อแม่
ผู้ปกครอง ตลอดจนเปิดเผยต่อสาธารณชน นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาและมาตรฐานการศกึ ษา
เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เน้ือหาภายในรายงานประกอบด้วย ข้อมูลพ้ืนฐานของ
สถานศึกษา ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สรุปผลการ
พัฒนา แนวทางการพฒั นาในอนาคต ความต้องการและความช่วยเหลอื

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๓ จังหวัดสกลนคร
เลม่ น้ี ได้ผา่ นความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานแล้ว และหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ ว่า จะเปน็
ประโยชน์สูงสดุ ต่อผู้ท่เี กยี่ วขอ้ งตอ่ ไป

( นางสาวทัศนีย์ สงิ หวงค์ )
ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๕๓ จังหวัดสกลนคร

(พระเทพญาณวิศิษฏ์)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๕๓ จงั หวัดสกลนคร

สำรบญั

เรือ่ ง หน้า

บทสรปุ ผ้บู ริหาร.............................................................................................................................. ก
คานา................................................................................................................................................ ข

ตอนท่ี ๑ ข้อมลู พ้ืนฐำน…………………………………………………………………………………………………….. 1
ตอนที่ 2 ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น………………………………………………………………………… 13
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา................... 27
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั ………………….... 32
ตอนที่ ๓ สรปุ ผล แนวทำงกำรพฒั นำและควำมต้องกำรควำมช่วยเหลือ……………………………… 36

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก เกยี รติบัตรทีน่ กั เรียนได้รบั
ภำคผนวก ข เกียรตบิ ตั รทีผ่ ู้บริหารได้รบั
ภำคผนวก ค เกยี รติบตั รท่ีครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาไดร้ บั
ภำคผนวก ง เกยี รติบัตรท่สี ถานศึกษาได้รับ
ภำคผนวก จ รปู ภาพการดาเนินงาน
ภำคผนวก ฉ เอกสารการดาเนินงานอ่ืน ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
- คาส่ังแต่งตัง้ คณะกรรมการพฒั นาระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษา
- ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานเพอ่ื การประกนั
คณุ ภาพภายใน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓
- การกาหนดคา่ เป้าหมายการประกนั คุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ตอนที่ ๑
ข้อมลู พ้นื ฐำนของสถำนศึกษำ

๑. ขอ้ มูลพ้ืนฐำน

๑.๑ ข้อมูลท่ัวไป

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๓ จังหวัดสกลนคร เดิมชื่อ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์สกลนคร

ก่อตง้ั ขึ้นเม่อื วนั ที่ ๑๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ดว้ ยมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชปู ถัมถ์ มคี วาม

ประสงค์ท่ีจะรบั โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ สงั กัดสานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน ๑๓ แห่ง เป็นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีมีพระชนมายุครบ ๘๔ พรรษา โดยเข้าอยู่ในความอุปถัมถ์ของมูลนิธิราช

ประชานเุ คราะห์ ในพระบรมราชปู ถัมถ์ ณ วนั ท่ี ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖

ปัจจุบันต้ังอยู่ท่ี ๗๘ หมู่ ๑๒ ตาบลน่าหัวบ่อ อาเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร โทรศัพท์

๐๔๒ – ๗๐๖๒๓๐ โทรสาร ๐๔๒ – ๗๐๖๒๓๐ E-mail wf-sn @hotmail.com Facebook พ้ืนที่ ๗๒๘

ไร่ ๒๑ ตารางวา จัดการศึกษาสาหรับเด็กด้อยโอกาส ๑๐ ประเภท ประเภทอยู่ประจา มีเขตบริการใน

จังหวัดสกลนคร และจังหวัดนครพนม เปิดสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ และ

ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ทวศิ กึ ษา) รวมจานวน ๒๔ หอ้ งเรียน

ชื่อ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๕๓ จังหวดั สกลนคร

อักษรย่อ ร.ป.ค.๕๓

วันประกำศจัดตั้ง ๑๓ มีนาคม ๒๕๑๒

ตรำประจำโรงเรยี น

ปรชั ญำ สร้างโอกาส สรา้ งชาติ สร้างความเป็นมนุษย์

คำขวญั เรียนรู้ สงู้ าน สรา้ งประสบการณ์ชวี ติ

คตพิ จน์ สุขา สงฺฆสส สามคฺคี ( ความสามคั คี นามาซึง่ ความสขุ )

สปี ระจำโรงเรียน สีเขยี ว – ขาว

ตน้ ไมป้ ระจำโรงเรยี น ประดู่ทอง

อัตลักษณโ์ รงเรยี น จงรกั ภักดี มคี ณุ ธรรม นอ้ มนาแนวทางพระราชดาริ

เอกลกั ษณโ์ รงเรยี น จดั การศึกษาเพอ่ื เด็กด้อยโอกาส

วสิ ยั ทัศน์ จัดการศกึ ษาเพอื่ สร้างโอกาส และพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ

โดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

พนั ธกิจ

1. พัฒนาผเู้ รยี นให้มีความรู้ ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการดารงชีวิต

2. สง่ เสริมให้ผเู้ รียนมีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีคุณภาพ
4. พัฒนาระบบบริหารจดั การใหม้ ีประสิทธภิ าพโดยเนน้ การมสี ่วนรว่ ม
5. พฒั นาศูนยก์ ารเรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เปา้ ประสงค์
1. ผ้เู รียนมีความรู้สามารถประกอบอาชพี และอยใู่ นสงั คมอยา่ งมีความสขุ
2. ผู้เรียนเปน็ พลเมอื งดไี ด้รบั การยอมรบั จากชุมชน สังคม
3. ครู และบุคลากรทางการศกึ ษามีความเปน็ มอื อาชพี
4. โรงเรียนเป็นทีย่ อมรบั ของชมุ ชน และสังคม
5. โรงเรียนเปน็ แหล่งเรียนรู้โครงการพระราชดารแิ ละศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๑.๒ ขอ้ มูลสภำพชมุ ชน เศรษฐกจิ และสงั คม
๑.๒.๑ สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลกั ษณะ เปน็ หมบู่ ้านเชิงเขา ประชากรสว่ นใหญ่นบั ถอื

ศาสนาพทุ ธ ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ทานา ทาสวน เล้ยี งสัตว์ และรับจา้ ง สว่ นใหญ่มรี ายได้น้อย
รายได้ไมแ่ นน่ อน รอบบรเิ วณโรงเรียน มไี ร่อ้อย ประเพณี/ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถน่ิ ท่ีเป็นที่รู้จกั โดยทว่ั ไป
คือ ฟ้อนผฟี า้

๑.๒.๒ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศกึ ษาระดบั ม.๖ อาชีพหลกั คือ เกษตรกรรม ส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจหรอื รายไดโ้ ดยเฉลี่ยตอ่ ครอบครัว ต่อปี ๑๕,๐๐๐ บาท จานวนคนเฉลี่ยตอ่
ครอบครัว ๔ คน

๑.๒.๓ โอกาสและข้อจากัดของโรงเรยี น
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๓ จังหวัดสกลนคร เป็นโรงเรียนท่ีอยู่ในความดูแลของ

มูลนธิ ิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีความพรอ้ มดา้ นงบประมาณและสถานท่ี มีเทคโนโลยีท่ี
ทันสมัย มีแหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกหลากหลาย เพียงพอต่อการส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียน
สามารถสรา้ งเครอื ข่ายทางการศกึ ษา ดา้ นวิชาการ วิชาชีพ และศลิ ปวฒั นธรรมได้ แตเ่ นอื่ งจากโรงเรียนรับ
ผู้เรยี นทด่ี อ้ ยโอกาส ๑๐ ประเภท จงึ ต้องมีการพฒั นาทักษะการดารงชีวติ ของผ้เู รยี นเพื่อใหม้ ีความพร้อมใน
การเรยี นรู้

2. โครงสร้างการบรหิ ารงาน สานักงานคณะกรรมการ
สานกั บรหิ ารงานก
สพป. / สพม. ผูอ้ านวยการโ

กลมุ่ บริหารงานวิชาการ กล่มุ บริหารงานบุคคล กล่มุ บริหารงบประมาณและแผนงาน กล

1. งานพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา 1. งานวางแผนอัตรากาลังและ 1. งานแผนงานและ 1. งานธ
2. งานพฒั นากระบวนผลการเรยี นรู้ กาหนดตาแหนง่ งบประมาณ 2. งานเ
3. งานวดั ประเมนิ ผลและการเทียบโอน 2. งานสรรหาและบรรจแุ ต่งตัง้ 2. งานบรหิ ารการเงนิ การ สถานศกึ
ผลการเรยี น 3. งานเสรมิ สรา้ งประสิทธิภาพ บญั ชี 3. งานป
4. งานวิจัยเพ่ือคุณภาพการศึกษา ในการปฏิบตั ริ าชการ 3. งานบริหารพสั ดแุ ละ เครือข่าย
5. งานพัฒนาส่ือนวตั กรรมเทคโนโลยี 4. งานวินัยและการรักษาวินยั สนิ ทรัพย์ 4. งานจ
6. งานพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ 5. งานออกจากราชการ 4. งานตดิ ตามและประเมินผล พัฒนาอ
7. งานนเิ ทศการศึกษา 6. งานแผนงานกล่มุ บคุ คล 5. งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุน 5. งานป
8. งานแนะแนวการศกึ ษา 7. งานบรกิ ารสาธารณะ งานฝา่ ยตา่ งๆ พ้นื ท่กี าร
9. งานส่งเสรมิ ความรดู้ า้ นวชิ าการแก่ 8. งานอนามัยโรงเรยี น 6. งานส่งเสรมิ สวัสดิการ 6. งานจ
ชมุ ชน 9. งานโภชนาการโรงเรียน บคุ ลากร หน่วยงา
10. งานประสานความรว่ มมือในการ 10.งานสหกรณโ์ รงเรียน 7. งานแผ
พัฒนาวิชาการกบั สถานศึกษาอ่ืน 11. งานอ่นื ๆที่ได้รับมอบหมาย - ระบบทะเบียนประวัติ 8. งานพ
11. งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ งาน - ระบบบาเหน็จบานาญ ข้อมลู สา
วชิ าการแกบ่ ุคคลครอบครัว องค์กร - ระบบสวสั ดิการคา่ 9. งานเ
หน่วยงานและสถาบันอืน่ ที่จัดการศึกษา รักษาพยาบาลจ่ายตรง 10. งาน
12. งานห้องสมดุ 7. งานอ่ืนๆทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 11.งาน
13. งานประกันคณุ ภาพ 12. งาน
14. ศนู ย์บรกิ ารทางการศกึ ษาพเิ ศษ 13. งาน
15 .งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
16. งานแผนงานกลมุ่ วชิ าการ
17. งานอนื่ ๆทไี่ ด้รบั มอบหมาย

นกั เรยี น

รการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
การศกึ ษาพิเศษ
โรงเรยี น

ลมุ่ บริหารงานทว่ั ไป กลมุ่ บริหารงานกิจการนักเรยี น งานกิจการพิเศษ

ธุรการโรงเรียน 1. งานหอพักนักเรยี น 1. งานโครงการพระราชดารฯิ
เลขานกุ ารคณะกรรมการ 2. งานการศกึ ษาเพ่ือการมงี านทา
กษา 2.งานปัจจยั พืน้ ฐานความเป็นอยู่ บรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
ประสานงานและพัฒนา นักเรยี นประจา พอเพียง
ยการศกึ ษา 3. งานป้องกันอุบัตภิ ยั ในโรงเรียน 3. งานกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 15 ปี
จดั ระบบบรหิ ารและ 4. งานกิจกรรมนกั เรียน 4.งานแผนงานงานกจิ การพเิ ศษ
องคก์ ร 5. งานประสานงานปอ้ งกนั และแกไ้ ข 5. งานอน่ื ๆท่ไี ด้รบั มอบหมาย
ประสานราชการกับเขต การใชส้ ารเสพตดิ
รศกึ ษาและหนว่ ยงาน 6. งานระเบยี บวนิ ยั
จัดระบบควบคุมใน 7. งานดแู ลอาคารสถานที่
าน 8.งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น
ผนงานกลุ่มบรหิ ารงานทว่ั ไป 9.งานแผนงานกลุ่มบรหิ ารงานนกั เรียน
พัฒนาระบบและเครอื ขา่ ย 10. งานนเิ ทศ ประเมนิ การปฏบิ ตั งิ าน
ารสนเทศ 11. งานอ่นื ๆท่ีได้รับมอบหมาย
เทคโนโลยสี ารสนเทศ
นประชาสมั พนั ธ์
นโสตทัศนูปกรณ์
นยานพาหนะ
นอนื่ ๆท่ไี ด้รบั มอบหมาย

๓. ขอ้ มูลบคุ ลำกรของสถำนศึกษำ

๓.๑ ข้อมูลผู้บรหิ ำร

๓.๑.๑ ดร.ทัศนยี ์ สิงหวงค์ ผอู้ านวยการโรงเรยี น วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุด ปรญิ ญาเอก สาขา

การบรหิ ารการศึกษา โทรศัพท์ ๐๘๙-๕๗๒๓๒๕๒ e-mail : [email protected]

๓.๑.๒ นายกรณ์ สลา้ งสขุ สกาว รองผูอ้ านวยการโรงเรียน วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสดุ ปรญิ ญาโท

(ค.ม.) สาขาการบริหารการศกึ ษา โทรศัพท์ ๐๙๗-๓๐๒๔๙๑๕ e-mail : [email protected]

รบั ผิดชอบ กลมุ่ บริหารงานบคุ คล

๓.๑.๓ นางสาววนดิ า แสนสิงห์ รองผู้อานวยการโรงเรียน วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สุด ปริญญาโท

(กศ.ม.) สาขา การบริหารการศึกษา โทรศพั ท์ ๐๘๑-๐๗๐๙๖๕๙ e-mail : Vanid๓๔๐๐๐@gmail.com

รับผิดชอบ กลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ

๓.๑.๔ นายสุพรรณ์ ยอดสงิ ห์ รองผ้อู านวยการโรงเรยี น วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด ปรญิ ญาโท

(ศษ.ม) สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา โทรศพั ท์ ๐๘๘-๒๖๔๒๕๕๔ e-mail : [email protected]

รับผดิ ชอบ กลุ่มบริหารงานกจิ การนกั เรียน

๓.๑.๕ นางสาวปาริฉตั ร จันทรห์ ลา้ รองผ้อู านวยการ วฒุ ิการศึกษาสูงสุด ปรญิ ญาโท

(ศษ.ม.) สาขาการบรหิ ารการศึกษา โทรศพั ท์ ๐๘๙-๘๔๑๘๔๓๕ e-mail : appie๓๘-Za@ gmail.com

รบั ผดิ ชอบ กลมุ่ บริหารงานทวั่ ไป และ กล่มุ บรหิ ารงานงบประมาณ

๓.๑.๖ นางสาวอนุรกั ษ์ สะตะ ครู วิทยฐานะครชู านาญการพิเศษ ครทู ไี่ ด้รับการแต่งต้ังให้

ปฏิบตั หิ นา้ ทีแ่ ทนรองผูอ้ านวยการ กลมุ่ บรหิ ารงานกจิ การพิเศษ วฒุ ิการศึกษาสงู สุด ปรญิ ญาโท (กศ.ม.)

