The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเองประจำปีของสถานศึกษา (Self-Assessment Report:SAR)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bumnaikajok, 2022-05-14 11:14:10

รายงานผลการประเมินตนเองประจำปีของสถานศึกษา (Self-Assessment Report:SAR)

รายงานผลการประเมินตนเองประจำปีของสถานศึกษา (Self-Assessment Report:SAR)

Keywords: SAR

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนวดั ทอ้ งคงุ้ “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบรุ ี เขต 1



คำนำ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา
2564 โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” ได้จัดทำขึ้น ตามกฎกระทรวง ว่าด้วยการประกันคุณภาพ
การศกึ ษา พ.ศ.2561 ขอ้ 3 ท่ีระบุใหส้ ถานศกึ ษาแต่ละแห่งจัดใหม้ ีระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ
และประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนดให้สถานศึกษาใช้เทียบเคียงใน
การจัดการศึกษา พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาและดำเนินการตามแผนท่ีกำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่ง
รายงานผลการประเมินตนเองประจำปีให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็น
ประจำทกุ ปี

เอกสารรายงานผลการประเมินตนเองประจำปีของสถานศกึ ษาฉบับน้ี ประกอบไปด้วยส่วนสำคญั คือ
บทสรุปของผู้บริหารสถานศึกษา ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สว่ นท่ี 3 สรปุ ผลการประเมินและแนวทางการพัฒนา และส่วนท่ี 4 ภาคผนวก

โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” ขอขอบพระคุณคณะกรรมการดำเนินงานและผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ที่มีส่วนร่วมในการรายงานผล ประเมินผล กิจกรรมโครงการต่างๆ เพื่อจัดทำเป็นข้อมูล
สารสนเทศเพื่อการรายงานผล จนสามารถจัดทำเอกสารรายงานผลการประเมินตนเองประจำปีของ
สถานศึกษาสำเรจ็ ลุล่วงไปได้ดว้ ยดี และทางโรงเรยี นหวังเป็นอยา่ งยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเปน็ ประโยชน์ต่อการ
พฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตอ่ ไป

(นายสุทธโิ รจน์ บุญชู)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวดั ทอ้ งคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์”

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนวดั ท้องคงุ้ “ไพโรจน์ประชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1



สารบญั

เรอ่ื ง หนา้
คำนำ………………………………………………………………………………………………………………………………....…………..ก
สารบัญ....................................................................................................................... ......................................ข
บทสรุปของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา .....................................................................................................................1
ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ..................................................................................................................................6

๑.๑ ขอ้ มลู ท่ัวไป ……………………………………….........…………………………………………………….……….........…...6
๑.๒ ข้อมลู ครแู ละบุคลากร …………………………….........……………………………………………….…...………….……6
1.3 ข้อมูลนักเรียน .....................................................................................................................................8
1.4 ผลการประเมินพฒั นาการตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย ..................................................................9
1.5 ผลการประเมินระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน........................................................................................10
1.6 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผูเ้ รยี น (Reading Test: RT) ...................................18
1.7 ผลการทดสอบการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น (NT)...............................................................................22
1.8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O - NET)..........................................................24
1.9 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย...........................................27
1.10 สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน...................................28
สว่ นท่ี ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ........................................................................................30
ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาปฐมวัย ........................................................30
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ..................................................40
ส่วนที่ ๓ สรปุ ผลการประเมินและแนวทางการพฒั นา ...............................................................................53
ระดับการศึกษาปฐมวัย ............................................................................................................................53
ระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน........................................................................................................................55
ส่วนท่ี ๔ ภาคผนวก .....................................................................................................................................57
คณะผจู้ ัดทำ ...................................................................................................................................................80

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นวดั ท้องคุง้ “ไพโรจน์ประชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1



บทสรปุ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖4

โรงเรยี นวัดทอ้ งค้งุ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์”
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1
โรงเรียนวดั ทอ้ งคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” ทต่ี ั้ง เลขที่ 9/3 หม่ทู ี่ 2 ตำบลนาปา่ อำเภอเมืองชลบุรี
จังหวัดชลบุรี รหัสไปรษณยี ์ 20000 โทรศพั ท์ 038-119531 โทรสาร 038-119532

ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยี่ยม

โรงเรยี นวดั ท้องคงุ้ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” มีนกั เรยี นช้นั อนุบาลปีท่ี 1 - 3 รวม 257 คน ครูผู้สอน
11 คน ครผู ้ดู ูแลเด็ก 7 คน จัดทำรายงานการประเมนิ คณุ ภาพของตนเองในภาพรวม มีระดับคุณภาพ ยอด
เยีย่ ม มผี ลการดำเนนิ งานตามมาตรฐาน ดงั ต่อไปนี้

ด้านคุณภาพของเด็ก โรงเรียนมีผลการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ 1 มีค่าคะแนน
5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม เนื่องจากโรงเรียนมีการส่งเสริม สนับสนุนเพื่อให้นักเรียนมีพัฒนาการด้าน
ร่างกายแขง็ แรง มสี ุขนิสยั ทีด่ ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ นักเรยี นทุกคนมนี ้ำหนักสว่ นสูงตามเกณฑ์
โรงเรียนมีการดำเนินการโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นโครงการที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่า งกาย
สง่ ผลให้นักเรียน ร้อยละ 100 สุขภาพรา่ งกายแขง็ แรง มีสุขนสิ ยั ทด่ี ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้

คุณภาพเด็กด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์
ประชาสรรค์” ได้จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้สนุกสนาน มีความสุขในการเรียนรู้ จากโครงการส่งเสริม
ศักยภาพผู้เรียนระดับปฐมวัย ส่งผลให้นกั เรยี น ร้อยละ 100 มีพัฒนาการทางดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและ
แสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมตามวัย

คุณภาพเด็กด้านสังคม นักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” ช่วยเหลือ
ตนเองในการทำกิจวตั รประจำวนั มีวินยั ในตนเอง รูจ้ กั การประหยัดพอเพียง มีมารยาททางวัฒนธรรมไทย เช่น
การไหว้ การทักทาย จากโครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนระดับปฐมวัย และโครงการสง่ เสริมค่านิยมหลัก 12
ประการ ส่งผลให้นกั เรยี น รอ้ ยละ 100 มพี ัฒนาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
ไดอ้ ย่างเหมาะสม

คณุ ภาพเด็กด้านสตปิ ัญญา การส่อื สาร มที กั ษะการคดิ พ้นื ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ นกั เรยี นระดับ
ปฐมวยั โรงเรียนวัดทอ้ งคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” สนทนาโต้ตอบและเลา่ เร่ืองให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ตง้ั คำถามในสง่ิ ท่ี
ตนเองสนใจหรือสงสยั และพยายามค้นหาคำตอบ สามารถตัดสนิ ใจเรอ่ื งง่ายๆได้ จากโครงการสง่ เสริมศักยภาพ
ผู้เรียนระดับปฐมวัย โครงการแหล่งเรยี นรู้สู่โลกกวา้ ง ส่งผลให้นักเรยี นร้อยละ 99.27 มีพัฒนาการดา้ นสติปัญญา
การสื่อสาร มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้อยา่ งเหมาะสม

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรียนสามารถบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยบรรลุตาม
เป้าหมาย มีผลการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ 2 มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
หลักสูตรโรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” มีหลักสูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ท่ี
ก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อม เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง จากโครงการ
ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กิจกรรมบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
เรียนการสอน ส่งผลให้โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” มีหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยตาม
พุทธศักราช 2560 ด้านการจัดครูให้เพียงพอต่อชั้นเรยี นโรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” ได้มีการ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวดั ท้องคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบรุ ี เขต 1



จัดครทู เ่ี หมาะสมกบั การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ส่งเสรมิ ใหค้ รมู ีความเชี่ยวชาญด้านการจดั ประสบการณ์ได้
มกี ารพฒั นาคุณภาพครูให้มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการนักเรียนเปน็ รายบุคคล มี
ประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียนและ
ผู้ปกครอง จากโครงการพัฒนาบุคคลากร กิจกรรม PLC กิจกรรมการประชุมสัมมนา และกิจกรรมประชุม
เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ มีมมุ ประสบการณ์และส่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลายที่ได้
จากธรรมชาติหรือสื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขในการเรียนรู้ มีส่ื อ
เทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม โรงเรียนมีการกำหนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบ
คุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มีการ
นำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งรายงานผลการ
ประเมินตนเองใหห้ น่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง

ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โรงเรียนสามารถจัดการศึกษาปฐมวัยบรรลุตาม
เป้าหมาย มีผลการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ 3 มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
เนื่องจากโรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” มีจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน
อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ครอบคลุมพัฒนาการในทุก ๆ ด้านให้เหมาะสมกับวัย
ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย นักเรียนเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการ เพื่อให้
ร่างกายทุกส่วนทั้งกล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กได้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ด้านอารมณ์ จิตใจ นักเรียนมี
พัฒนาการด้านอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักการอดทนรอคอย กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปันมี
ความรบั ผดิ ชอบ ดา้ นสังคม นกั เรียนสามารถช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกจิ วัตรประจำวันได้ มีวินัยในตนเอง
เลน่ รว่ มกับผอู้ ่นื ได้ มีสมั มาคารวะต่อผู้ใหญ่ ดา้ นสติปัญญา มีความคิดรวบยอด รู้จักการแกป้ ัญหา สือ่ สารและมี
ทักษะความคิดพื้นฐานแสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวัย บรรยากาศในชั้นเรียนเต็มไปด้วยความอบอุ่น
ความเห็นอกเห็นใจ ความเอ้ือเฟอ้ื เผ่ือแผ่ซง่ึ กันและกัน ปลกู ฝงั คณุ ธรรมและจริยธรรม ให้แก่นักเรยี น

แผนงาน/ แนวทางการพัฒนาเพอื่ ให้ได้คุณภาพสูงขึ้น (ระดบั ปฐมวยั )
ส่งเสริมทักษะทางด้านภาษา และการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยโครงการบ้าน

วิทยาศาสตร์นอ้ ยอยา่ งต่อเนือ่ ง

ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยี่ยม

โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” มีนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปี

ที่ 3 จำนวน 1,429 คน ขา้ ราชการครู จำนวน 55 คน ครอู ัตราจา้ ง จำนวน 14 คน เจ้าหนา้ ทีธ่ รุ การ จำนวน

2 คน จดั ทำรายงานผลการประเมินตนเองในภาพรวมมีระดับคุณภาพระดับยอดเยีย่ ม มผี ลการดำเนนิ งานตาม

มาตรฐาน ดงั ต่อไปน้ี

ด้านคุณภาพผู้เรียน โรงเรยี นมีผลการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ 1 มีค่าคะแนน 5 อยู่

ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม โดยมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยูใ่ นระดับยอดเยี่ยม มีคะแนนเฉลี่ยผล

การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ตำ่ กว่าระดับสังกัดสพฐ. และ

ระดับประเทศ โดยมีคะแนนมากกว่า ร้อยละ 50 กลุ่มสาระภาษาไทย และมีคะแนนเฉลี่ยรายบุคคลของ

นักเรียนที่ได้คะแนนตง้ั แตร่ อ้ ยละ 50 ขึ้นไป ในวชิ าภาษาไทย คดิ เปน็ ค่าเฉลยี่ ร้อยละ 58.10 วชิ า

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนวัดทอ้ งคุง้ “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบรุ ี เขต 1



ภาษาอังกฤษ คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 19.05 วิชาคณิตศาสตร์ คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 6.67 และวิชา
วิทยาศาสตร์ คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 2.86 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ต่ำกว่าระดับสังกัด สพฐ. และระดับประเทศ โดยมีคะแนนมากกว่า ร้อยละ 50 กลุ่มสาระ
ภาษาไทย และมีคะแนนเฉล่ียรายบคุ คลของนักเรยี นท่ีได้คะแนนต้ังแต่ร้อยละ 50 ขน้ึ ไป ในวิชาภาษาไทย คิด
เป็นค่าเฉล่ียร้อยละ 46.41 วิชาภาษาองั กฤษ คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 0.65 วิชาคณิตศาสตร์ คิดเป็นค่าเฉลย่ี
ร้อยละ 0.65 และวิชาวิทยาศาสตร์คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 0.65 มีคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพ
ผเู้ รยี น (NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2564 มีระดับคุณภาพรวม 2 ด้านสูงกวา่ คะแนนเฉลี่ยระดับ
สพฐ. และระดับประเทศ ซึ่งในแต่ละด้านมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า ร้อยละ 60 ทุกด้าน และคะแนนเฉล่ีย
รายบุคคลของนักเรียน ที่ได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป ในทุกด้าน คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 83.03 ของ
นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากสถานศึกษามีการวเิ คราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ
ได้กำหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียนโดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนา
สูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ จัดแหล่งเรียนรู้ภายในให้เหมาะสม มีสื่อด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย จัด
กิจกรรมให้ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี มีความกล้าแสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี
ความสุข เน้นทักษะการทำงานร่วมกัน นักเรียนมีความสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ พิจารณาอย่าง
รอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และแกป้ ัญหาอยา่ งมีเหตุผล นกั เรยี นมคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
และมีคุณธรรมมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมในด้านความรู้ ความ
เข้าใจ ทักษะ กระบวนการตา่ ง ๆ รวมท้ังมคี วามกา้ วหนา้ ในผลการทดสอบระดบั ชาติ หรอื ผลการทดสอบอ่นื ๆ
มีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น การทำงานหรืองาน
อาชีพมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มีค่านิยมและจิตสำนึกตามที่สถานศึกษา
กำหนดโดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคมมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็น
ไทย มีส่วนร่วมในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมท้ังภูมิปัญญา ผู้เรียนยอมรับการอยู่ร่วมกันบนความ
แตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน เพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี มีการรักษาสุขภาพกาย
สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย มีความเข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้ง
สามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อ่ืนอยา่ งมคี วามสุข

ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรยี นสามารถบริหารจดั การศึกษาบรรลตุ ามเป้าหมาย มี
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ 2 มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม โดยโรงเรยี น
มีกระบวนการบริหารและการจัดการเพื่อให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพของ
สถานศึกษาในโรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” มีการดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัด
การศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ฐานข้อมูลในการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน ในดำเนินการ
พัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบดา้ น ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจรงิ
จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา ดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาชีพ
ความต้องการของครูและสถานศึกษา จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมที่เอ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้อย่าง
มีคุณภาพ และจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการเรียนรทู้ ี่เหมาะสม โดย
ประเมินภาพความสำเร็จดงั น้ี โรงเรยี นมีเป้าหมายวสิ ัยทัศน์และพันธกจิ ท่ีโรงเรียนกำหนดชัดเจน สอดคล้องกับ
บริบทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของ
รัฐบาลและของต้นสังกดั รวมทั้งทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคมมีระบบการบริหารจัดการคณุ ภาพอย่างเป็น
ระบบ วางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยนำแผนไปปฏิบัติ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564

โรงเรียนวดั ท้องค้งุ “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1



ปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเน่ือง มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน มีการนิเทศภายใน นำข้อมูลมาใชใ้ นการพัฒนาบุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝ่ายมีส่วนในการวางแผน
ปรับปรุง พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษามีการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ พัฒนา
หลักสูตร กิจกรรมส่งเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เชื่อมโยงวิถีชีวิตจริงและครอบคลุมทุก
กลุ่มเปา้ หมาย รวมถึงการจัดการเรยี นการสอนของนักเรียนเรียนรว่ มด้วย มกี ารสง่ เสริมสนบั สนุนพฒั นาครแู ละ
บุคลากรตรงตามความต้องการและจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้
ของผู้เรียน จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอ้ือ
ต่อการจัดการเรียนรู้ของผเู้ รียนอยา่ งมีคุณภาพ มคี วามปลอดภัย จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการ
บรหิ ารจัดการ และการจดั การเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพของโรงเรยี น จดั หาและพัฒนาบริการดา้ นเทคโนโลยี
สารสนเทศ จัดให้มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้อย่าง
เหมาะสม

ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนสามารถจัดการศึกษาบรรลุ
ตามเป้าหมาย มีผลการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ 3 มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอด
เยี่ยม โดยโรงเรียนมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการดำเนินงาน/โครงการ/
กิจกรรม อย่างหลากหลาย มุ่งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learning) ให้ผู้เรียน
ผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง ตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีสว่ นร่วม ครู
รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบและประเมินนักเรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนา
นักเรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำผลที่ได้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูร่วมแลกเปลี่ยน
เรียนรู้และนำข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน สร้างสื่อนวัตกรรม แผนการ
จัดการเรียนรู้ อีกทั้งปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละ
หนว่ ย กำหนดคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ท่สี อดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนนุ ให้ครจู ดั การเรียนการสอน
ที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนได้มีส่วนรว่ ม ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ที่ได้ด้วยตนเอง ครูใช้สื่อการเรียน
การสอนและนวัตกรรมทางเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมิน
คุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่ใช้ ครูทุกคนทำงานวิจัยในชั้นเรียนปีการศึกษาละ 1 เรื่อง ครูจัด
กิจกรรมสำหรับนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ ได้แสดงความคิดเห็น ได้
แสดงออก เป็นผู้สามารถสรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ครูมีการ
บริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างนักเรียนกับครู นักเรียนกับนักเรียน นักเรียนรัก
การเรียนรู้ และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ครูร่วมกันออกแบบการวัดผลประเมินผลเพื่อตรวจสอบ
และประเมินนักเรียนอย่างมีขั้นตอน ใช้เครื่องมือ วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม พร้อมทั้งนำผลไปใช้
พฒั นาการเรียนรู้ของนักเรียน ครูผู้สอนร่วมกันแลกเปล่ยี นความรู้และประสบการณ์ (PLC) เป็นชุมชนแห่งการ
เรียนรทู้ างวิชาชพี แลว้ นำไปปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนรู้

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นวดั ท้องค้งุ “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1



แผนงาน / แนวทางการพัฒนาเพ่ือใหไ้ ด้คณุ ภาพสูงขน้ึ (ระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน)
ระบบบริหารโรงเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน

(Educational Administration System base on Technology : EAST)

ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
1. พฒั นาผลการทดสอบระดับชาติ (RT NT และ O – NET) ในทุกระดับชน้ั ใหส้ ูงขึน้
2. ครูนำกระบวนการ PLC มาใช้ในการพัฒนางานด้านการจัดการเรียนการสอน วิจัยในชั้นเรียนเพอ่ื
ปรับปรงุ และแก้ปญั หาการจดั การเรียนการสอนอย่างต่อเนือ่ งทุกรายวชิ า
3. การยกระดับผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ประสบผลสำเร็จในระดับหนึง่ นักเรียนบางส่วน
ยงั ตอ้ งไดร้ บั การพัฒนาตอ่ ไป
4. จัดให้มีอาคารและห้องปฏบิ ัติการทเี่ พยี งพอและเหมาะสมต่อการจดั การเรียนรู้
5. ครูนำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และการให้ข้อมูล
ยอ้ นกลับแกน่ กั เรยี นทนั ทเี พือ่ นักเรยี นนำไปใชพ้ ัฒนาตนเอง

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวัดท้องคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1



ส่วนท่ี 1
ขอ้ มูลพ้นื ฐาน

1.1ข้อมลู ท่ัวไป
ช่ือโรงเรยี น โรงเรยี นวัดทอ้ งคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค”์
ทอ่ี ยู่ เลขท่ี 9/3 หมทู่ ่ี 2 ตำบลนาป่า อำเภอเมืองชลบรุ ี จังหวดั ชลบุรี
รหัสไปรษณีย์ 20000
สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1
โทรศพั ท์ 038-119531 โทรสาร 038-119532
Facebook page https://th-th.facebook.com/watthongkung/
เวบ็ ไซต์โรงเรียน http://www.wtk.ac.th/
เปิดสอนระดบั ช้นั ชั้นอนบุ าลปที ี่ 1 ถงึ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
วิสัยทัศน์ โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” จัดการศึกษาสู่มาตรฐานทางวิชาการ คิดค้น

ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ส่งเสริมการเรียนรู้พหุภาษา พัฒนาเทคโนโลยี สร้างผู้เรียนบนพื้นฐาน
วฒั นธรรมไทย และดำรงชีวิตได้อยา่ งมคี วามสขุ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เปา้ ประสงค์
1. นักเรยี นมีสขุ ภาวะที่ดแี ละมสี ุนทรียภาพ
2. นักเรยี นมีค่านิยมทีพ่ งึ ประสงคแ์ ละดำเนินชีวิตบนพ้นื ฐานของความพอเพยี ง มีความภมู ใิ จใน

ท้องถ่ิน เหน็ คณุ ค่าของความเป็นไทย มีส่วนรว่ มในการอนุรักษ์วฒั นธรรมประเพณีไทยรวมท้ังภมู ปิ ัญญาไทย
3. นกั เรยี นมคี วามเป็นเลิศทางวิชาการ ทงั้ การยกระดับผลสัมฤทธ์ิการทดสอบระดับชาติให้

สงู ข้ึนอยา่ งต่อเนื่อง และการแขง่ ขนั ทักษะทางดา้ นวชิ าการ
4. ครเู ปน็ ผู้มีความรู้ความสามารถในการจดั การเรียนการสอน ได้รับการพฒั นาให้มีความ

เช่ยี วชาญ และมคี วามเป็นครูมอื อาชีพ
5. สถานศกึ ษามีอาคารและห้องปฏิบัตกิ ารที่เพยี งพอ เหมาะสมต่อการจัดการเรยี นรู้ และเป็น

สงั คมแห่งการเรียนรขู้ องชมุ ชน

1.2 ขอ้ มูลครแู ละบุคลากร
1) จำนวนบคุ ลากร

จำนวน ผู้บรหิ าร ขา้ ราชการ พนกั งาน ครอู ตั รา เจ้าหน้าที่ พนกั งาน รวม
ราชการ จ้าง อื่นๆ บริการ ทงั้ หมด
บุคลากร ครู
- 21 38 102
จำนวน 4 66

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนวดั ทอ้ งคงุ้ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบรุ ี เขต 1



2) วุฒกิ ารศึกษาสูงสุดของบคุ ลากร

ปรญิ ญา ปริญญาโท ปรญิ ญาตรี ป.บัณฑติ อนปุ ริญญา ปวช.,ม.6 ต่ำกวา่ ม.6 รวม
เอก

- 15 76 - 2 2 8 102

2% 2% 4% วฒุ ิการศกึ ษาสูงสุดของบคุ ลากร
0%
0%
15% ปรญิ ญาเอก

ปรญิ ญาโท

ปรญิ ญาตรี

ป.บัณฑิต

77% อนุปริญญา
ปวช.,ม.6

ต่ากวา่ ม.6

1.2.3 สาขาวิชาเอกท่จี บการศกึ ษา จำนวน (คน) รอ้ ยละ

สาขาวิชา 0 0
4 4.26
1. บรหิ ารการศกึ ษา 12 12.77
2. คณติ ศาสตร์ 7 7.45
3. วิทยาศาสตร์ 8 8.51
4. ภาษาไทย 7 7.45
5. ภาษาอังกฤษ 8 8.51
6. สงั คมศึกษา 8 8.51
7. การงานอาชพี 4 4.26
8. ศลิ ปะ 10 10.64
9. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 26 27.66
10. ปฐมวัย 94 100.00
11. อนื่ ๆ

รวม

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนวัดทอ้ งคุง้ “ไพโรจน์ประชาสรรค”์ สพป.ชลบรุ ี เขต 1



1.3 ข้อมูลนกั เรยี น (ข้อมลู ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2564)

จำนวนนักเรียน ปกี ารศึกษา 2564 รวมทัง้ สน้ิ 1,802 คน

ระดบั ช้นั เรียน จำนวนห้อง เพศ หญิง รวม
ชาย 42
อ.1 3 24 41 66
อ.2 3 58 60 99
อ.3 4 50 143 110
รวม 9 132 81 275
ป.1 5 103 87 184
ป.2 5 118 69 205
ป.3 4 105 74 174
ป.4 4 95 82 169
ป.5 4 80 77 162
ป.6 4 82 470 159
รวม 26 583 77 1053
ม.1 4 90 68 167
ม.2 4 74 71 142
ม.3 5 94 216 165
รวม 13 258 474
829
รวมท้ังหมด 48 973 1802

เปรียบเทียบขอ้ มลู จ่านวนนกั เรยี น
ปกี ารศึกษา 2562 - 2564

1200 1004 1053
1000 933

800

600 468 467 474

400 244 272 275

200

0 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

ปฐมวัย ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนวดั ทอ้ งคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบรุ ี เขต 1



1.4 ผลการประเมนิ พฒั นาการตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย

นักเรียนช้นั อนุบาลปีท่ี ๑ - ๓ ท่ีเขา้ รบั การประเมิน จำนวน 2๖๓ คน

พัฒนาการ ดี ผลการประเมนิ พัฒนาการ
จำนวน รอ้ ยละ พอใช้ ปรบั ปรงุ
ดา้ นร่างกาย 256 97.34
ดา้ นอารมณ์และจิตใจ 262 99.62 จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ด้านสังคม 262 99.62 7 2.66 0 0.00
ดา้ นสติปัญญา 257 97.72 1 0.38 0 0.00
259.25 98.57 1 0.38 0 0.00
รวมเฉลี่ย 5 1.90 1 0.38

3.50 1.33 0.25 0.09

รอ้ ยละของผลการประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ปฐมวัย ปีการศึกษา ๒๕๖๔
97.34
100.00 99.62
90.00 99.62
80.00 97.72
70.00 98.57
60.00
50.00 2.66
40.00 0.00
30.00 0.38
20.00 0.00
10.00 0.38
0.00 0.00
1.9
0.38
1.33
0.09

ด้านรา่ งกาย ด้านอารมณแ์ ละ ด้านสงั คม ดา้ นสติปัญญา รวมเฉลยี่
จิตใจ
ดี 97.34 99.62 99.62 97.72 98.57
พอใช้ 2.66 0.38 1.9 1.33
ปรับปรุง 0.00 0.38 0.00 0.38 0.09

0.00

ดี พอใช้ ปรับปรุง

จากแผนภูมิ จะเห็นได้ว่าผลพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน ทุกระดับชั้นของการศึกษาปฐมวัย ตั้งแต่ระดับช้ัน
อนุบาลปีที่ ๑ ถึง ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖4 โดยรวมเฉลี่ย ระดับคุณภาพดี คิดเป็นร้อยละ
98.57 ระดับคุณภาพพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 1.33 และระดับคุณภาพปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.09 ซึ่ง
จำแนกผลพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน ได้ดังนี้ ด้านร่างกาย ได้ผลการประเมิน ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 97.34 และ
ระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 2.66 ด้านอารมณ์และจิตใจ ได้ผลการประเมิน ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 99.62
และระดับพอใช้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.38 ด้านสังคม ไดผ้ ลการประเมิน ระดับดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 99.62 และระดับ
พอใช้ คิดเปน็ ร้อยละ 0.38 และด้านสติปัญญา ไดผ้ ลการประเมิน ระดบั ดี คิดเป็นรอ้ ยละ 97.72 ระดับพอใช้
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.90 และระดับปรับปรุง คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.38

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนวดั ท้องคงุ้ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๑๐

๑.๕ ผลการประเมนิ ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
๑) ข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับสถานศึกษา
๑.๑) ข้อมูลผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ๘ สาระการเรียนรู้

กลุ่มสาระ จำนวนนกั เรยี นทีไ่ ด้ระดบั 3 ข้ึนไป รวม
การเรยี นรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
1,497
177 197 170 170 159 158 165 138 163 69.98
70.82
ภาษาไทย 76.51 80.79 78.09 71.16 65.98 64.62 68.64 64.75 59.25 72.06
71.75
คณติ ศาสตร์ 76.06 78.25 82.16 65.01 63.16 62.82 67.93 68.50 73.50 73.27
71.65
วิทยาศาสตร์ฯ 78.67 79.34 82.59 70.51 64.51 68.29 65.99 70.31 68.37 73.25
69.32
สังคมศึกษาฯ 76.77 82.75 79.30 76.58 69.09 68.12 68.91 64.25 59.96 71.51

