The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี2565ศวก.ที่10 อุบลราชธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rmscubon, 2022-12-01 22:53:51

รายงานประจำปี2565ศวก.ที่10 อุบลราชธานี

รายงานประจำปี2565ศวก.ที่10 อุบลราชธานี

Keywords: รายงานประจำปี2565

ดา้ นอาหาร 8

การใช้วตั ถุเจือปนอาหารในน้ำปลารา้ ปรงุ รส ในเขตสขุ ภาพที่ 10
และแหลง่ จำหน่ายออนไลน์

พัชราภรณ์ เกยี รตนิ ติ ิประวตั ิ* อรณุ ี ศริ ิปี ชรินรตั น์ ศริ ธิ รรม
ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

บทคดั ยอ่
การศึกษานี้เป็นการประเมินสถานการณ์การใช้วัตถุเจือปนอาหารชนิดกรดเบนโซอิก กรดซอร์บิก
ไนเทรต ไนไทรต์ และสีอนิ ทรยี ส์ ังเคราะห์ ในน้ำปลาร้าปรงุ รสจากซุปเปอรม์ าเก็ตและตลาดในเขตสุขภาพที่ 10
และผ่านทางออนไลน์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวมทั้งสิ้น 117 ตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์โดยวิธีโครมาโทก
ราฟีของเหลวสมรรถนะสูง ผลวิเคราะหท์ ไี่ ด้ประเมินตามเกณฑม์ าตรฐานประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่
418) พ.ศ. 2563 เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการใช้ และอัตราส่วนของวัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 2)
ผลการศึกษา พบกรดเบนโซอิก 100 ตัวอย่าง (ร้อยละ 85.47) ไม่ได้มาตรฐาน 5 ตัวอย่าง (ร้อยละ 4.27) อยู่
ในชว่ ง 1,050-8,037 มิลลิกรัมต่อกโิ ลกรัม กรดซอรบ์ ิก 12 ตัวอย่าง ได้มาตรฐานทกุ ตัวอย่าง (ร้อยละ 100) พบ
การใช้กรดเบนโซอิกร่วมกับกรดซอร์บกิ 11 ตัวอย่าง ไมไ่ ด้มาตรฐาน 3 ตวั อยา่ ง (รอ้ ยละ 2.56) ปริมาณรวมอยู่
ในช่วง 1,113-1,531 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม มีการใช้สีอินทรีย์สังเคราะห์ชนิดซันเซตเยลโลว์เอฟซีเอฟ และตาร์
ตราซีน 2 ตัวอย่าง (ร้อยละ 1.21) อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และตรวจไม่พบกรดเบนโซอิก กรดซอร์บิก ไนเทรต
ไนไทรต์ และสีอินทรีย์สังเคราะห์ จำนวน 16 ตัวอย่าง (ร้อยละ 13.68) จากการศึกษานี้พบว่ายงั มบี างตัวอยา่ ง
ที่มีการเติมวัตถุเจือปนในปริมาณสูง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการเฝ้าระวังและควบคุมการใช้วัตถุเจือปน
ตามท่ีกฎหมายกำหนด

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Poster presentation) ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ครั้งที่ 30 ประจำปีงบประมาณ 2565 วันที่ 22 - 24 มิถุนายน 2565 Hybrid Conference,
การประชมุ ออนไลน์ ควบคู่ Onsite ณ โรงแรมแกรนด์ ริชมอนด์ จงั หวดั นนทบรุ ี

- 47 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี


ด้านอาหาร 9

ปริมาณฟอร์มาลดไี ฮดอ์ สิ ระของอาหารกลุ่มปลาหมกึ ปลาหมกึ แชด่ ่าง และสไบนาง ในเขตสุขภาพที่ 10

สมพร เอมโอษฐ์* ประชาพร ผลสนิ พชั ราภรณ์ เกยี รตินติ ิประวตั ิ
ศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

บทคัดยอ่
ประเทศไทยกำหนดให้ฟอร์มาลดีไฮด์เป็นสารห้ามใช้ในอาหารตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ฉบับท่ี 391 (พ.ศ. 2561) สารนีม้ ตี ามธรรมชาติในอาหารบางประเภทและอาจมกี ารเตมิ ด้วยวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อคง
ความสดใหม่ กรอบ และรักษาไม่ให้อาหารเน่าเสีย การศึกษานี้นำเสนอปริมาณฟอร์มาลดีไฮด์อิสระในอาหาร
โดยสุ่มตัวอย่างจากแหล่งจำหน่ายในเขตสุขภาพท่ี 10 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึง 2564 จำนวน 129
ตัวอย่าง ได้แก่ ปลาหมึกสด 72 ตัวอย่าง ปลาหมึกแช่ด่าง 25 ตัวอย่าง และสไบนาง 32 ตัวอย่าง ด้วยเทคนิค
High performance liquid chromatography (HPLC) ผลการศึกษาไม่พบฟอร์มาลดีไฮด์ จำนวน 113
ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 87.60 และพบฟอร์มาลดีไฮด์ จำนวน 16 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 12.40 ในปลาหมึก
สด 4 ตัวอย่าง (6.42 - 20 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปลาหมึกแช่ด่าง 6 ตัวอย่าง (10.75 – 555 มิลลิกรัมต่อ
กิโลกรมั ) และสไบนาง 6 ตัวอย่าง (38.09 - 680 มิลลิกรัมตอ่ กโิ ลกรมั ) ผลการศกึ ษาน้จี ะเป็นประโยชน์ต่อการ
คุ้มครองผู้บริโภค โดยหน่วยงานภาครัฐและเอกชน นำไปใช้เป็นแนวทางในการควบคุม กำกับ ดูแลความ
ปลอดภัยของอาหารตอ่ ไป

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Poster presentation) ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ครั้งท่ี 30 ประจำปีงบประมาณ 2565 วันท่ี 22 - 24 มิถุนายน 2565 Hybrid Conference,
การประชมุ ออนไลน์ ควบคู่ Onsite ณ โรงแรมแกรนด์ รชิ มอนด์ จังหวดั นนทบุรี

- 48 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


ด้านอาหาร 10

การประเมินความเสี่ยงการไดร้ ับสมั ผสั กรดเบนโซอิกและกรดซอร์บกิ
จากการบรโิ ภคนำ้ พริกในเขตสขุ ภาพท่ี 10

อรุณี ศิรปิ *ี พชั ราภรณ์ เกียรตินติ ปิ ระวตั ิ ชรินรตั น์ ศริ ธิ รรม
ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

บทคดั ยอ่
น้ำพริกเป็นอาหารที่นิยมนำมาบริโภคหรือปรุงเป็นอาหารพร้อมรับประทานโดยเฉพาะเขตภาคอีสาน
จึงได้ทำการประเมินความเสี่ยงการได้รับสัมผัสกรดเบนโซอิกและกรดซอร์บิกจากการบริโภคน้ำพริกในเขต
สุขภาพที่ 10 ในปี พ.ศ. 2563-2564 จากแหล่งจำหน่ายขนาดใหญ่และร้านขายของฝาก วิเคราะห์โดยวิธี
HPLC กรดเบนโซอกิ และกรดซอรบ์ กิ มีค่า LOD 6 และ 7 mg/kg คา่ LOQ 15 และ 15 mg/kg ตามลำดบั เกบ็
ตัวอย่าง 151 ตวั อย่าง แบ่งเปน็ น้ำพรกิ พร้อมบรโิ ภคแบบแหง้ 68 ตัวอยา่ ง พบกรดเบนโซอกิ และกรดซอรบ์ ิก มี
ปริมาณอยู่ในช่วง 26-2,810 และ น้อยกว่า 15-968 mg/kg ตามลำดับ น้ำพริกพร้อมบริโภคแบบเปียก 83
ตัวอย่าง มีปริมาณอยู่ในช่วง 17-4,454 และ น้อยกว่า 15-848 mg/kg ตามลำดับ ผลการประเมินความเสี่ยง
การได้รับสัมผัสกรดเบนโซอิกที่ระดับเฉลี่ยของน้ำพริกแบบแห้งและแบบเปียกอยู่ในระดับต่ำกว่าร้อยละ 0.23
ADI จึงมีความปลอดภัยต่อทุกกลุ่มอายุ ผลการประเมินความเสี่ยงของกลุ่มประชากรทั้งหมดและกลุ่มเฉพาะ
ผู้บริโภคที่ระดับ 97.5 เปอร์เซ็นต์ไทล์ คิดเป็นร้อยละ 19.65-27.35 และ 52.04–103.28 ของ ADI ตามลำดบั
พบมีความเสี่ยงสูงในระดับที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของกลุ่มอายุ 3-5.9 ปี เฉพาะผู้บริโภคน้ำพริกแบบ
เปียก ดังนั้นหน่วยงานที่รับผิดชอบควรมีการควบคุมการใช้กรดเบนโซอิกและกรดซอร์บิกในน้ำพริกให้เป็นไป
ตามเกณฑม์ าตรฐาน

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Poster presentation) ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ครั้งท่ี 30 ประจำปีงบประมาณ 2565 วันท่ี 22 - 24 มิถุนายน 2565 Hybrid Conference,
การประชมุ ออนไลน์ ควบคู่ Onsite ณ โรงแรมแกรนด์ ริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี

- 49 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี


ด้านอาหาร 11

กระบวนการสกดั ใหม่สำหรับวิเคราะห์สารเคมีกำจัดแมลงกลุ่มคารบ์ าเมตตกคา้ งในผัก

ชรินรตั น์ ศริ ิธรรม*1 พชั ราภรณ์ เกยี รตินติ ปิ ระวัติ1 อรณุ ี ศิริปี1 ฐติ พิ รรณ ชา่ งสาน2 จงดี บรู ณชยั 2 และคณะ
1ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี, กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2ศนู ยว์ จิ ยั ความเป็นเลศิ ดา้ นการ

วเิ คราะหส์ ารปริมาณน้อยและไบโอเซนเซอร์, คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์

บทคัดยอ่
สารเคมีกำจัดแมลงกลมุ่ คาร์บาเมตตกค้างทีร่ ะดับความเข้มขน้ ต่ำขั้นตอนการสกัดจึงมีความจำเป็นเพ่ือ
กำจัดตัวรบกวนและเพิ่มความเข้มข้นของสารที่สนใจวิเคราะห์ก่อนวิเคราะห์ ด้วยเครื่องโครมาโทกราฟี
ของเหลวสมรรถนะสูงร่วมกับการทำปฏิกิริยาอนุพันธ์หลังคอลัมน์ และตัวตรวจวัดชนิดฟูออเรสเซนต์ ศูนย์
วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี จึงได้พัฒนากระบวนการสกัดรูปแบบใหม่โดยใช้ตัวดูดซับแม่เหล็ก
ชนิดพอลิเมอร์ร่วมกับเครื่องกวนแม่เหล็กไฟฟ้า ทดสอบการใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารเคมีกำจัดแมลงตกค้าง
กลุ่มคาร์บาเมต ได้แก่ อัลดิคาร์บ คาร์บาริล คาร์โบฟูราน เมธโทมิล เมทธีโอคาร์บ ออกซามิล และ 3-OH คาร์
โบฟรู าน ภายใตส้ ภาวะที่เหมาะสม พบวา่ วิธีทพ่ี ัฒนาข้ึนใหช้ ว่ งความเป็นเส้นตรงท่ดี ี 0.10–1.00 ไมโครกรัมต่อ
มิลลิลิตร (r2 > 0.9900) และให้ขีดจำกัดการตรวจวัดที่ต่ำ (0.002 มก./กก.) วิธีที่พัฒนาขึ้นให้ค่าความแม่น
และความเที่ยงที่ดี ให้ค่าร้อยละการได้กลับคืนอยู่ในช่วง 83 ถึง 109 และค่า RSDs 1.21-3.82 ในตัวอย่าง
ผักกวางตุ้ง นอกจากนี้ยังพบว่าตัวดูดซับซ้ำได้ถึง 15 ครั้ง ดังนั้นกระบวนการสกัดแบบใหม่นี้สามารถใช้เป็น
กระบวนการสกัดสารเคมีกำจัดแมลงกลุ่มคาร์บาเมตในผัก ที่ทำได้ง่าย ประหยัด ลดปริมาตรตัวทำละลาย
อินทรีย์ และตัวอยา่ งที่ใช้ในการวเิ คราะห์

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Poster presentation) ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ครั้งที่ 30 ประจำปีงบประมาณ 2565 วันท่ี 22 - 24 มิถุนายน 2565 Hybrid Conference,
การประชุมออนไลน์ ควบคู่ Onsite ณ โรงแรมแกรนด์ รชิ มอนด์ จังหวดั นนทบรุ ี

- 50 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี


ด้านอาหาร 12

นวตั กรรรม “กระบวนการวิเคราะห์สารเคมีกำจัดแมลงตกคา้ งในผกั และผลไม้”

ชรินรตั น์ ศิริธรรม1 พชั ราภรณ์ เกยี รตินิติประวัติ1 อรุณี ศิรปิ ี1 ฐิตวิ รรณ ช่างสาน2 จงดี บรู ณชัย2 และคณะ
1ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี, กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ 2ศูนยว์ จิ ัยความเป็นเลิศดา้ นการ

วิเคราะห์สารปริมาณน้อยและไบโอเซนเซอร์, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์
บทคดั ยอ่

