The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี2565ศวก.ที่10 อุบลราชธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rmscubon, 2022-12-01 22:53:51

รายงานประจำปี2565ศวก.ที่10 อุบลราชธานี

รายงานประจำปี2565ศวก.ที่10 อุบลราชธานี

Keywords: รายงานประจำปี2565

คำนำ

ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี เป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาค สังกัด
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กระทรวงสาธารณสุข ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตสุขภาพท่ี 10 มีพันธกิจด้านบริการตรวจ
วิเคราะห์ ศึกษาวิจัย พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีทางห้องปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และ
สาธารณสุขโดยนำมาตรฐานสากล ได้แก่ ISO 9001, ISO/IEC 17025, ISO15189, ISO 15190, ISO/IEC
17043 และ ISO/IEC 27001 มาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ประชาชน
ได้รับบริการตรวจวิเคราะห์ การถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และข้อมูลการแจ้งเตือนภัยทันสถานการณ์
ต่างๆ อยา่ งถูกต้อง แม่นยำ เพื่อให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ต่อประชาชน และสนบั สนนุ ความมั่นคง มง่ั คั่ง และยง่ั ยืน
ด้านสขุ ภาพของประเทศชาติ

รายงานประจำปี 2565 ฉบับน้ี ได้รวบรวมผลงานตามภารกิจของหน่วยงาน
การสนับสนุนเครือข่ายในพื้นที่รับผิดชอบ และกิจกรรมสำคัญต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่
และประชาสัมพันธ์การดำเนินงานที่แสดงถึงความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานของ
เจ้าหน้าที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี จนสามารถบรรลุ
เป้าประสงค์ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์และสอดคล้องตามนโยบาย
กระทรวงสาธารณสุขในรอบปีที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดีและหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
รายงานฉบับนี้ จะนำไปใช้สื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์
ต่อผทู้ สี่ นใจท้งั หน่วยงานภายในและภายนอก ตลอดจนประชาชนทวั่ ไป

สารบัญ

ขอ้ มูลทว่ั ไป หนา้

▪ ประวตั ิความเป็นมา 1
▪ พนั ธกจิ 1
▪ วสิ ยั ทศั น์ ค่านิยม 2
▪ โครงสร้าง 3
▪ คณะกรรมการบริหารศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี 4
▪ ที่ตงั้ สำนักงาน แผนท่ีสำนักงาน 5
▪ พื้นที่รบั ผิดชอบ 6
▪ อัตรากำลงั และทรัพยากรบคุ คล 7

งบประมาณ 14
15
▪ เงนิ งบประมาณที่ได้รบั จัดสรรประจำปี พ.ศ. 2565 17
▪ เงนิ งบประมาณรายจา่ ยประจำปี พ.ศ. 2565 20
▪ เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง)
พฒั นาคุณภาพและวชิ าการ 28
งานบริการ 29
▪ งานบรกิ ารตรวจวิเคราะห์ 31
▪ ดา้ นอาหาร 33
▪ ด้านยา สมุนไพร และเคร่อื งสำอาง 34
▪ ดา้ นพิษวิทยา 36
▪ ดา้ นพยาธวิ ิทยาคลินิก 39
▪ ด้านรงั สี เครื่องมือแพทยแ์ ละสอบเทียบ
งานวชิ าการ 40
⬧ ด้านพยาธวิ ิทยาคลนิ กิ
1. การตรวจการติดเชอ้ื วณั โรคด้วยวิธี Interferon Gamma Release Assay (IGRA) ใน 41
42
บคุ ลากรทางการแพทย์ของเขตสขุ ภาพท่ี 10 ระหว่างปี พ.ศ. 2562-2563
2. อบุ ตั ิการณ์การติดเชื้อเอชไอวีจากแม่ส่ลู ูก ในเขตสขุ ภาพท่ี 10 ปี งบประมาณ 2559-2564
3. การทดสอบความชำนาญทางห้องปฏบิ ตั กิ ารตรวจภาวะตัง้ ครรภ์ในปัสสาวะดว้ ยแถบ

ทดสอบในพ้นื ท่เี ขตสุขภาพท่ี 7 ถงึ เขตสขุ ภาพท่ี 13

สารบญั (ตอ่ ) 43

⬧ ดา้ นยา สมุนไพร และเคร่ืองสำอาง 44
4. สถานการณ์การปลอมปนสารออกฤทธลิ์ ดนำ้ หนักในผลติ ภณั ฑเ์ สริมอาหารที่จำหนา่ ยใน 45

รา้ นคา้ และจำหนา่ ยผ่านทางออนไลน์ 46
5. ปรมิ าณแอลกอฮอลใ์ นเคร่ืองสำอางท่ีมสี ่วนผสมของแอลกอฮอลเ์ พ่ือสขุ อนามยั สำหรับมือ
6. การพิสูจน์ความถกู ต้องของวิธีการตรวจวเิ คราะห์หาคลอโรฟอรม์ และไดคลอโรมเี ทนที่เจือ 47

ปนในยาน้ำแผนโบราณและเครอ่ื งดมื่ สมนุ ไพรโดยวิธแี กส๊ โครมาโทกราฟีและตวั ตรวจวัด 48
ชนิดเฟรมอิออไนเซชัน
⬧ ด้านอาหาร 49
7. การใช้วัตถเุ จือปนอาหารในน้ำปลาร้าปรงุ รส ในเขตสขุ ภาพที่ 10 และแหล่งจำหน่าย 50
ออนไลน์ 51
8. ปรมิ าณฟอรม์ าลดีไฮด์อสิ ระของอาหารกล่มุ ปลาหมึก ปลาหมึกแช่ดา่ ง และสไบนาง ในเขต
สขุ ภาพที่ 10 52
9. การประเมินความเส่ยี งการได้รบั สัมผัสกรดเบนโซอกิ และกรดซอร์บกิ จากการบริโภค
น้ำพริกในเขตสุขภาพที่ 10 53
10. กระบวนการสกัดใหม่สำหรบั วิเคราะห์สารเคมีกำจัดแมลงกลุ่มคาร์บาเมตตกค้างในผกั
11. นวัตกรรรม “กระบวนการวิเคราะห์สารเคมกี ำจัดแมลงตกค้างในผักและผลไม้” 58
12. คุณภาพน้ำดื่มประชารัฐในจังหวัดอบุ ลราชธานี ศรีสะเกษ และอำนาจเจริญ 59
⬧ ด้านพิษวิทยา 65
13. สารเคมปี ้องกันกำจดั ศัตรูพชื ตกคา้ งในพริกทจ่ี ำหนา่ ยในเขตสุขภาพท่ี 10 67
⬧ ดา้ นรังสี เครอ่ื งมอื แพทย์ และสอบเทียบ 94
14. การประเมนิ ความเขม้ ของสนามแมเ่ หล็กไฟฟ้าจากสถานฐี านโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีในเขต
อำเภอเมืองอบุ ลราชธานี จงั หวัดอุบลราชธานี
ภาคผนวก
▪ การพฒั นาบุคลากรดา้ นบริหารและดา้ นวชิ าการ
▪ องค์กรคณุ ธรรม
▪ ภาพกจิ กรรม
▪ คณะทำงาน

ประวัติความเปน็ มา
ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี

ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางระดับกอง ท่ีมีสถานท่ี
ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค สังกัดกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วน
ราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2535 โดยเร่ิมดำเนินการก่อสร้าง เม่ือวนั ที่ 26
พฤศจิกายน 2533 และแลว้ เสร็จเม่ือวันที่ 4 กมุ ภาพันธ์ 2535 ในวงเงินงบประมาณ 29,800,000.00 บาท บน
เนอ้ื ที่ 16 ไร่ 2 งาน ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ไดร้ ับอนมุ ัติใชท้ ดี่ ินสาธารณประโยชน์ดงคำอ้อ จากสำนักงาน
จังหวัด ตามมาตรา 8 และ 9 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน หมายเลขแปลงที่ 25 ปัจจุบันมีเนื้อที่ 17 ไร่ 3 งาน
36.9 ตารางวา ณ เลขที่ 82 หมทู่ ี่ 11 ถนนคลังอาวธุ ตำบลขามใหญ่ อำเภอเมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานี และเปิด
ดำเนินการ เมื่อวันท่ี 1 เมษายน 2535 โดยมีเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี
ศรสี ะเกษ ร้อยเอ็ด นครพนม ยโสธร อำนาจเจรญิ และมุกดาหาร

ต่อมามีการปรับเปลี่ยนชื่อ และกำหนดเขตพื้นที่รับผิดชอบ ตามพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และคำสั่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จนถึงปัจจุบัน กำหนดให้ศูนย์วิทยาศาสตร์
การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี รับผิดชอบพื้นที่ของเขตสุขภาพที่ 10 ได้แก่ จังหวัดอุบล ราชธานี ศรีสะเกษ
ยโสธร อำนาจเจริญ และมุกดาหาร

พันธกจิ

ตามกฎกระทรวง แบ่งสว่ นราชการกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2552
กำหนดใหศ้ ูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

1. พัฒนาระบบการตรวจวิเคราะห์ และให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สมนุ ไพร และการชนั สูตรโรค

2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีทางห้องปฏิบัติการด้านวิชาการด้าน
ผลิตภณั ฑ์ สขุ ภาพ สมนุ ไพร และการชันสตู รโรค เพ่อื ควบคุมคณุ ภาพและความปลอดภัยตามกฎหมาย

3. เป็นหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารอา้ งอิงด้านผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ สมุนไพร และการชันสตู รโรค
4. พัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการ สนับสนุนด้านวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการตรวจวิเคราะห์และ

ชนั สตู รแกห่ อ้ งปฏบิ ตั ิการเครอื ข่าย หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภาครัฐและเอกชน
5. ปฏบิ ัตงิ านร่วมกับหรือสนบั สนุนการปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอ่ืนทเี่ กี่ยวขอ้ ง หรือทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

-1-

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี

วสิ ัยทศั น์

ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี เป็นหน่วยงานราชการสว่ นกลาง ทมี่ ีสถานที่ตั้งอยู่ใน
เขตพืน้ ที่ จงึ ยดึ ม่ันตาม วสิ ยั ทัศน์ และค่านิยม ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คือ

วิสัยทัศน์ : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นองค์การชั้นนำด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และ
สาธารณสขุ 1 ใน 3 ของเอเชยี ภายในปี พ.ศ. 2565

คา่ นิยม

คา่ นิยมกระทรวงสาธารณสขุ

ค่านยิ มกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

-2-

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

โครงสร้าง
ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

อธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

ผอู้ ำนวยการ

รอรรองอผงผงู้อผู้อำู้อนำำนวนวยวยกยกากราารร

ฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป กลมุ่ พัฒนาคณุ ภาพ
และวิชาการ

กลุ่มงานอาหาร กลุม่ งานยา สมุนไพร กลมุ่ งานรงั สี
และเครือ่ งสำอาง เคร่อื งมือแพทย์ และสอบเทียบ

กลุ่มงานพยาธวิ ทิ ยาคลนิ กิ กล่มุ งานพิษวิทยา

-3-

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

คณะกรรมการบรหิ ารศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

นางมธรุ ส ทาทอง
ผอู้ ำนวยการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

นางพัชราภรณ์ เกยี รตินิติประวตั ิ นางสาวภณดิ า รัตนานกุ ูล นางขวญั ใจ วงั คะฮาต
นักวทิ ยาศาสตร์การแพทยช์ ำนาญการ เภสชั กรชำนาญการ นกั เทคนคิ การแพทยช์ ำนาญการ

รองผู้อำนวยการดา้ นบรหิ าร รองผู้อำนวยการด้านวชิ าการ รองผู้อำนวยการด้านบรกิ าร
หวั หน้ากลมุ่ งานอาหาร หวั หนา้ กลุ่มงานยา สมนุ ไพรและเครือ่ งสำอาง หัวหน้ากลุม่ งานพยาธวิ ทิ ยาคลินิก

นางศุภวรรณ เกตอุ นิ ทร์ นางโชตกิ า องอาจณรงค์ นายพรี พงษ์ แสงประดับ นายสทุ ิศ จนั ทร์พันธ์
นกั ฟสิ กิ ส์รงั สชี ำนาญการ นกั เทคนคิ การแพทยช์ ำนาญการพเิ ศษ
นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ชำนาญการพเิ ศษ นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ชำนาญการพเิ ศษ หัวหนา้ กลมุ่ งานรังสี เคร่อื งมือแพทย์

หวั หนา้ กลมุ่ พฒั นาคณุ ภาพและวิชาการ หัวหนา้ กลมุ่ งานพิษวทิ ยาและวัตถอุ นั ตราย และสอบเทยี บ

นางสาวอตินชุ นารถน้ำพอง นางกนกวรรณ มจุ รนิ ทร์ นางประคอง นิลวเิ ชยี ร นางวิภาวดี รากแกน่
นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยช์ ำนาญการพเิ ศษ เภสัชกรชำนาญการ นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยช์ ำนาญการ นักวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ชำนาญการ