สขุ ศกึ ษาฯ 81.40 80.39 80.55 67.51 71.58 65.12 67.32 72.32 73.21

ศิลปะ 82.18 79.46 76.76 74.58 71.38 67.51 64.92 66.59 61.50

การงานอาชพี 83.52 78.26 79.37 69.88 74.02 71.95 71.36 71.84 59.03

ภาษาต่างประเทศ 79.00 77.93 74.40 71.69 72.43 64.03 63.18 60.65 60.55

คา่ เฉลี่ย 79.26 79.65 79.15 70.87 69.02 66.56 67.28 67.40 64.42

จากตาราง พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกระดบั ช้ัน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษา
ปที ่ี 1 - ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564 รวมเฉลย่ี ร้อยละ 71.51 อยใู่ นระดับคุณภาพ ดเี ลศิ

เมื่อพิจารณาเป็นรายระดับชั้น พบว่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 79.26 อยู่ในระดับ
คุณภาพดีเลศิ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2 มีคา่ เฉลยี่ รอ้ ยละ 79.65 อยใู่ นระดับคณุ ภาพดีเลิศ ชัน้ ประถมศึกษา ปี
ท่ี 3 มีค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ ๗9.15 อยใู่ นระดบั คุณภาพดีเลิศ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 มคี า่ เฉลีย่ รอ้ ยละ ๗0.87 อยู่
ในระดับคุณภาพดีเลิศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 69.02 อยู่ในระดับคุณภาพดี ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 66.56 อยู่ในระดับคุณภาพดี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ
67.28 อยู่ในระดับคุณภาพดี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 67.40 อยู่ในระดับคุณภาพดี และชั้น
มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มคี า่ เฉล่ยี ร้อยละ 64.42 อยู่ในระดับคณุ ภาพดี

เม่ือพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มีคา่ เฉลีย่ ร้อยละ 69.98 อยูใ่ นระดับ
คณุ ภาพดี กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ มคี ่าเฉลยี่ ร้อยละ 70.82 อยใู่ นระดบั คณุ ภาพดีเลศิ กลุม่ สาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีค่าเฉลี่ยร้อยละ ๗2.06 อยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 71.75 อยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 73.27 อยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ มี
ค่าเฉลี่ยร้อยละ 71.65 อยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ
73.25 อยใู่ นระดบั คณุ ภาพดเี ลิศ และกลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ มีคา่ เฉลีย่ ร้อยละ 69.๓๒ อยู่ใน
ระดับคุณภาพดี

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๑.๒) ร้อยละของนกั เรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นแต่ละรายวิชาในร

กลุ่มสาระ จานวนนักเรียนท่ีไดร้ ะ

การเรียนรู้ ป.1(177) ร้อยละ ป.2(197) ร้อยละ ป.3(170) ร้อยละ ป.4(170) ร้อยละ ป.5(159

ภาษาไทย 140 79.10 174 88.32 156 91.76 105 61.76 54
79.10 164 83.25 158 92.94 52 30.59 44
คณิตศาสตร์ 140 80.79 165 83.76 161 94.71 78 45.88 52
77.97 183 92.89 147 86.47 127 74.71 67
วทิ ยาศาสตร์ฯ 143 94.92 184 93.40 154 90.59 70 41.18 84
94.35 170 86.29 135 79.41 142 83.53 91
สังคมศึกษาฯ 138 88.14 157 79.70 165 97.06 88 51.76 95
83.05 167 84.77 127 74.71 94 55.29 100
สุขศกึ ษาฯ 168
84.68 1364 86.55 1203 88.46 756 55.59 587
ศลิ ปะ 167

การงานอาชพี 156

ภาษาตา่ งประเทศ 147

รวม 1199

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SA
โรงเรยี นวัดท้องค้งุ “ไพโรจนป์ ระชาสรร

๑๑

ระดบั ๓ ขึน้ ไป

ะดับ 3 ข้นึ ไป ป.6(158) ร้อยละ ม.1(165) ร้อยละ ม.2(138) ร้อยละ ม.3(163) ร้อยละ รวม/เฉล่ีย

9) ร้อยละ 58 36.71 79 47.88 60 43.48 37 22.70 56.19
36 22.78 76 46.06 67 48.55 102 62.58 54.84
33.96 72 45.57 67 40.61 78 56.52 64 39.26 57.76
27.67 64 40.51 83 50.30 54 39.13 34 20.86 58.33
32.70 55 34.81 72 43.64 89 64.49 108 66.26 64.68
42.14 55 34.81 54 32.73 84 60.87 59 36.20 62.82
52.83 92 58.23 87 52.73 71 51.45 28 17.18 61.78
57.23 42 26.58 58 35.15 35 25.36 36 22.09 52.21
59.75 58.57
62.89 474 37.50 576 43.64 538 48.73 468 35.89

46.15

AR) ปีการศกึ ษา 2564
รค์” สพป.ชลบุรี เขต 1

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report :
โรงเรยี นวัดท้องคงุ้ “ไพโรจน์ประชาส

๑๒

SAR) ปีการศึกษา 2564
สรรค์” สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๑๓

จากตารางพบว่า จำนวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ อยู่ในระดับ
3 ขึ้นไป ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 มีค่าเฉลี่ยรวมคิดเป็น
ร้อยละ 58.57 อยู่ในระดับคุณภาพ ปานกลาง

เม่อื พจิ ารณาเป็นรายช้ัน พบว่า ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ในระดับ 3 ขึ้นไป
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 84.68 อยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มี
ค่าเฉลี่ยร้อยละ 86.55 อยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 88.46 อยู่
ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 55.59 อยู่ในระดับคุณภาพ ปานกลาง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 46.15 อยู่ในระดับคุณภาพ กำลังพัฒนา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี
ค่าเฉลี่ยร้อยละ 37.50 อยู่ในระดับคุณภาพ กำลังพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 มีค่าเฉลี่ยร้อย 43.64 อยู่ใน
ระดับคุณภาพ กำลังพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยร้อย 48.73 อยู่ในระดับคุณภาพ กำลังพัฒนา
และช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 มคี า่ เฉลย่ี รอ้ ยละ 35.89 อยใู่ นระดบั คุณภาพ กำลงั พัฒนา

เมื่อพิจารณาเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีค่าเฉลี่ยร้อยละ
56.19 อยู่ในระดับคุณภาพ ปานกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 54.84 อยู่ใน
ระดับคุณภาพ ปานกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 57.76 อยู่ใน
ระดับคุณภาพ ปานกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 58.33
อยู่ในระดับคุณภาพ ปานกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 64.68 อยู่ใน
ระดับคุณภาพ ดี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 62.82 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี กลุ่มสาระ
การเรียนรู้การงานอาชีพ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 61.78 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี และกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ มคี า่ เฉลย่ี ร้อยละ 52.21 อยู่ในระดับคุณภาพ ปานกลาง

2) ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ระดับชั้น จำนวนนักเรยี นท้งั หมด ดีเยี่ยม ระดบั คุณภาพ ไม่ผา่ น
85 0
ประถมศึกษาปีท่ี 1 177 130 ดี ผา่ น 1
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 197 123 88 4 1
ประถมศกึ ษาปีที่ 3 170 55 65 1 1
ประถมศกึ ษาปีที่ 4 170 73 46 1 0
ประถมศกึ ษาปีที่ 5 159 59 96 18 1
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 158 63 84 3 5
มัธยมศึกษาปที ี่ 1 165 56 72 26 5
มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 138 59 74 23 7
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 163 703 56 21 21
1497 67 30
รวม 100.00 46.98 647 125 1.40
เฉล่ียร้อยละ
43.24 8.38

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนวดั ทอ้ งคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๑๔

จากตารางพบว่า ร้อยละของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผล
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปีการศึกษา ๒๕๖4 จำแนกตามระดับคุณภาพดังนี้ ระดับดีเยี่ยม
คิดเป็นร้อยละ 46.98 ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 43.24 ระดับผ่านเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 8.38 และระดับไม่
ผ่านเกณฑ์ คดิ เป็นร้อยละ 1.40

สรปุ ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับดีเย่ียมและดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.22 อย่ใู น
ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนวดั ทอ้ งคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๑๕

3) ผลการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น

ระดับชน้ั ระดบั คณุ ภาพ
จำนวนนกั เรยี นทงั้ หมด ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น
ประถมศกึ ษาปีที่ 1
ประถมศึกษาปที ่ี 2 177 83 61 32 1
ประถมศึกษาปที ่ี 3
ประถมศึกษาปที ่ี 4 197 107 64 24 2
ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
ประถมศึกษาปีที่ 6 170 91 60 18 1
มัธยมศึกษาปีท่ี 1
มธั ยมศึกษาปีที่ 2 170 34 71 65 1
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
159 36 52 71 0
รวม
เฉลี่ยร้อยละ 158 33 38 85 1

165 42 37 78 7

138 37 35 61 5

163 36 29 92 7

1497 500 447 526 25

100.00 33.38 29.85 35.11 1.66

จากตารางพบว่า ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา ๒๕๖4 จำแนกตามระดับคุณภาพดังนี้ ระดับดีเย่ยี ม
คิดเปน็ ร้อยละ 33.38 ระดับดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 29.85 ระดบั ผ่านเกณฑ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 35.11 และระดับไม่
ผา่ นเกณฑ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.66

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนวดั ท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๑๖

สรุปผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดบั ดีเยยี่ มและดี คิดเป็นร้อยละ 63.23 อยู่ใน
ระดับคณุ ภาพ ดี

4) ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ๕ ดา้ น ปกี ารศึกษา ๒๕๖4

สมรรถนะ จานวน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคดิ 3.ความสามารถในการ 4.ความสามารถในการใช้ 5.ความสามารถในการใช้ รวมรายชั้น เฉล่ียร้อยละ
ผเู้ รียน นักเรียน แก้ปัญหา ทักษะชวี ติ
เทคโนโลยี ท่ีไดร้ ะดบั ดี รวมรายชั้นท่ี

ชัน้ (คน) ดเี ยย่ี ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น ดเี ยยี่ ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น ดีเยย่ี ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น ดีเยย่ี ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น ดีเยย่ี ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น ข้นึ ไป ไดร้ ะดับดีขึ้นไป

ป.1 177 105 71 0 1 93 82 1 1 106 69 1 1 136 40 0 1 105 70 1 1 877 99.10

ป.2 197 143 51 1 2 111 81 3 2 142 47 6 2 153 41 1 2 165 29 1 2 963 97.77

ป.3 170 138 31 0 1 122 47 0 1 134 35 0 1 151 18 0 1 138 30 1 1 844 99.29

ป.4 170 86 64 19 1 71 61 37 1 63 76 30 1 95 60 14 1 97 63 9 1 736 86.59

ป.5 159 106 53 0 0 78 79 2 0 95 64 0 0 128 31 0 0 113 46 0 0 793 99.75

ป.6 158 74 77 6 1 75 72 10 1 73 83 1 1 74 82 1 1 61 78 18 1 749 94.81

ม.1 165 61 79 16 9 44 92 20 9 39 103 14 9 55 94 7 9 50 98 8 9 715 86.67

ม.2 138 73 37 23 5 69 46 18 5 74 39 20 5 87 31 15 5 100 19 14 5 575 83.33

ม.3 163 98 42 15 8 44 95 16 8 82 59 14 8 102 43 10 8 82 62 11 8 709 86.99

รวม 1,497 884 505 80 28 707 655 107 28 808 575 86 28 981 440 48 28 911 495 63 28 6,961 93.00
1,421 1,406
รวมสมรรถนะท่ีได้ 1,389 1,362 1,383 94.92 93.92
92.79
ระดับดขี ้ึนไป 90.98 92.38
เฉลี่ยร้อยละท่ีได้ 93.00

ระดับดีข้นึ ไป

ระดบั ดีขน้ึ ไป

ร้อยละผลการประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 5 ด้าน ปีการศึกาษา 2564

จานวน จานวนนักเรียนทไ่ี ดร้ ับผลการประเมิน จานวน ร้อยละจานวน
นกั เรียน ดเี ยย่ี ม
สมรรถนะของผเู้ รียน นกั เรียนต้ังแต่ นกั เรยี นต้ังแต่ ระดับดีขึ้นไป

ความสามารถในการสอื่ สาร ร้อยละ ดี ร้อยละ ผา่ น ร้อยละ ไม่ผา่ น ร้อยละ ระดับดีขึ้นไป ระดับดีข้ึนไป
ความสามารถในการคดิ
ความสามารถในการแกป้ ญั หา 1,497 884 59.05 505 33.73 80 5.34 28 1.87 1,389 92.79
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 1,497 707 47.23 655 43.75 107 7.15 28 1.87 1,362 90.98

1,497 808 53.97 575 38.41 86 5.74 28 1.87 1,383 92.38 93.00

1,497 981 65.53 440 29.39 48 3.21 28 1.87 1,421 94.92

1,497 911 60.86 495 33.07 63 4.21 28 1.87 1,406 93.92

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนวดั ทอ้ งคุง้ “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1

๑๗

จากตาราง พบว่า นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร ระดับดีเยี่ยม ร้อยละ 59.05 ระดับดี ร้อยละ
33.73 ระดับผ่าน ร้อยละ 5.34 ระดับไม่ผ่าน ร้อยละ 1.87 ความสามารถในการคิด ระดับดีเยี่ยม ร้อยละ 47.23
ระดบั ดี รอ้ ยละ 43.75 ระดบั ผา่ น รอ้ ยละ 7.15 ระดับไมผ่ า่ น ร้อยละ 1.87 ความสามารถในการแก้ปญั หา ระดบั
ดีเย่ียม ร้อยละ 53.97 ระดบั ดี รอ้ ยละ 38.41 ระดบั ผา่ น ร้อยละ 5.74 ระดบั ไมผ่ า่ น ร้อยละ 1.87 ความสามารถใน
การใช้ทักษะชีวิต ระดับดีเยี่ยม ร้อยละ 65.53 ระดับดี ร้อยละ 29.39 ระดับผ่าน ร้อยละ 3.21 ระดับไม่ผ่าน ร้อย
ละ 1.87 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ระดับดีเยีย่ ม ร้อยละ 60.86 ระดับดี ร้อยละ 33.07 ระดับผ่าน ร้อยละ
4.21 ระดบั ไมผ่ า่ น ร้อยละ 1.87

ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 ด้าน ประจำปีการศึกษา 2564 ระดับดีเป็นต้นไป
ร้อยละ 93.00 อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม

5) ผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4

ระดบั ชั้น จานวนนกั เรียนทง้ั หมด ผลการประเมิน

ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 177 ผ่าน ไม่ผ่าน
ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 197 176 1
ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 170 195 2
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 170 169 1
ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 159 169 1
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 158 159 0
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 165 157 1
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 138 156 9
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 163 133 5
1,497 155 8
รวม 100 1,469 28
เฉล่ียร้อยละ 98.07
1.93

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวดั ท้องคงุ้ “ไพโรจน์ประชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1

๑๘

จากตาราง พบว่า ร้อยละของนักเรยี นที่มผี ลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1
ถงึ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2564 ผ่านเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 98.07 อยู่ในระดบั คุณภาพยอดเยีย่ ม

1.6 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น (Reading Test : RT)

๑) ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา
๒๕๖4

1.1) ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น (RT) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1
ปกี ารศกึ ษา 2564

คะแนนเฉลีย่ ร้อยละผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรียน (Reading Test : RT)
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

100.00 71.06 69.04 69.95 87.18 79.12 70.67 71.38
80.00 72.30 72.79

60.00

40.00

20.00

0.00 การอา่ นออกเสยี ง การอ่านรู้เรอ่ื ง รวม 2 ด้าน
71.06 87.18 79.12
ระดบั โรงเรยี น 69.04 72.30 70.67
ระดบั สพฐ. 69.95 72.79 71.38
ระดบั ประเทศ

ระดับโรงเรียน ระดบั สพฐ. ระดบั ประเทศ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวัดทอ้ งค้งุ “ไพโรจน์ประชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1

๑๙

จากแผนภูมิ พบว่าผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน (RT) ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1
ปีการศึกษา 2564

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านออกเสยี งของผู้เรยี น คดิ เป็นร้อยละ 71.06
สูงกวา่ คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ และสูงกวา่ คะแนนเฉลยี่ ระดบั สงั กัด สพฐ.

