The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lovemagic_19, 2022-05-06 05:50:34

BCP โรคระบาด 630516

BCP โรคระบาด 630516

á¼¹ºÃÔËÒäÇÒÁµ‹Íà¹×่ͧ¢Í§Í§¤¡ Ã

Business Continuity Plan : BCP

㪌ÃͧÃѺã¹ÊÀÒÇÐÇԡĵËÃ×Íà˵ءÒó©Ø¡à©Ô¹
â´Â੾ÒÐã¹Ê¶Ò¹¡Òó¡ÒÃá¾Ã‹ÃкҴ¢Í§
âäµ´Ô àªÍ้× äÇÃÊÑ â¤âÃ¹Ò 2019

ʶҺ¹Ñ Ç¨Ô ÂÑ ´ÒÃÒÈÒʵÏá˧‹ ªÒµÔ (ͧ¤¡ÃÁËÒª¹)

สารบัญ หนา
3
1. บทนํา 4
2. วัตถปุ ระสงค สมมตฐิ าน ขอบเขต 5
3. การบรหิ ารความตอ เนอื่ งของงานใหบ ริการของ สดร. 5
9
3.1 โครงสรางและทมี งาน 12
3.2 บทบาท หนา ทแี่ ละความรบั ผิดชอบ
3.3 กลยุทธการบริหารความตอเนื่องขององคก ร 14

(Business Continuity Strategy) 15
3.4 การประเมนิ ผลกระทบตอการดาํ เนนิ งาน
19
(Business Impact Analysis) 19
3.5 การกําหนดมาตรการบริหารความตอเน่ืองตามลาํ ดบั

เหตกุ ารณเ มอื่ เกิดสภาวะวิกฤต หรอื เหตฉุ กุ เฉนิ
3.6 ระบบสนบั สนนุ ทจี่ าํ เปน ตอ การฟนฟกู จิ กรรมหลัก
3.7 กฎหมาย/ระเบียบ/ประกาศที่เก่ยี วของ

-2-

1. บทนาํ

ปจจุบันการแพรระบาดของโรคตดิ ตออุบัติใหม ไดกลายมาเปนปญหาสาธารณสุขท่ีสําคัญในประเทศ
ตาง ๆ ท่ัวโลก เชน โรคซารส (SARS) ไขหวัดนก (Avian Influenza, H7N9) โรคไขหวัดใหญ 2009 (Viral
Hemorrhagic Fever) และโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือโรคเมอรส (Middle East Respiratory
Syndrome -MERS) จนมาในป 2562 การแพรร ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ท่ีมีจุดเร่ิมตน
ในเมอื งอูฮั่น สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งพบผปู ว ยตั้งแตเ ดือนธนั วาคม 2562 และสถานการณการแพรระบาด
ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 นน้ั มีความรุนแรงจนทําใหประเทศจนี ตองมกี ารปดเมือง สง ผลใหระบบการ
ใหบ ริการสาธารณะ ระบบเศรษฐกิจของประเทศจีนหยุดชะงักลงโดยปริยาย ตอมาเชื้อไวรัสโคโรนามีการแพร
ขยายในวงกวางท้ังในประเทศในแถบเอเชีย ยุโรป และอเมรกิ า รวมถึงมีการพบผูปวยรายแรกในไทยเมื่อชวง
ตนเดอื นมกราคม 2563 หรือโรคท่อี าจเกิดขึ้นใหมในอนาคต ซ่ึงอาจกอ ใหเกิดความสูญเสียตอชีวิต และสุขภาพ
ของประชาน อกี ท้ังยงั สงผลกระทบทร่ี นุ แรงตอสงั คม ตลอดจนเศรษฐกิจอยา งมหาศาลได

เพือ่ เปนการเตรียมความพรอมในการรับมอื ในสถานการณการแพรร ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 หรอื โรคตดิ ตออุบตั ิใหม สถาบนั วจิ ัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน) จงึ ตอ งเตรียมการรับมือกับ
สถานการณ โดยการจัดทําแผนบริหารความตอเนื่องขององคกร (BCP) เพ่ือที่จะสถาบันมีความพรอมในการ
รับมือกับสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณฉุกเฉิน โดยเฉพาะในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 และสามารถดาํ เนินการตอไดอยา งตอเน่อื งและมีประสทิ ธิภาพมากทส่ี ดุ

-3-

2. วัตถปุ ระสงค สมมติฐาน ขอบเขต

2.1 วตั ถปุ ระสงค
1. เพอ่ื ใชเปน แนวทางในการบริหารความตอเน่ือง
2. เพ่ือใหหนวยงานมีการเตรียมความพรอมในการรับมือกับสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณฉุกเฉินจากโรค
ระบาด โดยเฉพาะในสถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019
3. เพอื่ ลดผลกระทบจากการหยุดชะงกั ในการดําเนินงานหรือการใหบ รกิ าร
4. เพ่ือบรรเทาความเสยี หายใหอ ยูในระดบั ท่ียอมรบั ได
5. เพ่ือใหประชาชน ผูปฏิบัติงาน และหนวยงานอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการดําเนินงานของสถาบัน
มีความเชื่อมั่นในศักยภาพของสถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน) แมสถาบันตอง
เผชิญกับเหตุการณรายแรง และสงผลกระทบจนทําใหการดําเนินงานหยุดชะงัก

2.2 สมมตฐิ านของแผนบริหารความตอ เนอื่ ง (BCP Assumption)
เอกสารฉบับน้จี ัดทาํ ขนึ้ ภายใตสมมติฐาน ดังตอ ไปน้ี
 เหตุการณระบาดของโรคติดตอที่เกิดข้ึนภายในประเทศไทย หรือพบโรคติดตออุบัติใหม

ภายในประเทศ
 เหตุการณระบาดของโรคตดิ ตอ ท่ีเกิดขน้ึ ในตา งประเทศและมกี ารระบาดเขามาในประเทศไทย
 ระบบสารสนเทศของสถาบัน มิไดรบั ผลกระทบจากเหตุการณฉุกเฉนิ
 “บุคลากร” ที่ระบุในเอกสารฉบับนี้ หมายถึง ผูปฏิบัติงานของสถาบัน ตามขอบังคับคณะ

กรรมการบริหารสถาบันวิจยั ดาราศาสตรแ หงชาติ วา ดว ย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2557

2.3 ขอบเขตของแผนบรหิ ารความตอเน่ือง (Scope of BCP)
แผนบริหารความตอเน่ือง (BCP) ฉบับน้ี ใชรองรับสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณฉุกเฉิน ในพื้นท่ีอุทยาน