สาขาการบริหารการศึกษา โทรศัพท์ ๐๘๐-๑๘๗๕๑๕๕ e-mail : [email protected]

๓.๒ จำนวนบคุ ลำกร

ปกี ำรศกึ ษำ ผู้บรหิ ำร ครู จำนวนบคุ ลำกร บุคลำกรอ่ืนๆ รวม
พนักงำนรำชกำร ครูอตั รำจ้ำง

๒๕๖๑ ๒ ๓๖ ๑๖ ๓ ๒๕ ๘๒

๒๕๖๒ ๒ ๓๖ ๑๖ ๓ ๑๖ ๗๓

๒๕๖๓ ๕ ๓๖ ๑๖ ๓ ๑๗ ๗๘

๓.๓ วฒุ ิกำรศึกษำ/อำยุเฉลยี่ /ประสบกำรณส์ อน (๑๐ มิถนุ ำยน ๒๕๖๓)

เพศ ระดบั กำรศึกษำ อำยุ ประสบกำรณ์
เฉลี่ย สอนเฉลยี่
บคุ ลำกร หญงิ ชำย ปรญิ ญำ ปรญิ ญำ ปริญญำ ต่ำกว่ำ
เอก โท ตรี ปรญิ ญำตรี

ผอู้ ำนวยกำร ๑ - ๑ - - - ๕๗ ๓๔

รองผู้อำนวยกำร - ๑ - ๑ - - ๕๔ ๓๐

ครูประจำกำร ๑๗ ๑๘ - ๑๒ ๒๓ - ๔๓ ๑๕

พนักงำนรำชกำร ๑๐ ๖ - - ๑๖ - ๓๕ ๕

พีเ่ ล้ยี งเด็กพกิ ำร ๗ ๘ - - ๒ ๑๓ ๓๙ -

ลูกจ้ำงประจำ - ๑ - - - ๑ ๕๓ -

ครอู ัตรำจ้ำง ๑ ๒ - - ๓ - ๒๙ ๒

นกั กำรภำรโรง - ๑ - - - ๑ ๕๙ -

๓.๔ จำนวนครูในกลุ่มสำระกำรเรยี นรู้และภำระงำนสอน

สำระกำรเรียนรู้ จำนวน (คน) ภำระงำนสอนเฉลี่ย (ชม./
สปั ดำห)์
๑. ภำษำไทย ๖
๒. คณติ ศำสตร์ ๖ ๑๗
๓. วทิ ยำศำสตร์ ๑๔ ๑๖
๔. สังคมศกึ ษำ ๖ ๑๑
๕. สุขศึกษำและพละศกึ ษำศลิ ปะ ๔ ๑๘
๖. ศิลปศกึ ษำ ๘ ๑๔
๗. กำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี ๑๐ ๑๐
๘. ภำษำต่ำงประเทศ ๖ ๑๒
๖๐ ๑๒
รวม

๔. ข้อมลู นักเรียนและผูส้ ำเร็จกำรศกึ ษำ
๔.๑ ขอ้ มลู จำนวนผเู้ รียนปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ รวม ๖๕๕ คน (๒๐ กรกฎำคม ๒๕๖๓)

ระดับ จำนวน เพศ รวม เฉลี่ย
ช้ันเรียน ห้อง ชำย หญงิ ต่อห้อง

ป.๑ ๑ ๕ ๒ ๗ ๗

ป.๒ ๑ ๘ ๗ ๑๕ ๑๕

ป.๓ ๑ ๗ ๖ ๑๓ ๑๓

ป.๔ ๑ ๑๐ ๗ ๑๗ ๑๗

ป.๕ ๑ ๑๙ ๑๕ ๓๔ ๓๔

ป.๖ ๑ ๒๙ ๒๖ ๕๕ ๒๘

รวม ๖ ๗๘ ๖๓ ๑๔๑ ๒๒

ม.๑ ๓ ๖๓ ๖๑ ๑๒๔ ๔๑

ม.๒ ๓ ๕๓ ๖๖ ๑๑๙ ๔๐

ม.๓ ๓ ๔๒ ๕๕ ๙๗ ๓๒

ม.๔ ๓ ๑๖ ๔๕ ๖๑ ๒๐

ม.๕ ๓ ๕ ๓๑ ๓๖ ๑๒

ม.๖ ๓ ๑๑ ๑๕ ๒๖ ๙

รวม ๑๘ ๑๙๐ ๒๗๓ ๔๖๓ ๒๓

ปวช. ๑ ๑ ๑๐ ๘ ๑๘ ๑๘

ปวช. ๒ ๑ ๑๖ ๙ ๒๕ ๒๕

ปวช. ๓ ๑ - ๘๘ ๘

รวม ๓ ๒๖ ๒๕ ๕๑ ๒๓

รวมทง้ั สิ้น ๒๔ ๒๙๔ ๓๖๑ ๖๕๕ ๓๔

๔.๒ ข้อมลู นกั เรยี นสำเรจ็ กำรศกึ ษำ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ (๙ เมษำยน ๒๕๖๔)

ระดับ จำนวน เพศ รวม
ชนั้ เรยี น ห้อง ชำย หญงิ

ป.๖ ๑ ๒๗ ๒๖ ๕๓

ม.๓ ๓ ๓๔ ๕๕ ๘๙

ม.๖ ๓ ๙ ๒๒ ๓๑

ปวช. ๓ ๑ - ๘ ๘

รวมทง้ั สิน้ ๘ ๗๐ ๑๐๓ ๑๗๓

หมำยเหตุ

๑. นกั เรยี นระดับชัน้ ป.๖ ยา้ ยสถานศกึ ษาไปจบการศึกษาในสถานศึกษาใหม่ จานวน ๒ คน

๒. นักเรียนระดบั ชั้น ม.๓ ย้ายสถานศึกษาไปจบการศกึ ษาในสถานศกึ ษาใหม่ จานวน ๘ คน

๓. นกั เรยี นระดับชนั้ ม.๖ ย้ายสถานศกึ ษาไปจบการศึกษาในสถานศึกษาใหม่ จานวน ๓ คน และ

นกั เรียนท่สี าเร็จการศึกษาในระดบั ช้นั ปวช.๓ เป็นนกั เรยี นในระดบั ชนั้ ม.๖ (สาเร็จการศึกษา ๒ หลักสูตร)

๔.๓ จำนวนนักเรยี นตง้ั แตป่ ีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓

ระดับช้นั เรียน ๒๕๖๑ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓ จำนวนหอ้ งเรยี น
๓ ๒๕๖๒ ๗
ป.๑ ๙ ๑๑ ๑๕ ๑
ป.๒ ๑๕ ๖ ๑๓ ๑
ป.๓ ๑๙ ๑๓ ๑๗ ๑
ป.๔ ๓๖ ๑๙ ๓๔ ๑
ป.๕ ๓๙ ๓๙ ๕๕ ๑
ป.๖ ๑๒๑ ๔๔ ๑๓๑ ๑
รวม ๑๑๐ ๑๔๒ ๑๒๔ ๖
ม.๑ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๑๙ ๓
ม.๒ ๑๒๓ ๙๙ ๙๗ ๓
ม.๓ ๖๖ ๙๘ ๖๑ ๓
ม.๔ ๘๗ ๓๙ ๓๖ ๓
ม.๕ ๕๔ ๓๑ ๒๖ ๓
ม.๖ ๕๕๙ ๓๐ ๔๖๓ ๓
รวม ๓๕ ๔๑๗ ๑๘ ๑๘
ปวช. ๑ ๔๕ ๓๒ ๒๕ ๑
ปวช. ๒ ๒๘ ๑๓ ๘ ๑
ปวช. ๓ ๑๐๘ ๒๕ ๕๑ ๑
รวม ๘๓๐ ๗๐ ๖๕๕ ๓
รวมท้ังสน้ิ ๘๓๐ ๒๔

๔.๔ จำนวนนกั เรยี นทม่ี คี วำมต้องกำรจำเป็นพเิ ศษ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓

ปกี ำรศกึ ษำ

ท่ี ประเภท ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓
หญิง รวม
ชำย รอ้ ยละ

๑ นกั เรยี นทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการมองเห็น - - --- -

๒ นกั เรียนทม่ี คี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน - - --- -

๓ นกั เรียนทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางสติปญั ญา ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๐.๔๖

๔ นกั เรียนทม่ี คี วามบกพร่องทางร่างกาย ๒ - ๑ - ๑ ๐.๑๕

หรอื การเคลือ่ นไหว หรือสขุ ภาพ

๕ นักเรียนท่มี คี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้ ๙๒ ๑๐๐ ๙๖ ๔๕ ๑๔๑ ๒๑.๕๓

๖ นกั เรยี นที่มีความบกพรอ่ งทางการพดู และภาษา - - --- -

๗ นักเรยี นที่มีความบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ ๕๖ ๔๘ ๑๓ ๑๑ ๒๔ ๓.๖๖

๘ นักเรยี นออทสิ ติก ๑ ๑ --- -

๙ นักเรยี นพกิ ารซอ้ น - ๑ --- -

รวมท้ังสิน้ ๑๕๖ ๑๕๕ ๑๑๑ ๕๘ ๑๖๙ ๒๕.๘๐

๕. ขอ้ มูลหลกั สตู รที่จัดกำรเรยี นกำรสอน
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๓ จังหวัดสกลนครใช้หลักสูตรสถานศึกษา (ฉบับปรุง พุทธศักราช

๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ซ่งึ แบง่ ออกเปน็ ๓ ระดบั ได้แก่
ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และหลักสูตรทวิศึกษาตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซ่ึงประกอบด้วย ๓ สาขา ได้แก่ สาขาการ

บัญชี สาขาชา่ งเช่ือมโลหะ และสาขาตัวถังและสี

๖. ขอ้ มลู อำคำรสถำนที่ จำนวน ( หลงั )

ท่ี อำคำร ๒
๑ อาคารเรียน ๒
๒ โรงฝึกงาน ๑
๓ หอประชุม ๑๑
๔ โรงอาหาร ๓
๕ บา้ นพกั ครู ๑
๖ บ้านพักภารโรง ๒
๗ อาคารบ้านพกั ครู ๘ หนว่ ย (แบบแฟลต ๘หนว่ ย) ๑๗
๘ เรือนพยาบาล ๓
๙ หอนอน ๒
๑๐ บา้ นพักนกั เรียน
๑๑ โรงหุงตม้ และประกอบอาหาร

ท่ี อำคำร จำนวน ( หลงั )
๑๒ เรือนเพาะชา ๒
๑๓ โรงเลี้ยงไกไ่ ข่ ๑
๑๔ โรงเลย้ี งไกเ่ นื้อ ๒
๑๕ โรงเรือนสุกรขนุ ๑
๑๖ โรงอาบนา้ นักเรยี น ๑๕
๑๗ หอ้ งน้า - หอ้ งส้วม ๑๔
๑๘ อาคารศนู ย์การเรยี นร้โู ครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริ ๑
๘๖
รวม

๗. ขอ้ มูลแหล่งเรยี นรภู้ ำยในและภำยนอกสถำนศึกษำ

๗.๑ หอ้ งสมุดมี ๒ ห้อง ไดแ้ ก่

๗.๑.๑ หอ้ งสมุดเฉลิมพระเกียรติครองสริ ิราชสมบัติครบ ๔๘ พรรษา มขี นาด ๒ ห้องเรียนมวี สั ดุ -

ครุภณั ฑเ์ พียงพอในการให้บรกิ ารแกน่ ักเรียนระดับประถมศึกษา มหี นังสือ ๖๕๐ เลม่ มีคอมพวิ เตอรใ์ นการ

ปฏิบตั ิงาน จานวน ๒ เคร่อื ง เครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ พื่อการสบื คน้ ข้อมลู อินเทอรเ์ นต็ จานวน ๑๐ เคร่อื ง

๗.๑.๒ ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติครองสิริราชสมบัติ ครบ ๖๐ ปี มีขนาด ๔ ห้องเรียน ให้บริการ

นกั เรียนระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษา มีหนงั สอื จานวน ๑๑,๗๐๐ เล่ม การสืบคน้ หนงั สอื และการยมื - คนื ใชร้ ะบบ

Library ๒๐๐๐ มีคอมพวิ เตอร์ในการปฏิบัติงาน จานวน ๒ เครือ่ ง เครือ่ งคอมพิวเตอรเ์ พอ่ื การสบื ค้นข้อมูล

อนิ เทอร์เน็ตจานวน ๑๐ เคร่อื ง ห้องมัลติมีเดีย ๑ ห้อง

๗.๒ ห้องปฏิบัติกำร

๑. หอ้ งปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ จานวน ๒ หอ้ ง

๒. ห้องปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์ จานวน ๔ ห้อง

๓. ห้องปฏบิ ัติการทางภาษา จานวน ๓ ห้อง

๔. หอ้ งปฏิบัตกิ ารทางคณติ ศาสตร์ จานวน ๑ ห้อง

๕. หอ้ งปฏบิ ตั ิการภาษาไทย จานวน ๑ หอ้ ง

๖. หอ้ งดนตรี จานวน ๑ ห้อง

๗. ห้องศลิ ปะ จานวน ๑ หอ้ ง

๘. ห้องสวนพฤกษศาสตร์ จานวน ๑ ห้อง

๙. หอ้ งสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จานวน ๑ ห้อง

๑๐. หอ้ งปฏบิ ตั ิการอตุ สาหกรรม จานวน ๒ ห้อง

๑๑. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคหกรรม จานวน ๒ ห้อง

๑๒. ห้องปฏบิ ตั ิการการศึกษาเพือ่ การมงี านทา จานวน ๑๐ หอ้ ง

๑๓. ห้องโรงประลองตน้ แบบทางวศิ วกรรม จานวน ๑ ห้อง

๑๔. ห้อง E-Class room จานวน ๑ หอ้ ง

๑๕. ศนู ยก์ ารเรยี นรู้โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ จานวน ๑ หลงั

๑๖. สถานประกอบการร้านกาแฟภูคราม จานวน ๑ หลัง

๑๗. ศนู ยเ์ รยี นรู้งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น จานวน ๑ หอ้ ง

๑๘. หอ้ ง To Be Number One จานวน ๑ ห้อง

๗.๓ แหลง่ เรยี นรภู้ ำยนอกโรงเรียน

๑. วดั พระธาตุภเู พ็ก
๒. วดั ถ้าขาม
๓. พิพิธภัณฑ์หลวงป่ฝู ้ัน อาจาโร (วัดป่าอุดมสมพร)

๔. วัดพระธาตุเชงิ ชมุ วรวหิ าร
๕. ศนู ยก์ ารศกึ ษาการพัฒนาภพู านอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ

๖. วิสาหกจิ ชมุ ชนทอผ้าพื้นเมือง บา้ นดอนกลอย
๗. กลุ่มแม่บา้ นเกษตรกรบา้ นโนนเรือสามัคคี (โฮมครามแมว่ ารี)
๘. วัดปา่ สุทธาวาส

๙. ศูนย์ศิลปาชพี กุดนาขาม
๑๐. วดั ถา้ พวง จงั หวดั สกลนคร

๑๑. สวนแม่ สวนลกู จงั หวดั สกลนคร
๑๒. หนองหาน จังหวดั สกลนคร
๗.๔ ปรำชญ์ชำวบำ้ น/ภูมิปญั ญำทอ้ งถิ่น ผูท้ รงคุณวุฒิท่สี ถำนศกึ ษำเชญิ มำใหค้ วำมรู้แก่ครู นักเรียน

