แผนการจดั การเรียนรู้ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ นทิ านแสนสนกุ เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๑/๗ เร่อื ง นิทานแสนสนุก ผู้สอน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรยี นวัดบ้านไพบลู ย์ เวลา ๐๘.๓๐ น.-๐๙.๓๐ น.
สอนวันที่ ๒๒ เดือน ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
มาตรฐานและตวั ชวี้ ดั
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ
ดาเนนิ ชีวิต และมนี สิ ยั รักการอา่ น
ตัวชวี้ ัด ท ๑.๑ ป.๖/๑ อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง
ท ๑.๑ ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความทเ่ี ปน็ การ
บรรยาย
ท ๑.๑ ป.๖/๙ มมี ารยาทในการอ่าน
สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน
รูปแบบตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
ตวั ช้วี ัด ท ๒.๑ ป.๕/๙ มีมารยาทในการเขียน
๒. สาระสาคัญ
การอ่านออกเสียง หมายถึง การเปล่งเสียงตามถ้อยคาท่ีมีผู้เรียบเรียงหรือประพันธ์ไว้ให้เป็นไปตาม
ความนยิ มและความถกู ตอ้ ง ก่อนอา่ นออกเสยี ง นักเรยี นควรเรยี นรู้คาศัพท์ในบทเรียน และฝึกอ่านออกเสียงคา
ให้คล่องและถูกต้องเพ่ือให้นักเรียนออกเสียงคาศัพท์ในการอ่านและนาใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจาวันได้
อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม
๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
เมอ่ื นักเรยี นได้เรียนเรื่อง “นิทาน แสนสนกุ ” แลว้ นักเรยี นสามารถ
๑. บอกความหมายของคาศัพท์ได้ (K)
๒. อา่ นออกเสียงได้ (P)
๓. เขียนสะกดคาได้ (P)
๔. ตระหนักถึงความสาคัญของการเรยี นรูค้ าศัพท์ (A)
๔. สาระการเรยี นรู้
๔.๑ ดา้ นองคค์ วามรู้ (Knowledge)
ความหมายของการอ่านออกเสยี ง
การอา่ นออกเสยี ง หมายถงึ การเปลง่ เสยี งตามถ้อยคาทมี่ ผี เู้ รียบเรยี งหรอื ประพนั ธ์ไวใ้ ห้
เป็นไปตามความนยิ มและความถูกต้อง
คาศัพทใ์ นบทเรียน
คาศัพท์ ความหมาย
กัมปนาท เสยี งดังกกึ กอ้ ง, เสยี งดงั สนัน่ หวนั่ ไหว
เทยี่ งธรรม ตั้งอยู่ในความยุติธรรม, มคี วามเป็นธรรม
น้าอมฤต ยาน้าหรอื เคร่ืองดม่ื ซงึ่ เชื่อกันวา่ จะยงั ใหผ้ ้ดู มื่ เป็นอมตะหรือคงความเยาวว์ ัยแห่งรูปร่างไว้ช่วั กลั ป์
ปรัมปรา ท่ีเลา่ สบื ๆ กันมา, เกา่ ก่อน
มณฑล วง, วงรอบ, บริเวณ
เมขลา ช่อื เทพธดิ าท่ีรกั ษามหาสมทุ ร
รัศมี แสงสวา่ ง, แสงสวา่ งท่ีพวยพุง่ ออกมารอบ ๆ สง่ิ ใดส่ิงหนงึ่ , ประกายท่เี ปล่งออกมา
รามสรู ช่ือยักษต์ นหนึง่ ตามเทพนยิ ายของอินเดีย
สวามิภกั ด์ิ ยอมตน หรือมอบตนอยู่ใตอ้ านาจ
อัศจรรย์ แปลก, ประหลาด, นา่ พิศวง
พงศาวดาร เร่ืองราวความเป็นมาของเหตุการณเ์ กย่ี วกับประเทศชาติ หรือพระมหากษัตริย์ผู้เปน็ ประมุขของ
ประเทศชาติน้ัน
พราหมณ์ พราหมณ์ทาหนา้ ทปี่ ระกอบพิธีทางศาสนา สอนศาสนา เปน็ เจา้ พธิ ีตดิ ต่อกับสง่ิ ศักด์ิสทิ ธิ์หรือพระ
เจ้าแทนผู้อืน่
๔.๒ ด้านทักษะและกระบวนการ (Process)
ทักษะการอา่ นออกเสยี งร้อยแก้ว มีดังน้ี
๑. อ่านออกเสียงถูกต้องตามอักขรวธิ ี
๒. อ่านเคร่ืองหมายวรรคตอนไดถ้ ูกต้อง
๓. เวน้ วรรคตอนในการอ่านได้อย่างถูกต้อง
๔. อ่านชดั ถ้อยชัดคา
๕. ไม่อ่านเพ่มิ คาหรือข้ามคา
๖. อา่ นดว้ ยนา้ เสียงทีเ่ หมาะสมกบั เนื้อเรื่อง
๔.๓ ด้านเจตคติ (Attitude)
ตระหนักถึงความสาคญั ของการเรยี นรูค้ าศัพท์
๕. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ข้ันนา (๑๐ นาท)ี
๑. นกั เรยี นทากจิ กรรม “๑๐ วนิ าที ต้องตอบให้ได้กบั คาถามนี้” โดยครูจะนาเสนอ
ความหมายของคาและตัวอักษรทป่ี ระกอบกันเปน็ คาบางตัว จากน้ันใหน้ กั เรียนบอกคาศัพท์ภายใน ๑๐ วนิ าที
แปลก, ประหลาด, น่า พิศวง
ศร
ตัวอยา่ งคาศพั ท์กิจกรรม “๑๐ วินาที ตอ้ งตอบใหไ้ ดก้ ับคาถามน”ี้ ใน PowerPoint
ขัน้ สอน (๔๐ นาที)
๑. นกั เรียนอ่านออกเสยี งคาศัพทต์ ามครู
๒. นักเรยี นศึกษาความหมายของคาศัพท์จากหนงั สือเรยี นภาษาพาที
๓. นักเรียนทากิจกรรม “ชงิ ไหว ชงิ พริบ” ดังนี้
- นกั เรียนเปุายิง้ ฉบุ แบง่ ออกเปน็ ๒ กล่มุ
- กลุม่ ท่ีเปาุ ยงิ้ ฉบุ แพ้ออกมายืนหน้าชั้นเรยี น โดยยนื เรียงแถวหน้ากระดาน
- ครสู มุ่ หยิบบัตรความหมายของคาศพั ทข์ ้ึนมา
- นักเรียนคนแรกตอบคาศัพท์ของความหมายทีค่ รูหยบิ ขน้ึ มา
- เมือ่ นกั เรยี นตอบถูก ครจู ะบอกวา่ “ถกู ต้อง” แตถ่ า้ ตอบผิดครูจะบอกวา่ “ผิด”
แลว้ ใหน้ ักเรยี นไปต่อทา้ ยแถว
- นกั เรียนทั้งสองกลมุ่ เล่นเหมือนกัน โดยใชเ้ วลา ๒ นาที กล่มุ ใดได้คะแนนมากท่สี ดุ
จะเป็นผู้ชนะ
๔. นักเรียนทากจิ กรรม “บงิ โกคาศัพท์” ดังนี้
- นกั เรียนรับกระดาษตารางบิงโกขนาด ๓ x ๓ คนละ ๑ แผน่
- นักเรียนเลอื กเขียนคาศัพท์ที่ได้เรียนร้ลู งไปในตารางให้ครบทกุ ช่อง
- ครสู มุ่ จับความหมายของคาศัพท์ข้ึนมา จากนน้ั ครถู ามนักเรยี นว่า ความหมายดงั
กล่าวคอื คาใด ถา้ คานน้ั ตรงกับคาท่ีนกั เรียนเขียนไว้ ให้นักเรยี นกากบาทลงในช่องของคานน้ั
- เมอ่ื นกั เรยี นกากบาทครบจานวน ๓ ช่องเรียงกนั ทั้งในแนวตั้ง แนวนอน เฉยี งซ้าย
หรือเฉยี งขวา ให้นักเรียนพดู คาว่า “บิงโก” โดยครูจะสมุ่ จบั ความหมายทั้งหมด ๑๒ ความหมาย
๕. นักเรยี นอา่ นเน้ือเร่ือง ประชาธิปไตยใบกลาง พรอ้ มกัน
ขัน้ สรปุ (๑๐ นาที)
นกั เรยี นตอบคาถามว่า การเรียนรแู้ ละการเขา้ ใจความหมายของคาศัพท์มีความสาคัญอย่างไร
(แนวคาตอบ: ตามเจตคติของนกั เรยี น)
๖. ส่ือและแหล่งเรียนรู้
๖.๑ สื่อ PowerPoint กจิ กรรม “๑๐ วินาที ต้องตอบใหไ้ ด้กับคาถามนี้”
๖.๒ บัตรความหมายของคาศัพท์
๖.๓ หนงั สือเรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทยชดุ ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชน้ั ประถมศึกษาปี
ท่ี ๕ หนา้ ๕๒-๕๘
๗. การวัดและประเมนิ ผล
สง่ิ ทจ่ี ะวัด วิธีการวัด เคร่อื งมอื ท่ใี ช้วัด เกณฑผ์ ่าน
๑. บอกความหมายของคาศัพท์ (K) ตรวจใบกิจกรรมบิงโก แบบตรวจใบกิจกรรม ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๗๐
คาศัพท์ บิงโกคาศัพท์ ขึ้นไป
๒. อา่ นออกเสยี ง (P) สงั เกตพฤตกิ รรมการอา่ น แบบสังเกตพฤติกรรมการ ไดค้ ะแนนร้อยละ ๗๐
อ่าน ขน้ึ ไป
๓. เขียนสะกดคา (P) ตรวจใบกิจกรรมบิงโก แบบตรวจการเขยี น ได้คะแนนรอ้ ยละ ๗๐
คาศัพท์ คาศัพท์ ขนึ้ ไป
๔. ตระหนักถึงความสาคัญของการ สงั เกตพฤตกิ รรมการตอบ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ผา่ นเกณฑ์ในระดับ ดี
เรียนรู้คาศัพท์ (A) คาถาม ตอบคาถาม ขน้ึ ไป
๘. บนั ทึกผลการจดั การเรียนรู้
๘.๑ ดา้ นการวางแผนการจดั การเรยี นรู้
ในการจดั การเรียนการสอนจริง ครูดาเนินการสอนตามลาดับข้ันท่อี อกแบบไว้ คือ นักเรยี น
เลน่ เกมทายคาในช่วงเตรยี มความพรอ้ ม และศึกษาความหมายของคาศัพท์จากหนังสือเอง จากนั้นทากิจกรรม
เกมเพ่ือทบทวนความรู้ท่ีได้ศึกษามา พร้อมทั้งทาใบกิจกรรมเพื่อทดสอบความรู้ และในลาดับสุดท้าย ครู
ออกแบบให้นักเรียนทุกคนอ่านออกเสียงพร้อมกัน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าวเปิดโอกาสให้
นกั เรียนแต่ละคนมสี ว่ นร่วมในการเล่นเกมกนั ทุกคนทาใหน้ ักเรยี นรู้สกึ สนุก และสนใจการเล่นมากขึ้น
๘.๒ ด้านพฤตกิ รรมครู
ครูพดู เสียงดงั ฟังชดั เพ่อื ใหน้ ักเรยี นไดย้ ินเสียงคาศัพทไ์ ดอ้ ย่างชัดเจน เมื่อนักเรยี นเดา
คาศัพทไ์ ม่ได้ ครูกจ็ ะใบค้ วามหมายใหน้ ักเรียนเข้าใจไดเ้ ร็วขนึ้