สริ ินธรและหอดูดาวภูมิภาค ดวยเหตุการณโ รคระบาด หรือโรคติดตออุบัตใิ หม โดยพจิ ารณาถึงผลกระทบตอ
ทรพั ยากรท่ีสําคัญในการดาํ เนินงานขององคกร ซ่ึงแบงออกเปน 4 ประเภท ไดแ ก

1. ผลกระทบดานอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงานหลัก หมายถึง เหตุการณที่เกิดข้ึนทําใหสถานที่
ปฏิบัติงานหลักไมสามารถใชสถานท่ีปฏิบัติงานหลักได และสงผลใหบุคลากรไมสามารถเขาไปปฏิบัติงานได
ช่วั คราวหรอื ระยะยาว

2. ผลกระทบดานบุคลากรหลัก หมายถึง เหตุการณที่เกิดขึ้นทําใหบุคลากรหลักไมสามารถ
มาปฏิบัตงิ านไดต ามปกติ

3. ผลกระทบดา นเทคโนโลยสี ารเทศ หมายถงึ เหตกุ ารณท ี่เกิดขน้ึ ทาํ ใหไมสามารถใชระบบสารสนเทศ
ของสถาบันไดต ามปกติ ตองมีการสาํ รองขอมลู เพอ่ื ใชในการปฏบิ ัติงานนอกสถานทป่ี ฏิบตั ิงานหลัก

4. ผลกระทบดานภาพลักษณและความเชื่อม่ันในการดําเนินงานของสถาบัน หมายถึง เหตุการณท่ี
เกดิ ข้ึนอนั จะสงผลตอภาพลกั ษณ ความเชือ่ มั่นในระบบการบริหารงานและการดาํ เนนิ งานของสถาบนั

-4-

3. การบรหิ ารความตอเนอื่ งของงานใหบ รกิ ารของ สดร.

3.1 โครงสรางและทมี งาน
เพอื่ ใหแผนบรหิ ารความตอเน่ือง (BCP) ของสถาบันวิจยั ดาราศาสตรแหงชาติ (องคก ารมหาชน) สามารถ

นําไปปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล จึงจัดโครงสรางและทีมงานบริหาร
ความตอ เน่ือง โดยทุกตําแหนง จะตองรวมมือกนั ดูแล ติดตาม ปฏิบตั ิงาน และกคู ืนเหตุการณฉกุ เฉนิ ในฝา ยของ
ตนเองใหสามารถบริหารความตอเน่ืองและกลับสูภาวะปกติโดยเร็วตามบทบาทหนาที่ที่กําหนดไวของทีมงาน
บริหารความตอเน่ือง และในกรณีท่ีบุคลากรหลักไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีได ใหบุคลากรสํารองรับผิดชอบ
ทําหนาที่ในบทบาทของบุคลากรหลัก โดยสถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน) จัดเตรียม
ความพรอมไว 2 สวน รายละเอียดดงั นี้

 ศนู ยบรหิ ารความตอเนื่องสวนกลาง (อทุ ยานดาราศาสตรส ริ นิ ธร จงั หวดั เชยี งใหม)

บุคลากรหลัก บทบาท บคุ ลากรสํารอง

ชอ่ื -นามสกลุ เบอรโ ทรศัพท ผบู ญั ชาการเหตกุ ารณ ชือ่ -นามสกลุ เบอรโ ทรศัพท
ผอู ํานวยการเหตุการณ
ดร.ศรัณย โปษยะจนิ ดา 081-681-1767 นายธนา ธนาเจรญิ พร 092-591-3332
หัวหนาทีมส่ือสาร
นายธนา ธนาเจรญิ พร 092-591-3332 หวั หนาทีมคัดกรอง นายอภชิ าต เหลก็ งาม 083-470-7711

น.ส.จุลลดา ขาวสะอาด 081-881-3260 หัวหนา ทมี เทคโนโลยี น.ส.พิรยิ าภรณ สรรพศรี 094-153-5694
สารสนเทศ
น.ส.ภัทรานิษฐ อุดมพรสุขสันต 089-041-0988 น.ส.ศริ ิลักษณ แดนธนสารมาก 081-764-7318

นายภาสิต ลาดเหลา 099-291-9444 นายณัฐพงศ อนุวงค 082-981-6699

แผนภาพโครงสรางศูนยบ ริหารความตอ เน่ืองสวนกลาง

ดร.ศรัณย โปษยะจินดา
ผบู ัญชาการเหตกุ ารณ

นายธนา ธนาเจริญพร
ผอู าํ นวยการเหตกุ ารณ

น.ส.จลุ ลดา ขาวสะอาด น.ส.ภัทรานษิ ฐ อุดมพรสุข นายภาสิต ลาดเหลา
หวั หนาทมี สอื่ สาร หัวหนาทมี คดั กรอง หัวหนาทีมเทคโนโลยสี ารสนเทศ

งานประชาสมั พันธ (4 คน) งานบริหารงานบุคคล (4 คน) ศนู ยเทคโนโลยีสารสนเทศ (8 คน)
งานวิเทศสมั พันธ (4 คน) งานอาคารสถานท่ี (11 คน)

-5-

 ศูนยบรหิ ารความตอเนอื่ งภมู ิภาค

- หอดดู าวเฉลิมพระเกยี รติ 7 รอบพระชนมพรรษา นครราชสีมา

บคุ ลากรหลัก บทบาท บุคลากรสํารอง

ชือ่ -นามสกุล เบอรโทรศัพท ผบู ญั ชาการเหตกุ ารณ ช่อื -นามสกลุ เบอรโทรศพั ท
ผอู าํ นวยการเหตกุ ารณ
ดร.ศรณั ย โปษยะจินดา 081-681-1767 นายธนา ธนาเจรญิ พร 092-591-3332
หัวหนา ทมี ส่ือสาร
น.ส.จุลลดา ขาวสะอาด 081-881-3260 หวั หนา ทีมคัดกรอง นายสมานชาญ จันทรเอ่ยี ม 095-245-4989

นางสาวหัทยา คชรตั น 087-977-7371 หวั หนาทมี เทคโนโลยี นางสาวจุฑามาศ กติ ติวีระ 091-834-8883
สารสนเทศ
นายสมานชาญ จนั ทรเอี่ยม 095-245-4989 นายวิวฒั นช ัย หวังฟง กลาง 080-167-3078

