แผนการจัดการเรยี นรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๔
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๑ สนกุ สนานกับการเล่น เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑/๖ เรื่อง รจู้ กั คา นาเร่อื ง ผูส้ อน นางสาวสาริสา เสาโร
โรงเรยี นวดั บ้านไพบลู ย์ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
สอนวันท่ี ๑ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. ความคดิ รวบยอด
การเรียนรคู้ าศัพทจ์ ากบทอ่านเรื่อง สนุกสนานกับการเล่น เป็นการเรียนรู้ความหมายของคาศัพท์เพ่ือ
เพ่ิมพูนความรู้ความเข้าใจ ทาให้มีคาศัพท์สะสมไว้ใช้ในการพัฒนาทักษะอื่น เช่น การอ่านออกเสียง
การเขียนคาศพั ท์ การแต่งประโยค เป็นต้น นกั เรยี นควรฝกึ อ่าน ทาความเข้าใจความหมายของคาศัพท์ รวมถึง
ฝึกแต่งประโยคจากคาศัพท์ จะทาให้นักเรียนสามารถอ่านคาศัพท์ได้ถูกต้อง และสามารถแต่งประโยคจาก
คาศัพทไ์ ดเ้ หมาะสมกบั บริบท และเป็นพืน้ ฐานในการเรียนเรอ่ื งสนุกสนานกับการเล่นตอ่ ไป
๒. มาตรฐานและตัวชว้ี ัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ
ดาเนนิ ชีวิต และมนี ิสยั รกั การอ่าน
ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๔/๒ อธิบายความหมายของคา ประโยค และสานวนจากเร่อื งท่ีอา่ น
ท ๑.๑ ป.๔/๘ มมี ารยาทในการอา่ น
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ
ตวั ชว้ี ัด
ท ๔.๑ ป.๔/๑ สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทตา่ ง ๆ
ท ๔.๑ ป.๔/๔ แตง่ ประโยคไดถ้ ูกต้องตามหลกั ภาษา
๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้
เมื่อนกั เรยี นเรียนเรือ่ ง “รูจ้ ักคานาเร่ือง” แลว้ นกั เรียนสามารถ
๑. บอกความหมายของคาศพั ท์ทก่ี าหนดให้ได้ถกู ต้อง (K)
๒. อา่ นออกเสียงคาศพั ท์ท่ีกาหนดให้ได้ถูกต้อง (C)
๓. เขียนสะกดคาศพั ท์และคาอ่านของคาศัพท์ท่ีกาหนดให้ได้ถูกต้อง (C)
๔. แต่งประโยคไดถ้ กู ตอ้ ง (C)
๕. มมี ารยาทในการอา่ น (A)
๔. สาระการเรียนรู้
องคค์ วามรู้ (Knowledge)
คาศัพท์บทท่ี ๙ เรอ่ื ง สนุกสนานกบั การเลน่ จานวน ๒๐ คา ดงั นี้
คาศัพท์ คาอ่าน ความหมาย
โกลาหล โก-ลา-หน ว่นุ วาย
จานบิน จาน-บิน วตั ถุบิน ลักษณะคลา้ ยจาน ๒ ใบควา่ ประกบกัน เช่อื กนั วา่
เป็นยานอวกาศทมี่ าจากดาวดวงอ่นื
ดนิ สอพอง ดนิ -สอ-พอง ดินชนดิ หนึง่ มสี ขี าวใช้อยา่ งแป้ง
ทอด ทอด อาการท่ีปลอ่ ยส่งิ ที่เปน็ เม็ดหลาย ๆ เมด็
ปฏิภาณ ปะ-ติ-พาน ลงกบั พน้ื อยา่ งเบามอื เช่น ทอดเมด็ น้อยหน่า
ไหวพริบ
ประสานสมั พันธ์ ประ-สาน-สา-พัน เชอื่ มความผกู พัน
พลกิ แพลง พลกิ -แพลง เปล่ยี นแปลงไปจากปรกติ
พงั พาบ พัง-พาบ อาการท่นี อนคว่า หน้าเชิด
มนุษยอ์ วกาศ มะ-นุด-อะ-วะ-กาด คนท่ีฝกึ จนชานาญเพอ่ื เดินทางออกนอกบรรยากาศของโลก
เมด็ เม็ด ส่วนภายในของผลไม้ท่เี พาะเปน็ ตน้ ข้ึนได้ หรือเรยี กว่า เมล็ด
ลกู ข่าง ลูก-ขา่ ง ของเล่นเป็นลกู กลม ๆ มีเดือย ใชป้ ่ันให้หมนุ ดว้ ยมือหรือเชอื ก
สมดลุ สม-ดนุ ,สะ-มะ-ดนุ เสมอกัน, เทา่ กนั
หมากเก็บ หมาก-เก็บ การเล่นของเด็กใชเ้ มด็ กรวดหรือเมด็ ผลไมข้ นาดเล็กโยนแล้ว
เกบ็ มวี ธิ เี ลน่ และกติกาตา่ ง ๆ
ประมาณ ประ-มาน กะหรือคะเนให้ใกลเ้ คียงจานวนจริงหรอื ให้พอเหมาะพอควร
โฆษณา โคด-สะ-นา เผยแพรข่ ้อความออกไปยังสาธารณชน, ป่าวร้อง,ปา่ ว
คอมพิวเตอร์ คอม-พิว-เต้อ ประกาศ
เคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าท่ีเสมือนสมองกล
ใช้สาหรบั แก้ปญั หาตา่ ง ๆ ทัง้ ท่งี ่ายและซับซ้อน
สนทนา สน-ทะ-นา คยุ กัน,ปรกึ ษาหารือกนั
ยุติ ยุด-ติ ตกลง,จบ,เลกิ
สุขภาพ สกุ -ขะ-พาบ ภาวะท่ปี ราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็
ปรากฏ ปรา-กด สาแดงออกมาให้เห็น
ด้านสมรรถนะ (Competency)
๑) ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ หมายถึง การระบุเร่ืองหรือปัญหา จาแนกแยกแยะ เปรียบเทียบ
ข้อมูลเพื่อจัดกลุ่มอย่างเป็นระบบ ระบุเหตุผลหรือเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูล และตรวจสอบข้อมูลหรือ
หาข้อมลู เพม่ิ เติมเพอ่ื ให้เพยี งพอในการตดั สินใจ/แก้ปญั หา/คิดสรา้ งสรรค์
๒) ทักษะการแต่งประโยค คือ การเรียบเรียงคาให้ได้ใจความ โดยมีส่วนประกอบ
คือ ภาคประธาน และภาคเเสดง
๓) ทักษะการอ่านออกเสียง คือ ความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียงในเร่ือง
การประสม พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ การอ่านคาที่มีตัวสะกดและไม่มีตัวสะกด โดยเรียงพยัญชนะ สระ
วรรณยุกต์และตัวสะกด ให้เป็นคาอยา่ งถกู ตอ้ ง อ่านไดถ้ ูกต้องตามอักขรวธิ ี
๔) ทักษะการเขียนสะกดคา คือ ความสามารถในการเขียนคาศัพท์ใหม่ในบทเรียนที่
กาหนดใหไ้ ดถ้ ูกตอ้ งตามหลักภาษาไทยดว้ ยความคล่องแคล่วว่องไว
๕) ทักษะกระบวนการกลุ่ม คือ ความสามารถในการแบ่งภาระหน้าที่รับผิดชอบหรือ
ช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกันภายในกล่มุ ท่คี รูมอบหมายใหไ้ ด้
ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Attributes)
มีมารยาทในการอ่าน โดยนักเรียนมีสมาธิในการอ่าน และอ่านอย่างตั้งใจไม่มีพฤติกรรม
รบกวนผอู้ ่ืนขณะอ่าน
๕. กระบวนการจดั การเรียนรู้
๕.๑ การเชือ่ มโยงความรู้เดิมกบั ความรใู้ หม่
๑) ครูต้ังประเดน็ คาถามกระตุ้นความคดิ ของนักเรยี น ดังนี้
- การเรียนรู้คาศัพท์มีความสาคัญอย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน:
ทาใหเ้ ราอา่ นคาศัพท์ไดถ้ ูกต้อง, ทาใหเ้ ราเขยี นคาศัพทไ์ ดถ้ ูกต้อง , ทาให้เราเข้าใจความหมายของคาศัพท)์
- การท่เี รารู้ความหมายของคาศัพท์มีประโยชนอ์ ย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของ
นักเรยี น: ทาให้เราอา่ นหนงั สอื ไดค้ ลอ่ งแคลว่ , ทาใหเ้ ข้าใจเรอ่ื งท่อี า่ น และทาใหเ้ ราเลอื กใชค้ าไดถ้ ูกต้อง)
๒) นักเรียนและครูร่วมกันกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ในวันน้ี คือ การเรียนรู้คาศัพท์ใหม่ใน
บทเรียน เพ่ือให้สามารถอ่านและเขยี นคาศัพท์ได้ถูกต้อง เข้าใจความหมายของคาและสามารถนาคาศัพท์ไปใช้
ในชวี ิตประจาวนั ได้
๕.๒ การกระต้นุ ใหเ้ กดิ ความขัดแยง้ ทางปญั ญาและปฏบิ ัตภิ ารกจิ การเรียนรู้
๑) นกั เรียนเล่นเกม “ถอดรหสั คาศพั ทป์ รศิ นา” โดยมขี น้ั ตอนในการเล่นเกม ดงั นี้