-
หัวหน้าฝา่ ยบรหิ ารทั่วไป

-4-

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

ทตี่ ้ังสำนักงาน

ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี
เลขที่ 82 หมู่ 11 ถนนคลังอาวุธ ตำบลขามใหญ่ อำเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี 34000

โทรศัพท์ 0 4531 2232-4 โทรสาร ต่อ 150
Regional Medical Sciences Center 10 Ubonratchathani
82, Moo 11, Khlang Awut Rd., Kham Yai, Mueang Ubon Ratchathani,

Ubon Ratchathani 34000, Thailand
Telephone 0 4531 2232-4 Fax Ext. 150
Website: http://rmsc10.dmsc.moph.go.th
Face book: https://www.facebook.com/rmscubon
Email: [email protected], [email protected]

แผนทสี่ ำนักงาน

-5-

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

พ้นื ที่รบั ผดิ ชอบ

ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี รบั ผดิ ชอบพ้ืนที่ 5 จังหวัด
ได้แก่ อุบลราชธานี ศรสี ะเกษ อำนาจเจรญิ ยโสธร และมุกดาหาร

-6-

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

อตั รากำลังและทรพั ยากรบุคคล

จำแนกตามประเภทและตำแหนง่

ตำแหนง่ กรอบ มอี ยจู่ รงิ

ขา้ ราชการ 1
4
ผอู้ ำนวยการ 1 1
16
นักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชำนาญการพิเศษ 4 7
3
นกั เทคนิคการแพทย์ชำนาญการพเิ ศษ 1 1
2
นกั วิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติการ -ชำนาญการ 17 1
1
นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบตั ิการ - ชำนาญการ 7 1
38
เภสัชกรปฏบิ ัตกิ าร - ชำนาญการ 3
6
นกั ฟสิ ิกสร์ ังสชี ำนาญการ 1 1
1
นักวิชาการคอมพิวเตอรป์ ฏบิ ัตกิ าร 2 8

นกั จัดการงานทัว่ ไปปฏบิ ตั ิการ 1

เจา้ พนกั งานการเงนิ และบัญชีปฏบิ ัตงิ าน - ชำนาญงาน 2

เจ้าพนกั งานธรุ การชำนาญงาน 1

รวม 40

ลกู จา้ งประจำ

พนกั งานห้องปฏิบตั ิการ 6

พนักงานขับรถยนต์ 1

พนักงานบริการเอกสารทั่วไป 1

รวม 8

-7-

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

จำแนกตามประเภทและตำแหน่ง (ตอ่ )

ตำแหนง่ กรอบ มอี ยูจ่ รงิ

พนกั งานราชการ 11
11
นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน รวม 1-
นักวชิ าการพสั ดุ 32
นักเทคนิคการแพทย์
33
พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 21
เจ้าพนกั งานธุรการ 11
1-
นกั จดั การงานทวั่ ไป 11
11
นักประชาสมั พนั ธ์ 11
11
นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน 22
11
นกั วชิ าการเงินและบญั ชี 1-
15 12
นายช่างไฟฟ้า 66 60

บรรณารกั ษ์
พนักงานเกษตรพื้นฐาน
พนักงานขบั รถยนต์
พนกั งานประจำห้องทดลอง

พนักงานบริการ

รวม

รวมทั้งส้นิ

ที่มา: งานธรุ การ ฝา่ ยบรหิ ารทัว่ ไป ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

-8-

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

จำแนกตามระดับการศึกษา

ระดบั การศึกษา ข้าราชการ พนักงาน ลกู จา้ งประจำ พกส. รวม รอ้ ยละ
ราชการ
- 2 3.45
ปริญญาเอก 2- - - 7 12.07
5 33 56.90
ปรญิ ญาโท 7- - 7 16 27.59
12 58
ปรญิ ญาตรี 24 2 2

ตำ่ กวา่ ปริญญาตรี 3- 6

รวม 36 2 8

ทม่ี า: งานธุรการ ฝา่ ยบริหารทวั่ ไป ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2565

หมายเหตุ พกส. = พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

-9-

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี

กลุ่มพัฒนาคณุ ภาพและวิชาการ (9 คน)

(ซา้ ยไปขวา) น.ส.นภิ าพร ทวีญาติ นางณัฐนันท์ จนั ทา น.ส.อารยา พละมัย นางวภิ าวดี รากแกน่
นางศุภวรรณ เกตุอินทร์ (หัวหน้ากลุม่ )

นางณัฐธดิ า แกน่ สา น.ส.อรุโณทัย มนัสธรรมกุล น.ส.ดลยา บุญนิม่ น.ส.นันทกาล โหตระไวศยะ
ฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป (17 คน)

(แถวบน) น.ส.อสิ ราณี ติดวงษา นายอภชิ าต ทองแสง น.ส.วภิ าวร สำลใี ย
น.ส.ราตรี ชิณโชติ นายพฒุ ิพัฒน์ นพราช นางอมั พวัน พรมสอน นายวมิ ล กลิ่นบัว

(แถวล่าง) น.ส.นวดิ า นนั ทกลาง น.ส.วิจติ รา พงศ์พิละ
น.ส.ช่อทิพย์ ชาตชิ ำนิ นางพัชราภรณ์ เกยี รตนิ ปิ ระวัติ (รองผู้อำนวยการดา้ นบรหิ าร)

นายกอบกิจ ศิรริ ัตนานนท์ นายบำรุง ศรไชย
นายทวี คืนกระโทก นายสมเจตน์ ยคุ ลธร นายบญุ มี รุง่ เรือง นายบุญนำ นนทการ น.ส.ดวงฤดี ทองแสง

- 10 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

กล่มุ งานอาหาร (10 คน)

(ซ้ายไปขวา) น.ส.เมตตา แสงทอง นายเชษฐช์ วี ัน เอมโอษฐ์ นางสมพร เอมโอษฐ์
นางสดุ ารัตน์ แกว้ มณี นายธนสาร บงั ศรี

นางพชั ราภรณ์ เกยี รตินติ ิประวตั ิ (หัวหน้ากลุ่มงานอาหาร)
น.ส.ชรนิ รตั น์ ศิรธิ รรม นายสทุ ธพิ งษ์ แสงโชติ น.ส.อรณุ ี ศริ ิปี นางสุจติ รา แสนทวีสุข

กลมุ่ งานยา สมนุ ไพร และเครอ่ื งสำอาง (8 คน)

นางภณดิ า เอื้อสริ กิ รกุล (หัวหนา้ กลุ่มงานยา สมนุ ไพร และเครอื่ งสำอาง)
(ซา้ ยไปขวา) นายเสนีย์ พลราช น.ส.อตินุช นารถนำ้ พอง น.ส.ธนพร เทพพิทกั ษ์
นางกนกวรรณ มจุ รินทร์ น.ส.ประชาพร ผลสนิ น.ส.จริยา สุขผล น.ส.ศศิญา ผาเวช

- 11 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อบุ ลราชธานี

กลมุ่ งานรังสี เครอื่ งมอื แพทย์ และสอบเทียบ (4 คน)

(แถวบน) นายพีรพงษ์ แสงประดบั (หัวหนา้ กลุ่มงานรังสี เครือ่ งมือแพทย์ และสอบเทียบ)
(แถวลา่ ง) น.ส.นงนุช พรง้ิ เพราะ น.ส.จนั ทรา โสภาวรรณ์ น.ส.เกศณี ศรวี รรณ
กล่มุ งานพิษวิทยา (4 คน)

(ซา้ ยไปขวา) นายอติชาต สีลวานชิ นางโชตกิ า องอาจณรงค์ (หัวหนา้ กลุ่มงานพษิ วิทยา)
นางประคอง นิลวเิ ชียร นายขจรศกั ดิ์ พฤฒยิ ากร

- 12 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อบุ ลราชธานี

กลมุ่ งานพยาธิวิทยาคลินกิ (9)

(แถวบน) น.ส.วราภรณ์ ศริ ิเตมิ น.ส.สรุ ยั ยา หมานมานะ น.ส.นพมาศ กล้าหาญ
น.ส.รังสนิ นั ท์ พฒั นพันธ์ น.ส.จุฑามาศ บัวหอม นายสุทศิ จันทรพ์ นั ธ์
(แถวล่าง) น.ส.จนั ทรฉ์ าย คำแสน

นางขวัญใจ วงั คะฮาต (หัวหนา้ กลมุ่ งานพยาธวิ ิทยาคลินิก) นางวภิ าวดี เจียรกลุ

- 13 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี

เงินงบประมาณทไ่ี ด้รับจัดสรรประจำปี พ.ศ. 2565

แหล่งเงิน (ภาพรวม) ได้รับจัดสรร เบิกจา่ ย คงเหลือ
เงนิ งบประมาณ 19,331,183.70 19,331,183.70 -
เงนิ นอกงบประมาณ (เงินบำรุง) 20,645,342.40 17,863,257.12
งบกลาง 575,875.00 2,782,085.28
40,552,401.10 575,875.00 -
รวม 37,770,315.82
ได้รับจดั สรร 2,782,085.28
เงินงบประมาณ 176,387.56 เบกิ จ่าย
1. งบบคุ ลากรและคา่ ใช้จา่ ยเกยี่ วกบั บคุ ลากร 176,387.56 คงเหลอื
2. งบดำเนินงาน 5,232,533.69
3. งบลงทนุ 13,922,262.45 5,232,533.69 -
19,331,183.70 13,922,262.45 -
รวม 19,331,183.70 -
ไดร้ บั จัดสรร -
เงนิ นอกงบประมาณ (เงนิ บำรงุ ) 2,761,030.40 เบกิ จ่าย
1. งบบุคลากรและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกบั บุคลากร 15,523,560.00 2,761,030.40 คงเหลอื
2. งบดำเนนิ งาน 2,360,752.00 12,741,474.72 -
3. งบลงทุน 20,645,342.40 2,360,752.00
17,863,257.12 2,782,085.28
รวม ได้รับจัดสรร -
575,875.00 เบิกจา่ ย
งบกลาง 575,875.00 575,875.00 2,782,085.28
ค่าตอบแทน (Covid - 19) 575,875.00
คงเหลือ
รวม
-
-

- 14 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี

เงนิ งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2565

สรปุ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ พ.ศ. 2565

ประเภทงบประมาณ รายรับ (บาท) รายจ่าย (บาท) คงเหลอื (บาท)

เงินงบประมาณ 19,331,183.70 19,331,183.70 -

งบดำเนนิ งาน 5,408,921.25 5,408,921.25 -

1. ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 4,003,224.50 -

2. คา่ FIXED COST 176,387.56 -

3. คา่ สาธารณปู โภค 1,229,309.19 -

- คา่ ไฟฟ้า 1,009,470.03 -

- ค่าประปา 53,921.83 -

- ค่าโทรศัพท์ 21,040.12 -

- คา่ อินเตอรเ์ น็ต 19,581.21 -

- คา่ ไปรษณยี ์ 125,296.00 -

งบลงทนุ (จำนวน 7 รายการ) 13,617,062.45 13,617,062.45 -

1. เคร่อื งแกส๊ โครมาโทกราฟ-แมสสเปคโตรมิเตอร์ 5,480,000.00 5,480,000.00 -
(Gas Chromatograph-Mass Spectrometer:

GC-MS) พร้อมเคร่ืองเตรียมตัวอย่างชนดิ เฮดสเปซ

สำหรับจีซี จำนวน 1 ชุด

2. ตบู้ ม่ เพาะเช้ือ จำนวน 1 เครื่อง 299,000.00 299,000.00 -

3. ป๊ัมสญุ ญากาศ พร้อมชดุ กรองแบบ 6 หวั จำนวน 448,500.00 448,500.00 -

1 เครื่อง

4. เครอ่ื งกวนแบบแมเ่ หล็ก ชนดิ 15 ตำแหน่ง 70,620.00 70,620.00 -
จำนวน 1 ชุด

5. เครอ่ื งวดั ความเปน็ กรด-เบส (pH METER) 350,000.00 350,000.00 -

จำนวน 1 ชดุ

6. เครอื่ งแกส๊ โครมาโทกราฟ-แมสสเปคโตรมิเตอร์ 5,470,000.00 5,470,000.00 -

(Gas Chromatograph-Mass Spectrometer:

GC-MS) พร้อมเครอ่ื งเตรยี มตัวอยา่ งชนดิ เฮดสเปซ

สำหรบั จซี ี จำนวน 1 ชดุ

7. เครอ่ื งเพ่ิมปริมาณสารพนั ธกุ รรมในสภาพจริง 1,498,942.45 1,498,942.45 -
(Rea-time PCR machine) จำนวน 1 เครื่อง

- 15 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี

ประเภทงบประมาณ รายรบั (บาท) รายจ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท)