๘.๓ ด้านพฤตกิ รรมนกั เรียนและผลการเรยี นรู้
นักเรียนสนุกสนานกับการเลน่ เกมทายคาศัพทท์ ตี่ ้องแขง่ กับเวลา และการเลน่ เกมบิงโก
คาศัพท์ นักเรียนเรียนรู้และทาความเข้าใจความหมายของคาศัพท์ในหนังสือเอง ทาให้จดจาความหมายของ
คาศัพทไ์ ด้มากขน้ึ
๘.๔ อุปสรรค ปัญหา และขอ้ เสนอแนะ
ในข้ันนา ครูควรนักเรียนทายคาศัพท์มากกว่าน้ี เพราะนักเรียนชื่นชอบและสนุกกับการทาย
คาศพั ทม์ าก
ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๔
แบบบนั ทึกผลการเรียนรเู้ ร่ือง เรยี นรู้คา จาเรือ่ งราว
เลข ชอื่ -สกลุ การบอก ผลการเรียนรู้ การตระหนัก คะแนน
ที่ ความหมาย การอ่านออก การเขียน ถึงความสาคัญ รวม
ของคาศัพท์ ของการเรียนรู้
๑. เด็กชายวรตุ ม์ ใจกล้า เสียง (P) สะกดคา (P) คาศัพท์ (A) ๓๖
๒. เดก็ ชายรพภี ัทร เพ่ิมเจรญิ (K) ๒๓
๓. เดก็ ชายศภุ วฒั น์ บุญมี ๑๒ ๑๕ ๙ คณุ ภาพ ๒๔
๔. เดก็ ชายพรี พงศ์ ชาสทุ ธสี ๗ ๙๗ พอใช้ ๒๗
๕. เด็กชายทวิ านนท์ สังโสมา ๘ ๑๐ ๖ ๓๐
๖. เด็กชายธีรเมธ เทียบมาก ๑๐ ๑๑ ๖ ดี ๓๐
๗. เดก็ ชายนราธปิ คะรบิ รัมย์ ๑๐ ๑๓ ๗ พอใช้ ๒๙
๘. เดก็ ชายจรี ณะ ใจกลา้ ๑๐ ๑๒ ๘ ๒๗
๙. เดก็ ชายศวิ กร พลภเู มือง ๑๐ ๑๒ ๗ ดี ๒๐
๑๐. เด็กชายบรรณวิชญ์ กรวดกระโทก ๑๐ ๑๐ ๗ ดี ๓๖
๑๑. เด็กหญงิ ขวัญภสั สรา กิรัมย์ ๗ ๘๕ ดี ๓๓
๑๒. เดก็ หญงิ อจั ฉรา เจริญศิริ ๑๒ ๑๕ ๙ พอใช้ ๓๖
๑๓. เดก็ หญงิ ชลดา บุตรสา ๙ ๑๕ ๙ พอใช้ ๓๖
๑๔. เดก็ หญงิ ชญานุช ดวงศรี ๑๒ ๑๕ ๙ ดี ๓๔
๑๕. เดก็ หญงิ เพชรรดา ใจกล้า ๑๒ ๑๕ ๙ ดี ๓๓
๑๖. เด็กหญงิ ชัชฎาภรณ์ บุตรงาม ๑๑ ๑๔ ๙ ดี ๓๔
๑๗. เด็กหญิงนภัสสร สงั ขละเจดียช์ ยั ๑๑ ๑๓ ๙ ดี ๒๘
๑๘. เดก็ หญิงธญั ญามาศ การะเวก ๑๑ ๑๔ ๙ ดี ๒๖
๙ ๑๑ ๘ ดี ๒๖
๘ ๑๐ ๘ ดี
๘ ๑๐ ๘ ดี
ดี
ดี
ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๔
แบบตรวจใบกิจกรรม
บิงโกคาศัพท์
๑. การบอกความหมายของคาศพั ท์
ความหมายท่ี ๑ เสียงดังกึกก้อง, เสยี งดงั สนั่นหว่ันไหว (กัมปนาท)
ความหมายที่ ๒ ตั้งอยใู่ นความยตุ ธิ รรม, มคี วามเปน็ ธรรม (เท่ียงธรรม)
ความหมายท่ี ๓ ยาน้าหรือเคร่อื งดม่ื ซึ่งเชอื่ กันว่าจะยังใหผ้ ู้ด่ืมเป็นอมตะหรือคงความเยาว์วยั แห่ง
รปู รา่ งไว้ชวั่ กัลป์ (นา้ อมฤต)
ความหมายท่ี ๔ ทเี่ ล่าสืบ ๆ กันมา, เก่า ก่อน (ปรัมปรา)
ความหมายท่ี ๕ วง, วงรอบ, บริเวณ (มณฑล)
ความหมายท่ี ๖ ชือ่ เทพธดิ าที่รกั ษามหาสมุทร (เมขลา)
ความหมายท่ี ๗ แสงสว่าง, แสงสวา่ งทีพ่ วยพุ่งออกมารอบ ๆ สิง่ ใดสิ่งหนึ่ง, ประกายที่เปลง่ ออกมา
(รศั มี)
ความหมายที่ ๘ ช่อื ยักษต์ นหนึ่งตามเทพนิยายของอนิ เดยี (รามสรู )
ความหมายท่ี ๙ ยอมตน หรือมอบตนอยใู่ ต้อานาจ (สวามิภกั ดิ)์
ความหมายท่ี ๑๐ แปลก, ประหลาด, น่า พศิ วง (อัศจรรย์)
ความหมายที่ ๑๑ เรอ่ื งราวความเปน็ มาของเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติ หรอื พระมหากษัตรยิ ผ์ ู้
เป็นประมขุ ของประเทศชาติน้ัน (พงศาวดาร)
ความหมายที่ ๑๒ พราหมณ์ทาหน้าทป่ี ระกอบพิธที างศาสนา สอนศาสนา เปน็ เจ้าพิธีตดิ ต่อกับสง่ิ
ศักด์ิสทิ ธห์ิ รอื พระเจ้าแทนผู้อ่ืน (พราหมณ)์
เกณฑ์การให้คะแนน
นกั เรยี นเขียนถูก ได้คะแนน ๑ คะแนน
นักเรียนเขยี นผิด ได้คะแนน ๐ คะแนน
๒. การเขยี นสะกดคา
กมั ปนาท เทีย่ งธรรม นา้ อมฤต ปรัมปรา มณฑล พราหมณ์
เมขลา รัศมี รามสูร สวามภิ ักด์ิ อศั จรรย์ พงศาวดาร
เกณฑ์การให้คะแนน
นกั เรยี นเขยี นถูก ได้คะแนน ๑ คะแนน
นกั เรยี นเขยี นผิด ได้คะแนน ๐ คะแนน
เกณฑก์ ารให้คะแนนผลการเรยี นรขู้ องนักเรยี น
รายการประเมิน ๓ คะแนน ๑
๒
การอ่านออกเสียงคา อา่ นออกเสียงคาถูกต้อง อา่ นออกเสียงคาถูกต้อง อา่ นออกเสยี งคาถูกต้อง
๑. ความถูกต้องตาม ตามอักขรวธิ คี รบทุกคา ตามอักขรวธิ เี ป็นสว่ นใหญ่ ตามอักขรวิธเี ปน็ ส่วนใหญ่
อักขรวิธี โดยอา่ นผิดไม่เกนิ ๕ คา โดยอ่านผดิ เกนิ ๕ คา
๒. การอา่ นเพ่ิมคาหรือข้าม ไม่อ่านเพิ่มคาหรือขา้ มคา อ่านเพ่ิมคาหรือข้ามคา ๑- อ่านเพิ่มคาหรือข้ามคา
คา ๕ แห่ง มากกวา่ ๕ แหง่
๓. ความชดั เจนในการอา่ น ความชดั เจนในการอา่ น ความชดั เจนในการอา่ น ความชดั เจนในการอา่ น
-อ่านชดั ถอ้ ยชดั คา สมบรู ณ์ทัง้ ๒ ข้อ บกพร่อง ๑-๕ แห่ง บกพร่องมากกวา่ ๕ แหง่
-อ่านด้วยนา้ เสียงเหมาะสมกับ
เนอ้ื เร่อื ง
๔. การเวน้ วรรคตอน แบง่ วรรคตอนตาม แบง่ วรรคตอนไม่ถกู ต้อง แบ่งวรรคตอนไม่ถูกต้อง
หลักการอ่านได้ถกู ต้องทุก ๑-๕ แหง่ มากกว่า ๕ แห่ง
แห่ง
๕. การอ่านเครื่องหมาย อ่านเคร่ืองหมายวรรค อ่านเครื่องหมายวรรค อา่ นเครื่องหมายวรรค
วรรคตอน ตอนตามหลักการได้ ตอนไม่ถูกตอ้ ง ๑-๕ แห่ง ตอนไม่ถูกต้องมากกวา่ ๕
ถูกต้องทุกเครื่องหมาย แห่ง
การเหน็ คณุ คา่ ของการเรียนรู้ บอกคุณคา่ ของการเรยี นรู้ บอกคณุ ค่าของการเรยี นรู้ บอกคณุ ค่าของการเรียนรู้
และการเขา้ ใจความหมายของ และการเขา้ ใจความหมาย และการเขา้ ใจความหมาย และการเขา้ ใจความหมาย
คาศพั ท์ ของคาศัพท์ไดม้ ากกวา่ ๓ ของคาศัพท์ได้ ๒ ประการ ของคาศัพท์ได้นอ้ ยกว่า ๒
ประการ ประการ
เกณฑก์ ารประเมนิ
คะแนน ระดับคุณภาพ
๓ ดี
๒
๑ พอใช้
ควรปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ นิทานแสนสนุก เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาท)ี
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒/๗ เรื่อง คานาม จาข้นึ ใจ ผู้สอน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรยี นวัดบ้านไพบลู ย์ เวลา ๐๙.๓๐ น.-๑๐.๓๐ น.
สอนวนั ที่ ๒๓ เดอื น ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. มาตรฐานและตัวช้ีวดั
สาระท่ี ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ
ตัวชีว้ ดั ท ๔.๑ ป.๖/๑ วิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค
๒. สาระสาคญั
คานามเป็นคาท่ีหมายถึงบุคคล สัตว์ วัตถุ สิ่งของ สภาพธรรมชาติ สถานท่ี ความคิด ความเชื่อ
ค่านิยม คือรวมทั้งส่ิงมีชีวิตและไม่มีชีวิต ท้ังท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรม คานามทาหน้าที่เป็นส่วนหลักของ
นามวลี นักเรียนควรเรียนรู้เร่ืองคานามให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพ่ือให้นักเรียนเลือกใช้คาให้เหมาะสมตาม
ลักษณะและหนา้ ทแี่ ละเหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คลรวมท้ังให้ข้อความไพเราะสละสลวยมากขึน้
๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
เม่อื นักเรยี นได้เรียนเรื่อง “คานาม จาขน้ึ ใจ” แล้วนกั เรยี นสามารถ
๑. บอกความหมายของคานามได้ (K)
๒. จาแนกชนดิ ของคานามได้ (P)
๓. เหน็ ความสาคญั ของการเรียนรเู้ ร่ืองคานาม (A)
๔. สาระการเรยี นรู้
๔.๑ ด้านองคค์ วามรู้ (Knowledge)
คานามเปน็ คาที่หมายถงึ บุคคล สตั ว์ วตั ถุ สงิ่ ของ สภาพธรรมชาติ สถานที่ ความคิด ความ
เช่อื คา่ นยิ ม คือรวมทั้งส่ิงมีชีวติ และไมม่ ีชีวิต ท้งั ทเี่ ปน็ รปู ธรรมและนามธรรม คานามทาหน้าท่ีเปน็ สว่ นหลัก
ของนามวลี คานามจาแนกออกเป็น ๔ ชนดิ ดังน้ี
คานามสามญั
คานามสามัญ คือ คานามท่ีใชเ้ รยี กสิ่งต่าง ๆ โดยทว่ั ไป มิได้ระบุแน่นอนวา่ เปน็ สิ่งนี้ มชี ่อื เรยี ก
อย่างน้ี หรือส่ิงนน้ั มีช่ือเรยี กอยา่ งนน้ั เชน่ คน บา้ น วดั โรงเรียน สัตว์ ข้าว อาหาร ฯลฯ
คานามสามัญอาจมคี วามหมายแคบกว้างตา่ งกนั คานามท่ีมีความหมายแคบอาจเป็นประเภท