๑. นายประทวน จนั ทรแ์ กว้ ให้ความรูเ้ ร่อื ง ไฟฟา้ เบอ้ื งต้น
๒. นางอนิ ทริ า ไชยเชษฐ์ ใหค้ วามรู้เรื่อง การทาอาหารพน้ื เมอื ง

๓. นายแพทย์วิศุทธิ เอ้ือก่ิงเพชร ศูนย์การศึกษาพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ให้
ความรเู้ รื่อง ปศุสัตว์ เชน่ การเลยี้ งหมูดา ไกด่ า ไกเ่ น้ือ

๔. นายกวีพล เผอื กขา ศนู ยก์ ารศึกษาพัฒนาภูพานอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ ใหค้ วามรู้ พืชไร่

๕. นายสธุ ิบัติ พงศศ์ ิริ ศูนยก์ ารศกึ ษาพฒั นาภูพานอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ให้ความรู้ การทา
ผลติ ภัณฑจ์ ากผา้ ย้อมคราม

๖. นางพชั รา บุญบตุ ร ศนู ยก์ ารศกึ ษาพฒั นาภูพานอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ ให้ความรู้ การทา
ผลติ ภัณฑจ์ ากผา้ ย้อมคราม

๗. ผศ.อัมพร ภศู รีฐาน มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสานวิทยาเขตสกลนคร ให้ความรเู้ รื่อง

การทาผลิตภณั ฑจ์ ากผ้ายอ้ มคราม
๘. นางถวลิ อุปรี วสิ าหกจิ ชุมชนทอผา้ พื้นเมอื งบ้านดอนกอย ใหค้ วามรู้เรอื่ งการย้อมคราม

๙. นางบุญทอน มาพร บ้านโนนเรือ หมู่ ๑๓ ตาบลนาหัวบ่อ อาเภอพรรณนานิคม จังหวัด
สกลนคร ใหค้ วามรูเ้ ร่ืองการย้อมคราม การเตรียมฝา้ ยกอ่ นทอผ้า

๑๐. นางวารีย์ ไชยตะมาตย์ บ้านโนนเรือ หมู่ ๑๓ ตาบลนาหัวบ่อ อาเภอพรรณนานิคม จังหวัด

สกลนคร ให้ความรเู้ รอื่ งการทานา้ คราม การมัดยอ้ ม การปลูกและดแู ลตน้ คราม
๑๑. นายวิรัตน์ จันทร์ทองดี วิทยาลัยสารพัดช่างสกลนคร ให้ความรู้ ในโครงการ เพิ่มหลักสูตร

ปวช.ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔
๑๒. นายจอห์นสนั นามวงศ์ อาชพี อิสระ ให้ความรู้เรอื่ งการทาอฐิ บลอ็ ก
๑๓. นายทะนงศักดิ์ ทินบุตร ครูโรงเรียนกุดบากพัฒนศึกษา ให้ความรู้แกนนาหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง

๘. ขอ้ มูลอ่ืนท่ีเกย่ี วขอ้ ง ระดับคณุ ภำพ
ผลกำรประเมนิ คุณภำพภำยนอกรอบสำม ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๖
ปรับ พอ ดี ดี
มำตรฐำนกำรศกึ ษำระดับขั้นพ้ืนฐำน ปรงุ ใช้ มำก
เพ่อื กำรประเมนิ คุณภำพภำยนอก

ด้ำนผู้เรียน 
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ 
มาตรฐานท่ี ๒ ผู้เรยี นมสี ุขนสิ ยั สุขภาพกาย และสุขภาพจิตทด่ี ี
มาตรฐานท่ี ๓ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ ลกั ษณะนิสัยดา้ นศิลปะ ดนตรแี ละกฬี า 
มาตรฐานท่ี ๔ ผู้เรยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์
มีวจิ ารณญาณ มีความคดิ สรา้ งสรรค์ คดิ ไตร่ตรองและมวี สิ ยั ทศั น์ 
มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรยี นมคี วามรู้และทกั ษะทีจ่ าเปน็ ตามหลักสตู ร

มาตรฐานท่ี ๖ ผู้เรยี นมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการ 
เรยี นรู้และพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนื่อง 

มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีทกั ษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ 
ทางานร่วมกบั ผ้อู ืน่ ได้ และมีเจตคติทีด่ ีต่ออาชพี สุจริต 
ดำ้ นครู
มาตรฐานที่ ๘ ครูมคี ุณวฒุ ิ / ความร้คู วามสามารถตรงกบั งาน ท่ีรบั ผิดชอบ 
และมคี รูเพียงพอ 

มาตรฐานที่ ๙ ครมู ีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี 
ประสิทธิภาพ และเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ 
ดำ้ นผบู้ ริหำร
มาตรฐานท่ี ๑๐ผบู้ ริหารมีภาวะผู้นาและมคี วามสามารถในการบริหารจดั การ

มาตรฐานท่ี ๑๑สถานศึกษามกี ารจดั องค์กรโครงสร้างและการ
บริหารงานอย่างเปน็ ระบบ ครบวงจร ให้บรรลเุ ป้าหมายการศึกษา

มาตรฐานท่ี ๑๒ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการเรยี นการสอน
โดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั

มาตรฐานท่ี ๑๓ สถานศกึ ษามีหลักสตู ร ท่เี หมาะสมกับผเู้ รียนและท้องถิน่
มสี ่อื การเรียนการสอนทเ่ี อือ้ ตอ่ การเรียนรู้

มาตรฐานท่ี ๑๔ สถานศึกษาส่งเสรมิ ความสัมพนั ธ์และความรว่ มมอื กบั
ชมุ ชนในการพฒั นาการศกึ ษา

โรงเรียนมผี ลกำรประเมินระดับคณุ ภำพ ดี โดยมีคะแนน ๘๓.๘๗
ผลกำรรับรองมำตรฐำนคุณภำพ  รบั รอง  ไมร่ ับรอง

ขอ้ เสนอแนะเพอื่ กำรพัฒนำตำมกฎกระทรวงวำ่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีกำรประกนั คณุ ภำพ

กำรศกึ ษำ พ.ศ. ๒๕๕๓
1. ด้านผลการจดั การศึกษา
๑) ผู้เรยี นควรไดร้ ับการสง่ เสรมิ เรือ่ งการบันทึกจากการอา่ นและการค้นคว้าจากส่ือ

เทคโนโลยีเพิ่มมากข้ึน โดยครูมีการตรวจบันทึกการอ่านสม่าเสมอ ให้คาแนะนาในการสรุปความท่ีถูกตอ้ ง
ผเู้ รยี น ชัน้ ประถมศกึ ษา ปีท่ี ๑ – ๒ ฝึกการอา่ นใหค้ ล่องเขียนใหค้ ล่อง โดยมกี ารอา่ นให้ครูฟังทุกวัน

2) ผเู้ รยี นควรได้รับการพัฒนาทักษะพืน้ ฐานภาษาไทย โดยเนน้ การวิเคราะหเ์ ร่ืองที่อ่าน
สังเคราะห์เป็นผลงานเขียนย่อความ เรียงความ ตอบคาถามจากการอ่าน ให้เหตุผลจากการเรียนรู้ได้
โดยปฏบิ ัติ ฝกึ ฝน ทบทวนอยา่ งสม่าเสมอ สว่ นคณิตศาสตร์ ควรเน้นการแก้ไขโจทย์ปัญหาตามกระบวนการ

ทางคณิตศาสตร์ การคิดเลขเร็วและควรให้ผู้เรียนได้ทดลองจริง เรียนรู้จากของจริง ประสบการณ์ตรง
ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นทุก ๆ ชน้ั

3) ผูเ้ รยี นควรไดร้ บั การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นในทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ โดยครูผู้สอนบูรณาการทักษะการประกอบอาชีพ
ให้กับผู้เรียนให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศต้องเน้นภาษาอังกฤษเพื่อ

การส่ือสาร เน้นการพูด การฟัง การสนทนา และสามารถนาไปใช้ในการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม
กับบริบทของสังคมไทย เช่นบทสนทนาในการนวดแผนไทย การขายผลิตภัณฑ์ กิจกรรมในร้านเสริมสวย

โดยการจาลองสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ฝึกสนทนา กับชาวต่างชาติ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ควรบูรณาการจากกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมการประกอบอาชีพเพ่ือการมีรายได้ (สอร.) ให้ผู้เรียน
ไดศ้ กึ ษาทดลองจากภาคสนามโดยไม่จาเปน็ ตอ้ งอยู่ในห้องปฏิบัติการเพียงอย่างเดียว เนน้ การตั้งสมมุติฐาน

ทกั ษะการสงั เกต การสรปุ ผลการทดลอง จากภาคสนามใหม้ ากข้ึน
4) ผเู้ รยี นควรได้รับการส่งเสรมิ ให้มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสูงขึน้ ในกลุม่ สาระการเรียนรู้

สังคมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม เนอื่ งจากผ้เู รียนมาจากพืน้ ที่บริการหลายจังหวัด หลากหลายวัฒนธรรม
ควรหลอมรวมขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมของจังหวัดสกลนคร เป็นสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินให้ผู้เรียนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจในจงั หวัดที่ตนศึกษาอยู่ ครคู วรปรบั การเรยี นการสอนภาคทฤษฎีใหม้ ากขึน้ และสอนให้

ครบตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รทีก่ าหนด พร้อมเชญิ คณะกรรมการสถานศึกษาซึ่งเป็นพระสงฆ์
มาใหค้ วามรใู้ นสาระพุทธศาสนากบั ผ้เู รยี น เชญิ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ มาช่วยสอนเพ่อื เป็นการเปล่ียนบรรยากาศ

ไม่ใหผ้ ู้เรียน เกิดความเบอ่ื หนา่ ยในการเรียน ซง่ึ กจิ กรรมต้องเรม่ิ ต้งั แต่ ๐๕.๐๐ น.
5) ผู้เรยี นมีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี ดีมากอยูแ่ ลว้ สถานศกึ ษาควรดาเนนิ การตาม

โครงการประกวดหอ้ งพักนา่ อย่อู ยา่ งต่อเนอื่ งต่อไป โดยเน้นความสะอาดของเครือ่ งนอนตลอดจนเสื้อผ้าของ

ผู้เรียนเพราะผู้เรียนทุกคนต้องอยู่หอพกั เปน็ ประจา ซง่ึ ถา้ หอ้ งพักและเคร่อื งนอนตลอดจนเสื้อผา้ ไม่สะอาด
อาจเป็นสาเหตุใหเ้ กิดโรคตดิ ตอ่ ไดง้ ่าย

6) ผเู้ รียนมีคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ดมี ากอย่แู ลว้ โดยเฉพาะผู้เรียนเปน็
นักเรียนที่ดีของโรงเรียน สถานศึกษาควรดาเนินโครงการเปิดบ้านคุณธรรมต่อเนื่องต่อไป โดยเน้น
ความซอ่ื สัตย์สุจริต การอยอู่ ย่างพอเพยี งและการรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ แ์ ละรกั ความเป็นไทย ไมแ่ บง่ แยกชน

ชน้ั หรอื ศาสนา

๒. ดา้ นการบรหิ ารจดั การ

ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษาดีมากอยู่แล้ว สถานศึกษา
มีระบบการบริหารจัดการท่ีดี ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมสวยงาม สมควรกาหนดทศิ
ทางการพัฒนาให้ดีย่ิงขึ้น โดยส่งเสริมพัฒนาสภาพแวดล้อมให้สวยงามและได้ประโยชน์จากการปลูกพืช

เศรษฐกิจ เช่น ยางพารา อ้อย หรือมันสาปะหลังเพ่อื การเรียนรู้ของผู้เรยี น และพัฒนาให้เป็นแหล่งเรยี นรู้
ของชุมชน

๓. ด้านการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั
๑) ครผู ู้สอนควรปรบั การจัดกจิ กรรมส่งเสริมด้านความคดิ สร้างสรรคใ์ ห้กับผูเ้ รยี นเพิม่ ข้ึน

โดยเฉพาะกลุม่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ ทัศนศลิ ป์ เชน่ การออกแบบฉลากผลิตภัณฑ์สนิ ค้าของโรงเรียน

ใหด้ งึ ดูดความสนใจของผบู้ ริโภคให้มากขึน้
๒) ผู้บริหารควรวางระบบในการพัฒนา ต่อยอดการเข้าอบรม สัมมนา ของครูในกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ นามาขยายผลให้ครูทุกคนทราบ และนามาบูรณาการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ใหส้ อดคลอ้ งกบั ศักยภาพผเู้ รียน และบริบทของโรงเรยี นให้มากทสี่ ุด

๓) สถานศึกษาควรนาผลจากการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ การนิเทศการจัดการเรียน

การสอน การประเมินแบบวัดแบบทดสอบ ไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ เช่น ปรับตาราง
ในการสอนวชิ าหลัก ไดแ้ ก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษไว้ภาคเช้า สว่ นภาคบ่าย

จัดรายวิชาทีเ่ ป็นภาคปฏบิ ตั ิ เน่ืองจากกจิ กรรมของผู้เรียนเรม่ิ ตง้ั แต่ ๐๕.๐๐ น. ในภาคบา่ ยผู้เรียนเกิดความ
เหนื่อยล้าและไม่มีสมาธิในการเรียน ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ดังกล่าว
ตา่ กวา่ ระดบั คุณภาพ ดี

๔. ด้ำนกำรประกนั คุณภำพภำยใน
พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัดดีมากอยูแ่ ล้ว รวมถึง

สถานศกึ ษามกี ารดาเนินการตามระบบการประกันคุณภาพภายในอย่างครบถว้ นทกุ ขน้ั ตอน ดงั นัน้ สมควร
นามาตรฐานการศึกษาไปกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาการจัดการศึกษา โดยจัดโครงการและกิจกรรม
ให้สอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่มีเป้าหมายการพัฒนาสูงข้ึน และควรกาหนดทิศทาง

การพัฒนาให้สอดคล้องกับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ.๒๕๕๘ กาหนดระยะเวลาในการพัฒนา
ทุกดา้ นภายใน ๔ ปี

ตอนที่ ๒
ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศกึ ษำ

รายงานการประเมนิ ตนเองปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 เป็นการรายงานผลการดาเนินงานของ
สถานศึกษาตามแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน เพื่อใหผ้ เู้ รียนได้รับ
การพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพทม่ี ี โดยมีผลการประเมินแตล่ ะด้าน ดังน้ี

มาตรฐานการศกึ ษา ค่าเป้าหมายท่ี ผลการประเมนิ
สถานศกึ ษากาหนด ตนเอง
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น ยอดเยยี่ ม
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียน ยอดเยีย่ ม ยอดเยย่ี ม

เป็นสาคัญ ดีเลิศ ยอดเยยี่ ม
ภาพรวม
ดเี ลิศ

มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพของผเู้ รยี น

ระดบั คุณภำพ : ยอดเยยี่ ม
จากการประเมนิ ผลคุณภาพการจัดการศกึ ษาภายในของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 53
จังหวดั สกลนคร ตาม มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผูเ้ รียน ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 พบวา่ คุณภาพของผู้เรยี น
อยใู่ นระดับ ยอดเยี่ยม