ค่าครุภณั ฑ์ (กรณีจำเปน็ เรง่ ดว่ นตาม LTIP) 305,200.00 305,200.00 -
จำนวน 3 รายการ
1. เคร่ืองคอมพิวเตอร์ All in One สำหรบั งาน 244,300.00 244,300.00 -

ประมวลผล จำนวน 7 ชุด 34,900.00 34,900.00 -
2. เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ All in One สำหรับงาน
26,000.00 26,000.00 -
ประมวลผล จำนวน 1 ชุด
3. เครอ่ื งพมิ พเ์ ลเซอร์ หรือ LED สี ชนิด Network

แบบท่ี 2 จำนวน 1 เครอ่ื ง

ท่ีมา: อา้ งองิ ข้อมลู จาก http://gfmisreport.mygfmis.com/Report
งานการเงิน ฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2565

- 16 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรงุ )

สรปุ การเบิกจา่ ยเงินนอกงบประมาณ พ.ศ. 2565

รายการ รายรบั (บาท) รายจ่าย(บาท)

รายรบั (เงนิ สดรบั ) รวม 48,881,435.47

รายได้จากการใหบ้ ริการ/ขายสนิ ค้า 46,834,020.00

รายได้จากดอกเบ้ยี เงนิ ฝาก 7,831.28

รายได้รบั โอนจากหนว่ ยงานในสังกดั 1,947,660.00

รับคนื เงนิ ยมื เงินนอกงบประมาณ 91,924.19

รับรายได้อ่นื

รายจา่ ย (เงนิ สดจ่าย) รวม 17,863,257.12

คา่ ใช้จ่ายด้านบุคลากร 2,761,030.40

- ค่าจ้างชว่ั คราวหลงั หักประกันสังคม 2,030,200.29

- ประกันสังคม (สว่ นของผปู้ ระกนั ตน) 72,555.00

- สมทบประกนั สังคม 72,555.00

- สมทบกองทนุ สำรองเลี้ยงชีพ 42,055.11

- สมทบกองทุนทดแทน 4,400.00

- ค่าลว่ งเวลา 228,465.00

- คา่ ตอบแทนนักวทิ ย์/นักฟิสิกส์ 310,800.00

คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำเนนิ งาน 12,741,474.72

- ค่าสาธารณปู โภค 847,479.12

- ค่าตอบแทน -

- ค่าใช้สอย 4,414,448.01

- ค่าวัสดุ 7,479,547.59

งบลงทุน จำนวน 19 รายการ 1,719,918.00

- ค่าครภุ ณั ฑ์ (ตามแผนเงนิ บำรงุ ) จำนวน 15 รายการ 1,462,387.00

1. เครอ่ื งวัดความเขม้ ของแสง (LUXMETER) จำนวน 1 เครื่อง 84,958.00

2. เครอื่ งวดั ลำรงั สีเอกซ์ (COLLIMATOR AND BEAM ALIGNMENT 52,965.00

TEST TOOL) จำนวน 1 เครื่อง

3. ตู้เยน็ ควบคมุ อณุ หภูมิ (Refrigerator, Temperature control) 0- 71,600.00

10 องศาเซลเซยี ส ขนาดความจุ 37 ควิ จำนวน 2 เครอ่ื ง

4. เสอื้ ยางตะกวั่ (LEAD RUBBER COLLAR) จำนวน 2 ตวั 42,800.00

- 17 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

รายการ รายรับ(บาท) รายจ่าย(บาท)
5. ปลอกคอยางตะกวั่ (LEAD RUBBER COLLAR) จำนวน 2 ชนิ้
6. อ่างน้ำควบคมุ อุณหภูมิ จำนวน 1 เครอ่ื ง 67,945.00
7. เครอ่ื งจ่ายไฟฟา้ สำรอง ขนาด 10 KVA จำนวน 1 ชดุ 135,000.00
8. เครอ่ื งสูบสุญญากาศแบบใชน้ ้ำมัน จำนวน 1 เครือ่ ง 245,000.00
9. เครอ่ื งวดั ความเปน็ กรด-เบส จำนวน 1 เครอื่ ง 35,000.00
10. ตู้ปราศจากเช้ือแบบคลาส II A จำนวน 1 เครอ่ื ง 379,000.00
11. เคร่อื งกวนสารละลายพร้อมใหค้ วามรอ้ น จำนวน 2 เครือ่ ง 51,360.00
12. เครื่องเขยา่ แบบกลบั ไปกลบั มา จำนวน 1 เคร่อื ง 494,000.00
13. ชดุ เครือ่ งเสียง สำหรบั หอ้ งประชุมสัมมนา 120 ท่นี ่ัง จำนวน 1 ชุด 294,143.00
14. เครื่องมัลตมิ เิ ดยี โปรเจค็ เตอร์ สำหรับห้องประชมุ สัมมนา 120 ทนี่ ่ัง 149,450.00
15. เครื่องมลั ตมิ เิ ดียโปรเจค็ เตอร์ สำหรบั ห้องประชุมสัมมนา 24 ท่นี งั่
257,531.00
- ค่าครุภัณฑ์ (ตามแผนลงทนุ ระยะยาว กรณีจำเป็นเร่งด่วน)
จำนวน 4 รายการ 139,400.00
1. อา่ งนำ้ ความถ่ีสงู แบบควบคุมอณุ หภมู ิ (BATH, ULTRASONI
14,766.00
WITH TEMPERATURE CONTROL)
2. เคร่อื งเกบ็ ค่าอุณหภูมิและความชน้ื (DATA LOGGER, 40,000.00
63,665.00
TEMPERATURE AND HUMIDITY)
3. อ่างนำ้ ร้อนควบคุมอุณหภูมิ จำนวน 1 เครื่อง
4. เคร่ืองสูบสญุ ญากาศแบบไม่ใชน้ ้ำมัน (Vacuum pump, Oil free)

ที่มา: งานบญั ชี ฝา่ ยบริหารท่ัวไป ขอ้ มูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2565
หมายเหตุ : เงนิ กันไว้เบกิ เหล่ือมปี 2566 มี 3 รายการ เปน็ จำนวนเงนิ ทงั้ ส้ิน 1,124,330 บาท (หนึง่ ลา้ นหนงึ่
แสนสองหมื่นสี่พนั สามรอ้ ยสามสบิ บาทถ้วน) ดงั น้ี

1. คา่ ใชจ้ า่ ยดำเนนิ งาน 2 รายการ รวมเป็นเงิน 329,330 บาท ไดแ้ ก่
1.1 คา่ จา้ งเหมาบริการซ่อมแซมรอยรา้ วและกันสาดอาคารปฏิบตั ิการ จำนวนเงิน 94,640 บาท
1.2 คา่ จา้ งเหมาบริการซ่อมแซมรอยรา้ วและกันสาดอาคารปฏิบตั ิการ จำนวนเงิน 234,690 บาท

2. คา่ ครุภัณฑ์ ตชู้ วี นริ ภัยแบบ Total Exhaust 100% (Biosafety Cabinet Class II Type B2)
จำนวน 1 ตู้ จำนวนเงนิ 795,000 บาท

- 18 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี

รายรบั เงนิ นอกงบประมาณ (เงนิ บำรุง)

กลมุ่ งาน ยอดยกมา รายรบั ค่าบรกิ าร/ขาย รวมรายรบั
ตงั้ แตต่ ้นปี
1. ฝา่ ยบรหิ ารทัว่ ไป (รายไดอ้ ื่นๆ) สนิ คา้
2. กล่มุ งานอาหาร 9,131.28
3. กลมุ่ งานยาฯ 1,300.00 7,831.28 3,866,300.00
4. กล่มุ งานพิษวิทยา
5. กลมุ่ งานรังสี เครอื่ งมือแพทย์ 1,919,400.00 1,946,900.00 606,400.00
1,578,350.00
และสอบเทียบ 591,900.00 14,500.00 1,805,550.00
- ค่าบริการตรวจวเิ คราะห์
- ห้องปฏิบตั ิการสอบเทยี บเครือ่ งมือทาง 78,500.00 1,499,850.00 1,465,250.00
การแพทย์ 340,300.00
6. กลมุ่ งานพยาธวิ ิทยาคลนิ กิ 738,000.00 1,067,550.00
- คา่ บรกิ ารตรวจวเิ คราะห์ 38,272,970.00
- ค่าทดสอบความชำนาญทาง 440,000.00 1,025,250.00 37,469,370.00
ห้องปฏบิ ตั กิ าร 298,000.00 42,300.00
7. ชุดทดสอบ 803,600.00
รวมท้งั สิน้ 8,293,540.00 29,979,430.00
7,600,940.00 29,868,430.00 703,150.00
46,841,851.28
692,600.00 111,000.00

571,400.00 131,750.00
12,194,040.00 34,647,811.28

สถานะเงนิ บำรงุ

สถานะเงินบำรงุ ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2565 จำนวน 78,714,771.99 บาท จำแนกได้ ดงั น้ี

ยอดยกมา ปี 2564 รายรับปี 2565 รายจ่ายปี 2565 ยอดยกไป
(1) (2) (3) (1+2-3)

47,696,593.64 48,881,435.47 17,863,257.12 78,714,771.99

ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 รายรับมากกว่ารายจ่าย (2-3) จำนวน 31,018,178.35 บาท
ท่ีมา: งานบญั ชี ฝา่ ยบริหารท่ัวไป ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2565

- 19 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี

พัฒนาคณุ ภาพและวิชาการ

ตารางสรปุ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติราชการ นำ้ หนกั เกณฑ์การให้คะแนนทไี่ ด้ ผลการดำเนนิ งาน
หนว่ ย (รอ้ ย 1234 5
วัด ละ) ผลการ ค่า คะแนน
ดำเนินงาน คะแนน ถ่วง
ทไ่ี ด้ นำ้ หนกั
3.5000
มิติภายนอก การประเมนิ ประสทิ ธผิ ล (นำ้ หนกั : ร้อยละ 70) 5.0000

1. ด้านประสทิ ธผิ ล (นำ้ หนกั : ร้อยละ 60) 5.0000 3.0000

ตวั ชว้ี ัดที่ 1.1.1 ระดบั ความสำเร็จของผลติ ภณั ฑ์ ระดบั 10 1 2 3 4 5 5 5.0000 0.5000

อาหารท่ีได้รบั การพัฒนาเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพสู่

Safety Product และ smart Product

ตัวชว้ี ัดที่ 1.1.2 ระดับความสำเรจ็ ของผลติ ภัณฑ์ ระดบั 10 1 2 3 4 5 5 5.0000 0.5000

เครือ่ งสำอางผลมสมนุ ไพร มคี ณุ ภาพมาตรฐาน

ระดบั Safety Product และ smart Product

ตวั ชว้ี ดั ที่ 1.1.3 รอ้ ยละของห้องปฏบิ ตั กิ ารทาง รอ้ ยละ 10 60 70 80 90 100 5 5.0000 0.5000

การแพทยแ์ ละรงั สีวินจิ ฉยั โรงพยาบาลสมเดจ็

พระยุพราช โรงพยาบาลเฉลมิ พระเกียรติ

โรงพยาบาลชยั พัฒน์ และโรงพยาพยาบาลเทพ

รตั นเวชชานุกูลท่ไี ด้รับการธำรงรักษาระบบ

คณุ ภาพ และการพฒั นาเขา้ สรู่ ะบบคุณภาพราย

ใหม่

ตวั ชวี้ ดั ที่ 1.2.1 ร้อยละ อสม. หมอประจำบา้ น รอ้ ยละ 10 60 70 80 90 100 5 5.0000 0.5000

ได้รับการพัฒนาเป็น อสม.วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

ชมุ ชน

ตัวชี้วดั ที่ 1.2.2 รอ้ ยละศนู ย์แจง้ เตือนภยั สุขภาพใน รอ้ ยละ 10 75 78 81 84 87 5 5.0000 0.5000

ชุมชนผา่ นเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพทก่ี ำหนด

ตัวชี้วดั ท่ี 1.2.3 ร้อยละหอ้ งปฏิบัตกิ ารทส่ี ามารถ รอ้ ยละ 10 75 80 85 90 95 5 5.0000 0.5000

รายงานผลการติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ไดใ้ น 1

วันของเขตสุขภาพทีร่ บั ผิดชอบ

2. ด้านคุณภาพ (น้ำหนัก: รอ้ ยละ 10) 5.0000 0.5000
5 5.0000 0.5000
ตวั ช้ีวัดที่ 2 10.00

ตัวชี้วดั ท่ี 2 ระดบั ความสำเรจ็ ของการสำรวจความ รอ้ ยละ 10 1 2 3 4 5

พงึ พอใจของผูร้ บั บริการและการปรับปรุงคุณภาพ

บริการ

- 20 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี

ตวั ช้วี ดั ผลการปฏบิ ตั ิราชการ น้ำหนกั เกณฑ์การให้คะแนนท่ีได้ ผลการดำเนนิ งาน
หนว่ ย (ร้อย
วัด ละ) 1 2 3 4 5 ผลการ ค่า คะแนน
ดำเนนิ งาน คะแนน ถว่ ง
ท่ีได้ น้ำหนกั
1.5000
มติ ภิ ายใน การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพ/การพฒั นาองคก์ าร (น้ำหนกั : ร้อยละ 30) 5.0000

