The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 5.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sarisamimeew, 2022-04-29 00:18:07

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 5.2

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 5.2

รายการประเมิน ๓ คะแนน ๑

- สะอาดเรยี บร้อย ปฏิบัตติ ามมารยาท ไม่ปฏบิ ตั ติ าม
มารยาทในการเขยี น ในการเขียนครบทุก ไมป่ ฏิบตั ติ าม มารยาทในการเขียน
(เขียนด้วยตัวบรรจง,เขียนสะกดคาถกู ต้อง, มารยาทในการเขียน เกนิ ๓ ข้อปฏบิ ตั ิ
วางตาแหน่งตัวอักษรถูกต้อง, เขียนเวน้ วรรค ข้อปฏิบัติ ไมเ่ กนิ ๓ ข้อปฏบิ ัติ
ตอนถูกตอ้ ง, ใช้ภาษาท่สี ภุ าพถูกต้องตามหลัก
ภาษาไทย, ลบคาผิดอย่าง, กระดาษสะอาด
ไมย่ ับหรือฉกี ขาด, ใช้หมึกปากกาสีดาหรือสี
นา้ เงนิ )

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน ระดบั คุณภาพ

๓ ดี

๒ พอใช้

๑ ควรปรบั ปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖
กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๔ นิทานแสนสนุก เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาท)ี
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๖/๗ เรื่อง แสดงความรู้ สูช่ าวประชา ผู้สอน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรียนวัดบ้านไพบูลย์ เวลา ๐๘.๓๐ น.-๐๙.๓๐ น.
สอนวันที่ ๒๕ เดอื น มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕

๑. มาตรฐานและตัวชี้วัด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ
ความร้สู ึกในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

ตัวช้ีวัด ท ๓.๑ ป.๖/๔ พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีศึกษาคน้ ควา้ จากการฟัง การดู และ
การสนทนา

ท ๓.๑ ป.๖/๖ มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู

๒. สาระสาคญั
การพดู รายงานการศกึ ษาค้นควา้ คือการรายงานความรจู้ ากการคน้ ควา้ โดยวางแผนการพดู เปน็ ระบบ

อาจมีอปุ กรณ์เสริมเพิ่มความชัดเจน เชน่ รูปภาพ แผนภมู ิ ฯลฯ หรือมกี จิ กรรม เชน่ การเล่นเกม ฟงั เพลง การ
ซักถาม เพ่ือเพ่ิมความนา่ สนใจ นักเรียนควรเรียนรู้หลักการและข้อปฏิบัติในการพูดรายงานการศึกษาคน้ คว้า
ใหเ้ ข้าใจอย่างถ่องแท้ เพ่ือให้นกั เรียนสามารถพูดรายงานความรูไ้ ดอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม
๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้

เม่ือนักเรียนไดเ้ รยี นเร่ือง “แสดงความรู้ สู่ประชา” แล้วนกั เรยี นสามารถ
๑. บอกหลักการพดู รายงานการคน้ ควา้ ได้ (K)
๒. พูดรายงานการศึกษาคน้ ควา้ ได้ (P)
๓. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู (A)

๔. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ด้านองค์ความรู้ (Knowledge)
ความหมาย
การพูดรายงานการศกึ ษาค้นคว้า คือการรายงานความรู้จากการคน้ คว้า โดยวาง

แผนการพดู เป็นระบบ อาจมีอุปกรณ์เสริมเพิ่มความชดั เจน เชน่ รปู ภาพ แผนภมู ิ ฯลฯ หรอื มกี จิ กรรม เช่น
การเล่นเกม ฟังเพลง การซักถาม เพ่ือเพิ่มความนา่ สนใจ นอกจากนี้ การพดู รายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษา
คน้ คว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา ยงั เป็นวิธกี ารทีเ่ หมาะสาหรบั แลกเปลี่ยนความรู้ได้อีกด้วย

หลกั การพูดรายงาน
๑. เรมิ่ พูดรายงานด้วยการกล่าวนา เชน่ ทกั ทายผู้รว่ มงาน บอกจุดประสงค์ของการพูด
๒. พูดใหช้ ดั เจน ออกเสียงให้ถูกต้อง เสียงดงั พอประมาณ น้าเสียงน่มุ นวลนา่ ฟงั
๓. รายงานเรอื่ งตามลาดบั เน้ือหา ลาดบั ข้นั ตอน หรอื ลาดับเหตกุ ารณใ์ ห้ถูกต้องและต่อเน่อื ง
สมั พนั ธ์กัน
๔. ควรมแี หล่งอ้างอิงเพื่อความน่าเชือ่ ถือ และควรทาความเข้าใจเน้ือหาให้ถ่องแท้ เพ่ือ
ประโยชน์ในการอธบิ ายและตอบข้อซกั ถาม
๕. มบี คุ ลกิ ภาพที่ดี ยนื หรือน่ังอยา่ งสารวม
๖. รกั ษาเวลาในการพูดตามที่กาหนด ไม่พูดยืดเยื้อวกวน
๗. เมือ่ พูดรายงานจบ ควรเปดิ โอกาสให้ผ้ฟู ังซกั ถามหรือแสดงความคิดเห็น
๘. กลา่ วขอบคุณเมื่อไดร้ บั คาชมเชย หรือขอ้ คิดเห็นเรื่องตา่ งๆ
ข้อควรปฏบิ ัติในการพูดรายงาน
๑. พูดเสนอเนื้อหาสาระทีเปน็ ประโยชน์ เป็นขอ้ ๆ ชดั เจน ตรงประเดน็
๒. อาจมอี ปุ กรณ์ในการประกอบการพูดรายงาน เช่น เอกสาร รปู ภาพ แผนผัง แผนภมู ิ
๓. มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเรือ่ งท้ังหมดเปน็ อย่างดี
๔. มีท่าทางประกอบการพดู ที่เป็นธรรมชาติเพ่ือใหผ้ ้ฟู ังรู้สกึ ผอ่ นคลาย
๕. ใช้เวลาให้พอเหมาะ ถ้ามีการกาหนดเวลาไวล้ ว่ งหนา้ ตอ้ งรู้จักรักษาเวลา
๖. ควรหลกี เลีย่ งภาษาที่ไม่สุภาพเพื่อใหเ้ กียรตผิ ู้ฟงั
๔.๒ ด้านทักษะและกระบวนการ (Process)
ทักษะการพูดรายงาน
๔.๓ ด้านเจตคติ (Attitude)
มารยาทในการฟัง และการพูด

- ตงั้ ใจฟงั ตามองผู้พูด
- ไม่รบกวนผอู้ ่ืนขณะที่ฟัง
- ใหเ้ กยี รติผพู้ ูดดว้ ยการปรบมือ
- ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะทฟ่ี งั
๕. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขนั้ นา (๑๐ นาท)ี
๑. นกั เรียนทากิจกรรม “ใช่หรือไม่” ดงั น้ี
- ครนู าเสนอข้อความเกี่ยวกับการพูดรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และข้อความท่ีไม่
เกย่ี วกับการพูรายงานการศึกษาคน้ คว้า จานวน ๒๐ แถบข้อความ
- นกั เรยี นทกุ คนพจิ ารณาว่าข้อความใดคือหลกั การและข้อควรปฏบิ ัติในการพูด
รายงานการศึกษาคน้ คว้า

- นกั เรียนแตล่ ะคนเลือกแถบแผน่ ปูายท่ีคิดว่าถูกต้องคนละ ๓ แถบข้อความ
ขน้ั สอน (๔๐ นาที)

๑. ครเู ฉลยคาตอบพร้อมทงั้ อธิบายหลกั การและข้อปฏบิ ัติในการพดู รายงานการศกึ ษา โดย
ใชแ้ ถบข้อความ และยกตวั อย่างประกอบการอธิบาย

๒. นักเรยี นชมวดี ทิ ัศน์ การพูดรายงาน
๓. นักเรยี นบอกส่ิงที่ควรและไม่ควรปฏิบัตขิ องวีดิทศั น์ท่ีได้รับชมคนละ ๒ ขอ้
๔. นักเรยี นทากจิ กรรม “ศึกษา คน้ ควา้ รายงาน” ดงั นี้