ย่อยของคานามสามัญทม่ี คี วามหมายกวา้ ง เช่น ผลไม้ ทเุ รียน มะม่วง ตา่ งก็เปน็ คานามสามัญแตม่ ีความหมาย
แคบกวา้ งต่างกนั คือ ผลไม้ มีความหมายกวา้ งเมอื่ เทยี บกับทุเรยี น และมะมว่ ง แต่ มะมว่ ง มีความหมายกวา้ ง
เม่อื เทยี บกับฟูาล่นั และเขยี วเสวย ซ่ึงมคี วามหมายแคบ
คานามวิสามัญ
คานามวสิ ามัญ คือ คาทเ่ี ปน็ ชื่อซึง่ ตง้ั ข้ึนเฉพาะสาหรับเรยี กคานามสามญั หนึ่ง ๆ เช่น สมชาย
สมร เกษมสนั ต์ เปน็ ช่ือของคน เป็นคานามวิสามัญ เป็นต้น
คานามวสิ ามัญจานวนมากมักใช้ตามหลังคานามสามัญ เชน่ (ประเทศ)ไทย (สวน)ลมุ พนิ ี
(ถนน)ราชดาเนิน (วดั )พระศรีรตั นศาสดาราม ฯลฯ
แมจ้ ะกล่าวว่าคานามวสิ ามญั เปน็ ช่ือเฉพาะใชเ้ รียกคานามสามัญ แตม่ ิใชว่ ่าคานามสามญั ทกุ
คาตอ้ งมชี อ่ื เฉพาะ เช่น ประชาธิปไตย วัตถนุ ิยม คุณธรรม เศรษฐกจิ พอเพยี ง ฯลฯ เปน็ คานามสามัญท่ีไม่มีชือ่
เฉพาะ
คาลกั ษณนาม
คาลกั ษณนาม คือ คาทใ่ี ช้บอกลักษณะของคานามหรือคากรยิ า เชน่ ใบ ตวั กา้ ว หลัง ครงั้
เทย่ี ว คน น้ิว ซอง ฯลฯ
คาลักษณนามสามารถใช้บอกกลุม่ หมู่ พวก ของคานามท่ีอยู่รวมกันได้ เชน่ กลมุ่ กอง ฝูง
โขลง โหล ฯลฯ
คาอาการนาม
คาอาการนาม คือ คานามท่ีเกิดจากกระบวนการแปลงคากริยาเปน็ คานาม โดยการเตมิ
หนว่ ยคา การ- หรือ ความ- หนา้ คากริยา คาอาการนามจะมีความหมายเป็นนามธรรมเสมอ
ความ- ใช้นาหนา้ คากริยาที่มีความว่า มี เป็น เกดิ ดับ เจริญ เสอื่ ม หรอื เกยี่ วกบั จติ ใจ และ
หนา้ คาวเิ ศษณ์ เชน่ ไม่มใี ครหนีความตายได้พ้น
การ- ใชน้ าหน้าคากรยิ า หรือ กระบวนการในการทากริยา เช่น การตายของเขามีเงื่อนงา
คากริยาบางคาสามารถเติมหน่วยคาเติมหนา้ การ- เพอื่ สร้างอาการนามได้ แต่ไม่สามารถเติม
หนว่ ยคาเติมหนา้ ความ- ได้ ในทานองเดียวกัน คากรยิ าบางคาก็เติมไดเ้ ฉพาะหน่วยคาเติมหนา้ ความ- เทา่ น้ัน
แตเ่ ติมหนว่ ยคาเติมหนา้ การ- ไม่ได้ และคาบางคาไมส่ ามารถเติมได้ทั้งสองหน่วยคาเตมิ หน้า การ- และ ความ-
เช่น
คากริยา คาอาการนาม
เดิน การเดิน ความเดนิ (ผิดไวยากรณ)์
สามคั คี ความสามคั คี การสามัคคี (ผดิ ไวยากรณ)์
คือ - การคือ,ความคือ (ผิดไวยากรณ์)
๔.๒ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Process)
ทักษะการจาแนกชนิดของคานาม
๔.๓ ดา้ นเจตคติ (Attitude)
เหน็ ความสาคญั ของการเรยี นรเู้ รอ่ื งคานาม
๕. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขัน้ นา (๑๐ นาท)ี
๑. นักเรียนทากจิ กรรม “จดั หมู่ ดูชือ่ ” ดังนี้
- ครูนาเสนอตัวอย่างคา ๔ หมวดหมู่ คือ คานามสามัญ คานามวิสามัญ คาลักษณ-
นาม และคาอาการนาม โดยนาบัตรคาไปตดิ บนกระดาน หมวดหมู่ละ ๔ บตั รคา ดงั น้ี
คานามสามัญ คานามวสิ ามญั
โรงเรยี น สามญั มะมว่ ง
โรงเรยี นบา้ น วิสามัญ เขียวเสวย
ท่ากระเสริม
ดอกไม้ เด็ก กุหลาบ กติ ตกิ ร
คาลกั ษณนาม คาอาการนาม
ตวั ผืน ความดี ความรกั
ฟอง ดา้ ม การเดิน การพิมพ์
- นกั เรียนวเิ คราะห์ลักษณะของบตั รคาทงั้ ๔ กลุม่
- ครูนาเสนอบตั รคาจานวน ๘ บตั รคา แลว้ ใหน้ กั เรียนระบวุ ่าเป็น" “คานามสามัญ”
“คานามวิสามัญ” “คาลกั ษณนาม” หรอื “คาอาการนาม”
ขนั้ สอน (๔๐ นาที)
๑. นกั เรียนศึกษาความรู้เรอื่ งคานามจาก Pop up twist
๒. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติมและทบทวนความรู้เรอ่ื งคานาม โดยใชส้ อ่ื PowerPoint ประกอบ
๓. นกั เรยี นชว่ ยกนั เฉลยบัตรคาทีน่ ักเรียนจัดหมบู่ นกระดาน
๔. นักเรยี นทากิจกรรม “คานาม ตามใจ” ดงั นี้
- ครใู ห้นักเรียนยกตัวอยา่ งคานามตามที่กาหนด ตามลาดบั ดงั นี้ หมวดคานาม
สามัญ ได้แก่ สงิ่ มีชวี ิต ส่งิ ไมม่ ีชีวิต สถานท่ีราชการ ของใชส้ ่วนตัว ยานพาหนะ และหมวดคานามวิสามญั ได้แก่
ไม้ดอก ผลไม้ ปลาน้าจดื อาหาร ช่ือคน คาลกั ษณนาม และคาอาการนาม โดยให้นักเรียนยกตวั อย่างคนละ ๑
คา
- นกั เรยี นคนใดตอบชา้ กว่า ๑๐ วินาที จะไม่ได้คะแนน เสยี สิทธ์ิการตอบในคร้ังน้ี
และต้องถกู เพ่ือนคนถดั ไปตีมือ ๑ ครงั้
๕. นักเรียนทาแบบฝกึ หัดเรื่อง คานาม จาข้นึ ใจ
ข้ันสรุป (๑๐ นาท)ี
นักเรยี นตอบคาถาม ต่อไปนี้
- คานาม คอื อะไร (แนวคาตอบ: คานามเป็นคาที่หมายถึงบุคคล สัตว์ วตั ถุ สง่ิ ของ
สภาพธรรมชาติ สถานท่ี ความคดิ ความเช่ือ คา่ นยิ ม คือรวมทงั้ ส่งิ มชี ีวติ และไม่มีชีวติ ทั้งท่เี ป็นรปู ธรรมและ
นามธรรม)
- คานามสามญั คืออะไร พร้อมทงั้ ยกตัวอย่าง (แนวคาตอบ:คานามสามัญ คอื
คานามที่ใช้เรียกสิง่ ตา่ ง ๆ โดยทัว่ ไป มไิ ดร้ ะบแุ นน่ อนว่าเป็นสิ่งนี้ มีชือ่ เรยี กอยา่ งนี้ หรอื สิง่ นั้น มชี ื่อเรียกอยา่ ง
น้ัน เช่น คน บ้าน วดั โรงเรยี น สตั ว์ เปน็ ต้น)
- คานามวสิ ามัญ คืออะไร พร้อมทง้ั ยกตัวอยา่ ง (แนวคาตอบ: คานามวิสามญั คือ คา
ท่เี ป็นช่ือซึ่งตง้ั ขึน้ เฉพาะสาหรับเรียกคานามสามัญหนง่ึ ๆ สมชาย สวนลุมพินี )
- คาลกั ษณนาม คืออะไร พร้อมทง้ั ยกตวั อย่าง (แนวคาตอบ: คาลักษณนาม คอื คา
ทใี่ ช้บอกลักษณะของคานามหรอื คากริยา เช่น ใบ ตวั กา้ ว หลงั ครัง้ เทย่ี ว คน น้วิ ซอง เปน็ ต้น)
- คาอาการนาม คืออะไร พร้อมทงั้ ยกตัวอยา่ ง (แนวคาตอบ: คาอาการนาม คือ
คานามทเ่ี กิดจากกระบวนการแปลงคากรยิ าเป็นคานาม โดยการเตมิ หน่วยคา การ- หรือ ความ- หนา้ คากริยา
เช่น ความหิว ความเกลียด การนอน การเดนิ )
๖. ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้
๖.๑ บตั รคานาม
๖.๒ สื่อการเรียนรู้ Pop up twist เรื่องคานาม
๖.๓ สือ่ PowerPoint เรื่อง คานาม
๗. การวัดและประเมินผล
ส่ิงท่จี ะวัด วิธีการวดั เครอื่ งมือที่ใช้วดั เกณฑ์ผ่าน
๑. บอกความหมายของคานาม (K) สังเกตพฤตกิ รรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ไดค้ ะแนนร้อยละ
ตอบคาถาม ตอบคาถาม ๗๐ ข้ึนไป
๒. จาแนกชนิดของคานาม (P) ตรวจแบบทดสอบเรื่อง แบบตรวจแบบทดสอบ ไดค้ ะแนนร้อยละ
คานาม จาข้นึ ใจ เรื่อง คานาม จาขึน้ ใจ ๗๐ ขน้ึ ไป
๓. เห็นความสาคัญของการเรียนรูเ้ รื่อง สังเกตพฤตกิ รรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ผา่ นเกณฑ์ในระดับ
คานาม (A) ตอบคาถาม ตอบคาถาม ดี ขึน้ ไป
๘. บันทึกผลการจดั การเรยี นรู้
๘.๑ ด้านการวางแผนการจัดการเรยี นรู้
ครอู อกแบบกจิ กรรมให้นักเรยี นมสี ว่ นร่วมในการทากิจกรรมดว้ ยตนเองอย่างเสมอภาค
และครูได้ออกแบบสื่อการเรียนรู้ท่ีมีลักษณะแปลกใหม่ โดยการจัดการเรียนรู้ชั่วโมงนี้ ครูเน้นให้นักเรียนตอบ
คาถามเพื่อสรุปความรดู้ ว้ ยตนเองและวัดผลการเรยี นร้ไู ปในตัวดว้ ย
๘.๒ ดา้ นพฤติกรรมครู
ครูอธิบาย ยกตวั อยา่ ง และยกสถานการณ์การใชค้ านามแต่ละชนดิ จานวนมาก เพื่อให้
นักเรียนเข้าใจมากย่ิงข้ึน และในขณะท่ีสอน ครูลืมเพ่ิมเติมความรู้บางส่วน ทาให้ต้องอธิบายเพ่ิมเติมใน
ตอนท้าย
๘.๓ ด้านพฤติกรรมนักเรียนและผลการเรยี นรู้
การยกตวั อยา่ งสถานการณ์และเทคนิคการจาคานามแต่ละชนิด ทาให้นกั เรยี นเขา้ ใจและ
จดจาไดง้ ่ายขึ้น นกั เรยี นต้ังใจทาแบบทดสอบและผลทดสอบและผลการเรียนอย่ใู นระดบั ดี
๘.๔ อุปสรรค ปญั หา และข้อเสนอแนะ
ครูลมื เพิม่ เตมิ ความรู้บางสว่ น จงึ ต้องนามาพูดอธบิ ายเพิ่มเติมในภายหลัง ดังนั้น ครคู วรเขียน
ข้นั ตอนการสอนเพอื่ เตือนความจาขณะสอนดว้ ย
ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๔ ธนั วาคม ๒๕๖๔
คานามวิสามญั
คานามสามญั
คาอากรนาม คาลักษณนาม
แบบทดสอบเรื่อง
คานาม จาขน้ึ ใจ
ชื่อ-สกุล ……………………………………………………..……………………….ช้ัน…………………….. เลขท่ี ……………….
คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนนาคาตอ่ ไปนี้ไปเขียนลงในกรอบท่ีกาหนดใหใ้ ห้ถูกตอ้ ง
ตน้ ไม้ วัด ต้นฉาฉา วดั พระธาตขุ ามแก่น โรงเรียน ผลไม้ แมว สุนขั
ดอกไม้ ยาสีฟนั ต้นราชพฤกษ์ โรงเรียนบ้านหนองแสง ทเุ รียนหมอนทอง ดอกบัวคู่
วดั หนองแวงพระอารามหลวง โรงเรยี นบ้านท่ากระเสริม มะม่วงนา้ ดอกไม้
แมวสีสวาด ลลิ ล่ี คอลเกต แมววิเชียรมาศ ไซบเี รียนฮัสกี บางแก้ว กุหลาบ
ใบ การคา้ ขาย หลัง ความร้อน คน การกนิ ลกู ความหิว ฟอง
การทางาน เล่ม ความเสื่อม หอ่ การปรงุ ชิ้น ความสาเร็จ
แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้เรื่อง คานาม จาขน้ึ ใจ
เลข ชื่อ-สกลุ การบอก ผลการเรยี นรู้ เห็นความสาคญั คะแนน
ที่ ความหมายของ การจาแนกชนิด ของการเรียนรู้ รวม
ของคานาม (P) เร่อื งคานาม (A)
๑. เด็กชายวรตุ ม์ ใจกล้า คานาม (K) ๑๙
๒. เดก็ ชายรพีภัทร เพมิ่ เจรญิ ๓ ๑๖ คณุ ภาพ ๑๓
๓. เด็กชายศุภวัฒน์ บุญมี ๒ ๑๑ พอใช้ ๑๓
๔. เดก็ ชายพรี พงศ์ ชาสุทธสี ๓ ๑๐ ๑๓
๕. เด็กชายทวิ านนท์ สงั โสมา ๒ ๑๑ ดี ๑๖
๖. เด็กชายธรี เมธ เทยี บมาก ๓ ๑๓ พอใช้ ๑๔
๗. เด็กชายนราธิป คะริบรมั ย์ ๒ ๑๒ ๑๕
๘. เด็กชายจรี ณะ ใจกลา้ ๓ ๑๒ ดี ๑๔
๙. เดก็ ชายศิวกร พลภูเมอื ง ๒ ๑๒ ดี ๑๓
๑๐. เด็กชายบรรณวชิ ญ์ กรวดกระโทก ๒ ๑๑ ดี ๑๘
๑๑. เด็กหญงิ ขวัญภสั สรา กิรัมย์ ๓ ๑๕ พอใช้ ๑๘
๑๒. เด็กหญงิ อัจฉรา เจริญศิริ ๓ ๑๕ พอใช้ ๑๘
๑๓. เดก็ หญงิ ชลดา บุตรสา ๓ ๑๕ ดี ๑๘
๑๔. เด็กหญงิ ชญานชุ ดวงศรี ๓ ๑๕ ดี ๑๗
๑๕. เดก็ หญิงเพชรรดา ใจกล้า ๓ ๑๔ ดี ๑๖
๑๖. เดก็ หญิงชชั ฎาภรณ์ บตุ รงาม ๓ ๑๓ ดี ๑๗
๑๗. เดก็ หญงิ นภสั สร สังขละเจดีย์ชัย ๓ ๑๔ ดี ๑๕
๑๘. เด็กหญิงธัญญามาศ การะเวก ๒ ๑๓ ดี ๑๗
๓ ๑๔ ดี ๑๗
๓ ๑๔ ดี
ดี
ดี
ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๕ ธนั วาคม ๒๕๖๔
แบบตรวจแบบทดสอบ
๑. คานามสามญั
ตน้ ไม้ วัด โรงเรียนผลไม้ แมว สนุ ัข ดอกไม้ ยาสฟี นั
๒. คานามวิสามญั
ต้นฉาฉาตน้ ราชพฤกษ์ วัดพระธาตขุ ามแกน่ วัดหนองแวงพระอารามหลวง
โรงเรียนบ้านหนองแสง โรงเรียนบา้ นทา่ กระเสรมิ ทุเรียนหมอนทอง
มะมว่ งน้าดอกไม้ แมวสสี วาด แมววิเชียรมาศ ไซบเี รยี นฮสั กี บางแก้ว
ลิลลี่ กหุ ลาบ ดอกบัวคู่ คอลเกต
๓. คาลกั ษณนาม
ใบ หลัง เล่ม คน ลกู ความหวิ ฟอง หอ่ ช้ิน
๔. คาอาการนาม
การค้าขาย การทางานความร้อน การกนิ ความเสอื่ ม การปรงุ
ความสาเร็จ
เกณฑ์การให้คะแนน
นกั เรยี นตอบถกู ๑ คา ได้คะแนน ๑ คะแนน
นักเรียนตอบผิด ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน
เกณฑ์การใหค้ ะแนนผลการเรียนรู้ของนกั เรยี น
รายการประเมิน ๓ คะแนน ๑
บอกความหมายของ ๒ บอกความหมายของ
การบอกความหมายของ คานามไดถ้ ูกต้อง พร้อม คานามยงั ไม่ค่อยชัดเจน
คานาม ทง้ั ยกตวั อย่างประกอบ บอกความหมายของ
บอกความสาคัญของการ คานามได้ แตไ่ ม่ บอกความสาคญั ของการ
การเห็นความสาคญั ของการ เรยี นรู้คานามได้ ๓ ขอ้ เรยี นร้คู านามได้น้อยกว่า
เรยี นรคู้ านาม ยกตวั อย่างประกอบ
ข้ึนไป บอกความสาคัญของการ ๒ ข้อ
เรยี นรู้คานาม
ได้ ๒-๓ ขอ้
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน ระดับคณุ ภาพ
๓ ดี
๒
๑ พอใช้
ควรปรับปรุง
แผนการจัดการเรยี นรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๔ นทิ านแสนสนกุ เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๓/๗ เรือ่ ง สรรพนาม ตามความ ผสู้ อน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรยี นวดั บา้ นไพบลู ย์ เวลา ๐๘.๓๐ น.-๐๙.๓๐ น.
สอนวันท่ี ๒๗ เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. มาตรฐานและตวั ชี้วัด
สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ
ตวั ชี้วัด ท ๔.๑ ป.๖/๑ วเิ คราะห์ชนิดและหนา้ ที่ของคาในประโยค
๒. สาระสาคัญ
คาสรรพนาม คือ คาที่ใช้แทนนาม คาสรรพนามทาหน้าที่เป็นส่วนหลักของนามวลีได้เช่นเดียวกับ
คานาม นักเรยี นควรเรยี นรูเ้ ร่ืองคาสรรพนามใหเ้ ข้าใจอยา่ งถ่องแท้ เพ่ือให้นักเรยี นเลอื กใช้คาสรรพนามได้อย่าง
เหมาะสมตามลักษณะและหน้าที่และเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลรวมท้ังให้ข้อความไพเราะสละสลวย
มากขนึ้
๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
เมื่อนักเรยี นได้เรียนเร่ือง “สรรพนาม ตามความ” แลว้ นกั เรยี นสามารถ
๑. บอกความหมายของคาสรรพนามแต่ละชนดิ ได้ (K)
๒. เลือกใช้คาสรรพนามได้ (P)
๓. เหน็ ความสาคัญของการเรียนรเู้ ร่ืองคาสรรพนาม (A)
๔. สาระการเรยี นรู้
๔.๑ ด้านองคค์ วามรู้ (Knowledge)
คาสรรพนาม คือ คาทใ่ี ช้แทนนาม คาสรรพนามทาหน้าท่ีเป็นสว่ นหลักของนามวลีได้
เช่นเดียวกับคานาม คาสรพนามจาแนกออกเป็น ๕ ชนิด ดังน้ี
คาบุรุษสรรพนาม หรอื คาสรรพนามบอกบุรุษ หรอื คาสรรพนามแทนบคุ คล
คาบุรุษสรรพนาม หรอื คาสรรพนามบอกบรุ ุษ หรือ คาสรรพนามแทนบคุ คล คอื คาสรรพ
นามที่ใช้ระบุแทนบคุ คล เพื่อบอกว่าเป็นผู้พูด ผู้ทพ่ี ูดด้วย หรือผทู้ ่ีกล่าวถงึ คาบุรษุ สรพนามอาจใชร้ ะบุแทนคน
สัตว์ ตน้ ไม้ วตั ถุ หรือความคิด กไ็ ด้ เชน่
กาก้อนหินไว้ให้ม่ัน แล้วขวา้ งมนั ออกไปแรง ๆ
มัน เปน็ คาสรรพนามแทนวัตถุ คือ ก้อนหิน
คาสรรพนามแทนบคุ คลแบง่ เปน็ ๓ ชนิด คอื สรรพนามบรุ ุษที่ ๑ สรรพนามบรุ ุษท่ี ๒ สรรพ
นามบรุ ษุ ที่ ๓
คาสรรพนามบุรุษท่ี ๑ คือ คาสรรพนามบอกบุรุษท่ีใชแ้ ทนตัวผู้พดู หรอื ผู้เขียน เชน่
ฉัน ดฉิ ัน ผม กระผม ข้าพเจ้า หมอ่ มฉัน ข้าพระพุทธเจา้ กู ฯลฯ
คาสรรพนามบรุ ุษท่ี ๒ คือ คาสรรพนามบอกบุรษุ ทีใ่ ชแ้ ทนผู้ท่พี ูดด้วย ได้แก่ ผู้ฟัง
และผอู้ า่ น เช่น เธอ คุณ ทา่ น ฝุาบาท ใตฝ้ าุ พระบาท เอ็ง มึง ฯลฯ
คาสรรพนามบุรุษท่ี ๓ คือ คาสรรพนามบอกบุรษุ ที่ใชแ้ ทนผู้ทก่ี ลา่ วถึง เช่น เขา ทา่ น
เธอ พระองค์ มัน ฯลฯ
คาสรรพนามถาม
คาสรรพนามถาม คือ คาสรรพนามท่ีใชแ้ ทนนามและใชแ้ สดงคาถามในขณะเดียวกัน ใน
ภาษาไทยมเี พยี ง ๓ คา ไดแ้ ก่ ใคร อะไร ไหน เช่น ใครเขียนจดหมายฉบบั นี้
คาสรรพนามชี้เฉพาะ
คาสรรพนามช้เี ฉพาะ คือ คาสรรพนามท่ีใช้บอกระยะใกล้ไกล คาสรรพนามชเ้ี ฉพาะมเี พียง ๘
คา ไดแ้ ก่ นี่ นั่น โน่น นนู่ ชดุ หน่งึ และ นี้ นน้ั โน้น นนู้ อกี ชดุ หนึ่ง คาสรรพนามชี้เฉพาะแต่ละชุดใช้บอก
ระยะใกล้ไกลแตกตา่ งกัน จากระยะที่ใกลท้ ี่สุดไปจนถงึ ระยะทไี่ กลที่สดุ ๔ ระยะ คอื นี่ กับ น้ี บอกระยะใกล้
ทส่ี ุด นั่น กับ นั้น บอกระยะท่ีไกลออกไป โน่น กบั โน้น บอกระยะที่ไกลออกไปอกี นูน่ กับ น้นู บอกระยะที่
ไกลที่สดุ
คาสรรพนามชเ้ี ฉพาะ น่ี นัน่ โน่น นู่น อาจใชต้ ามหลังคากริยาหรือใช้ข้นึ ต้นประโยคก็ได้ เมอื่
ใชข้ นึ้ ตน้ ประโยค อาจตามด้วยคานามหรอื คากริยาก็ได้
คาสรรพนามชี้เฉพาะ นี้ นน้ั โน้น นู้น ต้องใชต้ ามหลงั คาบุพบทเสมอ
คาสรรพนามไมช่ เ้ี ฉพาะ
คาสรรพนามไม่ช้ีเฉพาะ คือ คาสรรพนามท่ีไม่ระบุหรอื กาหนดแน่นอนว่าหมายถึงผใู้ ด อะไร
ส่งิ ใด หรอื สถานที่ใด ได้แก่ ใคร อะไร ไหน เช่น อยู่ไหนก็ไม่สะดวกเท่าบ้านเรา
คาสรรพนามไม่ช้ีเฉพาะอาจมีรูปซา้ กบั คาสรรพนามแทนบุคคลบางคา ไดแ้ ก่ ทา่ น เรา เขา
แตม่ ีความหมายตา่ งกัน เชน่ เขาลือกนั ว่าพช่ี ายฉนั ปุวยหนัก
คาสรรพนามไมช่ ้ีเฉพาะบางคาอยใู่ นรูปของคาซ้า ได้แก่ ใคร ๆ อะไร ๆ ใด ๆ อนื่ ๆ เช่น
ใคร ๆ กช็ อบขนมปังไสส้ งั ขยาร้านนี้
คาสรรพนามแยกฝุาย
คาสรรพนามแยกฝุาย คือ คาสรรพนามท่ีใช้แทนคานามหรือคาบรุ ุษสรรพนามที่อยู่ขา้ งหน้า
เพื่อแสดงวา่ มหี ลายฝุายหลายสว่ น แต่ละฝาุ ยแตล่ ะสว่ นทากริยาใดกรยิ าหนึ่งหรือมากกว่า คาสรรพนามแยก
ฝุายมีเพียง ๓ คาเท่าน้นั ไดแ้ ก่ ตา่ ง บา้ ง กนั
ตา่ ง ใชแ้ ทนนามข้างหน้าเพอื่ แสดงวา่ มีหลายฝาุ ย แต่ละฝาุ ยทากริยาเดียวกนั เช่น ชาวนา
ตา่ งก็เกี่ยวขา้ วแลว้ นาขึ้นยุ้งฉาง
บา้ ง ใชแ้ ทนนามขา้ งหนา้ เพอื่ แสดงว่ามหี ลายฝุาย แต่ละฝุายแยกทากรยิ าต่างกนั หรอื เปน็
กรรมของกรยิ าต่างกนั คาว่า บ้าง มักใช้เปน็ คู่ ปรากฏในประโยค ๒ ประโยคทม่ี ีโครงสร้างคลา้ ยคลงึ กัน เชน่
นกั เรยี นเหล่านั้น บา้ งกน็ อน บา้ งก็น่ัง
เมอื่ บ้าง ปรากฏหลังคากรยิ า จะแสดงความหมายวา่ แต่ละสว่ นกระทาไม่เหมือนกัน เชน่
ของทซ่ี ้ือเกบ็ ไวใ้ นตู้เยน็ ก็กินบา้ ง ทิง้ บา้ ง
กนั ใชแ้ ทนคานามหรือคาบรุ ุษสรรพนามข้างหนา้ เพ่ือแสดงว่ามีหลายฝุาย แตล่ ะฝาุ ยทา
