The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานด้านการเงิน และการบัญชี ของ พม.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suphanpong, 2022-05-17 03:49:23

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานด้านการเงิน และการบัญชี ของ พม.

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานด้านการเงิน และการบัญชี ของ พม.

คู่มอื
แนวทางการปฏบิ ตั งิ านด้านการเงิน

และการบญั ชี ของ พม.

กลุ่มตรวจสอบภายใน
สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์

กลุ่มตรวจสอบภายใน | สป.พม.

แนวทางการปฏบิ ัติงานตามระเบยี บกระทรวงการคลงั
วา ดว ยการเบิกเงนิ จากคลงั การรับเงิน การจายเงิน การเกบ็ รักษาเงนิ

และการนําเงนิ สง คลงั พ.ศ. 2562

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม.

คาํ นํา

กลุมตรวจสอบภายใน สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย
ในฐานะหนวยงานทีม่ ีบทบาทหนาท่ีสําคัญในการสรางความเช่ือม่ัน และการใหคําปรึกษาแกผูบริหารและหนวย
รบั ตรวจ หรอื ผทู ี่เกย่ี วของ ไดดาํ เนนิ การตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจาํ ปข องทกุ ป ปรากฏวา มีขอตรวจ
พบบอยๆ ในประเด็นขอผิดพลาดที่มีความเสี่ยงตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ไมครบถวนถูกตองตามระเบียบ
กระทรวงการคลัง วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง
พ.ศ. 2562

กลุมตรวจสอบภายในจึงไดรวบรวมสรุปประเด็นขอทักทวง ขอพึงระวัง ระเบียบท่ีเก่ียวของ/
หนังสือสั่งการที่อางถึง ขอปฏิบัติท่ีถูกตอง/ขอเสนอแนะขอตรวจพบ เพ่ือเปนแนวทางการสนับสนุนการ
ปฏิบตั ิงานของผปู ฏิบตั ิงานท่เี ก่ยี วของ ใหม ีธรรมาภบิ าล เกิดความโปรง ใสในการปฏิบตั ิงานใหมปี ระสิทธภิ าพและ
ประสิทธผิ ลตอไป

กลุม ตรวจสอบภายใน
สํานักงานปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม.

สารบญั หนา

1 การเกบ็ รักษาเงนิ 1 - 12

แนวทางการปฏิบตั งิ าน 2 เงนิ ฝากคลงั และเงนิ มดั จาํ ประกันสญั ญา 13 - 16
ตามระเบียบกระทรวงการคลัง
วาดว ยการเบิกเงนิ จากคลงั 3 เงินทดรองราชการ 17- 26
การรบั เงนิ การจา ยเงนิ การเก็บ
รกั ษาเงนิ และการนําเงินสง คลงั 4 เงินฝากธนาคาร 27 - 35
36 - 46
พ.ศ. 2562 5 เงินยืม 47 - 51

6 ใบสําคญั

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม.

1 การเก็บรกั ษาเงินและการนําสงเงนิ

 กลุมตรวจสอบภายใน มขี อตรวจพบเก่ยี วกบั การเก็บรักษาเงิน
และการนําสงเงิน ท่ีหนวยงานรับตรวจปฏิบัติไมถูกตองครบถวน
จึงไดรวบรวมขอพึงระวัง ระเบียบที่เก่ียวของ หนังสือสั่งการที่
อา งถงึ และขอ ปฏบิ ตั ทิ ่ถี ูกตอง พรอ มขอ เสนอแนะ ดังตอไปนี้

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 1

1. การเก็บรักษาเงนิ และการนําสง เงนิ

ขอพงึ ระวัง ระเบียบท่ีเกีย่ วของ/หนงั สอื สั่งการทีอ่ างถงึ ขอปฏบิ ัติท่ีถกู ตอ ง/ขอเสนอแนะ

 1.1 หนวยงานไมไดเ กบ็ รกั ษาเงินไว 1.1 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ 1.1 ในการจัดเก็บหรือรับชําระเงิน ใหสวนราชการซึ่งมีหนาท่ี
ในตูน ริ ภยั แตจะเกบ็ ไวท ี่เจา หนาที่ เบิกจายเงินจากคลัง การรบั เงนิ การจายเงนิ จัดเก็บหรือรับชําระเงินน้ัน ออกใบเสร็จรับเงิน หรือพิมพ
การเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง ราย ง า น ซึ่ ง เ ปน ห ลัก ฐ า น ก าร รับ ชําร ะเ งิน จา ก ร ะบ บ
พ.ศ.2562 ขอ 84 ขอ 85 อิเล็กทรอนิกส (e-Payment) ตามที่กระทรวงการคลังกําหนด
เวน แตเปนการรบั ชําระเงนิ คาธรรมเนียม คาบริการ หรือการรับ
เงินอ่ืนใดที่มีเอกสารของทางราชการระบุจํานวนเงินที่รับชําระ
อันมีลักษณะเชน เดียวกับใบเสร็จรับเงิน โดยเอกสารดังกลาว
จะตองมีการควบคุมจํานวนท่ีรับจายทํานองเดียวกันกับ
ใบเสร็จรับเงิน หรือเปนการรับเงินตามคําขอเบิกเงินจากคลัง
หรอื เปน การไดร บั ดอกเบ้ียจากบัญชีเงินฝากธนาคารของสวนราชการ

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 2

1. การเก็บรกั ษาเงนิ และการนาํ สง เงิน

ขอ พึงระวัง ระเบยี บที่เกีย่ วขอ ง/หนงั สอื สัง่ การที่อางถงึ ขอ ปฏบิ ัตทิ ถี่ กู ตอ ง/ขอเสนอแนะ

 1.2 หนว ยงานมเี งินเก็บรักษาไวในตนู ริ ภัย เปน 1.2 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการเบิก 1.2 เมื่อสิ้นเวลารับจายเงินใหเจาหนาท่ีการเงิน นําเงินท่ี
เวลานาน แตไมไ ดใหกรรมการเกบ็ รกั ษาเงนิ จายเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บ จะเก็บรักษา และรายงานเงินคงเหลือประจําวันสงมอบ
ตรวจนบั รักษาเงนิ และการนาํ เงนิ สงคลงั พ.ศ.2562 ขอ 93 ใหคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน ใหคณะกรรมการเก็บ
รักษาเงินรวมกันตรวจสอบตัวเงิน และเอกสารแทนตัว
เงิน กับรายงานเงินคงเหลือประจําวัน เม่ือปรากฏวา
ถูกตองแลว ใหเจาหนาท่ีการเงินนําเงิน และเอกสาร
ตัวแทนเงินเก็บรักษาในตูนิรภัย และใหคณะกรรมการ
เก็บรักษาเงินทุกคนลงลายมือชื่อในรายงานเงินคงเหลือ
ประจําวันไวเปน หลกั ฐาน

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 3

1. การเก็บรักษาเงนิ และการนาํ สง เงิน

ขอ พงึ ระวงั ระเบยี บท่เี กย่ี วของ/หนังสอื สัง่ การที่อา งถงึ ขอปฏิบตั ทิ ถ่ี ูกตอ ง/ขอเสนอแนะ

 1.3 หนวยงานรับเงินไวในความ 1.3 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ 1.3 เงินทั้งปวงที่อยูในสวนรับผิดชอบของสวนราชการ ใหนําสงหรือ
นําฝากคลังภายในกําหนดเวลา ดังตอไปน้ี
รับผิดชอบเกินกวาระเบียบกําหนด เ บิ ก จ า ย เ งิ น จ า ก ค ลั ง ก า ร รั บ เ งิ น
(1) เชค็ หรือเอกสารตวั แทนเงินอนื่ นาํ สง หรือนําฝากในวนั ที่
แลวไมนําสงหรือนําฝากคลังภายใน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนํา ไดร บั หรืออยางชา ภายในวันทําการถัดไป
เวลาทกี่ ําหนด
เงินสง คลัง พ.ศ.2562 ขอ 101 (2) เงินรายไดแ ผนดินทไี่ ดร ับเปน เงนิ สดใหนําสง อยางนอยเดอื นละหนง่ึ
ครั้งแตถาสวนราชการใดมเี งนิ รายไดแผน ดนิ เก็บรกั ษาในวนั ใดเกินหนงึ่ หมื่นบาท
กใ็ หนาํ เงินสง โดยดวนแตอยางชา ตอ งไมเกินสามวนั ทาํ การถัดไป