- ครตู ิดแถบความรู้เร่ือง เพศศึกษา เทคนิคความสวย อาถรรพแ์ มวดา และซอี ยุ
มนษุ ยก์ ินคน ไวต้ ามจดุ ต่าง ๆ ภายในห้อง

- นกั เรียนจบั กลมุ่ ชาย-หญงิ
- นกั เรยี นแต่ละกลุ่มศกึ ษาความรูเ้ ก่ียวกับเร่ืองที่ครตู ดิ ไว้ตามจุดต่าง ๆ ตามความ
สนใจ
- นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มวางแผนการนาเสนอความรทู้ ี่ได้ศึกษามา
- นกั เรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาค้นควา้
ขนั้ สรปุ (๑๐ นาที)
นักเรียนชว่ ยกันตอบคาถามวา่ หลักการและข้อปฏบิ ัติในการพูดรายงานการศึกษาคน้ ควา้ มี
อะไรบา้ ง (แนวคาตอบ: ๑. เรมิ่ พดู รายงานดว้ ยการกลา่ วนา ๒. พดู ให้ชัดเจน ออกเสยี งให้ถูกต้อง เสยี งดงั
พอประมาณ น้าเสยี งน่มุ นวลน่าฟัง ๓. รายงานเรอื่ งตามลาดับเน้ือหา ลาดับขัน้ ตอน หรือลาดับเหตกุ ารณใ์ ห้
ถกู ต้องและต่อเนื่องสัมพนั ธ์กัน ๔. ควรมแี หลง่ อ้างอิงเพ่ือความน่าเชอื่ ถือ และควรทาความเข้าใจเนื้อหาให้ถ่อง
แท้ เพื่อประโยชน์ในการอธบิ ายและตอบข้อซักถาม ๕. มบี ุคลกิ ภาพท่ีดี ยืน หรอื นั่งอย่างสารวม ๖. รกั ษาเวลา
ในการพูดตามท่ีกาหนด ไม่พูดยดื เยอ้ื วกวน ๗. เม่ือพูดรายงานจบ ควรเปิดโอกาสใหผ้ ู้ฟงั ซกั ถามหรือแสดง
ความคดิ เห็น ๘. กล่าวขอบคุณเม่อื ไดร้ ับคาชมเชย หรือข้อคิดเหน็ เรือ่ งต่างๆ ๙. พูดเสนอเนอ้ื หาสาระทเี ป็น
ประโยชน์ เป็นขอ้ ๆ ชัดเจน ตรงประเดน็ ๑๐. อาจมีอุปกรณ์ในการประกอบการพูดรายงาน เชน่ เอกสาร
รูปภาพ แผนผงั แผนภมู ิ ๑๑. มีความรู้ความเขา้ ใจเรื่องทั้งหมดเปน็ อยา่ งดี ๑๒. มที า่ ทางประกอบการพูดทีเ่ ป็น
ธรรมชาติเพอ่ื ใหผ้ ู้ฟงั รสู้ กึ ผ่อนคลาย ๑๓. ใช้เวลาใหพ้ อเหมาะ ถ้ามีการกาหนดเวลาไว้ลว่ งหน้า ตอ้ งรู้จกั รักษา
เวลา ๑๔. ควรหลกี เล่ียงภาษาท่ไี ม่สภุ าพเพ่ือให้เกยี รตผิ ้ฟู ัง)
๖. ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้
๖.๑ แถบข้อความเก่ียวกับการพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าและข้อความท่ีไม่เก่ียวกับการพูรายงาน
การศึกษาคน้ ควา้
๖.๒ สอ่ื วดี ทิ ศั น์ การพูดรายงาน
๖.๓ ใบความรู้เรอื่ งเพศศกึ ษา เทคนิคความสวย อาถรรพแ์ มวดา และซอี ุย มนุษย์กินคน

๗. การวัดผลและประเมินผล วิธกี ารวดั เครือ่ งมอื ท่ใี ช้วัด เกณฑ์ผา่ น
สิ่งทจี่ ะวดั สงั เกตพฤติกรรมการตอบ ไดค้ ะแนนร้อยละ ๗๐ ขน้ึ
แบบสังเกตพฤติกรรมการ
๑. บอกหลักการพดู รายงาน คาถาม ตอบคาถาม ไป
การศึกษาค้นควา้ (K) สงั เกตพฤตกิ รรมการพูด ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๗๐ ขึ้น
รายงานการศึกษาค้นคว้า แบบสังเกตพฤติกรรมการ
๒. พดู รายงานการศึกษาคน้ ควา้ (P) พดู รายงานการศึกษา ไป
สงั เกตพฤติกรรมการพูด ค้นควา้
๓. มีมารยาทในการฟงั การดู และ รายงานการศึกษาคน้ คว้า ผา่ นเกณฑ์ในระดับ ดี ขึน้
การพูด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมการ ไป
มีมารยาทในการฟงั การดู

และการพูด

๘. บันทกึ ผลการจดั การเรียนรู้
๘.๑ ด้านการวางแผนการจัดการเรยี นรู้
ในการจดั การเรียนรจู้ รงิ ครไู ด้ปรับเปล่ยี นขั้นตอนการสอน เน่อื งจากเสียเวลาในตอนต้นคาบ

ไปในการทากิจกรรมของโรงเรียน ดังนั้น ครูจงึ ใหน้ กั เรยี นออกไปพดู แสดงความรู้หนา้ ชั้นเรียน
๘.๒ ดา้ นพฤตกิ รรมครู
ครูอธิบายความรหู้ ลายรอบ และยกตวั อย่าง เพ่ือใหน้ กั เรียนเขา้ ใจงา่ ยขน้ึ นอกจากนีค้ รูยัง

อธิบายเพม่ิ เติมและตอบคาถามท่ีนักเรยี นสงสยั เปน็ รายบุคคล
๘.๓ ด้านพฤตกิ รรมนักเรียนและผลการเรียนรู้
การมอบหมายใหน้ ักเรยี นแต่ละคนได้มีสว่ นรว่ มในการทากิจกรรมทาให้นักเรยี นได้ใช้ทกั ษะและ

ความสามารถของตนเอง และทาให้ครวู ดั และประเมินผลการเรียนรไู้ ดง้ า่ ยขน้ึ เพ่อื จะไดแ้ นะนา และอธิบายความรู้
เพิ่มเติมเปน็ รายบุคคลไดง้ ่ายขน้ึ

๘.๔ อปุ สรรค ปัญหา และข้อเสนอแนะ
ส่อื โทรทัศนม์ ปี ญั หาเรอื่ งสยี ง ทาให้นักเรียนฟังเสียงวีดิทัศน์ไม่ค่อยค่อยเข้าใจ แต่นักเรียนพอ

มีความรู้เดิมเก่ียวกับนิทานท่ีดูจึงทาให้นักเรียนพอเข้าใจเรื่องราว ดังน้ันครูควรหาลาโพงมาเชื่อมต่อ เพื่อให้ได้
ยินเสียงปกตแิ ละชดั เจน

ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๖ มกราคม ๒๕๖๕

แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นร้เู รอ่ื ง แสดงความรู้ สู่ประชา