นายอนนั ตพ ล สุดทรัพย 081-699-0343 นายกฤษณะ ลา มสมบัติ 090-260-2595

แผนภาพโครงสรางศูนยบริหารความตอเน่ืองหอดดู าวเฉลมิ พระเกยี รติ 7 รอบพระชนมพรรษา นครราชสีมา

ดร.ศรัณย โปษยะจนิ ดา
ผูบญั ชาการเหตกุ ารณ

น.ส.จุลลดา ขาวสะอาด
ผูอาํ นวยการเหตกุ ารณ

น.ส.หัทยา คชรตั น นายสมานชาญ จันทรเอ่ียม นายอนันตพ ล สดุ ทรัพย
หัวหนา ทมี สอ่ื สาร หวั หนา ทีมคัดกรอง หัวหนา ทีมเทคโนโลยสี ารสนเทศ

น.ส.จุฑามาศ กิตติวีระ นายวิวัฒนช ัย หวังฟงกลาง นายกฤษณะ ลามสมบตั ิ
นายบญุ ญฤทธ์ิ ชุนหกิจ น.ส.ลดั ดา ดสี วน

-6-

- หอดดู าวเฉลิมพระเกยี รติ 7 รอบพระชนมพรรษา ฉะเชงิ เทรา

บุคลากรหลัก บทบาท บุคลากรสํารอง

ช่อื -นามสกลุ เบอรโทรศัพท ผบู ญั ชาการเหตุการณ ชอื่ -นามสกุล เบอรโทรศพั ท
ผอู าํ นวยการเหตุการณ
ดร.ศรัณย โปษยะจินดา 081-681-1767 นายธนา ธนาเจริญพร 092-591-3332
หัวหนา ทมี สื่อสาร
น.ส.จลุ ลดา ขาวสะอาด 081-881-3260 หัวหนา ทมี คดั กรอง นายชชู าติ แพนอย 081-781-1716

น.ส.ณัฐยา ศิริวนสกลุ 086-821-9772 หัวหนาทมี เทคโนโลยี น.ส.อวิกา แสงศรี '088-840-9854
สารสนเทศ
นายพชรพงษ เดชสุภา 084-767-1817 นายสุวนิตย วฒุ สงั ข 083-741-0850

นายรณภพ ตันวฒุ บิ ันฑิต 085-173-6966 นายภาณุ อุบลนอ ย 087-808-0811

แผนภาพโครงสรางศนู ยบริหารความตอ เนอื่ งหอดดู าวเฉลมิ พระเกยี รติ 7 รอบพระชนมพรรษา ฉะเชงิ เทรา

ดร.ศรัณย โปษยะจนิ ดา
ผบู ัญชาการเหตกุ ารณ

น.ส.จลุ ลดา ขาวสะอาด
ผอู ํานวยการเหตกุ ารณ

นางสาวณัฐยา ศิริวนสกลุ นายพชรพงษ เดชสุภา นายรณภพ ตนั วุฒบิ ันฑิต
หวั หนาทมี สือ่ สาร หัวหนา ทมี คดั กรอง หวั หนาทีมเทคโนโลยสี ารสนเทศ

น.ส.อวิกา แสงศรี นายสุวนิตย วุฒสังข นายภาณุ อุบลนอย
นายตระการ วันทยา น.ส.สาวิตรี เดชศรีมนตรี

-7-

- หอดดู าวเฉลิมพระเกยี รติ 7 รอบพระชนมพรรษา สงขลา

บคุ ลากรหลกั บทบาท บคุ ลากรสํารอง

ชือ่ -นามสกุล เบอรโทรศัพท ผบู ัญชาการเหตุการณ ชอื่ -นามสกลุ เบอรโทรศัพท
ผอู ํานวยการเหตุการณ
ดร.ศรณั ย โปษยะจนิ ดา 081-681-1767 นายธนา ธนาเจริญพร 092-591-3332
หัวหนาทีมส่ือสาร
นายเฉลมิ ชนม วรรณทอง 081-479-0775 หวั หนา ทีมคัดกรอง นายธีรยทุ ธ ลอยลบิ 091-067-9658

นางอรอุมา สงแสง 086-021-1650 หัวหนาทมี เทคโนโลยี น.ส.บุษกร โลหพฒั นะกิจ 089-738-6828
สารสนเทศ
นายชยานันท พันธทอง 084-396-9211 นายกฤษดา รุจิรานุกลู 087-296-2009

นายธีรยทุ ธ ลอยลิบ 091-067-9658 นายรอยาลี มามะ 089-956-2590

แผนภาพโครงสรางศูนยบริหารความตอ เนอ่ื งหอดดู าวเฉลิมพระเกยี รติ 7 รอบพระชนมพรรษา สงขลา

ดร.ศรัณย โปษยะจนิ ดา
ผูบ ญั ชาการเหตกุ ารณ

นายเฉลิมชนม วรรณทอง
ผูอาํ นวยการเหตุการณ

นางอรอุมา สง แสง นายชยานันท พันธทอง นายธรี ยุทธ ลอยลิบ
หัวหนาทมี ส่อื สาร หวั หนา ทีมคดั กรอง หวั หนา ทีมเทคโนโลยสี ารสนเทศ

น.ส.บุษกร โลหพ ัฒนะกิจ นายกฤษดา รุจิรานุกูล นายรอยาลี มามะ
นายตอริก เฮง็ ปยา นายอนชุ า เตยแกว

-8-

3.2 บทบาท หนาที่และความรับผิดชอบ
 ผบู ัญชาการเหตกุ ารณ มบี ทบาท หนา ท่ีและความรบั ผิดชอบ ดงั น้ี

กอ นเกดิ เหตุ ขณะเกิดเหตุ หลงั เกดิ เหตุ

- กําหนดนโยบาย แนวทางท่ี - พิจารณาประกาศใชแผน BCP - ประกาศยกเลิกแผน BCP เม่ือ

จําเปนตอ การบริหารงานในชวง ตามความรนุ แรงของสถานการณ สถานการณก ลบั สภู าวะปกติ

สถานการณต างๆ - ส่ั ง ก า ร ม อ บ อํ า น า จ แ ก - รายงานผลการดําเนินงานตาม

- ประเมินสถานการณ ลักษณะ ผูอํานวยการเหตุการณ และ ความตอเนื่องทางธุรกิจ ปญหา

แนวโนมของความรุนแรงของ ติดตาม อุปสรรค ขอเสนอแนะ ความ

เหตุการณ - ใหคําปรึกษาและสนับสนุนการ เ สี ย ห า ย ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ใ ห