- นกั เรียนแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ ๗ กลมุ่ กลุ่มละเทา่ ๆ กนั
- นกั เรียนดูคาศัพท์ท่สี ลบั ตัวอักษรบนโปรแกรมเพาเวอร์พอยท์และให้นักเรียนแต่ละ
กลุ่มช่วยกนั ทายว่าเป็นคาศพั ทใ์ ดจากคาศัพท์ในบทเรยี น
ตัวอยา่ งคาศัพท์ปริศนา
- กลมุ่ ทท่ี ายคาศพั ทจ์ ากภาพได้ถกู ต้องจะไดร้ บั คะแนน ๑ คะแนน
- กลุ่มที่ไดค้ ะแนนมากทีส่ ดุ จะเป็นฝา่ ยชนะ
๒) นักเรียนเลน่ เกม “ถอดรหสั คาศัพท์ปริศนา”
๓) นักเรยี นอ่านคาศัพท์และคาอ่านทั้งหมดจากบทอ่านเร่ือง สนุกสนานกับการเล่น โดยอ่าน
๑ คาและปรบมือสองครัง้ เป็นจงั หวะไปเรอื่ ย ๆ จนครบทุกคา ประกอบด้วยคาศัพท์ ดงั น้ี
คาที่ คาศพั ท์ คาอา่ น คาท่ี คาศพั ท์ คาอา่ น
๑ โกลาหล โก-ลา-หน ๑๑ ลูกขา่ ง ลกู -ข่าง
๒ จานบิน จาน-บิน ๑๒ สมดลุ สม-ดนุ ,สะ-มะ-ดนุ
หมาก-เก็บ
๓ ดนิ สอพอง ดนิ -สอ-พอง ๑๓ หมากเก็บ ประ-มาน
โคด-สะ-นา
๔ ทอด ทอด ๑๔ ประมาณ คอม-พวิ -เต้อ
สน-ทะ-นา
๕ ปฏิภาณ ปะ-ติ-พาน ๑๕ โฆษณา ยดุ -ติ
สกุ -ขะ-พาบ
๖ ประสานสัมพนั ธ์ ประ-สาน-สา-พนั ๑๖ คอมพวิ เตอร์ ปรา-กด
๗ พลกิ แพลง พลกิ -แพลง ๑๗ สนทนา
๘ พังพาบ พงั -พาบ ๑๘ ยตุ ิ
๙ มนุษยอ์ วกาศ มะ-นุด-อะ-วะ-กาด ๑๙ สุขภาพ
๑๐ เมด็ เมด็ ๒๐ ปรากฏ
๕.๓ การสร้างและแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง และขยายแนวคิดที่หลากหลาย
๑) นกั เรยี นทากจิ กรรม “จบั คูร่ ู้ความหมาย” โดยครูชีแ้ จงขน้ั ตอนในการทากจิ กรรม ดังน้ี
- นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ จะได้รับบตั รคาความหมายของคาศัพทจ์ ากกิจกรรม
“ถอดรหสั คาศพั ทป์ รศิ นา” บนกระดาน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มจะต้องนาบัตรคาความหมายของคาไปติดไว้ข้างใต้คาศัพท์บน
กระดานให้ถูกตอ้ ง
- นักเรยี นและครูรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ต้องของคาศัพท์และความหมายของคา
๒) นักเรียนอ่านออกเสียงคาศัพท์และความหมายของคาศัพท์บนกระดานพร้อมกันจนครบ
ทุกคา
๓) ครสู มุ่ คาศัพท์ใหน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ ออกมาเขียนคาอ่าน โดยกลุ่มที่เขียนได้ถูกต้องจะได้รับ
คะแนน ๑ คะแนน
๕.๔ การสร้างความเข้าใจของตนเองและกลุ่ม โดยการสะท้อนความคิด และสรปุ องคค์ วามรู้
๑) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ในประเด็นการเรียนรู้คาศัพท์และความหมายของ
คาศัพท์ โดยการตอบคาถาม ดงั นี้
- การฝึกอ่านและเขียนคาศัพท์มีประโยชน์อย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของ
นกั เรยี น : ทาให้รูจ้ กั คาศัพทม์ ากขึน้ , ทาให้อา่ นและเขยี นคาศัพท์ไดถ้ กู ตอ้ ง)
- การเรยี นรคู้ วามหมายของคาศัพทม์ ปี ระโยชนอ์ ย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของ
นักเรียน : ทาใหร้ คู้ วามหมายของคาศัพท์ , ทาให้เขา้ ใจเรอ่ื งราวที่อ่าน , ทาให้เราเลือกใช้คาได้ถูกต้อง)
๒) นักเรียนทาแบบฝึกหัดกิจกรรมท่ี ๑-๓ จากเอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระ
การเรยี นร้ภู าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ เลม่ ๒ หน้า ๖
๓) ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนจานวน ๑ - ๒ คน มานาเสนอแบบฝึกหัดของตนเองหน้าช้ันเรียน
เพ่อื เปน็ การเฉลยคาตอบ
๔) เพอ่ื นนักเรียนนาเสนอความคดิ เหน็ ของตนเองเพ่ิมเติมในความคดิ ทแี่ ตกต่าง
๖. ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
๑) บตั รคาศัพท์จานวน ๒๐ คา
๒) บัตรคาความหมายของคาศัพท์ จานวน ๒๐ คา
๓) ส่อื การสอนเพาเวอร์พอยท์
๔) หนงั สอื เรียน ภาษาพาที ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔
๕) เอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เลม่ ๒ หน้า ๖
๗. การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการวดั เคร่อื งมอื ที่ใช้วดั เกณฑผ์ า่ น
สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ผลการประเมิน
ส่งิ ท่ตี ้องการวดั การตอบคาถาม อยู่ในระดบั ดี ขึ้นไป
๑. บอกความหมายของคาศัพท์ที่ สังเกตพฤตกิ รรม การตอบคาถาม ผลการประเมิน
กาหนดให้ได้ การอ่านออกเสยี ง แบบสังเกตพฤติกรรม อยใู่ นระดบั ดี ข้ึนไป
๒. อ่านออกเสียงคาศัพท์ท่ีกาหนดให้ ตรวจแบบฝึกหัด การอา่ นออกเสียง ได้คะแนนตง้ั แต่
ได้ กิจกรรมที่ ๑-๒ ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป
๓. เขียนสะกดคาศัพท์และคาอ่านของ ตรวจแบบฝึกหัด แบบฝึกหัด ได้คะแนนตง้ั แต่
คาศพั ทท์ ่ีกาหนดใหไ้ ด้ถกู ต้อง กิจกรรมที่ ๑-๒ รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป
๔. แตง่ ประโยคได้ถกู ต้อง กิจกรรมที่ ๓ ผลการประเมนิ
สงั เกตพฤติกรรม แบบฝึกหดั
๕. เห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ กจิ กรรมที่ ๓
แบบสงั เกตพฤติกรรม
สิ่งทีต่ ้องการวัด วธิ กี ารวัด เครอ่ื งมือท่ีใช้วัด เกณฑผ์ ่าน
คาศพั ท์ใหมใ่ นบทเรียน การตอบคาถาม การตอบคาถาม อยู่ในระดบั ดี ขน้ึ ไป
๖. มีมารยาทในการอา่ น สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม
ผลการประเมิน
การอา่ น การอา่ น อยู่ในระดับ ดี ข้นึ ไป
๘. บันทึกผลการจดั การเรียนรู้
๘.๑ ดา้ นการวางแผนการจดั การเรียนรู้
ในการจัดการเรียนการสอนจรงิ ครดู าเนนิ การสอนตามลาดับข้ันทอ่ี อกแบบไว้ คอื นักเรียน
เลน่ เกมทายคาในชว่ งเตรยี มความพร้อม และศึกษาความหมายของคาศัพท์จากหนังสือเอง จากนั้นทากิจกรรม
เกมเพื่อทบทวนความรู้ท่ีได้ศึกษามา พร้อมทั้งทาใบกิจกรรมเพื่อทดสอบความรู้ และในลาดับสุดท้าย ครู
ออกแบบให้นักเรียนทุกคนอ่านออกเสียงพร้อมกัน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าวเปิดโอกาสให้
นักเรียนแตล่ ะคนมสี ว่ นรว่ มในการเล่นเกมกันทกุ คนทาใหน้ ักเรยี นรูส้ ึกสนกุ และสนใจการเล่นมากขึน้
๘.๒ ดา้ นพฤติกรรมครู
ครพู ดู เสยี งดัง ฟังชดั เพือ่ ใหน้ กั เรยี นไดย้ นิ เสยี งคาศพั ทไ์ ดอ้ ย่างชดั เจน เมอ่ื นกั เรียนเดา
คาศพั ท์ไม่ได้ ครกู ็จะใบ้ความหมายใหน้ ักเรียนเข้าใจได้เร็วขึน้
๘.๓ ดา้ นพฤตกิ รรมนักเรียนและผลการเรยี นรู้
นกั เรยี นสนุกสนานกบั การเล่นเกมทายคาศัพท์ท่ีต้องแข่งกบั เวลา และการเลน่ เกมบงิ โก
คาศัพท์ นักเรียนเรียนรู้และทาความเข้าใจความหมายของคาศัพท์ในหนังสือเอง ทาให้จดจาความหมายของ
คาศพั ท์ไดม้ ากขนึ้
๘.๔ อปุ สรรค ปญั หา และข้อเสนอแนะ
ในข้ันนา ครูควรนักเรียนทายคาศัพท์มากกว่านี้ เพราะนักเรียนช่ืนชอบและสนุกกับการทาย