ความปลอดภัยของผักและผลไม้มีความสำคัญของผู้บริโภค จึงมีการควบคุมปริมาณสารพิษตกค้าง
สูงสุดตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 419) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร
พ.ศ. 2522 เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง (ฉบับท่ี 3) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี เป็น
หน่วยงานอ้างอิงทางห้องปฏิบัตกิ ารท่ีได้การรับรองตามมาตรฐานสากล ได้เปดิ ให้บริการตรวจวิเคราะห์สารเคมี
กำจัดแมลงของกลุ่มคาร์บาเมต ได้แก่ อัลดิคาร์บ คาร์บาริล คาร์โบฟูราน เมธโทมิล เมทธีโอคาร์บ ออกซามิล
และ 3-OH คาร์โบฟรู าน ทตี่ กคา้ งในผกั และผลไม้ ดว้ ยวิธมี าตรฐานเดมิ ท่ีใชใ้ นการปฏบิ ัติงานนน้ั เปน็ วธิ ีท่ียุ่งยาก
หลายขั้นตอน ใช้เวลานาน ใช้อุปกรณ์และเครื่องมือจำนวนมาก จึงได้พัฒนานวัตกรรมกระบวนการวิเคราะห์
แบบใหม่สำหรับสารเคมกี ำจัดแมลงของกลุ่มคาร์บาเมตในผกั และผลไม้ โดยใชต้ วั ดูดซับแม่เหล็กชนิดพอลิเมอร์
ร่วมกับเครื่องกวนแม่เหลก็ ไฟฟ้า และตรวจวัดด้วยเครื่องด้วยโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูงร่วมกับการ
ทำปฏิกิริยาอนุพันธ์หลงั คอลัมน์ และตัวตรวจวัดชนิดฟูออเรสเซนต์ ภายใต้สภาวะที่เหมาะสมของวธิ ี พบว่าให้
ช่วงความเป็นเส้นตรงที่ดี 0.10 – 1.00 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร (R2 > 0.9900) และให้ขีดจำกัดการตรวจวัดท่ี
ต่ำ (0.002 มก./กก.) เป็นวิธีที่ให้ขีดจำกัดของการตรวจวัดมีค่าต่ำกว่าปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดในผักและ
ผลไม้ที่กฎหมายกำหนดไว้ และนวัตกรรมนี้ผ่านการทดสอบความถูกต้องวิธีมีค่าความแม่นและความเที่ยงที่ดี
ให้ค่าร้อยละการได้กลับคืนอยู่ในช่วง 83 ถึง 109 และค่า RSDs 1.21-3.82 ดังนั้นสามารถนำไปใช้เป็นวิธี
วิเคราะห์สารเคมีกำจัดแมลงกลุ่มคาร์บาเมตในผักและผลไม้ให้เป็นไปตามค่ากำหนดทางกฎหมายระบุใน
พระราชบัญญัติอาหาร ปี พ.ศ. 2522 เป็นวิธีวิเคราะห์ใหม่ของประเทศไทยที่ได้ใช้ตัวดูดซับที่เตรียมขึ้นเองใน
ประเทศ สามารถใชซ้ ้ำได้ มีประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ ลดเวลาในการวิเคราะหจ์ ากเดิมได้ถงึ 15 ช่ัวโมง และ
ประหยัดค่าใช้จ่ายจากวิธีวิเคราะห์เดิมได้ถึง 250 เท่า ทำให้เป็นวิธีวิเคราะห์เป็นทางเลือกหนึ่งที่ประหยัด
สำหรับผู้ใชบ้ รกิ ารตรวจวิเคราะห์สารเคมีกำจัดแมลงกลุ่มคารบ์ าเมตในผกั และผลไม้

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Oral presentation) ประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุข
ประจำปี 2565 "มหกรรมการจัดการความรู้จากบทเรียนโควิด 19 และโครงการประชุมวิชาการ
กระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2565" สาขา "วิทยาศาสตร์การแพทย์ , Lab" วันท่ี 14-16 กันยายน
2565 ณ ศูนย์การประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

- 51 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี


ด้านอาหาร 13

คุณภาพน้ำด่มื ประชารฐั ในจงั หวัดอุบลราชธานี ศรสี ะเกษ และอำนาจเจรญิ

ประชาพร ผลสิน* สมพร เอมโอษฐ์ อรุณี ศิริปี
ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

บทคัดยอ่
น้ำดื่มประชารัฐเป็นโครงการตามแนวทางที่รัฐบาลต้องการส่งเสริม และสร้างความเข้มแข็งทาง
เศรษฐกิจโดยให้การสนับสนุนงบประมาณผ่านกองทุนหมู่บ้าน เพื่อให้มีการผลิตน้ำดื่มที่มีคุณภาพ ถูกหลัก
อนามัยในราคาท่เี หมาะสม ซงึ่ คณุ ภาพนำ้ บริโภคต้องไดม้ าตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ที่ 61
( ปี 2524) เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี จึงได้
ศึกษาคณุ ภาพน้ำดื่มประชารัฐทางด้านเคมี โดยเก็บตัวอยา่ งในจังหวดั อบุ ลราชธานี ศรีสะเกษ และอำนาจเจริญ
ในปี พ.ศ. 2561 ถึง 2563 จำนวน 304 ตัวอย่าง แบ่งเป็นน้ำบาดาลเพื่อใช้ในการผลิตน้ำดื่มประชารัฐ 152
ตัวอย่าง และน้ำดื่มประชารัฐ 152 ตัวอย่าง พบว่าได้มาตรฐานร้อยละ 22 และ 82 ตามลำดับ เมื่อแยกเป็น
จังหวัดพบว่าน้ำบาดาลและน้ำดื่มประชารัฐได้มาตรฐานร้อยละ 37, 12, 24 และ 97, 66, 90 ตามลำดับ จาก
ผลการศึกษาระบุให้เห็นว่าโดยรวมแล้วคุณภาพของน้ำดื่มประชารัฐยังไม่ได้มาตรฐาน ดังนั้นหน่วยงานท่ี
เกย่ี วขอ้ งสามารถนำข้อมูลไปใช้ แก้ไข พัฒนาและเป็นแนวทาง ในการเฝา้ ระวังคณุ ภาพน้ำดื่มประชารัฐ เพื่อให้
น้ำด่มื ประชารัฐมคี ุณภาพและความปลอดภยั ตอ่ ผู้บรโิ ภค

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Poster presentation) ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ครั้งท่ี 30 ประจำปีงบประมาณ 2565 วันที่ 22 - 24 มิถุนายน 2565 Hybrid Conference,
การประชุมออนไลน์ ควบคู่ Onsite ณ โรงแรมแกรนด์ ริชมอนด์ จงั หวดั นนทบรุ ี

- 52 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี


ดา้ นพษิ วิทยา 14

สารเคมีป้องกนั กำจดั ศัตรพู ชื ตกค้างในพรกิ ท่ีจำหน่ายในเขตสุขภาพที่ 10

อติชาต สีลวานชิ * ประชาพร ผลสนิ สมพร เอมโอษฐ์
ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

บทคัดย่อ
สารเคมีป้องกนั กำจัดศัตรูพืชถูกนำมาใช้ในการเพาะปลกู เพ่อื ลดปญั หาแมลงศตั รูและโรคในพืช แต่ถ้า
มกี ารนำไปใช้งานอยา่ งไมถ่ ูกต้องเหมาะสมอาจสง่ ผลเสยี ต่อท้ังสุขภาพและสง่ิ แวดลอ้ มได้ เพอื่ ควบคมุ การใช้งาน
ให้เหมาะสม จึงได้มีการกำหนดค่าปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดที่พบได้ (MRL) เพื่อใช้เป็นเกณฑ์อ้างอิง ตาม
ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ืองอาหารท่ีมีสารพิษตกคา้ ง ฉบับที่ 387 (พ.ศ.2560) การศกึ ษาคร้ังนี้ได้ทำการ
ตรวจวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณสารเคมีป้องกันกำจดั ศตั รูพืช กลุ่มออร์กาโนคลอรีน กลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต
และกลุ่มไพรีทรอยด์ ด้วยเทคนิค Gas chromatography จากตวั อยา่ งพรกิ ท่ีมีการจำหนา่ ยในเขตสขุ ภาพที่ 10
จำนวน 62 ตัวอย่าง ในช่วงเดือนมกราคม และเดือนกรกฎาคม 2564 พบว่ามีสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ตกค้างในพริก 34 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 55 ประกอบด้วยกลุ่มออร์กาโนคลอรีน 6 ชนิด (chlorothalonil,
DDT, dieldrin, endosulfan, endrin และ heptachlordane) กล่มุ ออกาโนฟอสเฟต 4 ชนิด (chlorpyrifos,
prophenofos, ethion และ triazophos) และกลุ่มไพรีทรอยด์ 5 ชนิด (bifenthrin, cyhalothrin,
cypermethrin, deltamethrin และ permethrin) นอกจากนั้นยังมีการตรวจพบการตกค้างของสารชนิด
cypermethrin และ deltamethrin เกินค่า MRL จำนวน 12 และ 1 ตัวอย่างตามลำดับ รวมทั้งมีการตรวจ
พบสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชตกค้างมากกว่า 1 กลุ่ม ในพริก 13 ตัวอย่าง ดังนั้นเกษตรกรควรใช้สารเคมี
ป้องกันกำจัดศัตรูพืชให้เหมาะสม ผู้บริโภคควรล้างพริกให้สะอาดก่อนการรับประทานทุกครั้งเพื่อลดปริมาณ
สารเคมีป้องกนั กำจัดศัตรูพชื ที่จะไดร้ ับเขา้ สู่ร่างกาย

การนำเสนอผลงาน:
- การนำเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ (Poster presentation) ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ครั้งที่ 30 ประจำปีงบประมาณ 2565 วันท่ี 22 - 24 มิถุนายน 2565 Hybrid Conference,
การประชมุ ออนไลน์ ควบคู่ Onsite ณ โรงแรมแกรนด์ ริชมอนด์ จงั หวัดนนทบุรี

- 53 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี


ด้านรังสี เครื่องมือแพทย์ และสอบเทียบ 15
การสำรวจวดั คา่ ความเข้มของสนามแมเ่ หล็กไฟฟา้ จากสถานฐี าน

ระบบโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทใ่ี นเขตอำเภอเมอื งอุบลราชธานี จงั หวัดอุบลราชธานี

นงนุช พริง้ เพราะ1 จันทรา โสภาวรรณ์1 และอภชิ นันท์ คงธนะ2
ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี1

สำนักรังสีและเครอื่ งมือแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์2

บทคัดย่อ โทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นเครื่องมือสื่อสารที่สำคัญในชีวิตประจำวันของประชาชนในยุคปัจจุบันที่มี
ปริมาณการใช้งานเพิ่มขึ้น การติดตั้งสถานีฐานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่จึงเพิ่มขึ้นตามปริมาณการใช้ในทิศทาง
เดียวกัน ดังนั้นสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกินมาตรฐานจึงเป็นปัจจัยเสี่ยงการเกิดมะเร็งในกลุ่ม 2B จัดเป็นกลุ่มท่ี
อาจจะเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี ได้เข้าร่วมโครงการร่วมกับ
สำนักรังสีและเครือ่ งมือแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ทำการสำรวจค่าความเข้มของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
จากสถานีฐานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 22 สถานี
ฐาน ในปีงบประมาณ 2565 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภัยสุขภาพและสื่อสารให้ประชาชนได้ทราบข้อมูลค่าความ
เข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากสถานีฐานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยนำค่าที่วัดได้เปรียบเทียบกับค่า
มาตรฐานสากล (ICNIRP) ผลการดำเนินงานพบว่าความเข้มของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ในอำเภอเมือง
อบุ ลราชธานี จงั หวดั อุบลราชธานี มคี า่ ตำ่ กว่าคา่ มาตรฐานสากล โดยคา่ ความเขม้ ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าสูงสุด
ที่ประมาณ 0.003421 W/m2 รองลงมามีค่าประมาณ 0.00165 W/m2 ที่ระยะ 300 เมตร โดยค่าที่วัดได้ต่ำ
กว่าเกณฑ์มาตรฐานเป็นพันเท่า ข้อมูลสำรวจดังกล่าวเป็นข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นสำหรับเฝา้ ระวงั ความเข้มของ
สนามแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าจากสถานีฐานระบบโทรศัพทเ์ คล่ือนที่ ทอ่ี าจมีเพมิ่ ขึ้นในอนาคต

บทนำ
ปัจจุบันมีผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่โดยเฉพาะสมาร์ทโฟนเพิ่มมากขึ้นตั้งแตย่ ุค 4G จนถึง 5G ซึ่งโทรศัพท์
สมาร์ทโฟนเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของประชาชนไม่ว่าจะด้านการติดต่อสื่อสาร การค้าขาย ธุรกิจ
พาณิชย์ การทำธุรกรรมการเงิน และการสร้างปฏิสัมพันธ์ทางสื่อโซเชียล 5G เป็นเครือข่ายไร้สายที่ถูกพัฒนา
และเริ่มใช้ในปีพ.ศ. 2561 เป็นต้นมา มีประสิทธิภาพสูงสุดถึง 20 จิกะบิตต่อวินาที ประสิทธิภาพสูงซึ่งเร็วกว่า
4G ถึง 10 เท่า องค์การอนามัยโลกที่เป็นหน่วยงานระหว่างประเทศเพื่อการวิจัยมะเร็ง หรือ International
Agency for Research on Cancer : IARC ได้จัดให้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าอยู่ในตัวกระทำที่อาจก่อให้เกิด
โรคมะเร็ง กลุ่ม 2B เป็นกลุ่มที่อาจเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดโรงมะเร็ง ในปี พ.ศ. 2564 สำนักรังสีและเครื่องมือ
แพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ทำการสำรวจวัดค่าความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากสถานีฐานระบบ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยทำการประเมินความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้าใช้
การเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานการสัมผัสสนามแม่เหล็กไฟฟ้าของประชาชนทั่วไป ตามมาตรฐานสากล
(ICNIRP) พบว่าความเข้มเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานคร 50 เขต และอำเภอเมืองในเขต
ปริมณฑล 5 จังหวัด มีค่าต่ำกว่าค่ามาตรฐานสากลอย่างมาก จึงมีความปลอดภัยไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่