- พิจารณาตัดสินใจประกาศการ บริหารงานของผูอํานวยการ คณะกรรมการสถาบันฯ ทราบ

ใชแ ผน BCP เหตุการณ

- สั่งการ กํากับ ดูแลและควบคุม - กํากับดูแล ติดตามและรายงาน

การดําเนินการตามนโยบาย ความคืบหนาตอคณะกรรมการ

แนวทาง มาตรการตา งๆ สถาบนั ฯ

 ผูอํานวยการเหตุการณ มีบทบาท หนา ท่แี ละความรับผดิ ชอบ ดงั น้ี

กอนเกิดเหตุ ขณะเกดิ เหตุ หลังเกดิ เหตุ

- พิจารณากําหนดกลยุทธความ - ส่ังการและควบคุมทีมบริหาร - ติดตามผลการดําเนินการของ

ตอ เน่อื งขององคกร ความตอเน่ือง เพ่ือใหสามารถ แตล ะทีมบรหิ ารความตอเนอ่ื ง

- ติดตามสถานการณที่เกิดขึ้น ตอบโตตอภาวะฉุกเฉินไดอยาง - สง่ั การยกเลกิ การปฏบิ ตั ิงานของ

และพิจารณาแผนการรองรับ ทันทีและสามารถดําเนินงานได ทีมบรหิ ารความตอ เน่ือง

สถานการณฉุกเฉิน และแผน อยางตอ เนอ่ื ง - พิจารณารายงานการดาํ เนินการ

ความตอ เนื่องขององคกร - ติดตามสถานการณเหตุการณ ตามแผนของแตล ะทมี

- สั่งการทีมบริหารความตอเน่ือง การดําเนินการของทีมบริหาร - รายงานผลการดําเนินงานตาม

รวมทัง้ กาํ กบั ดแู ล และควบคุม ความตอ เนื่อง ความตอเน่ือง ปญหาอุปสรรค

ใหเปนไปตามนโยบาย - สนับสนุนและใหคําปรึกษาเพ่ือ ขอเสนอแนะ ความเสียหายท่ี

แกไขสถานการณ เ กิ ด ข้ึ น ใ ห ผู บั ญ ช า ก า ร ณ

- รายงานสถานการณ ปญหาและ เหตกุ ารณท ราบ

อุ ป ส ร ร ค ต อ ผู บั ญ ช า ก า ร

เหตุการณ

-9-

 ทมี สือ่ สาร มบี ทบาท หนาที่และความรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี

กอนเกดิ เหตุ ขณะเกดิ เหตุ หลงั เกดิ เหตุ

- กําหนดกลยุทธการส่ือสารใน - ส นั บ ส นุ น แ ล ะ ใ ห ข อ มู ล - รวบรวมผลการปฏิบัติงานตาม

สภาวะวกิ ฤต ฉกุ เฉนิ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ แ ก แผนของแตล ะงาน และรายงาน

- ส นั บ ส นุ น แ ล ะ ใ ห ข อ มู ล ผูบัญชาการเหตุการณในการ ตอ ผูอาํ นายการเหตุการณ

ป ร ะ ก อ บ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ แ ก ออกคําส่ัง หรือมาตรการตางๆ - ส นั บ ส นุ น แ ล ะ ใ ห ข อ มู ล

ผูบัญชาการเหตุการณในการ ใหเปนไปตามแผน BCP ป ร ะ ก อ บ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ แ ก

ประกาศแผน BCP - วิ เ ค ร า ะ ห แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผูบัญชาการเหตุการณในการ

- จัดทําสื่อประชาสัมพันธเพื่อ สถานการณการเปล่ียนแปลง ยกเลิกแผน BCP

สรางความตระหนักและเปน ร ะ ดั บ ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ ง - ประชาสัมพันธใหเจาหนาท่ี

ความรแู กบ คุ ลากร สถานการณอยา งตอ เน่ือง สามารถกลับมาปฏิบัติงานได

- สนบั สนนุ และ/หรือประสานงาน ปกติ

ขอความชวยเหลือกับหนวยงาน - ประชาสัมพันธขอมูลท่ีจําเปน

ภายในและภายนอกท่เี กี่ยวของ ตอการปฏิบัติงานตอไดอยาง

- ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ ข า ว ส า ร ท่ี ปลอดภัยและตอ เน่ือง

เกย่ี วขอ งแกบุคลากรทราบ - ทําขาวประชาสัมพันธช้ีแจง

- ทําขาวประชาสัมพันธช้ีแจง ขอเท็จจรงิ ตอ สาธารณะ

ขอ เทจ็ จริงตอ สาธารณะ - รายงานผลการดําเนินงานตาม

- รวบรวมแผนงานและเปาหมาย แผนคว ามตอเน่ื อง ปญ หา

ของแตละหนวยงาน รายงานตอ อุปสรรค ขอเสนอแนะ ความ

ผูอํานวยการเหตุการณ เพ่ือใช เ สี ย ห า ย ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ใ ห

ในการติดตามผลการปฏิบัติงาน ผูอํานวยการเหตุการณของ

ระหวา งใชแผน BCP สถาบนั ทราบ

- รายงานผลการดําเนินงานดาน

ก า ร สื่ อ ส า ร ข า ว ส า ร ต อ

ผู อํ า น ว ย ก า ร เ ห ตุ ก า ร ณ เ ป น

ระยะ

- 10 -

 ทมี คดั กรอง มีบทบาท หนา ท่แี ละความรบั ผิดชอบ ดังนี้

กอ นเกดิ เหตุ ขณะเกดิ เหตุ หลงั เกดิ เหตุ

- ติดตามขาวสารสถานการณการ - เพิม่ มาตรการคัดกรอง 100% - พิจารณาลดมาตรการการคัด

เกิดโรคระบาด หรือโรคติดตอ - เพ่ิมความถ่ีในการทําความ กรองและการทําความสะอาด

อุ บัติ ใหมแ ละแ นวทา งก าร สะอาดพื้นท่ี และพิจารณาการ พ้ืนทีต่ ามลาํ ดับ

ปองกันเพ่ือประเมินสถานการณ ทํ า ค ว า ม ส ะ อ า ด ใ ห ญ ต า ม - เตรียมความพรอมของพ้ืนท่ี

ลักษณะขอบเขตและแนวโนม สถานการณ กอนการเปดสถานท่ีปฏิบัติงาน

- แ จงหนวย ง า นภ าย ใ นแ ล ะ - วิ เ ค ร า ะ ห แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ให บุค ล า ก รเขา ป ฏิ บัติง า น