คาศัพทม์ าก นกั เรียนท่อี ่านหนงั สอื ยังไม่คล่องรคู วรหาแนวทางชกั ชวนใหน้ ักเรียนมาฝกึ อา่ นเพิม่ เติมใหไ้ ด้
ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
แบบบนั ทกึ ผลการเรียนรู้เร่อื ง เรยี นรคู้ า จาเรือ่ งราว
ผลการเรยี นรู้
เลข ชอื่ -สกลุ บอกความหมายของคา ัศพท์ คะแน
ที่ ี่ทกาหนดให้ นรวม
อ่านออกเสียงคา ัศพ ์ทท่ี
กาหนดให้
เ ีขยนสะกดคาศัพ ์ทและคา
อ่านของคาศัพท์ ่ีทกาหนด
แ ่ตงประ ูถโกย ้ตคไองด้ ูถกต้อง
เห็นประโยชน์ของการ
เรียนรู้คาศัพ ์ทให ่มใน
บทเรียน
มีมารยาทในการ ่อาน
๓ ๓ ๑๐ ๑๐ คุณภาพ คุณภาพ ๒๕
๑. เด็กชายภมู ภิ ัทร ใจกลา้ ๑๒ ๗ ๖ พอใช้ พอใช้ ๑๖
๒. เดก็ ชายประเสริฐ จันทร์ดามขุ ๑๑ ๕ ๕ พอใช้ พอใช้ ๑๒
๓. เด็กชายเตชินท์ พวงดาว ๓๓ ๘๘ ดี ดี ๒๒
๔. เดก็ ชายสรรชัย สุนประโคน ๑๑ ๕ ๕ ควรปรับปรุง ควรปรบั ปรงุ ๑๒
๕. เดก็ ชายชัยภทั ร เกดกนั หา ๑๑ ๖ ๖ ควรปรับปรงุ ควรปรับปรุง ๑๔
๖. เด็กชายนนทพัทธ์ ศรีประโคน ๓๓ ๙๙ ดี ดี ๒๔
๗. เดก็ ชายภานวุ ฒั น์ ขวัญเมือง ๑๑ ๕ ๕ ควรปรับปรุง ควรปรบั ปรงุ ๑๒
๘. เดก็ ชายอตวิ ชิ ญ์ ศรีสวา่ ง ๒๒ ๗ ๗ พอใช้ พอใช้ ๑๘
๙. เด็กชายอดศิ ร ยอดรักษ์ ๑๑ ๕ ๕ ควรปรบั ปรุง ควรปรับปรงุ ๑๒
๑๐. เด็กชายณัฐภูมิ การะเกศ ๒๒ ๗ ๗ พอใช้ พอใช้ ๑๘
๑๑. เดก็ ชายธรี ศักดิ์ จันทร์เพยี ง ๑๑ ๕ ๕ ควรปรับปรงุ ควรปรบั ปรุง ๑๒
๑๒. เดก็ ชายภูวดล ศริ สิ วสั ดิ์ ๒๒ ๖ ๖ พอใช้ พอใช้ ๑๖
๑๓. เด็กชายธีรธรณ์ ประกายแก้ว ๓๓ ๘๘ ดี ดี ๒๒
๑๔. เด็กชายเทพฤทธ์ิ ศรีอนงค์ ๑๑ ๕ ๕ ควรปรับปรงุ ควรปรับปรุง ๑๒
๑๕. เด็กหญิงธนั ยพร ใจกล้า ๒๒ ๖ ๖ พอใช้ พอใช้ ๑๖
๑๖. เด็กหญงิ ปรณั ญา บุตรวัง ๓๓ ๘๘ ดี ดี ๒๒
๑๗. เด็กหญิงกมลวรรณ นาอุดม ๓๓ ๘๘ ดี ดี ๒๒
๑๘. เดก็ หญิงกัญญาภร เขือดประโคน ๓ ๓ ๘๘ ดี ดี ๒๒
๑๙. เด็กหญงิ ธญั ชนก สานกั นติ ย์ ๑๑ ๖ ๖ ควรปรับปรงุ ควรปรับปรงุ ๑๔
๒๐. เดก็ หญิงกญั ญาณฐั ใจกลา้ ๒๒ ๗ ๗ พอใช้ พอใช้ ๑๘
๒๑. เด็กหญงิ ณธดิ า สบื สาย ๒๒ ๗ ๗ พอใช้ พอใช้ ๑๘
ผลการเรยี นรู้
เลข ชอื่ -สกลุ บอกความหมายของคา ัศพท์ คะแน
ที่ ี่ทกาหนดให้ นรวม
อ่านออกเสียงคา ัศพ ์ทท่ี
กาหนดให้
เ ีขยนสะกดคาศัพ ์ทและคา
อ่านของคาศัพท์ ่ีทกาหนด
แ ่ตงประ ูถโกย ้ตคไองด้ ูถกต้อง
เห็นประโยชน์ของการ
เรียนรู้คาศัพ ์ทใหม่ใน
บทเรียน
มีมารยาทในการ ่อาน
๓ ๓ ๑๐ ๑๐ คณุ ภาพ คณุ ภาพ ๒๕
๒๒. เด็กหญิงนรี ชา ทิพยร์ อด ๓๓ ๘๘ ดี ดี ๒๒
๒๓. เด็กหญงิ นิชา ทิพยร์ อด
๒๔. เดก็ หญิงสธุ ิมา ปัญญาใส ๓๓ ๘๘ ดี ดี ๒๒
๒๕. เดก็ หญิงอโนมา พวงดาว
๒๖. เด็กหญงิ อลินลดา เสนห่ ์ดี ๑๑ ๖ ๖ ควรปรับปรุง ควรปรับปรงุ ๑๔
๒๒ ๖ ๖ พอใช้ พอใช้ ๑๖
๒๒ ๗ ๗ พอใช้ พอใช้ ๑๘
ลงชือ่ ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
เกณฑ์การใหค้ ะแนนผลการเรยี นรูข้ องนักเรียน
ประเด็นการประเมนิ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
๑. บอกความหมายของ
คาศัพทท์ ี่กาหนดให้ได้ ๓๒๑๐
๒. อา่ นออกเสียงคาศัพทท์ ี่
กาหนดให้ได้ นักเรยี นสามารถ นกั เรยี นสามารถ นกั เรยี นสามารถ
๓. การเขยี นสะกดคา
บอกความหมายของ บอกความหมายของ บอกความหมายของ
๔. การแตง่ ประโยค
คาศัพทไ์ ด้ถกู ต้อง คาศัพท์ได้ถูกตอ้ ง คาศัพทไ์ ดถ้ กู ต้อง
๕. การเหน็ คุณคา่ ของการ
เรียนรแู้ ละการเข้าใจ ตง้ั แต่ ๑๖ คาขึน้ ไป ๑๓-๑๕ คา นอ้ ยกวา่ ๑๓ คา
ความหมายของคาศัพท์
๖. มีมารยาทในการอา่ น อา่ นออกเสียง อ่านออกเสียง อ่านออกเสียง
คาศัพทไ์ ดถ้ กู ตอ้ งทุก คาศัพท์ไมถ่ ูกต้อง คาศัพทไ์ ม่ถูกตอ้ ง
คา ๒-๓ คา มากกวา่ ๔ คา
นกั เรยี นสามารถ นกั เรยี นเขียนสะกด
เขียนสะกดคา คาคาศัพท์ท่ี
คาศัพท์ท่ีกาหนดให้
กาหนดใหไ้ ม่ถูกต้อง
ได้ถูกตอ้ ง
นักเรยี นสามารถนา นกั เรียนแต่ง
คาทก่ี าหนดให้มา ประโยคไม่ได้
แตง่ ประโยคได้
บอกคุณคา่ ของการ บอกคุณคา่ ของการ
เรียนรแู้ ละการ เรยี นรู้และการ ครบถ้วนตาม
เข้าใจความหมาย เขา้ ใจความหมาย ส่วนประกอบของ
ของคาศัพท์ได้ ของคาศัพท์ได้ ๒
ประการ ประโยค
มากกวา่ ๓ ประการ ขาดคณุ ลักษณะ - มีใจความสมบรู ณ์
๑. มีสมาธใิ นการ เหมาะสมกบั บริบท
อา่ นอา่ นอย่างตงั้ ใจ ข้อใดขอ้ หนึ่งจาก ๓ - ลายมอื สวยงาม
๒. ไมม่ ีพฤติกรรม ขอ้ บอกคณุ ค่าของการ
เรียนรู้และการ
เขา้ ใจความหมาย
ของคาศัพท์ได้น้อย
กว่า ๒ ประการ
ขาดคณุ ลักษณะ
๒ ข้อจาก ๓ ข้อ
ประเด็นการประเมนิ ๓ เกณฑ์การให้คะแนน ๐
รบกวนผ้อู ื่นขณะ ๒๑
อ่าน
๓. น่ังอ่านหรือยนื
อ่านในท่าทางสภุ าพ
เกณฑ์การประเมนิ
คะแนน ระดับคณุ ภาพ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรปรบั ปรุง
แผนการจัดการเรยี นรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ สนกุ สนานกบั การเลน่ เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๒/๖ เร่ือง สนกุ สนานกับการเล่น ผู้สอน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรยี นวัดบา้ นไพบูลย์ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
สอนวนั ที่ ๒ เดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. ความคดิ รวบยอด
การอ่านจับใจความ คือ การอ่านท่ีมุ่งจับประเด็นหรือใจความสาคัญของเร่ืองที่อ่านซ่ึงมักจะเป็น
การอ่านในใจ การอา่ นจับใจความจากงานเขียนต่าง ๆ เช่น วรรณคดี บทความ บทโฆษณา งานเขียนประเภท
โน้มน้าวใจ ขา่ วและเหตุการณ์ประจาวัน นอกจากจะตอ้ งเขา้ ใจสาระสาคญั ของเร่อื งแล้ว เพ่ือให้ได้รับประโยชน์
และมีประสทิ ธภิ าพในการอ่านมากย่ิงข้ึน ควรฝกึ ความสามารถในการอ่านเพิ่มเติม คือ การแยกแยะข้อเท็จจริง
การแสดงความคดิ เห็น และการนาความรู้และข้อคดิ จากเรอ่ื งที่อา่ นไปใชใ้ นการดาเนินชวี ิต
บทเรียนเรื่องสนุกสนานกับการเล่น เป็นการเล่าถึงวิธีการเล่นที่แตกต่างกันของสมัยนี้กับสมัยก่อน
โดยมีแทนและพ่อเป็นผู้ถ่ายทอดเร่ืองราว ในเรื่องน้ีนักเรียนจะได้รู้จักและเรียนรู้วิธีการเล่นแบบต่าง ๆ เช่น
การเล่นลากกาบหมาก เดินกะลา อีตัก นักเรียนควรเรียนรู้เร่ืองสนุกสนานกับการเล่น จะทาให้นักเรียนเข้าใจ
เรื่องราว สามารถนาความรู้ที่ไดไ้ ปใช้ในชีวิตประจาวนั และเห็นคุณคา่ ของเร่ืองท่ีอ่าน
๒. มาตรฐานและตัวชีว้ ดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน
การดาเนินชวี ิต และมนี ิสยั รักการอ่าน
ตัวช้วี ดั
ท ๑.๑ ป.๔/๓ อ่านเร่ืองสั้น ๆ ตามเวลาทกี่ าหนดและตอบคาถามจากเรอ่ื งท่อี า่ น
ท ๑.๑ ป.๔/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรือ่ งท่ีอา่ นโดยระบุเหตผุ ลประกอบ