เลข ชือ่ -สกลุ การบอกหลกั การ ผลการเรยี นรู้ มีมารยาทในการ คะแนน
ที่ พูดรายงาน พดู รายงาน ฟงั การดู และการ รวม
การศึกษาคน้ คว้า
การศึกษาคน้ คว้า พูด (A) ๙
(K) (P) ๕
๓ ๗
๑. เด็กชายวรตุ ม์ ใจกลา้ ๒ ๖ คุณภาพ ๕
๒. เด็กชายรพีภทั ร เพ่มิ เจรญิ ๗
๓. เดก็ ชายศุภวฒั น์ บญุ มี ๓ ๓ พอใช้ ๖
๔. เดก็ ชายพรี พงศ์ ชาสทุ ธสี ๒ ๖
๕. เด็กชายทิวานนท์ สังโสมา ๓ ๔ ดี ๕
๖. เด็กชายธรี เมธ เทียบมาก ๒ ๓ พอใช้ ๔
๗. เดก็ ชายนราธปิ คะริบรัมย์ ๓ ๔ ดี ๘
๘. เดก็ ชายจรี ณะ ใจกล้า ๒ ๔ ดี ๗
๙. เดก็ ชายศิวกร พลภูเมือง ๒ ๓ ดี ๘
๑๐. เด็กชายบรรณวชิ ญ์ กรวดกระโทก ๓ ๓ พอใช้ ๘
๑๑. เด็กหญงิ ขวญั ภัสสรา กิรมั ย์ ๓ ๒ พอใช้ ๘
๑๒. เด็กหญิงอัจฉรา เจรญิ ศิริ ๓ ๕ ดี ๗
๑๓. เดก็ หญงิ ชลดา บุตรสา ๓ ๔ ดี ๘
๑๔. เด็กหญิงชญานุช ดวงศรี ๓ ๕ ดี ๕
๑๕. เดก็ หญิงเพชรรดา ใจกลา้ ๓ ๕ ดี ๖
๑๖. เดก็ หญงิ ชัชฎาภรณ์ บตุ รงาม ๓ ๕ ดี ๖
๑๗. เด็กหญงิ นภสั สร สงั ขละเจดีย์ชยั ๒ ๔ ดี
๑๘. เด็กหญิงธัญญามาศ การะเวก ๓ ๕ ดี
๓ ๓ ดี
๓ ดี
๓ ดี

ลงชอื่ ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๕ มกราคม ๒๕๖๕

เกณฑ์การให้คะแนนผลการเรียนรูข้ องนกั เรียน

รายการประเมนิ คะแนน
๓๒๑

การบอกหลักการพดู รายงานการศกึ ษาค้นควา้ การบอกหลกั การ การบอกหลกั การ การบอกหลักการ

(๑. เริม่ พูดรายงานด้วยการกล่าวนา ๒. พดู ให้ชัดเจน พดู รายงาน พูดรายงาน พดู รายงาน

ออกเสียงให้ถูกต้อง เสยี งดังพอประมาณ น้าเสียง การศกึ ษาคน้ ควา้ การศกึ ษาค้นควา้ การศกึ ษาค้นควา้

นุ่มนวลน่าฟัง ๓. รายงานเรอื่ งตามลาดบั เนื้อหา ได้ ๑๐ ข้นึ ไป ได้ ๕-๑๐ ขอ้ ไดน้ ้อยกวา่

ลาดบั ขนั้ ตอน หรือลาดับเหตุการณ์ให้ถกู ต้องและ ๕ ขอ้

ต่อเนอ่ื งสมั พนั ธ์กัน ๔. ควรมีแหลง่ อ้างองิ เพอ่ื ความ

นา่ เชือ่ ถือ และควรทาความเข้าใจเนือ้ หาให้ถอ่ งแท้

เพ่อื ประโยชน์ในการอธิบายและตอบขอ้ ซักถาม

๕. มีบคุ ลิกภาพทดี่ ี ยืน หรือน่ังอย่างสารวม ๖.

รักษาเวลาในการพดู ตามท่ีกาหนด ไมพ่ ดู ยืดเย้อื

วกวน ๗. เม่ือพดู รายงานจบ ควรเปิดโอกาสใหผ้ ู้ฟงั

ซักถามหรือแสดงความคิดเห็น ๘. กลา่ วขอบคณุ เม่ือ

ได้รบั คาชมเชย หรือขอ้ คดิ เห็นเรือ่ งตา่ งๆ ๙. พูด

เสนอเน้อื หาสาระทีเปน็ ประโยชน์ เปน็ ขอ้ ๆ ชดั เจน

ตรงประเดน็ ๑๐. อาจมีอปุ กรณใ์ นการประกอบการ

พดู รายงาน เชน่ เอกสาร รปู ภาพ แผนผงั แผนภมู ิ

๑๑. มีความรคู้ วามเขา้ ใจเรื่องทงั้ หมดเป็นอยา่ งดี

๑๒. มีทา่ ทางประกอบการพดู ทเ่ี ป็นธรรมชาตเิ พ่ือให้

ผฟู้ ังรู้สกึ ผ่อนคลาย ๑๓. ใชเ้ วลาใหพ้ อเหมาะ ถา้ มี

การกาหนดเวลาไวล้ ว่ งหน้า ต้องรู้จกั รักษาเวลา ๑๔.

ควรหลีกเลี่ยงภาษาที่ไม่สุภาพเพอื่ ให้เกียรตผิ ู้ฟัง)

การพดู แสดงความรู้ พดู ทักทายผ้ชู มใน พูดทักทายผูช้ มใน พูดทักทายผู้ชมใน

๑. รูปแบบของการพูดรายงาน ช้นั เรยี น มีการ ชน้ั เรียน มกี าร ชัน้ เรยี น มกี าร

กล่าวแนะนาตนเอง กล่าวแนะนาตนเอง กลา่ วแนะนาตนเอง

บอกชื่อเร่ืองท่ี และมสี ่อื และมสี ือ่

รายงาน บอกท่ีมา ประกอบการ ประกอบการ

วิธีการดาเนินการ นาเสนอ แต่ไม่ได้ นาเสนอ แตไ่ ม่ได้

ศกึ ษาคน้ คว้า บอก บอกชื่อเรื่องที่ บอกชื่อเรื่องท่ี

ชอ่ื บุคคลหรือสถาน รายงาน ทมี่ า รายงาน ทมี่ า

รายการประเมิน คะแนน

๓๒ ๑
วธิ กี ารดาเนนิ การ
ทที่ ี่ให้ข้อมลู บอก วธิ กี ารดาเนินการ ศึกษาคน้ คว้า
ช่อื บคุ คลหรือ
เนอ้ื หา ศกึ ษาค้นควา้ สถานทีท่ ี่ให้ขอ้ มลู
เนื้อหาที่ศึกษา
ท่ีศกึ ษาค้นควา้ โดย ชือ่ บุคคลหรือ คน้ คว้าโดย
เรยี งลาดบั
เรยี งลาดับ สถานทที่ ใี่ ห้ข้อมลู ความสาคัญ และ
การสรุปผล
ความสาคัญ และมี เน้อื หาท่ีศึกษา การศกึ ษาค้นคว้า

สือ่ คน้ คว้าโดย

ประกอบการ เรียงลาดับ

นาเสนอ ตลอดจนมี ความสาคัญ และ

การสรุปผล การสรุปผล

การศึกษาคน้ คว้า การศกึ ษาคน้ คว้า

๒. ภาษา ใช้ภาษาทางการ ใชภ้ าษาทางการ ใช้ทง้ั ภาษาทางการ

มารยาทในการฟงั การดู และการพดู เข้าใจงา่ ย ไมพ่ ูด แตพ่ ูดวกวน ทาให้ และ
(มารยาทในการฟัง
- ฟงั อย่างตั้งใจ ตามองผู้พูด ไมค่ ยุ หรอื เล่นในขณะที่ วกวน ผฟู้ งั ภาษาพดู ทาให้
ฟัง
- ไม่แสดงกิรยิ าทีไ่ ม่เหมาะสม ทาให้ผูฟ้ งั เกดิ ความ เกดิ ความสับสน ผู้ฟงั
- ปรบมอื เพื่อเปน็ การให้เกยี รติผู้พดู ก่อนที่ผู้พดู จะ
พูด และหลงั จากท่ผี ้พู ูดพดู จบแลว้ สับสน เกดิ ความสบั สน
มารยาทในการพูด
- เตรยี มตัวให้พรอ้ มก่อนที่จะพดู ปฏบิ ตั ติ าม ไม่ปฏบิ ตั ติ าม ไมป่ ฏิบตั ิตาม
- ใช้น้าเสยี งที่นมุ่ นวล ไม่กระโชกโฮกฮาก และใช้
ถอ้ ยคาทีส่ ภุ าพ เหมาะสม มารยาทในการฟัง มารยาทในการฟัง มารยาทในการฟัง
- พดู เสียงดังฟังชดั และมองผู้ฟังอย่างทว่ั ถงึ
- กลา่ วคาขอโทษเม่ือพูดผดิ และกลา่ วคาขอบคุณ การดู และการพดู การดู และการพดู การดู และการพูด
เม่อื ไดร้ บั การยกยอ่ ง ชมเชย
มารยาทในการดู ครบทกุ ข้อปฏิบตั ิ ไมเ่ กนิ ๓ ข้อ เกิน ๓ ขอ้ ปฏิบัติ