1. ดา้ นประสิทธภิ าพ (นำ้ หนัก : รอ้ ยละ 15) 5.0000 0.7500

ตวั ชวี้ ดั ที่ 3

ตวั ชว้ี ัดท่ี 3.1 รอ้ ยละความสำเร็จของการ

เบกิ จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม

ตัวชว้ี ดั ที่ 3.1.1 ร้อยละความสำเรจ็ ของการเบกิ รอ้ ยละ 2.5 50 52 54 56 58 5 5.0000 0.1250

จา่ ยเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมไตรมาส 2

ตัวชวี้ ดั ที่ 3.1.2 รอ้ ยละความสำเร็จของการเบกิ ร้อยละ 2.5 92 94 96 98 100 5 5.0000 0.1250

จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมไตรมาส 4

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 3.2 รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการเบกิ รอ้ ยละ

จ่ายเงนิ งบประมาณรายจา่ ยลงทนุ

ตัวชวี้ ัดที่ 3.2.1 รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการเบิก ร้อยละ 2.5 41 43 45 47 49 5 5.0000 0.1250

จ่ายเงนิ งบประมาณรายจา่ ยลงทนุ ไตรมาส2

ตวั ชวี้ ดั ที่ 3.2.2 ร้อยละความสำเรจ็ ของการเบกิ รอ้ ยละ 2.5 92 94 96 98 100 5 5.0000 0.1250

จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทนุ ไตรมาส4

ตัวชีว้ ดั ท่ี 4 : ระดับความสำเร็จของการบริหาร 5 1 2 3 4 5 5 5.0000 0.2500

ผลการปฏบิ ตั ิราชการของหนว่ ยงานในสังกัด ระดับ

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (PMS)

2. ดา้ นการพัฒนาองค์กร (น้ำหนกั : ร้อยละ 15) 5.0000 0.7500

ตัวช้วี ดั ที่ 5 : ระดบั ความสำเร็จของการ 7.5 1 2 3 4 5 5 5.0000 0.3750
ดำเนนิ งานพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ
ภาครฐั ผ่านเกณฑก์ ำหนด ระดบั 5 5.0000 0.3750
ตวั ชวี้ ดั ท่ี 6 ระดบั คุณธรรรมและความโปร่งใส 5.0000
การดำเนนิ งานของหน่วยงาน ระดับ 7.5 1 2 3 4 5
100
รวม 14 ตัวช้ีวัดยอ่ ย

ทม่ี า: งานแผน กล่มุ พฒั นาคุณภาพและวชิ าการ ข้อมลู ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

- 21 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

สรปุ ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

คา่ วงเงนิ โครงการ (ใน M-SIIS) ผลดำเนนิ
งาน
ชือ่ แผนงาน/โครงการ นำ้ หนัก เงนิ งบประมาณ เงินบำรงุ รวมวงเงนิ
(บาท) (รอ้ ยละ)
(100) (บาท) (บาท)

สรุปผลการดำเนินงานภาพรวม(1+2) รวม 21 โครงการ 100.00 19,331,183.70 16,000,762.22 35,331,945.92 99.20
5,408,921.25 12,845,010.22 18,253,931.47
1. งบดำเนินงาน 90.00 1,041,758.25 2,343,510.22 3,385,268.47 100.00
100.00
งบประมาณไดร้ บั ตัดโอนหลังโอนเปล่ยี นแปลง / และตามกรอบ - 100.00
96.43
อนมุ ตั เิ งนิ บำรงุ เพิม่ เติม 95.99
100.00
เงินเพ่ิมพเิ ศษสำหรบั แพทย์และเภสัชกรทีป่ ฏบิ ตั งิ านไมท่ ำเวช 3.00 155,000.00 155,000.00 100.00
99.76
ปฏิบตั ิส่วนตวั (Fixcost) 96.00
100.00
1.1) รายจา่ ยพื้นฐานงานประจำ/งานบรกิ าร (7 โครงการ) 25.00 1,500,000.00 8,575,900.00 10,075,900.00 100.00
1,500,000.00 2,928,662.00 4,428,662.00 100.00
แผนงานพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 5.00
95.00
10 อบุ ลราชธานี 100.00

การเฝ้าระวงั และธำรงรกั ษาระบบคุณภาพและการประกัน 5.00 1,200,000.00 1,200,000.00

คุณภาพ

งานบริการตรวจวิเคราะห์ห้องปฏบิ ัติการดา้ นอาหาร 3.00 1,000,000.00 1,000,000.00
447,238.00 447,238.00
งานบรกิ ารตรวจวเิ คราะหห์ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารด้านยา สมนุ ไพรและ 2.00

เครื่องสำอาง

งานบรกิ ารตรวจวิเคราะหห์ อ้ งปฏบิ ัติการดา้ นพษิ วิทยา 3.00 -- -
500,000.00 500,000.00
งานบริการตรวจวเิ คราะห์หอ้ งปฏิบตั กิ ารดา้ นรังสเี ครอื่ งมอื แพทย์ 3.00

และสอบเทยี บ

งานบรกิ ารตรวจวิเคราะหห์ ้องปฏบิ ตั ิการด้านพยาธิวิทยาคลนิ กิ 4.00 2,500,000.00 2,500,000.00
815,000.00 3,527,163.00
1.2) โครงการบรู ณาการ (13 โครงการ) 53.00 2,712,163.00
735,000.00 - 735,000.00
1. โครงการสนบั สนุนการแกไ้ ขปญั หาผ้เู สพยาเสพตดิ การ 8.00

ควบคุมตวั ยาและสารเคมที างหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

2. โครงการประกนั คุณภาพยา 8.00 650,000.00 - 650,000.00
77,000.00 - 77,000.00
3. โครงการพัฒนา อสม.วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ชุมชน พ.ศ. 5.00

2565

4. โครงการพฒั นาเครือข่ายวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ชมุ ชน 8.00 640,763.00 - 640,763.00

ประจำปี พ.ศ. 2565

5. โครงการค่าปรมิ าณรังสอี า้ งอิงจากเคร่อื งเอกซเรย์ฟนั แบบ 2.00 75,000.00 - 75,000.00

ถา่ ยภาพรอบชอ่ งปากและกะโหลกศรี ษะ (Panoramic and

Cephalometric dental x-ray) และเครื่องเอกซเรย์ฟันแบบ

สร้างภาพตัดขวางด้วยลำรังสีรปู กรวย (Dental cone beam

computer tomography)

6. โครงการพฒั นาศกั ยภาพหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตรวจวิเคราะห์ 3.00 - 115,000.00 115,000.00
60,000.00 - 60,000.00
คณุ ภาพของสารสกดั และเครื่องสำอางผสมกัญชง/กญั ชา

7. โครงการพัฒนาสมรรถนะหอ้ งปฏบิ ัติการเครือขา่ ยและระบบ 3.00

เฝ้าระวังการดื้อยาตา้ นจลุ ชพี

- 22 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

คา่ วงเงินโครงการ (ใน M-SIIS) ผลดำเนนิ
งาน
ชื่อแผนงาน/โครงการ น้ำหนกั เงนิ งบประมาณ เงนิ บำรุง รวมวงเงิน
(บาท) (รอ้ ยละ)
8. โครงการพัฒนาศักยภาพสนบั สนุนและส่งเสรมิ ระบบคณุ ภาพ (100) (บาท) (บาท)
ห้องปฏบิ ตั ิการทางการแพทยแ์ ละห้องปฏิบัติการรังสีวินจิ ฉัย
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช โรงพยาบาลเฉลิมพระเกยี รติ 6.00 94,000.00 94,000.00 100.00
โรงพยาบาลชยั พฒั น์และโรงพยาบาลเทพรัตนาเวชชานกุ ลู
6.00 315,000.00 315,000.00 100.00
9. โครงการพฒั นาเครือข่ายหอ้ งปฏิบัติการทางการแพทย์และ
หอ้ งปฏิบัตกิ ารรังสวี นิ ิจฉยั 1.00 7,500.00 7,500.00 100.00

10. โครงการตรวจสารเคมปี ้องกนั กำจดั ศตั รพู ชื ตกคา้ งในผกั 2.00 42,300.00 42,300.00 100.00
ผลไม้
1.00 15,600.00 15,600.00 100.00
11. โครงการสำรวจเชือ้ ด้อื ยาต้านจุลชีพตกคา้ งในอาหารพร้อม
บรโิ ภค - 700,000.00 700,000.00 100.00

12. โครงการประเมนิ และกำหนดมาตรฐานคุณภาพของ 9.00 - 1,110,600.00 1,110,600.00 100.00
ภาพถา่ ยรังสสี ำหรับหอ้ งปฏิบตั กิ ารรงั สีวินิจฉยั ระดับประเทศ 9.00 1,110,600.00 1,110,600.00 100.00

13. โครงการบรู ณาการศกึ ษาและเฝา้ ระวังคณุ ภาพวตั ถุดบิ และ 10.00 13,922,262.45 3,155,752.00 17,078,014.45 100.00
ผลิตภัณฑจ์ ากกญั ชาในเขตสขุ ภาพท่ี 10 10.00 13,922,262.45 3,155,752.00 17,078,014.45 100.00
1.3) งบโครงการวจิ ัย (1 โครงการ)
- - - 60,000.00
โครงการสำรวจแอนตบิ อดี IgG ต่อเชอ้ื โควดิ -19 กลมุ่ ประชากร - 60,000.00
ไทยที่ยงั ไมไ่ ด้รับวคั ซนี
2. งบลงทนุ
โครงการจดั หาครุภณั ฑท์ ี่ดินและสิ่งก่อสร้าง
(ตาม พ.ร.บ 7รายการ /เงนิ เหลือจา่ ย3รายการ /เงนิ บำรุง16
รายการ /LTIP4รายการ)
งบเบกิ จา่ ยแทนกัน (อย.)
การตรวจวเิ คราะห์ผลิตภณั ฑส์ ขุ ภาพตามแผนเก็บตัวอย่าง
ผลิตภณั ฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ประจำปงี บประมาณ 2565

หมายเหตุ ข้อมลู ร้อยละความก้าวหนา้ คิดจากผลดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัตริ าชการ รวม 21 โครงการ
ทมี่ า: งานแผน กลุ่มพัฒนาคุณภาพและวชิ าการ ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2565

- 23 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

ข้อมลู ผมู้ าใช้บรกิ ารระหว่างวนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2564- 30 กันยายน 2565

จำนวนผูม้ าใชบ้ รกิ ารแยกตามประเภท (แหง่ )

ประเภทผ้ใู ช้บรกิ าร จำนวน (แห่ง)

หน่วยงานราชการ 90
1. สถานีตำรวจ 129
2. สถานพยาบาลราชการ 5
3. สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั

4. สถานศึกษา 7

5. เรือนจำ 1

6. กองในสังกัดกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 16
7. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 5
8. หนว่ ยงานราชการ อ่นื ๆ 46

หนว่ ยงานเอกชน

1. บรษิ ทั จำกัด 100

2. ห้างหุ้นส่วนจำกัด 28

3. องคก์ รธรุ กิจ 8

4. สถานพยาบาลเอกชน 4
5. บคุ คลธรรมดา 342
781
รวมท้งั ส้นิ

ทมี่ า: งานสารสนเทศ กลมุ่ พัฒนาคุณภาพและวชิ าการ ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2565

กราฟแสดงจำนวนผมู้ าใชบ้ ริการแยกตามประเภท (แห่ง)

- 24 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี

จำนวนผู้มาใช้บรกิ ารแยกตามจำนวนท่มี าใช้บรกิ าร (ครง้ั )

ประเภทผใู้ ช้บรกิ าร 2564 2565 รวม
ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย (ครัง้ )
หนว่ ยงานราชการ
1. สถานีตำรวจ 5,245
2. สถานพยาบาลของรฐั 127 41 93 86 77 82 72 79 74 57 82 59 1,029
3. สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัด/ 369 357 429 451 356 254 340 249 362 258 307 236 3,968
อำเภอ - 1 1 - 3 9 3 4 6 5 1 - 33
4. สถานศึกษา
5. เรือนจำ - - - 2- - - 1- 211 7
6. กองในสังกดั -- -- ----- -- 1 1
กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ 1 3 4 7 6 15 3 8 8 2 3 1 61
7. ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์
8. อืน่ ๆ 2 - 3 13 7 5 15 13 11 7 7 5 88