ภ า ย น อ ก ท่ี เ กี่ ย ว ข อ ง เ พ่ื อ สถานการณการเปลี่ยนแปลง ตามปกติ

ทบทวนแผนรองรับสภา วะ ร ะ ดั บ ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ ง - สรุปผลการดําเนินการระหวาง

วกิ ฤตหรอื เหตุฉุกเฉนิ สถานการณของอุบัติการณ การปฏิบัติตามแผน BCP เสนอ

- เสนอการจัดซื้ออุปกรณปองกัน อยา งตอเนอ่ื ง ตอคณะบริหารความตอเนื่อง

และอุปกรณที่ใชใ นการคัดกรอง - แจกจายและจัดสง อุป กรณ ทางธุรกิจของสถาบันวิจัยดารา

เชน เครื่องวัดไข หนากาก คัดกรองและอุปกรณปองกัน ศา สตรแ หงชา ติ (อ งคก า ร

อนามัย เจลแอลกอฮอรลางมือ อันตรายใหแกเจาหนาที่ท้ัง มหาชน)

เปน ตน ภายในสถาบันและภูมภิ าค

- จัดทําแผนการคัดกรองบุคคล - ติดตามสถานะการดําเนินการ

เขา-ออก สถาบันและเสนอตอ ตามแผน BCP และรายงานผล

ผูอํานวยการเหตุการณและ ดําเนินงานตอผูอํานวยการ

ดําเนินการจัดทําแผนการทํา เหตุการณเปน ระยะๆ

ความสะอาด รักษาความสะอาด - ประสานงานกับ หน วย งา น

พื้น ที่ ส ถา บัน แ ล ะ เส น อ ต อ ภ า ย ใ น ท่ี เ กี่ ย ว ข อ ง เ พื่ อ

ผูอํานวยการเหตุการณและ ดําเนนิ การทําความสะอาด และ

ดาํ เนนิ การ ฆาเชื้อโรคในพ้ืนที่ปฏิบัติงานที่

พบผูตดิ เช้ือและบรเิ วณใกลเคยี ง

- บันทึกขอมูลสําคัญเกี่ยวกับ

สภาวะวิกฤต หรือเหตุฉุกเฉิน

การดําเนินการและการตัดสินใจ

ทด่ี าํ เนนิ การไปแลว เพอื่ นาํ ไปใช

วิ เค ร า ะ ห ส า เ ห ตุ แ ล ะ แ น ว

ทางการแกไขและปรับปรุงใน

อนาคต โดยบันทึก ขอ มูลที่

สําคัญลงในตารางการบันทึก

เหตุการณ (Event Log) และ

ร า ย ง า น ต อ ผู อํ า น ว ย ก า ร

เหตุการณ

- 11 -

 ทีมเทคโนโลยีสารสนเทศ มบี ทบาท หนา ที่และความรบั ผิดชอบ ดงั นี้

กอ นเกดิ เหตุ ขณะเกิดเหตุ หลงั เกดิ เหตุ

- จัดทําแผนและความถ่ีของการ - จัดรายชื่อทีมสนับสนุนในแตละ - สรุปผลการดําเนินการระหวาง

สํารองขอมูล และทดสอบการ ดาน / แตละวัน รายงานตอ การปฏิบัติตามแผน BCP เสนอ

นาํ กลับมาใชอ ยา งสมํา่ เสมอ ผูอํานวยการเหตุการณ และทีม ตอผอู าํ นวยการเหตกุ ารณ

- จัดทําแผนการสนบั สนนุ อุปกรณ ส่ือสารเพ่ือใหบุคลากรสามารถ

ทาง IT และระบบปฏิบัติการแก ตดิ ตอไดอยางทนั ที

บุคลากรกรณีท่ีตองปฏิบัติงาน - สํารองขอมูลใหครบถวนและ

นอกสถาบนั ฯ เปน ปจจบุ ัน

- จัดทําคูมือการใชงานระบบสาร - เสนอคูมือแกผูอํานวยการและ

บรรณอิเล็กทรอนิกส / ระบบ ทีมส่ือสารเพื่อใหบุคลากรใชใน

การประชุมทางไกล และระบบ การปฏบิ ตั ิงาน

อ่ืนๆที่สามารถทําใหเจาหนาท่ี - สนับสนุนอปุ กรณI T ทจ่ี ําเปนแก

สามารถปฏิบัติงานไดอยาง บคุ ลากร

ตอ เน่ืองทุกสถานที่

- จัดใหมีการทดลองใชงานและ

ปรบั ปรุงอยเู สมอ

- 12 -

3.3 กลยุทธก ารบริหารความตอ เนื่องขององคก ร (Business Continuity Strategy)

กลยทุ ธก ารบริหารความตอเน่ืองขององคกร เปนแนวทางในการจัดหาและบริหารจัดการทรัพยากรให
มคี วามพรอ มเม่อื เกดิ สภาวะวิกฤต หรอื เหตุฉุกเฉิน ทง้ั 4 ดา น ดงั นี้

1. ดานอาคาร/สถานทีป่ ฏบิ ัตงิ านหลกั กาํ หนดพ้ืนท่ีปฏบิ ัตงิ านสาํ รอง หรือ Digital Workplace หรือ
Work From Home โดยกาํ หนดดา นสถานท่ีปฏิบตั ิงานหลัก และสํารองดังนี้

แนวทาง พื้นที่ปฏิบัติงานที่กําหนด

สถานการณที่ 1 : ชื่อเรียกสถานการณ NARIT-EMP1 เมื่อพบผูปวยท่เี ขาเกณฑ หลัก – สดร. (รอยละ 70)

สอบสวนโรค (Patients under investigation : PUI) จาํ นวน 1 คน รอง – บา น (รอยละ 30)

สถานการณท่ี 2 : ชอ่ื เรยี กสถานการณ NARIT-EMP2 เมื่อพบผูปวยท่เี ขาเกณฑ หลกั – สดร. (รอยละ 50)

สอบสวนโรค (Patients under investigation : PUI) จํานวน 5 คน ข้ึนไป ใน รอง – บา น (รอยละ 50)

ระยะเวลาเดียวกัน

สถานการณท่ี 3 : ชื่อเรียกสถานการณ NARIT-EMP3 กรณีมีการระบาดซ้ํา หลกั – บา น (รอยละ 99)

ภายใน 28 วัน หลังจากมีมาตรการกักกันโรค 14 วนั แลว รอง – สดร. (รอ ยละ 1)