ปฏบิ ัติ

รายการประเมิน ๓ คะแนน ๑

- ดูด้วยความตัง้ ใจ ไม่คยุ เลน่ ในขณะทดี่ ู
- ไมส่ ่งเสียงดัง หรือทาความราคาญให้กบั ผู้อ่ืน
- เมือ่ ตอ้ งเดนิ ผา่ นผู้อน่ื ที่กาลงั ดู ให้เดนิ อยา่ งสารวม
และระมัดระวังมิให้กระทบผู้อ่ืน)

เกณฑก์ ารประเมนิ

คะแนน ระดับคณุ ภาพ

๓ ดี

๒ พอใช้

๑ ควรปรบั ปรงุ

แผนการจัดการเรียนรู้ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖
กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๔ นทิ านแสนสนกุ เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาท)ี
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๗/๗ เรื่อง เล่าเฟอื่ ง เร่ืองนิทาน ผูส้ อน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรยี นวัดบ้านไพบลู ย์ เวลา ๐๘.๓๐ น.-๐๙.๓๐ น.
สอนวันท่ี ๒๖ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕

๑. มาตรฐานและตวั ชี้วัด
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณคา่
และนามาประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง

ตัวชวี้ ดั ท ๕.๑ ป.๖/๒ เลา่ นทิ านพ้นื บา้ นท้องถ่นิ ตนเอง และนิทานพ้ืนบา้ นของท้องถิ่นอื่น
๒. สาระสาคญั

นิทานพ้ืนบา้ น เปน็ เร่อื งราวจากจินตนาการแสดงความเชื่อของชาวบ้านที่เล่าสืบต่อกันมาในท้องถ่ินใด
ท้องถิ่นหน่ึงแต่อาจแพร่หลายไปในท้องถ่ินอ่ืน ๆ ใดภายหลัง ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอย่างหน่ึง นักเรียน
ควรเรียนรู้นิทานพ้ืนบ้านของภาคต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และเข้าใจวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของพื้นถิ่น
นั้น ๆ
๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

เม่ือนกั เรียนได้เรียนเร่ือง “เล่าเฟอ่ื ง เร่อื งนิทาน” แลว้ นกั เรียนสามารถ
๑. บอกความหมายของนทิ านพื้นบ้านได้ (K)
๒. เล่านทิ านพ้ืนบ้านได้ (P)
๓. เหน็ ความสาคญั ของนิทานพ้นื บา้ นแต่ละเรื่อง (A)

๔. สาระการเรยี นรู้
๔.๑ ด้านองค์ความรู้ (Knowledge)
นิทานพืน้ บา้ น เปน็ เร่ืองราวจากจนิ ตนาการแสดงความเช่ือของชาวบา้ นท่ีเล่าสบื ต่อกนั มาใน

ทอ้ งถนิ่ ใดท้องถ่ินหนงึ่ แตอ่ าจแพร่หลายไปในท้องถ่นิ อน่ื ๆ ใดภายหลัง ถอื เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมอยา่ งหนึง่
ในระดบั ชัน้ น้ี นกั เรยี นจะไดเ้ รียนนทิ นพ้ืนบ้านแต่ละภาค ดังน้ี
นิทานพน้ื บ้านภาคกลาง คือ ไกรทอง และเขานมนาง
นทิ านพื้นบา้ นภาคอสี าน คือ พญาคนั คาก
นทิ านพื้นบ้านภาคใต้ คือ เกาะหนู เกาะแมว
นิทานพน้ื บ้านภาคเหนอื คือ เมอื งลับแล

๔.๒ ดา้ นทักษะและกระบวนการ (Process)
ทักษะการเล่านทิ าน

๔.๓ ดา้ นเจตคติ (Attitude)
เห็นความสาคัญของนทิ านพ้นื บ้านแต่ละเรื่อง

๕. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขน้ั นา (๕ นาที)
๑. นกั เรยี นทากิจกรรม “เปดิ แผ่นปาู ยทายเร่ือง” ดงั น้ี
- ครูเขียนคาใบท้ ีน่ ่าสนใจเกยี่ วกบั นทิ านพน้ื บา้ นทัง้ ๔ เรอื่ ง
- ครูนาแผ่นปาู ยปดิ ไวบ้ นกระดานดา
- นกั เรียนเปาุ ยงิ้ ฉบุ แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ ฝุาย จากนั้นเปุายิ้งฉุบจัดลาดับการเล่น

โดยกลมุ่ ที่เปาุ ย้งิ ฉุบชนะจะไดเ้ ลน่ เกมกอ่ น
- นักเรียนกลุ่มที่ชนะเลือกแผ่นปูาย ๑ แผ่นปูาย จากน้ันเลือกหมายเลขในแผ่นปูาย

น้ัน ๆ เพอื่ ดคู าใบ้

๑๒ ๑๒๑๒๑๒

๓๔ ๓๔๓๔๓๔

- นักเรยี นพจิ ารณาคาใบ้ช่อื นทิ านพื้นบา้ น จากน้ันตอบชอ่ื นิทานพ้นื บา้ นน้ัน ๆ ที่คิด
ว่าถูกต้อง ถ้าเปิดหมายเลขใดแล้วตอบชื่อนิทานถูกจะได้คะแนนตามท่ีปรากฏบนคาใบ้นั้น ๆ แต่ถ้าตอบผิด
ผู้เลน่ อีกกลุม่ หน่งึ มีโอกาสตอบคาถามแทน ถา้ ตอบถกู กจ็ ะไดรับคะแนนน้นั ไป

- เมื่อเล่นรอบแรกจบ จากน้ันเริ่มเล่นรอบถัดไปโดยให้กลุ่มท่ีเปุาย้ิงฉุบแพ้เป็นฝุาย
เรมิ่ กอ่ น

- เมื่อเล่นครบทุกแผ่นปูายแล้วให้แต่ละกลุ่มนับคะแนนท่ีได้ กลุ่มใดได้คะแนนมาก
ทส่ี ุดจะเปน็ ผู้ชนะ

ขั้นสอน (๔๐ นาท)ี
๑. ครูอธบิ ายความหมายและความสาคัญของนิทานพ้นื บ้าน
๒. นกั เรียนทากจิ กรรม “จบั เข้าเลา่ เร่ือง” ดงั นี้
- นักเรียนแต่ละคนจบั สลากนทิ านพ้นื บ้านภาคต่าง ๆ
- นกั เรยี นแค่ละคนอา่ นและทาความเขา้ ใจนิทานพน้ื บ้านที่ตนจบั สลากได้
- นักเรยี นแต่ละคนออกมาเลา่ นิทานพ้ืนบ้านตามที่จบั สลากได้

ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ความรูเ้ ก่ยี วกบั การนิทานพน้ื บา้ น ดังนี้

- นิทานพ้นื บา้ น คือ อะไร (แนวคาตอบ: เร่ืองราวจากจินตนาการแสดงความเชอ่ื
ของชาวบา้ นทเ่ี ลา่ สืบต่อกันมาในท้องถิ่นใดท้องถ่ินหนง่ึ แต่อาจแพร่หลายไปในท้องถนิ่ อ่ืนๆ ใดภายหลัง ถอื เปน็
มรดกทางวฒั นธรรมอยา่ งหน่ึง)

- การเรยี นรู้นิทานพน้ื บา้ นภาคอื่น ๆ มีความสาคญั อยา่ งไร (แนวคาตอบ: ตามเจต
คติของนกั เรียน)
๖. ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้

๖.๑ แผน่ ปาู ยคาใบ้นทิ านพนื้ บ้าน
๖.๒ นิทานพ้นื บ้านทงั้ ๔ ภาค
๗. การวดั และการประเมินผล

ส่งิ ที่จะวัด วิธีการวัด เคร่อื งมือที่ใช้วดั เกณฑ์ผา่ น

๑. บอกความหมายของนทิ านพนื้ บา้ น (K) สงั เกตพฤตกิ รรมการ แบบสังเกตพฤติกรรม ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๗๐

ตอบคาถาม การตอบคาถาม ขึ้นไป

๒. เลา่ นิทานพืน้ บ้าน (P) สงั เกตพฤตกิ รรมการเลา่ แบบประเมนิ การเล่า ได้คะแนนรอ้ ยละ ๗๐