- 54 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี


ประชาชนทอ่ี ยู่ใกลเ้ คียงกบั สถานฐี านระบบโทรศัพทม์ ือถือ แมว้ ่าผลสำรวจวัดค่าสนามแม่เหล็กไฟฟ้าสถานีจาก
ฐานระบบโทรศัพท์มือถือจะอยู่ในเกณฑ์ปลอดภัยแต่ต้องเฝ้าระวังประเมินความเสี่ ยงและคุ้มครองผู้บริโภค
เกย่ี วกับสนามแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จากสถานีฐานระบบโทรศัพท์มือถอื อยา่ งต่อเนื่อง

ดังนั้นกลุ่มงานรังสีและเคร่ืองมือแพทย์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี ร่วมกับสำนัก
รังสีและเคร่ืองมือแพทย์ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ จงึ ดำเนินการตรวจสอบความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจาก
สถานีฐานของโทรศัพท์เคลื่อนที่จากสถานีฐานของโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัด
อุบลราชธานี เพื่อให้ทราบค่าความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟา้ จากสถานฐี านระบบโทรศัพท์เคล่ือนที่และเพ่ือเป็น
การเฝา้ ระวังภัยสุขภาพและสอ่ื สารให้ประชาชนไดท้ ราบ

กล่มุ ตัวอยา่ งและเคร่อื งมอื ทใ่ี ช้
1. สุ่มตรวจสถานีฐานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

จำนวน 22 สถานี บรเิ วณจุดทีท่ ำการตรวจวดั ห่างจากสถานฐี านทีร่ ะยะ 100 เมตร และ300 เมตร
2. ตรวจวัดโดยใช้เครื่องวัดความเข้มของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากสถานีฐานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่

ยห่ี ้อ NARDA รนุ่ SMR-3006 หมายเลขเคร่อื ง P-0345 หมายเลขหวั วดั M-0519 มขี นาดความถี่ช่วง 27 MHz – 3 GHz

ขัน้ ตอนดำเนินงาน
1. ศึกษาเอกสารอ้างอิงการสำรวจวัดค่าความเข้มของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากสถานีฐานระบบ
โทรศัพท์เคล่อื นที่ กบั สำนกั รังสแี ละเครือ่ งมือแพทย์ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์
2. วางแผนกิจกรรมการสำรวจสถานีฐานของระบบทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างน้อยประมาณตำบลละ 1
สถานีฐาน รวมประมาณ 12 สถานี และสำรวจที่เป็นสถานท่ชี ุมชน มีอาคารบ้านเรือนหรือสถานที่
ราชการ ที่คาดว่าจะมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นเป็นอันดับ 1 ใน 3 เช่น ตำบลในเมือง ตำบล
ขามใหญ่ ทมี่ ีประชากรมากทีส่ ดุ รวมทำการตรวจวัดท้ังหมด 22 สถานฐี าน
3. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี ลงพื้นที่ตรวจสอบเส้นทางการเข้าถึงสถานีฐาน
ระบบโทรศพั ทเ์ คล่อื นทใี่ นเขตอำเภอเมืองอบุ ลราชธานี จงั หวัดอบุ ลราชธานี จำนวน 22 สถานีฐาน
4. ดำเนนิ การสำรวจวดั ค่าความเข้มของสนามแมเ่ หล็กไฟฟ้าจากสถานฐี านระบบโทรศัพท์เคล่ือนท่ีใน
เขตอำเภอเมอื งอบุ ลราชธานี จงั หวัดอบุ ลราชธานตี ามแผนกิจกรรม
5. วิเคราะห์ค่าและประเมินผลโดยนำค่าที่วัดได้มาประเมินผลเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานสากล
ICNIRP ของแต่ละความถ่ี (MHz) คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ ท่วี ัดได้ ดังแสดงในตารางที่ 1

- 55 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


ตารางท่ี 1 แสดงการไดม้ าของคา่ มาตรฐานสากล ICNIRP ในแต่ละความถี่ (MHz) คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าท่วี ัด8

ความถีค่ ลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า คา่ มาตรฐาน วิธีการคำนาณจาก
(MHz) (W/m2)
ICNIRP

750 3.75 f/200 = 750/200 = 3.75

900 4.50 f/200 = 900/200 = 4.50

1800 9.00 f/200 = 1800/200 = 9.00

2100 10.00 f/200 = 2100/200 = 10.00

• เมอ่ื f คอื ความถ่คี ลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้
6. วจิ ารณแ์ ละสรุป

ผล

ผลการดำเนินงาน

ผลการสำรวจวัดค่าความเข้มของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากสถานีฐานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ในเขต

อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวดั อบุ ลราชธานี จำนวน 22 สถานฐี าน ท่รี ะยะ 100 และ 300 เมตร เปรยี บเทียบ

กบั คา่ มาตรฐานสากล ดงั แสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ค่าความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากสถานีฐานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่วัดไดจ้ ากสถานีฐานระบบ

โทรศัพทเ์ คลอื่ นที่ในเขตอำเภอเมอื งอุบลราชธานี จังหวดั อุบลราชธานี เปรียบเทียบกับคา่ มาตรฐานสากล

ระยะห่าง ค่า เปรียบเทยี บกบั
มาตรฐาน คา่ มาตรฐาน
ลำ ทวี่ ัด เครอื ขา่ ย ความถี่ ค่าทีว่ ดั ได้ (W/m2) (ต่ำกวา่ จำนวนเทา่ ) พิกดั ท่ที ำการ
(MHz) (W/m2) ตรวจวัด
ดบั (m) (DL)

จุดท่ี 300 True DL 950 - 960 0.0003005 4.5 14975 15°19'58.3'' N 104°41'58.8'' E
1 100 True DL 950 - 960 0.0003617 4.5 12441 15°19'57.5'' N 104°42'05.4'' E

จุดท่ี 300 DTAC DL 768 - 778 0.0003935 3.75 9530 15°19'12.9'' N 104°43'58.6'' E
2 100 DTAC DL 768 - 778 0.0003019 3.75 12421 15°19'16.6'' N 104°43'51.3'' E

จุดที่ 300 AIS DL 2140 - 2155 0.0002378 10 42052 15°18'40.7'' N 104°44'54.4'' E
3 100 AIS DL 2140 - 2155 0.0002788 10 35868 15°18'44.2'' N 104°44'48.5'' E

จุดที่ 300 DTAC DL 768 - 778 0.0004094 3.75 9160 15°18'07.0'' N 104°45'57.9'' E
4 100 DTAC DL 768 - 778 0.0001693 3.75 22150 15°18'09.8'' N 104°45'51.3'' E

จดุ ที่ 300 True DL 2125 - 2140 0.0003933 10 25426 15°17'59.6'' N 104°46'14.6'' E
5 100 True DL 2125 - 2140 0.0002529 10 39541 15°18'08.4'' N 104°46'12.7'' E
40883 15°17'41.8'' N 104°46'50.5'' E
จุดที่ 300 TOT DL 2155 - 2170 0.0002446 10 36969 15°17'38.3'' N 104°46'56.4'' E
6 100 TOT DL 2155 - 2170 0.0002705 10

จดุ ที่ 300 TOT DL 2155 - 2170 0.0002022 10 49456 15°16'35.3'' N 104°49'05.0'' E
7 100 TOT DL 2155 - 2170 0.0002085 10 47962 15°16'37.6'' N 104°49'09.9'' E

จดุ ที่ 300 DTAC DL 2110 - 2125 0.001374 10 7278 15°16'01.7'' N 104°50'03.4'' E
8 100 DTAC DL 2110 - 2125 0.001054 10 9488 15°16'08.3'' N 104°50'06.1'' E

จดุ ท่ี 300 DTAC DL 2110 - 2125 0.001911 10 5233 15°16'10.1'' N 104°50'19.1'' E
9 100 DTAC DL 2110 - 2125 0.001645 10 6079 15°16'11.8'' N 104°50'25.1'' E

- 56 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี


ระยะห่าง ค่า เปรียบเทยี บกับ
มาตรฐาน คา่ มาตรฐาน
ลำ ที่วัด เครอื ขา่ ย ความถ่ี คา่ ทว่ี ดั ได้ (W/m2) (ต่ำกวา่ จำนวนเทา่ ) พกิ ดั ท่ที ำการ
(MHz) (W/m2) ตรวจวดั
ดบั (m) (DL)

จดุ ที่ 300 DTAC DL 2110 - 2125 0.00175 10 5714 15°15'58.5'' N 104°50'39.3'' E
27503 15°16'06.4'' N 104°50'36.7'' E
10 100 DTAC DL 2110 - 2125 0.0003636 10

จดุ ที่ 300 DTAC DL 2110 - 2125 0.0002392 10 41806 15°15'36.5'' N 104°50'46.3'' E
11 100 DTAC DL 2110 - 2125 0.0002889 10 34614 15°15'43.2'' N 104°50'44.9'' E

จุดท่ี 300 True DL 1805 - 1820 0.003421 9 2631 15°16'47.8'' N 104°50'22.2'' E
12 100 True DL 1805 - 1820 0.0008235 9 10929 15°16'56.1'' N 104°50'19.9'' E

จดุ ท่ี 300 True DL 950 - 960 0.00165 4.5 2727 15°17'37.3'' N 104°50'15.9'' E
13 100 True DL 950 - 960 0.0001101 4.5 40872 15°17'44.1'' N 104°50'15.8'' E

จดุ ที่ 300 DTAC DL 768 - 778 0.0006208 3.75 6041 15°19'49.4'' N 104°49'51.0'' E
14 100 DTAC DL 768 - 778 0.0003311 3.75 11326 15°19'42.8'' N 104°49'52.9'' E

จดุ ที่ 300 True DL 2125 - 2140 0.0003234 10 30921 15°15'10.4'' N 104°52'52.5'' E
15 100 True DL 2125 - 2140 0.0006011 10 16636 15°15'14.6'' N 104°52'57.8'' E

จุดที่ 300 TOT DL 2155 - 2170 0.0002332 10 42882 15°14'48.8'' N 104°52'33.6'' E
16 100 TOT DL 2155 - 2170 0.0002267 10 44111 15°14'54.8'' N 104°52'35.8'' E

จุดท่ี 300 AIS DL 2140 - 2155 0.002253 10 4439 15°14'14.7'' N 104°52'07.0'' E
17 100 AIS DL 2140 - 2155 0.0003632 10 27533 15°14'14.5'' N 104°52'13.6'' E

จดุ ท่ี 300 DTAC DL 2110 - 2125 0.0002459 10 40667 15°14'27.7'' N 104°52'29.6'' E
18 100 DTAC DL 2110 - 2125 0.0002338 10 42772 15°14'29.0'' N 104°52'23.5'' E

จดุ ท่ี 300 AIS DL 1820 - 1840 0.0007569 9 11891 15°17'00.3'' N 104°52'33.4'' E
19 100 AIS DL 1820 - 1840 0.0002476 9 36349 15°17'00.9'' N 104°52'40.4'' E

จดุ ที่ 300 DTAC DL 768 - 778 0.0003615 3.75 10373 15°16'22.3'' N 104°54'53.0'' E
20 100 DTAC DL 768 - 778 0.0002504 3.75 14976 15°16'19.3'' N 104°54'57.9'' E

จดุ ท่ี 300 AIS DL 1820 - 1840 0.0003684 9 24430 15°15'24.2'' N 104°54'29.9'' E
21 100 AIS DL 1820 - 1840 0.0002032 9 44291 15°15'20.6'' N 104°54'26.0'' E

จุดท่ี 300 DTAC DL 2110 - 2125 0.0003292 10 30377 15°14'49.4'' N 104°53'50.2'' E
22 100 DTAC DL 2110 - 2125 0.0005171 10 19339 15°14'44.0'' N 104°53'41.2'' E

*ขดี จำกดั ความหนาแนน่ กำลังของสนามแม่เหลก็ ไฟฟา้ (W/m2)

และแสดงกราฟความสัมพันธ์ระหว่างจุดที่ทำการตรวจวัด จำนวน 22 สถานีฐาน ในเขตอำเภอเมือง

อุบลราชธานี จงั หวัดอุบลราชธานี ทรี่ ะยะ 100 และ 300 เมตร เปรยี บเทยี บกับค่ามาตรฐานสากล ICNIRP ดัง

แสดงภาพท่ี 1 พบวา่ กราฟท่ไี ด้ตำ่ กวา่ เกณฑม์ าตรฐานสากล อย่างเห็นไดช้ ดั เจน

- 57 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี


ภาพท่ี 1 กราฟแสดงคา่ ความเขม้ สนามแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จากสถานีฐานระบบโทรศัพท์เคล่อื นที่
จำนวน 22 สถานฐี าน ในเขตอำเภอเมืองอบุ ลราธานี จังหวัดอบุ ลราชธานี

วิจารณ์
ค่าความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากสถานีฐานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ จำนวน 22 สถานีฐาน ในเขต