2. ดานบคุ ลากรหลัก กําหนดบุคลากรสํารอง เพื่อปฏิบัติหนาทแ่ี ทนกนั ในหนวยงาน หากไมเพียงพอ
ใหขอรับการสนับสนุนจากหนวยงานภายในอื่น โดยมีแนวทางกําหนดอัตราสวนความตองการบุคลากรหลัก
สาํ หรบั ความตอเนื่องเพอ่ื ปฏบิ ตั งิ าน รายละเอยี ดดงั นี้

แนวทาง อัตราบุคลากรหลัก
รอยละ 70
สถานการณท่ี 1 : ชื่อเรยี กสถานการณ NARIT-EMP1 เม่ือพบผปู วยท่ีเขา เกณฑ รอยละ 50
สอบสวนโรค (Patients under investigation : PUI) จาํ นวน 1 คน
รอยละ 1
สถานการณที่ 2 : ชื่อเรียกสถานการณ NARIT-EMP2 เม่ือพบผปู วยท่ีเขา เกณฑ
สอบสวนโรค (Patients under investigation : PUI) จํานวน 5 คน ข้ึนไป ใน
ระยะเวลาเดียวกัน

สถานการณท่ี 3 : ชื่อเรียกสถานการณ NARIT-EMP3 กรณีมีการระบาดซ้ํา
ภายใน 28 วนั หลังจากมมี าตรการกกั กันโรค 14 วนั แลว

3. ดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ

 กาํ หนดใหแตละหนว ยงานมีบุคลากรหลักที่มีความรูความเขาใจในระบบการสํารองขอมูล และ
ใหมีกําหนดการสํารองชอมูล (Back-up) ใหเปน ปจจุบันสม่ําเสมอ เพ่ือใหสามารถนําขอมูลมาใชงานไดอยาง
ตอ เนอ่ื ง

 จัดหาอุปกรณสํารองขอมูลขนาดพกพา ใหแกหนวยงานตามสัดสวนบุคลากรที่จําเปนตอง
ปฏบิ ตั งิ านนอกสถานที่ หรือปฏบิ ัติงานที่บา น

 เช่ือมตอ ระบบเพ่อื ใชง านขอมูลภายในของสถาบนั ไดจากระบบ VPN ไปยังแมขา ย

 ตดิ ตั้งโปรแกรมท่ีจาํ เปนในการปฏิบตั ิงานผานระบบออนไลน เชน Zoom VPN เปน ตน

- 13 -

4. ดา นภาพลกั ษณ และความเชอ่ื มั่น

 กําหนดชองทางการเผยแพรขาวสารตอสาธารณะอยางทั่วถึงโดยเนนการกระจายขาวสารท่ี
รวดเรว็ และถกู ตอ ง โดยจัดโครงสรางขาวสารท่ีไมซบั ซอน เพ่อื นําเสนอใหป ระชาชนเขาใจไดงา ย

 จัดใหมศี นู ยกลางการแถลงขาวเม่ือเกิดเหตุวิกฤต หรือเหตฉุ ุกเฉินที่กระทบตอภาพลักษณ หรือ
ความเชื่อมน่ั ตอ สถาบนั

3.4 การประเมนิ ผลกระทบตอการดําเนินงาน (Business Impact Analysis)

การวิเคราะหกิจกรรมหลัก และระยะเวลาเปาหมายในการคืนสภาพ พบวา กระบวนการทํางานท่ีตองให
ความสาํ คญั และกลบั มาดาํ เนนิ งานหรือฟน คนื สภาพใหไดภายในระยะเวลาที่กาํ หนด ปรากฎตามตารางดงั น้ี

กระบวนการหลกั ความ ระยะเวลาเปาหมายการคืนสภาพ
งานวิจยั ทางดาราศาสตร เรงดวน คร่ึงวัน 1 วัน 7 วัน 15 วัน 30 วัน

ต่าํ  

งานพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรม ต่ํา 

งานบริการวชิ าการ ตา่ํ 

งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ สงู  

งานสารบรรณ สงู  

งานการประชุม สงู  

งานการเงินและบญั ชี สงู  

งานบริหารงานบคุ คล ตาํ่ 

งานนโยบายและแผน ต่ํา 
งานงบประมาณ ต่ํา 

งานกฎหมาย ต่ํา  

งานประชาสัมพันธ ตาํ่ 

งานวเิ ทศสัมพันธ ตํ่า  

งานหารายได ต่ํา  

- 14 -

3.5 การกําหนดมาตรการบริหารความตอเน่ืองตามลําดับเหตุการณเมอ่ื เกดิ สภาวะวกิ ฤต หรือเหตฉุ ุกเฉนิ

การดาํ เนนิ การ มาตรการบรหิ ารความตอเนื่อง
1. การดําเนินการกอนเกดิ เหตุ
ดานบุคลากร
1. ผอู ํานวยการเหตกุ ารณ เตรียมการชแ้ี จงความเขา ใจ ฝก ซอม
ตามแผนกับบุคลากรของสถาบนั ทุกคน
2. ผบู ังคบั บัญชาทกุ สวนงาน
- จัดทาํ แผนการปฏบิ ตั งิ านนอกสถานทีต่ ้งั /Work From Home
- รว มสาํ รวจผมู ีประวัติกลมุ เส่ียงตามแนวทางการเฝาระวังและ
สอบสวนโรคระบาด ของกรมควบคมุ โรค ตลอดจนเกบ็ สถติ ิ
3. ทมี คดั ครอง
- Update ขอ มูลบุคลากรในระบบ MIS
- จัดทาํ หมายเลขโทรศัพทกรณีฉุกเฉินตา ง ๆ
- จัดหาวัสดุ อปุ กรณ หรือวัสดุส้นิ เปลอื งปอ งกันโรค
- กาํ หนดแนวทาง Social distancing
4. ทมี สอื่ สาร
- จดั ทําส่ือประชาสมั พันธ สรางความรบั รู สรา งความเขาใจ

ดานสถานที่
1. ผบู ญั ชาการเหตุการณ ทมี คดั กรอง
- ออกประกาศแนวทาง มาตรการ การเตรียมความพรอมที่
เก่ยี วของกบั สถานที่
2. จัดเตรียมหาแหลงการจัดซ้ืออุปกรณ วัสดุ วัสดุสิ้นเปลืองเพื่อใช
ปองกันโรค เพ่ือปองกันการขาดแคลนในสภาวะวิกฤตหรือ
ฉกุ เฉนิ