นทิ าน นทิ าน ขน้ึ ไป

๓. เห็นความสาคญั ของนทิ านพน้ื บา้ นแต่ สังเกตพฤตกิ รรมการ แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ในระดบั

ละเร่ือง (A) ตอบคาถาม การตอบคาถาม ดี ข้นึ ไป

๘. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้

๘.๑ ด้านการวางแผนการจดั การเรยี นรู้

ครอู อกแบบกจิ กรรมการเรยี นร้ใู หน้ ักเรียนได้เรยี นรูน้ ิทานอยา่ งหลากหลาย จากน้ันให้

นักเรียนเล่านทิ านทตี่ นรบั ผิดชอบใหเ้ พ่อื นฟงั

๘.๒ ดา้ นพฤตกิ รรมครู

ครคู อยให้คาแนะนาในการเล่านิทาน ตอนชว่ งท่นี ักเรียนฝกึ ซ้อมกอ่ นจะออกมาเล่านิทานใน

สถานการณจ์ ริง

๘.๓ ดา้ นพฤติกรรมนกั เรยี นและผลการเรียนรู้

นักเรียนตื่นเต้นท่ไี ดเ้ รยี นรู้นิทานอย่างหลากหลาย และนกั เรียนมกี ารพดู จาปรึกษาหารือกนั

ในชว่ งซ้อม

๘.๔ อปุ สรรค ปญั หา และข้อเสนอแนะ

นักเรยี นบางคนมีปัญหาการออกเสียงคาควบกลา้ ครจู ึงแนะนาใหฝ้ ึกพูดบ่อย ๆ

ลงช่ือ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๖ มกราคม ๒๕๖๕

แบบบันทึกผลการเรยี นรู้เรอ่ื ง เลา่ เฟื่อง เร่อื งนทิ าน

ผลการเรยี นรู้

การบอกความหมาย การเล่านทิ าน เหน็ ความสาคญั ของ คะแนน
นิทานพนื้ บา้ นแตล่ ะ รวม
เลขท่ี ชือ่ -สกลุ ของนิทานพืน้ บ้าน พื้นบ้าน (P
เรือ่ ง (A) ๑๕
(K) คณุ ภาพ ๙
พอใช้ ๑๐
๓ ๑๒ ๑๑
ดี ๑๓
๑. เดก็ ชายวรตุ ม์ ใจกลา้ ๒๗ พอใช้ ๑๒
๑๒
๒. เด็กชายรพีภัทร เพ่ิมเจรญิ ๒ ๘ ดี ๑๐
ดี ๘
๓. เด็กชายศุภวัฒน์ บุญมี ๑ ๑๐ ดี ๑๕
พอใช้ ๑๕
๔. เดก็ ชายพรี พงศ์ ชาสทุ ธสี ๓ ๑๐ พอใช้ ๑๕
ดี ๑๕
๕. เดก็ ชายทวิ านนท์ สงั โสมา ๒ ๑๐ ดี ๑๔
ดี ๑๓
๖. เด็กชายธรี เมธ เทยี บมาก ๒ ๑๐ ดี ๑๔
ดี ๑๑
๗. เด็กชายนราธปิ คะรบิ รมั ย์ ๒ ๑๐ ดี ๑๐
ดี ๑๐
๘. เดก็ ชายจีรณะ ใจกลา้ ๑๗ ดี
ดี
๙. เด็กชายศิวกร พลภูเมอื ง ๓ ๑๒ ดี

๑๐. เด็กชายบรรณวิชญ์ กรวดกระโทก ๒ ๑๓

๑๑. เดก็ หญงิ ขวัญภัสสรา กริ ัมย์ ๓ ๑๒

๑๒. เด็กหญงิ อจั ฉรา เจริญศริ ิ ๓ ๑๒

๑๓. เด็กหญิงชลดา บตุ รสา ๓ ๑๑

๑๔. เด็กหญงิ ชญานชุ ดวงศรี ๒ ๑๑

๑๕. เดก็ หญงิ เพชรรดา ใจกล้า ๓ ๑๑

๑๖. เด็กหญิงชชั ฎาภรณ์ บุตรงาม ๒ ๙

๑๗. เด็กหญิงนภสั สร สงั ขละเจดีย์ชยั ๒ ๘

๑๘. เดก็ หญิงธญั ญามาศ การะเวก ๒ ๘

ลงชอื่ ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๖ มกราคม ๒๕๖๕

เกณฑ์การใหค้ ะแนนผลการเรียนรขู้ องนกั เรียน

รายการประเมิน คะแนน
๓๒๑

การบอกความหมายของนทิ านพืน้ บ้าน บอกความหมายได้ บอกความหมาย บอกความหมาย

(นิทานพ้นื บ้าน เปน็ เรอื่ งราวจากจินตนาการ ถูกต้อง ครบ ถว้ น ถกู ต้องบางสว่ น ถกู ต้องบางสว่ น และ

แสดงความเชอื่ ของชาวบ้านท่ีเล่าสบื ต่อกนั มา และใชภ้ าษาเข้าใจ ใช้ภาษาเข้าใจ

ในท้องถิ่นใดทอ้ งถิ่นหนงึ่ แต่อาจแพร่หลายไป งา่ ย ค่อนข้างยาก

ในท้องถิน่ อน่ื ๆ ใดภายหลงั ถือเปน็ มรดกทาง

วฒั นธรรมอยา่ งหนงึ่ )

เลา่ นิทาน เนอื้ หาของนิทาน ขาดเนอ้ื หาบางสว่ น เพมิ่ เติมเนอ้ื หาขึน้ มา

๑. เน้อื ความ ถูกต้อง ครบถ้วน ไป ใหม่

๒. ลาดับเรื่องราว เลา่ เรือ่ งตามลาดับ ลาดับเรอ่ื งราว ลาดบั เร่อื งราว

สลบั กันบางช่วง สลับกนั ค่อนขา้ ง

หลายช่วง

๓. การออกเสยี ง พดู จาฉะฉาน ชดั เจน พูดจาชดั เจน แต่ ออกเสยี งคาไม่ค่อย

ออกเสยี ง ร ล ว ออกเสยี ง ร ล ว ไม่ ชดั เจน

ชัดเจน ค่อยชดั เจน

๔. การสรปุ ข้อคดิ บอกข้อคดิ สอดคลอ้ ง บอกข้อคดิ สอดคลอ้ ง บอกข้อคิดไมค่ ่อย

กบั เรอื่ ง พรอ้ มท้งั ยก กับเรือ่ ง แต่ไม่ยก สอดคลอ้ งกบั เรื่อง

สถานการณ์ประกอบ สถานการณป์ ระกอบ

เหน็ ความสาคัญของนทิ านพื้นบา้ นแตล่ ะ บอกความสาคญั ของ บอกความสาคัญของ บอกความสาคัญของ

เรอื่ ง นิทานพน้ื บ้านแตล่ ะ นทิ านพน้ื บ้านแต่ละ นิทานพื้นบ้านแตล่ ะ

เรื่องได้ ๓ ข้อขึ้นไป เรอื่ งได้ ๒-๓ ข้อ เร่ืองได้น้อยกวา่ ๒

ขอ้

เกณฑก์ ารประเมิน

คะแนน ระดบั คุณภาพ
๓ ดี

๑ พอใช้
ควรปรบั ปรงุ

นิทานพืน้ บ้านภาคเหนอื
เมอื งลับแล

เมืองลับแลเป็นอาเภอเล็ก ๆ แห่งหนึ่งในจังหวัดอุตรดิตถ์ แต่เดิมคงเป็นเมืองที่การเดินทางไปมาไม่
สะดวก เส้นทางคดเคี้ยว ทาให้คนที่ไม่ชานาญทางพลัดหลงได้ง่าย จนได้ชื่อว่าเมืองลับแล ซ่ึงแปลว่า มองไม่
เหน็ มเี รือ่ งเลา่ กันว่าคนมบี ญุ เทา่ นนั้ จงึ จะได้เขา้ ไปถึงเมืองลับแล