(3) เงนิ รายไดแผน ดนิ ทร่ี บั ดวยอิเลก็ ทรอนิกส (e-Payment)
ใหน ําสง ภายในระยะเวลาท่กี ระทรวงการคลงั กาํ หนด

(4) เงินเบิกเกนิ สง คืน หรอื เงินเหลือจายปเกาสงคนื ใหนําสง
ภายในสบิ หา วันทาํ การนับแตวันรับเงินจากคลงั หรือนบั แตวันท่ีไดรับเงนิ

(5) เงินนอกงบประมาณทรี่ บั เปนเงินสดใหน ําฝากคลงั อยา งนอ ยเดอื นละ
หนึ่งคร้ังแตส ําหรบั เงนิ ท่ีเบกิ จากคลังเพือ่ รอการจายใหนําฝากคลงั ภายในสิบหา
วนั ทาํ การนบั แตวันรับเงินจากคลงั

กลุม ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 4

1. การเก็บรักษาเงนิ และการนาํ สง เงนิ

ขอ พึงระวงั ระเบียบทเ่ี กย่ี วขอ ง/หนังสอื สัง่ การทอี่ า งถงึ ขอปฏบิ ตั ทิ ี่ถกู ตอ ง/ขอเสนอแนะ

 1.4 หนว ยงานไมไดแตง ต้งั 1.4 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ 1.4 ใหหัวหนาสวนราชการพิจารณาแตงต้ัง
คณะกรรมการเกบ็ รกั ษาเงิน และ เ บิ ก จ า ย เ งิ น จ า ก ค ลั ง ก า ร รั บ เ งิ น ขาราชการซึ่งดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ
ผูตรวจสอบการจายเงนิ ประจาํ การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนํา ระดับปฏิบัติการ หรือประเภทท่ัวไป ระดับ
ปฏิบัติงานืหรือเทียบเทาขึ้นไป ในสวน
เงินสง คลัง พ.ศ.2562 ขอ 86 ราชการนั้นอยางนอยสองคน เปนกรรมการ
เกบ็ รกั ษาเงินของสวนราชการน้ัน

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 5

1. การเก็บรกั ษาเงนิ และการนาํ สง เงนิ

ขอ พึงระวัง ระเบียบทเี่ กยี่ วขอ ง/หนังสอื ส่งั การทอี่ า งถึง ขอ ปฏิบัตทิ ถ่ี ูกตอ ง/ขอเสนอแนะ

 1.5 กรรมการเก็บรักษาเงินไมไดทํา 1.5 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ 1.5 เม่ือส้ินเวลารับจายเงิน ใหเจาหนาที่การเงิน
ห น า ที่ ต ร ว จ ส อ บ เ งิ น ค ง เ ห ลื อ เ บิ ก จ า ย เ งิ น จ า ก ค ลั ง ก า ร รั บ เ งิ น นําเงินท่ีจะเก็บรักษาและรายงานเงินคงเหลือ
กบั รายงานเงนิ คงเหลือประจาํ วนั ประจําวันสงมอบใหคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน
การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนํา ที่ไดรับการแตงตั้งตรวจสอบ ตัวเงินและเอกสาร
แทนตัวเงินกับรายงานเงินคงเหลือประจําวัน
เงนิ สง คลงั พ.ศ.2562 ขอ 93 หากปรากฎวาถูกตองใหเจาหนาท่ีการเงินนําเงิน
และเอกสารแทน ตัวเงินเก็บรักษาไวในตูนิรภัย
และใหกรรมการเก็บรักษาเงิน ทุกคนลงลายมือ
ชือ่ ในรายงานดงั กลาวไวเปน หลักฐาน

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 6

1. การเกบ็ รักษาเงนิ และการนําสง เงิน

ขอ พึงระวัง ระเบยี บทเ่ี ก่ยี วขอ ง/หนงั สอื ส่ังการที่อา งถงึ ขอ ปฏิบตั ิท่ถี ูกตอ ง/ขอเสนอแนะ

 1.6 หนวยงานมกี ารแตงตงั้ เจาหนาท่ี 1.6 ระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกับ 1.6 เพ่ือใหเปนไปตามระบบการควบคุม
การเงนิ ผทู าํ หนาที่รบั เงนิ และตรวจ การเงิน ภายในท่ีดี ผูท่ีมีคําสั่งใหเปนเจาหนาที่
นับเงิน เปน กรรมการเก็บรักษาเงิน การเงินไมควรทําหนาท่ีเปนกรรมการเก็บ
รักษาเงินและตรวจสอบความถูกตองใน
รายงานเงินคงเหลือประจําวนั

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 7

1. การเก็บรักษาเงนิ และการนําสง เงิน

ขอ พงึ ระวงั ระเบียบทีเ่ ก่ียวขอ ง/หนังสอื ส่งั การท่อี างถึง ขอปฏบิ ตั ิทถ่ี กู ตอง/ขอเสนอแนะ
 1.7 เจาหนา ทีก่ ารเงินเปนผเู ก็บรักษา
1.7 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ 1.7 เพื่อใหหนวยงานดําเนินการตาม
กญุ แจตนู ริ ภยั พรอ มรหสั และเปน เบกิ จายเงินจากคลงั การรับเงินการจายเงนิ ระเบียบ ไมควรมอบกุญแจ ตูนิรภัยท้ังหมด
ผูเปดตูน ริ ภัย การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง แล ะ รหั ส ไว ท่ี เ จา ห นา ท่ี ก าร เ งิน ห รื อ

พ.ศ.2562 ขอ 87 กรรมการเก็บรักษาเงินผูหน่ึงผูใดเพียงคน
เดียว โดยตองมอบใหกรรมการเก็บรักษา
เงินถือกุญแจตูนิรภัยคนละ 1 ดอก และ
ก ร ร ม ก า ร ต อ ง เ ก็ บ รั ก ษ า กุ ญ แ จ ไ ว ใ น ท่ี
ปลอดภัยอยาใหส ูญหาย

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 8

1. การเก็บรักษาเงนิ และการนําสง เงิน

ขอพงึ ระวัง ระเบียบท่ีเกย่ี วขอ ง/หนงั สือสั่งการทอี่ า งถงึ ขอ ปฏิบัตทิ ่ีถกู ตอง/ขอ เสนอแนะ

 1.8 กุญแจตนู ิรภัยเก็บรักษาอยูท่ี 1.8 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ 1.8 ตูนิรภัยใหมีลูกกุญแจอยางนอย 2 สํารับ แตละ
กรรมการเกบ็ รกั ษาเงินทั้ง 2 สาํ รบั เบกิ จา ยเงนิ จากคลงั การรับเงนิ การจายเงนิ สํารับไมนอยกวาสองดอกแตไมเกินสามดอก โดยแต
ไมไดนําฝากคลังจาํ นวน 1 สํารบั การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง ละดอกตองมีลักษณะตางกัน โดยสํารับหน่ึงมอบให
พ.ศ.2562 ขอ 85 กรรมการเก็บรักษาเงิน สวนสํารับที่เหลือใหนําฝาก
เกบ็ รักษาไวใ นลักษณะหีบหอที่ ณ สถานที่ ดังนี้

( 1) สํ านั กบริ หารเงิ นตรา กรมธนารั กษ
กระทรวงการคลงั สาํ หรบั สว นราชการในบริหารสว นกลาง

(2) สําหรับสวนราชการในราชการบริหาร
สวนกลางที่มีสํานักงานอยูในสวนภูมิภาค และสวน
ราชการบรหิ ารสวนภูมิภาค ใหเ กบ็ รกั ษาในสถานทีป่ ลอดภยั