อำเภอเมอื งอุบลราธานี จงั หวัดอุบลราชธานี คา่ ท่ีวดั ได้สูงสุดจุดท่ี 12 ท่ีระยะ 300 เมตร มีค่าเท่ากับ 2630 เทา่
รองลงมาคือ จุดที่ 13 ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นมาก ที่ระยะ 300 เมตร มีค่าเท่ากับ 2720
เท่า ซึ่งค่าต่ำกว่ามาตรฐานมาตรฐานสากล ICNIRP แต่ค่าดังกล่าวที่วัดได้นั้นอาจต้องเพิ่มระยะห่างของการวัด
จากเดิม 2 ระยะการวัด คือ 100 และ 300 ขยายระยะทางเป็นช่วง 100 , 300, 400 และ 500 เมตร เพ่ือ
เปรียบเทียบค่าและหาค่าความเบี่ยงเบนระหว่างระยะทางและค่าความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟา้ สถานฐี านระบบ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนผลที่วัดได้ควรมีการประเมินค่าร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กจิ การโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (กสทช.) เขต 22 อบุ ลราชธานี อกี ทงั้ จำนวนของสถานีฐานท่ี
ทำการตรวจวดั มจี ำนวนค่อนข้างนอ้ ย แต่ครอบคลุมพ้ืนทบี่ ริเวณท่ีมบี ้านเรือนและประชากรที่อาศัยอย่หู นาแน่น
ใน 12 ตำบล เขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี และการวัดค่าความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากสถานีฐานระบบ
โทรศพั ท์เคลือ่ นท่ี โดยเลอื กวดั ทีร่ ะยะ 100 และ 300 เมตร คา่ ท่วี ัดได้น้ันมีค่าตำ่ มาก ซง่ึ ระยะท่ีเลอื กวัดน้ันเป็น
ช่วงของการวัดที่ 50-500 เมตร ที่มีการสำรวจแล้วว่าไม่มีผลความแตกต่างของระดับความเข้มสนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้า ตามเอกสารที่เผยแพร่ของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการ
โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ที่มีการสำรวจช่วงระยะ 50-500 เมตร แสดงว่าค่าความเข้มสนามแม่เหล็ก
ไฟฟา้ จากสถานีฐานระบบโทรศัพท์เคลือ่ นทใ่ี นเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี จงั หวดั อบุ ลราชธานี มคี า่ ท่วี ัดได้นั้น
ต่ำกวา่ คา่ มาตรฐานสากล ประเมนิ เบอ้ื งตน้ ไดว้ ่าประชาชนในเขตพน้ื ท่ไี ม่มีความความเส่ยี งหรือได้รับผลกระทบ
ตอ่ อนั ตรายจากความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟา้ รวมท้ังการตรวจวัดดังกล่าวเปน็ กระบวนการวัดจากสถานีฐานที่มี
อาคารบ้านเรือนและประชากรอาศัยอยู่เป็นสัญญาณ Downlink จากสถานีฐานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ แม้ว่า
จะมีเครือข่ายมากมายในการให้บริการแต่ละพื้นที่ แต่เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาสามารถแยกรายละเอียด
เครือข่ายและช่วงความถี่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทำให้ทราบว่าความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้าสูงสุดที่วัดได้เป็นของ
เครือข่ายใดในแต่ละพื้นที่นั้น จึงควรที่จะมีการศึกษาและขยายผลเพื่อเป็นข้อมูลในทุกอำเภอของจังหวัด
อุบลราชธานี และขยายผลให้ครอบคลุม 5 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ 10 เพื่อเป็นข้อมูลในการเฝ้าระวังและ
สอ่ื สารใหป้ ระชาชนทราบต่อไป

- 58 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


ภาคผนวก

- 59 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


การพฒั นาบคุ ลากรดา้ นบรหิ ารและดา้ นวิชาการ

ดา้ นบรหิ าร

ลำดบั ชื่อหลกั สูตร ผ้จู ดั /สถานทจี่ ัด/วนั ท่ีจดั จำนวน ผู้รับการอบรม

คน

1 โครงการพฒั นาทักษะทางการ ฝา่ ยการเจา้ หนา้ ท่ี 2 1. นางพัชราภรณ์ เกียรตนิ ติ ิ

บริหาร หวั ขอ้ ผ้บู รหิ ารแห่งอนาคต สำนกั งานเลขานุการ ประวตั ิ

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รุ่นที่1 กรม/หอ้ งประชมุ 110 2. นางขวญั ใจ วังคะฮาต

ช้ัน 1 อาคาร 100 ปี

การสาธารณสขุ ไทย กรม

วทิ ยาศาตร์การแพทย/์

11 มกราคม 2565

2 การอบรมหลักสตู ร Smart สถาบนั วิจยั ภาษาและ 1 นางวภิ าวดี รากแก่น

Leadership for the 21 Century วัฒนธรรมเอเชยี /

(ภาวะผ้นู ำในศตวรรษท่ี 21) มหาวิทยาลยั มหดิ ล/

26 มถิ ุนายน 2565-

1 กรกฎาคม 2565

3 ผูบ้ ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง กระทรวงสาธารณสขุ / 1 นางกนกวรรณ มุจรินทร์

(ผบก.) รุ่นท่ี 35 วทิ ยาลยั การสาธารณสุข

สริ นิ ธร จงั หวดั ตรงั /1 -

26 สงิ หาคม 2565

- 60 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี


ด้านวิชาการ

ลำดบั ชอ่ื หลักสตู ร ผู้จดั /สถานท่ีจดั วนั ทีจ่ ดั จำนวน
คน
ท่ี 1
1
1 การส่งเสริมการวิจยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 3 ธันวาคม 1
4
การแพทย์ และการใช้ประโยชน์จากนวตั กรรม 2564
5
2 พัฒนาศักยภาพห้องปฏบิ ัตกิ ารเครือขา่ ยตรวจ สำนกั มาตรฐาน 17 มกราคม
6
SARS-CoV-2/HPV/Down Syndrome หอ้ งปฏิบตั ิการ 2565
3
3 การตรวจวเิ คราะห์ไกลโฟเซลตกค้างในผักและ สำนักคุณภาพและความ 18 มกราคม
2
ผลไม้ โดยเทคนคิ ELISA ปลอดภัยอาหาร 2565
6
4 อบรมพัฒนาศกั ยภาพหน่วยงานท่เี กย่ี วข้องกบั สำนกั มาตรฐาน 20 มกราคม
3
กระบวนการการรบั รองหอ้ งปฏบิ ัติการตาม หอ้ งปฏบิ ตั ิการ 2565

มาตรฐานสากล ISO 15189: ISO 15190 และ

ISO 9011

5 อบรมเป็นผูต้ รวจตดิ ตามคุณภาพภายใน สำนกั มาตรฐาน 14

มาตรฐาน ISO 17043: 2010 หอ้ งปฏิบตั ิการ กุมภาพนั ธ์

2565

6 อบรม ปฐมบทจีโนมิกส์ ประเทศไทย การประชุม สมาคมมนุษยพ์ ันธุศาสตร์ 17

วิชาการ ครัง้ ที่ 1 สมาคมมนษุ ยพ์ นั ธศุ าสตร์ ประเทศไทย กุมภาพันธ์

ประเทศไทย 2565

7 แนวทางการตรวจประเมนิ ระบบบรหิ ารจัดการ กองแผนงานและวิชาการ 22

ความปลอดภัยสำหรบั สารสนเทศตามขอ้ กำหนด กมุ ภาพนั ธ์

ISO/IEC 27001: 2013 และ ISO 19011:2018 2565

8 เทคนิคการตรวจวเิ คราะหส์ ารอาหารและการ สำนกั คณุ ภาพและความ 22

คำนวณฉลากโภชนาการ และหลักการและ ปลอดภัยอาหาร กุมภาพันธ์

เทคนิคการตรวจวิเคราะหส์ ารอาหาร-ความช้นื 2565

เถ้า โปรตีน ไขมนั คารโ์ บไฮเดตร

9 การอบรมเชิงปฏบิ ัติการและสัมมนาออนไลน์ สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร์ 1 มีนาคม

การพัฒนาสมรรถนะห้องปฏิบัติการเครือขา่ ย สาธารณสุข 2565

และระบบเฝ้าระวังเชอื้ ด้ือยาต้านจุลชีพ

10 ขอ้ กำหนดตามมาตรฐาน ISO/IEC 27001: สำนกั รงั สีและเครอ่ื งมือ 4 เมษายน

2013 ระบบบริหารจดั การความปลอดภยั สำหรบั แพทย์ 2565

สารสนเทศ และอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารข้อกำหนด

ISO 19011: 2018 แนวทางการตรวจประเมนิ

ตาม ISO/IEC 27001: 2013

- 61 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี


ลำดบั ชอื่ หลักสตู ร ผูจ้ ดั /สถานท่ีจัด วนั ที่จดั จำนวน
คน
ที่ 1

11 พ.ร.บ.เช้อื โรคและพษิ จากสัตว์ พ.ศ.2558 และ สำนกั คุณภาพและความ 18 เมษายน 4
1
การรักษาความปลอดภยั ทางชวี ภาพสำหรับ ปลอดภยั อาหาร 2565
1
หอ้ งปฏิบัติการ 3

12 อบรมเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทำงาน คณะทำงานความปลอดภัย 19 เมษายน 6
1
ระดับหัวหน้า กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2565 6
6
13 การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารเตรยี มสารมาตรฐาน สำนกั คณุ ภาพและความ 28 เมษายน 2
2
สารเคมีปอ้ งกนั กำจัดศตั รูพืชกล่มุ ออรก์ าโนคลอ ปลอดภยั อาหาร 2565
11
ลีน กลมุ่ ออร์กาโนฟอสฟอรัส กล่มุ สารสังเคราะห์

โพรที รอยด์ และกล่มุ คารบ์ าเมต จำนวน 60

ชนดิ

14 Understanding and Implementing ISO/IEC สำนักมาตรฐาน 29 เมษายน

17025: 2017 หอ้ งปฏิบตั กิ าร 2565

15 สมั มนาพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญตั ิ สำนกั มาตรฐาน 31

เช้ือโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ.2558 เพอ่ื ให้ ห้องปฏิบตั ิการ พฤษภาคม

ความรเู้ กีย่ วกับวิธีการใชง้ านระบบสำหรบั ตรวจ 2565

สถานท่ีอนุญาตแบบไร้เอกสาร (Paperless)

16 การตรวจยีนแพ้ยาดว้ ยเทคนิค Real-time PCR สถาบนั วิจยั วิทยาศาสตร์ 7 มิถุนายน

การแพทย์ 2565

17 Environmental Toxicology and Health สถาบนั วิจัยจุฬาภรณ์ 15 มิถุนายน

2565

18 อบรมสัมมนาพนักงานเจ้าหน้าทตี่ าม พ.ร.บ.เชอ้ื สำนกั มาตรฐาน 16 มถิ นุ ายน

โรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ.2558 หอ้ งปฏิบตั กิ าร 2565

19 เทคนิคการเตรียมตัวอยา่ งเพ่ือการทดสอบ PT กองทดสอบความชำนาญ 17 มิถุนายน

และ RM ดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ 2565

20 ความปลอดภัยทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการดา้ นเคมี คณะทำงานความปลอดภยั 24 มิถนุ ายน

ทางหอ้ งปฏิบตั ิการดา้ นเคมี 2565

21 การตรวจวิเคราะห์ปรมิ าณสารออกฤทธิ์ THC, ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ 28 มิถุนายน

CBD และ เมตาบอไลดใ์ นพลาสมา การแพทย์ท่ี 9 2565

นครราชสีมา

22 ความปลอดภยั ทางชีวภาพ (Biosafety) และ สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร์ 6 กรกฎาคม

ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) สาธารณสขุ 2565

ประจำปี 2565

- 62 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี


ลำดบั ชือ่ หลักสตู ร ผจู้ ัด/สถานทีจ่ ดั วนั ที่จัด จำนวน
ที่ คน
23 การเพ่ิมศักยภาพภาคเี ครอื ข่ายดา้ นการดูแลเม่ สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตร์ 8 กรกฎาคม 6
และเด็กไทย ดว้ ยวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ การแพทย์ 2565 4
24 อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร การวจิ ัยประเมินผล ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ 25
ระยะท่ี 3 การแพทยท์ ี่ 11 สรุ าษฎร์ กรกฎาคม 3
ธานี 2565
25 การทดสอบความใช้ไดข้ องวิธวี ิเคราะหท์ างจุล สำนักวิชาการวิทยาศาสตร์ 29 6
ชีววทิ ยา การแพทย์ กรกฎาคม 6
2565
26 การเตรยี มความพร้อมการตรวจ Monkeypox สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ 1 สิงหาคม 3
การแพทย์ 2565
27 การทบทวนการใช้งานระบบและจัดทำแบบรบั กองทดสอบความชำนาญ 1 สงิ หาคม 1
รายงานผลอเิ ล็กทรอนกิ ส์ขั้นสูงสำหรับโปรแกรม 2565
PT Provider 3
สถาบันชีววิทยาศาสตรท์ าง 16 สิงหาคม
28 อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารเพ่มิ ศักยภาพภาคเี ครือข่าย 1
ด้านการดแู ลแม่และเดก็ ไทยด้วยวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ 2565
การแพทย์ 6
สำนักงานองคก์ ารอนามัย 30 สงิ หาคม
29 ประชุม The Third Regional Meeting of
Laboratory Expert of SEAR Measles & โลกภมู ิภาคเอเชยี 2565
Rubella Laboratory Network
ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (WHO-
30 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการบริหารจดั การมลู ฝอยติด
เชือ้ และการขบั เคล่ือนการใช้โปรแกรมกำกบั SEARO)
ขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ
กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 19 กนั ยายน
31 การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ Workshop on
strengthening of Molecular Techniques 2565
for the Measles and Rubella Laboratory
Network Thailand สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร์ 23 กันยายน