คะแนนเฉลย่ี ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านออกรเู้ ร่อื งของผู้เรยี น คิดเป็นร้อยละ 87.18
สูงกวา่ คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ และสูงกว่าคะแนนเฉลย่ี ระดับสังกัด สพฐ.

คะแนนเฉลยี่ รวมท้ัง 2 ดา้ น คิดเป็นรอ้ ยละ 79.12 สูงกวา่ คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ และสูงกวา่
คะแนนเฉลี่ยระดบั สงั กดั สพฐ.

สรุปได้ว่านกั เรยี นมีผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รยี น (RT) ร้อยละ 79.12 อยใู่ น
ระดับคุณภาพดมี าก

คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละของผู้เรยี นท่ีมีผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น ( Reading Test : RT)
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2464 จาแนกตามระดับคุณภาพ

100.00 85.79
80.00 61.93
60.00
40.00 50.00
20.00
0.00 37.50 24.43
25.65
การอา่ นออกเสยี ง 0.00 0.56
การอา่ นรูเ้ รือ่ ง 14.20 พอใช้
รวม 2 ดา้ น 24.43
ดีมาก ดี 0.00 0.00 0.00 0.00
50.00 25.65 0.56
85.79 14.20 ปรับปรงุ
61.93 37.50 รวม 2 ดา้ น 0.00
0.00
0.00

การอา่ นออกเสยี ง การอา่ นรเู้ รอ่ื ง

จากแผนภูมิ พบว่า ร้อยละของจำนวนผู้เรียนท่ีมีผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน
(RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖4 จำแนกตามระดับคุณภาพ จากจำนวนนักเรียน 176 คน
ด้านการอ่านออกเสียง อย่ใู นระดบั ดมี าก จำนวน 88 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00 ระดับดี จำนวน 45 คน
คดิ เป็นร้อยละ 25.65 และระดบั พอใช้ จำนวน 43 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 24.43

ด้านการอ่านรู้เรื่อง อยู่ในระดับดีมาก จำนวน 151 คน คิดเป็นร้อยละ 85.79 ระดับดี จำนวน 25
คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.20

รวม ๒ ดา้ น อยใู่ นระดบั ดีมาก จำนวน 109 คน คิดเป็นร้อยละ 61.93 ระดับดี จำนวน 66 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 37.50 และระดบั พอใช้ จำนวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.56

สรุปได้ว่านักเรียนมีผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ตั้งแต่ระดับคุณภาพดี
ขึ้นไป รอ้ ยละ 99.43 อย่ใู นระดับคุณภาพดมี าก

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวดั ท้องคงุ้ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1

๒๐

2) ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน (RT) ปีการศึกษา ๒๕๖3 – ๒๕๖4
2.1) เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผ้เู รยี น (RT) ชั้น

ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา ๒๕๖3 – ๒๕๖4

สมรรถนะ ปีการศกึ ษา ปกี ารศึกษา รอ้ ยละของผลตา่ ง
2563 2564 ระหว่างปกี ารศึกษา
การอ่านออกเสียง 70.19 71.06
การอา่ นรเู้ รื่อง 62.77 87.18 0.87
รวม 2 สมรรถนะ 66.48 79.12 24.41
12.64

จากตาราง พบว่า ปีการศึกษา 2564 ด้านการอ่านออกเสียง มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา
2563 ร้อยละ 0.87 ด้านการอ่านรู้เรื่อง มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 24.41 และเม่ือ
พิจารณารวมทัง้ 2 สมรรถนะ มคี ะแนนเฉลยี่ สูงกว่าปกี ารศกึ ษา 2563 รอ้ ยละ 12.64

2.2) เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ( RT) ช้ัน
ประถมศึกษาปที ี่ ๑ และร้อยละของผลตา่ งระหว่างปีการศกึ ษา ๒๕๖3 – ๒๕๖4

เปรียบเทียบร้อยละของผู้เรยี น ตามระดบั คณุ ภาพ
ความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รียน (การอ่านออกเสียง) ปกี ารศึกษา 2563 และปกี ารศึกษา

2564

ปรับปรุง 0.00 15.10

พอใช้ 8.85 24.43

ดี 16.66 25.56

ดมี าก 50.00
59.37

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00
รอ้ ยละผเู้ รยี น ปี 2564 ร้อยละผเู้ รียน ปี 2563

จากแผนภูมิเปรียบเทยี บผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านออกเสียง ปีการศกึ ษา ๒๕63 –
๒๕๖4 จำแนกตามร้อยละของระดบั คุณภาพ พบวา่ ระดบั ดมี าก ปีการศกึ ษา 2564 มีผลการประเมนิ ตำ่ กวา่
ปีการศกึ ษา 2563 ระดับดี ปกี ารศกึ ษา 2564 มผี ลการประเมนิ สูงกว่า ปีการศึกษา 2563 ระดับพอใช้
ปกี ารศึกษา 2564 มีผลการประเมนิ สูงกวา่ ปีการศึกษา 2563 และระดับปรบั ปรุง ปีการศึกษา 2564 ปี
มผี ลการประเมินตำ่ กว่า ปีการศึกษา 2563

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นวัดทอ้ งคงุ้ “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1

๒๑

เปรียบเทยี บรอ้ ยละของผูเ้ รยี น ตามระดบั คุณภาพ
ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน (การอา่ นรู้เรอื่ ง) ปีการศึกษา 2563 และปกี ารศึกษา 2564

ปรบั ปรุง 0.00
3.12

พอใช้ 0.00 15.62

ดี 14.20 52.08

ดีมาก 29.16 85.79

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00

ร้อยละผ้เู รียน ปี 2564 ร้อยละผูเ้ รียน ปี 2563

จากแผนภูมิเปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านรู้เรื่อง ปีการศึกษา ๒๕63 –
๒๕๖4 จำแนกตามร้อยละของระดบั คุณภาพ พบว่า ระดับดีมาก ปีการศึกษา 2564 มีผลการประเมนิ สูงกวา่
ปีการศึกษา 2563 ระดับดี ปีการศึกษา 2564 มีผลการประเมินต่ำกว่า ปีการศึกษา 2563 ระดับพอใช้
ปีการศึกษา 2564 มีผลการประเมินต่ำกว่า ปกี ารศกึ ษา 2563 และระดับปรับปรุง ปกี ารศึกษา 2564 ปี มี
ผลการประเมินตำ่ กวา่ ปกี ารศึกษา 2563

เปรียบเทยี บรอ้ ยละของผู้เรยี น ตามระดับคุณภาพ
ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียนรวม 2 ดา้ น ปกี ารศึกษา 2563 และปกี ารศกึ ษา 2564

ปรับปรงุ 0.00 10.41
พอใช้
ดี 0.56 13.02
ดีมาก
25.00 37.50

51.56 61.93

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00

รอ้ ยละผู้เรยี น ปี 2564 รอ้ ยละผเู้ รยี น ปี 2563

จากแผนภูมิเปรียบเทียบผลการประเมินรวมสองด้าน ปีการศึกษา ๒๕๖3 – ๒๕๖4 จำแนกตามร้อย
ละของระดับคุณภาพ พบว่า ระดับดีมาก ปีการศึกษา 2564 มีผลการประเมินสูงกว่า ปีการศึกษา 2563
ระดับดี ปีการศึกษา 2564 มีผลการประเมินสูงกว่า ปีการศึกษา 2563 ระดับพอใช้ ปีการศึกษา 2564 มี
ผลการประเมินต่ำกว่า ปีการศึกษา 2563 และระดับปรับปรุง ปีการศึกษา 2564 มีผลการประเมินต่ำกว่า
ปกี ารศกึ ษา 2563

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนวดั ทอ้ งคุง้ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๒๒

1.7 ผลการทดสอบการประเมินคุณภาพผูเ้ รยี น (NT)
๑) ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา ๒๕๖4

ผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564

80.00 64.64 67.83 66.23
70.00 48.73 49.44 55.48 56.14 52.11 52.80
60.00
50.00 ดา้ นคณิตศาสตร์ ด้านภาษาไทย รวมทงั้ 2 ด้าน
40.00 64.64 67.83 66.23
30.00 48.73 55.48 52.11
20.00
10.00
0.00

ระดับโรงเรียน
ระดบั สพฐ.

ระดบั ประเทศ 49.44 56.14 52.80

ระดบั โรงเรียน ระดบั สพฐ. ระดบั ประเทศ

จากตารางผลประเมินคุณภาพผเู้ รียน (NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖4 พบว่า
คะแนนเฉลี่ยความสามารถด้านคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 64.64 มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉล่ีย
ระดบั สังกดั สพฐ. และระดบั ประเทศ
คะแนนเฉล่ยี ความสามารถดา้ นภาษาไทย คิดเปน็ รอ้ ยละ 67.83 มคี ่าเฉลยี่ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับ
สังกัด สพฐ. และระดบั ประเทศ
คะแนนเฉลี่ยรวมสองด้าน คิดเป็นร้อยละ 66.23 มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัด สพฐ.
และระดบั ประเทศ

ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละของจ่านวนทม่ี ีผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT)
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 จา่ แนกตามระดับคุณภาพ

60.00 46.42
52.97
50.00 50.00

40.00 33.33
32.73
30.00
38.69
20.00 20.23
14.28
10.00 11.30
0.00
0.00
0.00
0.00 ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

ดา้ นคณติ ศาสตร์ 46.42 33.33 20.23 0.00

ดา้ นภาษาไทย 52.97 32.73 14.28 0.00

รวมท้ัง 2 ดา้ น 50.00 38.69 11.30 0.00

ด้านคณติ ศาสตร์ ด้านภาษาไทย รวมทง้ั 2 ดา้ น

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนวดั ทอ้ งคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1

๒๓

จากแผนภมู พิ บวา่ รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นท่ีมีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษา
ปที ่ี 3 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 จำแนกตามระดับคุณภาพ มรี ายละเอียดดงั น้ี

ดา้ นคณติ ศาสตร์ อยูใ่ นระดับคณุ ภาพดมี าก มจี ำนวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 46.42 ระดบั คณุ ภาพดี
มีจำนวน 56 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.33 และระดบั คุณภาพพอใช้ มจี ำนวน 34 คน คิดเปน็ ร้อยละ 20.23

ความสามารถด้านภาษาไทยอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก มีจำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 52.97
ระดับคุณภาพดี มีจำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 32.73 และระดับคุณภาพพอใช้ มีจำนวน 24 คน คิดเป็น
ร้อยละ 14.28

รวมความสามารถทั้งสองด้านอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก มีจำนวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00
ระดับคุณภาพดี มีจำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 38.69 และระดับคุณภาพพอใช้ มีจำนวน 19 คน คิดเป็น
ร้อยละ 11.30

สรปุ ไดว้ ่าผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 อยู่
ในระดบั ดี

2) ผลการประเมินคุณภาพผเู้ รียน (NT) ปกี ารศกึ ษา 2563 – 2564

เปรยี บเทียบผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2563 - 2564

80.00 64.64 67.38 66.23
70.00 46.65
60.00 39.44 43.05
50.00 20.73
40.00 25.20 23.18
30.00 ดา้ นภาษาไทย
20.00 ดา้ นคณิตศาสตร์ รวม 2 ดา้ น
10.00
0.00

ปกี ารศึกษา 2563 39.44 46.65 43.05

ปีการศึกษา 2564 64.64 67.38 66.23

ผลการพฒั นา 25.20 20.73 23.18

ปีการศกึ ษา 2563 ปกี ารศกึ ษา 2564 ผลการพฒั นา

จากตาราง พบว่าผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 - 2564
คะแนนเฉลี่ยวชิ าคณิตศาสตร์ มคี ่าเฉลี่ยสูงขึ้น ร้อยละ 25.20 คะแนนเฉล่ียวิชาภาษาไทย มีค่าเฉลี่ยสูงข้ึน ร้อยละ 20.73
และคะแนนเฉล่ียรวมทั้ง 2 ด้าน มคี า่ เฉลย่ี สูงขึ้น รอ้ ยละ 23.18

สรุปได้ว่าผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 มีคะแนน
เฉล่ียสูงขนึ้ กว่าปกี ารศกึ ษา 2563 อยรู่ ้อยละ 23.18

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนวดั ท้องคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๒๔

1.8 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (Ordinary National Educational Test:
O - NET)ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O-NET)
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2564

60.00 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉลี่ยมรวม 4
12354000000......000000000000 วิชา
32.85 32.21
ภาษาไทย 35.85 33.68 36.96 38.73
36.83 34.31
ระดบั โรงเรียน 52.89 35.46 38.63
ระดับสพฐ. 49.54
ระดับประเทศ 50.38 39.22 40.19

ระดับโรงเรียน ระดับสพฐ. ระดบั ประเทศ

จากตาราง พบวา่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน ( O-NET ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2564

คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย คิดเป็นร้อยละ 52.89 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ และสูงกว่า
คะแนนเฉลยี่ ระดับสังกัด สพฐ.

คะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 32.85 ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ และต่ำกว่า
คะแนนเฉล่ียระดับสังกัด สพฐ.

คะแนนเฉลี่ยวชิ าวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 32.21 ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ และต่ำกว่า
คะแนนเฉล่ียระดับสงั กัด สพฐ.

คะแนนเฉลย่ี วชิ าภาษาอังกฤษ คิดเปน็ รอ้ ยละ 36.96 ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ และสูงกว่า
คะแนนเฉล่ยี ระดบั สงั กดั สพฐ.

คะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 38.73 ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย
ระดบั ประเทศ และตำ่ กวา่ คะแนนเฉล่ยี ระดับสงั กดั สพฐ.

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นวัดท้องคงุ้ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1

๒๕
2) ผลการประเมนิ การทดสอบทางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 – 2564

จากตาราง พบว่าผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปี

การศึกษา 2563 ถึง 2564 คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย มีค่าเฉลี่ยต่ำลง ร้อยละ 10.10 คะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์

มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น ร้อยละ 4.41 คะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยต่ำลง ร้อยละ 6.74 และคะแนนเฉล่ีย

วิชาภาษาองั กฤษ มคี า่ เฉลี่ยตำ่ ลง ร้อยละ 5.87 รวมทั้ง 4 กลมุ่ สาระการเรียนร้มู ีคา่ เฉลย่ี ต่ำลง ร้อยละ 4.49

3) ผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ช้ันมัธูยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET)
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564

6541230000000.......00000000000000 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ เฉลี่ยรวม 4
ภาษาไทย วชิ า
20.42 30.13 27.86 31.93
ระดับโรงเรียน 49.30 24.75 31.67 30.79
ระดบั สพฐ. 52.13 24.47 31.45 31.11 34.84
ระดับประเทศ 51.19
34.56

ระดบั โรงเรียน ระดับสพฐ. ระดับประเทศ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนวดั ทอ้ งค้งุ “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๒๖
จากตาราง พบวา่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน ( O-NET ) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
ประจำปกี ารศึกษา 2564
คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย คิดเป็นร้อยละ 49.30 ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ และต่ำกว่า
คะแนนเฉลยี่ ระดบั สงั กดั สพฐ.
คะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 20.42 ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ และต่ำกว่า
คะแนนเฉลีย่ ระดับสงั กัด สพฐ.
คะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 30.13 ต่ำกว่าคะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ และต่ำกว่า
คะแนนเฉลี่ยระดับสงั กดั สพฐ.
คะแนนเฉลี่ยวชิ าภาษาอังกฤษ คิดเปน็ ร้อยละ 27.86 ต่ำกว่าคะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ และต่ำกว่า
คะแนนเฉลย่ี ระดบั สังกัด สพฐ.
คะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 31.93 ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย
ระดับประเทศ และตำ่ กว่าคะแนนเฉล่ียระดับสังกดั สพฐ.
4) ผลการประเมนิ การทดสอบทางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 – 2564

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3

จากตาราง พบว่าผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3
ปกี ารศึกษา 2563 ถึง 2564 คะแนนเฉลย่ี วชิ าภาษาไทย มคี ่าเฉล่ยี สงู ขึ้น ร้อยละ 0.60 คะแนนเฉลย่ี วชิ า
คณติ ศาสตร์ มีคา่ เฉลีย่ ต่ำลง รอ้ ยละ 1.72 คะแนนเฉลย่ี วิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลย่ี สูงข้ึน ร้อยละ 1.85
และคะแนนเฉล่ียวิชาภาษาองั กฤษ มีค่าเฉล่ยี ตำ่ ลง ร้อยละ 2.52 รวมท้ัง 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรูม้ คี า่ เฉลยี่
ตำ่ ลง รอ้ ยละ 0.45

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1

๒๗

๑.9 สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดบั การศึกษาปฐมวัย ระดับ แปลผล
คณุ ภาพ
มาตรฐาน ยอดเย่ียม
5
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเด็ก ยอดเยย่ี ม
๑.๑ มพี ัฒนาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มสี ขุ นิสัยทีด่ ีและดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 5 ยอดเยี่ยม
๑.๒ มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 5 ยอดเยี่ยม
๑.๓ มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของสังคม 5 ยอดเยีย่ ม
๑.๔ มีพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอื่ สารได้ มีทกั ษะการคดิ พื้นฐานและแสวงหาความรไู้ ด้ 5 ยอดเยี่ยม
5 ยอดเยี่ยม
รวมมาตรฐานที่ ๑ ๕ ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๕ ยอดเยี่ยม
๒.๑ มหี ลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของทอ้ งถนิ่ ๕
๒.๒ จดั ครูให้เพยี งพอกบั ช้นั เรยี น ยอดเยยี่ ม
๒.๓ ส่งเสริมให้ครมู ีความเช่ยี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ๕
๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและส่อื เพือ่ การเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพยี งพอ ยอดเยย่ี ม

๒.๕ ใหบ้ ริการสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และสอ่ื การเรยี นร้เู พ่ือสนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์ ยอดเยี่ยม

๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วม ยอดเยี่ยม
รวมมาตรฐานท่ี ๒ ๕
ยอดเย่ียม
มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณท์ ่ีเน้นเดก็ เปน็ สำคัญ ๕ ยอดเย่ียม
๓.๑ จดั ประสบการณท์ ่ีสง่ เสริมให้เดก็ มีพฒั นาการทกุ ดา้ นอย่างสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ ยอดเยย่ี ม
๕ ยอดเย่ยี ม
๓.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ย่างมคี วามสขุ ๕

๓.๓ จดั บรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ใช้สอ่ื และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย
๓.๔ ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ไป ๕ ยอดเยี่ยม
ปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก ๕ ยอดเยี่ยม

รวมมาตรฐานที่ ๓ ๕ ยอดเย่ียม
5 ยอดเย่ียม
สรปุ ผลการประเมินในของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นวัดทอ้ งคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1

๒๘

๑.10 สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ระดับ แปลผล
คณุ ภาพ
มาตรฐาน ยอดเยี่ยม
5 ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ๕ ยอดเยี่ยม
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผูเ้ รยี น ๕ ยอดเยย่ี ม

๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สาร และการคิดคำนวณ ๕
๒) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย
แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และแก้ปัญหา ๕ ยอดเยย่ี ม
๓) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ๕ ยอดเยย่ี ม
๔) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ๕ ยอดเยย่ี ม
๕) มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา ๕ ยอดเยย่ี ม
๖) มคี วามรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติทีด่ ตี ่องานอาชพี 5 ยอดเย่ียม
๕ ยอดเย่ยี ม
รวม ๑.๑ ๕ ยอดเยย่ี ม
๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรียน ๕ ยอดเย่ยี ม
๕ ยอดเย่ยี ม
๑) การมีคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มท่ีดตี ามท่สี ถานศกึ ษากำหนด ๕ ยอดเยย่ี ม
๒) ความภมู ิใจในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย ๕ ยอดเย่ยี ม
๓) การยอมรบั ท่ีจะอย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย 5 ยอดเยี่ยม
๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม 5 ยอดเย่ียม
๕ ยอดเยี่ยม
รวม ๑.๒ ๕ ยอดเยี่ยม
รวมมาตรฐานท่ี ๑ ( ๑.๑ + ๑.๒) ๕ ยอดเยี่ยม

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๕ ยอดเยี่ยม
๒.๑ มเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากำหนดชัดเจน ๕ ยอดเยย่ี ม
๒.๒ มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพของผู้เรยี นรอบดา้ น ตามหลกั สตู ร ๕ ยอดเยี่ยม
สถานศึกษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย
๒.๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชพี 5 ยอดเยี่ยม
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ ออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นร้อู ยา่ งมี
คณุ ภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจัดการและการจดั การ
เรียนรู้

รวมมาตรฐานที่ ๒

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวัดทอ้ งคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั ๒๙
๓.๑ จัดการเรียนรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริง และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตได้
5 ยอดเย่ียม
๓.๒ ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ เ่ี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ ๕ ยอดเยี่ยม
๕ ยอดเยยี่ ม
๓.๓ มีการบริหารจดั การชน้ั เรียนเชงิ บวก ๕ ยอดเยี่ยม
5 ยอดเยยี่ ม
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น 5 ยอดเยย่ี ม

๓.๕ มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และให้ขอ้ มูลสะท้อนกลบั เพือ่ พฒั นาและปรับปรงุ การจดั 5 ยอดเยีย่ ม
การเรยี นรู้
5 ยอดเยี่ยม
รวมมาตรฐานท่ี ๓
สรปุ ผลการประเมนิ ในของสถานศกึ ษา

ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นวัดทอ้ งคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1

๓๐

ส่วนท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย

มาตรฐานการศกึ ษา คา่ คะแนน ระดบั คุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 5 ยอดเย่ียม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ๕ ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ีเ่ นน้ เดก็ เป็นสำคญั ๕ ยอดเย่ียม
สรปุ ผลการประเมินในของสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาปฐมวัย ๕ ยอดเยี่ยม

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็
ระดบั คุณภาพ : ยอดเย่ียม

จำนวนเด็ก จำนวน ร้อยละ คา่ คะแนน
เด็ก ระดบั ทไ่ี ด้ ระดบั คณุ ภาพ
มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี ทผ่ี า่ นการ ทั้งหมด ระดบั คุณภาพ
100 5
ประเมิน 263 100 5 ยอดเยี่ยม
100 5 ยอดเยี่ยม
(1) ด้านรา่ งกาย 263 263 99.62 5 ยอดเย่ียม
99.91 ยอดเย่ียม
(2) ด้านอารมณ์ จิตใจ 263 263
5
(3) ด้านสงั คม 263 263 ยอดเย่ียม

(4) ดา้ นสติปญั ญา 262

รวมเฉล่ียร้อยละระดบั ทีไ่ ด้

คา่ คะแนนระดบั คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ

1.1 กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” มีกระบวนการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

แบบ online, on-site, on-hand และ on-demand ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 มีการใช้ Google
classroom, Google meet รวมถึงการสอนแบบบูรณาการและใบกิจกรรมมาช่วยในกระบวนการเรียนการ
สอน มีสื่อการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียน โดยใช้โปรแกรมต่างๆ เช่น
PowerPoint, you tube และ Google forms ในการวัดและประเมินของผู้เรียน มีการจัดทำโครงการต่าง ๆ
เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน โดยพัฒนาการด้านร่างกาย ซึ่งประกอบด้วย บันทึกการ
แปรงฟัน บันทึกน้ำหนักส่วนสูง บันทึกการตรวจร่างกาย บันทึกการดื่มนม จัดทำโครงการส่งเสริมศักยภาพ
ผู้เรียน โครงการอาหารกลางวัน โรงเรียนจัดให้เด็กได้รับประทานอาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณ
เหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจำทุกวันอย่างสม่ำเสมอ มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
ภาคเรียนละ 4 ครั้ง โรงเรียนจัดหา อุปกรณ์ ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความปลอดภัย สะดวก พร้อมใช้งาน
อยู่ตลอดเวลา ไม่มีจุดที่เป็นอันตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย ด้านอารมณ์ จิตใจ
ฝึกให้ผู้เรียนมกี ารแสดงออกทางอารมณ์เหมาะสมตามวัย ให้รู้จักควบคุมอารมณ์ของตนเอง มีมารยาทที่ดี ย้ิม
ไหว้ ทกั ทาย ขอบคุณ สามารถปฏิบัติกจิ วตั รประจำวนั ไดด้ ว้ ยตนเอง ด้านสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง เปน็ สมาชิกท่ี
ดีของสงั คม ปลูกฝงั ให้เด็กร้จู กั ประเพณวี ฒั นธรรม ดว้ ยกิจกรรมอนุรักษว์ ฒั นธรรมไทย กตญั ญูรคู้ ุณบดิ า มารดา
ครู โดยจัดกิจกรรมวันสำคญั ของชาติ กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันพ่อ วันแม่ วันไหว้ครู วัน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นวดั ทอ้ งคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๓๑

เข้าพรรษา ปลูกฝังใหเ้ ด็กมคี ุณธรรมจรยิ ธรรม โรงเรียนได้ส่งเสริมให้เดก็ มีพัฒนาการด้านสติปญั ญา สื่อสารได้
มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ โดยการเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแหง่ ประเทศ
ไทย ทำให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ รู้จักแก้ปัญหา และ
กิจกรรมไฮสโคปโดยเด็กได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมผ่านมุมประสบการณ์ในห้องเรียนที่หลากหลายมีการวางแผน
ลงมอื ทำ และทบทวนผา่ นกระบวนการ Plan Do Review ตามทฤษฎีของเพียเจย์ (Piage’s Theory)
1.2 ผลการดำเนินงาน

โรงเรียนมีผลการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ 1 มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพ
ยอดเยี่ยม เนื่องจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยผ่านการดำเนินงานทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม
ตัวชี้วัดโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อย และการได้รับความร่วมมือจากองค์กรต่างๆ อาทิเช่น โรงพยาบาล
ส่งเสรมิ สขุ ภาพและเทศบาลตำบลนาปา่ เป็นต้น สง่ ผลให้