กริยาอย่างเดียวกนั กบั อีกฝุายหนึ่ง เชน่ มวยวันน้ตี อ่ ยกนั มันทกุ คู่
๔.๒ ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Process)
ทกั ษะการจาแนกชนดิ ของคาสรรพนาม
๔.๓ ดา้ นเจตคติ (Attitude)
เห็นความสาคญั ของการเรยี นรเู้ รอ่ื งคาสรรพนาม
๕. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขั้นนา (๑๐ นาที)
๑. นักเรยี นทากจิ กรรม “จัดหมู่ ดูชื่อ” ดังน้ี
- ครูนาเสนอตัวอย่างคาสรรพ ๕ ชนิด คือ คาบุรุษสรรพนาม คาสรรพนามถาม คา
สรรพนามชี้เฉพาะ และคาสรรพนามแยกฝุาย ดังนี้
คาบุรษุ สรรพนาม คาสรรพนามถาม
เพิ่น แก ใคร อะไร
ข่อย ขา้ ไหน
ทา่ น เขา
คาสรรพนามไม่ชีเ้ ฉพาะ
คาสรรพนามชีเ้ ฉพาะ ใคร อะไร
ไหน
นี่ นนั่
โนน่ นูน่ คาสรรพนามแยกฝา่ ย
นี้ นั้น
โน้น นู้น ตา่ ง บ้าง
กนั
- นักเรยี นวิเคราะห์ลักษณะของบัตรคาทงั้ ๔ กลุม่
- ครูนาเสนอแถบประโยค ๑๕ ประโยค แลว้ ใหน้ กั เรียนระบวุ ่า คาทีข่ ดี เสน้ ใต้ใน
ประโยค เปน็ คาสรรพนามกลุ่มใดตามทีต่ ดิ บนกระดาน
ขนั้ สอน (๔๐ นาที)
๑. นักเรยี นศึกษาความรเู้ รือ่ งคาสรรพนามจากสอ่ื Pop up twist
๒. ครูอธิบายเพิ่มเติมและทบทวนความร้เู ร่ืองคาสรรพนาม โดยใช้ส่อื ทต่ี ิดบนกระดานในขั้น
นา
๓. นักเรียนชว่ ยกนั เฉลยบัตรคาทน่ี ักเรียนจาแนกประโยคบนกระดาน
๔. นกั เรียนทากจิ กรรม “คาสรรพนาม ตามความ” ดงั นี้
- ครใู หน้ ักเรียนยกตวั อย่างประโยคที่มีคาสรรพนามแต่ละชนิดคนละ ๑ ประโยค
- นักเรียนคนใดตอบชา้ กวา่ ๑๐ วนิ าที จะไม่ไดค้ ะแนน เสยี สิทธ์กิ ารตอบในคร้งั น้ี
และตอ้ งถกู เพ่ือนคนถัดไปดีดนวิ้ ๑ ครั้ง
๕. นักเรยี นทาแบบฝึกหัดเร่ือง คาสรรพนาม ตามความ
ขั้นสรุป (๑๐ นาท)ี
นกั เรียนตอบชว่ ยกันตอบคาถามตอ่ ไปนี้
- การเรียนรูเ้ รื่องคาสรรพนามมีความสาคญั อย่างไร (แนวคาตอบ: ตามเจตคติของ
นักเรียน)
๖. สือ่ และแหล่งการเรียนรู้
๖.๑ บัตรคาสรรพนาม
๖.๒ สือ่ การเรยี นรู้ Pop up twist เร่อื งคาสรรพนาม
๖.๓ แถบประโยคตวั อยา่ งการใช้คาสรรพนามแตล่ ะชนิด
๗. การวัดและประเมนิ ผล
สงิ่ ท่จี ะวดั วธิ ีการวัด เครอื่ งมือท่ใี ช้วดั เกณฑผ์ า่ น
๑. บอกความหมายของคาสรรพนามแต่ ตรวจแบบทดสอบเร่ือง แบบตรวจแบบทดสอบ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
ละชนดิ (K) คาสรรพนาม ตามความ เรอื่ ง คาสรรพนาม ๗๐ ขึน้ ไป
ตามความ
๒. เลือกใช้คาสรรพนาม (P) ตรวจแบบทดสอบเรื่อง แบบตรวจแบบทดสอบ ได้คะแนนร้อยละ
คาสรรพนาม ตามความ เรอ่ื ง คาสรรพนาม ๗๐ ขึ้นไป
ตามความ
๓. เห็นความสาคญั ของการเรียนรู้เร่ือง สังเกตพฤตกิ รรมการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ผา่ นเกณฑ์ในระดับ
คาสรรพนาม (A) ตอบคาถาม ตอบคาถาม ดี ข้นึ ไป
๘. บันทึกผลการจัดการเรยี นรู้
๘.๑ ด้านการวางแผนการจัดการเรยี นรู้
ครวู างแผนการจัดการเรียนรู้โดยให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และครูคอบอธิบายเพิ่มเติมให้
หลงั จากทน่ี ักเรียนศกึ ษาความรูด้ ้วยตนเองจากสอ่ื Pop up twist แล้ว นอกจากน้ีครยู ังออกแบบแบบฝึกหัดให้
มลี ักษณะเปน็ หนงั สือเลม่ เล็ก เพือ่ ดึงดูดความสนใจในการทาแบบฝึกอีกดว้ ย
๘.๒ ดา้ นพฤติกรรมครู
ครอู ธิบายความรู้ดว้ ยเสียงที่ดังและชดั เจน และยกตวั อยา่ งเรอ่ื งราวและเหตกุ ารณใ์ น
ชวี ิตประจาวัน นอกจากน้คี รยู ังดุและตักเตอื นนกั เรียนท่ีมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมดว้ ย
๘.๓ ดา้ นพฤตกิ รรมนักเรียนและผลการเรียนรู้
นกั เรยี นบางคนพูดคยุ และหยอกลอ้ กนั ในขณะทค่ี รูสอน สว่ นนักเรียนส่วนใหญท่ ีต่ ั้งใจฟังก็
เข้าใจเนอื้ หาความรู้ และชว่ ยยกตวั อย่างในขณะทคี่ รอู ธบิ ายความรเู้ พิม่ เตมิ แตน่ กั เรียนทาแบบฝึกหัดไม่ค่อยได้
ทาใหน้ กั เรยี นตอ้ งคอยสอบถามครอู ยู่เสมอๆ
๘.๔ อปุ สรรค ปัญหา และขอ้ เสนอแนะ
ครูเปล่ียนลาดับข้ันในการสอน คือ อธิบายความรู้ให้นักเรียนฟังก่อนแล้วจึงให้นักเรียนอ่าน
และศกึ ษาความรเู้ พ่มิ เตมิ จากสอื่ Pop up ทีค่ รอู อกแบบ
ลงช่อื ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๔
แบบบนั ทึกผลการเรยี นรเู้ รื่อง สรรพนาม ตามความ
เลข ช่ือ-สกลุ การบอก ผลการเรยี นรู้ เห็นความสาคญั คะแนน
ที่ ความหมายของ การเลอื กใช้คา ของการเรียนรู้ รวม
คาสรรพนามแต่ สรรพนาม (P) เรอื่ งคาสรรพ
๑. เด็กชายวรตุ ม์ ใจกล้า ๒๔
๒. เดก็ ชายรพภี ัทร เพ่มิ เจรญิ ละชนดิ (K) ๑๘ นาม (A) ๑๘
๓. เด็กชายศภุ วัฒน์ บญุ มี ๖ ๑๕ คุณภาพ ๑๙
๔. เด็กชายพรี พงศ์ ชาสทุ ธสี ๓ ๑๕ พอใช้ ๑๗
๕. เด็กชายทิวานนท์ สงั โสมา ๔ ๑๔ ๑๘
๖. เดก็ ชายธรี เมธ เทยี บมาก ๓ ๑๔ ดี ๑๙
๗. เดก็ ชายนราธปิ คะริบรัมย์ ๔ ๑๕ พอใช้ ๑๖
๘. เดก็ ชายจรี ณะ ใจกลา้ ๔ ๑๓ ๑๖
๙. เดก็ ชายศวิ กร พลภูเมอื ง ๓ ๑๓ ดี ๑๔
๑๐. เด็กชายบรรณวชิ ญ์ กรวดกระโทก ๓ ๑๒ ดี ๒๑
๑๑. เดก็ หญิงขวญั ภัสสรา กิรัมย์ ๒ ๑๖ ดี ๑๘
๑๒. เดก็ หญงิ อัจฉรา เจริญศิริ ๕ ๑๔ พอใช้ ๒๐
๑๓. เด็กหญงิ ชลดา บตุ รสา ๔ ๑๕ พอใช้ ๒๑
๑๔. เด็กหญงิ ชญานุช ดวงศรี ๕ ๑๖ ดี ๒๐
๑๕. เดก็ หญิงเพชรรดา ใจกล้า ๕ ๑๕ ดี ๑๗
๑๖. เด็กหญิงชชั ฎาภรณ์ บตุ รงาม ๕ ๑๓ ดี ๒๐
๑๗. เด็กหญิงนภสั สร สังขละเจดียช์ ยั ๔ ๑๕ ดี ๑๖
๑๘. เด็กหญงิ ธัญญามาศ การะเวก ๕ ๑๓ ดี ๑๕
๓ ๑๒ ดี ๑๖
๓ ๑๓ ดี
๓ ดี
ดี
ดี
ลงช่อื ………………………………………………. ผสู้ อน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๙ ธนั วาคม ๒๕๖๔
แบบตรวจแบบทดสอบเร่อื ง คาสรรพนาม ตามความ
๑. คานามสามญั
คาสรรพนาม มี ๕ ชนดิ ไดแ้ ก่ คาบรุ ษุ สรรพนาม คาสรรพนามถาม คาสรรพนามชี้เฉพาะ คาสรรพ
นามไม่ชเ้ี ฉพาะ คาสรรพนามแยกฝาุ ย
๒. คาบุรษุ สรรพนาม
คาสรรพนาม คือ คาสรรพนามทีใ่ ช้ระบแุ ทนบุคคล เพ่ือบอกว่าเป็นผูพ้ ูด ผู้ที่พดู ด้วย หรือผู้ที่กล่าวถึง
คาบุรษุ สรพนามอาจใชร้ ะบแุ ทนคน สัตว์ ต้นไม้ วตั ถุ หรือความคดิ ก็ได้
๑. ต้ังแตน่ ้ีเป็นตน้ ไป กระผม/ผม/ฉนั /หนู จะตั้งใจเรียน
๒. วนั หยุดที่ผ่านมา คุณ/เธอ/แก ไปเท่ียวท่ไี หนมา
๓. เขาฝากฉันมาบอกเธอวา่ อาทติ ยห์ น้าจะมาเยี่ยม
๓. คาสรรพนามถาม
คาสรรพนามถาม คือ คาสรรพนามที่ใช้แทนนามและใชแ้ สดงคาถามในขณะเดียวกนั
๑. ใครจะไปอ่านหนงั สอื ท่ีห้องสมดุ บา้ ง
๒. น้องกาลงั ทาอะไรอยู่
๓. ปราสาทหนิ พนมรุ้งอยู่ที่ไหน
๔. คาสรรพนามช้เี ฉพาะ
คาสรรพนามชเ้ี ฉพาะ คือ คาสรรพนามทใี่ ชบ้ อกระยะใกลไ้ กล
๑. ดูเครอ่ื งบนิ น่ี/นนั่ /โนน่ /นนู่ สิ
๒. น่ี/น่ัน/โนน่ /นนู่ ยางลบของใคร
๓. นกเกาะอย่บู น นัน้ /โนน้ /นนู้ ไง
๔. นี่/น่นั /โนน่ /นู่น เกาะสมยุ
๕. คาสรรพนามไมช่ เี้ ฉพาะ
คาสรรพนามไมช่ ้ีเฉพาะ คือ คาสรรพนาม ท่ีไมร่ ะบหุ รือกาหนดแน่นอนว่าหมายถึงผูใ้ ด อะไร ส่งิ ใด
หรอื สถานท่ีใด
๑. ใครจะทาอะไรก็ทา
๒. อยู่ไหนก็ไม่สุขใจเท่าบา้ นเรา
๓. อะไร ๆ กใ็ ห้ฉันทาคนเดยี ว
๖. คาสรรพนามแยกฝุาย
คาสรรพนามแยกฝาุ ย คือ คาสรรพนามที่ใช้แทนคานามหรือคาบรุ ุษสรรพนามท่ีอยู่ข้างหนา้ เพอ่ื แสดง
วา่ มหี ลายฝาุ ยหลายสว่ น แต่ละฝุายแตล่ ะสว่ นทากริยาใดกริยาหนึง่ หรอื มากกว่า
๑. เราตา่ งคนต่างไปดีกว่า
๒. เด็ก ๆ เหล่านน้ั บ้างก็วง่ิ บ้างกเ็ ดนิ
๓. เราแตง่ งานกันแลว้ ได้คะแนน ๑ คะแนน
ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
นักเรียนตอบถกู ๑ คา
นักเรยี นตอบผดิ
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลการเรียนรูข้ องนกั เรยี น
รายการประเมนิ คะแนน
การบอกความหมายของคา
สรรพนามแตล่ ะชนดิ ๓ ๒๑
บอกความหมายของคา
การเหน็ ความสาคญั ของการ สรรพนามแตล่ ะชนิดได้ บอกความหมายของคา บอกความหมายของคา
เรียนรคู้ าสรรพนาม
ถกู ต้อง พร้อมทั้ง สรรพนามแตล่ ะชนิดได้ สรรพนามแตล่ ะชนดิ ยังไม่
ยกตัวอย่างประกอบ
บอกความสาคญั ของการ แต่ไม่ยกตวั อยา่ งประกอบ คอ่ ยชัดเจน
เรยี นรคู้ าสรรพนามได้ ๓
บอกความสาคญั ของการ บอกความสาคญั ของการ
ขอ้ ขึน้ ไป
เรยี นร้คู าสรรพนาม เรียนรูค้ าสรรพนามได้
ได้ ๒-๓ ข้อ น้อยกวา่ ๒ ขอ้
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน ระดบั คุณภาพ
๓ ดี
๒
๑ พอใช้
ควรปรบั ปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๔ นทิ านแสนสนุก เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๔/๗ เรือ่ ง คากรยิ า พาสื่อความ ผู้สอน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรยี นวดั บา้ นไพบูลย์ เวลา ๐๘.๓๐ น.-๐๙.๓๐ น.