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 9

1. การเก็บรกั ษาเงนิ และการนําสง เงิน

ขอพึงระวัง ระเบยี บที่เกีย่ วขอ ง/หนงั สือส่ังการท่ีอา งถงึ ขอปฏิบัตทิ ี่ถกู ตอ ง/ขอ เสนอแนะ

 1.9 หนว ยงานไมไดจดั ทาํ รายงานเงิน 1.9 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ 1.9 เมอื่ สนิ้ เวลารับจา ยเงินใหเจาหนาท่ีการเงินนําเงิน
คงเหลอื ประจําวัน/จดั ทาํ รายงานเงนิ เบกิ จา ยเงินจากคลงั การรับเงนิ การจา ยเงนิ ท่ีจะเก็บรักษาและรายงานเงินคงเหลือประจําวันสง
คงเหลือประจาํ วันเพียงบางวันและ การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง มอบใหค ณะก รรม การ เก็บรักษ าเงิ น แ ละใ ห
หนว ยงานไมไ ดน ํารายงานเงินคงเหลือ พ.ศ.2562 ขอ 93 ขอ 94 คณะกรรมการเก็บรักษาเงินรวมกันตรวจสอบตัวเงิน
ประจําวนั ใหก รรมการเก็บรักษาเงิน และเอกสารแทนตัวเงิน กับรายงานเงินคงเหลือ
และหรอื หวั หนา สวนราชการลงนาม ประจําวัน เม่ือปรากฏวาถูกตองแลว ใหเจาหนาที่
การเงินนําเงิน และเอกสารแทนตัวเงิน เก็บรักษาในตู
นิรภัย และใหคณะกรรมการเก็บรักษาเงินทุกคนลง
ลายมือชื่อในรายงานเงินคงเหลือประจําวันไวเปน
หลักฐาน และรายงานคงเหลือประจําวัน เม่ือ
กรรมการเก็บรักษาเงินไดลงลายมือชื่อแลว ให
ผูอํานวยการกองคลัง หรือเจาหนาท่ีการเงินเสนอ
หวั หนกาลสุม ตวรนวจรสาอชบภกาายรในเพ|่อื สทป.รพาม.บ. หนา 10

1. การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนาํ สง เงิน

ขอพึงระวงั ระเบยี บทเ่ี กยี่ วของ/หนังสอื สง่ั การท่อี า งถึง ขอ ปฏิบัติทีถ่ ูกตอ ง/ขอ เสนอแนะ

 1.10 ยอดคงเหลือในรายงานเงิน 1.10 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวย 1.10 ขอใหบันทึกขอมูลรับเงินในระบบ
คงเหลอื ประจําวันไมต รงกับยอด
คงเหลือของบัญชใี นระบบ GFMIS การเบิกจายเงินจากคลัง การรับเงินการ GFMIS ภายในวันที่ไดรับเงิน เพื่อใหยอดเงิน

จายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนําเงิน ส ดค ง เ ห ลื อ ตา มร าย ง า น เ งิ น ค ง เ ห ลื อ

สง คลงั พ.ศ.2562 ขอ 81 ประจําวันท่ีจัดทําดวยมือกับบัญชีในระบบ

GFMIS แสดงยอดท่ถี กู ตอ งตรงกนั

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 11

1. การเก็บรกั ษาเงนิ และการนาํ สง เงิน

ขอพงึ ระวัง ระเบยี บทเ่ี กีย่ วขอ ง/หนงั สอื ส่ังการทอี่ างถงึ ขอ ปฏบิ ัติทถ่ี กู ตอ ง/ขอ เสนอแนะ

 1.11 หนวยงานจัดทํารายงานเงิน 1.11 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวย 1.11 การจัดทาํ รายงานเงินคงเหลือ
คงเหลือประจําวันไมถูกตองคือแสดง การเบิกจายเงินจากคลัง การรับเงินการ ประจาํ วนั ใหแสดงยอดเงินคงเหลือทม่ี ี
ย อ ด เ งิ น ค ง เ ห ลื อ ไ ม ต ร ง กั บ ย อ ด จายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนําเงิน อยจู รงิ และคณะกรรมการเก็บรักษาเงนิ
สง คลงั พ.ศ.2562 ขอ 92 ขอ 93 ขอ 95 ตองตรวจสอบตัวเงนิ และเอกสารแทน
ที่มอี ยจู รงิ
ตวั เงนิ กับรายงานเงินคงเหลอื ประจําวนั

เมอ่ื ปรากฏวา ถกู ตองใหลงลายมอื ชื่อใน

รายงานเงินคงเหลือประจําวนั

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 12

2 เงนิ ฝากคลงั และเงินมัดจําประกนั สัญญา

 กลุม ตรวจสอบภายใน มขี อ ตรวจพบเกย่ี วกบั เงินฝากคลังและ
เงินมัดจําประกันสัญญา ที่หนวยงานรับตรวจปฏิบัติไมถูกตอง
ครบถวน จึงไดรวบรวมขอพึงระวัง ระเบียบที่เกี่ยวของ หนังสือสั่ง
การทีอ่ า งถงึ และขอปฏิบัติท่ีถูกตอ ง พรอมขอเสนอแนะ ดงั ตอไปนี้

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม หนา 13

2. เงินฝากคลังและเงินมดั จําประกันสัญญา

ขอพึงระวัง ระเบยี บท่ีเกยี่ วขอ ง/หนงั สอื สงั่ การทอ่ี างถงึ ขอปฏิบตั ิท่ีถกู ตอ ง/ขอเสนอแนะ

 2.1 หนวยงาน ไมไดจดั ทํา 2.1 ระบบการควบคมุ ภายใน 2.1 ควรใหใหเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบจัดทํา
ทะเบยี นคมุ เงนิ ฝากคลงั เกย่ี วกับการเงิน ทะเบียนคุมเงินฝากคลังแยกตามประเภทของ
เงินที่นําฝาก เพื่อใหทราบและตรวจสอบไดวา
ขอ พงึ ระวงั ระเบยี บทเี่ ก่ยี วของ/หนังสอื สง่ั การทอี่ างถงึ มีเงินประเภทใดฝากอยูในบัญชีเงินฝากคลัง
และเงินแตล ะประเภทนั้นคงเหลอื เทา ใด
 2.2 หนวยงานไมไดตรวจสอบ 2.2 ระบบการควบคุมภายใน
รายงานแสดงการเคลื่อนไหว เก่ียวกับการบัญชี ขอ ปฏิบัติทถี่ กู ตอง/ขอ เสนอแนะ
เงนิ ฝากคลงั กับเอกสารหลักฐาน
ทํ า ใ ห ย อ ด ค ง เ ห ลื อ ใ น ร ะ บ บ 2.2 ควรใหเ จาหนา ท่ีผรู ับผิดชอบเรียกรายงาน
GFMIS ไมถกู ตอง แสดงการเคลอื่ นไหวเงินฝากคลังตรวจสอบกบั
เอกสารการนําฝากและถอนเงินฝากคลงั
เปรยี บเทยี บกับยอดคงเหลือตามงบทดลอง
จากระบบวาถูกตองตรงกนั หรอื ไม

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 14

2. เงินฝากคลังและเงินมดั จําประกันสัญญา

ขอพงึ ระวงั ระเบียบท่เี กี่ยวขอ ง/หนงั สือสง่ั การท่อี า งถึง ขอ ปฏิบตั ิท่ีถกู ตอง/ขอเสนอแนะ
2.3 เมอ่ื มกี ารรับเงินประกันสัญญา
 2.3 รบั เงินประกันสัญญา 2.3 ระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดวย ใหออกใบเสร็จรับเงนิ และนําเงนิ
แลวไมไ ดนาํ เงินฝากคลัง การเบิกจายเงินจากคลัง การรับเงิน ดงั กลา วฝากคลงั
การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และ
ขอ พงึ ระวัง การนําเงนิ สง คลงั พ.ศ.2562 ขอ 101 ขอ ปฏิบตั ทิ ถ่ี กู ตอ ง/ขอเสนอแนะ