32 การอบรมข้อกำหนด ISO 15189:2021, ISO สาธารณสุข 2565
15190:2020, ISO 22870:2016 และ ISO
19011:2018 สำนกั มาตรฐาน 23 กนั ยายน
หอ้ งปฏิบตั ิการ 2565

- 63 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


ดา้ นสนับสนนุ

ลำดับ ชอื่ หลักสูตร ผ้จู ัด/สถานทจ่ี ดั วันทจ่ี ัด จำนวน

ท่ี คน

1 อบรมมบรรยายและฝกึ ปฏบิ ัติภายใต้ สำนกั งานเลขานุการกรม 12 มกราคม 1

หลักสตู รการพัฒนาบุคลกิ ภาพการส่ือสาร 2565

ของบุคลากรและการเป็นพิธกี รมอื อาชพี

2 บคุ ลกิ ภาพในงานราชการ ศิลปะการวาง ชมรมพฒั นาบุคลิกภาพ 22 มกราคม 1

ตนของคนทำงาน ศิลปะการพูด การเป็น และอนรุ ักษว์ ัฒนธรรม 2565

พิธกี ร และการจัดพิธีการอย่างมอื อาชีพ ไทย

3 อบรมการใช้งานอปุ กรณ์ 4G LTE ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 17 กุมภาพนั ธ์ 1

2565

4 การเสริมสร้างความรู้ การปฏิบตั งิ านด้าน สำนักงานเลขานุการกรม 22 มนี าคม 2565 2

การเงนิ การบัญชี การคลงั ของส่วน

ราชการ

5 การอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารใชง้ านระบบ กองทดสอบความชำนาญ 29 มีนาคม 2565 3

DMSc PT online

6 การอบรมหลักสูตร “เสรมิ สร้าง กรมบญั ชกี ลาง 18 กรกฎาคม 2

ประสิทธิภาพการปฏบิ ตั ิงานในระบบ 2565

New GFMIS Thai”

7 การอบรมเตรยี มความพร้อมบคุ ลากร ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ 27 กรกฎาคม 5

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กับการบังคบั 2565

ใช้ พ.ร.บ.ค้มุ ครองข้อมูลส่วนบคุ คล พ.ศ.

2565 (PDPA)

8 การจดั ทำ Infographic ศูนย์วิทยาศาสตร์ 2 สิงหาคม 2565 2

การแพทย์ที่ 5

สมทุ รสงคราม

9 อบรมการนำข้อมลู นำเสนอในรปู แบบ สำนกั งานสาธารณสขุ 2 สิงหาคม 2565 2

แดชบอรด์ (Dashboard) จงั หวัดอุบลราชธานี

10 การใช้งานโครงการทดแทนอุปกรณ์ ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศ 18 สิงหาคม 2

ประชมุ ทางไกล (MAX HUB) 2565

11 การส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เสรมิ สร้าง ศนู ย์วิทยาศาสตร์ 26 สิงหาคม 57

ความร้ใู นการดำเนินการทางวินยั การแพทย์ที่ 10 2565

กฎหมายวา่ ด้วยวนิ ยั การเงนิ การคลงั การ อบุ ลราชธานี

ปลกู จิตสำนกึ ในการจัดซื้อ จัดจ้าง และ

- 64 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี


ลำดับ ชอื่ หลักสตู ร ผู้จดั /สถานทจ่ี ัด วันทจ่ี ดั จำนวน
คน
ที่

การบรหิ ารพัสดเุ พื่อป้องกนั การทุจรติ และ

ประพฤติมชิ อบ ประจำปงี บประมาณ

พ.ศ.2565

12 การปฏบิ ัติงานในระบบ New GFMIS สำนักงานเลขานุการกรม 8 กันยายน 2565 2

Thai ช่วงสน้ิ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ท่ีมา: งานธุรการ ฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป ข้อมลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2565

- 65 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี


องค์กรคณุ ธรรม

คณะจัดทำและขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความโปร่งใส ศูนย์
วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อบุ ลราชธานี (คำส่งั ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อบุ ลราชธานี ท่ี 106/2564)
ได้ดำเนินงานตามแบบรายงานผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของหน่วยงานในสังกัด
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สามารถดำเนินการตามตัวชี้วัดได้ครบถ้วน และการดำเนินงานตามแบบติดตาม
ประเมินผลตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของหน่วยงานในสังกัดกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 สามารถดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมไดค้ รบถ้วน
โดยมีกิจกรรม ดังน้ี

1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เสริมสร้างความรู้ ในด้านการดำเนินการทาง
วินัย กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลัง การปลูกจิตสำนึกในการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
เพื่อป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกให้บุคลากรมีความซื้อสัตย์และมี
ความเข้าใจในกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการเข้ารว่ มการ
อบรมมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เกิดประโยชน์ต่อประชาชน
และประเทศชาติ

2. จัดกจิ กรรมสวดมนตเ์ จรญิ สมาธิทุกวันพฤหสั บดีเปน็ ประจำต่อเนอ่ื ง
3. กิจกรรมทำบุญตักบาตร และฟงั บรรยายธรรมะ เน่ืองในวันปใี หม่
4. จัดกิจกรรมเปิดเพลง เพื่อให้ทุกคนผ่อนคลายก่อนเริ่มปฏิบัติงาน และก่อนเลิกงานในทุกๆ วันอย่าง

ตอ่ เนอ่ื ง
5. จดั กจิ กรรมออกกำลังกายทกุ วันศุกร์เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรมีสุขภาพรา่ งกายท่ีแข็งแรง
6. จัดกจิ กรรมคดั แยกขยะเปยี กและขยะแหง้ และมกี ารทำป๋ยุ หมักจากเศษใบไม้

7. จดั กิจกรรมรดนำ้ ดำหวั ผู้อำนวยการ และบุคลากรท่ีมีความอาวโุ ส เนื่องในวันสงกรานต์เพื่อให้ทุกคนมี
ความนอ้ บนอ้ ม

8. จัดกจิ กรรมส่งเสริมสถาบันกษตั ริย์โดยเข้าร่วมพิธีสำคญั ของชาตแิ ละศาสนา

9. จัดกิจกรรมจิตอาสาปรับปรุงภูมิทัศน์ จัดสวนหย่อม ทำความสะอาดรอบบริเวณ ทั้งด้านหน้าอาคาร
ปฏบิ ตั กิ าร และภายในอาคาร เพอ่ื ใหท้ ุกคนรว่ มกันออกแบบและตกแต่งสถานที่ปฏิบตั งิ าน
- 66 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี


10. จัดกิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัว โดยหมุนเวียนปลูกพืชผักสวนครัวตลอดปี เพื่อให้บุคลากรนำมา
ประกอบอาหารร่วมกนั

11. จดั กจิ กรรมตลาดนัดออนไลน์ เพือ่ ให้ทุกคนนำสินค้ามาจำหนา่ ย เพ่ือสร้างรายไดเ้ สรมิ
12. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยบุคลากรท่ีมีความโดดเดน่ และเป็นแบบอย่างท่ีดีในการจัดการดา้ น

การเงินมาเล่าประสบการณ์ และแนวทางในการบริหารจัดการเงินให้เกิดประโยชน์ต่อครอบครัว
สามารถดูแลพอ่ แม-่ พ่นี ้องให้มีความสุขได้

ปจั จัยแห่งความสำเรจ็
1. ผู้บรหิ ารให้ความสำคญั กบั ทกุ กจิ กรรมเป็นแบบอยา่ งที่ดีในการพฒั นาองค์กรให้เปน็ องคก์ รคณุ ธรรม
2. การมีแกนนำที่เขม้ แขง็ และจริงจงั ในการทำงานรวมถึงการที่บุคลากรสว่ นใหญม่ ีความศรทั ธาในการทำ

ความดีและมคี วามรบั ผิดชอบ ทำให้งานทกุ อยา่ งสำเร็จลลุ ว่ งด้วยดี
แนวทางการดำเนนิ งานองคก์ รคณุ ธรรมในปงี บประมาณ พ.ศ.2566
จดั กิจกรรมต่างๆ ต่อยอดจากปงี บประมาณ พ.ศ.2565 โดยเน้นการมีส่วนรว่ มของสมาชิก ทำให้ทุกคน
มคี วามสุข ปลกู ฝงั ใหท้ ุกคนมีความเออื้ อาทร เป็นกลั ยาณมิตรทดี่ ตี อ่ กัน
คณะอนุกรรมการส่งเสริมคุณธรรมจังหวัดอุบลราชธานี ได้เห็นชอบผลการประเมินองค์กรคุณธรรม
ต้นแบบ ทข่ี บั เคลือ่ นสง่ เสริมคุณธรรมดว้ ยพลงั "บวร" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

- 67 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


ภาพกจิ กรรม

⧫ การร่วมมือกับเครอื ขา่ ย

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2564 การอบรมองค์ความรู้แก่ครูอนามัยโรงเรียน ในสังกัดเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา ด้านการตรวจโควิด 19 ด้วยตนเองโดยชุดทดสอบแอนติเจน (Antigen
Test Kit) ณ ห้องประชุมรวงผ้ึง โรงเรียนมุกดาหาร อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2564 ร่วมเป็นเกียรติพิธีเปิดอาคารผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ อาคาร คสล. 5 ชั้น
โรงพยาบาลอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ โดยมี นายอนุทิน ชาญวีรกุล รองนายกรัฐมนตรีและ
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ เปน็ ประธานในพธิ ี พร้อมผ้บู ริหารกระทรวงสาธารณสุข ในเขตสขุ ภาพท่ี10

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2564 ร่วมประชุมและบรรยายแนวทางการสนับสนุนวิชาการ ในการประชุม
เชงิ ปฏบิ ัติการขับเคลอ่ื นงานบรู ณาการภาคเี ครอื ขา่ ย ส่งเสรมิ สขุ ภาพกายใจ อนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม ป้องกันควบคุม
โรคและภัยสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 10 ประจำปีงบประมาณ 2565 ระหว่างวันที่ 24-26 พฤศจิกายน 2564
ณ โรงแรมโรแมนติก รีสอร์ท แอนด์ สปา อำเภอปากช่อง จังหวดั นครราชสมี า

- 68 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


วันท่ี 29 พฤศจิกายน 2564 การประชุมแนวทางการดำเนินงานโครงการด้านคุ้มครองผู้บริโภค
ด้านกัญชาทางการแพทย์ และด้านการแพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุมชั้น 3
ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี

วันที่ 3 ธันวาคม 2564 ประชุมหารือแนวทางในการส่งเสริม พัฒนาและตรวจสอบเฝ้าระวังความ
ปลอดภัยอาหารบริเวณยูวีซี สแควร์ (UVC SQUARE) ภายใต้มาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) 4 มาตรการ: VUCA (V-Vaccine U-Universal Prevention C-COVID Free Setting A-ATK
(Antigen test kits)) เวลา 13.30-16.30 น. ณ หอ้ งประชมุ ศรีอปุ ราช วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาอบุ ลราชธานี

วันท่ี 14 ธนั วาคม 2564 จัดนิทรรศการเครอื่ งสำอางปลอดภัย ไร้สารเคมี โดยชุดทดสอบกรดเรทิโนอิก
ปรอทแอมโมเนีย และไฮโดรควิโนน ในการประชุมการบูรณาการเครือข่ายแกนนำเยาวชน To be Number
One Teen Idol แกนนำนักศึกษาในระบบและนอกระบบ เครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน และพัฒนาศักยภาพ
แกนนำเยาวชนในการสรา้ งความรอบรสู้ ู่การดูแลสุขภาพดว้ ยตนเองในยุคดิจทิ ัล ณ ห้องประชมุ ราชธานีศรีวนาไล
วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอบุ ลราชธานี อำเภอเมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานี

- 69 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อบุ ลราชธานี


วันที่ 14 ธันวาคม 2564 ประชุมคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เขตสุขภาพท่ี 10
คร้งั ที่ 1/2565 ณ ห้องประชมุ ช้นั 3 สำนกั งานเขตสุขภาพที่ 10 อำเภอเมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี

วันท่ี 14 ธันวาคม 2564 ประชุมคณะกรรมการเขตสุขภาพท่ี 10 โดยมีนายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน
ผ้ตู รวจราชการกระทรวง เปน็ ประธานการประชุม และรว่ มใหก้ ารต้อนรบั แสดงความยินดีกบั นางมธุรส ทาทอง
ในโอกาสยา้ ยมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

วันที่ 17 ธันวาคม 2564 ร่วมออกรายการวิทยุ "อนามัยเช็คอิน" ทางสถานีวิทยุกระจายเสียง
แห่งประเทศไทย จังหวัดอุบลราชธานี FM 98.50 MHz. ในประเด็นเลือกซื้อเครื่องสำอางอย่างไรให้ปลอดภัย
ในยคุ COVID-19

- 70 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี


วันท่ี 21 มกราคม 2565 ประชุมเพื่อความร่วมมือในการดำเนินโครงการศึกษาคุณภาพและ
ความปลอดภยั สารเคมีกำจัดแมลงและโลหะหนักในข้าวสาร เขตสุขภาพที่ 10 แบบบูรณาการรว่ มกบั สำนักงาน
พาณิชย์จังหวัดอำนาจเจริญ และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ ณ ห้องประชุม สำนักงานพาณิชย์
จงั หวัดอำนาจเจรญิ