สอนวันท่ี ๒๙ เดอื น ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. มาตรฐานและตวั ช้ีวัด
สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ
ตวั ชี้วดั ท ๔.๑ ป.๖/๑ วเิ คราะหช์ นดิ และหน้าทีข่ องคาในประโยค
๒. สาระสาคญั
คากรยิ า เป็นคาทแ่ี สดงอาการของนามหรอื สรรพนาม เพื่อใหร้ วู้ ่า นามหรอื สรรพนามนั้น ๆ ทาอะไร
หรอื เปน็ อย่างไร นักเรยี นควรเรียนรเู้ รอ่ื งคากริยาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพ่อื ใหน้ ักเรยี นเลือกใช้คากรยิ าในการ
สอื่ สารได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
เมอ่ื นกั เรยี นไดเ้ รียนเร่ือง “คากรยิ าพา สื่อความ” แล้วนกั เรยี นสามารถ
๑. บอกความหมายของคากริยาแต่ละชนิดได้ (K)
๒. เลือกใช้คากรยิ าเพ่ือการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม (P)
๓. เหน็ ความสาคญั ของการเรียนรูเ้ รอื่ งคากริยา (A)
๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ด้านองค์ความรู้ (Knowledge)
คากรยิ า เป็นคาทแี่ สดงอาการของนามหรือสรรพนาม เพ่ือให้รู้วา่ นามหรือสรรพนามน้นั ๆ ทาอะไร
หรอื เปน็ อยา่ งไร คากริยาที่นักเรียนระดบั ชั้นนีม้ ี ๕ ชนดิ ดงั น้ี
คากรยิ าสกรรม
คากริยาสกรรม คือ คากรยิ าท่ีต้องมีคาท่ีเป็นกรรมมารบั ขา้ งท้าย เช่น กิน ฟงั อา่ น เห็น
อยาก จับ ถือ หยบิ วาด ติด เปน็ ตน้ เชน่
นอ้ งกนิ ข้าว
พอ่ ฟังเพลง
แมอ่ า่ นหนงั สอื
คากริยาอกรรม
คากริยาอกรรม คือ คากรยิ าที่ไม่ต้องมีคาทีเ่ ปน็ กรรมมารบั ข้างทา้ ย เชน่ ไป มา นอน หัวเราะ
ตก ข้นึ ตาย ยนื เดนิ บนิ เปน็ ต้น เช่น
ฉันหวั เราะจนท้องแขง็
คนแปลกหน้ายนื อยู่หน้าบา้ น
ผ้งึ บินอย่ใู นบา้ น
คากริยาคุณศัพท์
คากรยิ าคุณศัพท์ คือ คากรยิ าที่แสดงคุณสมบตั ิหรือสภาพของคานามหรอื คาบรุ ษุ สรรพนาม
เช่น ดี สวย ชัว่ ว่องไว สงู ขาว ดา เป็นต้น เชน่
เดก็ คนนี้นา่ รัก
บา้ นแถวนี้สวยทุกหลัง
เขาสงู ขน้ึ มากทีเดยี ว
คากรยิ าต้องเติมเต็ม
คากริยาต้องเติมเต็ม คือ คากรยิ าทตี่ ้องมนี ามวลที าหนา้ ทเ่ี ป็นหนว่ ยเติมเตม็ ตามหลงั เสมอ
เช่น เปน็ เหมือน คล้าย เท่า ใช่ มี เกดิ ปรากฏ เปน็ ตน้ เชน่
ศริ ขิ วัญเปน็ ตารวจ
ฉนั เหมือนพ่อ
ครูสาริสาหนา้ ตาคลา้ ยพ่อ
โฟกสั มบี า้ นอยูท่ สี่ วิสเซอร์แลนด์
คาชว่ ยกรยิ า
คาช่วยกริยา คือ คาทไ่ี ม่ใชค่ ากรยิ าและไมป่ รากฏตามลาพัง แตจ่ ะปรากฏร่มกับคากริยาและ
อยขู่ า้ งหน้าคากรยิ าเสมอ เชน่ ได้ จะ กาลงั มัก คง จวน ยงั ตอ้ ง โปรด ถูก โดน เป็นต้น เช่น
ครูสารสิ าจะเขา้ เมอื งวันศุกรน์ ี้
วนั นฝี้ นคงตกแน่
กรณุ าอยา่ ส่งเสยี งดัง
๔.๒ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Process)
ทักษะการเลือกใช้คากรยิ าเพื่อการส่ือสาร
๔.๓ ดา้ นเจตคติ (Attitude)
เหน็ ความสาคญั ของการเรียนรูเ้ รือ่ งคากรยิ า
๕. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขน้ั นา (๑๐ นาที)
๑. นกั เรยี นทากิจกรรม “จาแนก แยกกลุ่ม” ดงั น้ี
- ครเู รียงประโยคบนกระดานโดยแยกคาออกเป็นส่วน ๆ จานวน ๘ ประโยค
นอ้ ง กนิ ขนม ฉนั หัวเราะ
ตกุ๊ ตา ตวั น้ี น่ารกั จงั พอ่ เป็น ตารวจ
โปรด รักษา ความสะอาด
ตวั อยา่ งแถบประโยคที่แยกคาออกเป็นส่วน ๆ
- นักเรยี นพจิ ารณาประโยคแตล่ ะประโยค
- นักเรยี นจาแนกคากรยิ าที่ขีดเส้นใตอ้ อกเปน็ กล่มุ ๆ ตามความเขา้ ใจ
ข้นั สอน (๔๐ นาที)
๑. นกั เรยี นศึกษาความร้เู รอื่ งคากริยาจากส่ือ Pop up twist
๒. ครอู ธบิ ายความร้เู รื่องคากกริยาโดยใชส้ อ่ื แถบขอ้ ความติดบนกระดานประกอบการอธิบาย
๓. นกั เรียนรว่ มกนั เฉลยคากริยาที่นักเรยี นจบั กลุ่มในขัน้ นา
๔. นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดเรื่อง คากริยา พาสื่อความ
ขัน้ สรุป (๑๐ นาท)ี
นกั เรียนตอบคาถามว่า การเรียนรเู้ รื่องคากรยิ ามีความสาคัญอยา่ งไรในชวี ติ ประจาวัน
(แนวคาตอบ: ตามเจตคติองนักเรียน)
๖. ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
๖.๑ แถบประโยคทแี่ ยกคาออกเป็นสว่ น ๆ
๖.๒ สือ่ การเรยี นรู้ Pop up twist เรอื่ งคากริยา
๗. การวัดและประเมนิ ผล
ส่งิ ทีจ่ ะวัด วธิ กี ารวัด เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้วัด เกณฑผ์ า่ น
๑. บอกความหมายของคากริยาแต่ละ ตรวจแบบฝกึ หดั เรือ่ ง แบบตรวจแบบฝึกหัดเรอ่ื ง ไดค้ ะแนนร้อยละ
ชนดิ (K) คากริยา พาสื่อความ คากรยิ า พาส่อื ความ ๗๐ ข้นึ ไป
๒. เลือกใช้คากรยิ าเพ่ือการส่ือสาร (P) ตรวจแบบฝกึ หดั เรือ่ ง แบบตรวจแบบฝกึ หดั เรื่อง ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
คากริยา พาส่ือความ คากรยิ า พาสอ่ื ความ ๗๐ ขน้ึ ไป
๓. เหน็ ความสาคัญของการเรียนรู้เรือ่ ง สังเกตพฤตกิ รรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ผา่ นเกณฑ์ในระดบั
คากริยา (A) ตอบคาถาม ตอบคาถาม ดี ข้ึนไป
๘. บันทกึ ผลการจัดการเรยี นรู้
๘.๑ ดา้ นการวางแผนการจดั การเรยี นรู้
ครูออกแบบกจิ กรรมให้นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการทากิจกรรมดว้ ยตนเองอย่างเสมอภาค
และครูได้ออกแบบส่อื การเรียนรูท้ มี่ ีลกั ษณะแปลกใหม่ โดยการจัดการเรียนร้ชู ่ัวโมงนี้ ครูเนน้ ให้นักเรียนตอบ
คาถามเพื่อสรุปความรู้ดว้ ยตนเองและวัดผลการเรยี นรู้ไปในตัวดว้ ย
๘.๒ ด้านพฤติกรรมครู
ครูอธบิ าย ยกตวั อยา่ ง และยกสถานการณ์การใช้คานามแต่ละชนดิ จานวนมาก เพ่ือให้
นักเรยี นเขา้ ใจมากยง่ิ ขึ้น และในขณะทส่ี อน ครลู มื เพ่ิมเตมิ ความรู้บางส่วน ทาให้ต้องอธิบายเพิ่มเติมใน
ตอนท้าย
๘.๓ ด้านพฤตกิ รรมนักเรยี นและผลการเรียนรู้
การยกตัวอย่างสถานการณแ์ ละเทคนิคการจาคานามแต่ละชนิด ทาให้นักเรียนเข้าใจและ
จดจาไดง้ ่ายขึ้น นักเรยี นตัง้ ใจทาแบบทดสอบและผลทดสอบและผลการเรยี นอยู่ในระดับดี
๘.๔ อุปสรรค ปัญหา และข้อเสนอแนะ
ครูลมื เพ่ิมเตมิ ความรบู้ างส่วน จึงต้องนามาพูดอธิบายเพ่ิมเตมิ ในภายหลัง ดงั นัน้ ครูควรเขยี น
ขัน้ ตอนการสอนเพอ่ื เตือนความจาขณะสอนดว้ ย
ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๔
แบบบันทึกผลการเรียนรู้เรื่อง คากริยา พาสอื่ ความ
ผลการเรียนรู้
การบอก การเลอื กใช้ เหน็ ความสาคญั
เลข ชือ่ -สกลุ ความหมายของ คากรยิ าเพ่ือการ ของการเรียนรู้ คะแนนรวม
ที่
คากรยิ าแตล่ ะ สอื่ สาร (P) เรอ่ื งคากริยา
ชนิด (K) (A)
๖ ๑๘ คณุ ภาพ ๒๔
๑. เดก็ ชายวรตุ ม์ ใจกล้า ๓ ๑๕ พอใช้ ๑๘
๒. เด็กชายรพภี ทั ร เพม่ิ เจรญิ ๔ ๑๕ ดี ๑๙
๓. เดก็ ชายศภุ วฒั น์ บญุ มี ๓ ๑๔ พอใช้ ๑๗
๔. เดก็ ชายพรี พงศ์ ชาสทุ ธสี ๔ ๑๔ ดี ๑๘
๕. เด็กชายทวิ านนท์ สังโสมา ๔ ๑๕ ดี ๑๙
๖. เด็กชายธีรเมธ เทยี บมาก ๓ ๑๓ ดี ๑๖
๗. เด็กชายนราธปิ คะรบิ รมั ย์ ๓ ๑๓ พอใช้ ๑๖
๘. เด็กชายจีรณะ ใจกลา้ ๒ ๑๒ พอใช้ ๑๔
๙. เดก็ ชายศวิ กร พลภเู มือง ๕ ๑๖ ดี ๒๑
๑๐. เด็กชายบรรณวิชญ์ กรวดกระโทก ๔ ๑๔ ดี ๑๘
๑๑. เดก็ หญิงขวัญภัสสรา กิรัมย์ ๕ ๑๕ ดี ๒๐
๑๒. เดก็ หญงิ อจั ฉรา เจริญศริ ิ ๕ ๑๖ ดี ๒๑
๑๓. เด็กหญิงชลดา บตุ รสา ๕ ๑๕ ดี ๒๐
๑๔. เด็กหญิงชญานชุ ดวงศรี ๔ ๑๓ ดี ๑๗
๑๕. เด็กหญิงเพชรรดา ใจกลา้ ๕ ๑๕ ดี ๒๐
๑๖. เดก็ หญงิ ชชั ฎาภรณ์ บุตรงาม ๓ ๑๓ ดี ๑๖
๑๗. เดก็ หญงิ นภัสสร สงั ขละเจดียช์ ัย ๓ ๑๒ ดี ๑๕
๑๘. เด็กหญิงธัญญามาศ การะเวก ๓ ๑๓ ดี ๑๖
ลงชือ่ ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๔
แบบตรวจแบบฝึกหัดเรื่อง คากรยิ า พาสอ่ื ความ
๑. คากรยิ า
คากรยิ า คือ คาทแ่ี สดงอาการของนามหรอื สรรพนาม เพื่อใหร้ ้วู ่า นามหรอื สรรพนามนนั้ ๆ ทาอะไร
หรอื เป็นอยา่ งไร
๒. คากรยิ าอกรรม
คากรยิ าอกรรม คือ คากริยาท่ีไม่ต้องมีคาทเ่ี ปน็ กรรมมารบั ข้างท้าย เชน่ ไป มา นอน หัวเราะ
ตก ขึ้น ตาย ยนื เดนิ บนิ เป็นตน้
๑. พระอาทิตย์ขึ้นทางทศิ ตะวันออก
๒. เมอื่ คินน้ี ฝนตกหนักทั้งคนื เลย
๓. เด็ก ๆ พากนั หัวเราะเวลาที่ได้ฟงั เรอ่ื งตลก
๓. คากริยาสกรรม
คากรยิ าสกรรม คือ คากรยิ าที่ตอ้ งมีคาที่เป็นกรรมมารบั ข้างท้าย เชน่ กนิ ฟงั อา่ น เหน็
อยาก จบั ถือ หยิบ วาด ตดิ เป็นตน้
๑. ใครกนิ /ทาน/รบั ประทานขนมในห้องเรยี น ?