 2.4 ไมไดร บั เงนิ ประกนั ระเบยี บทเ่ี ก่ยี วของ/หนงั สอื สัง่ การท่ีอา งถงึ 2.5 ขอใหแจงคูสัญญานํา
สัญญาในวันที่ลงนาม หลักประกันมาวางในวันท่ีทํา
ในสญั ญา 2.4 ระบบการควบคมุ ภายใน สัญญา เพ่ือใหเปนไปตาม
เก่ียวกับการพสั ดุ ขอกําหนดในสัญญา

กลุม ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 15

2. เงินฝากคลังและเงินมัดจําประกันสัญญา

ขอพึงระวัง ระเบียบท่ีเก่ยี วของ/หนงั สอื ส่ังการทอี่ า งถึง ขอ ปฏบิ ัติทีถ่ กู ตอง/ขอเสนอแนะ

 2.5 รบั หลกั ประกนั สัญญาเปน 2.5 ระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดว ยการ 2.4 หลักประกันสัญญาใหใชอยางใดอยางหนึ่ง
ต๋ัวแลกเงิน/เช็คสงั่ จายโดยคูสัญญา จัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ ดังนค้ี ือ
พ.ศ. 2560 ขอ 167
(1) เงนิ สด
ขอปฏบิ ตั ิท่ีถูกตอ ง/ขอ เสนอแนะ (ตอ) (2) เช็คหรือดราฟทที่ธนาคารเซ็นสั่งจายซ่ึงเปน
เช็ค หรือ ดราฟทลงวันที่ ท่ีใชเช็คหรือ ดราฟทนั้น
(4) หนังสือคํ้าประกันของบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพยท่ีไดรับ ชาํ ระตอ เจา หนา ที่ หรอื กอนวันน้นั ไมเกนิ 3 วัน ทาํ การ
อนุญาตใหประกอบกิจการเงินทุนเพ่ือการพาณิชยและประกอบธุรกิจคาประกันตาม (3)หนังสือคํ้าประกันของธนาคารภายในประเทศ
ประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย ตามรายช่ือบริษัทเงินทุน ที่ธนาคารแหงประเทศ ตามตัวอยาท่ีคณะกรรมการนโยบายกําหนด โดยอาจ
ไทยแจงเวียนใหทราบ โดยอนุโลมใหใชตามตัวอยางหนังสือค้ําประกันของธนาคารที่ เปนหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส ตามวิธีการท่ี
คณะกรรมการนโยบายกาํ หนด กรมบญั ชีกลางกาํ หนดก็ได

(5) พนั ธบัตรรัฐบาลไทย กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 16

3 เงนิ ทดรองราชการ

 กลุมตรวจสอบภายใน มีขอตรวจพบเกี่ยวกับ เงินทดรอง
ราชการที่หนวยงานรับตรวจปฏิบัติไมถูกตองครบถวน จึงได
รวบรวมขอพึงระวัง ระเบียบท่ีเกี่ยวของ หนังสือสั่งการท่ีอางถึง
และขอ ปฏบิ ัติทถ่ี กู ตอ ง พรอมขอ เสนอแนะ ดงั ตอ ไปน้ี

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 17

3. เงนิ ทดรองราชการ

ขอพึงระวัง ระเบยี บที่เกี่ยวขอ ง/หนงั สือสง่ั การทอี่ า งถึง ขอปฏิบัตทิ ถ่ี ูกตอง/ขอ เสนอแนะ

 3.1 ในทะเบียนคุมเงินทดรองราชการ 3.1 ระเบยี บกระทรวงการคลังวาดว ยเงนิ 3.1 ใหบันทึกรายการรับและนําสง
ไมมีการบันทึกรับดอกเบ้ียเงินฝาก ทดรองราชการ พ.ศ. 2562 ขอ 12 ดอกเบ้ียเงินฝากธนาคารไวในชองหมาย
ธนาคาร ไมไดออกใบเสร็จรับเงินเปน เหตุของทะเบียนคุมเงินทดรองราชการ
ห ลั ก ฐ า น ก า ร รั บ ด อ ก เ บ้ี ย เ งิ น ฝ า ก พรอมบันทึกดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร
ธนาคาร และไมไดนําสงคลังเปน นาํ สงคลงั เปน รายไดแ ผนดนิ ในสมดุ เงินสด
รายไดแ ผนดนิ

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 18

3. เงินทดรองราชการ

ขอ พึงระวงั ระเบยี บทเ่ี ก่ียวขอ ง/หนงั สือส่ังการทอี่ างถงึ ขอปฏบิ ตั ทิ ี่ถูกตอ ง/ขอ เสนอแนะ

 3.2 หนวยงานใชใบเสร็จรับเงิน 3.2 หนังสือกระทรวงการคลัง ท่ี กค 3.2 ใหใชใบเสร็จรับเงินที่ใชรับเงินปกติ
สําหรับรับคืนเงินยืมเงินทดรอง 0423.3/ว 61 ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2562 ของหนวยงานในการรับคืนเงินยืมเงินทด
ราชการ เรื่อง ระบบการบัญชีและการควบคุมเงิน รองราชการ เพ่ือบันทึกการรับเงินเขา
ระบบ GFMIS และนําสงคลังเปนรายได
ทดรองราชการ แผน ดิน

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 19

3. เงนิ ทดรองราชการ

ขอ พงึ ระวัง ระเบยี บทเ่ี กย่ี วขอ ง/หนังสือสง่ั การท่ีอางถงึ ขอปฏบิ ตั ทิ ่ถี ูกตอ ง/ขอ เสนอแนะ

 3.3 หนวยงานไมไดนําดอกเบ้ีย 3.2 หนังสือกระทรวงการคลัง ท่ี กค 3.3 เม่ือสวนราชการไดรับดอกเบี้ยท่ีเกิด
เ งิ น ฝ า ก ธ น า ค า ร ส ง ค ลั ง เ ป น 0423.3/ว 61 ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2562 จ า ก ก า ร นํ า เ งิ น ท ด ร อ ง ร า ช ก า ร
รายไดแผน ดิน เรื่อง ระบบการบัญชีและการควบคุมเงิน ฝากธนาคาร ประเภทออมทรัพยใหนําสง
คลังเปน รายไดแ ผน ดิน
ทดรองราชการ

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 20

3. เงนิ ทดรองราชการ

ขอพึงระวงั ระเบียบทีเ่ กีย่ วขอ ง/หนังสือส่งั การที่อา งถงึ ขอ ปฏิบัตทิ ่ีถกู ตอง/ขอ เสนอแนะ

 3.4 เม่ือลูกหน้ีสงใชเงินยืม 3.4 หนังสอื กระทรวงการคลงั ที่ กค 3.4 เมื่อเจาหนาท่ีไดรับหลักฐานการสงใช
เจาหนาที่จะนําหลักฐานวางเบิก 0423.3/ว61 ลงวนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน เงินยืมใหออกใบรับใบสําคัญและบันทึก
เงินงบประมาณโดยไมไดลดยอด 2562 เรือ่ ง ระบบการบญั ชแี ละการ การสงใชหลังสัญญายืมรวมท้ังบันทึกลาง
ลู ก ห น้ี แ ล ะ เ พิ่ ม ใ บ สํ า คั ญ ลูกหน้ีเปนใบสําคัญในทะเบียนคุมเงินทด
ใ น ท ะ เ บี ย น คุ ม เ งิ น ท ด ร อ ง ควบคุมเงินทดรองราชการ รองราชการ แลวจึงนําใบสําคัญน้ัน
ราชการ ไปวางเบิกเงินงบประมาณเพ่ือชดใชเงิน

ทดรองราชการ

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 21

3. เงนิ ทดรองราชการ

ขอ พงึ ระวัง ระเบยี บท่ีเกีย่ วขอ ง/หนังสือส่งั การที่อา งถึง ขอ ปฏิบัติทถ่ี กู ตอง/ขอเสนอแนะ

 3.5 มลี ูกหนเี้ งินทดรองราชการ 3.5 ระเบียบกระทรวงการคลังวา ดว ย 3.5 ขอใหเรงรัดใหลูกหนี้สงใชเงินยืมให
คางเกนิ กวาระยะเวลาที่ระเบยี บ เงนิ ทดรองราชการ พ.ศ. 2562 เสร็จส้ินโดยดวน และในโอกาสตอไปหาก
กําหนด ผูยืมมิไดชําระเงินยืมภายในกําหนดให
ขอ 28 เรยี กชดใชเงินยมื ตามเงอ่ื นไขในสัญญายืม
ใหเสร็จส้ินโดยเร็ว อยางชาไมเกิน 30 วัน