ท ๑.๑ ป.๔/๖ สรุปความรู้หรือข้อคิดจากเร่ืองทีอ่ ่านเพ่ือนาใชใ้ นชีวติ ประจาวัน
ท ๑.๑ ป.๔/๘ มมี ารยาทในการอ่าน
๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
เม่อื นักเรยี นเรยี นเรอ่ื ง “สนุกสนานกบั การเลน่ ” แล้วนกั เรียนสามารถ
๑. สรปุ เร่ืองสนุกสนานกับการเลน่ ได้ (K)
๒. บอกขอ้ คิดจากเรอ่ื งสนุกสนานกบั การเลน่ ได้ (K)
๓. ตอบคาถามจากเร่ืองสนุกสนานกับการเลน่ ได้ (C)
๔. มมี ารยามในการอ่าน (A)
๔. สาระการเรยี นรู้
ด้านองคค์ วามรู้ (Knowledge)
เนอื้ เร่อื งสนกุ สนานกบั การเล่น
ในเรื่องมีตัวละครท่ีเป็นผู้เล่าเรื่อง ๒ คนคือ พ่อ และแทน กล่าวถึงการเล่นในสมัยก่อนที่ยังไม่ได้มี
ของเล่นหลากหลายเหมือนในสมัยนี้ พ่อของแทนต้องประดิษฐ์ของเล่นขึ้นเองเพราะไม่มีเงินซ้ือของเล่น ทาให้
ได้ของเล่นที่มาจากความคิดและภูมิปัญญาของตัวพ่อเองและของคนสมัยก่อนท่ีเล่นได้สนุก ไม่ต้องเสียเงินซ้ือ
อีกทั้งยังช่วยพัฒนาด้านร่างกายและสติปัญญาได้ โดยในเรื่องได้กล่าวถึงการเล่นแบบต่าง ๆ ดังน้ี
๑. การเล่นลากกาบหมาก ต้องมีผู้เลนอย่างน้อย ๒ คน วิธีการเล่นคือ ผู้เล่นคนที่ ๑ จะนั่งที่
โคนใบของกาบหมาก ผู้เล่นคนที่ ๒ จะจับท่ีปลายใบแล้วลาก ผู้เล่นที่น่ังจะต้องประคองตัวให้ดีไม่ให้ตกลงมา
๒. วิ่งกะลาหรือเดินกะลา เป็นการนากะลามะพร้าวมาขัดจนกะลาข้ึนมัน จากน้ันเจาะรูร้อย
เชือกที่ตามะพร้าว เชือกหนึ่งเส้นร้อยกะลาได้สองซีก วิธีการเล่นคือผู้เล่นต้องขึ้นเหยียบกะลา ใช้น้ิวเท้าคีบ
เชือกไว้ มือดึงเชือกให้ตึง แล้วออกว่ิง ผู้เล่นจะต้องทรงตัวอยู่บนกะลาให้ได้โดยไม่ให้ตกจากกะลา
๓. การเป่ากบ วิธีการเล่นคือผู้เล่นจะต้องผลัดกันเป่ายางรัดถุงให้เคล่ือนท่ีเข้าหากัน ถ้าใคร
สามารถเป่ายางเส้นของตนให้ข้ึนไปซ้อนทับอีกฝ่ายหนึ่งได้ ก็เป็นฝ่ายชนะ ได้ยางของอีกฝ่ายหน่ึงมา
๔. การเลน่ อีตัก วธิ กี ารเล่นคอื ให้ผเู้ ล่นทอดเม็ดกรวดหรือเม็ดผลไม้ลงภายในวง จากน้ันให้ใช้
ชอ้ นกระดาษตักทลี ะเม็ดจนกว่าเม็ดกรวดหรือเมด็ ผลไม้จะหมด ผเู้ ล่นคนใดสามารถตักไดห้ มดถือเปน็ ผ้ชู นะ
เนื้อเรอ่ื งของเร่อื งสนุกสนานกับการเลน่ แสดงให้เห็นวา่ ของเลน่ ท่ีดไี ม่จาเปน็ ตอ้ งมรี าคาแพง แตเ่ ป็น
ของเล่นทผี่ ู้เลน่ ไดค้ ดิ เอง ลงมือสร้างเอง ได้ใช้ความรู้และภูมปิ ญั ญาของตนเองให้เกิดประโยชน์ นอกจากจะ
ชว่ ยพฒั นาดา้ นร่างกายแลว้ ยังชว่ ยพัฒนาสตปิ ญั ญาของผเู้ ล่นด้วย
ด้านสมรรถนะ (Competency)
๑. ทกั ษะในการอ่านจบั ใจความสาคญั
๑.๑ อ่าน คือ ผู้อ่านต้องอ่านทาความเข้าใจเน้ือหาต้ังแต่ต้นจนจบ เพ่ือสรุปให้ได้ว่า
เปน็ เรอื่ งเกี่ยวกบั อะไร หรือใคร ทาอะไร ทไ่ี หน เม่อื ไร อย่างไร และทาไม
๑.๒ พิจารณา ผู้อ่านควรพิจารณาข้อความแต่ละย่อหน้า เพื่อค้นหาใจความสาคัญ
หลัก และใจความรองทเี่ ป็นรายละเอียดสนบั สนนุ
๑.๓ เรียบเรียง ผู้อ่านควรเรียบเรียงใจความสาคัญของเรื่องที่รวบรวมมาได้ด้วย
สานวนภาษาของตนเองให้เน้ือหาสอดคล้องกนั
ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attributes)
มีมารยาทในการอา่ น โดยนักเรียนมีสมาธิในการอา่ น และอ่านอย่างตงั้ ใจไม่มพี ฤตกิ รรม
รบกวนผอู้ ่นื ขณะอา่ น
๕. กระบวนการจดั การเรียนรู้
๕.๑ การเช่อื มโยงความร้เู ดิมกับความรู้ใหม่
๑. นักเรียนทากิจกรรม “จิ๊กซอว์หรรษา” โดยมีกติกาคือ นักเรียนจะต้องแต่งประโยคจาก
คาศัพท์ท่ีครูกาหนดให้หรือบอกคาศัพท์จากความหมายท่ีครูกาหนดบนโปรแกรมเพาเวอร์พอยท์ เม่ือนักเรียน
ทาได้ถูกต้องจะสามารถเปดิ จ๊กิ ซอวไ์ ด้ ๑ แผ่น กลุ่มใดสามารถตอบได้ถูกต้องว่าภาพท่ีกาหนดเป็นภาพอะไรถือ
เป็นผ้ชู นะ
- ภาพท่ี ๑ ภาพการเลน่ ลากกาบหมาก
- ภาพท่ี ๒ ภาพการเล่นเป่ากบ
๒. นกั เรียนร่วมกันตอบคาถามและอภปิ รายเกี่ยวกับภาพจ๊ิกซอวใ์ นประเดน็ ต่อไปนี้
- ภาพท่ีเห็นเปน็ ภาพการละเล่นอะไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ภาพที่
๑ ภาพการเล่นลากกาบหมาก ภาพที่ ๒ ภาพการเลน่ เป่ากบ)
- ใหน้ ักเรียนบอกวิธกี ารเล่นการละเลน่ น้ี (คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรียน: การ
เล่นลากกาบหมาก ต้องมีผู้เลนอย่างน้อย ๒ คน วิธีการเล่นคือ ผู้เล่นคนท่ี ๑ จะน่ังที่โคนใบของกาบหมาก ผู้
เล่นคนท่ี ๒ จะจับท่ีปลายใบแล้วลาก ผู้เล่นท่ีนั่งจะต้องประคองตัวให้ดีไม่ให้ตกลงมา ส่วนการเล่นเป่ากบ
วิธีการเล่นคือผเู้ ล่นจะตอ้ งผลดั กนั เป่ายางรัดถงุ ให้เคลื่อนทเ่ี ข้าหากัน ถ้าใครสามารถเปา่ ยางเส้นของตนให้ข้ึนไป
ซอ้ นทบั อกี ฝา่ ยหนึง่ ได้ ก็เปน็ ฝ่ายชนะ ได้ยางของอกี ฝ่ายหนงึ่ มา)
- ใหน้ กั เรียนบอกการละเลน่ ไทยทนี่ ักเรียนรจู้ ัก (คาดการณแ์ นวคาตอบของ
นักเรียน: มา้ กา้ นกลว้ ย เดินกะลา การเลน่ อีตกั เป็นตน้ )
๕.๒ การกระตุ้นใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ทางปญั ญาและปฏบิ ตั ภิ ารกจิ การเรยี นรู้
๑. นกั เรยี นอา่ นเนอื้ เรื่อง “สนกุ สนานกับการเล่น”
๒. นกั เรียนทากจิ กรรม “กะหล่าปลเี ร่ืองราว” โดยมีกตกิ าคือ นักเรียนจะได้รับกะหล่าปลี ๑
ลูกเป็นกระดาษที่ประกอบด้วยคาถามจากเรื่องสนุกสนานกับการเล่น นักเรียนต้องส่งกะหล่าปลีให้เพ่ือน เมื่อ
บอกให้หยุด หากกะหล่าปลีอยู่ในมือของนักเรียนคนใด นักเรียนจะต้องแกะกระดาษแล้วอ่านคาถามพร้อมท้ัง
ตอบคาถามน้นั หากนักเรียนสามารถตอบคาถามได้ถกู ต้องจะได้รบั คะแนนสะสม
๕.๓ การสร้างและแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง และขยายแนวคิดที่หลากหลาย
๑. นกั เรยี นทากิจกรรมกะหลา่ ปลีจนกว่านกั เรียนจะตอบคาถามครบทุกข้อ โดยคาถามมดี ังนี้
- ทาไมแทนจงึ ไมช่ อบเล่นเกมคอมพวิ เตอร์ (คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรียน:
แทนไม่ชอบเล่นเกมคอมพิวเตอร์ เพราะพ่อบอกว่าการน่ังอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ จะทาให้สายตา
เสยี กอ่ นวัยอนั ควร และเสยี สุขภาพ)
- แทนเป็นคนที่มีลกั ษณะนิสัยอย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรียน: เป็น
เดก็ ทไ่ี ม่ปลอ่ ยเวลาใหผ้ ่านไปโดยเปล่าประโยชน์)
- แทนนาแผน่ ซีดีและลูกปิงปองมาทาอะไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรยี น :
จานบนิ )
- ใหน้ ักเรยี นยกตวั อยา่ งการละเล่นไทย จากเร่อื ง “สนุกสนานกับการเลน่ ”
(คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรียน : การเล่นลากกาบหมาก ว่ิงกะลาหรือเดนิ กะลา การเปา่ กบ การเล่นอีตกั