วันท่ี 21 มกราคม 2565 ประชุมสรุปความก้าวหน้าในการดำเนินการสำรวจและเก็บข้อมูลความเข้ม
ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากสถานีฐานในเขตเมืองอุบลราชธานี ตามโครงการ การเฝ้าระวังและประเมินความ
เข้มของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากสถานีฐาน (Base Station) โทรศัพท์เคลื่อนที่ในเขตภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตกและภาคใต้ ประจำปี พ.ศ. 2565 ซึ่งเป็นโครงการ
บูรณาการร่วมกันระหว่างสำนักรังสีและเครื่องมือแพทย์และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 13 แห่ง
โดยเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้กับค่ามาตรฐานความปลอดภัยของต่างประเทศ (ICNRP) และนำข้อมูลการสำรวจ
ไปจัดทำเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดค่าอ้างอิงและคำแนะนำเกี่ยวกับความเข้มของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
จากสถานีฐานของโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทใ่ี นเขตเมอื งอุบลราชานี และระดับประเทศต่อไป

วันที่ 25 มกราคม 2565 เข้าพบนายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
เขตสุขภาพท่ี 10 เพือ่ ประสานงานบูรณาการรว่ มกับเครือขา่ ยสาธารณสขุ ในเขตสุขภาพท่ี 10 ในการดำเนนิ การ
ตรวจวิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์น้ำมันกัญชา เพื่อสนับสนุนการตรวจราชการประเด็นกัญชา
ทางการแพทย์ ณ ห้องประชมุ สำนักงานเขตสขุ ภาพท่ี 10

- 71 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


วนั ที่ 27 มกราคม 2565 ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ ลงพ้ืนทีป่ ฏบิ ัติงานโครงการ
พัฒนาเครอื ขา่ ยวิทยาศาสตร์การแพทยช์ ุมชน OTOP ดา้ นอาหาร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อพัฒนา
คณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ Smart/Safety product ผลิตภัณฑเ์ ยลล่นี ำ้ ผง้ึ อำนาจเจรญิ ฟาร์มผึ้ง ผลติ ภณั ฑ์ชาใบหม่อน
ภูตะวัน ออร์แกนิก ฟาร์ม และผลิตภัณฑ์วุ้นเส้นนาผาง กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรจากถั่วเขียว
เพือ่ เปน็ การยกระดบั คณุ ภาพและเพม่ิ มลู คา่ ของผลิตภณั ฑใ์ ห้กับกล่มุ ผปู้ ระกอบการ

สำนกั งำนสำธำรณสุขอำเภอเมืองศรีสะเกษ โรงพยำบำลกันทรำรมย์

วันท่ี 27-28 มกราคม 2565 อบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์
การแพทย์ ให้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมอประจำบ้าน เจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพ
ในเขตสุขภาพท่ี 10 ภายใต้โครงการพัฒนา อสม. วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน และโครงการพัฒนาเครือข่าย
วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 เพื่อให้ชุมชนสามารถดูแลสุขภาพและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์
สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยได้ด้วยตนเอง ในวันที่ 27 มกราคม 2565 ณ ห้องประชุม สำนักงานสาธารณสุข
อำเภอเมืองศรีสะเกษ มี อสม. เข้าร่วมอบรม จำนวน 47 คน และในวันที่ 28 มกราคม 2565 ณ ห้องประชุม
โรงพยาบาลกนั ทรารมย์ มี อสม. เข้ารว่ มอบรม จำนวน 50 คน

วันท่ี 25 มกราคม 2565 ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ลงพื้นที่ปฏิบัติงานโครงการ
พัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทยช์ มุ ชน OTOP ด้านอาหาร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อพัฒนา
คณุ ภาพผลติ ภัณฑ์ชาหอมแดงของวิสาหกิจชมุ ชนแปรรูปหอมแดง อ.กนั ทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ เปน็ การยกระดับ
คุณภาพและเพิม่ มลู คา่ ของผลติ ภณั ฑ์ให้กบั กลมุ่ ผปู้ ระกอบการให้เป็น Smart/Safety product

- 72 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี


วันที่ 25 มกราคม 2565 ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี และสำนักงานป้องกัน
ควบคุมโรคที่ 10 อุบลราชธานี ลงพื้นที่ปฏิบัติงานโครงการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน
OTOP ด้านอาหาร ประจำปี พ.ศ. 2565 ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสตรีปลาร้าปลารวย อำเภอเมือง จังหวัด
อุบลราชธานี เพื่อพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ปลาร้าเป็นการยกระดบั คณุ ภาพและเพิ่มมลู ค่าของผลิตภณั ฑ์ให้กับ
กลมุ่ ผู้ประกอบการใหเ้ ป็น Smart/Safety product

วันท่ี 7 กุมภาพันธ์ 2565 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ฯ และคัดเลือกอสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน
ดีเด่นระดับภาค จัดโดยศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ท่ี 8 อุดรธานี ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7
ขอนแก่น, ที่ 9 นครราชสีมา และท่ี 10 อุบลราชธานี โดยมีนายบรรจง กิติรัตน์ตระการ ผู้อำนวยการ
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 9 นครราชสีมา เป็นประธานในพิธี ในวันท่ี 7 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องประชุม
บา้ นเชียง อาคารปฏิบัตกิ ารศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 8 อดุ รธานี

โดยผู้ที่ได้รับรางวัล อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ดีเด่น ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่
นางศิริวรรณ ภูเวียง จากสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี นาม่วง อำเภอประจักษ์ศิลปาคม
จังหวัดอุดรธานี ซ่ึงจะเป็นตัวแทนเขา้ รับการคัดเลอื กเป็น อสม.วทิ ยาศาสตร์การแพทยช์ มุ ชนดีเด่น ระดบั ชาติต่อไป

- 73 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


วันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2565 ลงพื้นที่เพื่อเก็บตัวอย่างข้าวสารจากโรงสีข้าว จำนวน 15 แห่ง
ในอำเภอเมือง อำเภอลืออำนาจ อำเภอเสนางคนิคม และอำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอำนาจเจริญ ร่วมกับ
เภ สัช กรช ัยพล สินว รณ์ หัว หน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโ ภคและเภ สัช กรรมสาธ ารณสุข
และเภสัชกรหญงิ อชั ลินทร์ พรสนิ ธเุ ศรษฐ จากสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั อำนาจเจรญิ

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2565 ประชุมหารือร่วมมือดำเนินโครงการศึกษาคุณภาพและความปลอดภัย
สารเคมีกำจัดแมลงและโลหะหนักในข้าวสาร จังหวัดมุกดาหาร โดยได้เก็บตัวอย่างข้าวสารจากโรงสีข้าว
จำนวน 6 แห่ง ในอำเภอเมือง และอำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร ร่วมกับคุณลักขณา บุญนำ
พาณิชย์จังหวดั มกุ ดาหาร พรอ้ มเจา้ หน้าท่ีพาณชิ ย์จงั หวดั ณ หอ้ งประชุม สำนกั งานพาณิชยจ์ งั หวัดมกุ ดาหาร

วันท่ี 11 กุมภาพันธ์ 2565 ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ ลงพื้นที่ปฏิบัติงาน
โครงการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน OTOP ด้านอาหาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
เพื่อพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ผงกล้วยคำสุข ผงกล้วยน้ำว้าออร์แกนิค นายโอภาส เห็มสุข เลขที่ 12 หมู่ 4
อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ เป็นการยกระดับคุณภาพและเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ให้กับ
กลุม่ ผู้ประกอบการใหเ้ ป็น Smart/Safety product

- 74 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี


วันท่ี 14 กุมภาพันธ์ 2565 ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ จัดประชุม/อบรมถ่ายทอด
องค์ความรู้ครูอนามัย อย.น้อยในโรงเรียน อสม. และผู้ประกอบการ ด้านการตรวจ COVID- 19 ด้วยตนเอง โดยใช้
ชุดทดสอบแอนตเิ จน (Antigen Test Kit) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
โดยมี ดร.นพ.สรุ เดชช ชวเดช รองนายแพทย์สาธารณสุขจงั หวัดศรีสะเกษ ใหเ้ กยี รติเปน็ ประธานในพธิ ี และมผี ู้เข้าร่วม
ประชมุ จำนวน 200 คน

วันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2565 จัดประชุม/อบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ครูอนามัย อย.น้อยในโรงเรียน อสม. และ
ผู้ประกอบการ ด้านการตรวจ COVID- 19 ด้วยตนเอง โดยใช้ชุดทดสอบแอนติเจน (Antigen Test Kit) ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเขื่องใน และสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติในสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิตติ์ พระบรมราชินีนารถบ้านยางน้อย ณ ห้องประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี วิทยาเขต
บ้านยางน้อย ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี นายชูวิทย์ ธานี สาธารณสุขอำเภอเขื่องใน
ใหเ้ กียรติเป็นประธาน และมผี เู้ ข้ารว่ มประชุม จำนวน 220 คน

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565 ลงพื้นที่ปฏิบัติงานโครงการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน
OTOP ดา้ นอาหาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั มกุ ดาหาร เพ่ือพฒั นา
คุณภาพผลิตภัณฑ์ชาจากพืช เอ็น เอส เบอรี่ ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนไทบ้านอินด้ี 88 หมู่ 5 ตำบลหนองสูง
อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร เป็นการยกระดับคุณภาพและเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ให้กับ
กลมุ่ ผูป้ ระกอบการให้เป็น Smart/Safety product

- 75 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี


วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565 นางมธุรส ทาทอง ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10
อุบลราชธานี พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่กลุ่มงานอาหาร ให้สัมภาษณ์เรื่องการรับรองห้องปฏิบัติการตรวจ
สารปนเปื้อนในอาหาร และสารพิษตกค้างในผักสด ผลไม้สด ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
เขตสุขภาพที่ 10 ซึ่งห้องปฏิบัติการดังกล่าวผ่านการรับรองคุณภาพจากสำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ
กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ เพ่อื สร้างความเช่อื มัน่ ให้กับผบู้ ริโภคในพ้ืนท่ี

วนั ที่ 23 กมุ ภาพันธ์ 2565 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี และคณะร่วมตรวจราชการ
และนิเทศงานกรณีปกติ รอบท่ี 1 ประจำปีงบประมาณ 2565 เขตสุขภาพที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี ประเด็น
กัญชาทางการแพทย์ รว่ มกับ แพทย์หญิงชุติวรรณ วิวันนาสทิ ธิพงศ์ สำนักการแพทย์ เขตสุขภาพที่ 10 หัวหน้า
คณะนิเทศ โดยมี นางสาวจงกลนี จริยานุวัฒน์ ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพท่ี 10 ให้เกียรติ
ร่วมนเิ ทศ ณ คลินิกกญั ชาทางการแพทย์ โรงพยาบาลนาเยีย จงั หวัดอบุ ลราชธานี

วนั ท่ี 4 มีนาคม 2565 ประชุมวชิ าการกัญชาทางการแพทยเ์ ขตสุขภาพที่ 9 ณ อาคารเรยี นรวม 100 ปี
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

- 76 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี


วันที่ 9 เมษายน 2565 การประชุมวิชาการกัญชาทางการแพทย์ เขตสุขภาพท่ี 10 “หายเจ็บ หายจน
รวมพล คนรักกัญ” ระหว่างวันที่ 8-10 เมษายน 2565 โดยมีนายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดี
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ นายแพทย์พิเชฐ บญั ญตั ิ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และนางมธรุ ส ทาทอง
ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี พร้อมคณะเจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ ร่วมประชุมวิชาการ
และจัดนิทรรศการกัญชาทางการแพทย์ ณ ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
อำเภอเมือง จงั หวดั ศรีสะเกษ

วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 การประชุมคณะทำงานพัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิค
การแพทย์ ครั้งที่ 1/2565 เขตสุขภาพท่ี 10 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โดยสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี และโรงพยาบาลศรีสะเกษ ณ ห้องประชุมผาแต้ม
ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี

วนั ท่ี 7 กรกฎาคม 2565 เข้าศกึ ษาดงู านเครือข่ายการดูแลแม่และเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
จังหวัดอุบลราชธานี พร้อมด้วยนางหรรษา ไทยศรี ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการตรวจคัดกรองสุขภาพทารก
แรกเกดิ แหง่ ชาติ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ และคณะ

- 77 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


วันท่ี 8 กรกฎาคม 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี จัดประชมุ เชงิ ปฏิบัติการเพ่ิม
ศักยภาพภาคีเครือข่ายด้านการดูแลแม่และเด็กไทยด้วยวิทยาศาสตร์การแพทย์ เขตสุขภาพท่ี 10 มีผู้เข้าร่วม
ประชุมจำนวนท้ังสิน้ 125 คน ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์โฮเทล แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ อำเภอเมือง จังหวดั
อุบลราชธานี

วันที่ 7-9 มิถุนายน 2565 ตรวจราชการและนิเทศงานสาธารณสุข กรณีปกติ รอบที่ 2
จังหวัดศรสี ะเกษ เข้ารว่ มรบั ฟังบรรยายสรุปผลการดำเนินงานตามประเดน็ การตรวจราชการ พร้อมตรวจเย่ียม
สถานที่ผลิตอาหารแปรรูปกัญชากัญชงเอนไซม์น้ำฟ้า ตรวจเยี่ยมแปลงปลูกกัญชง ณ ศูนย์การเรียนรู้
หัตถวิถี มณีวิภา และตรวจเยี่ยมแปลงปลูกกัญชา ณ วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรเพื่อสุขภาพ อำเภอกันทรลักษ์
จังหวัดศรีสะเกษ