นบั แตว นั ครบกําหนด

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 22

3. เงนิ ทดรองราชการ

ขอพึงระวัง ระเบยี บท่เี กีย่ วขอ ง/หนงั สือสั่งการท่ีอา งถงึ ขอปฏิบัติทถ่ี ูกตอ ง/ขอ เสนอแนะ

 3.6 ไมไ ดจ ดั ทาํ ทะเบยี นคุมเงนิ 3.6 ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย 3.6 ขอใหจัดทําทะเบียนคุมเงินทดรอง
ทดรองราชการ เงินทดรองราชการ พ.ศ. 2562 ราชการตามแบบท่ีกระทรวงการคลัง
ขอ 31 และหนังสือกระทรวงการคลัง กําหนด โดยใหมีการบันทึกควบคุมการ
ที่ กค 0423.3/ว 61 ลงวันที่ 25 รับ – จายเงินทดรองราชการ ทุกรายการ
มิถุนายน 2562 เร่ือง ระบบการบัญชี ในทะเบียนคุมเงินทดรองราชการ โดย
ศึกษาวิธีการบันทึกรายการไดตามหนังสือ
และการควบคุมเงินทดรองราชการ ส่ังการดังกลา ว

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 23

3. เงินทดรองราชการ

ขอ พงึ ระวัง ระเบยี บท่เี ก่ียวของ/หนังสอื ส่งั การทอี่ างถงึ ขอปฏบิ ตั ิท่ีถูกตอง/ขอเสนอแนะ

 3.7 จัดทาํ ทะเบียนคุมเงินทดรอง 3.7 ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย 3.7 ขอใหจัดทําบันทึกการรับ – จายเงิน
ราชการ ไมเ ปน ไปตามแบบท่ี เงินทดรองราชการ พ.ศ. 2562 ทดรองราชการ ในทะเบียนคุมเงินทดรอง
กระทรวงการคลังกาํ หนด ขอ 34 และหนังสือกระทรวงการคลัง ราชการ ใหถูกตองครบถวน โดยศึกษา
ที่ ก ค 0 4 2 3 . 3 / ว 6 1 ล ง วั น ที่ แบบทะเบียนและตัวอยางการบันทึก
25 มิถุนายน 2562 เรื่อง ระบบการ ร า ย ก า ร วิ ธี ก า ร บั น ทึ ก ร า ย ก า ร ไ ด ต า ม
บั ญ ชี แ ล ะ ก า ร ค ว บ คุ ม เ งิ น ท ด ร อ ง หนังสอื สงั่ การดงั กลาว

ราชการ

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 24

3. เงินทดรองราชการ

ขอพึงระวงั ระเบยี บทเ่ี กย่ี วขอ ง/หนังสอื สัง่ การทอ่ี างถงึ ขอปฏบิ ัตทิ ่ีถูกตอง/ขอ เสนอแนะ

 3.8 ไมไดแตง ตัง้ ผตู รวจสอบ 3.8 ร ะเบียบกระท ร ว งการ ค ลัง 3.8 ใหหนวยงานแตงตั้งผูตรวจสอบรายการ
รายการเคล่ือนไหวเงนิ ทดรอง วาดวยการเบิกจายเงินจากคลัง การ เคล่ือนไหวเงินทดรองราชการ และทุกส้ินวันกอน
ราชการ รับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน ทําการ ภายหลังการรับหรือจายเงินทดรองใหผูท่ี
และการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2562 ไดรับการแตงตั้ง ทําหนาท่ีตรวจสอบรายการ
ขอ 83 ระเบียบกระทรวงการคลังวา เคลื่อนไหวในทะเบียนคุมเงินทดรองราชการ และ
ดวยเงินทดรองราชการ พ.ศ. 2562 เงินคงเหลือ ใหถูกตองตรงกันแลวใหลงลายมือช่ือ
ขอ 13 กํากับในทะเบียนคุมเงินทดรองราชการ พรอมกับ
นํ า เ งิ น ค ง เ ห ลื อ เ ก็ บ รั ก ษ า ไ ว ใ น ตู นิ ร ภั ย ข อ ง
หนวยงานในลักษณะหบี หอ และระบุจาํ นวนเงนิ ใน
รายงานเงนิ คงเหลอื ประจําวนั ชอง “หมายเหตุ”

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 25

3. เงินทดรองราชการ

ขอ พงึ ระวงั ระเบียบที่เกีย่ วขอ ง/หนังสือสง่ั การทีอ่ างถงึ ขอปฏบิ ัตทิ ถี่ กู ตอ ง/ขอ เสนอแนะ

 3.9 ไมไ ดจดั ทาํ รายงานฐานะ 3.9 หนังสือกระทรวงการคลัง ท่ี กค 3.9 ใหจัดทําและเสนอหัวหนาหนวย
เงนิ ทดรองราชการ ใหห ัวหนา 0423.3/ว264 ลงวันที่ 29 กรกฎาคม เบิกจายทราบเปนประจําทุกเดือน ภายใน
หนวยงานทราบ 2 5 5 8 เ ร่ื อ ง ก า ร ส ง ร า ย ง า น
วนั ที่ 15 ของเดอื นถัดไป
ประจําเดือน

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 26

4 เงินฝากธนาคาร

 กลมุ ตรวจสอบภายใน มขี อ ตรวจพบเก่ียวกับ เงินฝากธนาคาร
ทห่ี นวยงานรับตรวจปฏิบัติไมถูกตองครบถวน จึงไดรวบรวมขอพึง
ระวัง ระเบียบที่เก่ียวของ หนังสือสั่งการท่ีอางถึงและขอปฏิบัติท่ี
ถกู ตอง พรอมขอ เสนอแนะ ดังตอไปน้ี

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 27

4. เงนิ ฝากธนาคาร

ขอ พงึ ระวัง ระเบียบที่เก่ียวขอ ง/หนังสอื สง่ั การทีอ่ างถงึ ขอปฏิบัตทิ ี่ถูกตอ ง/ขอ เสนอแนะ

 4.1 หนวยงานบันทึกบัญชี 4.1 ระบบการควบคมุ ภายใน 4.1 ขอใหตรวจสอบบัญชีดังกลาวและ
เ งิ น ฝ า ก ธ น า ค า ร ไ ม เ ป น เก่ียวกับการบญั ชี บันทึกรายการ รับ-จายเงินในบัญชีให
ปจ จุบนั ถูกตองครบถวน เพ่ือใหรายงานงบ
ระเบียบท่ีเกย่ี วขอ ง/หนังสอื สั่งการทอ่ี า งถึง ทดลองแสดงยอดคงเหลือของบัญชีที่
ขอพึงระวงั ถกู ตองตามความ เปน จริง
4.2 ระบบการควบคมุ ภายใน
4.2 หนวยงานไมไดจัดทํางบ เกย่ี วกับการเงิน ขอปฏิบัติท่ีถกู ตอง/ขอเสนอแนะ
เที ยบ ยอ ดเ งิน ฝา กธ น า คา ร
เพื่อพิสูจนความถูกตองของยอด 4.2 ทุกส้ินเดือนหากปรากฏวายอด
คงเหลอื ของเงนิ ฝากธนาคาร คงเหลือตามบัญชีกับยอดคงเหลือ
ตามรายงานของธนาคารไมตรงกัน
ใหจ ัดทํางบเทยี บยอดเงินฝากธนาคาร
เพ่ือหาขอแตกตางและะปรับปรุง
บัญชใี หถ กู ตอง

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 28

4. เงนิ ฝากธนาคาร

ขอ พึงระวงั ระเบียบทเ่ี ก่ยี วของ/หนงั สือส่ังการทอี่ า งถงึ ขอปฏบิ ตั ทิ ่ถี ูกตอ ง/ขอเสนอแนะ