จุดเนน้
พฒั นาผู้เรียนให้มพี นื้ ฐานงานอาชพี บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๑. กระบวนกำรพฒั นำ
การดาเนินงานพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น ให้เป็นไปตามเป้าหมายของโรงเรียน มีข้ันตอนการดาเนินงาน

ดงั นี้
๑. โรงเรียนจัดประชุมครู เพื่อสร้างความเข้าใจในการดาเนินงานพัฒนาผู้เรียนให้ไปสู่เป้าหมาย

ทีก่ าหนด
๒. จัดให้มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เนื่องด้วยโรงเรียนมีการรับนักเรียนเข้าเรียน

ไม่จากัดรุ่น มีนักเรียนเข้าเรียนอยู่ตลอดปีการศึกษา ซึ่งสามารถจาแนกผู้เรียนออกเป็น ๔ กลุ่มใหญ่ คือ

๑) กล่มุ ผู้เรียนปกติ ๒) กลมุ่ ผเู้ รยี นที่เป็นกลุม่ เส่ยี ง ๓) กลุม่ ผเู้ รยี นท่มี ปี ญั หา และ ๔) กลมุ่ พิเศษ
๓. ประชุมสรุปผลการสอบวัดความรู้พื้นฐานและการคัดกรอง มอบหมายผู้รับผิดชอบจัดทา

แผนงาน โครงการ กิจกรรม ในการดูแลพัฒนาผู้เรียนท้ัง ๔ กลุ่ม โดย กลุ่มปกติ จัดทาโครงการยกระดับ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงการพัฒนาห้องเรียนคุณภาพ โครงการส่งเสริม
การแข่งขันทักษะศิลปหัตถกรรมนักเรียน จัดการเรียนรู้เป็นไปตามศักยภาพผู้เรียน เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

เป็นไปตามมาตรฐานตัวช้ีวัดของหลักสูตร และใช้รูปแบบวิธีการสอนหลากหลายวิธี ออกแบบการจัดการ

เรียนรู้ที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ ความสนใจของผู้เรียน ส่งเสริมทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ

โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากสื่อเทคโนโลยีท่ีทันสมัยอย่างเหมาะสมและปลอดภัย พัฒนาผู้เรียนตาม

จดุ เน้นของโรงเรียน ทใ่ี หผ้ ูเ้ รยี นพง่ึ พาตนเองได้เมือ่ จบการศึกษา ส่งเสรมิ ทักษะพนื้ ฐานงานอาชพี แกผ่ ู้เรียน
อย่างหลากหลาย ครอบคลุม ๕ กล่มุ อาชพี หลักคอื พาณิชย์และบรกิ าร อุตสาหกรรม เกษตรกรรม คหกรรม

และอาชพี สร้างสรรค์ ตามโครงการการศึกษาเพือ่ การมีงานทาบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
โดยมหี อ้ งปฏบิ ัตกิ ารงานอาชพี ทที่ ันสมัย เปน็ การสง่ เสรมิ การหารายได้ระหว่างเรยี นและสามารถนาไปใช้ใน
ชีวิตจริงได้ จัดทาโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยขั้นพ้ืนฐาน มีการให้ความร้แู ละรณรงค์ป้องกนั โรคต่างๆ

มีการตรวจสุขภาพผู้เรียน โดยเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข กิจกรรมฟันสะอาดเหงือกแข็งแรง กิจกรรมภาวะ
ทุพโภชนาการ กิจกรรมกีฬาภายใน กีฬาภายนอก กิจกรรมกายบริหารอนุรักษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อม

กิจกรรม สวดมนต์ไหว้พระก่อนนอน กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมทุกวันศุกร์ วันสาคัญทาง
พระพุทธศาสนา งานระเบียบวินัย โครงการเสริมสร้างคุณธรรมน้อมนาศาสตร์พระราชาสร้างสรรค์คนดี
สู่สังคมและโครงการ TO BE NUMBER ONE กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน กิจกรรมทักษะการดารงชีวิต

โครงการพัฒนาคุณธรรมนอ้ มนาศาสตร์พระราชา นอกจากน้ีจัดกิจกรรมเสริมสร้างสุนทรียภาพแก่ผู้เรียน
ตามโครงการส่งเสริมทักษะดนตรี กีฬา นาฏศิลป์ วงกลองยาวอีสาน วงโปงลาง วงโยธวาทิตและวงดนตรี

ลูกทุ่งฯลฯ กลุ่มเสี่ยง มีการประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) โดยความร่วมมือของครูที่ปรึกษา ครูประจา
เรอื นนอน ครูแนะแนวและกล่มุ งานกิจการนักเรียน มีโครงการคัดกรองเฝ้าระวัง ติดตามช่วยเหลอื นกั เรียน
จดั โครงการลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพติด กิจกรรมอบรมให้ความรู้ยาเสพติด กิจกรรมใครติดยายกมอื ขึน้ ภายใต้

โครงการ TO BE NUMBER ONE โครงการคุณแม่วัยใส เพ่ือให้การดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด ตามระบบ
ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน กลุ่มมีปัญหำ มีการจัดโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมสวดมนต์

สุดสัปดาห์ กิจกรรมเด็กไทยใส่ใจมารยาท ซ่ึงครูที่ปรึกษา ครูประจาเรือนนอน ให้การช่วยเหลือและ
ให้คาปรึกษาเบื้องต้น ถ้าพฤติกรรมดีขึ้นก็จะมีการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนได้มีการพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพ หากพฤติกรรมไมด่ ีขึ้นกจ็ ะมีการส่งต่อภายในและภายนอก โดยกลุ่มบริหารงานกิจการนักเรยี น

ดาเนินการแก้ไข พัฒนาและส่งต่อตามระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนในลาดับต่อไป กลุ่มพิเศษ โดย
แบ่งเป็นนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ส่งเสริมนักเรียนกลุ่มเหล่านี้โดยการจัดเป็นกลุ่มชมรมหรือชุมนมุ

พัฒนาทักษะด้านอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ท่ีอยู่ภายใต้โครงการเทคโนโลยี
สารสนเทศตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เข้าร่วมการประกวด
แข่งขันผลงานทางวิชาการทั้งในระดับชาติและนานาชาติ และกลุ่มผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ

มีการคัดกรองโดยใช้แบบคัดกรองของกระทรวงศึกษาธิการ โดยความร่วมมือของคณะกรรมการอัน
ประกอบไปด้วยครูการศึกษาพิเศษ ครูท่ีปรึกษา ครูประจาเรือนนอน พบว่า โรงเรียนมีผู้เรียนท่ีมีความ

ต้องการจาเป็นพิเศษ ๕ ประเภท ได้แก่ บุคคลท่ีบกพร่องทางสติปัญญา บุคคลที่บกพร่องทางการเรียนรู้
บุคคลที่บกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ บุคคลออทิสติก และบุคคลพิการซ้อน ได้ดาเนินการส่งต่อให้
แพทย์วินิจฉัยตามกระบวนการ เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ

จัดให้บริการในรูปแบบเรียนรวม และใหบ้ ริการสอนเสรมิ วชิ าการในศนู ย์บริการทางการศึกษาพเิ ศษ (SSS)
๔. ผ้รู บั ผิดชอบแต่ละงาน โครงการ กจิ กรรม ดาเนินงานตามแผนงานทว่ี างไว้

๕. มีการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยผู้บริหาร หัวหน้า
กล่มุ งาน หัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ และหัวหน้างาน

๖. มีการประเมิน โครงการ กิจกรรม ตามที่ได้วางแผนการดาเนินงานไว้ เพ่ือดูความสาเร็จ
ปัญหา อุปสรรค ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรอื ไม่ นามาปรับปรุงแก้ไข
และพฒั นา

๗. นาผลการประเมินงาน โครงการ กิจกรรม ที่ทางโรงเรียนได้ดาเนินการ ปรับปรุงแก้ไขและ
พัฒนาแล้ว ไปวางแผนและดาเนนิ การพฒั นาผเู้ รียนในแตล่ ะกลมุ่ ในปีตอ่ ไป

๒. ผลกำรดำเนินงำน
๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ ำงวชิ ำกำรของผู้เรียน
๑.๑.๑ ควำมสำมำรถในกำรอำ่ น กำรเขยี น กำรสอื่ สำรและกำรคดิ คำนวณ
จากการดาเนินงานกจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน และกิจกรรมท่องสูตรคูณก่อนเรยี นและหลัง

เลิกเรียน ทาให้ผู้เรียนร้อยละ 88.95 สามารถอ่าน เขียน ส่ือสารและคิดคานวณ ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ของหลักสูตรแต่ละระดับช้ันสูงกว่าค่าเป้าหมายท่ีต้ังไว้ และโรงเรียนมีแผนพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถ
อ่าน เขียน ส่ือสารและคิดคานวณตา่ กวา่ เกณฑ์ที่ตั้งไว้ โดยการจดั ทาโครงการส่งเสรมิ เช่น กิจกรรมส่งเสรมิ
ทักษะการอ่าน การเขียน และคิดคานวณใหก้ ับนกั เรยี นระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๓ โครงการยกระดบั
ผลสัมฤทธ์ิการทดสอบระดบั ชาติ เปน็ ตน้

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 – ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6
ปีการศกึ ษา 2561 – 2563 ระดบั ดขี ้ึนไป

กราฟแสดงผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นจาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดบั ช้ัน
ประถมศึกษาปที ่ี 1 – ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา
2561-2563 ระดับดีขน้ึ ไป

100
66645.7..697165
50 49.36665.9.7571
55.6377.1.0084

62.47489.3.1983
73.8383.27.4790
7773.6.9.967200
770.86.51.25550

66624..8.735946
647.715.6.48231

0 คณติ ศาสตร์ สงั คมศึกษา สุขศึกษาและ ศลิ ปะ การงาน ภาษาตา่ งปร เฉล่ยี รวม
พลศึกษา อาชพี และ ะเทศ
ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ ศาสนาและ 76.60 เทคโนโลยี 64.54
วัฒนธรรม 73.92 62.79 71.83
2561 65.96 79.70 70.55 64.34 76.21
2562 64.61 49.36 55.3 62.44 73.32 68.56
2563 67.75 76.25
65.77 67.08 79.18 83.49
81.50
69.51 71.04 83.93 87.70

ผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถด้ำนกำรอำ่ นของผ้เู รียน RT

ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓

ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

สมรรถนะ ระดับ ระดับ ระดบั ระดับ ระดับ ระดับ ระดบั ระดบั กำร
พฒั นำ
การอา่ นออกเสยี ง โรงเรียน จังหวดั สงั กัด ประเทศ โรงเรีย จงั หวดั สงั กดั ประเทศ
การอ่านรู้เรื่อง -5.46
รวมทงั้ ๒ ด้าน น -9.18
-๗.๓๒
๕๗.๔๖ ๖๙.๙๔ ๖๗.๔๙ ๖๘.๕๐ 52.00 77.63 74.13 74.14

๗๓.๘๔ ๗๒.๘๒ ๗๒.๕๑ ๗๒.๘๑ 64.66 73.05 72.23 71.80

๖๕.๖๕ ๗๑.๓๘ ๖๘.๕๐ ๗๐.๖๙ ๕๘.๓๓ ๗๕.๓๔ ๗๓.๑๘ ๗๒.๙๗

แผนภูมแิ สดงผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผเู้ รยี น RT
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 - 2563

80 57.46 52 73.84 64.66 65.65 58.33
60

40

20

0 การอา่ นรู้เรื่อง รวมทงั้ 2 ด้าน
การอา่ นออกเสยี ง

ปี 2562 ปี 2563

แผนภมู แิ สดงผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรยี น RT

ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 53 จงั หวัดสกลนคร
เปรยี บเทยี บระดับจงั หวดั ระดับสังกดั และระดับประเทศ ปีการศกึ ษา 2563

โรงเรยี น จงั หวัด สังกดั ประเทศ

77.63 74.13 74.14 73.05 72.23 71.80 75.35 73.20 73.02
52.00 64.66 58.33

การอา่ นออกเสยี ง การอ่านรเู้ รอ่ื ง รวมทง้ั 2 ด้าน

รอ้ ยละของผเู้ รียนที่มผี ลกำรประเมินควำมสำมำรถในกำรอ่ำน กำรเขียน กำรสอ่ื สำร และคดิ คำนวณ

ระดบั ดขี ึ้นไป ชั้นประถมศึกษำปีท่ี๑ - ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๖ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ ระดบั ดขี ึน้ ไป

ระดับคณุ ภำพ ระดบั ดี
ข้นึ ไป
ท่ี มำตรฐำน/ตวั ช้ีวัด (จำนวนคน/รอ้ ยละ)
88.95
๕๔๓๒๑

มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพผ้เู รยี น

๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทำงวิชำกำรของผู้เรยี น

1. ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคานวณ

ความสามารถในการอา่ นหนังสือ บทความ หรอื 51.36 20.58 15.14 10.88 2.04
สง่ิ พิมพต์ ่าง ๆ

ความสามารถในการเขียนถา่ ยทอดความรู้ ความคิด 44.82 25.64 17.15 10.17 2.55
เรื่องราว ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ

ความสามารถในการรับ การส่งสารและการใชภ้ าษา 48.98 21.60 18.37 9.69 1.36

ความสามารถในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจาก 53.31 25.30 12.73 7.30 1.36
หอ้ งสมดุ แหล่งเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง

ความสามารถในการคดิ คานวณ 47.45 24.66 17.69 8.01 1.20

เฉล่ยี รวม 49.15 23.64 16.16 9.35 1.70

๑.๑.๒ ควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์ คิดอย่ำงมวี จิ ำรณญำณ อภิปรำยแลกเปลีย่ น
ควำมคิดเห็นและแก้ปญั หำ

จากการดาเนนิ งานโครงการที่หลากหลาย สง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา มีผลงานเป็นที่ประจักษ์

ผู้เรียนร้อยละ ๙๗.๕๗ ของนักเรียนทั้งหมด มีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์และ
เขียน ในระดับดีขึ้นไป และมีแผนการพัฒนาผู้เรียนท่ีมีผลการประเมินต่ากว่าค่าเป้าหมายให้ได้เข้าร่วม
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ได้ลงมือปฏิบัติจริงเพ่ิมมากข้ึน เชน่ การเรยี นการสอนรปู แบบโครงงาน การสรา้ ง

ส่ิงประดษิ ฐ์ และการเรยี นการสอนแบบโคด๊ ดิ้ง
ร้อยละของผู้เรียนทมี่ ผี ลการประเมินความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน ระดับดีข้ึนไป

ชั้นประถมศกึ ษา ปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562-2563

100.00 969.73.858
994.5.6032
95.00
969.72.321
9977..8732
996.7.6534

9945..9271
9988..0777
996.7.8831

951.0408.00
9998..6468

95.0967.87
94.9968.93

969.75.057

90.00

85.00

80.00
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป2.6562 ม.1 256ม3.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ย

๑.๑.๓ ควำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวัตกรรม
จากการดาเนินงานโครงการพัฒนาทักษะด้านอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรม

คอมพวิ เตอร์ ปี 256๓ โครงการ ICT สรา้ งรายได้ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการจดั กจิ กรรมการ
เรียนการสอนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียนร้อยละ ๙๑.๘๔ มีผลการประเมินความสามารถใน
ด้านการสร้างนวัตกรรมในระดับดี ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐ์ท่ีช่วย
แก้ปญั หาในสถานการณท์ ผี่ ู้เรียนพบเหน็ แผนการพัฒนาใหผ้ ้เู รียนมผี ลการประเมนิ ตามคา่ เปา้ หมายโดยการ
จัดต้ังเป็นกลุ่มชมรมหรือชุมนุมที่จะทาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม และผู้เรียนได้รับ
รางวัลจากเขา้ รว่ มประกวด แสดงผลงานในเวทวี ิชาการต่าง ๆ ดังนี้

เหรียญทอง จานวน 1 รายการ
โครงงานลิฟต์สาหรับผู้ป่วยหรือผู้พิการที่นั่งโฟร์แชร์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒
กิจกรรมการประกวดโครงงานลิฟต์ (3D-Printer) กิจกรรม show&share 2020 ส่ิงประดิษฐ์สมองกล
ฝังตัว (แบบออนไลน์) ภายใต้มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี

รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั ๒ กิจกรรมการประกวดโครงงานลิฟต์ (3D-Printer) ผ่านระบบออนไลน์

เหรียญเงิน จานวน 2 รายการ
1) โครงงานเคร่ืองโจกคราม ได้รับรางวัลเหรียญเงิน การประกวดโครงงานระดับ ม.ต้น

กิจกรรม show&share 2020 สิ่งประดิษฐ์สมองกลฝังตัว (แบบออนไลน์) ภายใต้มูลนิธิเทคโนโลยี
สารสนเทศตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

๒) โครงงานเคร่อื งเสียงตามสายอจั ฉริยะ ได้รับรางวัลเหรยี ญเงนิ การประกวดโครงงาน ระดับ
ม.ปลาย กิจกรรม show&share 2020 สิง่ ประดษิ ฐส์ มองกลฝังตัว (แบบออนไลน์) ภายใต้มลู นิธิเทคโนโลยี
สารสนเทศตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เหรียญทองแดง จานวน 1 รายการ
โครงงาน Electrical Form Pelteir ได้รับรางวลั เหรียญทองแดง การประกวดโครงงาน

ระดบั ม.ปลาย กิจกรรม show&share 2020 สิ่งประดษิ ฐ์สมองกลฝงั ตัว (แบบออนไลน์) ภายใตม้ ูลนิธิ
เทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี

(เอกสารอ้างอิง : เกยี รตบิ ัตรทีผ่ เู้ รยี นไดร้ บั ในภาคผนวก ก)

๑.๑.๔ ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรส่อื สำร
จากการดาเนินงานโครงการพฒั นาทักษะด้านอิเล็กทรอนกิ ส์และการเขียนโปรแกรม

คอมพิวเตอร์ ปี 256๓ ผู้เรยี นรอ้ ยละ ๙๗.๐๗ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สอื่ สาร สามารถใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าเพือ่ การพฒั นา สบื ค้นความรู้ สือ่ สารทางอินเทอรเ์ น็ต
ประมวลผลข้อมลู ในระดับดีขึ้นไป และมแี นวทางการพฒั นาใหก้ บั นักเรยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ ตา่ กว่าคา่
เปา้ หมายให้เข้ารว่ มโครงการนวตั กรนอ้ ยในโรงเรยี น

ร้อยละของนักเรียนทีม่ คี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ระดับดีขึ้นไป (จากสมรรถนะสาคญั ข้อ 5)
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 - ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศกึ ษา 2562-2563

100.00 9987..0538
95.00 9967..3637
90.00 994.5.2423
85.00 995.6.6389
80.00 9978..2032
994.5.9674
9978..2093
9977..8386
994.68.394
9969..1486
995.7.2556
949.86.793
9967..3087

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลยี่

2562 2563

นักเรียนไดร้ บั รำงวัลจำกกำรแขง่ ขันทกั ษะทำงวิชำกำร จำกควำมสำมำรถดำ้ นเทคโนโลยีสำรสนเทศ

ดงั น้ีระดบั ประเทศ
๑. นายกิตติศักด์ิ พิศสุวรรณ นายศุภวัฒน์ เสนสี และเด็กหญิงธัญชนก บุพศิริ ได้รับรางวัล

ระดบั เหรียญทอง รองชนะเลศิ อนั ดับ ๒ กำรออกแบบโครงงำนลฟิ ต์ กจิ กรรม Show & Share ๒๐๒๐
: ส่ิงประดิษฐ์สมองกลฝังตัว (แบบออนไลน์) ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะด้านอเิ ล็กทรอนิกส์และการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ณ อาคารสานักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร

จากมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วันท่ี
๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๓

๒. เด็กหญิงสุพิชญา เดชา เด็กหญิงฐติ กิ านต์ วงษ์หมอก และเดก็ หญงิ ชนญั ชิดา ทิพยศ์ รี ไดร้ ับ
รางวัลระดับเหรียญเงิน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โครงงำนเคร่ืองโจกครำม กิจกรรม Show & Share
๒๐๒๐ : ส่ิงประดิษฐ์สมองกลฝังตัว (แบบออนไลน์) ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะด้านอิเล็กทรอนกิ ส์และ

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ณ อาคารสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
กรุงเทพมหานคร จากมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม

บรมราชกุมารี วนั ที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๓
๓. นางสาวธิดา ยันตะพันธ์ นางสาวสุนันทา แจ่มผล และนางสาวเพ็ญนภา เสมอการ ได้รับ

รางวัลระดับเหรียญเงิน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โครงงำนเครื่องเสียงตำมสำยอัจฉริยะ กิจกรรม

Show & Share ๒๐๒๐ : ส่ิงประดิษฐ์สมองกลฝังตัว (แบบออนไลน์) ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะด้าน
อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ณ อาคารสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แหง่ ชาติ กรงุ เทพมหานคร จากมูลนธิ เิ ทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกมุ ารี วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๓
๔. นางสาววีซ่า หกขุนทด นางสาวกัณญาภัค สิทธิโชติ และเด็กหญิงอรัญญา แก้วฝ่าย ได้รับ

รางวลั ระดบั เหรยี ญทองแดง ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย โครงงำน Electrical From Peltier กจิ กรรม

Show & Share ๒๐๒๐ : ส่ิงประดิษฐ์สมองกลฝังตัว (แบบออนไลน์) ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะด้าน
อเิ ล็กทรอนกิ ส์และการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ณ อาคารสานักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แหง่ ชาติ กรุงเทพมหานคร จากมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี วันท่ี ๑๑ กันยายน ๒๕๖๓

(เอกสารอา้ งอิง : เกยี รติบัตรที่ผู้เรยี นได้รบั ในภาคผนวก ก)

1.1.5 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา
จากการดาเนินงานโครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ผเู้ รยี นมีผลสมั ฤทธิ์

ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา สูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด ผู้เรียนร้อยละ 94.92 มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาในระดบั ดีข้นึ ไป และมผี ลสัมฤทธ์ิเพ่ิมขึน้ จากปกี ารศึกษาท่ี
ผ่านมา

ตำรำงเปรียบเทยี บค่ำเป้ำหมำยและผลสมั ฤทธิท์ ำงกำรเรยี นระดับดขี ึ้นไป ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓
โรงเรยี นรำชประชำนุเครำะห์ ๕๓ จังหวดั สกลนคร

กลมุ่ สำระ ปีกำรศึกษำ ค่ำรอ้ ยละ ค่ำเป้ำหมำย ผลสมั ฤทธิ์ ผลตำ่ ง
กำรเรียนรู้ เฉล่ีย ปี กศ. ปี กศ.
๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๓ + ๑.๒๐
ภำษำไทย ๖๑.๐๔ ๖๖.๕๕ ๖๗.๗๕ + ๑.๗๗
คณิตศำสตร์ ๕๖.๐๐ ๖๒.๕๐ ๖๔.๖๑ ๕๐.๐๒ ๖๗.๗๔ ๖๙.๕๑ + ๑.๙๕
วิทยำศำสตร์เทคโนโลยี ๔๒.๑๐ ๔๒.๑๘ ๖๕.๗๗ ๕๔.๘๕ ๖๙.๐๙ ๗๑.๐๔ + ๔.๖๖
สงั คมศึกษำฯ ๔๒.๘๕ ๕๔.๖๓ ๖๗.๐๘ ๗๖.๙๖ ๗๙.๒๗ ๘๓.๙๓ + ๙.๓๖
สุขศึกษำและพลศกึ ษำ ๗๒.๑๗ ๗๙.๕๔ ๗๙.๑๘ ๗๖.๐๖ ๗๘.๓๔ ๘๗.๗๐ + ๓.๑๒
ศลิ ปศกึ ษำ ๘๑.๑๐ ๖๓.๕๙ ๘๓.๔๙ ๗๔.๓๕ ๗๖.๕๘ ๗๙.๗๐ + ๒.๙๖
กำรงำนอำชพี ๗๕.๘๓ ๗๓.๓๑ ๗๓.๙๒ ๖๘.๙๔ ๗๘.๕๔ ๘๑.๕๐ + ๒.๒๙
ภำษำต่ำงประเทศ ๕๙.๙๓ ๗๐.๖๔ ๗๖.๒๕ ๖๑.๐๓ ๖๖.๒๗ ๖๘.๕๖
๕๕.๕๙ ๖๓.๑๗ ๖๔.๓๔

รอ้ ยละของนกั เรียนทีม่ ผี ลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรยี นระดับดขี น้ึ ไป
ระดับช้นั ประถมศึกษำปีท่ี ๑ – มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๖ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๑-๒๕๖๓

100
90
80
70
60
50
40 ปี 2561
30
20 ปี 2562
10
0 ป2ี 563
66๖4.5.๗.69๗16๕
49.36 65๖.๙7.7๕๑

55.367๗.๑0.8๐๔
62.44 79๘.๓1.8๙๓
73.382๘3.๗.4๗9๐
773.๗6.9๙.62๗0๐
70.756.๘52๑.5๕๐
662.4๖.7๘3.94๕๖
64.75174.68.321

ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำตขิ ้ันพน้ื ฐำน (O-NET) ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี ๖ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓

่คาเฉ ี่ลย60.00 โรงเรยี น
40.00 ระดับจงั หวัด
53.2520.00 ระดับสังกัด
43.030.00 ระดบั ประเทศ

42.66
56.20

25.00
27.88

23.86
29.99

36.08
37.15
31.55
38.78

34.00
37.49
30.12

43.55

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพนื้ ฐำน (O-NET) ชนั้ มัธยมศึกษำปีท่ี ๓ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

70.00 60.69 โรงเรียน
60.00 53.16 ระดบั จงั หวดั
50.00 46.64 ระดับสังกดั
40.00 54.29 ระดับประเทศ
30.00 22.67
20.00
10.00 24.38
0.00
20.05
25.46
27.36
28.84
26.70

29.89
31.67
31.48
27.82
34.38

ภำษำไทย คณติ ศำสตร์ วิทยำศำสตร์ ภำษำองั กฤษ

ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำตขิ นั้ พนื้ ฐำน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๖ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

349.1.4980
34.27
44.36
162.26.763
17.97
26.04
236.0.1512
26.66
32.68
33322..5.023225
35.93
222.6.0143
21.88
29.94
60 โรงเรียน
40 ระดับจงั หวัด
20 ระดบั สังกัด
0 ระดบั ประเทศ

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมฯ ภาษาองั กฤษ

ภำพรวม ผลกำรทดสอบระดบั ชำติ (O-NET) ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

กลุ่มสาระ คะแนนท่ีได้ ระดับชัน้ คะแนน
เฉลี่ย
การเรยี นรู้ ป.6 ม.3 ม.6
51.14
ภาษาไทย 53.25 60.69 39.48 21.45
29.85
คณติ ศาสตร์ 25.00 22.67 16.67 29.24
32.22
วิทยาศาสตร์ 36.08 27.36 26.11

ภาษาอังกฤษ 34.00 31.67 22.04

สังคมศกึ ษาฯ - - 32.22

ผลการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) เปรียบเทียบ 3 ปี ปกี ารศึกษา 2561 - 2563

กลุม่ สาระ ช้นั ป.6/ปกี ารศึกษา ช้ัน ม.3/ปกี ารศกึ ษา ชน้ั ม.6/ปกี ารศึกษา
การเรียนรู้
2561 2562 2563 2561 2562 2563 2561 2562 2563
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ 47.63 37.69 53.25 49.80 49.53 60.69 34.10 34.57 39.48
วทิ ยาศาสตร์
ภาษาองั กฤษ 23.04 25.52 25.00 23.94 19.95 22.67 17.43 15.05 16.67
สงั คมศึกษา
31.75 30.88 36.08 32.94 25.78 27.36 25.45 24.66 26.11

26.70 23.10 34.00 25.53 27.30 31.67 20.17 20.63 22.04

30.18 30.35 32.22

คา่ T-Score ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET แต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรขู้ องผู้เรียน

เฉลย่ี รวม ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 และชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2563

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จานวน คะแนนเฉลีย่ ระดบั โรงเรียน รอ้ ยละของนักเรียน
คน ทมี่ คี า่ T-Score≥40.00

̅ S.D. จานวน ร้อยละ

ภาษาไทย 53 51.14 - 48 90.57

คณิตศาสตร์ 53 21.45 - 37 69.81

วทิ ยาศาสตร์ 53 29.85 - 48 90.57

สังคมศึกษา ฯ 31 32.22 - 23 74.19

ภาษาตา่ งประเทศ 53 29.24 - 52 98.11

ผลการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ผิ ู้เรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (NT)
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ประจาปกี ารศึกษา 2563

50.00 30.05 โรงเรียน
40.00 36.71 ระดบั จังหวัด
30.00 47.76 ระดบั สังกดั
20.00 47.46 ระดบั ประเทศ
10.00
0.00 25.70
43.53
41.3
40.47

27.87
46.59
44.53
43.97

ด้านภาษา ด้านคานวณ รวม 3 ด้าน

เปรียบเทียบผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ผ้เู รยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (NT)
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2563

ด้าน ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 การ
ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดบั ระดับ พัฒนา
โรงเรยี น จังหวัด สงั กดั ประเทศ โรงเรียน จังหวัด สงั กัด ประเทศ

ด้านภาษาไทย 29.66 46.13 46.00 46.46 30.05 36.71 47.76 47.46 +0.39

ดา้ น 32.88 45.60 45.64 44.94 25.70 43.53 41.30 40.47 -7.18
คณิตศาสตร์

รวมทั้ง 2 ด้าน 31.27 45.87 45.82 45.70 27.87 46.59 44.53 43.97 -3.40

แผนภูมิแสดงผลการประเมินผเู้ รียน NT ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3
ปีการศึกษา 2562 - 2563

40.00 29.66 30.05 32.88 31.27 27.87
30.00 25.70
20.00 ด้านภาษาไทย รวมท้ัง 2 ดา้ น
10.00 ดา้ นคณติ ศาสตร์
0.00

ปี 2562 ปี 2563

แผนภมู ิแสดงผลการประเมินผูเ้ รียน NT ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3
เปรยี บเทียบระดับจงั หวัด ระดับสังกดั และระดบั ประเทศ ปกี ารศกึ ษา 2563