ดา นเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ผบู ญั ชาการสถานการณ
- กําหนดชอ งทาง หรือการอนมุ ตั ิ พิจารณาผานการยนื ยันตวั
บคุ คลออนไลน
2. ทีมเทคโนโลยสี ารสนเทศ
- จัดทําแผนการปฏิบัติงาน ดานเคร่ืองมือ อุปกรณ
ร ะ บ บ ก า ร ส่ื อ ส า ร ช อ ง ท า ง ก า ร ติ ด ต อ ส า ธ า ร ณ ะ
กรณีฉุกเฉิน เตรียมการประชุมทางไกล และสํารอง
วิ ธี ก า ร ใ ช ไ ว ก ร ณี ร ะ บ บ ก า ร ส่ื อ ส า ร ป ก ติ ไ ม ส า ม า ร ถ
ใชง านได เพอ่ื ใหส ามารถดูวธิ ีการเขาใชง านได
- ใหคําแนะนาํ ในการเตรียมการจดั เก็บขอมลู หรือสาํ รอง
ขอมลู หากตอ งปฏบิ ัตงิ านท่บี า น
- เตรียมชอ งทางการเขา ถึงระบบปด ท่ีใชเฉพาะหนวยงาน

- 15 -

การดาํ เนนิ การ มาตรการบรหิ ารความตอเน่ือง
1. การดําเนินการกอนเกิดเหตุ
ดา นภาพลักษณ และความเชอ่ื ม่นั
2. การดําเนินการระหวางเกิดเหตุ 1. ติดตามสถานการณภายในประเทศและภายนอกประเทศ
ตลอดจนขอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศตาง ๆ
จากทางราชการ
2. ผอู าํ นวยการเหตกุ ารณ ทีมสื่อสาร ทมี คดั กรอง
- กํ า ห น ด โ ค รง ส ร า ง แ ล ะ ช อ ง ท า ง ก า รติ ด ต อ ส่ื อ ส า ร
การกํากับดแู ล และการรายงานเหตุการณ

ดา นบุคลากร
สถานการณท่ี 1 : ช่ือเรียกสถานการณ NARIT-EMP1 เม่ือพบ
PUI จํานวน 1 คน : ผูบัญชาการเหตุการณ ประกาศหยุด
ปฏิบัติงานในสวนงานเฉพาะผูสัมผัสเส่ียงสูง เปนเวลาอยางนอย
48 ช่ัวโมง ระหวางรอผลการตรวจพิสูจนโรคดําเนินการปดบริเวณ
เฉพาะสวนท่ีพบและที่เก่ียวของพรอมทั้งดําเนินการฆาเช้ือทันที
และสวนผสู ัมผัสเส่ียงตํา่ ใหปฏิบัติตามเกณฑการควบคุมตนเองของ
กรมควบคุมโรค และแจงตอหนวยงานท่ีเก่ียวของ เพื่อดําเนินการ
สอบสวนโรคภายในเวลาที่กําหนดของกรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณะสุข
สถานการณท่ี 2 : ช่ือเรียกสถานการณ NARIT-EMP2 เม่ือพบ
PUI จํานวน 5 คนขึ้นไป ในระยะเวลาชวงเดียวกัน : ผูบัญชาการ
เหตุการณ ประกาศหยุดปฏิบัติงานในทุกสวนงาน เปนเวลาอยาง
นอย 48 ช่ัวโมง โดยกําหนดใหมีบุคลากรปฏิบัติงานท่ีจําเปนนอย
ที่สุด หรือปฏิบัติงาน ณ สถานท่ีที่กําหนด ระหวางรอผลการตรวจ
พิสูจนโรค ดําเนินการปดสํานักงานในพื้นท่ีท่ีพบทั้งหมด พรอมทั้ง
ดําเนินการฆาเชื้อทนั ที และสวนผูสัมผสั เส่ียงตํ่าปฏิบตั ิตาม NARIT-
EMP1
สถานการณท่ี 3 : ชอื่ เรียกสถานการณ NARIT-EMP3 กรณีมีการ
ระบาดซ้ําหรือระบาดตอเนื่องภายใน 28วัน หลังจากมีมาตรการ
กักกันโรค 14 วันแลว : ผูบัญชาการเหตุการณประกาศหยุด
ปฏบิ ัตงิ านในทุกสวน เปน เวลาอยางนอย 48 ชวั่ โมง โดยกาํ หนดให
มีบุคลากรปฏิบตั ิงานทจี่ ําเปนนอยท่ีสุด หรอื ปฏิบัติงาน ณ สถานท่ีที่
กําหนด ระหวางรอผลการตรวจพิสูจนโรค ดําเนินการปดสํานักงาน
เพื่อดําเนินการฆาเชื้อทันที สว นผูสัมผัสเส่ียงต่ําปฏิบัติตาม NARIT-
EMP1

- 16 -

การดําเนนิ การ มาตรการบริหารความตอเน่ือง
2. การดําเนินการระหวางเกิดเหตุ ผบู ัญชาการเหตุการณ พจิ ารณาประกาศเพ่อื แจงใหป ฏบิ ตั ิงานตาม
ประกาศของสถาบัน เร่ือง มาตรการและการเฝาระวังโรคระบาด :
การปฏบิ ัตงิ านท่ีบาน (Work from Home)

ดานสถานท่ี
1. ผูบังคับบัญชาทุกสวนงาน จัดสัดสวนบุคลากรหลักตาม
สถานการณความรนุ แรง ตามแนวทาง Work From Home
2. ทมี คดั กรอง
- ดําเนนิ การตามแนวทาง Social distancing ใหค รอบคลุมใน
เชงิ ปองกันตนเอง และเชิงใหค วามรวมมอื กบั สังคม
- แจกจายอุปกรณ วัสดุ วัสดุส้ินเปลือง ในการปองกันโรค
ระบาดแกบ คุ ลากร

ดา นเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทมี เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประกาศแนวทางการสํารองขอมูล และจัดเตรียมอุปกรณ
สํ า ร อ ง ข อ มู ล แ บ บ พ ก พ า เ ช น External Hard disk
USB flash drive ใหบุคลากรท่ีมีปญหาเกี่ยวกับการเขาถึง
แมขาย หรือปญหาดานอินเตอรเนต ใหสามาถทําการสํารอง
ขอมลู ไปปฏิบตั งิ านท่บี านได
- กําหนดชองทางระบบสารสนเทศที่กําหนดเพ่ือสนับสนุนการ
ทํางาน เชน ระบบ MIS E-meeting ระบบสารบรรณ
ออนไลน ระบบ Video Conference เปนตน