เปน็ ต้น)
- ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งการละเลน่ ไทยท่นี ักเรยี นร้จู ัก ๒ ช่ือ (คาดการณ์แนว
คาตอบของนักเรยี น: หมากเก็บ อตี ัก เดินกะลา เปา่ กบ)
- การเดินกะลาเป็นการเล่นที่ฝึกอะไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน:
การทรงตวั )
- การเล่นเป่ากบช่วยฝึกอะไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน:
การออกกาลงั ปอด การหายใจ)
- นักเรียนคิดวา่ การละเล่นไทยมปี ระโยชน์อย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของ
นักเรียน: ได้ฝกึ การทรงตวั ฝกึ การออกกาลังปอด ฝกึ กลา้ มเนื้อ เปน็ ต้น)
๒. นักเรยี นร่วมกนั สรปุ คะแนนจากการตอบคาถาม
๕.๔ การสรา้ งความเข้าใจของตนเองและกลุ่ม โดยการสะท้อนความคิด และสรปุ องค์ความรู้
๑. นักเรียนชว่ ยกันสรปุ เรื่อง “สนกุ สนานกับการเลน่ ”
๒. นักเรียนและครรู ่วมกันอภปิ รายในประเด็นต่อไปนี้
- นักเรยี นได้รับประโยชนห์ รอื ข้อคิดอะไรจากเร่ืองสนุกสนานกบั การเล่น
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรียน: ได้ร้จู กั การละเล่นพ้ืนบา้ นต่าง ๆ ไดร้ ู้จกั วธิ เี ลน่ การละเล่นพื้นบ้าน
ได้ร้จู กั วธิ ีการประดิษฐ์ของเล่นต่าง ๆ เป็นตน้ )
- นกั เรียนบอกแนวทางในการนาประโยชนห์ รอื ข้อคดิ ท่ีได้ไปประยกุ ต์ใชใ้ น
ชีวติ ประจาวัน (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรยี น: สามารถนาความรูท้ ี่ไดไ้ ปใช้ประดิษฐข์ องเลน่ เล่นทบ่ี า้ น
ได้ สามารถเรียกช่ือของเลน่ หรอื การละเลน่ ได้ถูกต้อง เป็นต้น)
๓. นักเรยี นทาแบบฝึกหดั กจิ กรรมท่ี ๔ จากเอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ เลม่ ๒ หน้า ๗-๙
๖. สอื่ และแหล่งการเรียนรู้
๑) จ๊ิกซอวภ์ าพการละเล่นไทย
๒) คาถามจากกิจกรรมกะหล่าปลี
๓) หนงั สือเรียน ภาษาพาที ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔
๔) เอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ เล่ม ๒
หน้า ๗-๙
๗. การวดั และประเมนิ ผล
ส่ิงที่จะวดั วธิ ีการวัด เครื่องมือท่ีใช้วดั เกณฑผ์ ่าน
๑. สรุปเรอ่ื งสนกุ สนานกับ สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
การเล่นได้ การตอบคาถาม อยใู่ นระดบั ดี ขน้ึ ไป
๒. บอกข้อคดิ จากเรอ่ื ง สงั เกตพฤตกิ รรม การตอบคาถาม ผลการประเมนิ
สนุกสนานกับการเล่นได้ การตอบคาถาม แบบสังเกตพฤติกรรม อยู่ในระดับ ดี ข้นึ ไป
๓. ตอบคาถามจากเรื่อง ตรวจแบบฝึกหัด ได้คะแนนตง้ั แต่
สนกุ สนานกบั การเลน่ ได้ การตอบคาถาม รอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป
๔. มีมารยาทในการอา่ น กจิ กรรมท่ี ๔ แบบฝึกหัด ผลการประเมนิ
สังเกตพฤตกิ รรม กิจกรรมที่ ๔ อยู่ในระดบั ดี ข้นึ ไป
การอา่ น แบบสงั เกตพฤติกรรม
การอา่ น
๘. บนั ทกึ ผลการจัดการเรยี นรู้
๘.๑ ดา้ นการวางแผนการจัดการเรยี นรู้
ครอู อกแบบการเรียนการสอนทีเ่ น้นใหน้ กั เรียนฝึกคดิ โดยการจัดหมวดหมู่แถบข้อความท่ี
กาหนดให้ หาข้อความที่อยู่ในกระแสมาให้นักเรียนอ่านเพ่ือให้นักเรียนรู้สึกสนุกสนาน แบ่งเวลาให้นักเรียนได้
อ่านออกเสยี งกันทุกคนเพอ่ื วดั ทกั ษะการอ่านออกเสียงเป็นรายบุคคล แต่นักเรียนไม่สามารถอ่านได้ครบทุกคน
เรื่องจากนักเรียนมีจานวนมากและมีเวลาจากัด อีกท้ังยังออกแบบสื่อการสอน PowerPoint เพ่ือให้ความรู้
เพม่ิ เตมิ อกี ดว้ ย
๘.๒ ด้านพฤตกิ รรมครู
การจัดการเรยี นการสอนช่วงสถานการณโ์ ควดิ -19 ครตู อ้ งสวมหน้ากากอนามยั ในการสอน
ทาให้นักเรียนฟังสิง่ ท่ีครูพดู ไมช่ ัดเจน แต่ในภาพรวมนั้น ครูพูดเสียงดังทาให้นักเรียนได้ยินกันอย่างท่ัวถึง ครูยัง
ได้พูดคุย สนทนาเพ่ือทาความรู้จักกับนักเรียนในช่วงท้ายชั่วโมงเรียนอีกด้วย นอกจากน้ี ครูยังเปลี่ยนแปลง
บคุ ลิกภาพตามลักษณะพฤตกิ รรมของนักเรยี นดว้ ย
๘.๓ ด้านพฤตกิ รรมนกั เรียนและผลการเรยี นรู้
นักเรยี นสว่ นใหญ่ให้ความสนใจกจิ กรรมทีค่ รจู ัดเตรียมไวซ้ ึง่ จะมีเพยี งบางคนท่ีไม่ค่อยสนใจ
และไม่กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม ครูจะต้องคอยกระตุ้นความสนใจอยู่เป็นระยะ เม่ือครูกระตุ้นความ
สนใจแล้ว นักเรียนก็สนใจกิจกรรมการเรียนรู้เป็นอย่างดี การถาม-ตอบเพ่ือทบทวนความรู้ในช่วงท้ายนั้น ครู
อนมุ านได้ว่า นักเรยี นมผี ลการเรยี นรู้อยใู่ นระดบั ดี
๘.๔ อุปสรรค ปัญหา และข้อเสนอแนะ
นักเรียนบางคนไม่คอ่ ยสนใจและไมก่ ระตือรือร้นในการรว่ มกจิ กรรม ครจู ะต้องคอยกระตุ้น
ความสนใจอยเู่ ป็นระยะ ครูตอ้ งวางแผนและออกแบบกจิ กรรมการเรียนรทู้ เี่ น้นให้นักเรยี นทุกคนมีส่วนร่วมและ
รับผิดชอบภารกิจเป็นราบุคคล และต้องออกแบบสื่อการเรียนรู้ท่ีมีสันและมีองค์ประกอบท่ีน่าสนใจมากกว่านี้
ส่วนปัญหาสาคัญในการจัดการเรียนรู้ชั่วโมงนี้ คือ โน้ตบุ๊กเช่ือมต่อกับโทรทัศน์ไม่ได้ทาให้ต้องต้ังโน้ตบุ๊กไว้บน
โต๊ะแล้วให้นักเรียนน่ังล้อมวงกันดู ข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนรู้ครั้งต่อไปนั้น ครุควรตรวจสอบอุปก รณ์
และส่ือการสอนใหพ้ รอ้ มกอ่ นการจดั การเรียนรู้
ลงชือ่ ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นรเู้ รอ่ื ง เรยี นร้คู า จาเร่อื งราว
ผลการเรียนรู้
เลข ช่อื -สกลุ สรุปเร่ืองสนุกสนานกับการ คะแนน
ท่ี เล่น รวม
บอก ้ขอคิดจากเรื่อง
สนุกสนานกับการเล่น
ตอบคาถามจากเร่ือง
สนุกสนานกับการเล่น
มีมารยาทในการ ่อาน
๓ ๓ ๓ คุณภาพ ๙
๑
๑. เด็กชายภมู ภิ ทั ร ใจกลา้ ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๕
๒. เด็กชายประเสริฐ จันทร์ดามุข ๓
๓. เด็กชายเตชินท์ พวงดาว ๑ ๑ ๒ พอใช้ ๔
๔. เดก็ ชายสรรชัย สุนประโคน ๑
๕. เด็กชายชยั ภทั ร เกดกนั หา ๓ ๓๓ ดี ๙
๖. เด็กชายนนทพัทธ์ ศรีประโคน ๑
๗. เดก็ ชายภานุวฒั น์ ขวัญเมอื ง ๒ ๑ ๒ ควรปรับปรงุ ๔
๘. เดก็ ชายอติวชิ ญ์ ศรสี วา่ ง ๑
๙. เด็กชายอดิศร ยอดรักษ์ ๒ ๑ ๑ ควรปรับปรุง ๓
๑๐. เดก็ ชายณัฐภูมิ การะเกศ ๑
๑๑. เดก็ ชายธีรศกั ดิ์ จนั ทรเ์ พยี ง ๒ ๓๓ ดี ๙
๑๒. เด็กชายภูวดล ศิรสิ วสั ดิ์ ๓
๑๓. เด็กชายธีรธรณ์ ประกายแกว้ ๑ ๑ ๒ ควรปรับปรุง ๔
๑๔. เด็กชายเทพฤทธิ์ ศรีอนงค์ ๒
๑๕. เด็กหญงิ ธนั ยพร ใจกล้า ๓ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๑๖. เดก็ หญงิ ปรัณญา บตุ รวงั ๓
๑๗. เด็กหญิงกมลวรรณ นาอุดม ๓ ๑ ๒ ควรปรับปรงุ ๔
๑๘. เดก็ หญงิ กัญญาภร เขอื ดประโคน ๑