โรงเรียน จงั หวดั สงั กัด ประเทศ

30.0536.7147.7647.46 25.7043.5341.3040.47 27.8746.5944.5343.97

ด้านภาษาไทย ดา้ นคณิตศาสตร์ รวมทั้ง 2 ด้าน

๑.๑.๖ มีควำมรู้ ทกั ษะพน้ื ฐำนและเจตคตทิ ดี่ ตี ่องำนอำชีพ
จากการดาเนินงานโครงการส่งเสริมให้นักเรยี นฝึกงานทกั ษะอาชพี แบบครบวงจร

พบวา่ ผู้เรยี นร้อยละ ๙๖.๘๘ มคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐานและเจตคติทด่ี ตี ่องานอาชพี โดยได้รับความรู้จาก
วทิ ยากรภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น บูรณาการความรจู้ ากประสบการณ์ตรง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ มีรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น รจู้ กั เกบ็ ออม พง่ึ พาตนเองได้ และมกี ารส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นใช้
ไอซีทสี ร้างรายได้ โดยมีเพจร้านค้าย่อย และรา้ นคา้ รวม เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มของผเู้ รยี นในยุค Thailand
4.0 ตลอดจนส่งผลให้ผเู้ รยี นไดร้ ับรางวัลจากการแข่งขนั ทักษะทางวชิ าการ

ร้อยละของผู้เรียนที่มคี วำมรู้ ทักษะพนื้ ฐำนและเจตคติที่ดตี ่องำนอำชีพ ในระดับดีข้นึ ไป
ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

100 100 96.50 97.58 98.85 97.78 94.20 95.45 100 100.00
93.33 96.88
100.00
95.00 88.89
90.00

85.00

80.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลยี่
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉล่ีย

รอ้ ยละของผูเ้ รยี นทศี่ ึกษำต่อและประกอบอำชพี ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓

นกั เรยี นทจี่ บหลักสตู ร จำนวน ศกึ ษำต่อ ประกอบอำชีพ
ชน้ั ท้งั หมด จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
๕๓ ๑๐๐
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๕๓ ๘๙ ๑๐๐ --
มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๘๙ ๓๐ ๙๖.๗๗ --
มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ ๓๑ ๑ ๓.๒๓

รำงวลั จำกำรแข่งขันทกั ษะทำงวิชำกำร
เดก็ หญงิ สพุ ชิ ญา เดชา เดก็ หญิงฐิติกานต์ วงษห์ มอก และเดก็ หญิงชนญั ชิดา ทพิ ยศ์ รี ได้รับ

รางวัลระดับเหรียญเงิน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โครงงำนเคร่ืองโจกครำม กิจกรรม Show & Share
๒๐๒๐ : สิ่งประดิษฐ์สมองกลฝังตัว (แบบออนไลน์) ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะด้านอิเล็กทรอนิกส์และ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ณ อาคารสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
กรุงเทพมหานคร จากมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกมุ ารี วนั ท่ี ๑๑ กันยายน ๒๕๖๓

(เอกสารอ้างอิง : เกยี รตบิ ัตรทีผ่ ูเ้ รียนไดร้ บั ในภาคผนวก ก)
1.2 คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น

1.2.1 การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มทีด่ ีตามที่สถานศึกษากาหนด
จากการดาเนนิ งานกจิ กรรมทักษะการดารงชวี ติ กิจกรรมธารงวนิ ัย กิจกรรมจติ อาสา

ผู้เรียนร้อยละ ๙8.84 มีผลการประเมินด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ระดับดีขึ้นไป และผลสัมฤทธิ์ด้าน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด โดยมีแผนพัฒนาให้ผู้เรียนที่มีผลการ
ประเมินตา่ กว่าคา่ เปา้ หมายเข้าร่วมโครงการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม

ร้อยละของผเู้ รยี นทม่ี ีผลการประเมนิ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั ดีข้นึ ไป
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 - ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2563

101.00

100.00

99.00

98.00

97.00
100.00
100.00
98.06
98.24
98.03
98.39
98.02
98.11
98.05
98.06
98.03
99.03
98.27
99.03
98.06
99.87
98.32
98.84

ปี กศ.2562 ปี กศ.2563

ตำรำงเปรยี บเทยี บค่ำเป้ำหมำยและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ระดบั ดีข้นึ ไป ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

โรงเรยี นรำชประชำนเุ ครำะห์ ๕๓ จังหวัดสกลนคร

คุณลกั ษณะ ปกี ำรศึกษำ คำ่ ร้อยละ คำ่ เป้ำหมำย ผลสัมฤทธ์ิ ผลต่ำง

อนั พึงประสงค์ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ เฉล่ยี ปี กศ.๒๕๖๓ ปี กศ.๒๕๖๓ + 2.00
+ 0.24
รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๙๔.๘๑ ๑๐๐ 100 98.27 98.00 100 + 0.39
+ 0.11
ซ่ือสตั ย์สุจรติ ๙๔.๘๑ ๑๐๐ 98.06 97.62 98.00 98.24 + 0.06
+ 1.03
มวี นิ ยั ๙๔.๘๑ ๑๐๐ 98.03 97.61 98.00 98.39 + 0.87
+ 1.87
ใฝเ่ รยี นรู้ ๙๔.๘๑ ๑๐๐ 98.02 97.61 98.00 98.11

อยู่อย่างพอเพียง ๙๔.๘๑ ๑๐๐ 98.05 ๙7.62 98.00 98.06

มงุ่ มั่นในการทางาน ๙๔.๘๑ ๑๐๐ 98.03 97.61 98.00 99.03

รกั ความเปน็ ไทย ๙๔.๘๑ ๑๐๐ 98.27 97.69 98.00 98.87

มจี ติ สาธารณะ ๙๔.๘๑ ๑๐๐ 98.06 ๙7.62 98.00 99.87

9989..13681.2.2 ความภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย
19080..2030จากการดาเนินงานกจิ กรรมส่งเสริมวฒั นธรรมประเพณีและศิลปวัฒนธรรมของหนว่ ยงาน
19090..6050
1001.0000และชุมชน ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมด้านศิลปะดนตรีและนาฏศิลป์ ตลอดจนร่วม
1001.0000อนุรักษ์ขนบธรรมเนยี มประเพณีและวัฒนธรรม จากการปฏิบัติตน อาทิ การร่วมกิจกรรมวันสาคัญต่าง ๆ
94.97100การยิ้ม ไหว้ ทักทาย การแต่งกายด้วยชุดพื้นเมือง เป็นต้น และผู้เรียนร้อยละ 99.03 มีผลการประเมิน
997.8.0029คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ขอ้ ที่ ๗ รักความเปน็ ไทย ระดับดขี ึ้นไป และมีแผนการพัฒนาให้ผเู้ รียนมีผลการ
9999..2803ประเมินสูงกว่าค่าเป้าหมายโดยการดาเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานให้เป็นเอกลกั ษณ์ของโรงเรยี น
9987..1928
19090..0020ผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ข้อท่ี 7 รกั ความเป็นไทย ระดับดขี น้ึ ไป
95.9295.36ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 – ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2562
94.9986.36
9989..2073110002..0000
999846...000000
92.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉล่ยี

2562 98.18 100.0 100.0 100.0 100.0 94.97 98.09 99.80 97.98 100.0 95.25 94.96 98.27
2563 99.36 98.23 99.65 100 100 100 97.02 99.23 98.12 99.02 99.36 98.36 99.03

1.2.3 การยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
จากการดาเนินงานระบบดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี น กิจกรรมทักษะการดารงชีวิต กิจกรรม

สง่ เสริมประชาธิปไตย ผู้เรยี นสามารถเรียนรูก้ ารอยรู่ ่วมกันกับเพือ่ น ๆ ในเรอื นนอนทีม่ ีวถิ ชี วี ิตความเป็นมา
ท่ีแตกต่างและหลากหลาย ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี เป็นคนดีมีคุณธรรม
ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม โดยคานึงถึงสิทธิและหน้าที่ของตนเองและผู้อ่ืน สามารถปรับตัวอยู่
รว่ มกันในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข ผู้เรยี นร้อยละ ๑๐๐ มีผลการประเมนิ ความสามารถในการใชท้ ักษะการ
ดารงชวี ิตในระดับดีข้ึนไป และมีการดาเนนิ งานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผู้เรียนอยา่ งต่อเน่อื งและมีคุณภาพเพื่อ
ช่วยใหผ้ ู้เรยี นอยูร่ ่วมกันได้อย่างมีความสขุ บนความย่งั ยนื

ร้อยละของผ้เู รียนทมี่ ผี ลกำรประเมินควำมสำมำรถในกำรใชท้ ักษะกำรดำรงชีวิต
ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๑ - ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๖ จำแนกตำมระดบั คณุ ภำพ ระดับดขี ึน้ ไป

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100
100

50

0
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม

๑.๒.๔ สขุ ภำวะทำงร่ำงกำยและจิตสังคม
จากการดาเนินกิจกรรมอาหารนักเรียนประจา กิจกรรมป้องกันส่งเสริมสุขภาพ

ขั้นพื้นฐาน กิจกรรมกายบริหาร อนุรักพลังงานและส่ิงแวดล้อม กิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายใน ผู้เรียน
ร้อยละ 81.82 มนี ้าหนกั สว่ นสงู ตามเกณฑ์สว่ นสูง (W/H) และสว่ นสูงตามเกณฑ์อายุ และรอ้ ยละ 79.๘๘

ของผเู้ รียน มีผลการประเมนิ พฤติกรรมเดก็ (SDQ) ในระดับปกติ

ร้อยละของผู้เรยี นท่ีมนี า้ หนกั ตามเกณฑส์ ่วนสงู (W/H) และสว่ นสงู ตามเกณฑอ์ ายุ
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2563

100.00 100.00100.0094.44 93.33 89.74 76.92 76.67 83.87 87.50 81.82

80.00 64.15 61.90 53.33
60.00

40.00

20.00

0.00

รอ้ ยละของผู้เรยี นทีม่ ีผลกำรประเมนิ พฤตกิ รรมเด็ก (SDQ) ในระดับปกติ
ชน้ั ประถมศึกษำปที ่ี ๑ – ช้นั มัธยมศึกษำปีที่ ๖ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

100.00 96.66 93.00 92.67 70.18 52.22 71.09 66.57 75.05 63.33 87.73 100 90.00 79.88
80.00
60.00
40.00
20.00
0.00

๓. จดุ เดน่

ผู้เรียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาภาษาไทย
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ มีการสรา้ งสรรค์นวตั กรรมและไดร้ บั รางวลั
ในระดับชาติอย่างต่อเนื่องทุกปกี ารศึกษา มีความโดดเด่นในดา้ นศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และมีทักษะงาน

อาชีพ ใช้เทคโนโลยีเป็นตลาดออนไลน์ เกิดรายได้ระหวา่ งเรยี น มีความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์ ขยัน ซ่ือสัตย์ อดทน มีวินัย มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ สามารถอยู่

ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดาร งชีวิต
ตลอดจนมีผลงานเป็นที่ประจกั ษ์ เป็นทยี่ อมรบั ของผูป้ กครอง ชมุ ชน และหน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง

๔. จดุ ที่ควรพฒั นำ
ความสามารถด้านการอ่าน ทักษะการคิดคานวณ คิดอย่างมีวิจารณญาณต้องปลูกฝังให้กับ

นักเรยี นเริม่ ตงั้ แต่ระดับชน้ั ประถมศึกษา

มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร
ระดบั คุณภำพ : ยอดเยย่ี ม
จากการประเมินผลคุณภาพการจัดการศกึ ษาภายในของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 53

จังหวดั สกลนคร ตาม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 พบวา่
กระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

จดุ เน้น
สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหค้ รูและบคุ ลากรมีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ และทักษะงานอาชพี

๑. กระบวนกำรพัฒนำ
๑. โรงเรียนมีการแต่งต้ังคณะกรรมการประกอบด้วยผู้บริหาร ครูบุคลากร ผู้ปกครอง

คณะกรรมการ สถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน และผทู้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้องทกุ ฝา่ ย
๒. ประชุมเชิงปฏิบัติการระดมสมอง ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานในปัจจุบัน โดย

รว่ มกันทบทวนผลการดาเนินงาน วิเคราะหส์ ภาพปัญหา วเิ คราะหบ์ ริบทของสถานศกึ ษา โดยการ SWOT
Analysis จากสภาพแวดล้อมภายใน ภายนอก เพื่อค้นหาจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
ของสถานศึกษา มากาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา สอดคล้องกับปรัชญา ปณิธาน ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการ
ศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้นสังกัด ตลอดจนทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม จัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี

๓. การบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา มีการกระจายอานาจการบริหารจัดการให้กับ
บุคลากรท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่าย โดยจัดโครงสร้างการบริหารงานออกเป็น ๖ กลุ่มงาน ได้แก่กลุ่มบริหารงาน
วิชาการ กลุ่มบริหารงานงบประมาณและแผนงาน กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารงานทั่วไป กลุ่ม
บริหารงานกิจการนักเรียน และกลุ่มบริหารงานกิจการพิเศษ ผู้บริหารยึดหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม
และใช้เทคนิคการปฏิบัติงาน แบบ PDCA มีการประชุมวางแผนการดาเนนิ งาน จัดทาแผนพฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจาปี มกี ารบริหารอตั รากาลัง ทรัพยากรทางการศกึ ษา ระบบดูแลชว่ ยเหลือ
ผู้เรียนและระบบการนิเทศภายใน นาข้อมูลท่ีได้มาใช้ในการพัฒนางาน นอกจากนไ้ี ด้นอ้ มนาโครงการอัน
เน่ืองมาจากพระราชดาริ มาเป็นแนวทางในการบริหารจัดการสถานศึกษา มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ีประกอบด้วยบุคลากรท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา ผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง
ทุกฝ่าย ประชุมเชิงปฏิบัติการ ระดมสมอง และทางานเป็นทีม สามารถดาเนินการสร้างระบบกลไกหรือ
กระบวนการในการบริหารจัดการศึกษา ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานตามท่ีกาหนด สร้างความม่ันคง และ
หลักประกนั ตอ่ ผูป้ กครอง ชมุ ชนและสงั คม ว่าสถานศึกษาสามารถจดั การศึกษาได้ตามมาตรฐาน และมีการ
ปรบั แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในทกุ ๆ ๔ ปี

๔. จัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน เอกสาร ระเบียบ และแนวทางการปฏิบัติท่ีชัดเจนแก่บุคลากรทุก
กลมุ่ งาน และให้ทุกกลุม่ งานดาเนนิ งานตามขอบข่ายของงาน ดงั น้ี

๔.๑ กลุ่มบริหารงานวิชาการ โดยจัดให้มีหลักสูตรสถานศึกษา ๓ ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา

มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยผ่านการเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักสูตร
ทวศิ กึ ษาและหลักสูตรท้องถิ่น จัดกิจกรรมทักษะการดารงชีวิตครอบคลุมทั้ง ๘ กจิ กรรม กิจกรรมลดเวลา

เรียนเพม่ิ เวลารู้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมเสริมหลักสูตร ที่เนน้ คุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เชอ่ื มโยงวิถี
ชีวิตจริง และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนสาหรับผู้เรียนที่มีความ