หนว่ ยงานเอกชน 5 3 9 2 2 5 6 - 7 5 10 4 58
1. บรษิ ทั จำกัด
2. ห้างหุ้นส่วนจำกดั 744
3. ประชาชนทว่ั ไป
4. องค์กรธรุ กิจ 17 27 16 16 30 17 10 24 14 26 26 19 242
5. สถานพยาบาลเอกชน
3 3 10 3 10 2 4 2 2 3 6 3 51
รวมทั้งส้ิน
17 47 38 31 45 40 21 41 36 37 48 34 435

- 43- - 1- - - - - - 8

- - - 51- - - - - 2- 8

541 586 606 616 537 430 474 421 520 402 493 363 5,989

ทมี่ า: งานสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาคุณภาพและวชิ าการ ข้อมลู ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

- 25 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

ความพึงพอใจผูร้ บั บรกิ าร

การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบรกิ ารของศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี ปี 2565

ศูนย์ ฯ ดำเนินการสำรวจความพงึ พอใจผู้รับบริการและผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียที่มารับบริการระหว่างวนั ท่ี

1 ตุลาคม 2564-31 มีนาคม 2565 โดยคัดเลือกกระบวนงานในการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติ 3

กระบวนงาน ได้แก่ กระบวนงานตรวจวเิ คราะหท์ างหอ้ งปฏิบัตกิ ารดา้ นอาหาร, ด้านพยาธวิ ทิ ยาคลินิก และดา้ น

พิษวิทยา จากฐานข้อมูลผู้มารับบริการในโปรแกรม iLab plus ดำเนินการสำรวจโดยใช้แบบสำรวจออนไลน์

สำหรับผู้รับบริการตรวจวิเคราะห์ และสำรวจด้วยแบบสอบถามสำหรับผู้รับบริการ ณ จุดที่ให้บริการระหว่าง

วันท่ี 1 มีนาคม – 30 มิถุนายน 2565 ใช้โปรแกรม Microsoft Excel ในการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉล่ีย

รอ้ ยละและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน

กลุ่มที่ตอบแบบสอบถามการให้บริการตรวจวิเคราะห์ จำนวน 428 ราย ตอบแบบสอบถามกลับ

จำนวน 99 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.13 และผู้รบั บริการตอบแบบสอบถาม ณ จุดให้บรกิ าร จำนวน 97 ฉบับ

จากการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ในภาพรวม ผู้รับบริการมี

ความพึงพอใจรอ้ ยละ 91.00 และศูนย์ ฯ มีข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บรกิ าร ดงั นี้

1. ควรมีชอ่ งทางการสอ่ื สาร 2 ทางที่มีประสิทธิภาพกบั ผ้รู บั บริการซึ่งสามารถตอบปัญหา หรือข้อสงสัย

ของผ้รู บั บริการได้ เช่น การจัดประชมุ กับกล่มุ ผู้รบั บริการ เป็นตน้

2. นำระบบเทคโนโลยมี าใชใ้ นการรบั -ส่งเอกสารทางอิเลก็ ทรอนิกส์

3. เผยแพร่ประชาสมั พันธก์ ารใช้งานโปรแกรม iLAB plus เพ่ิมขน้ึ ให้ครอบคลุมผู้รบั บรกิ ารทุกกลมุ่

4. เมือ่ พบปัญหาจากผู้รับบรกิ าร ต้องประชาสัมพันธช์ แ้ี จงปัญหาตา่ ง ๆ ของลูกคา้ ใหร้ บั ทราบทางบอร์ด

ประชาสัมพันธ์

ตารางสรปุ ผลการสำรวจความพงึ พอใจของผูร้ บั บรกิ าร

กระบวนงาน รอ้ ยละ Mean ระดบั

1. ด้านอาหาร (n=87) 90.66 4.5329 มากท่สี ดุ

1.1 การใหบ้ ริการตรวจวิเคราะห์ (n=47) 92.38 4.6191 มากท่สี ดุ

1.2 การใหบ้ รกิ าร ณ จดุ ใหบ้ ริการ (n=40) 88.93 4.4466 มากที่สุด

2. ด้านพยาธวิ ิทยาคลนิ ิก (n=49) 88.21 4.4107 มากทสี่ ดุ

2.1 การใหบ้ ริการตรวจวิเคราะห์ (n=29) 89.68 4.4839 มากที่สุด

2.2 การใหบ้ รกิ าร ณ จุดใหบ้ รกิ าร (n=20) 86.75 4.3375 มากทสี่ ดุ

3. ด้านพษิ วิทยา (n=60) 94.12 4.7060 มากทส่ี ุด

3.1 การใหบ้ ริการตรวจวเิ คราะห์ (n=23) 96.49 4.8246 มากทสี่ ดุ

3.2 การให้บริการ ณ จุดใหบ้ ริการ (n=37) 91.75 4.5873 มากทสี่ ุด

ความพึงพอใจในภาพรวม 91.00 4.5498 มากทส่ี ดุ

- 26 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี

กราฟแสดงจำนวนผู้มาใช้บริการแยกตามประเภท (ครง้ั )

กราฟแสดงจำนวนผมู้ าใชบ้ รกิ ารในแตล่ ะเดือน (คร้ัง)
ระหว่างวนั ที่ 1 ตุลาคม 2564- 30 กนั ยายน 2565

- 27 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี

งานบรกิ ารตรวจวเิ คราะห์

ปรมิ าณงาน ผลงานปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 32,538 ตัวอยา่ ง

งานบรกิ าร จำนวน (ตัวอยา่ ง) ร้อยละ
1. ด้านอาหาร 1,211 3.86
2. ดา้ นยา สมนุ ไพร และเคร่ืองสำอาง 362 1.16
3. ดา้ นพิษวิทยา 2,459 7.85
4. ดา้ นพยาธิวิทยาคลนิ ิก 26,695 85.20
5. ดา้ นรงั สี เคร่ืองมือแพทย์และสอบเทียบ 606 1.93
31,333 100
รวมทั้งสิน้
ทีม่ า: จาก 5 กลุ่มงาน ข้อมูล ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2565

- 28 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

1. งานบริการด้านอาหาร

ตรวจ ผลการดำเนินการ สาเหตุ
ทง้ั หมด ไม่เขา้ มาตรฐาน
ประเภทผลติ ภัณฑ์ (ตัวอยา่ ง) ตวั อยา่ ง รอ้ ยละ
628
1. อาหารที่กำหนดคณุ ภาพหรอื 68 10.83
มาตรฐาน 22
- นมโค 3 0 0.00
- ไอศกรีม 54 0 0.00
- อาหารในภาชนะบรรจุที่ปดิ สนิท 39 0 0.00
- เครือ่ งดื่มในภาชนะบรรจุท่ีปิดสนิท 4 10.26 Coliforms MPN ต่อ 100
10
- ชา 5 มลิ ลิลิตร,ยสี ตแ์ ละรา CFU/
- กาแฟ 1 กรมั
- ซอสบางชนดิ (ซอสพริก ซอสมะเขือ 0 0.00
เทศ ซอสมะละกอ ซอสแป้ง) 1 0 0.00
- นำ้ ปลา 1 0 0.00
- นำ้ สม้ สายชู 1
- อาหารกง่ึ สำเร็จรูป 10 0 0.00
-ชาสมุนไพร 393 0 0.00
-นำ้ บริโภคในภาชนะบรรจทุ ่ีปิดสนทิ 0 0.00
88 0 0.00
-น้ำแข็ง 54 13.74 ความเปน็ กรด-ด่าง (pH),
125
2. อาหารที่ต้องมีฉลาก 2 ความกระดา้ งทั้งหมด,
-วุ้นสำเรจ็ รปู และขนมเยลลี 4 Coliforms MPN ต่อ 100
-ซอสในภาชนะบรรจทุ ี่ปดิ สนิท 2 มลิ ลิลติ ร, Escherichia coli
-ขนมปัง ตอ่ 100 มิลลิลติ ร
10 11.36 ความเปน็ กรด-ด่าง (pH),
Coliforms MPN ตอ่ 100
มลิ ลิลติ ร
43 34.40
0 0.00
0 0.00
0 0.00

- 29 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

ตรวจ ผลการดำเนนิ การ สาเหตุ
ไมเ่ ขา้ มาตรฐาน
ประเภทผลิตภัณฑ์ ทั้งหมด ตวั อยา่ ง ร้อยละ

(ตวั อย่าง)

-อาหารพร้อมปรุงและอาหารสำเรจ็ รูปที่ 5 0 0.00

พรอ้ มบรโิ ภคทันที

-ผลติ ภัณฑ์จากเนอ้ื สัตว์ 112 43 38.39 กรดเบนโซอิก, กรดซอรบ์ ิก,
จำนวนแบคทีเรยี ท้ังหมด CFU
3. อาหารอน่ื ๆ 458 ต่อ มลิ ลิลติ ร
-อาหารพร้อมบรโิ ภค/ปรุงสำเร็จ/พร้อม 7
ปรงุ 97 21.18
2 28.57 Bacillus cereus CFU ต่อ
-อาหารประเภทเส้น เช่น เสน้ ก๋วยเตีย๋ ว 3
ขนมจีน หมซี่ ว่ั กรมั , Staphylococcus
-แป้ง ผลิตภณั ฑ์จากแป้ง แปง้ ต่าง ๆ 12 aureus CFU ต่อ กรัม และ
-พชื ผัก และผลติ ภัณฑ์ 33 Salmonella spp. ต่อ 5
-ผลไม้และผลติ ภัณฑ์ 1 กรมั
-ธญั พชื 86 0 0.00
- นำ้ อุปโภค บรโิ ภค 315
0 0.00
-กัญชา กญั ชง และผลติ ภัณฑ์ 1 0 0.00
รวม 1,211 0 0.00
3 3.49 อาร์เซนิก
92 29.21 ความเปน็ กรด-ดา่ ง (pH),

ความกระดา้ งทั้งหมด,
ปรมิ าณสารทง้ั หมด
0 0.00
208 17.18

- 30 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี

2. งานบริการด้านยา สมนุ ไพร และเครอ่ื งสำอาง

ผลการดำเนินการ

ประเภทผลติ ภณั ฑ์ ตรวจทั้งหมด ไม่เขา้ มาตรฐาน สาเหตุ
(ตวั อย่าง) ตัวอย่าง รอ้ ยละ

ผลการตรวจวิเคราะหด์ ้านยา

1. การตรวจวิเคราะหค์ ณุ ภาพมาตรฐาน 111 0

1.1 ยาแผนปจั จบุ นั 111 0

1.2 ยาแผนโบราณ (การปนเป้อื นของ
เช้ือและโลหะหนกั )

1.3 วตั ถดุ บิ ท่ใี ชใ้ นการผลิตยา

1.4 ตำรับยาเสพติดใหโ้ ทษและวตั ถุที่ 65 2 3.07
ออกฤทธต์ิ ่อจติ และประสาทที่ใชใ้ นทาง 2 2 100 พบ Diphenhydramine
การแพทย์ท่ีไมใ่ ชค่ ดี
2. การตรวจพสิ จู นเ์ อกลักษณ์ 8 (2)
0
2.1 ยาคดี

2.2 ยาแผนโบราณ (การปนปลอมยา
แผนปจั จบุ ัน)

2.3 อื่นๆ 55 0

การตรวจวิเคราะห์ด้านยาเสพตดิ และวัตถุออกฤทธ์ติ อ่ จิตและประสาท

1. การตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์ 40

1.1 ยาเสพติด และวตั ถุออกฤทธิ์ฯ ใน

ปัสสาวะ

1.2 ยาเสพตดิ และวัตถุออกฤทธ์ิ ใน
วัตถตุ วั อย่าง

1.3 สารระเหยในวตั ถุตวั อยา่ ง

1.4 ผลติ ภัณฑเ์ สริมอาหาร 4 0

1.5 อนื่ ๆ

2. การตรวจปรมิ าณวเิ คราะห์ตามเกณฑ์ท่ี

กฎหมายกำหนด

2.1 ยาเสพตดิ

2.2 วตั ถุออกฤทธ์ิ

2.3 อืน่ ๆ

การตรวจวเิ คราะห์วัตถุดิบและผลติ ภณั ฑ์จากสมนุ ไพร

- 31 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อบุ ลราชธานี

ผลการดำเนนิ การ

ประเภทผลติ ภัณฑ์ ตรวจทั้งหมด ไมเ่ ขา้ มาตรฐาน สาเหตุ
(ตัวอย่าง) ตวั อยา่ ง รอ้ ยละ

1. การตรวจวเิ คราะห์คณุ ภาพด้านเคมี 70 0

- เคอร์คมู นิ อยด์ (ขมิ้นชนั แคปซลู ) 1 0

- อ่นื ๆ ทม่ี วี ธิ ตี รวจ (กญั ชา,ยาแผน 69 0

โบราณ)

2. การตรวจการปนเปื้อนเช้ือจุลนิ ทรยี ์ 70

(ฟ้าทะลายโจรแคปซลู )

- จำนวนจุลนิ ทรยี ท์ งั้ หมด 40

- จำนวนยสี ต์และรา 37

- จำนวน Escherichia coli 26 พบ E.coli

- ปรมิ าณ Salmonella spp. 2 พบ Sal.spp.