ประชมุ วชิ าการเขตสุขภาพท่ี 10 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 Challenges in the New Normal
ระหว่างวันท่ี 11-12 กรกฎาคม 2565 ณ โรงพยาบาลอำนาจเจริญ อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ ในการน้ี
นางโชติกา องอาจณรงค์ นกั วิทยาศาสตร์การแพทย์ชำนาญการพเิ ศษ ได้รับคดั เลือกให้นำเสนอผลงานวิชาการ
ประเภท Best Practice เรื่อง การพัฒนาวิธีตรวจวิเคราะห์ปริมาณสาร THC, 11-OH-THC และ CBD
ในพลาสมา

- 78 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี


วันท่ี 16-18 สิงหาคม 2565 นายแพทย์พิเชฐ บัญญัติ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
เป็นประธานในพธิ เี ปดิ การประชุมสรุปผลการดำเนนิ งานโครงการพัฒนาเครือข่ายวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน
ประจำปี พ.ศ. 2565 รอบ 12 เดือน ณ โรงแรมคริสตัลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และรับมอบการเป็นเจ้าภาพ
รับผิดชอบ โครงการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ชุมชนผลิตภณั ฑ์อาหารท่ีไดร้ บั การพัฒนายกระดบั
คณุ ภาพสู่ Safety product/Smart product ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

วันท่ี 26 สิงหาคม 2565 การอบรมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เสริมสร้างความรู้ในด้านการ
ดำเนินการ ทางวินัย กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงิน การคลัง การปลูกจิตสำนึกในการจัดซื้อจัดจ้างและการ
บรหิ ารพัสดุ เพือ่ ปอ้ งกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุมผาแต้ม
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี วิทยากรโดย นายสนิจ สุทธสาร วิศวกรชำนาญการพิเศษ
สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่5 และนายวัฒนะ หาคำ นิติกรชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ศรสี ะเกษ

วันท่ี 1 กรกฎาคม 2565 การประชุมคณะทำงานพัฒนาศักยภาพเครือข่ายห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย
เขตสุขภาพท่ี 10 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุมผาแต้ม ชั้น 3 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์
ที่ 10 อุบลราชธานี

- 79 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี


วนั ที่ 25-27 กรกฎาคม 2565 การอบรมให้ความรู้เรื่องเห็ดพิษ ดา้ นการป้องกนั เฝา้ ระวังแจ้งเตือนภัย
และประเมินการใช้ Application คัดแยกเห็ดไทย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร อำเภอตระการพืชผล
อำเภอศรีเมืองใหม่ และอำเภอโพธิไทร จังหวัดอุบลราชธานี ลงพื้นที่ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8
อุดรธานี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ตามโครงการพัฒนา Application คัดแยกเห็ดไทย ในระบบปฏิบตั ิการ iOS กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ โดยมี
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทีมสอบสวนโรคและควบคุมโรค (CDCU) และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
(อสม.) เข้าร่วมอบรมรวมทั้งสนิ้ 100 คน

นายแพทยท์ วีศิลป์ วษิ ณุโยธนิ ผตู้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 เป็นประธานการ
ประชุมคณะกรรมการเขตสุขภาพที่ 10 ครั้งท่ี 8/2565 (สัญจร) ในวันท่ี 30 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุม
ผาแต้ม ชั้น 3 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี และประธานมอบโล่ และใบประกาศเกียรติคุณ
ให้แก่ นายชาตรี แสนเสาร์ อสม.ดีเด่น ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ระดับเขตสุขภาพ ประจำปี
พ.ศ. 2565 สังกัดสถานอี นามัยเฉลมิ พระเกยี รติ 60 พรรษา นวมนิ ทราชนิ ไี ร่ใต้ จงั หวัดอบุ ลราชธานี

- 80 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี


⧫ การพฒั นาหอ้ งปฏบิ ตั ิการ

วันที่ 22 ธันวาคม 2564 เข้าตรวจประเมินการดำเนินงานทางห้องปฏิบัติการ ในการเปิดให้บริการ
ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้วยวิธี Real time PCR
ณ โรงพยาบาลตระการพืชผล อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอบุ ลราชธานี

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 เข้าตรวจประเมินและต่ออายุห้องปฏิบัติการในการเปิดให้บริการตรวจ
วิเคราะห์หาปริมาณสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้วยวิธี Real time PCR ในพื้นท่ี
จังหวัดมุกดาหาร โดยเข้าตรวจประเมินห้องปฏิบัติการฯ จำนวน 1 แห่ง คือ คิวแล็บ เมดิเทค คลินิกเทคนิค
การแพทย์ และตรวจประเมินเพื่อต่ออายุห้องปฏิบัติการฯ จำนวน 3 แห่ง คือ โรงพยาบาลมุกดาหาร
คลินิกมุกดาหารเฮลท์แล็บ และเอ็มไอทีเซ็นเตอร์ คลินิกเทคนิคการแพทย์ โดยมี CEO บริษัท และหัวหน้า
ห้องปฏิบัตกิ าร ให้การต้อนรับ

วันท่ี 10 กุมภาพันธ์ 2565 เขา้ ตรวจประเมินเพื่อต่ออายุข้นึ ทะเบียนห้องปฏบิ ัติการเครือข่าย SARS-CoV-2
โดยมีห้องปฏิบัติการเข้ารับการตรวจประเมิน จำนวน 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ และ
โรงพยาบาลอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ ด้วยรูปแบบการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์
(โปรแกรม Zoom)

- 81 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี


วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 เข้าตรวจประเมินและต่ออายุห้องปฏิบัติการในการเปิดให้บริการตรวจ
วิเคราะห์หาปริมาณสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้วยวิธี Real time PCR ในวันที่
9 กุมภาพันธ์ 2565 โดยเข้าตรวจประเมินห้องปฏิบัติการฯ จำนวน 1 แห่ง คือ โรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร
โดยมี นายแพทย์ทนง คำศรี ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร ให้การต้อนรับ และตรวจประเมินเพ่ือ
ต่ออายุหอ้ งปฏิบตั ิการฯ จำนวน 2 แห่ง คอื โรงพยาบาลมหาวิทยาลยั อุบลราชธานี โดยมี แพทย์หญิงนวนิ ดา เจยี มบญุ ศรี
ผู้ช่วยคณะบดีฝ่ายกิจการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้การต้อนรับ และโรงพยาบาลราชเวช
อุบลราชธานี

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565 เข้าตรวจประเมินเพื่อต่ออายุห้องปฏิบัติการในการเปิดให้บริการตรวจ
วิเคราะห์หาปริมาณสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้วยวิธี Real time PCR ในวันที่
11 กุมภาพันธ์ 2565 โดยเข้าตรวจประเมินเพื่อต่ออายุห้องปฏิบัติการฯ จำนวน 3 แห่ง คือ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี และสำนักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 10
จงั หวดั อบุ ลราชธานี

- 82 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี


วันท่ี 18 กุมภาพันธ์ 2565 ตรวจประเมินการดำเนินงานทางห้องปฏิบตั ิการในการเปิดให้บริการตรวจ
วิเคราะห์หาปริมาณสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้วยวิธี Real time PCR ในวันที่
18 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 ณ โรงพยาบาลน้ำยนื จงั หวดั อุบลราชธานี

วันท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2565 การสอนการใช้ชุดทดสอบสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ตามโครงการ
พัฒนาห้องปฏิบัติการเครือข่ายกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรพัฒนาเหนือและตลาดค้าส่งผักและผลไม้ ในจังหวัด
อุบลราชธานี ร่วมกับเจ้าหน้าที่รถโมบายของเขตสุขภาพท่ี 10 เพื่อเป็นการส่งเสริมการลดใช้ยาฆ่าแมลง
ในผลิตภณั ฑท์ างการเกษตร ณ ตลาดเจรญิ ศรี อำเภอวารินชำราบ จงั หวัดอุบลราชธานี

วันที่ 23-25 กุมภาพันธ์ 2565 ตรวจเยี่ยมห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยของโรงพยาบาลในจังหวัดศรีสะ
เกษ ตามโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 8 แห่ง กำหนดการวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2565 โรงพยาบาลกันทรารมย์
โรงพยาบาลน้ำเกลี้ยง และโรงพยาบาลศรีรัตนะ วันท่ี 24 กุมภาพันธ์ 2565 โรงพยาบาลไพรบึง โรงพยาบาล
ภูสิงห์ และโรงพยาบาลวังหิน และวันท่ี 25 กุมภาพันธ์ 2565 โรงพยาบาลห้วยทับทัน และโรงพยาบาล
โพธิ์ศรีสวุ รรณ โดยมี หวั หน้าห้องปฏบิ ัตกิ าร และเจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาล ให้การตอ้ นรับ

- 83 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี


วันที่ 19 เมษายน 2565 อบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการสถานที่ผลิต (คัดและบรรจุ) ผักและผลไม้สด
ในการใช้ชุดทดสอบยาฆ่าแมลง การใช้ชุดทดสอบ ATK (Antigen Test Kit) ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุข
จังหวัดอุบลราชธานี โรงพยาบาลวารินชำราบ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุบลราชธานี และหน่วย
เคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร เขตสุขภาพที่ 10 (Mobile Unit for Food Safety) ณ สถานที่ผลิต
วิสาหกิจชมุ ชนเกษตรพัฒนาเหนือ อำเภอวารินชำราบ จงั หวัดอุบลราชธานี

วันที่ 20 เมษายน 2565 ตรวจประเมินตามระบบคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการรังสีวนิ ิจฉัย เพื่อธำรง
รักษาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการรังสี โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
เขตสุขภาพที่ 10 ประจำปี พ.ศ.2565 ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพสนับสนุนและส่งเสริมระบบคุณภาพ
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางการแพทย์และห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช โรงพยาบาลเฉลิม
พระเกียรติ โรงพยาบาลชัยพัฒน์ และโรงพยาบาลเทพรัตนเวชชานุกูล ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช
เดชอดุ ม อำเภอเดชอุดม จังหวดั อบุ ลราชธานี

โรงพยาบาลศรีสะเกษ โรงพยาบาลกนั ทรลกั ษ์

วันที่ 28 เมษายน 2565 ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการเพื่อขึน้ ทะเบียนเป็นหน่วยใหบ้ ริการตรวจมะเร็ง
ปากมดลูก (HPV) ณ โรงพยาบาลศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ และเข้าตรวจประเมินห้องปฏิบัติการเพื่อข้ึน
ทะเบียนเป็นหน่วยให้บริการตรวจมะเรง็ ปากมดลูก (HPV) และตอ่ อายหุ ้องปฏบิ ัติการในการเปดิ ใหบ้ ริการตรวจ
วิเคราะหห์ าปรมิ าณสารพันธกุ รรมเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดว้ ยวธิ ี Real time PCR ณ โรงพยาบาล
กันทรลักษ์ จงั หวัดศรสี ะเกษ

- 84 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี


ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี พร้อมด้วยผู้ตรวจประเมินจากโรงพยาบาลสมเด็จพระ
ยุพราชบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ตรวจติดตามภายในตามระบบคุณภาพ ISO 15189 และ ISO 15190
โรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 10 โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
และวันท่ี 31 พฤษภาคม 2565 โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลงิ นกทา อำเภอเลงิ นกทา จังหวัดยโสธร

วันที่ 21 กรกฎาคม 2565 นางมธุรส ทาทอง ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10
อุบลราชธานี พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่กลุ่มงานอาหาร ให้สัมภาษณ์บันทึกเทปโทรทัศน์สถานีวิทยุโทรทัศน์
กองทพั บกชอ่ ง 5 เอชดี การดำเนินงานหนว่ ยเคลอ่ื นท่ีเพื่อความปลอดภยั ด้านอาหาร (Mobile Unit for Food
Safety) เขตสุขภาพท่ี 10 ศรีสะเกษ โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งถือว่าเป็นเขตสุขภาพ
แห่งแรกในประเทศไทย ที่มีห้องปฏิบัติการการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนในอาหาร ผ่านมาตรฐาน
ห้องปฏบิ ัตกิ ารระดบั ประเทศ ระบบตรวจสอบสารพษิ ตกคา้ งในผักสด ผลไมส้ ด และสารปนเปื้อนในอาหาร โดย
สำนกั มาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ให้การรบั รอง

วันท่ี 30 มิถุนายน 2565 – 1 กรกฎาคม 2565 รับการตรวจเฝ้าระวังความสามารถของแผนการ
ทดสอบความชำนาญตามมาตรฐาน ISO/IEC 17043: 2010 Conformity assessment General
requirements for proficiency testing จำนวน 6 แผนงาน โดยระบบทางไกล มีกรมวิทยาศาสตรบ์ รกิ ารเป็น
หนว่ ยงานรับรองประเมิน และอาจารย์มหาวทิ ยาลยั มหิดล ร่วมเป็นผู้ตรวจประเมนิ ผรู้ บั การตรวจประกอบด้วย
ผจู้ ัดการคณุ ภาพ กลมุ่ พฒั นาคณุ ภาพและวิชาการ และกลุ่มงานพยาธิวทิ ยาคลินิก

- 85 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี


วันที่ 31 สิงหาคม 2565 โครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการเครือข่ายกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรพัฒนา
เหนือ และตลาดค้าส่งผักและผลไม้ ในจังหวดั อุบลราชธานี ณ ตำบลคำขวาง อำเภอวารินชำราบ อุบลราชธานี
โดยได้ดำเนนิ การประเมินการใช้งานชุดทดสอบยาฆา่ แมลง GPO-TM kit ชุดทดสอบ SI-2 และชุดทดสอบ coil
form ในน้ำ และมอบป้ายห้องปฏิบัติการให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรพัฒนาเหนือ เพื่อเป็นการรับรอง
ความสามารถในการตรวจยาฆา่ แมลง โดยใชช้ ุดทดสอบ