๒. อฑั ฒกรอา่ นหนังสือก่อนนอน
๓. นกั เรยี นเลน่ เกมฟรฟี ายทุกวัน
๔. คากรยิ าคุณศพั ท์
คากรยิ าคุณศัพท์ คือ คากริยาทแ่ี สดงคุณสมบตั ิหรือสภาพของคานามหรือคาบรุ ุษสรรพนาม
เชน่ ดี สวย ชัว่ วอ่ งไว สูง ขาว ดา เปน็ ต้น
๑. เดก็ คนนี้น่ารักเหลือเกนิ
๒. ดอกไมเ้ หล่าน้ีสวยมาก
๓. ภาพยนตร์เรื่อง พมี่ ากพระโขนงตลกมาก
๕. คากรยิ าตอ้ งเติมเต็ม
คากรยิ าต้องเติมเตม็ คือ คากรยิ าทีต่ ้องมีนามวลที าหนา้ ทเ่ี ปน็ หน่วยเติมเต็มตามหลงั เสมอ
เชน่ เป็น เหมอื น คลา้ ย เทา่ ใช่ มี เกิด ปรากฏ เปน็ ตน้
๑. ครมู เี งิน ๑๐๐ บาท
๒. ลิซ่าเปน็ นกั รอ้ ง
๓. ปีนเี้ กิดสุริยุปราคาในเดือนมถิ ุนายนทีผ่ า่ นมา
๖. คาชว่ ยกริยา
คาชว่ ยกรยิ า คือ คาท่ไี ม่ใชค่ ากรยิ าและไมป่ รากฏตามลาพง แต่จะปรากฏร่มกับคากรยิ าและ
อยูข่ ้างหน้าคากริยาเสมอ เชน่ ได้ จะ กาลงั มัก คง จวน ยัง ต้อง โปรด ถูก โดน เป็นตน้
๑. ขณะน้ี นักเรยี นกาลังเรยี นอยู่
๒. เขายงั รักฉันอยู่
๓. นกั เรยี นต้องต้งั ใจเรยี น
เกณฑ์การใหค้ ะแนนผลการเรยี นรู้ของนกั เรยี น
รายการประเมนิ คะแนน
การบอกความหมายของ
คากรยิ าแตล่ ะชนดิ ๓๒ ๑
บอกความหมายของ
การเหน็ ความสาคัญของการ บอกความหมายของ บอกความหมายของ คากริยาแต่ละชนดิ ยังไม่
เรยี นรคู้ ากริยา คอ่ ยชดั เจน
คากริยาแต่ละชนิดได้ คากรยิ าแต่ละชนิดได้ แต่
บอกความสาคญั ของการ
ถกู ต้อง พร้อมท้ัง ไมย่ กตวั อยา่ งประกอบ เรยี นรูค้ ากรยิ าไดน้ ้อยกวา่
๒ ขอ้
ยกตัวอย่างประกอบ
บอกความสาคัญของการ บอกความสาคญั ของการ
เรียนรคู้ ากริยา เรยี นร้คู ากริยา
ได้ ๓ ขอ้ ข้ึนไป ได้ ๒-๓ ขอ้
คะแนน เกณฑ์การประเมนิ
๓ ระดบั คุณภาพ
๒ ดี
๑ พอใช้
ควรปรับปรงุ
แผนการจดั การเรยี นรู้
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๔ นิทานแสนสนุก ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๔
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕/๗ เร่ือง ย่อความ ตามเร่ือง เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
โรงเรียนวัดบา้ นไพบลู ย์ ผูส้ อน นางสาวสาริสา เสาโร
สอนวันที่ ๒๔ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๓๐ น.-๐๙.๓๐ น.
๑. มาตรฐานและตวั ชี้วัด
สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขียนเขยี นส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่ืองราวใน
รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ตวั ชวี้ ดั ท ๒.๑ ป.๖/๕ เขยี นยอ่ ความจากเร่ืองทอ่ี ่าน
ท ๒.๑ ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขยี น
๒. สาระสาคญั
การเขียนย่อความ คือ การนาใจความสาคัญมาเขยี นสรปุ ใหมโ่ ดยตดั พลความหรือข้อความขยายออก
แลว้ เรียบเรียงให้เป็นสานวนภาษาของตนเอง การย่อความจึงเป็นการทาให้เน้อื หาสั้นลง แต่ยงั คงความหมาย
และสาระสาคัญของตัวบทเดิมไว้อย่างครบถว้ น นักเรยี นควรเรียนร้หู ลักการเขยี นย่อความให้เข้าใจอยา่ งถ่อง
แท้ เพื่อใหน้ กั สามารถย่อความงานเขียนในชีวิตประจาวันและนาเร่ืองราวท่ีรับไปส่อื สารต่อได้ได้อยา่ งถูกต้อง
๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้
เมือ่ นกั เรยี นได้เรยี นเรื่อง “ย่อความ ตามเรื่อง” แล้วนักเรยี นสามารถ
๑. บอกหลักการเขียนยอ่ ความได้ (K)
๒. เขยี นย่อความจากเร่อื งที่อ่านได้ (P)
๓. มมี ารยาทในการเขยี น (A)
๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ด้านองคค์ วามรู้ (Knowledge)
ความหมาย
การเขียนย่อความ คือ การนาใจความสาคัญมาเขียนสรุปใหม่โดยตัดพลความหรือข้อความ
ขยายออกแล้วเรียบเรยี งใหเ้ ปน็ สานวนภาษาของตนเอง
สว่ นประกอบ
สว่ นประกอบของย่อความ ยอ่ ความประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๒ สว่ น ดังนี้
๑. สว่ นนา เป็นแบบขนึ้ ต้นยอ่ ความเพอ่ื บอกท่มี าของเร่ืองให้ผู้อ่านทราบ
๒. ส่วนเน้ือเรอื่ ง เป็นสว่ นเนือ้ หาท่ีเรยี บเรียงแล้ว มยี ่อหนา้ เดียว
วธิ ีการย่อความ
๑. เขยี นคานาตามประเภทของเรอ่ื ง
๒. อา่ นเรือ่ งท้งั หมดอยา่ งละเอยี ด อาจจะอ่านถึง ๒-๓ เทีย่ ว เพ่ือให้เข้าใจเร่ืองโดยตลอด
๓. ทาความเข้าใจศพั ท์ สานวนโวหารในเรือ่ ง
๔. ถา้ เรือ่ งท่ีจะยอ่ เป็นรอ้ ยกรองต้องถอดคาประพันธ์เปน็ ร้อยแก้วกอ่ นจึงย่อ
๕. สงั เกตใจความสาคญั แลว้ แยกออกเปน็ ตอน ๆ
๖. สรรพนามบุรุษที่ ๑, ๒ ตอ้ งเปลย่ี นเป็นสรรพนามบุรุษท่ี ๓ หรือเอ่ยชอ่ื
๗. ถ้าคาเดมิ เป็นคาราชาศพั ท์ใหค้ งไว้
๘. ขอ้ ความทเ่ี ป็นคาพูดในเครือ่ งหมายอญั ประกาศตอ้ งเขยี นใหม่ซ่งึ เรียกวา่ เปลยี่ นเลขในเป็น
เลขนอก
๙. เรื่องทย่ี ่อถ้าไม่มชี ือ่ เรอื่ ง ผู้ย่อตอ้ งตงั้ ชื่อเร่อื งเอง
การเขยี นแบบขึ้นตน้ ย่อความสาหรบั งานเขียนประเภทต่าง ๆ
๑. งานเขยี นประเภทบทร้อยกรองตา่ ง ๆ เชน่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน รา่ ย ต้องบอก
ประเภทของบทร้อยกรอง ชอ่ื เรื่อง ผแู้ ต่ง ที่มา ว่ามาจากหนังสอื อะไร หนา้ ใด
รปู แบบ
ยอ่ .....(ประเภทของรอ้ ยกรอง).......เรือ่ ง......(ชื่อบทร้อยกรอง).......ของ......(ผู้แตง่ ).............
ตอน.....(ชอ่ื ตอน)......จาก.......(ช่ือหนังสอื )........ ความว่า
.................(ใจความ)................................................................... ............................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………...............
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. งานเขยี นประเภทร้อยแกว้ เชน่ นทิ าน ตานาน บทความ สารคดี ต้องบอกประเภทของ
ความเรียงร้อยแกว้ ชอ่ื เรือ่ ง ผู้แต่ง ชอ่ื หนงั สอื หน้าใด
รปู แบบ
ย่อ.....(ประเภทของความเรียงร้อยแกว้ ).......เรื่อง......( ช่อื เรอื่ ง).......ของ.......(ชื่อผแู้ ต่ง).....