 4.3 หนวยงานจัดทํางบเทียบยอดเงินฝาก 4.3 หนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0423.3/ ว 63 4.3 ใหจัดทํางบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร
ธนาคาร ไมครบถวนทุกบัญชี และวิธีการ ลงวันท่ี 21 กุมภาพันธ 2554 เรื่อง วิธีการ ทุกบัญชีเปนประจําทุกเดือน โดยจัดทําจาก
จดั ทําไมถ ูกตอ ง ตรวจสอบขอมูลเงินฝากธนาคารและแนวทางการ ยอดคงเหลือของบัญชีตามรายงานงบทดลอง
จัดทางบกระทบยอดเงินฝากธนาคารของหนวยงานภาครฐั ตามระบบ GFMI ไปหายอดคงเหลือตาม
ขอพงึ ระวงั รายงานบญั ชีเงินฝากธนาคาร
ระเบยี บที่เกย่ี วของ/หนังสอื สงั่ การทีอ่ า งถงึ
 4.4 บัญชีเงินฝากไมมีรายตัวที่ ขอปฏบิ ัตทิ ี่ถกู ตอ ง/ขอ เสนอแนะ
บั น ทึ ก ใ น ร ะ บ บ GFMIS 4.4 ระบบการควบคมุ ภายใน
ไมสามารถแยกแตละประเภท เก่ยี วกับการเงิน 4.4 ขอใหจัดทําบัญชีเงินฝากไมมี
ของเงนิ ได รายตวั ในแตล ะประเภทของเงนิ

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 29

4. เงนิ ฝากธนาคาร

ขอพงึ ระวัง ระเบยี บท่เี กีย่ วขอ ง/หนงั สือส่งั การที่อางถึง ขอ ปฏิบัติท่ถี ูกตอง/ขอเสนอแนะ

 4.5 มีเช็คส่ังจายที่ผูรับยังไมนําไป 4.5 ระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกับ 4.5 ขอใหติดตอผูรับเช็คโดยจัดทําเปนหนังสือ
ข้ึนเงินที่ธนาคารภายใน 6 เดือน การเงิน สงทางไปรษณียตอบรับเพื่อนําเช็คดังกลาวมา
นับแตวันท่ีปรากฏในเช็ค ซ่ึงเช็ค เปล่ียนฉบับใหม กรณีเช็คสูญหายใหใชใบแจง
ดั ง ก ล า ว เ ป น เ ช็ ค ห ม ด อ า ยุ ความเปนหลักฐานแทน หากไมสามารถติดตอได
ไมสามารถนําไปขึ้นเงินที่ธนาคาร หรือไมมาติดตอภายในกําหนด ใหนําเงินดังกลาว
ไดอีกตอ ไป สงคลังเปน รายไดแผนดินกรณีเปนเงินงบประมาณ
ปกอน หากเปนเงินนอกงบประมาณ ใหปรับปรุง
บั ญ ชี เ พื่ อ บั น ทึ ก รั บ เ งิ น คื น เ ข า บั ญ ชี เ งิ น น อ ก
งบประมาณน้ันหรือนําสงคลังเปนรายไดแผนดิน
ตามขอ กําหนดของเงินนน้ั

กลุม ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 30

4. เงินฝากธนาคาร

ขอ พึงระวงั ระเบยี บท่ีเกีย่ วของ/หนงั สือสงั่ การที่อางถึง ขอ ปฏบิ ตั ิทีถ่ ูกตอง/ขอ เสนอแนะ
4.6 หนังสือกรมบญั ชกี ลาง ท่ี กค 0423.3/ ว 431
 4.6 หนวยงานไมไ ดบ ันทึกรายการรับ-จา ย ลงวันท่ี 9 ธันวาคม 2554 เรือ่ ง แนวปฏบิ ตั ิทาง 4.6 ขอใหบันทึกรายการรับจายเงินนอก
เงินฝากธนาคาร-นอกงบประมาณในระบบ บัญชีเก่ยี วกับเงนิ นอกงบประมาณฝากธนาคารพาณิชย งบประมาณเขาในระบบ GFMIS เพื่อให
GFMIS รายงานงบทดลองแสดงยอดคงเหลือของเงิน
ระเบยี บทเ่ี ก่ยี วขอ ง/หนังสอื ส่งั การทอ่ี างถึง ทุกประเภทที่หนว ยงานมกี ารรบั จายเกดิ ขน้ึ
ขอ พึงระวงั
4.7 ระบบการควบคุมภายในเกยี่ วกับ ขอ ปฏิบัติทถี่ กู ตอง/ขอ เสนอแนะ
 4.7 หนวยงานบนั ทกึ บญั ชีเงนิ ฝาก การบญั ชี
ธนาคาร ดา นจายตามใบแจง ยอดเงนิ 4.7 การบันทึกบัญชีเงินฝากธนาคาร
ฝากธนาคาร ใหบันทึกตามขอเท็จจริง ท่ีเกิดขึ้นตาม
วันท่จี า ยเชค็

กลุม ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 31

4. เงนิ ฝากธนาคาร

ขอพงึ ระวงั ระเบียบท่ีเกีย่ วขอ ง/หนังสือสัง่ การทอ่ี างถงึ ขอปฏิบตั ทิ ่ีถกู ตอง/ขอ เสนอแนะ
4.8 ทุกครั้งที่หนวยงานสั่งจายเช็คใน
 4.8 การส่ังจา ยเชค็ ของหนวยงาน 4.8 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวย กรณีซ้ือ/จางทําของ/เชาทรัพยสิน
ไมทําการขีดครอมในกรณีซ้ือ/ การเบิกจายเงินจากคลัง การรับเงิน ใหผูมีอํานาจในการลงนามในเช็คทํา
จางทําของ/เชา ทรัพยสนิ การจายเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการ การขีดครอ มเช็ค
นาํ เงนิ สงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 53 (1)
ขอ พงึ ระวงั ขอ ปฏิบตั ทิ ่ถี ูกตอง/ขอ เสนอแนะ
ระเบียบที่เกี่ยวขอ ง/หนงั สอื สงั่ การท่ีอา งถึง
 4.9 ในทะเบียนคุมการจายเช็ค 4.9 ทุกคร้ังท่ีมีการจายเช็คใหผูรับ
และหลังตนข้ัวเช็คไมได บันทึก 4.9 ระบบการควบคุมภายใน เช็คลงลายมือช่ือและวันที่รับเช็ค
วันที่รับเช็ค และลงลายมือชื่อ เกีย่ วกับการเงนิ หลังตนข้ัวเช็ค และในทะเบียน
ผรู บั เช็ค คมุ จา ยเช็ค

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 32

4. เงินฝากธนาคาร

ขอ พงึ ระวงั ระเบยี บทีเ่ กี่ยวของ/หนังสือสัง่ การที่อา งถึง ขอปฏิบตั ทิ ่ีถกู ตอ ง/ขอเสนอแนะ

 4.10 มกี ารสง่ั จา ยเชค็ ใหบุคคลอ่นื ทม่ี ิใช 4.10 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการเบิก 4.10 ใหหนวยงานดําเนินการตามระเบียบ
เจา หนาทก่ี ารเงนิ นําเงนิ ไปจา ย จายเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บ กระทรวงการคลัง วาดวยการเบิกจายเงินจากคลัง
รักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2562 การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการ
ขอพงึ ระวัง ขอ 53 (3)
นําเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 53 (3)
 4.11 หนวยงานจายเงนิ ใหธนาคารเกนิ
กวาจาํ นวนเงินทท่ี าํ การขอเบกิ เงนิ ใน ระเบยี บที่เกีย่ วขอ ง/หนังสือสงั่ การท่อี า งถงึ ขอ ปฏบิ ัตทิ ี่ถกู ตอง/ขอเสนอแนะ
ระบบ GFMIS
4.11 ระบบการควบคมุ ภายในเกี่ยวกับการเงนิ 4.11 การบันทึกบัญชเี งนิ ฝากธนาคารงบประมาณในระบบ
ใหค รบถวนเปน ปจ จุบัน และ ทําการรวบรวมใบสําคัญให
ครบถวนถูกตอ งตรงตามการจา ยเงินของแตละขอเบิก โดย
กําชับใหจายเงินตามที่ทําการขอเบิกเงิน หากมีการ
จา ยเงนิ เกนิ ใหทําการเรียกเงินคืนโดยดว น