มีตานานเล่าว่า คร้ังหน่ึงมีชายคนหน่ึงเข้าไปในปุา ได้เห็นหญิงสาวสวยหลายคนเดินออกมา
คร้ันมาถงึ ชายปาุ นางเหล่านั้นก็เอาใบไม้ท่ีถือมาไปซ่อนไว้ในที่ต่าง ๆ แล้วก็เข้าไปในเมืองด้วยความสงสัย ชาย
หนุ่มจงึ แอบหยิบใบไม้มาเกบ็ ไว้ใบหนงึ่ ตกบา่ ยหญิงสาวเหล่าน้ันกลับมา ต่างก็หาใบไม้ท่ีตนซ่อนไว้ คร้ันได้แล้ว
ก็ถือใบไม้น้ันเดินหายลับไป มีหญิงสาวคนหน่ึงหาใบไม้ไม่พบ เพราะชายหนุ่มแอบหยิบมา นางวิตกเดือดร้อน
มาก

ชายหนุ่มจึงปรากฏตัวให้เห็นและคืนใบไม้ให้ โดยมีข้อแลกเปล่ียนคือขอติดตามนางไปด้วย
เพราะปรารถนาจะได้เห็นเมืองลับแล หญิงสาวก็ยินยอม นางจึงพาชายหนุ่มเข้าไปยังเมืองซึ่งชายหนุ่ม
สงั เกตเหน็ วา่ ทงั้ เมืองมีแตผ่ หู้ ญงิ นางอธบิ ายว่า คนในหมู่บ้านน้ี ล้วนมีศีลธรรม ถือวาจาสัตย์ ใครประพฤติผิดก็
ต้องออกจากหมู่บ้านไป ผู้ชายส่วนมากมักไม่รักษาวาจาสัตย์จึงต้องออกจากหมู่บ้านกันไปหมด แล้วนางก็พา
ชายหนุ่มไปพบมารดาของนาง ชายหนุ่มเกิดความรักใคร่ในตัวนางจึงขออาศัยอยู่ด้วย มารดาของหญิงสาวก็
ยนิ ยอมแต่ให้ชายหนมุ่ สัญญาว่าจะตอ้ งอย่ใู นศีลธรรม ไม่พูดเท็จ ชายหนุ่มได้แต่งงานกับหญิงสาวชาวลับแลจน
มบี ุตรชายด้วยกนั ๑ คน

วันหนึง่ ขณะท่ภี รรยาไมอ่ ยบู่ ้าน ชายหนมุ่ ผ้เู ลย้ี งบุตรอยู่ บตุ รนอ้ ยเกดิ ร้องไห้หาแม่ไม่ยอมหยุด
ผู้เป็นพ่อจึงปลอบว่า "แม่มาแล้ว ๆ" มารดาของภรรยาได้ยินเข้าก็โกรธมากท่ีบุตรเขยพูดเท็จ เม่ือบุตรสาว
กลับมาก็บอกให้รู้เรื่อง ฝุายภรรยาของชายหนุ่มเสียใจมากที่สามีไม่รักษาวาจาสัตย์ นางบอกให้เขาออกจาก
หมู่บา้ นไปเสีย แลว้ นางก็จดั หาย่ามใสเ่ สบียงอาหารและของใชท้ ี่จาเป็นให้สามี พร้อมท้ังขุดหัวขม้ินใส่ลงไปด้วย
เปน็ จานวนมาก

จากนน้ั ก็พาสามไี ปยงั ชายปาุ ช้ที างใหแ้ ลว้ นางก็กลับไปเมอื งลับแล ชายหนุ่มไม่รู้จะทาอย่างไร
ก็จาต้องเดิน ทางกลับบ้านตามที่ภรรยาชี้ทางให้ ระหว่างทางที่เดินไปนั้น เขารู้สึกว่าถุงย่ามที่ถือมาหนักข้ึน
เร่ือย ๆ และหนทางก็ไกลมาก จึงหยิบเอาขมิ้นท่ีภรรยาใส่มาให้ท้ิงเสียจนเกือบหมด ครั้นเดินทางกลับไปถึง
หมูบ่ า้ นเดมิ บรรดาญาตมิ ติ รตา่ งก็ ซกั ถามว่าหายไปอย่ทู ไ่ี หนมาเปน็ เวลานาน ชายหนุ่มจึงเล่าให้ฟังโดยละเอียด
รวมทั้งเรื่องขม้ินที่ภรรยาใส่ย่ามมาให้แต่เขาท้ิงไปเกือบหมด เหลืออยู่เพียงแง่งเดียว พร้อมทั้งหยิบขม้ินท่ี
เหลืออย่อู อกมา

ปรากฏว่าขมิ้นน้ันกลับกลายเป็นทองคาท้ังแท่ง ชายหนุ่มรู้สึกแปลกใจและเสียดาย จึง
พยายามย้อนไปเพอื่ หาขมนิ้ ท่ีท้ิงไว้ ปรากฏว่าขม้ินเหล่านั้นได้งอกเป็นต้นไม้หมดแล้ว และเมื่อขุดดูก็พบแต่แง่ง
ขม้ินธรรมดาที่มสี เี หลอื งทองแต่ไม่ใชท่ องเหมือนแง่งที่เขาไดไ้ ป เขาพยายามหาทางกลบั ไปเมืองลับแล แต่ก็หลง
ทางวกวนไปไม่ถูก จนในทส่ี ดุ ก็ต้องละความพยายามกลบั ไปอยู่หมู่บ้านของตนตาม

นิทานพน้ื บ้านภาคอีสาน
พญาคันคาก

"คันคาก" ในภาษาอีสานท่ีแปลว่า "คางคก" เร่ือง "พญาคันคาก" อันเป็นต้นกาเนิดของประเพณีบุญ
บ้ังไฟ ซง่ึ เปน็ บญุ เดอื นหกในฮตี สบิ สองคองสบิ ส่ีของชาวอีสาน

ณ เมืองชมพู พระนางสีดา มเหสีของพญาเอกราชผู้ครองเมือง ได้ให้กาเนิดโอรสลักษณะแปลก
ประหลาด คือผิวกายเหลืองอรา่ มด่ังทองคา แตเ่ ปน็ ตุ่มตอเหมือนผิวคางคก คนทั้งหลายจึงขนานนามพระกุมาร
ว่า ท้าวคันคาก ซึ่งคันคาก แปลวา่ คางคก

เม่ือเติบใหญ่ขึ้น พระกุมารประสงค์จะได้พระชายาที่มีสิริโฉมงดงาม แต่พญาเอกราชได้ห้ามปรามไว้
ด้วยทรงอับอายในรูปกายของท้าวคันคาก แต่ท้าวคันคากก็ไม่ย่อท้อ ได้ต้ังจิตอธิษฐานขอพรจากพระอินทร์
ด้วยบุญบารมีแต่ชาติปางก่อนของท้าวคันคาก พระอินทร์จึงเนรมิตปราสาทพร้อมท้ังประทานนางอุดรกุรุทวีป
ผู้เปน็ เน้อื ค่ใู หเ้ ป็นชายา ส่วนท้าวคันคากเอง ก็ถอดรูปกายคันคากออกให้ กลายเป็นชายหน่มุ รปู งาม

พญาเอกราชยินดีกับพระโอรส จึงสละราชบัลลังก์ให้ครองเมืองต่อ ทรงพระนามว่า พญาคันคาก
พญาคันคากต้ังอยูใ่ นทศพิธราชธรรม มเี ดชานุภาพเปน็ ทเ่ี ล่อื งลอื จนเมอื งน้อยใหญ่ต่างมาสวามิภักดิ์ แต่ก็ทาให้
มีผู้เดือดร้อน คือพญาแถน ผู้อยู่บนฟากฟูา เพราะมนุษย์หันไปส่งส่วยให้พญาคันคากจนลืมบูชาพญาแถน จึง
แกล้งงดส่ังพญานาคให้ไปให้น้าในฤดูทานา ทาให้เกิดความแห้งแล้ง ข้าวยากหมากแพง ชาวเมืองจึงไปร้องขอ
พญาคันคากให้ชว่ ย