จาก.......(ชอ่ื หนงั สอื )........ ความวา่
.................(ใจความ)................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
๔.๒ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Process)
ทักษะการเขียนยอ่ ความ
๔.๓ ดา้ นเจตคติ (Attitude)
มีมารยาทในการเขยี น
- เขียนใหอ้ า่ นงา่ ย สะอาด ไมข่ ดี ฆา่
- ใชภ้ าษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานท่ี และบุคคล
- ไมเ่ ขยี นล้อเลยี นผู้อืน่ หรอื ทาให้ผอู้ ืน่ เสียหาย
๕. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขัน้ นา (๑๐ นาท)ี
๑. นักเรยี นทากจิ กรรม “แตกตา่ งอย่าไร” ดังนี้
- ครนู าเสนอตัวอยา่ งการเขียนย่อความและบทความทีน่ ามาเขยี นยอ่ ความ
กวางตัวหน่ึงหาเลม็ หญ้ากนิ ตามชายปาุ ทนั ใดนั้นเหลือบไปเห็นนายพรานถือหน้าไม้เดินมาแตไ่ กล ด้วยความ
ตกใจกวางจงึ กระโดดหนีเขา้ ปุาไป แต่นายพรานกย็ งั สะกดรอยตามมาอย่างไม่ลดละกวางเหน็ วา่ หมดชอ่ งทางที่จะหนี
แลว้ จงึ ตัดสนิ ใจหลบเข้าไปในถ้าเสือ เมื่อเสอื เห็นกวางเข้ามากก็ ระโดดงบั คอกวางอย่างจมเข้ียวก่อนท่ีกวางจะสิ้นใจได้
รอ้ งระรัวว่า“อนั ตรายย่อมมีท่ัวทกุ แหง่ เราหนีคนพ้นแล้วกลับมาปะเสือ
ย่อนิทานเร่ือง กวางกบั เสือ จากหนงั สอื นทิ านคากลอน ของฉลอง ศุภาการ ความว่า
กวางตวั หนึ่งหนนี ายพรานเขา้ ไปหลบอยู่ในถา้ ของเสือ เสอื จึงจับกวางเป็นอาหาร
- นกั เรียนพจิ ารณาข้อความตัวอย่างทีค่ รูนาเสนอ
- นกั เรยี นบอกความแตกตา่ งของบทความทั้งสองบทความทีค่ รนู าเสนอ
๒. ครูเฉลยตาแหนง่ ทบ่ี ทความทงั้ สองมคี วามแตกต่างกนั
ข้ันสอน (๔๐ นาที)
๑. นกั เรยี นตอบคาถาม ต่อไปนี้
- บทความทางขวามือ (ตัวอย่างการเขียนย่อความ) คืองานเขียนอะไร (แนวคาตอบ:
การเขยี นย่อความ)
- บทความทางขวามือ (ตวั อย่างการเขียนย่อความ) แตกต่างจาก บทความทาง
ซา้ ยมอื (บทความท่ีนามาเขียนยอ่ ความ) อยา่ งไร (แนวคาตอบ: ๑. สรรพนามบรุ ุษที่ ๑, ๒ ตอ้ งเปล่ียนเป็น
สรรพนามบุรษุ ท่ี ๓ หรอื เอย่ ชื่อ ๒. เปลี่ยนขอ้ ความในอัญประกาศ ๓. มคี านาเรือ่ ง)
๒. ครอู ธิบายองคป์ ระกอบและหลักการเขยี นย่อความโดยใชต้ วั อยา่ งท่ีตดิ บนกระดาน และ
แถบข้อความประกอบการอธิบาย
๓. นกั เรียนทากจิ กรรม “แถบไหน ไมใ่ ช่” ดังนี้
- นกั เรยี นแบ่งกลุม่ ชาย-หญงิ
- นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรับแถบข้อความ
- นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มแยกแถบขอ้ ความทเี่ ปน็ หลักการเขยี นย่อความออกมา
- กลุ่มใดแยกเสร็จและถูกต้องกอ่ นจะเปน็ ทีมท่ชี นะและได้รบั รางวัล
๔. นักเรียนทาแบบฝึกการเขียนย่อความจากนิทาน
ขั้นสรุป (๑๐ นาท)ี
นกั เรียนชว่ ยกนั สรปุ หลักการเขียนย่อความ ดังน้ี
- หลักการเขียนย่อความมีอะไรบ้าง (แนวคาตอบ: ๑. เขียนคานาตามประเภทของ
เร่อื ง ๒. อ่านเร่ืองท้ังหมดอย่างละเอียด อาจจะอ่านถึง ๒-๓ เท่ียว เพื่อให้เข้าใจเร่ืองโดยตลอด ๓. ทาความ
เขา้ ใจศพั ท์ สานวนโวหารในเรื่อง ๔. ถา้ เร่อื งทจ่ี ะยอ่ เปน็ ร้อยกรองตอ้ งถอดคาประพันธ์เป็นร้อยแกว้ ก่อนจึงย่อ
๕. สงั เกตใจความสาคัญแล้วแยกออกเป็นตอน ๆ ๖. สรรพนามบุรุษท่ี ๑, ๒ ต้องเปลี่ยนเป็นสรรพนามบุรุษที่
๓ หรือเอ่ยชื่อ ๗. ถ้าคาเดิมเป็นคาราชาศัพท์ให้คงไว้ ๘. ข้อความที่เป็นคาพูดในเคร่ืองหมายอัญประกาศต้อง
เขยี นใหม่ซ่งึ เรียกวา่ เปลีย่ นเลขในเปน็ เลขนอก ๙. เรอ่ื งที่ย่อถา้ ไมม่ ีชอ่ื เรือ่ ง ผู้ยอ่ ต้องต้ังชื่อเรื่องเอง)
๖. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
๖.๑ แถบตัวอย่างการเขียนยอ่ ความ
๖.๒ แถบบทความท่นี ามาเขยี นย่อความ
๖.๓ แถบข้อความหลักการเขียนยอ่ ความ
๗. การวดั และการประเมินผล
สิ่งท่ีจะวัด วธิ ีการวดั เคร่ืองมือทใี่ ช้วัด เกณฑ์ผ่าน
๑. บอกหลักการเขียนย่อ สังเกตพฤตกิ รรมการตอบ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ได้คะแนนรอ้ ยละ ๗๐
ความได้ (K) คาถาม ตอบคาถาม ขึน้ ไป
๒. เขยี นยอ่ ความจากเรอื่ งที่ แบบฝกึ หดั การเขยี นยอ่ แบบประเมินการเขยี น ไดค้ ะแนนร้อยละ ๗๐
อ่านได้ (P) ความจากนิทาน ย่อความ ขน้ึ ไป
๓. มมี ารยาทในการเขยี น (A) แบบฝกึ หัดการเขียนยอ่ แบบประเมินการมี ผา่ นเกณฑ์ในระดับ
ความจากนิทาน มารยาทในการเขยี น ดี ขน้ึ ไป
๘. บนั ทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้
๘. บันทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้
๘.๑ ด้านการวางแผนการจัดการเรยี นรู้
ในการจัดการเรียนการสอนจริง ครูปรบั เปลยี่ นกจิ กรรมเล็กนอ้ ยเพือ่ ใหท้ ันเวลาทกี่ าหนด คอื
ครูเป็นผอู้ อกแบบส่ือการเรียนรู้ นอกจากนี้ครูยงั ออกแบบใบกิจกรรมให้แปลกใหม่เพ่ือดงึ ดูดความสนใจของ
นักเรยี นอีกด้วย
๘.๒ ด้านพฤตกิ รรมครู
ครูอธบิ ายหลกั การเขียนย่อความ จากน้ันครูยงั เปน็ ผู้อธิบายความร้เู พิ่มเตมิ ให้กับนักเรียนที่ยัง
ไมค่ ่อยเขา้ ใจ
๘.๓ ดา้ นพฤตกิ รรมนักเรยี นและผลการเรียนรู้
นกั เรียนไม่คอ่ ยชอบกจิ กรรมเกี่ยวกบั การเขยี น เพราะนกั เรียนเขยี นส่อื สารยังไมค่ ่อยได้
กิจกรรมเกี่ยวกับการเขยี นจงึ เปน็ กิจกรรมที่เก่ยี วข้อองกับการเป็นเจ้าภาพ
๘.๔ อปุ สรรค ปัญหา และข้อเสนอแนะ
นักเรียนควรต้ังใจเรียนมากกว่านี้ เพ่อื ใหน้ ักเรียนเข้าใจหลกั การเรียงความได้
ลงชื่อ………………………………………………. ผสู้ อน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๕ มกราคม ๒๕๖๕
แบบฝกึ หดั เร่อื ง ย่อความตามเรอ่ื ง
คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนย่อความบทความท่ีกาหนดใหต้ ่อไปน้ใี ห้ถูกต้อง
ประชากรแหง่ หมิ พานต์: Human of Himava – สเุ มรจุ กั รวาล ตอนที่ 55 ของ ศรัณย์ ทองปาน จาก
เว็บไซต์ สารคดดี อตคอม
มีนิทานเกร็ดทเี่ ลา่ รวมไวใ้ น “ไตรภมู ิโลกวนิ ิจฉยกถา” วา่ ครง้ั หนงึ่ มพี ระดาบสอาศัยอย่ใู นศาลาใกลก้ ับ
ถ้าซ่งึ เป็นถน่ิ ทอ่ี ยู่ของกนิ นรตรงปากถา้ นัน้ มแี มงมุมใหญช่ กั ใยอย่คู อยดกั จับกนิ นรแลว้ กัดหัวดูดเลือดเป็นอาหาร
ขณะทีเ่ ผ่ากินนรตวั เลก็ ไมม่ ีกาลงั วงั ชา และไม่มนี า้ ใจอาจหาญจะไปตอ่ สู้กับสตั วร์ ้ายได้ จึงพากนั มาอ้อนวอน
ขอร้องพระดาบสให้ชว่ ยจัดการแมงมุมใหท้ ี แต่ทา่ นตอบปฏเิ สธเดด็ ขาด อ้างตนวา่ เป็นบรรพชิต ไม่อาจทาบาป
ฆ่าสัตวต์ ดั ชวี ติ ได้
พวกกนิ นรจงึ กลบั ไปวางแผนใหม่ คราวน้ีสง่ นางกนิ รวี ัยรุ่นชื่อรัตนาวดีมายว่ั ยวนจนดาบส “ตบะแตก”
ลืมคตธิ รรมที่ตง้ั ม่นั ไวแ้ ตเ่ ดิม ยอมบุกถา้ ลงมือตแี มงมมุ จนตาย จากน้ันพระดาบสจึงอย่กู ินกับนางรตั นาวดี
มลี กู หลานสืบตอ่ มาตราบสน้ิ อายุขัย
แบบบันทึกผลการเรียนรเู้ รอ่ื ง ย่อความ ตามเรอื่ ง
เลขที่ ชื่อ-สกลุ การบอก ผลการเรียนรู้ คะแนน
หลักการเขยี น การเขียนย่อ มีมารยาทในการ รวม
๑. เดก็ ชายวรุตม์ ใจกล้า ยอ่ ความได้ (K) ความจากเรื่องท่ี อ่าน (A)
๒. เดก็ ชายรพภี ทั ร เพิ่มเจรญิ อา่ นได้ (P) ๑๕
๓. เดก็ ชายศภุ วฒั น์ บญุ มี ๓ ๑๑
๔. เดก็ ชายพีรพงศ์ ชาสทุ ธสี ๒ ๑๒ คุณภาพ ๑๓
๕. เดก็ ชายทวิ านนท์ สังโสมา ๓ ๙ พอใช้ ๑๓
๖. เดก็ ชายธรี เมธ เทียบมาก ๒ ๑๐ ดี ๑๖
๗. เด็กชายนราธิป คะริบรมั ย์ ๓ ๑๑ พอใช้ ๑๔
๘. เด็กชายจรี ณะ ใจกล้า ๒ ๑๓ ดี ๑๕
๙. เด็กชายศิวกร พลภเู มือง ๓ ๑๒ ดี ๑๒
๑๐. เดก็ ชายบรรณวชิ ญ์ กรวดกระโทก ๒ ๑๒ ดี ๑๐
๑๑. เด็กหญิงขวัญภัสสรา กิรมั ย์ ๒ ๑๐ พอใช้ ๑๘
๑๒. เดก็ หญิงอจั ฉรา เจรญิ ศิริ ๓ ๘ พอใช้ ๑๘
๑๓. เดก็ หญิงชลดา บุตรสา ๓ ๑๕ ดี ๑๘
๑๔. เด็กหญิงชญานุช ดวงศรี ๓ ๑๕ ดี ๑๘
๑๕. เดก็ หญิงเพชรรดา ใจกล้า ๓ ๑๕ ดี ๑๗
๑๖. เด็กหญงิ ชัชฎาภรณ์ บตุ รงาม ๓ ๑๕ ดี ๑๖
๑๗. เด็กหญงิ นภัสสร สังขละเจดีย์ชยั ๓ ๑๔ ดี ๑๗
๑๘. เด็กหญิงธัญญามาศ การะเวก ๓ ๑๓ ดี ๑๓
๒ ๑๔ ดี ๑๓
๓ ๑๑ ดี ๑๓
๓ ๑๐ ดี
๑๐ ดี
ลงช่ือ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๕ มกราคม ๒๕๖๕
เกณฑก์ ารให้คะแนนผลการเรยี นรขู้ องนกั เรียน
รายการประเมนิ คะแนน
๓๒๑
หลักการเขยี นยอ่ ความ บอกหลักการเขยี น บอกหลักการเขียน บอกขน้ั ตอนการ
(๑. เขียนคานาตามประเภทของเร่ือง ๒. อ่าน ย่อความไดค้ รบ ๙ ยอ่ ความได้๕-๘ เขยี นอธิบายน้อยกวา่
เรื่องท้ังหมดอย่างละเอียด อาจจะอ่านถึง หลกั การ หลักการ ๕ หลักการ
๒-๓ เที่ยว เพื่อให้เข้าใจเรื่องโดยตลอด ๓.
ทาความเข้าใจศพั ท์ สานวนโวหารในเร่ือง ๔.
ถ้าเร่ืองที่จะย่อเป็นร้อยกรองต้องถอดคา
ประพันธ์เป็นร้อยแก้วก่อนจึงย่อ๕. สังเกต
ใจความสาคัญแล้วแยกออกเป็นตอน ๆ ๖.
สรรพนามบุรุษที่ ๑, ๒ ต้องเปลี่ยนเป็นสรรพ
นามบุรษุ ที่ ๓ หรอื เอ่ยชื่อ ๗. ถ้าคาเดิมเป็นคา
ราชาศัพท์ให้คงไว้ ๘. ข้อความที่เป็นคาพูดใน
เคร่ืองหมายอัญประกาศต้องเขียนใหม่ซึ่ง
เรียกว่าเปลี่ยนเลขในเป็นเลขนอก ๙. เร่ืองที่
ยอ่ ถา้ ไม่มีชอ่ื เร่ือง ผยู้ อ่ ตอ้ งต้งั ชือ่ เร่อื งเอง)
การเขียนคาข้ึนตน้ ระบสุ ว่ นประกอบ คา ระบุส่วนประกอบ คา ระบุสว่ นประกอบ คา
- ประเภทของสาร ขน้ึ ตน้ ได้ครบทุกขอ้ ขึ้นต้นขาดไป ๑-๒ ขึ้นตน้ ขาดไปมากกว่า
- ช่ือเรอื่ ง ขอ้ ๒ ขอ้
- ผูเ้ ขยี น
- แหล่งท่มี า
- คาวา่ ความวา่
การเขยี นเนื้อความ สรุปใจความสาคญั ได้ สรปุ ใจความสาคญั ได้ สรปุ ใจความสาคัญได้
ครบถว้ นชัดเจนโดย นาข้อความในเร่ือง ไม่ครบถ้วน
ใชภ้ าษาของตนเอง มาตดั ต่อกนั โดยใช้ และคดั ลอก
คาเชอ่ื มหรือข้อความ ขอ้ ความจากเนื้อ
บางตอน เร่ืองมาเรยี งต่อกนั
การเขียนสะกดคา เขยี นถูกต้องทุกคา เขียนผิด 1 - ๒ คา เขียนผดิ มากกวา่ ๓
(เขียนผิดซ้า ใหน้ ับเปน็ 1 คา) คาขึ้นไป
ความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย เขยี นไดต้ ามเกณฑ์ เขียนได้ตามเกณฑ์ ๑
- เขียนตัวอกั ษรอา่ นงา่ ย ครบ ๒ ข้อ ข้อ