ต้องการจาเป็นพิเศษ จัดให้มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community :
(PLC) ระหว่างครู สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้ครูได้มีเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้
ประสบการณ์ ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนให้มากขึน้ มีการนาเทคโนโลยีมาใช้สนบั สนุนการบรหิ าร

จดั การ เชน่ งานวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยโปรแกรมระบบบริหารจัดการสถานศึกษา
School Mis งานทะเบียนและรับนักเรียน ปฏิบัติงานด้วยระบบสารสนเทศด้านการศึกษาพิเศษและ

การศึกษาสงเคราะห์ Special Education Technology (SET) และระบบบริหารจัดการข้อมูล โรงเรียน
เรยี นรวม โปรแกรม ระบบบรหิ ารการให้บรกิ ารสง่ิ อานวยความสะดวก สือ่ บรกิ าร และความชว่ ยเหลืออื่น
ใดทางการศึกษา สาหรับคนพิการ (IEP ONLINE) มีการนิเทศภายใน มีคณะกรรมการบริหารวิชาการ

รบั ผดิ ชอบดาเนนิ การตามภารกิจและขอบข่ายของกลมุ่ บริหารงานวิชาการ
๔.๒ กลุม่ บริหารงานงบประมาณและแผนงาน บรหิ ารงานตามระเบียบการบริหารงบประมาณ

และกฎหมายท่ีกาหนดไว้ การเบิกจ่ายและการอนุมัติงบประมาณ การโอนเงินงบประมาณ เป็นไปตามกรอบ
การใช้จ่ายงบประมาณในระบบ GFMIS บรหิ ารงานพัสดุและสินทรัพย์ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
การพัสดจุ ดั ซ้อื จัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ จัดระบบเงนิ เดือนและสวัสดกิ ารของข้าราชการครู โดยใช้

ระบบทะเบียนประวัติบุคคลภาครัฐ ส่งเสริมให้มีการพัฒนาและนาเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงานเพ่ือให้
เกิดความคล่องตัว รวดเร็ว และทันสมัยในการปฏิบัติงานของสถานศึกษา อาทิ งานงบประมาณปฏิบัตงิ าน

ด้วยระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ Government Fiscal Management
Information System (GSMIS) Web online จัดหาข้อมูลสารสนเทศถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย และ
เปน็ ระบบ

๔.๓ กลุ่มบริหารงานบุคคล บริหารงานตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคคล
ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ มีการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยใช้

แบบประเมนิ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา เป็นไป
ด้วยความเสมอภาคและยุติธรรม มีการส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามโครงการ
พัฒนาครูและบุคลากร เพื่อเข้ารับการพัฒนาตามมาตรฐานตาแหน่งวิทยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะ จัดให้มี

การอบรมสัมมนา ศึกษาดูงาน ตามโครงการพัฒนาครูและบุคลากรสู่ความรู้ที่ย่ังยืน โครงการพัฒนาครูและ
บุคลากรสู่ครูมืออาชพี โครงการพัฒนาประสิทธภิ าพการปฏิบัตงิ านของบุคลากร โครงการครดู ีศรีราชประชา

โครงการครดู ีศรอี ีสาน และโครงการเสริมสรา้ งคุณธรรมจริยธรรมสาหรับครสู ู่ครูมืออาชีพ เป็นตน้
๔.๔ กลมุ่ บริหารงานท่ัวไป บรหิ ารงานโดยพัฒนาการจัดทาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ

เพ่ือให้การบริหารงานทุกงานคล่องตัว สะดวก รวดเร็ว ข้อมูลถูกต้องและเป็นปัจจุบัน จัดให้มีคณะกรรมการ

ควบคมุ ภายใน การบริหารความเส่ียง สร้างขวัญและกาลังใจในการปฏิบัตงิ าน ทาให้ครูบุคลากร ได้พฒั นา
ตนเองอยู่ตลอดเวลา มีการนาเทคโนโลยีมาใช้สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการ เช่น งานสารบรรณ ปฏิบัติงาน

ด้วยโปรแกรม Special Management Support System : SMSS ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการ
สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ และระบบสานกั งานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ส.พ.ฐ.

๔.๕ กลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน บริหารงานโดยจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเป็นหลัก
สาคัญ โดยการคัดกรองผู้เรียนอย่างเป็นระบบ จัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมทักษะการ
ดารงชีวิต นอกจากน้ี ยังมีงานหอพัก งานอนามัยโรงเรียน งานบริการ งานอาคารสถานท่ีและงานรักษาความ
ปลอดภัย เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายใน ภายนอกห้องเรียน
และสภาพแวดล้อมทางสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ สะอาด ถูกสุขลักษณะ สวยงามและมีความ
ปลอดภัย

๔.๖ กลุม่ บริหารงานกิจการพิเศษ บรหิ ารงานโดยดาเนินงานตามโครงการพระราชดาริ เชน่ โรงสี
ข้าวพระราชทาน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน งานการศึกษาเพ่ือการมีงานทาบูรณาการหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง งานพัฒนาศูนย์การเรียนรู้โครงการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในโรงเรียน
ราชประชานุเคราะห์ ๕๓ จงั หวัดสกลนคร

๕. มีการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนนิ งานอย่างเป็นระบบ โดยผู้บริหาร หัวหน้า
กลมุ่ งาน หวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้ หรอื หวั หนา้ งาน อย่างเป็นระบบ

๖. มีการประเมินผลการดาเนินงาน ตามที่ได้วางแผนไว้ เพ่ือดูความสาเร็จ ปัญหา อุปสรรค
ในการบรหิ ารจัดการ วา่ เป็นไปตามเป้าหมายทตี่ งั้ ไวห้ รอื ไม่ เพ่ือปรบั ปรุงแก้ไขและพัฒนา

๗. นาผลการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาแล้ว เผยแพร่ต่อผู้มีส่วนเก่ียวข้องและชุมชน และนาไป
วางแผนดาเนินการพัฒนาในปีต่อไป

๒. ผลกำรดำเนินงำน
๒.๑ มเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากาหนดชัดเจน
จากการดาเนินงานประชุมเชงิ ปฏิบัติการระดมสมอง ตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน

ในปัจจุบัน โดยการ SWOT Analysis ได้จัดทาเป็นแผนปฏิบัติการประจาปี ๒๕๖๓ โดยกาหนดเป็น
โครงการที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ความต้องการชุมชน นโยบายรัฐบาลที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ผลปรากฏว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของโครงการทงั้ หมดไดด้ าเนินการสาเร็จลุลว่ งตามวัตถปุ ระสงค์ ซง่ึ โครงการที่ไม่ได้
ดาเนินการเป็นผลมาจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ทาให้ไม่
สามารถดาเนินการได้

2.2 มรี ะบบบรหิ ำรจดั กำรคุณภำพของสถำนศึกษำ
จากการดาเนินงานจัดระบบควบคุมภายใน โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

ความเสี่ยง ทาให้โรงเรียนสามารถบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ ทั้งในส่วนการวางแผนพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษา การนาแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษามีการติดตามตรวจสอบ
ประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเน่ืองมีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน การนาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนา บุคลากรและผู้ที่
เก่ยี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีสว่ นรว่ มการวางแผน ปรับปรงุ และพฒั นา และร่วมรบั ผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา มี
การประสานความรว่ มมอื จากเครอื ข่ายภายนอก

2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและ
ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย

โรงเรียนมีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา โครงการ กิจกรรมอยู่ในแผนปฏิบัติการ
ประจาปที ่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หา ความตอ้ งการในการพัฒนาผเู้ รยี นทุกกลมุ่ เปา้ หมาย

2.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางดา้ นวชิ าชีพ
จากการดาเนินโครงการพัฒนาครูและบุคลากรสู่ครูมืออาชีพ โครงการพัฒนาประสิทธิภาพ

การปฏบิ ตั งิ านของบุคลากร สง่ ผลให้ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ไดร้ บั การพฒั นาตามมาตรฐานตาแหน่ง
และมีการปรบั วิทยฐานะ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ มคี รูทมี่ ีวิทยฐานะชานาญการพิเศษ จานวน ๑ คน วิทยฐานะ
ชานาญการ จานวน ๒ คน ครู ค.ศ.๑ จานวน ๔ คน ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนได้เข้าร่วมการ
อบรมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร้อยละ ๑๐๐ มีการพฒั นาในปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ จานวน ๒๐ ชว่ั โมงขึน้ ไป
สง่ ผลให้งานทปี่ ฏบิ ตั ิ มีประสทิ ธิภาพ เกดิ ประสิทธิผลสูงสดุ

2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอ้ือต่อการจดั การเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ
จากการดาเนินโครงการพัฒนาสงิ่ แวดล้อมและอาคารสถานท่ี โครงการประกวดหอ้ งเรียน

คุณภาพ ทาใหโ้ รงเรียนมีสภาพแวดลอ้ มทางสังคมทีเ่ อื้อตอ่ การจัดการเรียนร้ทู ห่ี ลากหลาย มีสภาพแวดลอ้ ม

ที่ดี สะอาด บรรยากาศร่มรื่น อาคารเรียนได้รับการดูแลให้อยู่สภาพดีเหมาะในการจัดการเรียนการสอน

สภาพอาคารเรียน อาคารประกอบอื่น ๆ มีความมั่นคง ปลอดภัย พร้อมใช้งาน เช่น ห้องปฏิบัติการ

คอมพิวเตอร์ ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ห้องปฏิบัติการทางภาษา

ห้อง E – Classroom ห้องโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) และห้อง To Be

Number One

๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ กำรบรหิ ำรจดั กำรและกำรกำรจัดกำรเรยี นรู้

จากการดาเนนิ งานเทคโนโลยสี ารสนเทศของโรงเรียน โดยมกี ารกาหนดผ้รู ับผิดชอบจัดทา

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการของโรงเรียนโดยกาหนดหมวดหมู่ข้อมลู ให้ถูกต้อง

ครอบคลุม และพร้อมใช้โดยจัดหาฮารด์ แวรท์ ีม่ ีประสิทธิภาพใช้งานสะดวก ถูกตอ้ ง ปลอดภยั มกี ารเผยแพร่

ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการดาเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ของทางโรงเรียนผ่านทางเว็บไซต์โรงเรียน

จดหมายขา่ ว และส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์

ผลจากการดาเนินงานกระบวนการบริหารและการจัดการที่ดีส่งผลให้ผู้บริหารและสถานศึกษา
ได้รบั การยอมรบั และได้รับรางวลั ตา่ ง ๆ ดงั น้ี

รำงวัลทผ่ี บู้ รหิ ำรไดร้ ับ
๑. นางสาวทัศนีย์ สิงหวงค์ ผู้อานวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๓ จังหวัด

สกลนคร ไดร้ ับโล่ประกาศเกยี รติคุณและเข็มสมาคม เปน็ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาดีเดน่ ของสมาคมชาวศึกษา
สงเคราะห์และศึกษาพิเศษ ประจาปี ๒๕๖๓ จากสมาคมชาวศึกษาสงเคราะห์และศึกษาพเิ ศษ วันท่ี ๓๐
กนั ยายน ๒๕๖๓

๒. นางสาวทัศนีย์ สิงหวงค์ ผู้อานวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๓ จังหวัด
สกลนคร ได้รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) รองชนะเลิศระดับเหรียญทอง ผู้อานวยการ
สถานศึกษายอดเย่ียม โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ด้านบริหารจัดการ การประกวดหน่วยงานและผู้มี

ผลงานดีเด่นท่ีประสพผลสาเร็จเป็นที่ประจักษ์ ครั้งที่ ๙ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ จากสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน วนั ที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๓

(เอกสารอ้างองิ : เกียรติบตั รทผี่ ู้บรหิ ารได้รับ ในภาคผนวก ข)

รำงวัลท่สี ถำนศกึ ษำได้รบั
๑. สถานศึกษาได้รับรางวัลพระราชทาน ในโครงการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษา และ

สถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน ระดับ มัธยมศึกษา ขนาด เล็ก ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ จาก
กระทรวงศึกษาธกิ าร วันท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓

๒. สถานศึกษาได้รับรางวัลพระราชทาน รางวัลบัณณาสสมโภช คร้ังที่ ๑ ระยะที่ ๔
ประจาปี ๒๕๖๓ ตามโครงการส่งเสริมกิจกรรมวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ดีเด่น จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย จาก สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
วันท่ี ๑๘ กนั ยายน ๒๕๖๓

๓. สถานศึกษาได้รับถ้วยรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒ การออกแบบ ”โครงงานลิฟต์”
กิจกรรม Show & Share ๒๐๑๙ : ส่ิงประดิษฐส์ มองกลฝงั ตัว (แบบออนไลน)์ ภายใต้โครงการพัฒนาทกั ษะ
ด้านอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ณ อาคารสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร จากมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วนั ท่ี ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๓

๔. สถานศึกษาได้รับรางวัล “สถานศึกษาปลอดภัย”ดีเด่น ประจาปี ๒๕๖๓ ปีท่ี ๒
ติดต่อกนั จากกรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน วนั ท่ี ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๓

๕. ชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๓ จังหวัดสกลนคร
ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนจังหวัดสกลนคร ในการแสดง การประกวดจังหวัด TO BE NUMBER ONE
งานมหกรรมรวมพลสมาชิก TO BE NUMBER ONE ประจาปี ๒๕๖๓ ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัด
นนทบุรี

๓. จุดเด่น
ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีภาวะผู้นา มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ใช้การบริหารแบบมี

สว่ นรว่ ม โรงเรียนมกี ารบริหารจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ สามารถบรหิ ารจดั การศึกษาใหบ้ รรลุเปา้ หมายตามที่
กาหนดไว้ ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม
และพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างสม่าเสมอ ปฏบิ ตั ิงานตามนโยบายของหน่วยงานต้นสงั กดั มีแหล่งเรยี นรู้
ที่หลากหลายเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน และน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน
การดาเนนิ งานของโรงเรียน

๔. จดุ ทคี่ วรพัฒนำ
ระบบการนิเทศ ติดตามการดาเนินงาน ให้มีความต่อเนื่อง ครอบคลุมทุกกลุ่มงาน โดยใช้

เทคโนโลยีท่ีทันสมัย

มำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคญั
ระดบั คณุ ภำพ : ยอดเยี่ยม
จากการประเมินผลคุณภาพการจัดการศึกษาภายในของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 53

จังหวัดสกลนคร ตาม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ประจาปี
การศึกษา 2563 พบว่า กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั อยู่ในระดบั ยอดเยี่ยม

จุดเน้น
ส่งเสริมใหค้ รูจดั การเรียนการสอนโดยบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๑. กระบวนกำรพฒั นำ
๑. โรงเรยี นจัดประชมุ วางแผนการดาเนินงาน
๒. ร่วมกันทบทวน ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง บริบท

ของชมุ ชน ท้องถนิ่
๓. มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการวางแผนการจัดการเรียนรู้ และออกแบบการจัด

การเรียนรู้ เพอ่ื ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจดั การศึกษา
เฉพาะบุคคล (IEP) โดยครูทุกคนจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ ๑ คน ๑ รายวชิ า ครบทุกช้ันเรยี น