พญาคันคากจึงเกณฑ์กองทัพสัตว์มีพิษท้ังหลาย ได้แก่ มด ผึ้ง แตน ตะขาบ กบ เขียด เป็นอาทิ
ทาทางและยกทัพขึ้นไปสู้กับพญาแถน โดยส่งมดปลวกไปกัดกินศัตราวุธของพญาแถนท่ีตระเตรียมไว้ก่อน ทา
ให้เมื่อถึงเวลารบ พญาแถนไม่มีอาวุธ แม้จะร่ายมนต์ ก็ถูกเสียงกบ เขียด ไก่ กา กลบหมด เสกงูมากัดกินกบ
เขยี ด ก็โดนรุ้ง (แปลว่าเหย่ียว) ของพญาคันคากจับกิน ท้ังสัตว์มีพิษก็ยังไปกัดต่อยพญาแถนจนต้องยอมแพ้ใน
ท่สี ุด

พญาคันคากจงึ เร่มิ เจรจาต่อพญาแถน ขอให้เมตตาชาวเมือง ประทานฝนตามฤดูกาลทุกปี พญาแถน
แสร้งว่าลืม พญาคนั คากจงึ ทูลเสนอวา่ จะใหช้ าวบา้ นจดุ บัง้ ไฟขึน้ มาเตอื น พญาแถนกเ็ หน็ ชอบด้วย

ตง้ั แต่นั้นเป็นต้นมา ทุก ๆ เดือนหกซึ่งเปน็ ชว่ งเรมิ่ ฤดทู านา ชาวอีสานจึงมีประเพณีบุญบั้งไฟเพื่อบูชา
พญาแถน เพ่ือจะไดอ้ านวยความสะดวกตลอดฤดูเพาะปลูก และเมื่อพญาแถนประทานฝนลงมาถึงพื้นโลกแล้ว
บรรดากบเขยี ดคางคกที่เป็นบรวิ ารของพญาคนั คาก กจ็ ะร้องประสานเพื่อแสดงความขอบคุณตอ่ พญาแถน

นิทานพ้นื บา้ นภาคใต้
เกาะหนูเกาะแมว

นานมาแล้วมีพ่อค้าจีนคนหน่ึงคุมเรือสาเภาจากเมืองจีนมาค้าขายท่ีเมืองสงขลา เม่ือขายสินค้า
หมดแล้ว จะซ้ือสินค้าจากสงขลากลับไปเมืองจีนเป็นประจา วันหนึ่งขณะท่ีเดินซื้อสินค้าอยู่น้ัน พ่อค้าได้เห็น
หมากบั แมวคู่หน่ึงมีรปู รา่ งหนา้ ตานา่ เอน็ ดู จึงขอซื้อพาลงเรอื ไปดว้ ย

หมากบั แมวเม่อื อยูใ่ นเรอื นาน ๆ กเ็ กิดความเบ่อื หน่ายและอยากจะกลบั ไปอยู่บา้ นที่สงขลา จึงปรึกษา
หาวิธีการที่จะกลับบ้าน หมาได้บอกกับแมวว่าพ่อค้ามีดวงแก้ววิเศษท่ีใครเกาะแล้วจะไม่จมน้า แมวจึงคิดที่จะ
ได้แกว้ วิเศษน้นั มาครอบครอง จึงไปข่มขู่หนใู หข้ โมยใหแ้ ละอนุญาตให้หนหู นขี ึน้ ฝ่ังไปด้วย

คร้ันเรือกลับมาท่ีสงขลาอีกคร้ังหนึ่ง หนูก็เข้าไปลอบเข้าไปลักดวงแก้ววิเศษของพ่อค้าโดยอมไว้ใน
ปาก แลว้ ทัง้ สาม ได้แก่ หมา แมว และหนู หนลี งจากเรือว่ายนา้ จะไปขน้ึ ฝ่งั ท่ีหนา้ เมืองสงขลา ขณะที่ว่ายน้ามา
ด้วยกัน หนูซึ่งว่ายน้านาหน้ามาก่อนก็นึกขึ้นได้ว่าดวงแก้วท่ีตนอมไว้ในปากนั้นมีค่ามหาศาล เมื่อถึงฝ่ังหมากับ
แมวคงแย่งเอาไป จึงคิดท่ีจะหนีหมากับแมวข้ึนฝ่ังไปตามลาพัง ดวงแก้วจะได้เป็นของตนเองแต่เพียงผู้เดียว
ตลอดไป แตแ่ มวท่วี า่ ยตามหลังมากค็ ดิ จะได้ดวงแก้วไว้ครอบครองเช่นกัน จึงว่ายน้าตรงรี่เข้าไปหาหนู ฝุายหนู
เห็นแมวตรงเข้ามาก็ตกใจกลัวแมวจะตะปบจึงว่ายหนีสุดแรงและไม่ทันระวังตัวดวงแก้ววิเศษท่ีอมไว้ในปากก็
ตกลงจมหายไปในทะเล

เมอ่ื ดวงแก้ววิเศษจมนา้ ไปทง้ั หนูและแมวตา่ งหมดแรงไม่อาจว่ายน้าต่อไปได้ สัตว์ท้ังสองจึงจมน้าตาย
กลายเปน็ "เกาะหนูเกาะแมว" อยู่ท่ีอ่าวหน้าเมืองสงขลา ส่วนหมาก็ตะเกียกตะกายว่ายน้าไปจนถึงฝ่ัง แต่ด้วย
ความเหน็ดเหนอื่ ยจึงขาดใจตายกลายเป็นหินเรียกว่า "เขาตังกวน" เป็นภูเขาต้ังอยู่ริมอ่าวสงขลา ส่วนดวงแก้ว
วเิ ศษที่หลน่ จากปากหนูก็แตกแหลกละเอียดเป็นหาดทราย เรียกสถานท่ีน้ีว่า "หาดทรายแก้ว" ตั้งอยู่ทางเหนือ
ของอ่าวสงขลา

นทิ านพนื้ บา้ นภาคกลาง
ไกรทอง

ชาละวันเปน็ จระเขเ้ จ้า อาศัยอยู่ในถ้าทองใต้บาดาล ในถา้ ทองจระเข้ จะกลายร่างเปน็ คนได้ ชาละวนั
ตอนกลายร่างเปน็ คนจะเปน็ หนุม่ รูปงาม โดยชาละวันเองมเี มยี สาวสวยเป็นนางจระเข้ 2 ตัวคือ วิมาลา และ
เล่อื มลายวรรณ ชาละวนั เป็นหลานชายของ ท้าวราไพ ผู้เป็นจระเข้เจา้ ท่ีอยใู่ นศลี ธรรม ไมเ่ คยจับสัตวห์ รื
อมนุษย์กนิ เป็นอาหารและจะกินแตซ่ ากสตั วท์ ่ตี ายแล้วเป็นอาหารเท่านนั้ ชาละวันแมอ้ ยู่ในถา้ ทองจะอ่มิ ทพิ ย์
ไมต่ ้องกินเน้ือ แตด่ ้วยความมีนสิ ัยท่เี ปน็ อนั ธพาล จงึ ชอบมาเมอื งบนตามแมน่ า้ ลาคลอง จบั คนที่เปน็ ชาวบ้าน
และสัตวก์ ินเพื่อความสนกุ สนาน

ณ หมูบ่ า้ นดงเศรษฐี แขวงเมืองพิจติ ร มพี ่ีน้องฝาแฝดค่หู นงึ่ มีความงามเป็นทเ่ี ล่ืองลือ ชอ่ื นางตะเภา
แก้ว ผ้พู ่ี และนางตะเภาทองผ้นู ้อง ทง้ั สองเปน็ บตุ รเศรษฐีคา และคุณนายทองมา วันหน่ึงนางตะเภาแก้วและ
นางตะเภาทองได้ลงไปเล่นน้าทที่ า่ หนา้ บา้ น ชว่ งเวลานน้ั เจ้าชาละวัน ซ่งึ เป็นจระเข้ได้ออกมาวา่ ยน้าหาเหย่ือ

เมื่อได้เห็นนางตะเภาทอง กล็ ุ่มหลงในความงาม จงึ โผลข่ น้ึ เหนอื นา้ เข้าไปคาบนางตะเภาทองแล้วดาดิง่ ไปยังถา้
ทอง อนั เป็นท่ีอยูข่ องเจา้ ชาละวัน