1) ผลการประเมินพฒั นาการด้านร่างกาย มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม โดยเด็กมี
สมรรถภาพทางกาย นำ้ หนักสว่ นสงู สูงกวา่ /ต่ำกว่า/ตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลือ่ นไหว และสขุ นสิ ยั ในการดูแล
สุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสมตามช่วงวัย นอกจากนี้เด็กนักเรียนยังสามารถหลีกเลี่ยงต่อสภาวะความเสี่ยง
ตา่ ง ๆ อาทิ โรค อุบัติเหตุ ภัย สง่ิ เสพติด

2) ผลการประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพ
ยอดเยี่ยม โดยเด็กมีพัฒนาการด้านสุนทรียภาพทางอารมณ์ที่ดี มีความมั่นใจ และกล้าแสดงออกได้อย่าง
เหมาะสมตามช่วงวัย สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมรอบ ๆ ตัวได้ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น รู้จักมี
น้ำใจ แบง่ ปนั เอ้อื เฟื้อเผือ่ แผ่

3) ผลการประเมินพัฒนาการด้านสังคม มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม เด็กมี
พฒั นาการด้านพฤติกรรมทางสังคมที่ดี มวี นิ ยั มีความรับผดิ ชอบ เชือ่ ฟงั คำส่งั สอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ และ
เป็นสมาชกิ ทีด่ ขี องสงั คม

4) ผลการประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยมโดยเด็ก
มีกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถเชื่อมโยงความคิดที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ นำไปสู่
พฤติกรรมที่คาดหวังได้ สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างสมเหตุสมผล สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่าง
ต้ังใจ และรักการเรยี นรู้ มที ักษะการใชภ้ าษาสื่อสารที่เหมาะสมตามช่วงวยั มที ักษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหา
ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มีจินตนาการและความคิด
สร้างสรรค์
1.3 จุดเดน่

ในช่วงการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์โควิด 19 ทางโรงเรียนได้ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ
ดา้ นร่างกายเจริญเติบโตตามวัย มีนำ้ หนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์ เคลอ่ื นไหวร่างกายประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้
เหมาะสมตามวัย สามารถดูแลสุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโควิด 19
อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนา
ส่งิ แวดลอ้ ม ทำงานและเล่นรว่ มกับผู้อื่นได้อยา่ งมีความสุข มอี ารมณแ์ จ่มใส ร่าเรงิ สนกุ สนาน ร่วมกิจกรรมอยู่
ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข มสี ตปิ ัญญาเรยี นรไู้ ดต้ ามกิจกรรมประจำวันอยา่ งดี

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นวัดท้องคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1

๓๒

1.4 จุดควรพฒั นา
- โครงการหรือกิจกรรมควรมีความหลากหลาย ให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก ควรส่งเสริมด้าน

ตา่ ง ๆ ดังนี้ เพือ่ ให้เกิดคุณภาพกับเด็กอย่างยัง่ ยืน
- การชว่ ยเหลอื ตนเองท้งั ท่บี ้านและโรงเรียน
- ประสานความรว่ มมือกับผู้ปกครองให้มีสว่ นร่วมในการจดั ประสบการณเ์ ด็ก
- การพัฒนา ปลูกฝังในเรื่องสุขนิสัยทีด่ ี เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ล้างมือก่อนออกจาก

ห้องน้ำ หอ้ งส้วม และการเลอื กรับประทานอาหารท่มี ีประโยชน์ ให้เปน็ นสิ ยั
- การยืนตรงเมอ่ื ได้ยนิ เพลงชาติ
- การใชค้ ำพดู ครบั /คะ่ ขอบคุณ ขอโทษ
- การใช้วาจาสุภาพเหมาะสมกับวัย
- การทำความเคารพผทู้ ี่อาวโุ สกว่า

1.5 แผนงาน/ แนวทางพฒั นาคุณภาพใหด้ ขี ึน้ กวา่ เดมิ
จัดทำโครงการหรือกิจกรรมตามความเหมาะสม คำนึงถึงความสามารถและความแตกต่างระหว่าง

บุคคล เพ่อื ให้นกั เรยี นได้มกี ารพฒั นาการเดก็ ท้ัง 4 ดา้ นทัง้ ด้านรา่ งกาย ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ด้านสงั คม และดา้ น
สติปัญญา

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ระดบั คุณภาพ : ยอดเย่ียม

มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี ร้อยละ ค่าคะแนน ระดับคณุ ภาพ
ระดบั ที่ได้ ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม
๑ มีหลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการท้งั 4 ดา้ น ยอดเย่ยี ม
สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถ่ิน 100 5 ยอดเยี่ยม
๒ จัดครูให้เพียงพอกบั ชั้นเรยี น 98.80 5 ยอดเยย่ี ม
๓ สง่ เสริมใหค้ รูมีความเชยี่ วชาญดา้ นการจัด 100 5 ยอดเยี่ยม
ประสบการณ์ ยอดเย่ยี ม
๔ จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพอื่ การเรียนรู้ 98.85 5
อยา่ งปลอดภัยและเพยี งพอ
๕ ให้บริการส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อ 99.00 5
การเรยี นร้เู พื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
๖ มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ 98.00 5
ผ้เู กย่ี วข้องทุกฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม 99.11
รวมเฉลย่ี ร้อยละระดับท่ีได้
ค่าคะแนนระดบั คณุ ภาพ 5
ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวัดทอ้ งคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1

๓๓

2.1 กระบวนการพัฒนา
2.1.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น อยู่ในระดับ

คณุ ภาพยอดเย่ียม
2.1.2 จัดครใู หเ้ พยี งพอกับชน้ั เรยี น อยู่ในระดบั คุณภาพยอดเยีย่ ม
2.1.3 ส่งเสรมิ ให้ครมู คี วามเชย่ี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ อยูใ่ นระดับคุณภาพยอดเยย่ี ม
2.1.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ อยู่ในระดับคุณภาพ

ยอดเยยี่ ม
2.1.5 ให้บริการสื่อ เทคโนโลยีสานสนเทศ และสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ อยู่

ในระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม
2.1.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม อยู่ในระดับคุณภาพยอด

เย่ยี ม
การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” ได้มีการกำหนดเป้าหมาย

วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีองค์ประกอบที่สำคัญเพื่อที่จะขับเคลื่อนการศึกษา
ระดับปฐมวยั ได้แก่ การพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผูเ้ รยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ไดม้ ีการ
พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ท่ี
สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา
ติดตามผลการดำเนินงานและจดั ทำรายงานผลการประเมนิ ตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมนิ ไปปรับปรุง
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงาน
ต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง โดยจัดทำโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย มีการจัดสิ่งอำนวย
ความสะดวกที่จำเป็นซงึ่ เอ้ือประโยชน์ และอำนวยความสะดวกต่อการพัฒนาเด็ก ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์และ
จิตใจ สังคม และสติปัญญา คือ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และ
จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการเพื่อการจัดการเรียนรู้ เช่น จัดให้มีห้อง
คอมพิวเตอร์เพื่อให้เดก็ ได้ศึกษาหาข้อมูลทางโลกออนไลน์ โดยจัดโครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ
ให้เอือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ โครงการต่อเตมิ ปรบั ปรงุ ห้องคอมพวิ เตอรแ์ ละพฒั นาระบบอินเทอร์เน็ตสถานศกึ ษา มกี าร
จัดครูให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และเพียงพอกับชั้นเรียน ส่งเสริมพัฒนาครูด้าน
การศึกษาปฐมวัยทกุ คนให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มี
ทกั ษะในการจัดประสบการณแ์ ละการประเมนิ พฒั นาการเด็กเปน็ รายบุคคล
2.2 ผลการดำเนินงาน

โรงเรียนสามารถบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยบรรลุตามเป้าหมาย มีผลการประเมินคุณภาพภายใน
ตามมาตรฐานที่ 2 มคี า่ คะแนน 4.94 อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม

โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” ดำเนินการบริการและจัดการจัดสถานศึกษาที่ครอบคลุม
ด้านวิชาการ ด้านครูและบุคลากร ด้านสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้และด้านระบบประกันคุณภาพ
ภายใน โดยเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษามีการกำกับติดตามการดำเนินงาน
อย่างเปน็ ระบบและตอ่ เน่ืองเพอ่ื สรา้ งความม่ันใจต่อคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

- มีหลักสูตรปฐมวัยท่ียืดหยุ่นและสอดคล้องกบั หลกั สูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์
ที่ก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อม ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นเน้น
การเรยี นร้ผู ่านการเลน่ และการลงมอื ปฏิบัติดว้ ยตนเอง

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวัดทอ้ งคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1

๓๔

- มีครูประจำการที่จบการศึกษาปฐมวยั และมีครูพี่เลี้ยงที่ผ่านการอบรมทางด้านการดูแลเด็กปฐมวัย
ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องพัฒนาคุณภาพครูด้านการศึกษาปฐมวัย
อย่างตอ่ เน่ือง

- มีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียน
สง่ เสริมให้เกดิ การเรียนรทู้ ง้ั แบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมุมประสบการณแ์ ละสอ่ื การเรียนรทู้ ่หี ลากหลายที่ได้
จากธรรมชาติหรอื สือ่ ในชมุ ชน

- มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านส่ือ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณเ์ พือ่ สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์เพื่อพฒั นาครูอย่างเพยี งพอและท่วั ถงึ

- มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และ
อัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย มีการประเมนิ ผลตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ติดตามผลการดำเนนิ งานและจดั ทำ
รายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มกี ารนำผลการประเมนิ ไปปรับปรงุ พฒั นา
2.3 จุดเด่น

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเด่น คือ กระบวนการบริหารและการจัดการ
โรงเรยี นวัดทอ้ งคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์”มหี ลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ
ทอ้ งถน่ิ และส่งเสริมใหค้ รูมีความเชีย่ วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
2.4 จดุ ควรพฒั นา

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ จดุ ควรพัฒนา คอื สง่ เสรมิ ระบบบริหารคุณภาพที่
เปดิ โอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมสี ว่ นร่วม และมกี ารจัดครูใหเ้ พยี งพอกบั ช้ันเรยี น
แผนงาน / แนวทางพัฒนาคณุ ภาพให้ดขี นึ้ กวา่ เดมิ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ แนวทางพัฒนาของสถานศึกษา คือ ส่งเสริมใหค้ รู
มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และ
พอเพียงตอ่ จำนวนของนกั เรยี น มีการซอ่ มแซมสอ่ื และเทคโนโลยใี ห้มสี ภาพดี เหมาะสมต่อการใชง้ าน และให้มี
ส่งิ อำนวยความสะดวกอย่างรอบด้าน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนวัดท้องคงุ้ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1

๓๕

มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ที่เนน้ เด็กเปน็ สำคัญ
ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเยี่ยม

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ ร้อยละ ค่าคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
ระดับที่ได้ ระดบั คุณภาพ

๑ จดั ประสบการณ์ทีส่ ่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ 97.14 5 ยอดเย่ียม
ทกุ ด้านอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ

๒ สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง 98.57 5 ยอดเยี่ยม
เลน่ และปฏิบัติอยา่ งมคี วามสุข

๓ จัดบรรยากาศท่ีเออื้ ต่อการเรยี นรู้ใช้ส่อื และ 98.57 5 ยอดเย่ยี ม
เทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับวยั

๔ ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และ

นำผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรงุ 97.14 5 ยอดเย่ยี ม

การจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก

รวมเฉล่ียร้อยละระดับทีไ่ ด้ 97.85

ค่าคะแนนระดบั คุณภาพ 5

ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ียม

3.1 กระบวนการพัฒนา

3.1.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ อยู่ในระดับ

คุณภาพยอดเยี่ยม

3.1.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัติอย่างมีความสขุ อยู่ในระดับคุณภาพ

ยอดเย่ียม

3.1.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย อยู่ในระดับคุณภาพ

ยอดเยีย่ ม

3.1.4 ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด

ประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็ อยูใ่ นระดับคุณภาพยอดเยย่ี ม

โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์”จัดการศึกษาปฐมวัยในช่วงสถานการณ์โควิด 19 มีการจัด

การศกึ ษาปฐมวัยมงุ่ เน้นความสำคัญของการพฒั นาการในทุกๆ ด้าน ท้ังทางด้านร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคม

และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นการจัดประสบการณ์การ

เรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั โดยการดำเนินการตามโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรยี น เพื่อจัดประสบการณ์ใน

รปู แบบบรู ณาการการเรยี นร้ผู า่ นการเลน่ เพ่ือใหเ้ ด็กไดป้ ระสบการณ์ตรง ครูจดั บรรยากาศในชน้ั เรยี นทส่ี ง่ เสริม

ความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจ มีความ

เอ้อื เฟอ้ื เผ่อื แผ่ต่อกันและกัน ซ่งึ เป็นแรงจูงใจภายนอกท่ีกระตุ้นใหผ้ ู้เรียนอยู่ร่วมกันในชน้ั เรียนอย่างมีความสุข

และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่ผูเ้ รยี นมีการจัดบรรยากาศในห้องเรยี นท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้และพัฒนาการ

ของผู้เรียน มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัด

ประสบการณ์ เพื่อนำผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

ในช้ันเรียน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนวัดทอ้ งค้งุ “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1

๓๖

3.2 ผลการดำเนินงาน
โรงเรียนสามารถจัดการศึกษาปฐมวัยบรรลุตามเป้าหมาย มีผลการประเมินคุณภาพภายใน ตาม

มาตรฐานท่ี 3 มคี ่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเย่ยี ม
โรงเรยี นวัดทอ้ งคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” จดั การศกึ ษาปฐมวยั มุ่งเน้นความสำคัญของการพฒั นาการ

ของเด็กให้ครอบคลุมในทุก ๆ ด้าน เด็กได้ประสบการณ์ตรงในการเรียนรู้ในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู้
แบบเรียนผ่านเล่น โดยครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ครูสามารถ
สังเคราะห์ผู้เรยี นได้ดี สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้ครอบคลมุ พัฒนาการในทุกๆดา้ นให้เหมาะสมกบั
วัยของเดก็ โดยการสรา้ งเคร่อื งมือต่าง ๆ เชน่