- ปริมาณ Clostridium spp. 55 พบ Clos.spp.

3. การปนเป้อื นด้วยยาแผนปัจจบุ ัน (ยา 10 0

สมุนไพร)

4. โครงการพฒั นาศักยภาพห้องปฏิบัติการตรวจวเิ คราะหค์ ุณภาพของสารสกัด และเคร่ืองสำอางผสมกัญชง/

กญั ชา (โครงการบูรณาการ)

โลหะหนกั (Pb, Hg, Cd, As) 12

Cannabidiol (CBD) 12

Tetracannabinol (THC) 12

- Total combined yeasts and 11 1 มากกว่า 10 โคโลนี/ กรัม

mould count (16,200 โคโลน/ี กรัม)

- Clostridium spp. 12

- Staphylococcus aureus 12

- Pseudomonas aeruginosa 12

- Candida albicans 12

5. ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี คุณภาพผลิตภณั ฑ์ทำความสะอาดมือที่มีแอลกอฮอล์เปน็

ส่วนประกอบท่จี ำหนา่ ยในเขตสุขภาพที่ 10 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

- เคมี (ทดสอบปรมิ าณแอลกอฮอล์) 20 7 35 มปี รมิ าณแอลกอฮอล์ตำ่

กว่าท่กี ฎหมายกำหนดโดย

อยูใ่ นชว่ ง 48-68% v/v

รวม 362 65 17.95

- 32 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

3. งานบรกิ ารดา้ นพิษวทิ ยา ผลการดำเนนิ การ
ประเภทผลิตภณั ฑ์
ตรวจท้งั หมด ไมเ่ ขา้ มาตรฐาน สาเหตุ
1. การตรวจพิสจู นเ์ อกลกั ษณ์
1.1 ยาเสพตดิ และวัตถอุ อก (ตวั อยา่ ง) ตัวอย่าง รอ้ ยละ

ฤทธิ์ฯ ในปสั สาวะ 2,157 2,107 97.68

1.2 ยาเสพติด และวตั ถอุ อก 2,157 2,107 97.68 พบเมทแอมเฟตามีน
ฤทธ์ิ ในวัตถตุ วั อย่าง
พบแคนนาบนิ อย์
1.3 สารระเหยในวตั ถุตวั อย่าง
1.4 ผลิตภณั ฑ์เสรมิ อาหาร พบเคตามีน
1.5 อน่ื ๆ
2. การตรวจปริมาณวิเคราะห์ 302 265 87.74
ตามเกณฑ์ทก่ี ฎหมายกำหนด 1 00
2.1 ยาเสพติด 301 265 88.04
2.2 วตั ถอุ อกฤทธิ์ 2,459 2,372 96.46
2.3 อ่ืนๆ
3. การตรวจวเิ คราะห์ด้าน
พิษวิทยาและนติ ิเวช
3.1 การตรวจวเิ คราะหส์ ารพษิ
ไม่ทราบชนดิ
3.2 การวเิ คราะหป์ รมิ าณ
แอลกอฮอล์

รวม

- 33 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี

4. งานบรกิ ารดา้ นพยาธวิ ทิ ยาคลินกิ

4.1 การตรวจวิเคราะห์

รายการตรวจวเิ คราะห์ ผลการดำเนนิ การ

ตรวจท้งั หมด ผลบวก สาเหตุ

(ตวั อย่าง) ตัวอย่าง ร้อยละ

1. การตรวจวิเคราะห์ด้านพันธุกรรม 7,681 5,922 77.09

1.1 การตรวจวนิ จิ ฉยั Alpha-thalassemia 1 (ชนดิ SEA และ 1,621 199 12.27

ชนดิ ไทย) โดยเทคนิค Relative Quantitative PCR

1.2 การตรวจหาชนิดและปริมาณฮีโมโกลบนิ (Hemoglobin 5,672 5,672 100

typing)

1.3 การตรวจเอชแอลเอบี 58:01 อลั ลีล 44 12 27.27

(HLA-B*58:01 allele) ด้วยปฏิกริ ิยาพีซีอาร์

1.4 การตรวจเอชแอลเอบี 15:02 อลั ลลี 85 10 11.76

(HLA-B*15:02 allele) ดว้ ยปฏิกิริยาพซี ีอาร์

1.5 การตรวจเอชแอลเอบี 57:01 อลั ลลี 30 5 16.66

(HLA-B*57:01 allele) ดว้ ยปฏกิ ริ ิยาพีซีอาร์

1.6 แอซดิ ฟอสฟาเตสและการตรวจหาอสุจิ 229 24 10.48

2. การตรวจวเิ คราะหด์ า้ นโรคติดเชอ้ื 19,014 4,146 21.80

2.1 การตรวจหาแอนติบอดชี นดิ IgM ต่อไวรัสหดั ด้วยเทคนิค 13 5 38.46

ELISA

2.2 การตรวจหาแอนตบิ อดชี นิด IgM ตอ่ ไวรัสหัดเยอรมัน ดว้ ย 33 12 36.36

เทคนิค ELISA

2.3 การตรวจหาสาร พันธกุ รรมของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 18,020 3,435 19.06

ด้วยเทคนิค Real time RT-PCR

2.4 การตรวจหาสารสายพนั ธข์ุ องเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ดว้ ย 670 670 100

เทคนิค SNP

2.5 การตรวจหาสารพันธกุ รรมไวรัสไขห้ วดั นกและไข้หวดั ใหญ่ 11 9 81.81

ด้วยเทคนคิ Realtime RT-PCR

2.6 การตรวจหาสารพนั ธุกรรม ไวรัสโรคทางเดนิ หายใจ 10 8 80.00

ตะวนั ออกกลาง (MERS-CoV) ดว้ ยเทคนคิ Realtime PCR

2.7 การตรวจการตดิ เชือ้ เอชไอวี-1 ในเด็กท่ีคลอดจากแมท่ ีต่ ิด 257 7 2.72

เชอ้ื

รวม 26,695 10,068 37.71

- 34 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี

4.2 ด้านอ่ืนๆ จำนวนสมาชิก
(แหง่ )
แผนการทดสอบความชำนาญ 871

1. ทดสอบความชำนาญการตรวจวเิ คราะห์ รายการตรวจนำ้ ตาลในเลือดด้วยเคร่ืองตรวจอย่าง 871
ง่าย 871
871
2. ตรวจปรมิ าตรเมด็ เลือดแดงอัดแนน่ 60
3. ตรวจภาวะการตัง้ ครรภ์ 25
4. ตรวจโปรตีนและน้ำตาลในปัสสาวะ
5. การตรวจภาวะต้ังครรภ์ในพืน้ ท่ีเขตสขุ ภาพที่7-13
6. การตรวจวัตถพุ ยานในคดคี วามผิดทางเพศ

งานสนับสนนุ ห้องปฏบิ ัติการ การให้บรกิ ารทางห้องปฏิบัตกิ ารอ่ืนๆ จำนวน(ชดุ )

1. ชุดน้ำยาตรวจแอซดิ ฟอสฟาเตส 150

- 35 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อบุ ลราชธานี

5. งานบรกิ ารดา้ นรงั สี เครือ่ งมอื แพทย์และสอบเทยี บ

5.1 การตรวจสอบคุณภาพผลิตภณั ฑด์ ้านรังสี

ผลการดำเนินการ

ประเภทตวั อย่างผลิตภัณฑ์ ตรวจท้งั หมด ไม่ไดม้ าตรฐาน สาเหตุ

(ตัวอย่าง) ตวั อย่าง ร้อยละ

ดา้ นรงั สี

งานรงั สวี นิ ิจฉัย 606 55 9.07

1. เครอื่ งเอกซเรย์วนิ จิ ฉยั ท่ใี ช้ทางการแพทย์ 600 55 9.16

1.1 เคร่อื งเอกซเรย์วินิจฉยั ทั่วไปและ 6 1 16.67 อัตราปริมาณรังสี

ถ่ายภาพบนแผ่นเรืองแสง สงู สุด 1

1.2 เครอ่ื งเอกซเรย์แบบ C-arm, O-arm 19 - -

1.3 เครอ่ื งเอกซเรยว์ ินิจฉัยทั่วไป 81 22 27.16 คา่ ความแมน่ ยำของ

คา่ ความตา่ งศกั ย์

หลอด (5), ความเปน็

เชงิ เสน้ ของปรมิ าณ

รังสี (4), อตั รา

ปริมาณรังสีที่ 80 kV

(3), ค่าความหนา

ครงึ่ คา่ (HVL) (6),

ความทำซำ้ ของ

ปริมาณรังสี (2),

ความเข้มแสงไฟ

เคร่อื งจำกดั ลำรังสี

(6), ความเหลื่อมล้ำ

ของแสงไฟและลำ

รังสี (10)

1.4 เครอื่ งเอกซเรยเ์ คล่ือนท่ี 128 16 12.50 คา่ ความหนาคร่ึงคา่

การกรองรังสี (HVL)

(3), คา่ ความสวา่ ง

แสงไฟเคร่ืองจำกัด

ลำรงั สี (2), ค่าความ

เหล่ือมลำ้ ของลำแสง

ไฟและลำรงั สี (15)

- 36 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

ผลการดำเนินการ

ประเภทตวั อยา่ งผลติ ภัณฑ์ ตรวจทงั้ หมด ไมไ่ ดม้ าตรฐาน สาเหตุ

1.5 เครอ่ื งเอกซเรยส์ ัตว์ (ตัวอยา่ ง) ตัวอย่าง ร้อยละ

1.6 เครอ่ื งเอกซเรยส์ วนหัวใจระนาบเดียว 4 1 25.00 การกรองรงั สเี อกซ์
1.7 เครอ่ื งเอกซเรยส์ วนหวั ใจสองระนาบ
1.8 เครอ่ื งเอกซเรยจ์ ำลองการฉายรงั สี (x- (1)
ray simulator)
1.9 เคร่ืองเอกซเรยค์ อมพิวเตอร์ 1 --
ประกอบด้วย
1 --
1. CT
2. CT-Sim 1 --
3. Pet-CT
4. Spect-CT 18 - -
1.10 เคร่อื งเอกซเรย์เต้านม * รวมถงึ
เคร่ืองเอกซเรย์เตา้ นมสำหรบั เจาะตดั ชนิ้ เนื้อ 16 - -
1.11 เคร่ืองเอกซเรย์ฟัน ประกอบดว้ ย 2 --
1. เคร่อื งเอกซเรยฟ์ นั ประเภท - --
ถา่ ยภาพในชอ่ งปาก - --
11 1 9.09 ค่าความผิดพลาด
2. เครื่องเอกซเรย์ฟันชนดิ ถ่ายภาพ
รอบปากและกะโหลศีรษะ แรงกด (1)
131 13 9.92
3. เคร่อื งเอกซเรยฟ์ ันชนิดสร้าง 82 8 9.76 ความแม่นยำเครอื่ ง
ภาพตดั ขวางด้วยลำรังสรี ูปกรวย
ตั้งเวลา (7), ความ
4. เครื่องเอกซเรยฟ์ นั เคล่อื นท่ีชนิด แมน่ ยำคา่ กโิ ลโวลต์
มอื ถือ (Hand-held) (3)
30 - -
1.12 เครอื่ งเอกซเรย์วัดความหนาแน่น
กระดูก 3 --

1.13 รถเอกซเรย์ 16 5 31.25 ระยะจากจุดโฟกัสถงึ
ปลายเครื่องจำกัดลำ
รังสี (5)

7 --

2 --

- 37 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

ผลการดำเนนิ การ

ประเภทตัวอย่างผลติ ภณั ฑ์ ตรวจทง้ั หมด ไมไ่ ด้มาตรฐาน สาเหตุ

(ตวั อยา่ ง) ตวั อยา่ ง ร้อยละ

1.14 ตรวจสอบความปลอดภยั จากรังสขี อง 188 1 0.53 ปริมาณรงั สีบริเวณ

ห้องเอกซเรย์วินจิ ฉยั ประตูหนา้ หอ้ ง

เอกซเรย์ (1)