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 33

4. เงินฝากธนาคาร

ขอ พึงระวัง ระเบยี บที่เกยี่ วของ/หนังสอื สง่ั การท่ีอางถึง ขอ ปฏบิ ัตทิ ีถ่ ูกตอง/ขอเสนอแนะ

 4.12 หนวยงานจายเช็คในนามเจาหนาท่ี 4.12 ระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกับ 4.12 กําชับใหเจาหนาท่ีการเงิน ถามีการสั่ง
การเงิน แตไมไดนํามาบันทึกบัญชีเงินสด การเงิน จายเช็คในนามเจาหนาท่ีการเงินใหนํามา
และในระบบ GFMIS บนั ทึกในบญั ชเี งนิ สด และในระบบ GFMIS

ขอพงึ ระวัง ระเบยี บที่เกี่ยวขอ ง/หนงั สือสั่งการทอี่ างถงึ ขอ ปฏบิ ตั ิท่ถี กู ตอ ง/ขอ เสนอแนะ

 4.13 หนว ยงานเบิกเงนิ จากคลงั เกิน 4.13 ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา ดว ย 4.13 เงินที่เบิกจากคลังถาไมไดจาย หรือ
15 วันทาํ การ โดยไมมีการจาย หรือ การเบิกจา ยเงินจากคลัง การรับเงิน การ จายไมหมด ควรกําชับใหสวนราชการผูเบิก
จา ยเงิน การเก็บรกั ษาเงนิ และการนาํ เงิน นาํ สง คนื คลัง ภายในสิบหาวันทําการวันนับ
จายไมห มด สงคลงั พ.ศ.2562 ขอ 99 จากวนั รบั เงนิ จากคลงั

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 34

4. เงนิ ฝากธนาคาร

ขอพงึ ระวัง ระเบียบทเี่ กยี่ วขอ ง/หนังสือสัง่ การท่ีอางถงึ ขอ ปฏิบัติที่ถูกตอง/ขอเสนอแนะ

 4.14 หนว ยงานไมเปดเผยงบ 4.14 หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 4.14 ในหนวยงานเปดเผยงบทดลองสู
ทดลอง สสู าธารณะ 0410.3/ว 38 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ ส า ธ า ร ณ ะ เ ช น ล ง Website ห รื อ
2560 ปด ประกาศในทส่ี าธารณะ

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 35

5 เงนิ ยมื

 กลุมตรวจสอบภายใน มีขอตรวจพบเกี่ยวกับ เงินยืม
ทห่ี นวยงานรบั ตรวจปฏิบัติไมถูกตองครบถวน จึงไดรวบรวมขอพึง
ระวัง ระเบียบที่เก่ียวของ หนังสือสั่งการท่ีอางถึงและขอปฏิบัติท่ี
ถกู ตอ ง พรอ มขอเสนอแนะ ดังตอ ไปนี้

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 36

5. เงนิ ยืม

ขอพึงระวัง ระเบยี บทีเ่ กย่ี วของ/หนงั สอื สั่งการทีอ่ า งถึง ขอ ปฏิบตั ิท่ถี กู ตอง/ขอเสนอแนะ

5.1 หนว ยงานจดั ทําสัญญาการยมื 5.1 ระเบียบกระทรวงการคลัง 5.1 สั ญ ญ า ยื ม เ งิ น ต า ม แ บ บ ท่ี
เงนิ เพยี งฉบบั เดยี วและไมระบวุ นั ครบ วาดวยการเบิกจายเงินจากคลัง การ กระทรวงการคลังกําหนด โดยจัดทําขึ้น
กําหนดในสัญญาการยมื เงิน รวมทั้ง รับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน 2 ฉบับ แสดงประมาณการใชจาย และ
ไมม ีประมาณการคา ใชจาย และการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ กําหนดเวลาใชคืน หนวยงานเก็บรักษาไว
57 ขอ 61 และขอ 65 เปนหลักฐาน 1 ฉบับ และใหผูยืมเก็บไว
1 ฉบบั

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 37

5. เงนิ ยืม

ขอ พึงระวงั ระเบยี บท่เี กยี่ วขอ ง/หนงั สือส่ังการที่อา งถึง ขอ ปฏิบตั ทิ ีถ่ กู ตอ ง/ขอ เสนอแนะ

 5.2 หนว ยงานระบุวนั ครบกาํ หนดใน 5.2 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ 5.2 กําหนดเวลาสงใชคืนเงินยืม ดังน้ี
สัญญาการยมื เงนิ ไมถกู ตอ ง เบิกจายเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน - กรณีเดินทางไปประจําตางสํานักงาน หรือ
การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง
พ.ศ.2562 ขอ 65 การเดินทางไปราชการประจําในตางประเทศหรือ
กรณีเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม ใหสงแกสวน
ราชการผูใหยืมโดยทางไปรษณียลงทะเบียน
ภายในสามสบิ วันนับแต วันไดร บั เงิน

- กรณีเดินทางไปราชการอื่น รวมท้ังการ
เดินทางไปราชก ารตางประเทศชั่วคราว
ใหสงแกสวนราชการผูใหยืมภายในสิบหาวันนับ
แตวันกลับมาถงึ

- การยืมเงินกรณอี ่นื ใหส ง ใชค ืนภายในสามสบิ วนั
นบั แตวนั ไดร บั เงิน

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 38

5. เงินยืม

ขอพึงระวงั ระเบียบท่เี กีย่ วของ/หนงั สือส่งั การท่ีอา งถงึ ขอปฏิบัติที่ถูกตอ ง/ขอเสนอแนะ

 5.3 แบบสัญญาการยืมเงนิ ไมมรี ายการ 5.3 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ 5.3 สัญญาการยืมเงินตองทําตามแบบท่ี
สง ใชเงนิ ยืมดา นหลังสัญญา เบิกจายเงินจากคลัง การรับเงิน การ กระทรวงการคลังกําหนด โดยมีรายการ
จายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนําเงิน
ขอพงึ ระวัง สงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 55 สง ใชเ งนิ ยืมอยดู า นหลงั ของสญั ญา

 5 . 4 ใ น สั ญ ญ า ยื ม เ งิ น ไ ม มี ก า ร ระเบยี บทเี่ กย่ี วของ/หนงั สอื สง่ั การท่อี า งถึง ขอ ปฏบิ ัติที่ถูกตอ ง/ขอเสนอแนะ
ลงลายมือชื่อผูยืม ผูมีอํานาจอนุมัติ
และผูรับเงิน 5.4 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวย 5.4 การจายเงินยืมจะจายไดแตเฉพาะที่
การเบิกจายเงินจากคลัง การรับเงิน การ ผูยืมไดทําสัญญาการยืมเงิน และผูมีอํานาจ
จา ยเงิน การเกบ็ รักษาเงิน และการนาํ เงิน ไดอนุมัติใหจายเงินยืมตามสัญญาการยืม
สงคลงั พ.ศ.2562 ขอ 56 ขอ 61
เงินนนั้ แลว เทา น้นั