ดานภาพลกั ษณ และความเชอื่ ม่ัน
ทีมสื่อสาร
- รายงานสถานการณภายในประเทศและภายนอกประเทศ
ตลอดจนขอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศตาง ๆ
จากทางราชการ ใหก บั บคุ ลากรของทางสถาบนั ทราบเปน ระยะ
- จัดทําประกาศ หรือการแถลงขาวเกี่ยวกับผลการสอบสวนโรค
เพอื่ ช้แี จงขอเท็จจรงิ ตอสาธารณะ และทาํ ขา วประชาสัมพันธแจง
ผลการตรวจ การสอบสวนโรคเพื่อชแี้ จงขอ เทจ็ จริงตอ สาธารณะ

- 17 -

การดําเนนิ การ มาตรการบรหิ ารความตอเน่ือง
3. การดําเนินการหลงั เกดิ เหตุ ดานบคุ ลากร

1. ผูบัญชาการเหตุการณ แจง วัน การกลับเขามาปฏิบัติหนาท่ี
ณ สถานทปี่ ฏบิ ัติงานหลัก

2. ผูบัญชาการเหตุกรณ มอบหมายใหผูบังคับบัญชาทุกหนวยงาน
จัดทํารายงานจํานวนผูกลับเขามาปฏิบัติงานและจัดทําสรุปผล
การปฏิบัติงานตามหวงระยะเวลาท่ีกําหนด โดยรายงานผล
ตามลาํ ดบั ข้นั ตามสายการบงั คับบญั ชา

ดา นสถานท่ี
1. ทีมคัดกรอง ดําเนินการทําความสะอาดใหญ หรือฆาเช้ือภายใน
สํานกั งานและพนื้ ทข่ี องสถาบนั
2. สรุปขอมูลรายการคาใชจายในการจัดหาอุปกรณ วัสดุ วัสดุ
สิ้นเปลือง หรือคาใชจายสวนอ่ืน ๆ ในระหวางการดําเนิน
มาตรการความตอเน่ือง เพื่อใชเปนฐานขอมูลในการประมาณ
การงบประมาณสํารองเมื่อเกิดเหตุวิกฤตหรือฉุกเฉิน และ
รายงานตามลําดบั ขนั้ ตามสายการบังคบั บัญชา

ดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ทมี เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ใหคําปรึกษา สนับสนุน ตรวจสอบ การโอนถายขอมูลจาก
แหลงสํารองขอมูลภายนอก เขาสูแมขาย โดยสแกนขอมูลให
ป ร า ศ จ า ก ไ ว รั ส ท่ี อ า จ ทํ า ใ ห เ กิ ด ค ว า ม เ สี ย ห า ข อ ง ฐ า น
ขอ มลู หลัก
- ประเมินชองทางระบบสารสนเทศท่ีคงไว หรอื ยกเลิกหลังเกิด
เหตุวกิ ฤตหรือฉุกเฉิน เพอ่ื กาํ หนดแนวทางการปฏิบัติงานผา น
ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศตอไป
- รายงานผลการดําเนินการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ปญหา
อุปสรรค หรือขอเสนอแนะ ตามลําดับขั้น ตามสายการ
บงั คบั บัญชา

ดา นภาพลักษณ และความเชอ่ื มัน่
ทีมส่อื สาร
- จัดทําขาวสารหรือการแถลงขาวความพรอมในการบริหารงาน
การดําเนนิ งาน และการใหบริการของสถาบนั สปู ระชาชน
- รวบรวมขอมูล ถอดบทเรียน สรุปปญหา อุปสรรคในการปฏิบัติ
ตามแผนบริหารความตอเน่ือง เพอ่ื นาํ มาปรับปรุงและประยุกตใช
ในกรณมี เี หตกุ ารณในลักษณะคลา ยกันตอไป

- 18 -

3.6 ระบบสนบั สนุนที่จําเปนตอ การฟนฟูกจิ กรรมหลกั

เพอื่ ใหกจิ กรรมหลักของการดําเนินงานของสถาบนั วิจัยดาราศาสตรแหง ชาติ (องคการมหาชน) ดําเนนิ
ใหบ ริการไดอ ยา งตอเน่ือง ไมหยดุ ชะงกั จงึ กําหนดเทคโนโลยที น่ี ํามาใชสนับสนนุ กิจกรรมหลัก ดังน้ี

ลําดับ บริการ บริการอ่ืนท่สี นบั สนุนการใหบรกิ าร หนวยงานที่เกยี่ วขอ ง/

ผสู นับสนนุ

1 ระบบบริหารจัดการสถาบันฯ ระบบ mis.narit.or.th ศูนยเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

MIS

2 ระบบประชมุ ทางอิเลก็ ทรอนกิ ส ระบบ meeting.narit.or.th งานอาํ นวยการ

E-meeting

3 ระบบการประชุมทางไกล Video Conference ไดแก Zoom ศนู ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ

Microsoft Team Line เปนตน

3.7 กฎหมาย/ระเบยี บ/ประกาศที่เกย่ี วขอ ง

1. ประกาศคณะรกั ษาความสงบแหงชาติ ฉบบั ท่ี 74/2557 เรื่องการประชมุ ผานส่ืออเิ ล็กทรอนิกส
2. ประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เร่ือง มาตรฐานการรกั ษาความมั่นคง

ปลอดภยั ของการประชุมผา นสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส พ.ศ. 2557
3. พระราชกําหนด วาดวยการประชุมผา นส่อื อเิ ล็กทรอนิกส พ.ศ. 2563
4. ประกาศประกาศสถาบนั วิจยั ดาราศาสตรแ หงชาติ (องคก ารมหาชน) เรื่อง มาตรการและการเฝา ระวัง

การระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 (Coronavirus Disease 2019
(COVID-19))
ลงวนั ท่ี 13 มีนาคม 2563
5. ประกาศสถาบนั วิจัยดาราศาสตรแ หงชาติ (องคการมหาชน) เรื่อง มาตรการและการเฝา ระวงั การ
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-
19)) (ฉบับที่ 3) : การปฏบิ ัตงิ านท่บี า น (Work from Home)
6. ประกาศสถาบนั วิจัยดาราศาสตรแ หง ชาติ (องคก ารมหาชน) เรือ่ ง มาตรการและการเฝา ระวังการ
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) หรือโรคโควดิ -19 (Coronavirus Disease
2019 (COVID-19)) (ฉบับที่ 4)
7. ประกาศสถาบนั วิจัยดาราศาสตรแ หง ชาติ (องคการมหาชน) เรอื่ ง มาตรการและการเฝา ระวงั การ
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรอื โรคโควดิ -19 (Coronavirus Disease
2019 (COVID-19)) (ฉบับที่ 5)

- 19 -


Click to View FlipBook Version