1.15 ตรวจสอบความปลอดภัยจากรังสีของ 2 --

รถเอกซเรยว์ นิ ิจฉยั

2. เคร่อื งเอกซเรยป์ ระเภทอืน่ ๆ 6 --

2.1 เครอ่ื งเอกซเรย์อตุ สาหกรรม และ 6 --

เครื่องเอกซเรยต์ รวจสอบสัมภาระ

2.2 เครอ่ื งเอกซเรย์อ่นื ๆ - --

5.2 งานทดสอบ/สอบเทยี บอปุ กรณ์วิทยาศาสตร์ จำนวน
(เครอ่ื ง)
ประเภทผลิตภณั ฑ์
138
1. สอบเทยี บอุปกรณ์วัดอุณหภมู ิ 374
2. สอบเทยี บ Micropipette 32
3. ทดสอบความเรว็ รอบเครือ่ งปนั่ เลอื ด 9
4. ตู้ควบคมุ อุณหภูมิ-ตู้แช่ 14
5. ตคู้ วบคุมอุณหภูมิ-ตเู้ ก็บเลือด 6
6. ตู้ควบคุมอุณหภมู ิ-อา่ งน้ำร้อน 49
7. ตู้เยน็ -ตู้แชเ่ กบ็ น้ำยา 622

รวมท้ังหมด

5.3 การตรวจสอบคุณภาพผลติ ภัณฑ์ด้านเคร่ืองมือแพทย์

ผลการดำเนนิ การ

ประเภทตัวอย่างผลิตภณั ฑ์ ตรวจทั้งหมด ผลบวก สาเหตุ

(ตัวอย่าง) ตวั อย่าง รอ้ ยละ

ด้านเครอ่ื งมอื แพทย์

1. สอบเทียบเครื่องวดั แอลกอฮอลใ์ นเลือดโดยวธิ ี 153 2 1.31 ไมแ่ สดงตวั อกั ษรบน

เป่าลมหายใจ จอภาพ 2

- 38 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

งานวิชาการ

- 39 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

ดา้ นพยาธิวทิ ยาคลินกิ 1

การตรวจการตดิ เชอื้ วณั โรคด้วยวธิ ี Interferon Gamma Release Assay (IGRA)
ในบุคลากรทางการแพทยข์ องเขตสุขภาพที่ 10 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2562-2563

จนั ทร์ฉาย คำแสน วท.ม.* จณิศรา ฤดีอเนกสิน วท.ม.** โสภา ศรสี ังข์งาม วท.ม.** เบญจวรรณ เพชรสขุ ศริ ิ
ปร.ด.** วิพฒั น์ กลา้ ยุทธ์ วท.ม.** สุปราณี บญุ ชู วท.บ.**
*ศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี

** สถาบนั วิจัยวิทยาศาสตรส์ าธารณสขุ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

บทคดั ยอ่
การศึกษาการตรวจการติดเชื้อวัณโรคด้วยการตรวจสารอินเตอเฟอรอลแกมมา (IGRA) ในบุคลากร
ทางการ-แพทย์ของเขตสุขภาพที่ 10 มีวัตถุประสงค์เพ่ือตรวจคน้ หาผู้ติดเช้ือวัณโรค สนับสนนุ มาตรการป้องกัน
ควบคุมวัณโรค ผลการศึกษาครอบคลุมบุคลากรทางการแพทย์จากโรงพยาบาล 20 แห่ง ในเขตสุขภาพที่ 10
ระหว่างปี พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2563 จำนวน 439 ราย เพศชาย 100 ราย เพศหญิง 339 ราย อายุระหว่าง
23-61 ปี พบว่าให้ผลบวก จำนวน 62 ราย ร้อยละ 14.12 จากโรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป 2
แห่ง และโรงพยาบาลชุมชน 17 แห่งของจังหวัดอุบลราชธานี อ านาจเจริญ ศรีสะเกษ และมุกดาหาร จำนวน
10, 7, 2 และ 1 แห่ง ตามลำดับ โดยบุคลากรแต่ละจังหวัดมีจำนวน 353, 43, 37 และ 6 ราย ตามลำดับ ให้
ผลบวก 46 ราย ร้อยละ 13.03, 6 ราย ร้อยละ 13.95, 9 ราย ร้อยละ 24.32 และ 1 ราย ร้อยละ 16.67 โดย
แยกเป็นกลมุ่ องคก์ รแพทย์ 20 ราย ให้ผลบวก 3 ราย รอ้ ยละ 15.00 กลุม่ ทนั ตกรรม 10 ราย ให้ผลบวก 2 ราย
ร้อยละ 20.00 กลุ่มเภสัชกรรม 11 ราย ให้ผลบวก 2 ราย ร้อยละ 18.18 กลุ่มเทคนิคการแพทย์ 111 ราย ให้
ผลบวก 10 ราย ร้อยละ 9.01 กลุ่มการพยาบาลและผู้ช่วยเหลือคนไข้ 229 ราย ให้ผลบวก 33 ราย ร้อยละ
14.41 กลุ่มเอ็กซเรย์ 12 ราย ให้ผลบวก 3 ราย ร้อยละ 25.00 กลุ่มคลินิกวัณโรคและควบคุมโรค 24 ราย ให้
ผลบวก 8 ราย ร้อยละ 33.33 กลุ่มนักวิชาการ 5 ราย ไม่มีผลบวก และกลุ่มงานธุรการและอื่นๆ 17 ราย ให้
ผลบวก 1 ราย ร้อยละ 5.88 สรุปผลจากการศึกษาพบว่า บุคลากรทางการแพทย์มีความเสีย่ งที่จะได้รับเช้ือวัณ
โรคและเป็นวณั โรคระยะแฝง โดยเฉพาะกลุ่มผู้ทีส่ ัมผสั ใกลช้ ิดกบั ผู้ป่วยโดยตรง ดงั น้ันสถานพยาบาลต่างๆ ควร
มีมาตรการส่งเสริม ป้องกัน และให้การดูแลบุคลากรทางการแพทย์ ให้มีสุขภาพที่ดีในการเป็นกำลังสำคัญกับ
ระบบการสาธารณสขุ ของประเทศต่อไป

การนำเสนอผลงาน:
- ตีพมิ พ์เผยแพร่งานวิจยั ในวารสารวชิ าการสาธารณสุข ปที ี่ 31 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - กมุ ภาพนั ธ์ 2565

- 40 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อบุ ลราชธานี

ด้านพยาธวิ ิทยาคลนิ ิก 2

อุบัติการณ์การติดเชื้อเอชไอวีจากแมส่ ูล่ ูก ในเขตสุขภาพที่ 10 ปี งบประมาณ 2559-2564

จันทรฉ์ าย คำแสน* วภิ าวดี เจยี รกลุ นพมาศ กลา้ หาญ สทุ ิศ จันทรพ์ นั ธ์
วราภรณ์ ศิรเิ ตมิ สุรยั ยา หมานมานะ

ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

บทคัดย่อ
ประเทศไทยมมี าตรการการป้องกนั การติดเช้ือเอชไอวีจากแมส่ ูล่ กู โดยใหย้ าต้านไวรสั ตง้ั แต่แม่ตั้งครรภ์
ขณะคลอด และร่วมกับให้ทารกกินยาสูตรยาป้องกัน ในปี 2559 ประเทศไทยสามารถลดอัตราการติดเชื้อจน
เหลอื ร้อยละ 1.9 และไดร้ ับการรับรองจากองคก์ ารอนามัยโลกในการยุติการถา่ ยทอดเช้ือเอชไอวีและซิฟิลิสจาก
แม่สู่ลูก จึงศึกษาสถานการณ์ และการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกในเขตสุขภาพที่ 10 โดยใช้
ตัวอย่างเลอื ดทารกท่ีคลอดจากมารดาท่ีติดเชื้อ ทั้งหมด 1,653 ตัวอยา่ ง จากโรงพยาบาลในเขตสุขภาพท่ี 10 ปี
พ.ศ. 2559 – 2564 ถกู นำมาตรวจด้วยวิธีชีวโมเลกุล ผลการตรวจพบว่า เพศชาย - หญงิ มจี ำนวนใกล้เคียงกัน
ให้ผลบวกในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 1.1 โดยปี พ.ศ. 2562 ให้ผลบวกสูงสุด (ร้อยละ 3.9) ต่ำสุดคือปี พ.ศ.
2559 และ 2561 จังหวัดทมี่ ีผลบวกสูงสุด คอื อำนาจเจรญิ (รอ้ ยละ 3.6) รองลงมา ได้แก่ จังหวัดยโสธร (ร้อย
ละ 2.6) สรปุ จากผลการศึกษาครั้งน้ียังคงพบ การตดิ เช้อื เอชไอวีจากแมส่ ู่ลูก ซงึ่ จะเปน็ ข้อมูลผ้ทู ีมีสว่ นเกี่ยวข้อง
ในการกำกบั ติดตามในกลุ่มเสี่ยงสูง เพ่อื การเฝา้ ระวัง และสนบั สนุนการยุติการถ่ายทอดการติดเช้ือเอชไอวีจาก
แม่สู่ลูกของประเทศไทย ซึ่งได้แสดงเจตนารมณ์มุ่งมั่นที่จะยุติปัญหาเอดส์ โดยมีเป้าหมายหลัก คือ “ไม่ติด ไม่
ตาย ไม่ตีตรา” และรองรับนโยบายขององค์การอนามัยโลกในการยุติความเหลื่อมล้ำ ยุติเอดส์ ยุติการระบาด
ภายในปี 2573 ต่อไป

การนำเสนอผลงาน:
- ตีพมิ พ์เผยแพร่งานวิจัยในวารสารวิชาการสาธารณสขุ ปีท่ี 31 ฉบบั ที่ 5 กันยายน - ตลุ าคม 2565

- 41 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี

ด้านพยาธิวิทยาคลนิ กิ 3

การทดสอบความชำนาญทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารตรวจภาวะต้ังครรภใ์ นปสั สาวะดว้ ยแถบทดสอบ
ในพน้ื ที่เขตสขุ ภาพที่ 7 ถงึ เขตสุขภาพท่ี 13

เกศณี ศรีวรรณ* ขวัญใจ วงั คะฮาต นงนุช พรง้ิ เพราะ
ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี

บทคดั ย่อ
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี กลุ่มงานพยาธิวิทยาคลินิก ดำเนินการทดสอบความ
ชำนาญทางห้องปฏบิ ัติการตรวจภาวะตง้ั ครรภ์ในปัสสาวะ รว่ มกบั ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 1 เชยี งใหม่ ซึ่ง
ศูนย์ ฯ รับผิดชอบในพื้นที่เขตสุขภาพท่ี 7 ถึง เขตสุขภาพที่ 13 มีห้องปฏิบัติการเข้าร่วมเป็นสมาชิกระหว่างปี
พ.ศ.2562-2564 จำนวน 145, 150 และ 108 แหง่ ตามลำดับโดยจัดส่งตัวอย่างปสั สาวะใหส้ มาชิกปลี ะ 2 รอบ
รอบละ 5 ตัวอย่าง สมาชิกทำการทดสอบโดยใช้แถบทดสอบและตามวิธีตรวจที่ใช้ในงานประจำ การประเมิน
คุณภาพผลการทดสอบใช้วิธีการเทียบผลของสมาชิกกับค่ากำหนด (Assigned value) ของห้องปฏิบัติการ
อ้างอิง โดยผลของสมาชิกต้องมีความถูกต้องร้อยละ 100 ตรงกับค่ากำหนดของทั้ง 2 รอบการทดสอบ ใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562- 2564 มสี มาชิกตอบกลบั ทง้ั 2 รอบ จำนวน 139 , 141, 101 แหง่ ตอบถูกต้องทง้ั 2
รอบ จำนวน 138 , 141, 101 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 99.28, 100, 100 ตามลำดับ และพบผลการตอบกลับที่ไม่
เป็นไปตามค่ากำหนดในปีพ.ศ. 2562 จำนวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 0.72 ซึ่งอาจเกิดจากผู้ทดสอบอ่าน
ผลทดสอบในระยะเวลาทไ่ี มเ่ หมาะสม หรือบนั ทึกข้อมูลคลาดเคล่ือน สมาชิกควรทำตามวธิ ที ร่ี ะบุในขัน้ ตอนการ
ทดสอบและทำการบันทึกผลด้วยความระมัดระวงั เพ่ือให้ผลการทดสอบมีความถูกต้องท่ีสุด ท้ังน้ีสามารถนำผล
การประเมินที่ได้รับจากหน่วยทดสอบความชำนาญทางห้องปฏิบัติการ ไปวิเคราะห์หาสาเหตุและค้นหา
ข้อบกพร่อง หรือแนวทางแก้ไข ซึ่งจะทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพงานให้ผลการทดสอบมีความถูกต้อง และ
นา่ เชือ่ ถอื มากย่ิงข้นึ

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Poster presentation) ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ครั้งท่ี 30 ประจำปีงบประมาณ 2565 วันที่ 22 - 24 มิถุนายน 2565 Hybrid Conference,
การประชมุ ออนไลน์ ควบคู่ Onsite ณ โรงแรมแกรนด์ รชิ มอนด์ จังหวดั นนทบรุ ี

- 42 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

ด้านยา สมนุ ไพร และเคร่ืองสำอาง 4

สถานการณ์การปลอมปนสารออกฤทธลิ์ ดน้ำหนักในผลติ ภัณฑ์เสรมิ อาหาร
ที่จำหน่ายในร้านค้าและจำหน่ายผ่านทางออนไลน์