๔. ครูใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
ในกระบวนการคิด รวมทง้ั วางแผนกาหนดกิจกรรม ส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัตจิ ริง การสอน
แบบมีสว่ นร่วม การสอนแบบโครงงาน การสอนแบบสืบเสาะ จดั การเรยี นรูท้ ี่สอดคลอ้ งกับการพฒั นาสมอง
(Brain – Based - Leaning) จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชี้วัดของหลกั สตู รสถานศึกษา
มีแผนการจัดการเรียนรู้ และแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ที่สามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง
ผ้เู รยี นได้รับการฝึกทกั ษะการคิด การแสดงออก การแสดงความคดิ เหน็ สรุปองค์ความรู้ นาเสนอผลงานและ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ผลิต ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ รวมท้ังภูมิปัญญา
ท้องถ่ิน มาใช้ ในการจัดการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากสื่อที่
หลากหลาย ตลอดจนการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ มีการติดตามและตรวจสอบแผนการ
จัดการเรียนรู้ มีการนเิ ทศการสอน มีการสาธติ การสอน การศึกษาดูงาน จัดสภาพแวดลอ้ มที่เออื้ ตอ่ การเรียนรู้
มีแหล่งเรียบรู้ที่หลากหลาย อาทิ ศูนย์เรียนรู้อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ห้องบริการทางการศึกษาพิเศษ
(SSS) ห้อง Art Gallery ศูนย์การศึกษาเพื่อการมีงานทา ฯลฯ มีการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ และนาผล
การประเมนิ มาวเิ คราะห์ เพอ่ื พัฒนางานต่อไป

๕. ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้ “เด็กรักครู ครูรักเด็ก
และเด็กรักเดก็ ” ทาใหผ้ เู้ รยี นรกั ทจี่ ะเรยี นรู้ และเรียนรู้รว่ มกันไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

๖. ครูและผู้มีส่วนเก่ียวข้อง มีการแลกเปล่ียนความรู้ ประสบการณ์ รวมทั้งให้ข้อมูลย้อนกลับ
เพื่อนาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้

๗. มีการนิเทศการสอน การตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
มีข้ันตอน โดยใช้เคร่ืองมือ วิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้และให้
ข้อมูลย้อนกลบั แกผ่ ูเ้ รยี นเพอ่ื นาไปพฒั นาการเรยี นรู้

๘. นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนา

๒. ผลกำรดำเนินงำน

๓.๑ จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริงและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ
ดาเนนิ ชวี ติ

ครมู ีการออกแบบแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน

การสอนใช้แหล่งเรยี นรทู้ ั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาในการจัดการเรยี นรู้ โดยมีการนิเทศการจัดการ
เรียนการสอนทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ของฝ่ายบรหิ าร และมีการจัดกิจกรรมค่ายวิชาการต่าง ๆ ของแต่

ละกลุ่มสาระการเรียนเรียนรู้ เช่น ค่ายคณิตศาสตร์ ค่ายวิทยาศาสตร์ ค่ายภาษาไทย ค่ายฝึกทักษะงาน
อาชีพ อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนาฐานการเรยี นรูง้ านอาชีพในโครงการพระราชดาริ การบูรณาการ
ถอดบทเรยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง นักเรียนไดฝ้ ึกการคดิ วเิ คราะห์ หลักการของเศรษฐกิจ

พอเพียง 2 เงื่อนไข 3 หลักการ 4 มิติ สามารถคิดวิเคราะหแ์ ละถอดบทเรียนได้ สามารถนาความรูจ้ ากใน
ห้องเรยี นท้งั 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ มาบูรณาการกับงานอาชีพท่ีตนเองรับผิดชอบได้ เชน่ การจัดทาบัญชี

รับจ่าย การบันทึกการปฏิบัติงาน การใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ในการย้อมผ้าด้วยสีธรรมชาติ การพูด
สื่อสาร จาหน่ายสินค้ากับชาวต่างชาติโดยใช้ภาษาอังกฤษ การเรียนรู้และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์โดยใชไ้ อซีทีในการจัดทาเพจสร้างรายไดใ้ ห้กับกลุ่มตนเอง และ

สามารถสรุปองค์ความรไู้ ด้
๓.๒ ใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทีเ่ ออื้ ตอ่ การเรียนรู้

สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน ทาให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการ
ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง มีสมรรถนะท่ีสาคัญในศตวรรษท่ี ๒๑ รู้เท่าทันเหตุการณ์ในการเปล่ียนแปลง
ของโลกในปจั จบุ ัน

๓.๓ มกี ำรบริหำรจัดกำรชนั้ เรยี นเชงิ บวก
จากการดาเนินงานครูผู้สอน ร้อยละ ๑๐๐ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ ถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียนได้เต็มตามศักยภาพ ให้เวลาและโอกาสแก่นักเรียนได้เรียนรู้
จริงและฝึกปฏิบัติจริง สามารถวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล สามารถแบ่งระดับ
พัฒนาการเรียนรขู้ องผู้เรียน ทาให้นักเรียนสามารถพัฒนาตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตาม

ศักยภาพและมีความสุขกับการเรยี นรู้
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผเู้ รยี น

ครสู ามารถตรวจสอบและประเมนิ ผลผู้เรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษาได้อยา่ งรอบด้าน โดยใช้
การประเมินตามสภาพจรงิ และนาเอาผลการประเมินมาใช้พฒั นาผู้เรียนไดอ้ ย่างต่อเน่อื งตลอดปกี ารศึกษา
เช่น ใบงาน แบบฝึกทักษะ แฟม้ สะสมผลงาน เปน็ ตน้

๓.๕ มีกำรแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนำและปรับปรุงกำรจัดกำร
เรยี นรู้

ครูมีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้กับเพือ่ นครูในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ ฝ่ายบริหาร และนาเอาข้อมูลจากการสังเคราะห์ร่วมกันมาจัดทาเป็นวิจัยในชั้นเรียนในการพัฒนา
ผ้เู รียนใหม้ ผี ลสัมฤทธิ์ท่สี ูงขึน้ และส่งผลให้ครูเป็นนกั วิจัยทีด่ ี คดิ ค้น ปรบั ปรงุ วธิ กี ารสอนที่หลากหลาย เช่น

การสอนโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน กระบวนการสบื เสาะทางวิทยาศาสตร์ เป็นตน้
ผลจากการดาเนินงานกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญส่งผลให้ครู และ

บุคลากรไดร้ ับการยอมรบั และไดร้ ับรางวัลต่าง ๆ ดงั นี้

ระดบั ชำติ
๑. นางกัญจนา สล้างสุขสกาว ได้รบั รางวัลครดู ไี มม่ ีอบายมุข ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓

เน่ืองในวันครูแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๖๔ จาก สานักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ณ วันท่ี ๑๖ มกราคม
พุทธศักราช ๒๕๖๔

๒. นายสานติ โลบภูเขยี ว และนายณัฐพล วงษ์ยอด และนายนวภพ เชื้อคาเพ็ง เป็นครู
ที่ปรึกษากิจกรรมประกวด การออกแบบโครงงานลิฟต์ กลุ่มรางวัลเหรียญทอง รำงวัลรองชนะเลิศอนั ดบั
๑ กิจกรรม Show & Share 2020 : สิ่งประดิษฐ์สมองกลฝังตัว (แบบออนไลน์) ภายใต้โครงการพัฒนา
ทักษะด้านอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ณ อาคารสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร จากมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๓

๓. นายสานิต โลบภเู ขียว นายณฐั พล วงษย์ อด และนางจิตรฤทยั ดีโท เป็นครูทป่ี รกึ ษา
โครงงานสิ่งประดิษฐ์สมองฝังตัวท่ีได้รับรางวัล กลุ่มรำงวัลเหรียญเงิน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
“โครงงานเครื่องเสียงตามสายอัจฉริยะ” กิจกรรม Show & Share 2020 : ส่ิงประดิษฐ์สมองกลฝังตัว
(แบบออนไลน์) ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะด้านอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ณ อาคารสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร จากมูลนิธิเทคโนโลยี
สารสนเทศตามพระราชดาริสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี วนั ที่ ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๓

๔. นายสานิต โลบภูเขียว นายณัฐพล วงษ์ยอด และนางสาวปิยรัตน์ พันธุขันธ์ เป็นครู
ท่ปี รกึ ษาโครงงานสงิ่ ประดิษฐ์สมองกลฝังตัวทไี่ ด้รับรางวัล กลุ่มรำงวลั เหรียญทองแดง ระดบั มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย “โครงงาน Electrial From Peltier” กิจกรรม Show & Share 2020 : ส่ิงประดิษฐ์สมองกล
ฝงั ตัว (แบบออนไลน์) ภายใตโ้ ครงการพฒั นาทักษะด้านอิเลก็ ทรอนกิ ส์และการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ณ อาคารสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร จากมูลนิธิเทคโนโลยี
สารสนเทศตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี วนั ท่ี ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๓

๕. นายนวภพ เช้ือคาเพ็ง นายสานิต โลบภูเขียวและนายณัฐพล วงษ์ยอด เป็นครู
ที่ปรึกษาโครงงานส่ิงประดิษฐ์สมองกลฝังตัวท่ีได้รับรางวัล กลุ่มเหรียญเงิน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
“โครงงานโจกคราม” กจิ กรรม Show & Share 2020 : สิง่ ประดษิ ฐ์สมองกลฝงั ตัว (แบบออนไลน์) ภายใต้
โครงการพฒั นาทักษะด้านอเิ ล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ณ อาคารสานักงานพฒั นา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร จากมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี วันท่ี ๑๑ กันยายน ๒๕๖๓

(เอกสารอ้างองิ : เกยี รติบตั รทคี่ รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาได้รบั ในภาคผนวก ค)

๓. จุดเดน่
โรงเรียนเป็นโรงเรียนประจา ครูจึงเป็นเสมือนคุณพ่อคุณแม่ของนักเรียน มีความอดทน มุ่งมั่น

ต้ังใจ มีความวิริยะอุตสาหะ พัฒนานักเรียนท่ีมีภูมิหลังที่แตกต่าง ให้ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตาม
ศกั ยภาพ ทั้งทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา ดว้ ยวิธีการทหี่ ลากหลาย มงุ่ เนน้ ใหน้ ักเรยี นได้
เรียนรู้ด้วยการ ลงมือปฏิบัติจริง มีรูปแบบการสอนที่ทาให้นักเรียนเป็นนักวิชาการที่มีพื้นฐานงานอาชีพ

บรู ณาการและนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ซงึ่ นบั เปน็ การ
จดั กระบวนการเรียนร้ทู เี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญอย่างแทจ้ ริง

๔. จดุ ท่คี วรพัฒนำ
ส่งเสริมใหค้ รมู ีการเผยแพร่รูปแบบหรอื วิธีการสอนท่สี ามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับสาธารณชน

ให้มจี านวนเพม่ิ มากขนึ้

ตอนท่ี ๓
สรปุ ผล แนวทำงกำรพฒั นำ และควำมต้องกำรควำมชว่ ยเหลอื

สรุปผลกำรประเมินในภำพรวม

ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศกึ ษำอยใู่ นระดบั ๕ ยอดเย่ียม

จากผลการดาเนินงานโครงการและกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาประสบผลสาเรจ็ ตามท่ตี ง้ั เป้าหมายไวใ้ นแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมนิ สรปุ วา่ ไดร้ ะดับ
ยอดเย่ียม ทั้งนี้สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเป็นไปตามปัญหา
และความต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรยี น สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษา และสภาพของชมุ ชน
ท้องถิ่น จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับดี ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและเขียน
การสื่อสารความสามารถในการคิดคานวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ดี และมีความ
ประพฤตดิ ้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะตามที่สถานศกึ ษากาหนดปรากฏอย่างชัดเจน ใน
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ ผู้บริหารปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดี บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมใน
การแสดงความคิดเห็น มมี นุษยสัมพันธท์ ่ดี ีตอ่ ทกุ คน มกี ารตัดสินใจที่ฉับไว มีวสิ ัยทศั น์กวา้ งไกลทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง เข้ารับการอบรมศกึ ษาดงู านเพื่อนาความรมู้ าใช้ในการบรหิ ารงาน ใช้หลักการบริหารจัดการ
โดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน มีกระบวนการทางานเปน็ ข้นั ตอน ตามระบบ PDCA ทาให้การบรหิ ารงาน มี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล บรรลุเป้าหมายเป็นไปตามที่กาหนดไว้ ครูจัดกระบวนการเรียนรู้และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้วยการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างหลากหลายรอบด้าน ตามโครงสร้างหลักสูตร
ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หลักสูตรท้องถ่ิน หลักสูตรทวิศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียน
ได้มีโอกาสเลือกเรียนตามความถนัด ความสนใจ จัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
มีเทคนิควิธีการสอนที่เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตรและบริบทของสถานศึกษา จัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน สอดแทรกความรู้
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลาย ใช้สื่อการเรียนรู้ มีระบบดูแลและ
ช่วยเหลือผ้เู รียนเพ่ือพัฒนา ช่วยเหลอื และแกป้ ญั หาผเู้ รยี นรายบุคคล มีการประเมินผลตามสภาพจริง ใน
ทุกข้ันตอน จนเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยใช้หลักการมีส่วนร่วมของชุมชน และหน่วยงาน
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดาเนนิ งานให้ครอบคลุมมาตรฐานท่กี าหนด

แนวทำงกำรพฒั นำในอนำคต
๑. ปลกู ฝงั และพัฒนาความสามารถด้านการอ่าน การเขยี น ทกั ษะการคิดคานวณให้กบั นกั เรยี น

ระดับช้ันประถมศกึ ษา และส่งเสริมทกั ษะใหเ้ ป็นไปตามสมรรถนะท่จี าเป็นของนักเรยี นในศตวรรษที่ ๒๑
ในระดับชัน้ ที่สงู ขน้ึ ไป

๒. ส่งเสรมิ ระบบการนเิ ทศ ติดตามการดาเนินงาน เผยแพรผ่ ลการดาเนนิ งานผา่ นส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
อยา่ งรวดเร็วและครอบคลุมผทู้ ี่มสี ่วนเกี่ยวขอ้ ง

๓. ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาศักยภาพครูในด้านการเผยแพร่รูปแบบหรือวิธีการสอนที่เป็น
แบบอยา่ งทีด่ ี ทจ่ี ะทาให้ครเู ป็นครมู อื อาชพี

ควำมต้องกำรและกำรชว่ ยเหลอื
๑. ระดมทรัพยากรในการบรหิ ารงบประมาณ เพ่ือพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่าย

อนิ เตอร์เน็ตไรส้ ายใหม้ คี วามรวดเรว็ มากย่งิ ขึ้น
๒. พัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตร

ฐานสมรรถนะ

ภำคผนวก ก

เกยี รตบิ ตั รท่นี กั เรียนได้รับ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

เกยี รตบิ ตั รท่นี ักเรยี นไดร้ ับ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

เกยี รตบิ ตั รท่นี ักเรยี นไดร้ ับ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

เกยี รตบิ ตั รท่นี ักเรยี นไดร้ ับ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

เกยี รตบิ ตั รท่นี ักเรยี นไดร้ ับ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

เกยี รตบิ ตั รท่นี ักเรยี นไดร้ ับ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓


Click to View FlipBook Version