วันท่ี 13 กนั ยายน 2565 ตรวจประเมินห้องปฏบิ ัติการเพ่ือขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยใหบ้ ริการตรวจมะเร็ง
ปากมดลกู (HPV) ณ โรงพยาบาลพบิ ลู มงั สาหาร อำเภอพิบลู มังสาหาร จงั หวัดอบุ ลราชธานี

- 86 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี


⧫ ตรวจเย่ยี มสถานอี นามัยเฉลิมพระเกียรติ

วันท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2565 ร่วมคณะตรวจเยี่ยมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ บ้านแดง ตำบลโพนงาม
อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร โดยมีนายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
เขตสุขภาพที่ 10 ร่วมคณะตรวจเยี่ยม ในการน้ี นายแพทย์โสภณ เมฆธน ที่ปรึกษามูลนิธิพัฒนาสถานีอนามัย
เฉลิมพระเกียรติ ใหเ้ กียรติเป็นประธานคณะตรวจเยย่ี ม

วนั ที่ 1 มีนาคม 2565 รว่ มคณะตรวจเยย่ี มสถานอี นามยั เฉลิมพระเกยี รตฯิ ปลาคา้ ว ตำบลปลาคา้ ว อำเภอเมือง
จังหวัดอำนาจเจริญ และสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติใน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ
บ้านยางน้อย ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีนายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน ผู้ตรวจ
ราชการกระทรวงสาธารณสุขเขตสุขภาพท่ี 10 ร่วมคณะตรวจเยี่ยม ในการน้ี นายแพทย์โสภณ เมฆธน
ทป่ี รึกษามูลนิธิพัฒนาสถานอี นามยั เฉลมิ พระเกียรติ ให้เกยี รติเป็นประธานคณะตรวจเยีย่ ม

วันท่ี 5-6 พฤษภาคม 2565 ร่วมตรวจสถานีอนามัยบ้านห้วยตาเปอะเฉลิมพระเกียรติ
และสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี บ้านนาโสก อำเภอคำชะอี และอำเภอเมือง
จงั หวดั มกุ ดาหาร

- 87 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


⧫ การประชุม/อบรม/กจิ กรรมภายในหน่วยงาน

วันที่ 15 ธันวาคม 2565 กิจกรรมจิตอาสาปลูกผักสวนครัว (สวน ศวก.อบ.พอเพียง) มีการนำเมล็ด
และต้นกล้าพืชผักหลายชนิดมาปลูกดังน้ี ผักบุ้ง ผักกาด ผักกวางตุ้ง ต้นหอม ผักชี ผักคึ่นฉ่าย มะเขือเทศ
มะเขือเปราะ พริก มะละกอ ต้นแค และโหระพา โดยมีการปลูกแบบบนแปลงปลูก บริเวณสวนสมุนไพร
และหน้าบ้านพักผู้อำนวยการ เพื่อเป็นการปลูกฝัง และสร้างจิตสำนึก สามัคคี ให้แก่บุคลากรศูนย์ฯ รู้จัก
คณุ ประโยชน์ของพืชผกั ตามแนวพระราชดำริ สูห่ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ณ สวน ศวก.อบ.พอเพยี ง

วันที่ 24 ธันวาคม 2564 ร่วมประกาศเจตนารมณ์การเป็นองค์กรคุณธรรมต้นแบบ การต่อต้านทุจริต
และการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิด หรือคุกคามทางเพศในการทำงาน ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุมชั้น 3 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

วันท่ี 24 ธันวาคม 2564 การประชุมชี้แจงคำรับรองการปฏิบัติราชการ การถ่ายทอดตัวชี้วัด
จากหน่วยงานสู่กลุ่มงาน และสู่รายบุคคล และแนวทางการกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ครั้งท่ี 1)
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ใหแ้ ก่บคุ คลากรของศนู ยฯ์ จำนวน 59 คน

- 88 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี


วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2565 เข้าเยี่ยมชมศึกษาดูงาน ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น
โดยมี นางสาวพรทิพย์ ลัภนะกุล ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์-การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น และคณะเจ้าหน้าท่ี
ใหก้ ารตอ้ นรบั

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 เข้าเยี่ยมชมศึกษาดูงาน ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 พิษณุโลก
โดยมี นางสาววิทิตา ไปบน เภสัชกรชำนาญการพิเศษ รองผู้อำนวยการด้านบริหาร ได้รับมอบหมายจาก
นางสาวอมรรัตน์ ทัศนกิจ ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 2 พิษณุโลก และคณะเจ้าหน้าที่
ให้การตอ้ นรับ

วันท่ี 4 เมษายน 2565 การประชุมการจัดการความรู้ ครั้งท่ี 1 โดยเป็นการนำเสนอความรู้
จำนวน 2 เรื่อง ได้แก่ การศึกษา ดูงานศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 2 พิษณุโลก และศูนย์วิทยาศาสตร์
การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น ด้านฝ่ายบริหารทั่วไป งานระบบคุณภาพและความปลอดภัย งานเทคโนโลยี
สารสนเทศ และองค์กรคุณธรรมต้นแบบ และเรื่อง RMsC 10 Happy Money โดยความรู้ที่ได้สามารถนำมา
พัฒนาปรับปรุงงาน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งนี้มีผู้นำเสนอความรู้ดังกล่าวจำนวน 8 ท่าน ณ ห้องประชุม
ผาแตม้ ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

- 89 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี


วันที่ 8 เมษายน 2565 นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และนายแพทย์
พิเชฐ บัญญัติ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พร้อมคณะฯ ตรวจเยี่ยมมอบนโยบาย และให้กำลังใจ
ในการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งเยี่ยมชมสวนสมุนไพร และห้องปฏิบัติการ โดยมี นางมธุรส ทาทอง ผู้อำนวยการ
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี และเจ้าหน้าที่ให้การต้อนรับ ณ ห้องประชุมผาแต้ม
ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

วันที่ 8 เมษายน 2565 นายแพทย์พิเชฐ บัญญัติ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พร้อมคณะ
ตรวจเยี่ยม ให้ความรู้ ให้คำแนะนำ เพื่อเป็นแนวทางในการทำวิจัยด้านกัญชา และเยี่ยมชมแปลงปลูกกัญชา
ทางการแพทย์ โดยมีนางมธุรส ทาทอง ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี
และคณะเจ้าหน้าที่ให้การต้อนรบั ณ ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อบุ ลราชธานี

วันที่ 12 เมษายน 2565 พิธีสรงน้ำพระพุทธรูป สรงน้ำไหว้ศาลตายาย เพื่อความเป็นศิริมงคล รวมทั้ง
จัดพิธีรดน้ำขอพรผู้ใหญ่ และผู้จะเกษียณอายุราชการ เพื่อสืบสานวัฒนธรรมประเพณีสงกรานต์ปี 2565
เนอ่ื งในวนั ขนึ้ ปใี หมข่ องไทย ณ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี

- 90 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี


วันท่ี 11-12 พฤษภาคม 2565 การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมความสุขสร้างความผ่อนคลาย
และความปลอดภัย โดยทีมวทิ ยากรจาก ศูนย์สุขภาพจติ ท่ี 10 อุบลราชธานี ให้การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการโดยจดั
กิจกรรมกลุ่มเสริมสร้างความสุขความผ่อนคลาย ในการปฏิบัติงาน วิทยากรจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ให้การอบรมความรู้เกี่ยวกับการจัดการ การจัดเก็บ และกำจัดสารเคมีเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
และวิทยากรจากโรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี ให้การอบรมและฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วย
ฟืน้ คืนชีพ ณ ห้องประชุมผาแต้ม ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี

วันที่ 1-2 มิถุนายน 2565 กิจกรรมจิตอาสาปลูกต้นไม้ และกิจกรรม 5 ส เนื่องในโอกาสวันเฉลิม
พระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี 3 มิถุนายน 2565 โดยมีการปลูกข้าวโพดอัญมณี
และปลูกต้นไม้ ตัดแต่งกิ่งไม้ เก็บกวาดใบไม้ เพื่อปรับภูมิทัศน์บริเวณสนามหน้าอาคารปฏิบัติการสวนสมนุ ไพร
และหน้าบ้านพกั ผอู้ ำนวยการ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อบุ ลราชธานี

วันที่ 7 กรกฎาคม 2565 ต้อนรับคณะศึกษาดูงานศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 4 สระบุรี นำโดย
นางสาวประภาพรรณ พรหมหิรัญกุล รองผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 4 สระบุรี
และคณะเจ้าหน้าที่ จำนวน 6 ท่าน โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานด้านพัสดุ การบริหารจัดการระบบปรับ
อากาศ Chiller งานด้านระบบสารสนเทศ และเข้าชมแปลงปลูกกัญชาทางการแพทย์ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์
การแพทยท์ ่ี 10 อบุ ลราชธานี

- 91 -

รายงานประจำปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี


วันท่ี 8 กรกฎาคม 2565 กิจกรรม Big Cleaning Day ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย
ทางดา้ นหอ้ งปฏิบัติการและสถานท่ีปฏิบัติงาน ภายใตห้ ัวขอ้ “ปกป้องโลก ปกปอ้ งเรา ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม:
Only One Earth, Be Better Together” โดยร่วมกันทำความสะอาดโต๊ะทำงาน และรอบบริเวณศูนย์ฯ
ณ ศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี

วันท่ี 19 กรกฎาคม 2565 การอบรมเชิงปฏิบัติการ ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)
และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) ประจำปี 2565 วิทยากรโดย นายเจตน์ วันแต่ง
นกั เทคนิคการแพทยช์ ำนาญการพเิ ศษ ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 4 สระบุรี ผา่ นระบบการประชุมออนไลน์
มผี เู้ ขา้ ร่วมอบรม จำนวน 35 คน ณ หอ้ งประชุมผาแตม้ ช้ัน 3 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี

วันท่ี 2-3 สิงหาคม 2565 นายแพทย์พิเชฐ บัญญัติ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เภสัชกร
หญิงศิริวรรณ ชัยสมบูรณ์พันธ์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสมุนไพร พร้อมคณะเจ้าหน้าที่ ร่วมเสวนาวิจัยกัญชา
สายพันธุ์ไทย หลักเวชกรรมไทย อัตลักษณ์แพทย์แผนไทย ณ บ้านสวนน้ำฟ้า อำเภอกันทรลักษ์
จังหวัดศรีสะเกษ และเก็บตัวอย่างพืชสมุนไพรเพื่อวิเคราะห์สายพันธ์ ณ ทุ่งกบาลกะไบ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
พนมดงรกั ตำบลบักดอง อำเภอขนุ หาญ จังหวดั ศรสี ะเกษ

- 92 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี


วันที่ 15-16 กันยายน 2565 ห้องปฏิบัติการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี
รับการตรวจประเมินเพื่อต่ออายุ (Reassessment) และขยายขอบข่าย (Extended scope) การรับรอง
ความสามารถห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2017, ISO 15189: 2012 และ ISO 15190:
2020 จากสำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยมี ผู้ตรวจประเมินจาก ข้าราชการ
บำนาญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อาจารยจ์ ากมหาวิทยาลยั มหิดล จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั และสำนักวิจัย
และพฒั นาการเกษตรท่ี 4 อุบลราชธานี

- 93 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 10 อุบลราชธานี


⧫ การเข้าร่วมรฐั พิธี

วันที่ 5 ธันวาคม 2564 ร่วมพิธีทำบุญตักบาตรถวายพระราชกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราช
สมภพพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรวันชาติ และวันพ่อ
แห่งชาติ 5 ธันวาคม 2564 ณ มณฑลพิธีทุ่งศรีเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี
จงั หวัดอบุ ลราชธานี

วันที่ 3 มิถุนายน 2565 ร่วมพิธีทำบุญตักบาตรถวายพระราชกุศล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระ
ชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ณ มณฑลพิธีทุ่งศรีเมือง
ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี นายพงศ์รัตน์ ภิรมย์รัตน์ ผู้ว่าราชการ
จงั หวดั อุบลราชธานี เปน็ ประธานในพิธี

วันท่ี 12 สิงหาคม 2565 พิธีทำบุญตักบาตรเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา
12 สิงหาคม 2565 ณ มณฑลพิธีวิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี นายพงศ์รัตน์ ภิรมย์รัตน์
ผู้ว่าราชการจงั หวัดอุบลราชธานี เป็นประธานในพิธี

- 94 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี


คณะทำงานจัดทำรายงานประจำปี 2565

คำสง่ั ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี ที่ 111/2565
เรอื่ ง แตง่ ต้ังคณะทำงานจัดทำรายงานประจำปี ลงวนั ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2565

1. นางมธรุ ส ทาทอง ประธานคณะทำงาน
2. นางพชั ราภรณ์ เกยี รตนิ ิตปิ ระวตั ิ คณะทำงาน
3. นางขวัญใจ วังคะฮาต คณะทำงาน
4. นางโชตกิ า องอาจณรงค์ คณะทำงาน
5. นางกนกวรรณ มจุ รินทร์ คณะทำงาน
6. นายพรี พงษ์ แสงประดบั คณะทำงาน
7. นางสาวอตินุช นารถนำ้ พอง คณะทำงาน
8. นางสาวจันทร์ฉาย คำแสน คณะทำงาน
9. นางสาวช่อทพิ ย์ ชาติชำนิ คณะทำงาน
10. นางวิภาวดี รากแกน่ คณะทำงานและเลขานุการ
11. นางสาวนภิ าพร ทวีญาติ คณะทำงานและผชู้ ่วยเลขานุการ

- 95 -

รายงานประจำปี 2565 ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี


Click to View FlipBook Version