๑๙. เด็กหญิงธญั ชนก สานกั นิตย์ ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๒๐. เด็กหญิงกัญญาณฐั ใจกล้า
๑ ๑ ควรปรบั ปรงุ ๓
๒ ๓ พอใช้ ๗
๓๓ ดี ๙
๑ ๑ ควรปรับปรุง ๓
๒ ๓ พอใช้ ๗
๓๓ ดี ๙
๓๓ ดี ๙
๓๓ ดี ๙
๑ ๒ ควรปรบั ปรุง ๔
๒ ๒ พอใช้ ๖
ผลการเรยี นรู้
เลข ชือ่ -สกลุ สรุปเร่ืองสนุกสนานกับการ คะแนน
ที่ เล่น รวม
บอก ้ขอคิดจากเรื่อง
สนุกสนานกับการเล่น
ตอบคาถามจากเร่ือง
สนุกสนานกับการเล่น
มีมารยาทในการ ่อาน
๓ ๓ ๓ คณุ ภาพ ๙
๒๑. เดก็ หญงิ ณธิดา สืบสาย ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๒๒. เดก็ หญิงนรี ชา ทิพย์รอด
๒๓. เดก็ หญิงนชิ า ทพิ ย์รอด ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๒๔. เด็กหญงิ สุธิมา ปญั ญาใส
๒๕. เดก็ หญงิ อโนมา พวงดาว ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๒๖. เดก็ หญิงอลนิ ลดา เสนห่ ์ดี
๑ ๑ ๒ ควรปรบั ปรุง ๔
๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
ประเด็นการประเมนิ เกณฑก์ ารให้คะแนนผลการเรียนรขู้ องนกั เรียน ๑
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน นักเรยี นไม่สามารถอธบิ าย
เรอื่ งราวไดต้ ามประเดน็
๓๒
นกั เรยี นสามารถบอกขอ้ คิด
สรุปเรอ่ื งสนุกสนานในการ นักเรียนสามารถอธิบาย นกั เรียนสามารถอธิบาย จากเร่ืองได้ ๑ ขอ้
เลน่ ได้ เร่ืองราวได้ครบถ้วนตาม เรอ่ื งราวได้บางประเด็น
ประเดน็ และไม่เป็นไป นกั เรยี นสามารถบอก
ประเดน็ และเป็นไป ตามลาดบั เหตุการณ์ แนวทางในการนาข้อคดิ ไป
ตามลาดับเหตุการณ์ ปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
บอกข้อคดิ จากเร่ืองได้ นักเรยี นสามารถบอก นักเรยี นสามารถบอกขอ้ คิด ได้ ๑ ขอ้
ขอ้ คิดจากเรื่องได้ต้ังแต่ จากเรอื่ งได้ ๒ ข้อ ขาดคุณลักษณะ
ตอบคาถามจากเรื่องที่ ๒ ข้อจาก ๓ ข้อ
อา่ นได้ ๓ ขอ้ ข้นึ ไป นกั เรียนสามารถบอก
นักเรยี นสามารถบอก แนวทางในการนาข้อคิดไป
แนวทางในการนาข้อคดิ ไป ปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้
ตงั้ แต่ ๓ ขอ้ ขนึ้ ไป ได้ ๒ ขอ้
มีมารยาทในการอา่ น ๑. มีสมาธใิ นการอ่าน ขาดคุณลักษณะ
อา่ นอย่างตง้ั ใจ ขอ้ ใดข้อหนึ่ง
๒. ไม่มีพฤติกรรมรบกวน จาก ๓ ข้อ
ผอู้ ่ืนขณะอ่าน
๓. ไม่ใช้นว้ิ ช้ีตามตวั อักษร
และวางทา่ ทางท่ีถกู ต้อง
เหมาะสมขณะอ่าน
เกณฑ์การประเมนิ
คะแนน ระดบั คุณภาพ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรปรบั ปรงุ
แผนการจดั การเรยี นรู้ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔
กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ สนุกสนานกับการเลน่ เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๓/๖ เรอ่ื ง ชวนดูร้ปู ระโยค ผ้สู อน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรียนวัดบ้านไพบลู ย์ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
สอนวันท่ี ๔ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. ความคดิ รวบยอด
ประโยค คือ คาหรือกลุ่มคาที่นามาเรียงกันแล้วสามารถสื่อความได้ มีทั้งภาคประธานและภาคแสดง
ซ่ึงประกอบไปด้วยประธาน กริยา กรรม(ถ้ามี) คาขยาย(ถ้ามี) ส่วนวลี คือ คาท่ีเรียงต่อกันต้ังแต่ ๒ คาขึ้นไป
และมีความหมายแต่ยังไม่เป็นประโยค นักเรียนควรเรียนรู้เรื่องวลีและประโยค รวมไปถึงต้องสามารถจาแนก
ความแตกตา่ งระหวา่ งวลแี ละประโยคได้ จะทาให้นักเรียนเข้าใจพืน้ ฐานเร่ืองประโยคและสามารถสร้างประโยค
ไดอ้ ย่างถูกต้อง
๒. มาตรฐานและตวั ช้ีวดั
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
ตวั ช้วี ัด
ท ๔.๑ ป.๔/๔ แตง่ ประโยคได้ถูกตอ้ งตามหลกั ภาษา
๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
เมอ่ื นกั เรยี นเรยี นเร่ือง “ชวนดูรู้ประโยค” แลว้ นักเรียนสามารถ
๑. บอกลักษณะของวลีและประโยคได้ (K)
๒. จาแนกวลีและประโยคได้ (C)
๓. มีความกระตือรือร้นในการทากิจกรรม (A)
๔. สาระการเรยี นรู้
ดา้ นองคค์ วามรู้ (Knowledge)
วลี คอื คาทเ่ี รียงต่อกันตงั้ แต่ ๒ คาขึน้ ไปและมีความหมายแต่ยังไม่เปน็ ประโยค เชน่ นกพิราบสี
ขาว นาฬกิ าทราย
ประโยค คือ คาหรอื กล่มุ คาที่นามาเรยี งกนั สามารถสอ่ื ความได้ โดยท่ัวไปประโยคประกอบด้วย
สว่ นสาคัญ ๒ สว่ น คอื ส่วนทเ่ี ป็นประธาน กบั ส่วนทเ่ี ป็นภาคแสดง
ด้านสมรรถนะ (Competency)
๑. ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ ตามแนวคดิ ของมารซ์ าโน (Marzano, ๒๐๐๑) คือ
๑.๑ ดา้ นการจัดจาแนก คอื ความสามารถในการสงั เกตและจาแนกแยกแยะรายละเอียด
ของสิ่งตา่ ง ๆ หรอื เหตุการณ์ทเี่ หมอื นหรือแตกตา่ งกันออกเปน็ สว่ น ๆ อยา่ งมหี ลักเกณฑ์และเขา้ ใจงา่ ย
๑.๒ ด้านการจัดหมวดหมู่ คือ ความสามารถในการใช้ความรู้เพื่อการจัดกลุ่ม จัดลาดับ
จัดประเภทของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้คณุ ลักษณะหรือคุณสมบัติของส่ิงน้นั ๆ อย่างมหี ลกั การหรือหลักเกณฑ์
๑.๓ ด้านการวิเคราะหข์ ้อผดิ พลาด คอื ความสามารถในอธิบายขอ้ ผดิ พลาดหรอื ระบคุ วามไม่
สมั พันธก์ นั ของบตั รคาได้อยา่ งมเี หตผุ ล
๑.๔ ดา้ นการสรปุ อา้ งองิ หลักการ คือ ความสามารถในการเชื่อมโยงข้อมูลเพ่ืออธบิ ายข้อมูล
ตามหลักการได้
๑.๕ ด้านการนาไปใช้ คอื ความสามารถในการนาความรู้หรอื หลกั การไประบุในสถานการณ์
ทีอ่ าจจะเกดิ ข้นึ
๒. ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม คือความสามารถในการแบ่งภาระหน้าท่ีรับผิดชอบหรือช่วยเหลือซึ่ง
กันและกนั ภายในกลุ่มที่ครมู อบหมายใหไ้ ด้
ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (Attributes)
มคี วามกระตือรอื รน้ ในการทากิจกรรม โดยนกั เรียนในช้นั เรียน มสี ่วนรว่ มแสดงความคดิ เห็น
อภิปรายและโต้ตอบกบั ครูเป็นประจา รวมทัง้ ปฏิบตั ิภารกิจกจิ กรรมที่ได้รบั มอบหมายด้วยความต้ังใจ
๕. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ แมท่ าอาหาร
๕.๑ การเชอื่ มโยงความร้เู ดิมกบั ความรู้ใหม่
๑. นักเรยี นแบ่งกลุ่มเปน็ ๕ กลุ่ม กลมุ่ ละ ๗ คน
๒. นกั เรียนสังเกตแถบขอ้ ความทค่ี รูติดบนกระดาน
หมวกสีชมพู
กล้าปลูกผัก หนงั สอื เรยี น
แมวกินปลา นกั เรียนชาย
ช้างตวั โต นอ้ งไปตลาด
๓. นักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ กัน ภายในกล่มุ เกี่ยวกับลกั ษณะของข้อความท่ตี ดิ บน
กระดาน
๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันหาความสัมพันธ์ของข้อความ จากนั้นให้จัดกลุ่มแถบข้อความ