- มุมประสบการณ์
- แบบบันทกึ การพฒั นาการของเด็ก
- รายงานผลการประเมนิ ตนเอง
- บรรยากาศ ห้องเรยี นแจ่มใส มีมุมสง่ เสริมประสบการณก์ ารเรียนรู้
- การจดั กจิ วัตรประจำวนั
3.3 จุดเดน่
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเด่น คือ สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รับประสบการณ์
ตรง เล่น และปฏิบตั ิอยา่ งมีความสุข และจดั บรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ
วยั
3.4 จุดที่ควรพฒั นา
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการบริหารและการจัดการ จุดควรพัฒนา คือ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้
เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ และประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการ
ประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก
3.5 แผนงาน/ แนวทางพัฒนาคณุ ภาพใหด้ ขี ึ้นกวา่ เดมิ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการบริหารและการจัดการ แนวทางพัฒนาของสถานศึกษา คือ ครูควรจัด
อุปกรณ์สื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย ประเมินพัฒนาการของเด็กและบันทึกพัฒนาการของเด็กอย่าง
ต่อเนื่อง พัฒนาเคร่ืองเล่นสนาม และระบบสาธารณปู โภค

สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมระดบั การศึกษาปฐมวัย
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยู่ในระดับ : ยอดเย่ยี ม

ดา้ นคณุ ภาพของเด็ก โรงเรยี นมีผลการประเมินคณุ ภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ 1 มีคา่ คะแนน 5 อยู่
ในระดบั คณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม เนื่องจากโรงเรยี นวดั ท้องคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” มีกระบวนการพัฒนาการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ online, on-site, on-hand และ on-demand ในช่วงสถานการณ์โควิด 19
มีการใช้ Google classroom, Google meet รวมถึงการสอนแบบบูรณาการและใบกิจกรรมมาช่วยใน
กระบวนการเรยี นการสอน มีสื่อการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมเพื่อส่งเสรมิ พัฒนาการของผู้เรียน โดยใช้
โปรแกรมต่างๆ เช่น PowerPoint, you tube และ Google forms ในการวัดและประเมินของผู้เรียน มีการ
จัดทำโครงการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน โดยพัฒนาการด้านร่างกาย ซึ่ง
ประกอบด้วย บันทึกการแปรงฟัน บันทึกน้ำหนักส่วนสูง บันทึกการตรวจร่างกาย บันทึกการดื่มนม จัดทำ
โครงการส่งเสริมศกั ยภาพผู้เรียน โครงการอาหารกลางวนั โรงเรยี นจัดให้เด็กไดร้ ับประทานอาหารทีส่ ะอาด ถูก
สุขลักษณะ ปรมิ าณเหมาะสมตามวยั มีการควบคุมดแู ลให้เด็กด่ืมนมเป็นประจำทุกวันอย่างสม่ำเสมอ มีการช่ัง
น้ำหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 4 ครั้ง โรงเรียนจัดหา อุปกรณ์ ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความปลอดภัย

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564

โรงเรยี นวดั ท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค”์ สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๓๗

สะดวก พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา ไม่มีจุดที่เป็นอันตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภยั
ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ฝกึ ใหผ้ เู้ รียนมีการแสดงออกทางอารมณ์เหมาะสมตามวยั ใหร้ จู้ กั ควบคุมอารมณ์ของตนเอง
มีมารยาทที่ดี ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ขอบคุณ สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง ด้านสังคม ช่วยเหลือ
ตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ปลูกฝังให้เด็กรู้จักประเพณีวัฒนธรรม ด้วยกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
กตัญญูรคู้ ุณบดิ า มารดา ครู โดยจดั กจิ กรรมวันสำคญั ของชาติ กิจกรรมวนั สำคัญทางพระพุทธศาสนา เชน่ วัน
พ่อ วันแม่ วันไหว้ครู วันเข้าพรรษา ปลูกฝังให้เด็กมีคุณธรรมจริยธรรม โรงเรียนได้ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ
ด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ โดยการเข้าร่วมโครงการบ้าน
นักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย ทำให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ คิด
วิเคราะห์ รูจ้ ักแก้ปัญหา และกจิ กรรมไฮสโคปโดยเด็กไดล้ งมือปฏบิ ตั ิกิจกรรมผ่านมุมประสบการณ์ในห้องเรียน
ที่หลากหลายมีการวางแผน ลงมือทำ และทบทวนผ่านกระบวนการ Plan Do Review ตามทฤษฎีของเพีย
เจย์ (Piage’s Theory) ส่งผลให้ผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกายของเด็ก มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับ
คุณภาพยอดเยี่ยม โดยเด็กมีสมรรถภาพทางกาย น้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหว และสุข
นิสัยในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสมตามช่วงวัย นอกจากนี้เด็กนักเรียนยังสามารถหลีกเลี่ยงต่อ
สภาวะความเสี่ยงต่าง ๆ อาทิ โรค อุบัติเหตุ ภัย สิ่งเสพติด ผลการประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม โดยเด็กนักเรียนมีพัฒนาการด้านสุนทรียภาพทางอารมณ์ที่ดี มี
ความมั่นใจ และกล้าแสดงออกได้อย่างเหมาะสมตามช่วงวัย สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมรอบ ๆ ตัว
ได้ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น รู้จักมีน้ำใจ แบ่งปัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ผลการประเมินพัฒนาการด้านสังคม
มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม เด็กมีพัฒนาการด้านพฤติกรรมทางสังคมที่ดี มีวินัย รับผิดชอบ
เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ผลการประเมินพัฒนาการด้าน
สติปัญญา มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม ส่งผลให้เด็กนักเรียนมีกระบวนการคิดอย่างเป็น
ระบบ โดยสามารถเช่ือมโยงความคิดทีเ่ กิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ นำไปสพู่ ฤตกิ รรมท่ีคาดหวังได้ สามารถ
ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างสมเหตุสมผล สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ มีทักษะ
การใช้ภาษาสื่อสารที่เหมาะสมตามช่วงวัย มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง มีทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ มีจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรียนสามารถบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยบรรลุตาม
เป้าหมาย มีผลการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ 2 มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
เนื่องจากการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” ได้มีการกำหนดเป้าหมาย
วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีองค์ประกอบที่สำคัญเพื่อที่จะขับเคลื่อนการศึกษา
ระดบั ปฐมวยั ได้แก่ การพฒั นาวิชาการทีเ่ นน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ได้มีการ
พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่
สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา
ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มีการนำผล
การประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งรายงานผลการประเมิน
ตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเน่ือง โดยจัดทำโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย มีการ
จดั สง่ิ อำนวยความสะดวกที่จำเป็นซึ่งเอ้ือประโยชน์ และอำนวยความสะดวกต่อการพัฒนาเด็ก ท้ังด้านร่างกาย
อารมณ์และจิตใจ สังคม และสตปิ ญั ญา คอื จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการเพื่อการจัดการเรียนรู้ เช่น จัดให้มีห้อง
คอมพิวเตอร์เพื่อใหเ้ ดก็ ได้ศึกษาหาข้อมูลทางโลกออนไลน์ โดยจัดโครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ
ใหเ้ อื้อตอ่ การเรียนรู้ โครงการต่อเติมปรับปรุงหอ้ งคอมพิวเตอรแ์ ละพัฒนาระบบอนิ เทอรเ์ นต็ สถานศกึ ษา มกี าร

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564

โรงเรยี นวดั ท้องคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1

๓๘

จัดครูให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และเพียงพอกับชั้นเรียน ส่งเสริมพัฒนาครูด้าน
การศึกษาปฐมวยั ทกุ คนให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มี
ทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล ส่งผลให้ ผลการประเมินการมี
หลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นมีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพ
ยอดเยี่ยม ผลการประเมินการจัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียนมีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม ผล
การประเมินการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพ
ยอดเยยี่ ม ผลการประเมนิ การจัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพอ่ื การเรยี นรู้อย่างปลอดภัยและเพยี งพอมีค่าคะแนน
5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม ผลการประเมินการให้บริการส่ือ เทคโนโลยี และสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนนุ
การจัดประสบการณ์มคี ่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม ผลการประเมินการมีระบบบริหารคณุ ภาพ
ท่ีเปดิ โอกาสให้ผูเ้ กยี่ วข้องทกุ ฝ่ายมสี ่วนรว่ มมคี ่าคะแนน 5 อยใู่ นระดบั คุณภาพยอดเย่ียม

ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โรงเรียนสามารถจัดการศึกษาปฐมวัยบรรลุตาม
เป้าหมาย มีผลการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ 3 มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพ
ยอดเยี่ยม เนื่องจากโรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์”จัดการศึกษาปฐมวัยในช่วงสถานการณ์โควิด
19 มีการจัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย
อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นการ
จัดประสบการณ์การเรียนรทู้ เี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ โดยการดำเนินการตามโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน เพ่ือ
จดั ประสบการณ์ในรูปแบบบูรณาการการเรยี นร้ผู ่านการเลน่ เพอ่ื ใหเ้ ด็กได้ประสบการณต์ รง ครูจัดบรรยากาศ
ในชั้นเรียนท่ีส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเห็นอกเหน็ ใจ
มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกันและกัน ซึ่งเป็นแรงจูงใจภายนอกที่กระตุน้ ใหผ้ ู้เรียนอยู่ร่วมกันในชั้นเรียนอยา่ งมี
ความสุข และปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม ให้แก่ผู้เรียนมกี ารจัดบรรยากาศในห้องเรียนท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้และ
พัฒนาการของผู้เรียน มีมุมส่งเสริมประสบการณก์ ารเรียนรู้ มีการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการ
จัดประสบการณ์ เพื่อนำผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนและพัฒนาการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้ในชั้นเรียน ผลการประเมินการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม
ศักยภาพ มีค่าคะแนน 5 อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม ผลการประเมินการสร้างโอกาสให้เด็กได้รับ
ประสบการณ์ตรงผา่ นการเลน่ และปฏิบัติอย่างมีความสขุ มคี ่าคะแนน 5 อยู่ในระดบั คณุ ภาพยอดเยีย่ ม ผลการ
ประเมินการจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย มีค่าคะแนน 5 อยู่ใน
ระดับคุณภาพยอดเยี่ยม ผลการประเมินการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมิน
พัฒนาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการจดั ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก มีคา่ คะแนน 5 อยใู่ นระดับคุณภาพยอดเยีย่ ม

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1

๓๙

สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาปฐมวัย ระดบั แปลผล
คณุ ภาพ
มาตรฐาน ยอดเย่ียม
5
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเด็ก ยอดเยย่ี ม
๑.๑ มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มสี ขุ นสิ ัยทด่ี ีและดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ 5 ยอดเยี่ยม
๑.๒ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 5 ยอดเยี่ยม
๑.๓ มีพัฒนาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของสงั คม 5 ยอดเยีย่ ม
๑.๔ มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา สอ่ื สารได้ มีทกั ษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้ 5 ยอดเยี่ยม
5 ยอดเยี่ยม
รวมมาตรฐานท่ี ๑ ๕ ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๕ ยอดเยี่ยม
๒.๑ มหี ลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการท้งั 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของทอ้ งถิน่ 5
๒.๒ จดั ครูให้เพยี งพอกับชน้ั เรียน ยอดเยยี่ ม
๒.๓ ส่งเสริมให้ครมู คี วามเช่ยี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ ๕
๒.๔ จัดสภาพแวดลอ้ มและส่อื เพือ่ การเรยี นรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ยอดเยย่ี ม
5
๒.๕ ใหบ้ ริการส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และส่ือการเรยี นรเู้ พอื่ สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์ ยอดเยี่ยม
5
๒.๖ มรี ะบบบริหารคณุ ภาพทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผเู้ กยี่ วข้องทกุ ฝา่ ยมีสว่ นร่วม ยอดเยี่ยม
รวมมาตรฐานที่ ๒ 5
ยอดเย่ียม
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเป็นสำคญั 5 ยอดเย่ียม
๓.๑ จัดประสบการณท์ ่ีส่งเสริมให้เดก็ มีพัฒนาการทกุ ดา้ นอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ ยอดเยย่ี ม
5 ยอดเย่ยี ม
๓.๒ สรา้ งโอกาสให้เดก็ ไดร้ บั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ยา่ งมีความสุข 5
5
๓.๓ จัดบรรยากาศท่เี อื้อตอ่ การเรียนร้ใู ชส้ ือ่ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวยั
๓.๔ ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไป 5 ยอดเยี่ยม
ปรบั ปรงุ การจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก 5 ยอดเยี่ยม

รวมมาตรฐานท่ี ๓ 5 ยอดเย่ียม
5 ยอดเย่ียม
สรปุ ผลการประเมนิ ในของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวัดทอ้ งคงุ้ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1

๔๐

ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

มาตรฐานการศกึ ษา คา่ คะแนน ระดบั คุณภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก 5 ยอดเยีย่ ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 5 ยอดเยยี่ ม
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เป็นสำคญั 5 ยอดเย่ียม
5 ยอดเย่ียม
สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน
ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเย่ียม
1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ ๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ

จำนวน จำนวน ร้อยละ คา่ คะแนน
นักเรยี น ระดบั ระดบั
มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี นกั เรยี นที่ ทง้ั หมด ทไ่ี ด้ คุณภาพ ระดบั
ผา่ นเกณฑ์ คุณภาพ
1,497
การประเมิน
1,497
(๑) ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการอา่ น 1,469 98.13 5 ยอดเยี่ยม
การสอื่ สารตามเกณฑข์ องแต่ละระดับชน้ั 1,497

(2) ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการเขียน 1,469 98.13 5 ยอดเยย่ี ม
ตามเกณฑข์ องแต่ละระดบั ชนั้

(3) ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการคิด 1,469 98.13 5 ยอดเยย่ี ม
คำนวณตามเกณฑ์ของแตล่ ะระดบั ช้นั
98.13
รวมเฉลีย่ ร้อยละระดับทไ่ี ด้ 5

คา่ คะแนนระดบั คุณภาพ ยอดเย่ียม

ระดบั คุณภาพ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวดั ท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” สพป.ชลบุรี เขต 1

๔๑

ตัวบ่งช้ี 2) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคดิ เหน็
และแก้ปญั หา

มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี จำนวน จำนวน ร้อยละ ค่าคะแนน ระดบั
นกั เรียนที่ นักเรียน ระดับ ระดบั คณุ ภาพ
(๑) ผเู้ รยี นมีความสามารถในการคดิ ผา่ นเกณฑ์ ทั้งหมด ทไ่ี ด้ คุณภาพ
วิเคราะห์ การประเมนิ
(๒) ผูเ้ รียนมีความสามารถในการคิด 1,497 98.13 5 ยอดเยี่ยม
อยา่ งมีวิจารณญาณ 1,469
(3) ผ้เู รียนมีความสามารถในการ
อภปิ ราย แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นกัน 1,469 1,497 98.13 5 ยอดเย่ยี ม
(4) ผูเ้ รียนมีความสามารถในการคิด
แกป้ ัญหา 1,469 1,497 98.13 5 ยอดเยี่ยม
รวมเฉลย่ี ร้อยละระดบั ทไ่ี ด้
คา่ คะแนนระดับคุณภาพ 1,469 1,497 98.13 5 ยอดเยี่ยม
ระดับคณุ ภาพ
98.13
5

ยอดเยี่ยม

ตวั บ่งช้ี 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ จำนวน จำนวน รอ้ ยละ คา่ คะแนน ระดับ
นักเรียนที่ นักเรยี น ระดบั ระดบั คุณภาพ
(๑) ผูเ้ รียนมีความสามารถในการคดิ ผ่านเกณฑ์ ท้งั หมด ท่ไี ด้ คุณภาพ
สร้างสรรคแ์ ละสรา้ งนวตั กรรม การประเมิน
รวมเฉลี่ยร้อยละระดบั ท่ไี ด้
คา่ คะแนนระดับคณุ ภาพ 1,469 1,497 98.13 5 ยอดเยีย่ ม
ระดบั คณุ ภาพ
98.13
5

ยอดเยี่ยม

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนวดั ท้องคงุ้ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๔๒

ตัวบ่งชี้ 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร

มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี จำนวน จำนวน ร้อยละ ค่าคะแนน ระดบั
นกั เรียนที่ นกั เรียน ระดบั ระดับ คณุ ภาพ
(๑) ผเู้ รยี นสามารถใชเ้ ทคโนโลยี ผา่ นเกณฑ์ ทั้งหมด ที่ได้ คุณภาพ
ในการบรหิ ารจัดการเรยี น การทำงาน การประเมิน
และพฒั นาตนเองได้
(2) ผู้เรยี นสามารถใช้เทคโนโลยี 1,469 1,497 98.13 5 ยอดเย่ยี ม
สารสนเทศในการส่ือสารข้อมูลได้
รวมเฉล่ียร้อยละระดับทีไ่ ด้ 1,469 1,497 98.13 5 ยอดเย่ยี ม
ค่าคะแนนระดบั คณุ ภาพ
ระดบั คณุ ภาพ 98.13
5

ยอดเยี่ยม

ตวั บง่ ชี้ 5) มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ จำนวน จำนวน ร้อยละ คา่ คะแนน ระดบั
นกั เรียนที่ นักเรยี น ระดับ ระดับ คณุ ภาพ
(๑) ผู้เรยี นมีความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ ผ่านเกณฑ์ ท้งั หมด ที่ได้ คุณภาพ
ตามหลักสตู รสถานศึกษาจากพื้นฐาน การประเมนิ
เดิม ในดา้ นความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ 1,497 98.13 5 ยอดเยย่ี ม
กระบวนการต่าง ๆ 1,469
(2) คา่ เฉลย่ี ผลการทดสอบระดบั ชาติ 258 73.26 4 ดีเลิศ
ของผเู้ รยี นระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ 189
และมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ มีพัฒนาการ
สูงขนึ้ หรือคุณภาพเป็นไปตามเป้าหมาย 85.70
รวมเฉลย่ี ร้อยละระดบั ท่ไี ด้ 5
คา่ คะแนนระดบั คณุ ภาพ
ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นวัดทอ้ งคุง้ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค์” สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๔๓

ตวั บง่ ชี้ 6) มีความรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ งานอาชีพ

จำนวน จำนวน ร้อยละ คา่ คะแนน
นกั เรียน ระดับ ระดบั
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ นักเรียนที่ ทงั้ หมด ท่ไี ด้ คุณภาพ ระดบั
ผ่านเกณฑ์ คุณภาพ
1,497
การประเมนิ
1,497
(๑) ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะพืน้ ฐานในการ 1,469 98.13 5 ยอดเยี่ยม
ดำรงชวี ิต รจู้ กั การอดออมและพอเพียง 1,497

(2) ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการ

ประกอบอาชีพของท้องถ่ินตนเองและ 1,469 98.13 5 ยอดเยย่ี ม

รู้จักนำผลผลิตนัน้ มาสรา้ งให้เกดิ รายได้

(3) ผู้เรียนมเี จตคติที่ดตี ่องานอาชพี ทีต่ น 1,469 98.13 5 ยอดเยี่ยม
สนใจ
98.13
รวมเฉลีย่ ร้อยละระดบั ท่ีได้ 5

ค่าคะแนนระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม

ระดับคุณภาพ

1.2 คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผเู้ รียน

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ จำนวน จำนวน รอ้ ยละ คา่ คะแนน ระดับ
นกั เรยี นท่ี นกั เรยี น ระดับ ระดบั คณุ ภาพ
(๑) การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมท่ดี ี ผา่ นเกณฑ์ ท้ังหมด ทไ่ี ด้ คณุ ภาพ
ตามทส่ี ถานศึกษากำหนด การประเมนิ
(2) ความภูมิใจในท้องถนิ่ และความเป็น 1,469 1,497 98.13 5 ยอดเยี่ยม
ไทย
(3) การยอมรับที่จะอย่รู ่วมกันบน 1,469 1,497 98.13 5 ยอดเยี่ยม
ความแตกต่างและหลากหลาย
(๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม 1,469 1,497 98.13 5 ยอดเยย่ี ม
รวมเฉล่ยี ร้อยละระดับทไี่ ด้ 1,469 1,497 98.13
คา่ คะแนนระดบั คณุ ภาพ 5 ยอดเยย่ี ม
ระดบั คุณภาพ 98.13

5
ยอดเยี่ยม

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1

๔๔

สรุปมาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู้ รียน

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ร้อยละ คา่ คะแนน ระดบั
ระดับ ระดบั คณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเ้ รียน ทไี่ ด้ คุณภาพ
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรียน
๑.๒ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผเู้ รียน 96.06 5 ยอดเยี่ยม
รวมเฉล่ยี ร้อยละระดับทไี่ ด้ 98.10 5 ยอดเยีย่ ม
ค่าคะแนนระดับคุณภาพ 97.08
ระดับคณุ ภาพ 5
ยอดเยี่ยม

1.1 กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนวัดท้องคุ้ง “ไพโรจน์ประชาสรรค์” มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย

เนื่องจากสถานการณ์ Covid-19 รอบปีการศึกษาที่ผ่านมาทำให้โรงเรียนไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้
ปกติตามรูปแบบเดิม ซึ่งทางโรงเรียนได้ปรับรูปแบบช่องทางการศึกษาเพื่อให้เข้าถึงนักเรียนทุกคน
ในทุกช่องทางที่สามารถทำได้ ไม่ว่าจะเป็น รูปแบบ Online , Onsite , On demand เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความรู้ เต็มศักยภาพตามหลักสูตรกำหนด และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการกำหนด
แนวทางในการพัฒนาทักษะกระบวนการเรยี นรู้ทีส่ ่งผลต่อพัฒนาการของผลการทดสอบระดับชาติของทุกกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และมีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศให้อยู่ในระดับคุณภาพดีข้ึน
พร้อมทั้งมีพัฒนาการความสามารถด้านภาษา คิดวิเคราะห์ คำนวณ เหตุผล การแก้ปัญหา ดีขึ้นอย่างเต็ม
ศักยภาพ เนื่องมีการระดมความคิดของครูในการวิเคราะห์ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับการแบบทดสอบระดับชาติ
ในการจดั ทำการเรียนการสอน และออกแบบการจดั การเรียนรู้ กิจกรรมท่ีเหมาะสมกบั ผูเ้ รยี น พรอ้ มให้ทำแบบ
ฝึกทีม่ ีลกั ษณะการคิดที่เทียบเคียงกับข้อสอบ (O-NET) และ NT มาใหผ้ ู้เรยี นฝกึ ฝนอยา่ งต่อเนื่อง นอกจากนี้ยัง
มีการจัดการเรียนรู้ท้ังรูปแบบ STEM กระบวนการใชป้ ัญหาเปน็ หลัก เน้นการลงมอื ปฏิบัตจิ ริง การเรียนรู้แบบ
สาธิต แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลัก โดยพัฒนากระบวนการ
เรียนการสอนผ่านกระบวนการการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (Professional Learning
Community : PLC) และกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning และเน้นเรื่องการอ่านออกเขียน
ได้ เป็นเรื่องสำคัญที่สุด โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกเขียนได้ตั้งแต่ชั้น ป.1 พัฒนาครูทุกคนให้มี
ความสามารถในการนำเทคนิควธิ สี อนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน
มีแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องเรียน SMART
CLASSROOM ครูเน้นการใช้คำถามเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน ครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ร่วมกัน
กำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลแบบบูรณาการ และมีการดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะ
ชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขเน้นการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับวัย
ของผู้เรียน โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมทุกระดับชั้น จัดกิจกรรมการพัฒนาให้เหมาะสมกับวัย พัฒนา
คุณธรรมผู้เรียนตามหลักสูตร เน้นให้ผูเ้ รียนมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ และมีการแนะแนว
และดูแลสุขภาวะจติ โดยครูประจำชั้น มีการเรียนรู้ในโลกกว้างให้นักเรยี นในทุกระดับชั้นเรียนเพือ่ ให้เกิดความ
กวา้ งไกลทาง

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นวดั ท้องคงุ้ “ไพโรจนป์ ระชาสรรค”์ สพป.ชลบรุ ี เขต 1

๔๕

1.2 ผลการดำเนินงาน
1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผ้เู รียน
1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ อยู่ในระดับคุณภาพยอด

เยี่ยม
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ

แกป้ ญั หา อยใู่ นระดบั คุณภาพยอดเยย่ี ม
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม อยใู่ นระดับคณุ ภาพยอดเยีย่ ม
4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อยู่ในระดับคุณภาพ

ยอดเยี่ยม
5) มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา อยใู่ นระดับคณุ ภาพยอดเยย่ี ม
6) มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคติที่ดตี อ่ งานอาชีพ อยู่ในระดบั คุณภาพยอดเยยี่ ม
1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผเู้ รยี น
1) การมีคณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ตี ามท่สี ถานศกึ ษากำหนด อย่ใู นระดับคุณภาพยอดเยย่ี ม
2) ความภมู ใิ จในท้องถ่นิ และความเป็นไทย อยูใ่ นระดับคุณภาพยอดเย่ียม
3) การยอมรับทีจ่ ะอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย อยู่ในระดับคณุ ภาพยอดเยย่ี ม
4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม อยใู่ นระดบั คุณภาพยอดเย่ยี ม
โครงการส่งเสริมคุณภาพวิชาการ เป็นการจัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการเรียนการ

สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น โดยครูได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ประสบการณ์การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน เพื่อให้ได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
ให้กับผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง มีการบูรณาการกิจกรรมต่าง ๆ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในแผนการจัดการ
เรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ นอกจากนั้นยังจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้กับผู้เรียนได้มีทักษะชีวิต เช่น
กจิ กรรมส่งเสริมกฎจราจร กจิ กรรมแนะแนว ลกู เสอื ชมุ นมุ ทน่ี ักเรียนสนใจ

โครงการส่งเสริมคุณภาพการอ่านรู้เรื่องและสือ่ สารได้ ส่งเสริมผู้เรียนในระดับชั้น ป.1 – ม.3 ได้อ่าน
รู้เรื่องส่ือสารไดด้ ี และผู้เรียนไดร้ บั การพฒั นาคณุ ภาพการอา่ นให้อยู่ในระดับดีขนึ้ ไปอกี ข้นั

โครงการส่งเสริมคุณภาพการเขียนและเขียนสื่อความได้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเขียนเป็น มีพัฒนาการ
ทางด้านลายมือตามความพร้อมและเต็มศักยภาพอย่างทั่วถึง เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดง
ความสามารถดา้ นการคัดลายมอื ใหเ้ ป็นทป่ี รากฏ

โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา ประจำปี 2564 เป็นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้ผู้เรียนมี
ผลสัมฤทธิใ์ นการทดสอบระดบั ชาตไิ ดด้ ีข้นึ รอ้ ยละ 3 ตามทโี่ รงเรียนกำหนด

กิจกรรมพฒั นาคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เปน็ การจดั กจิ กรรมทีโ่ รงเรียนได้จดั ทำข้ึนเพือ่ พฒั นาผู้เรียน
ให้ปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำและผู้ตามท่ีดี มีความมั่นใจ ใฝ่เรียนรู้ การให้เกียรตผิ ูอ้ ื่นแบบมีคุณธรรม จริยธรรม
ตามคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

กิจกรรมแข่งขันทางวชิ าการ โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการแข่งขันทางวิชาการ ดังนี้ กิจกรรมคัด
ลายมือ กิจกรรมสัปดาห์วันภาษาไทย กจิ กรรมสัปดาหว์ ันวิทยาศาสตร์ กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ กิจกรรมวัน
สุนทรภู่ กิจกรรมวนั แม่ กิจกรรมวนั คริสตม์ าส กิจกรรมสภานกั เรยี น เป็นต้น

กิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน โดยโรงเรียนได้จัดการดูแลในการเลือกอาหารที่ดีมีประโยชน์ เพ่ือ
คุณภาพชีวิตของผู้เรียนให้มีสุขภาพตามเกณฑ์ ซึ่งกิจกรรมที่จัดนี้มีประโยชน์ต่อสุขภาพของผู้เรียนโดยตรง
สามารถแกป้ ญั หาสขุ ภาพของผเู้ รยี นท่ขี าดแคลน และยากจน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564

โรงเรยี นวัดทอ้ งคุง้ “ไพโรจน์ประชาสรรค”์ สพป.ชลบุรี เขต 1


Click to View FlipBook Version