เมยี ของชาละวัน คอื วมิ าลา และเลือ่ มลายวรรณ เหน็ ก็ไม่พอใจแต่กห็ ้ามสามีไม่ได้ เพราะเกรงกลัวจงึ
ตอ้ งยอมให้ผวั มเี มียเปน็ มนุษย์อกี คน เม่อื นางตะเภาทองฟื้นขน้ึ มาเจ้าชาละวันกเ็ กี้ยวพาราสี แตน่ างตะเภาทอง
ก็ไม่สนใจ เจ้าชาละวนั จึงจาต้องใชเ้ วทมนตรส์ ะกดให้นางตะเภาทองหลงรกั และยอมเป็นภรรยาตง้ั แตน่ ัน้ มา

เศรษฐคี าและคุณนายทองมาโศกเศรา้ เสยี ใจเปน็ อย่างมาก ทนี่ างตะเภาทองบุตรสาวคนเล็กถกู เจ้าชา
ละวันคาบไป และคิดวา่ บตุ รสาวตนคงตายไปแลว้ ด้วยความรักในบตุ รสาวและความแค้นในเจา้ ชาละวัน จึง
ประกาศออกไปวา่ ใครทพ่ี บศพนางตะเภาทอง และสามารถปราบจระเข้ตวั นีไ้ ด้จะมอบสมบตั ขิ องตนเองให้
คร่ึงหนง่ึ และจะใหแ้ ต่งงานกับนางตะเภาแกว้ ดว้ ย

แต่กไ็ มม่ ีหมอจระเข้คนไหนสามารถปราบเจา้ ชาละวันได้ นอกจากกลายเปน็ เหยื่อของเจา้ ชาละวันคน
แล้วคนเล่า จนในทีส่ ุดก็มชี ายหน่มุ รูปงามนามว่า ไกรทอง ซ่ึงไดร้ ่าเรยี นวิชาการปราบจระเขจ้ ากอาจารยค์ ง จน
มีความเก่งกลา้ ได้อาสามาปราบเจ้าชาละวัน แตอ่ าจารย์คงร้วู ่าเจา้ ชาละวันเปน็ พญาจระเขม้ อี านาจมาก และ
หนังเหน่ยี ว ฆ่าฟนั ไม่ตาย เน่อื งจากมีเขีย้ วเพชรทาให้อยู่ยงคงกระพนั จงึ ได้มอบหอกสัตตโลหะ , เทยี นระเบดิ
นา้ เสื้อยนั ตแ์ ละลูกประคาปลุกเสก แก่ไกรทอง

รุง่ เช้าต้ังพิธีบวงสรวงพร้อมอา่ นคาถา ทาใหเ้ จาั ชาละวันเกิดรอ้ นลุ่มตอ้ งออกจาก ถ้าขึ้นมาตอ่ สู้กับไกร
ทอง ไกรทองกระโดดขน้ึ บนหลงั จระเข้ และแทงด้วยหอกสัตตโลหะ ทาใหอ้ าคมของเข้ียวเพชรเสือ่ ม หอกได้
ท่ิมแทงเจ้าชาละวนั จนบาดเจ็บสาหสั และได้หนกี ลับไปที่ถ้า แต่ไกรทองก็ใช้เทียนระเบิดนา้ ตามไปต่อสูอ้ ีกใน
ถา้

ระหว่างท่เี ข้าไปในถ้าไกรทองก็พบกบั วมิ าลา เมยี ของชาละวัน ด้วยความเจ้าชูจ้ งึ เกี้ยวพาราสี นางวิ
มาลาจนนางใจอ่อนยอมเป็นชู้ และบอกทางไปช่วยนางตะเภาทอง

ไกรทองตามมาต่อสู้กับเจา้ ชาละวนั ในถา้ ต่อจนเจ้าชาละวันตาย และไกรทองก็ได้พานางตะเภาทอง
กลับขน้ึ มา เศรษฐีดีใจมากจึงจดั งานแตง่ งานให้ไกรทองกับนางตะเภาแก้ว พร้อมมอบสมบัตใิ หค้ รง่ึ หนง่ึ แถม
นางตะเภาทองให้อกี คน ไกรทองจอมเจา้ ชู้ก็รับไว้ ด้วยความยินดี

แต่ยังไมจ่ บแคน่ ้ันดว้ ยความเจ้าช้ขู องไกรทองแมช้ าละวันตายไป ไกรทองกย็ ังหลงรสรักกับนางวมิ าลา
จึงไปหาสทู่ ี่ถ้าทอง และคิดจะพานางวิมาลาไปอยู่กนิ ด้วย โดยทาพธิ ีทาใหน้ างยังคงเป็นมนุษย์แม้ออกนอกถ้า
ทอง นางตะเภาแก้วและนางตะเภาทองจบั ไดว้ ่า สามีไปมาหาส่นู างจระเข้ จึงไปหาเรอ่ื งกับนางในรา่ งมนุษยจ์ น
นางวมิ าลาทนไม่ไหวกลบั ร่างเป็นจระเข้และไกรทองต้องออกไปหา้ มไม่ให้เมยี ตีกนั และอาลาจากนางวมิ าลา
ดว้ ยใจอาวรณ์

นทิ านพ้ืนบา้ นภาคกลาง
เขานมนาง

ตานานเร่ืองบางนางบวช เกิดในเขตจังหวัดสุพรรณบุรีและอ่างทอง กล่าวกันว่าครั้งหน่ึง มีหญิงงาม
ชอ่ื พมิ สรุ าลัย มรี ปู รา่ งหน้าตาสวยงามเป็นทห่ี มายปอง ของบรรดาชายหน่มุ หลายคนชายหนมุ่ เหล่าน้ันพยายาม
แย่งชิงนาง จนเกิดเป็นเรื่องราวทะเลาะวิวาทกันทาให้นางพิมสุราลัยไม่พอใจ ในที่สุดนางก็ตัดสินใจหนีเข้าไป
อยู่ในปุาตามลาพัง ทามาหากินด้วยการปลูกข้าวและทอผ้า แต่เคราะห์กรรมยังตามไปถึงในปุา มีพรานปุาคน
หน่ึงชอื่ ตาลนี นท์ ไดเ้ หน็ นางเขา้ และเกิดความรกั ตาลนี นท์เป็นคนมีเวทมนตร์จาแลงแปลงกายได้ จึงแปลงกาย
เปน็ งเู ขา้ ไปแอบซอ่ นอยูใ่ นกระท่อมของนางพมิ สรุ าลัย

ครั้นนางเข้าไปในกระท่อม งูแปลงก็เล้ือยเข้าไปรัดนางไว้ นางพิมสุราลัยตกใจจึง คว้ามีดฟันงูนั้นจน
ตาย เมื่อสิ้นชีวิตเวทยม์ นตรก์ ็เสอื่ มลงรา่ งของงูจึงกลบั คนื เปน็ พรานปุา นางพิมสรุ าลัยร้ตู วั ว่าฆ่าคนตายก็มีความ
ตกใจและเสียใจมาก

นางคิดแค้นใจว่า ความสวยงามของนางเป็นเหตุให้เกิดเรื่องเดือดร้อนต่าง ๆ จน ต้องหนีมาอยู่ในปุาก็
ยังไม่พ้น จึงคว้าเอามีดมาตัดนมท้ังสองข้างขว้างท้ิงไป กลายเป็นเขา 2 ลูก ชื่อ "เขานม" นางอยู่ในจังหวัด
สุพรรณบุรี จากน้ันนางก็ซัดเซพเนจรไป ตามลาพังในกลางปุา ตกค่าก็อาศัยนอนในวัด วัดท่ีนางพิมสุราลัยไป
อาศัยนอนนั้น ต่อมาได้ช่ือว่า "วัดนางนอน" ท้ายที่สุด นางก็ได้ไปบวชอยู่บนเขาแห่งหน่ึง เขาน้ันจึง ได้ชื่อว่า
"เขาบางนางบวช"

นอกจากนั้น ยังมีหมู่บ้านในแขวงเมืองอ่างทองท่ีเล่ากันว่านางเคยไปถือศีลอยู่ ช่ือว่า "บ้านไผ่"จาศีล
สว่ นบา้ นเดมิ ของนางพมิ สุราลัยท่จี ังหวัดสพุ รรณบุรีนั้น ปจั จุบันชอื่ "บ้านเดิมบาง"


Click to View FlipBook Version