บนกระดานให้เป็นหมวดหมู่ตามความเข้าใจของนักเรียน โดยในขั้นตอนนี้สมาชิกในห้องจะช่วยกันปรับแก้
คาตอบและจัดกลุ่มของข้อความบนกระดานจนถูกต้อง (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: แบ่งได้ ๒ กลุ่ม
คือ วลกี บั ประโยค)
หมวกสีชมพู แม่ทาอาหาร
หนงั สือเรยี น กลา้ ปลูกผกั
นักเรยี นชาย แมวกนิ ปลา
ชา้ งตัวโต น้องไปตลาด )
๕.๒ การกระตุน้ ให้เกิดความขดั แยง้ ทางปัญญาและปฏิบัตภิ ารกจิ การเรียนรู้
๑. นกั เรยี นรว่ มกันสังเกตและวิเคราะห์แถบขอ้ ความบนกระดานท่ีครจู ดั เป็น ๒ กล่มุ
ดงั ตอ่ ไปนี้
กลมุ่ ๑ กลมุ่ ๒
วินกนิ ข้าว ปากกาลูกลน่ื
ลงิ ปนี ตน้ ไม้ โทรศัพท์เคล่อื นท่ี
ฉนั ปัน่ จกั รยาน ตลาดนัดตน้ ตาล
ดอกไม้สีขาว หน้ากากอนามยั
๒. นกั เรียนร่วมกนั วิเคราะห์ข้อความ แล้วรว่ มกนั อภิปรายในประเด็น ดังต่อไปนี้
แถบข้อความในกลุ่มที่ ๑ มลี ักษณะอย่างไร (คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรียน:
คาหรือกลุ่มคาท่ีนามาเรียงกันสามารถส่อื ความได้ โดยท่ัวไปประโยคประกอบดว้ ยส่วนสาคัญ ๒ ส่วน คือ สว่ น
ที่เป็นประธาน กับส่วนท่ีเปน็ ภาคแสดง)
แถบข้อความในกลุ่มท่ี ๒ มีลกั ษณะอย่างไร (คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรยี น:
คาทเ่ี รยี งต่อกันตั้งแต่ ๒ คาข้ึนไปและมีความหมายแตย่ ังไม่เปน็ ประโยค)
๓. นักเรียนร่วมกนั พิจารณาบัตรคา วลี ประโยค
จากน้นั นักเรียนพิจารณาเพ่อื จบั คบู่ ัตรคากบั ชุดกลมุ่ ข้อความบนกระดานวา่ กลุ่มใดสัมพันธ์กนั (คาดการณแ์ นว
คาตอบของนักเรยี น: ประโยคอยู่กลุ่มที่ ๑ ส่วนวลีอยูก่ ลุ่มที่ ๒)
๔. นักเรยี นรว่ มกันสังเกตและพจิ ารณาว่า แถบข้อความท้ัง ๒ กลุ่มน้ัน มีแถบข้อความใดที่ไม่
สอดคล้องกับกลุ่มหรือไม่ เพราะเหตุใด (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: มี แถบข้อความคาว่า ดอกไม้สี
ขาว ไมใ่ ชป่ ระโยคแต่เปน็ วลี เพราะมีคาทเ่ี รยี งตอ่ กนั ตงั้ แต่ ๒ คาขนึ้ ไปแต่ยงั ไมเ่ ปน็ ประโยค)
๕.๓ การสร้างและแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง และขยายแนวคิดที่หลากหลาย
๑. นักเรียนทากจิ กรรม “ตอบให้ไว ทายให้ถูก” โดยครูจะยกตัวอย่างประโยคจานวน ๑๐
ประโยค แลว้ สมุ่ ใหน้ กั เรียนตอบว่า เปน็ วลีหรือประโยค โดยมีประโยคดังนี้
- วลี ไดแ้ ก่ ดอกกหุ ลาบสีแดง กระตา่ ยตวั อว้ นสขี าว หนงั สอื ภาษาพาที
กระเป๋าดินสอ กาแฟดา
- ประโยค ได้แก่ พี่เก็บเปลือกหอย นอ้ งร้องเพลง ฝนตกหนัก ฉันไปเท่ยี ว แม่อาบน้า
๕.๔ การสร้างความเข้าใจของตนเองและกลุ่ม โดยการสะทอ้ นความคดิ และสรปุ องคค์ วามรู้
๑. นกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายด้วยประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี
- ถ้านักเรียนไม่สามารถจาแนกความแตกต่างของวลีและประโยคได้ นักเรียนคิดว่า
จะเกิดผลอย่างไรต่อตัวของนักเรียน (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: เลือกใช้คาได้ไม่ถูกต้อง ส่ือสาร
ผิดพลาด ฯลฯ)
- ถ้านักเรียนสามารถจาแนกความแตกต่างของวลีและประโยคได้ นักเรียนคิดว่าจะ
เกิดผลอย่างไรต่อตัวของนักเรียน (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: เข้าใจเร่ืองประโยคมากขึ้น มีความรู้
พืน้ ฐานเพื่อนาไปใช้ในการสรา้ งประโยค สือ่ สารไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ฯลฯ)
๒. นักเรียนทาแบบฝึกหัดกจิ กรรมท่ี ๖ จากเอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เลม่ ๒ หนา้ ๙-๑๐
๓. ครสู มุ่ ตวั แทนนกั เรียนจานวน ๑ - ๒ คน มานาเสนอแบบฝึกหดั ของตนเองหนา้ ชนั้ เรียน
เพอ่ื เป็นการเฉลยคาตอบ
๔. เพ่ือนนักเรยี นนาเสนอความคิดเหน็ ของตนเองเพ่ิมเตมิ ในความคิดทีแ่ ตกต่าง
๖. สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้
๑) แถบขอ้ ความวลแี ละประโยค
๒) แถบข้อความความหมายของประโยค วลี
๓) ขอ้ ความวลีและประโยค
๔) เอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ เล่ม ๒
หนา้ ๙-๑๐
๗. การวัดและประเมนิ ผล วิธีการวดั เครือ่ งมือท่ีใช้วัด เกณฑผ์ า่ น
สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
สิง่ ท่ีจะวดั การตอบคาถาม อยใู่ นระดับ ดี ขึ้นไป
๑. บอกลักษณะของวลี การตอบคาถาม
และประโยคได้ ตรวจแบบฝกึ หัด ได้คะแนนตั้งแต่
กิจกรรมที่ ๖ แบบฝกึ หดั รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป
๒. จาแนกวลแี ละประโยค สงั เกตพฤติกรรม กิจกรรมที่ ๖ ผลการประเมนิ
ได้ การเรยี นรู้ แบบสงั เกตพฤติกรรม อยูใ่ นระดบั ดี ขนึ้ ไป
๓. มีความกระตือรือรน้ ใน การเรยี นรู้
การทากจิ กรรม
๘. บนั ทึกผลการจัดการเรยี นรู้
๘.๑ ดา้ นการวางแผนการจดั การเรียนรู้
ครอู อกแบบกิจกรรมการเรยี นรทู้ ใ่ี หน้ กั เรียนมีสว่ นร่วมในการทากจิ กรรมกนั ทกุ คนการจัดการ
เรยี นร้เู ปน็ ไปตามท่วี างแผนไว้ทุกข้ันตอน นอกจากนี้ยังออกแบบใบกิจกรรมที่มีรูปแบบใหม่ ๆ เพ่ือดึงดูดความ
สนใจของนักเรยี นด้วย การดาเนนิ กจิ กรรมการเรียนร้เู ปน็ ไปตามขัน้ ตอนที่ออกแบบไว้และตามเวลาท่ีกาหนด
๘.๒ ด้านพฤตกิ รรมครู
ครูเปน็ ผู้อธิบายความรใู้ หน้ กั เรียนฟัง ก่อนท่ีนกั เรยี นได้ศกึ ษาความร้ดู ว้ ยตนเอง ครูเปน็ ผู้
ดาเนนิ กิจกรรมการเล่นเกมให้เปน็ ไปตามลาดับข้ันตอนท่กี าหนด
๘.๓ ดา้ นพฤตกิ รรมนักเรียนและผลการเรียนรู้
กจิ กรรมที่ออกแบบให้นักเรยี นไดม้ สี ว่ นร่วมในการเล่นเกมเหมือนกันทกุ คน ทาให้นักเรียนได้
แสดงออกทางความรู้ และความสามารถอย่างเท่าเทียมกัน ทาหวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้ง่าย ขณะ
จัดการเรียนรู้ มีนักเรียนบางคนท่ีมีพฤตกิ รรมไม่ค่อยเหมาะสม แตค่ รูกส็ ามารถตกั เตือนและควบคมุ ชนั้ เรียนได้
๘.๔ อปุ สรรค ปญั หา และข้อเสนอแนะ
นักเรยี นชอบสอื่ การเรยี นรทู้ ามอื ที่สามารถหยบิ จบั ได้ ดงั นัน้ ครูควรออกแบบสอ่ื การเรยี นรใู้ น
ลกั ษณะดังกล่าวในการประกอบการสอนใหส้ ม่าเสมอ เพ่อื ใหน้ กั เรียนสนใจและใสใ่ จการเรียนมากขนึ้
ลงช่อื ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นรเู้ รือ่ ง ชวนดู รปู้ ระโยค
เลข ช่ือ-สกลุ บอกลักษณะของ ผลการเรียนรู้ มีความ คะแนน
ที่ วลแี ละประโยค จาแนกวลแี ละ กระตือรือร้นใน รวม
การทากจิ กรรม
ประโยค ๕
๓
๓ ๒ คณุ ภาพ ๒
๕
๑. เดก็ ชายภมู ภิ ทั ร ใจกลา้ ๑ ๒ พอใช้ ๒
๒
๒. เดก็ ชายประเสรฐิ จนั ทรด์ ามขุ ๑ ๑ พอใช้ ๕