ภณดิ า เออ้ื สิริกรกุล* ประคอง นิลวิเชยี ร และจรยิ า สุขผล
ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี

บทคัดยอ่
ปัจจุบันมีแนวโน้มการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้มีการผลิตและจำหน่ายมากขึ้น
แมว้ ่าจะมกี ารกำกบั และควบคมุ เพ่ือใหผ้ ลติ ภัณฑเ์ สริมอาหารมคี ุณภาพและได้มาตรฐาน แต่ยังคงพบปัญหาการ
ลักลอบใส่สารที่มีฤทธิ์ทางยาเพื่อให้ผลิตภัณฑ์นั้นมีสรรพคุณตามที่ได้กล่าวอ้างไว้และเห็นผลไว จากข้อมูลการ
เฝ้าระวังการปลอมปนยาในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระหว่างปี พ.ศ. 2556 –
2559 ยังคงพบการปลอมปนกลุ่มยาลดความอ้วนและกลุ่มยาลดความอยากอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ.2563
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี จึงศึกษาสถานการณ์การปลอมปนสารออกฤทธิ์ลดน้ำหนักใน
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอวดอ้างลดน้ำหนัก จำนวนทั้งสิ้น 167 ตัวอย่าง แบ่งเป็นจากแหล่งจำหน่าย ในประเทศ
ไทย 118 ตัวอย่าง และจำหน่ายออนไลน์ 49 ตัวอย่าง ผลสำรวจพบว่า ตรวจพบสารออกฤทธิ์ลดน้ำหนัก 30
ตัวอย่าง (17.9%) แบ่งเป็น ณ จุดจำหน่ายในประเทศไทย 15 ตัวอย่าง จาก 118 ตัวอย่าง (12.7%) และท่ี
จำหนา่ ยออนไลน์ 15 ตัวอย่าง จาก 49 ตัวอย่าง (30.6%) สถานการณ์การตรวจพบการปลอมปนสารออกฤทธิ์
ลดน้ำหนักในผลิตภณั ฑเ์ สรมิ อาหารอวดอ้างลดน้ำหนักทีจ่ ำหนา่ ยออนไลน์มีความรนุ แรงมากกว่าแหล่งจำหน่าย
ร้านคา้ จุดจำหน่าย สารอันตรายท่ีพบมากทีส่ ุด คือ ไซบทู รามีน รองลงมา คอื ลอคาร์เซอริน ดังนั้นหน่วยงานที่
เก่ียวข้องควรมกี ารเฝา้ ระวงั ควบคมุ กำกบั ดูแล ผลติ ภณั ฑ์อยา่ งเขม้ งวด โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงท่จี ำหนา่ ยออนไลน์

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Poster presentation) ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ครั้งที่ 30 ประจำปีงบประมาณ 2565 วันที่ 22 - 24 มิถุนายน 2565 Hybrid Conference,
การประชมุ ออนไลน์ ควบคู่ Onsite ณ โรงแรมแกรนด์ ริชมอนด์ จงั หวดั นนทบุรี

- 43 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

ดา้ นยา สมนุ ไพร และเครื่องสำอาง 5

ปรมิ าณแอลกอฮอลใ์ นเครือ่ งสำอางที่มสี ว่ นผสมของแอลกอฮอล์
เพอ่ื สุขอนามยั สำหรับมือ

อตินชุ นารถน้ำพอง1* นงนชุ พรง้ิ เพราะ1 องิ ฟ้า หมุนคำ2 จารพุ สั ตร์ เฉลยบุญ3 เอกพล วริ ัตน์4
ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี, สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั อำนาจเจริญ,
สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ศรีสะเกษ, สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดมกุ ดาหาร

บทคดั ย่อ
ด้วยการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ออกประกาศกำหนด
ลักษณะของเครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ (ALC) เพื่อสุขอนามัยสำหรับมือซึ่งมีความเข้มข้นของ
เอทิลแอลกอฮอล์ (EtOH) ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์ (IPA) หรอื เอ็น-โพรพิลแอลกออล์ (n-PrOH) เพียงสารเดียว
หรือผสมรวมกันอยู่ต้องไม่น้อยกว่า 70% โดยปริมาตร (v/v) และมีเมทิลแอลกอฮอล์ (MeOH) ได้ไม่เกิน 5%
v/v การศึกษานี้นำเสนอคุณภาพผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดมือที่จำหน่ายในห้างสรรพสินค้า ร้านค้าปลีกและ
ร้านขายยาในเขตสุขภาพที่ 10 ช่วงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 จากนั้นวิเคราะห์ปริมาณ ALC ด้วยวิธีแก๊สโคร
มาโทกราฟี ผลการสุ่มผลิตภัณฑ์ 32 ตัวอย่าง เป็นของเหลว 2 ตัวอย่าง เป็นเจล 30 ตัวอย่าง ปีที่ผลิต พ.ศ.
2562-2564 ผลวิเคราะห์ทุกตัวอย่างไม่พบ MeOH โดย 22 ตัวอย่าง (69%) มีปริมาณ ALC 70-85% v/v
และ 10 ตวั อย่าง (31%) ไมไ่ ด้มาตรฐานโดยมีปริมาณ ALC 42-68% v/v ซ่ึงการใชผ้ ลติ ภัณฑ์ท่ีไม่ได้มาตรฐาน
นี้อาจส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำความสะอาดมือ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจึงเร่งดำเนินการเก็บ
ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มาตรฐานออกจากท้องตลาด ตรวจสอบแหล่งผลิต รวมถึงสำรวจคุณภาพเพิ่มเติมใน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Oral presentation) ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ครั้งที่ 30 ประจำปีงบประมาณ 2565 วันท่ี 22 - 24 มิถุนายน 2565 Hybrid Conference,
การประชมุ ออนไลน์ ควบคู่ Onsite ณ โรงแรมแกรนด์ รชิ มอนด์ จงั หวัดนนทบรุ ี
- รางวัลชนะเลิศ ประเภทนำเสนอผลงานด้วยวาจา สาขา Risk Assessment and Health Treat
Warning เรือ่ ง ปริมาณแอลกอฮอลใ์ นเครื่องสำอางท่ีมีสว่ นผสมของแอลกอฮอล์เพื่อสุขอนามยั สำหรบั มือ

- 44 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

ดา้ นยา สมุนไพร และเครอ่ื งสำอาง 6

การพิสจู น์ความถกู ต้องของวธิ กี ารตรวจวเิ คราะหห์ าคลอโรฟอรม์ และไดคลอโรมีเทนทีเ่ จอื ปนในยานำ้ แผน
โบราณและเครอื่ งด่ืมสมนุ ไพรโดยวิธีแกส๊ โครมาโทกราฟแี ละตัวตรวจวัดชนดิ เฟรมอิออไนเซชนั

เสนยี ์ พลราช* โชตกิ า องอาจณรงค์ อตนิ ุช นารถน้ำพอง
ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

บทคดั ย่อ
คลอโรฟอร์มและไดคลอโรมีเทนจัดเป็นวัตถุอันตรายและเป็นสารก่อมะเร็งกลุ่ม 2B มีรายงานการ
ตรวจวเิ คราะหพ์ บในยานำ้ แผนโบราณและเครื่องด่ืมสมนุ ไพร การศึกษานมี้ ีวัตถปุ ระสงค์เพื่อพสิ ูจน์ความถูกต้อง
วิธีการตรวจวิเคราะห์หาคลอโรฟอร์มและไดคลอโรมีเทนที่เจือปนในยาน้ำแผนโบราณและเครื่องดื่มสมุนไพร
ตามคู่มือ ICHQ2(R1) โดยใช้วิธีแก๊สโครมาโทกราฟีและตัวตรวจวัดชนิดเฟรมอิออไนเซชัน คอลัมน์ Rtx-624
1642262 30 m x 320 µmx1.8µm สารมาตรฐานที่ใช้ประกอบด้วย เมทิลแอลกอฮอล์ เอทิลแอลกอฮอล์ ไอ
โซโพรพิลแอลกอฮอล์ ไดคลอโรมีเทน เอ็น-โพรพิลแอลกอฮอล์ และ คลอโรฟอร์ม พารามิเตอร์ที่ใช้ในการ
ทดสอบคือความจำเพาะเจาะจงและขีดจำกัดของการตรวจพบ พบว่าวิธีการตรวจวิเคราะห์นี้มีความจำเพาะ
สำหรับสารมาตรฐาน ที่เวลารันไทม์ 2.56, 3.06, 3.46, 3.79, 4.34 และ 5.13 นาที ตามลำดับ ขีดจำกัดของ
การตรวจพบสำหรบั คลอโรฟอร์มและไดคลอโรมีเทนคือ 0.001 % v/v วธิ กี ารตรวจวิเคราะหน์ ส้ี ามารถใช้ตรวจ
วิเคราะห์คลอโรฟอร์มและไดคลอโรมีเทนที่เจือปนในผลิตภัณฑ์ดังกล่าวนี้ได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ตรวจ
วเิ คราะห์ชนดิ ของแอลกอฮอลท์ เี่ จอื ปนในผลติ ภณั ฑ์ในคราวเดียวกันได้อกี ด้วย

คำสำคญั : การพสิ ูจน์ความถูกต้องของวิธีการตรวจวิเคราะห,์ คลอโรฟอรม์ , ไดคลอโรมีเทน, ยานำ้ แผนโบราณ, เครอื่ งด่มื สมุนไพร

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Oral presentation) ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ครั้งท่ี 30 ประจำปีงบประมาณ 2565 วันที่ 22 - 24 มิถุนายน 2565 Hybrid Conference,
การประชมุ ออนไลน์ ควบคู่ Onsite ณ โรงแรมแกรนด์ รชิ มอนด์ จังหวัดนนทบุรี

- 45 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี

ดา้ นอาหาร 7

การใช้วตั ถุเจือปนอาหารในน้ำปลารา้ ปรงุ รส ในเขตสขุ ภาพที่ 10
และแหลง่ จำหน่ายออนไลน์

พัชราภรณ์ เกยี รตนิ ติ ิประวตั ิ* อรณุ ี ศริ ิปี ชรินรตั น์ ศริ ธิ รรม
ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

บทคดั ยอ่
การศึกษานี้เป็นการประเมินสถานการณ์การใช้วัตถุเจือปนอาหารชนิดกรดเบนโซอิก กรดซอร์บิก
ไนเทรต ไนไทรต์ และสีอนิ ทรยี ส์ ังเคราะห์ ในน้ำปลาร้าปรงุ รสจากซุปเปอรม์ าเก็ตและตลาดในเขตสุขภาพที่ 10
และผ่านทางออนไลน์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวมทั้งสิ้น 117 ตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์โดยวิธีโครมาโทก
ราฟีของเหลวสมรรถนะสูง ผลวิเคราะหท์ ไี่ ด้ประเมินตามเกณฑม์ าตรฐานประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่
418) พ.ศ. 2563 เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการใช้ และอัตราส่วนของวัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 2)
ผลการศึกษา พบกรดเบนโซอิก 100 ตัวอย่าง (ร้อยละ 85.47) ไม่ได้มาตรฐาน 5 ตัวอย่าง (ร้อยละ 4.27) อยู่
ในชว่ ง 1,050-8,037 มิลลิกรัมต่อกโิ ลกรัม กรดซอรบ์ ิก 12 ตัวอย่าง ได้มาตรฐานทกุ ตัวอย่าง (ร้อยละ 100) พบ
การใช้กรดเบนโซอิกร่วมกับกรดซอร์บกิ 11 ตัวอย่าง ไมไ่ ด้มาตรฐาน 3 ตวั อยา่ ง (รอ้ ยละ 2.56) ปริมาณรวมอยู่
ในช่วง 1,113-1,531 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม มีการใช้สีอินทรีย์สังเคราะห์ชนิดซันเซตเยลโลว์เอฟซีเอฟ และตาร์
ตราซีน 2 ตัวอย่าง (ร้อยละ 1.21) อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และตรวจไม่พบกรดเบนโซอิก กรดซอร์บิก ไนเทรต
ไนไทรต์ และสีอินทรีย์สังเคราะห์ จำนวน 16 ตัวอย่าง (ร้อยละ 13.68) จากการศึกษานี้พบว่ายงั มบี างตัวอยา่ ง
ที่มีการเติมวัตถุเจือปนในปริมาณสูง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการเฝ้าระวังและควบคุมการใช้วัตถุเจือปน
ตามท่ีกฎหมายกำหนด

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Poster presentation) ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ครั้งที่ 30 ประจำปีงบประมาณ 2565 วันที่ 22 - 24 มิถุนายน 2565 Hybrid Conference,
การประชมุ ออนไลน์ ควบคู่ Onsite ณ โรงแรมแกรนด์ ริชมอนด์ จงั หวดั นนทบรุ ี

- 46 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี


Click to View FlipBook Version