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 39

5. เงนิ ยืม

ขอพงึ ระวงั ระเบยี บทีเ่ กี่ยวขอ ง/หนังสือสงั่ การทีอ่ างถงึ ขอ ปฏบิ ตั ทิ ถี่ กู ตอง/ขอ เสนอแนะ
5.5 หามมิใหอนุมัติใหยืมเงินรายใหม
 5.5 หนวยงานมีการอนุมตั ิใหยมื เงินซ้าํ ราย 5.5 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ เม่ือผูยืมมิไดชําระเงินยืมรายเกาใหเสร็จ
เบิกจายเงินจากคลัง การรับเงิน การ สนิ้ ไปกอน
ขอ พงึ ระวัง จายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนําเงิน
สง คลงั พ.ศ.2562 ขอ 59 ขอ ปฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ตอง/ขอเสนอแนะ
 5.6 หนวยงานไมไดบันทึกการรับคืน
ในสัญญาการยืมเงินและไมไดออก ระเบยี บที่เก่ียวของ/หนงั สอื สั่งการที่อา งถงึ
ใ บ เ ส ร็ จ รั บ เ งิ น แ ล ะ ห รื อ ใ บ รั บ
ใบสําคัญใหผูยืมไวเปนหลักฐาน/มี 5.6 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวย 5.6 เมื่อมีการสงใชเงินยืมใหบันทึกการ
การออกใบรับใบสําคัญหรอื การเบิกจายเงินจากคลัง การรับเงิน รับคืนในสัญญาการยืมเงิน พรอมท้ังออก
การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการ ใบเสร็จรับเงินและหรือใบรับใบสําคัญใหผู
นําเงนิ สงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 66
ยืมเก็บไวเ ปนหลกั ฐาน

กลุม ตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 40

5. เงินยืม

ขอ พงึ ระวัง ระเบียบทีเ่ กีย่ วของ/หนังสือสงั่ การทอ่ี างถงึ ขอปฏิบัติที่ถูกตอง/ขอ เสนอแนะ

 5.7 ลกู หนค้ี างชาํ ระเงินยืมเกิน 5.7 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวย 5.7 ถาผูยืมมิไดชําระเงินยืมภายในกําหนด
กาํ หนด การเบิกจายเงินจากคลัง การรับเงิน ใหเรียกชดใชเงินยืมตามเงื่อนไขในสัญญายืม
การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการ เงินและใหทําหนังสือถึงหนวยงานติดตามให
นาํ เงินสง คลงั พ.ศ.2562 ขอ 68 ชําระหน้ีที่คางเสร็จสิ้นโดยเร็วอยางชาไมเกิน

30 วันนับแตว นั ครบกําหนด

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. . หนา 41

5. เงินยืม

ขอพึงระวงั ระเบียบท่ีเก่ียวของ/หนังสือสัง่ การท่อี า งถงึ ขอ ปฏบิ ตั ิท่ีถกู ตอ ง/ขอ เสนอแนะ

 5.8 หนวยงานใหพนกั งานราชการ 5.8 ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวย 5.8 การยืมเงินของผูยืมท่ีไมมีเงินใดๆ ที่สวน
ยืมเงินโดยไมม ีการคาํ้ ประกันใน การเบิกจายเงินจากคลัง การรับเงิน ราชการผูใหยืมจะหักสงใชคืนเงินยืมได
สัญญา การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการ ใหสวนราชการผูใหยืมกําหนดใหผูยืมนํา
นาํ เงนิ สง คลงั พ.ศ.2562 ขอ 58 หลักทรัพยมาวางเปนประกันพรอมท้ังทํา
สัญญาวางหลักทรัพย หรือ หาบุคคลท่ี
กระทรวงการคลังกําหนดมาทําสัญญาค้ํา

ประกันไวต อสวนราชการผใู หย มื

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 42

5. เงนิ ยืม

ขอ พึงระวงั ระเบียบทเ่ี ก่ยี วของ/หนังสอื ส่งั การท่อี างถึง ขอปฏบิ ัติที่ถกู ตอง/ขอ เสนอแนะ
 5.9 หนวยงานไมไดบันทึกการลาง
ลูกหนี้ในระบบ GFMIS ทําบัญชีลูกหนี้ 5.9 ระบบการควบคมุ ภายในเกย่ี วกับ 5.9 เม่ือมีการสงใชเงินยืม ขอใหบันทึก
เงินยืมในรายงานงบทดลอง มียอด การบัญชี รายการในระบบ GFMIS เพ่ือใหบัญชีลูกหนี้
คงเหลือสูงกวาความเปนจริง ในระบบแสดงยอดคงเหลือท่ีถูกตองและให
ตรวจสอบยอดลูกหน้ีในทะเบียนกับในระบบ
ใหถ ูกตอ งตรงกันเปน ประจาํ ทุกเดือน

กลุมตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 43

5. เงนิ ยืม

ขอ พึงระวงั ระเบียบทเี่ กี่ยวของ/หนงั สอื ส่งั การทอ่ี างถึง ขอ ปฏิบตั ทิ ถ่ี กู ตอ ง/ขอเสนอแนะ
 5.10 หนวยงานบันทึกการลางเงิน
ยื ม ใ น ร ะ บ บ ไ ม ถู ก ต อ ง แ ล ะ ไ ม ค ร บ 5 . 1 0 ห นั ง สื อ ก ร ม บั ญ ชี ก ล า ง ท่ี 5.10 ขอใหศึกษาวิธีการลางลูกหนี้ออกจาก
ขั้นตอน ทําใหมีลูกหน้ีท่ีชําระแลว กค 0409.3/ว246 ลงวันท่ี 25 กรกฎาคม ระบบและบันทกึ รายการใหถูกตอง ครบถวน
คางในระบบ 2556 เรื่อง แนวปฏิบัติในการบันทึกลาง ตามหนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค 0409.3/ว
ลูกหน้ีเงินยืมและการบันทึกรายการ 246 ลงวันท่ี 25 กรกฎาคม 2556 เร่ือง
แนวปฏิบัติในการบันทึกลางลูกหน้ีเงินยืม
เบกิ เกินสง คนื ผา น GFMIS Web Online และการบันทึกรายการ เบิกเกินสงคืนผาน
GFMIS Web Online

กลุม ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 44

5. เงินยืม

ขอพงึ ระวงั ระเบียบที่เกย่ี วขอ ง/หนังสอื สั่งการท่ีอางถงึ ขอปฏบิ ตั ทิ ีถ่ ูกตอ ง/ขอเสนอแนะ

 5.11 เจา หนาทล่ี างลกู หนีใ้ น 5.11 หนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนท่ีสุด 5.11 ขอใหเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบปรับปรุง
ระบบไมถ ูกตอ ง ทาํ ใหย อดลกู หน้ี ที่ กค 0423.3/ว60 ลงวันท่ี 14 กุมภาพันธ บัญชีลูกหน้ีเงินยืมในงบประมาณ เพื่อให
ไมตรงกับหลกั ฐาน 2556 เร่ือง การปดงวดและปรับปรุงบัญชี ยอดคงเหลือตามงบทดลองในระบบ GFMIS
ในระบบ GFMISและหนงั สอื กรมบัญชีกลาง ถูกตองตรงกับทะเบียนคุมลูกหนี้และขอให
ดวนท่ี กค 0423.3/ว150 ลงวันท่ี 24 ตรวจสอบสัญญายืมเงินท่ีบันทึกในทะเบียน
เมษายน 2556 เร่ือง แนวทางการปรับปรุง คมุ ลูกหน้กี บั การบันทึกบัญชีในระบบของแต
แ ก ไ ข ข อ ผิ ด พ ล า ด ท า ง บั ญ ชี ข อ ง ละเดอื นวา มยี อดคงเหลอื ตรงกนั หรือไม หาก
ปง บประมาณกอน พ บ ว า มี ย อ ด ต า ง กั น ใ ห ห า ส า เ ห ตุ แ ล ะ
ปรบั ปรงุ บญั ชใี หถ ูกตอง

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 45

5. เงินยืม

ขอ พึงระวัง ระเบียบทเี่ ก่ียวขอ ง/หนังสอื ส่ังการทีอ่ า งถึง ขอ ปฏิบัติทีถ่ กู ตอง/ขอเสนอแนะ

 5 . 1 2 ห น ว ย ง า น ไ ม ไ ด จั ด ทํ า 5.12 ระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกับ 5.12 ขอใหจัดทําทะเบียนคุมลูกหนี้ เพ่ือให
ทะเบียนคุมลกู หนี้ การเงนิ ทราบและตรวจสอบไดวามีการจายเงินยืม
จํานวนเทาใด สงใชเงินยืมจํานวนเทาใด
คงเหลือลูกหนร้ี ายใดคางชําระจํานวนเทา ใด

กลมุ ตรวจสอบภายใน | สป.พม. หนา 46


Click to View FlipBook Version