๒
๓. เดก็ ชายเตชนิ ท์ พวงดาว ๓ ๒ ดี ๔
๒
๔. เด็กชายสรรชยั สุนประโคน ๑ ๑ ควรปรบั ปรงุ ๔
๒
๕. เด็กชายชยั ภัทร เกดกนั หา ๑ ๑ ควรปรบั ปรุง ๔
๕
๖. เด็กชายนนทพัทธ์ ศรปี ระโคน ๓ ๒ ดี ๒
๔
๗. เดก็ ชายภานวุ ฒั น์ ขวญั เมอื ง ๑ ๑ ควรปรับปรงุ ๕
๕
๘. เดก็ ชายอตวิ ิชญ์ ศรีสวา่ ง ๒ ๒ พอใช้ ๕
๒
๙. เด็กชายอดศิ ร ยอดรกั ษ์ ๑ ๑ ควรปรบั ปรุง ๔
๔
๑๐. เด็กชายณัฐภูมิ การะเกศ ๒ ๒ พอใช้ ๕
๕
๑๑. เดก็ ชายธรี ศักด์ิ จนั ทรเ์ พียง ๑ ๑ ควรปรบั ปรงุ
๑๒. เด็กชายภวู ดล ศิรสิ วสั ดิ์ ๒ ๒ พอใช้
๑๓. เดก็ ชายธีรธรณ์ ประกายแกว้ ๓ ๒ ดี
๑๔. เดก็ ชายเทพฤทธิ์ ศรีอนงค์ ๑ ๑ ควรปรบั ปรงุ
๑๕. เด็กหญงิ ธนั ยพร ใจกลา้ ๒ ๒ พอใช้
๑๖. เด็กหญิงปรณั ญา บุตรวงั ๓ ๒ ดี
๑๗. เดก็ หญงิ กมลวรรณ นาอดุ ม ๓ ๒ ดี
๑๘. เดก็ หญงิ กัญญาภร เขือดประโคน ๓ ๒ ดี
๑๙. เด็กหญิงธญั ชนก สานกั นติ ย์ ๑ ๑ ควรปรบั ปรุง
๒๐. เด็กหญงิ กัญญาณัฐ ใจกล้า ๒ ๒ พอใช้
๒๑. เดก็ หญงิ ณธดิ า สบื สาย ๒ ๒ พอใช้
๒๒. เด็กหญงิ นรี ชา ทิพย์รอด ๓ ๒ ดี
๒๓. เด็กหญงิ นิชา ทพิ ย์รอด ๓ ๒ ดี
เลข ชื่อ-สกลุ บอกลกั ษณะของ ผลการเรียนรู้ มีความ คะแนน
ท่ี วลแี ละประโยค จาแนกวลแี ละ กระตือรือร้นใน รวม
การทากจิ กรรม
ประโยค ๕
คณุ ภาพ ๒
๒๔. เดก็ หญิงสุธิมา ปัญญาใส ๓๒ ๔
๒๕. เดก็ หญงิ อโนมา พวงดาว ๑๑ ควรปรบั ปรงุ ๔
๒๖. เดก็ หญิงอลนิ ลดา เสน่ห์ดี ๒๒
๒๒ พอใช้
พอใช้
ลงชอ่ื ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
เกณฑก์ ารให้คะแนนผลการเรยี นรขู้ องนักเรยี น
รายการประเมนิ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
บอกลักษณะของวลแี ละ
ประโยค ๓๒๑ ๐
นกั เรยี นสามารถ นักเรยี นสามารถ นกั เรียนไม่สามารถ
มคี วามกระตือรือรน้ ใน นกั เรยี นจาแนกวลี
การทากิจกรรม อธบิ ายลักษณะของ อธิบายลกั ษณะของ อธบิ ายลกั ษณะของ และประโยค
ไม่ถูกต้อง
จาแนกวลีและประโยค วลแี ละประโยคได้ วลแี ละประโยคได้ วลแี ละประโยคได้
ครบถว้ นตาม แต่ขาดบางประเด็น
ประเด็น
นกั เรียนมีสว่ นร่วม นักเรยี น มสี ว่ นรว่ ม นักเรียนไม่มสี ว่ น
แสดงความคดิ เหน็ แสดงความคิดเหน็ ร่วมแสดงความ
อภปิ รายและ อภปิ รายและ คิดเห็น อภปิ ราย
โตต้ อบกับครูเป็น โต้ตอบกบั ครูบ้าง และโตต้ อบกบั ครู
ประจา รวมทั้ง รวมท้ังปฏบิ ัติ รวมทั้งไม่ต้ังใจ
ปฏิบตั ิภารกจิ ภารกิจกจิ กรรมที่ ปฏบิ ัติภารกจิ
กิจกรรมที่ได้รบั ไดร้ ับมอบหมาย กจิ กรรมท่ีได้รับ
มอบหมายดว้ ย ดว้ ยความตัง้ ใจ มอบหมาย
ความตั้งใจ
นกั เรียนสามารถ
จาแนกวลแี ละ
ประโยคได้ถกู ต้อง
เกณฑก์ ารประเมิน
คะแนน ระดับคุณภาพ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรปรบั ปรงุ
แผนการจดั การเรียนรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ สนุกสนานกับการเล่น เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาท)ี
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๓/๖ เรือ่ ง จาแนกแยกส่วน ผู้สอน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรยี นวัดบ้านไพบูลย์ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
สอนวันท่ี ๘ เดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. ความคิดรวบยอด
ประโยค ๒ ส่วน คือประโยคที่ประกอบด้วยประธานแล ะกริยา เช่น พ่อหัวเราะ ลูกวิ่ง
ประโยค ๓ สว่ น คือประโยคทป่ี ระกอบดว้ ยประธาน กรยิ า และกรรม เช่น น้องกินขนม แม่ตีน้อง นักเรียนควร
เรียนรู้เร่ืองการแยกส่วนประกอบของประโยค รวมทั้งการจาแนกประโยค ๒ ส่วนและ ๓ ส่วน การจะทาให้
นักเรียนเข้าใจเรื่องประโยค สามารถสร้างประโยคได้อย่างถูกต้อง มีความหมายชัดเจนและเหมาะสมกับ
สถานการณ์
๒. มาตรฐานและตวั ชว้ี ัด
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั
ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ
ตวั ชีว้ ดั
ท ๑.๑ ป.๔/๔ แต่งประโยคได้ถูกตอ้ งตามหลกั ภาษา
๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้
เมื่อนกั เรยี นเรียนเร่ือง “จาแนกแยกสว่ นประกอบของประโยค” แล้วนักเรียนสามารถ
๑. บอกลักษณะของประโยค ๒ สว่ นและ ๓ สว่ นได้ (K)
๒. แยกส่วนประกอบของประโยคได้ (C)
๓. จาแนกประโยค ๒ ส่วนและ ๓ สว่ นได้ (C)
๔. มคี วามกระตือรือรน้ ในการทากิจกรรม (A)
๔. สาระการเรียนรู้
ด้านองคค์ วามรู้ (Knowledge)
ประโยค คือ คาหรือกลุ่มคาท่ีนามาเรยี งกันแล้วสามารถสื่อความได้ สามารถแบ่ง
ส่วนประกอบของประโยคไดด้ ังน้ี
๑. ประโยค ๒ สว่ น คือประโยคท่ปี ระกอบด้วยประธานและกริยา เช่น พ่อหวั เราะ ลูกวง่ิ
๒. ประโยค ๓ ส่วน คือประโยคที่ประกอบดว้ ยประธาน กริยา และกรรม เช่น นอ้ งกนิ ขนม
แม่ตีนอ้ ง
ด้านสมรรถนะ (Competency)
๑. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ ตามแนวคดิ ของมาร์ซาโน (Marzano, ๒๐๐๑) คือ
๑.๑ ดา้ นการจดั จาแนก คือ ความสามารถในการสังเกตและจาแนกแยกแยะรายละเอียด
ของสิ่งตา่ ง ๆ หรอื เหตุการณ์ท่เี หมือนหรือแตกตา่ งกนั ออกเปน็ ส่วน ๆ อย่างมหี ลกั เกณฑ์และเข้าใจงา่ ย
๑.๒ ด้านการจัดหมวดหมู่ คือ ความสามารถในการใช้ความรู้เพื่อการจัดกลุ่ม จัดลาดับ
จัดประเภทของสงิ่ ต่าง ๆ โดยใชค้ ณุ ลกั ษณะหรือคณุ สมบัตขิ องส่งิ น้ัน ๆ อย่างมหี ลักการหรอื หลักเกณฑ์
๑.๓ ดา้ นการวิเคราะห์ข้อผิดพลาด คอื ความสามารถในอธิบายขอ้ ผดิ พลาดหรือระบุความไม่
สัมพนั ธก์ ันของบัตรคาได้อยา่ งมีเหตผุ ล
๑.๔ ดา้ นการสรุปอา้ งอิงหลักการ คอื ความสามารถในการเช่อื มโยงขอ้ มูลเพื่ออธิบายข้อมลู
ตามหลกั การได้
๑.๕ ดา้ นการนาไปใช้ คอื ความสามารถในการนาความรหู้ รือหลักการไประบุในสถานการณ์
ทอี่ าจจะเกิดขน้ึ
๒. ทักษะกระบวนการกลมุ่ คอื ความสามารถในการแบ่งภาระหน้าที่รับผิดชอบหรือช่วยเหลือซึ่ง
กันและกนั ภายในกลุม่ ทคี่ รูมอบหมายใหไ้ ด้
ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attributes)
มคี วามกระตือรือร้นในการทากิจกรรม โดยนกั เรยี นในช้ันเรียน มีสว่ นร่วมแสดงความคิดเห็น
อภปิ รายและโตต้ อบกบั ครเู ป็นประจา รวมทัง้ ปฏบิ ัตภิ ารกิจกจิ กรรมที่ไดร้ บั มอบหมายด้วยความตง้ั ใจ
๕. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ กางเกงขาด
๕.๑ การเช่อื มโยงความรเู้ ดิมกับความรู้ใหม่
๑. นกั เรียนแบ่งกลมุ่ เป็น ๕ กลมุ่ กลมุ่ ละ ๗ คน
๒. นกั เรียนสงั เกตแถบประโยคท่ีครตู ดิ บนกระดาน
พอ่ ขบั รถ
แมก่ นิ ข้าว แบงค์ดมื่ นม
นกบิน ฉนั อา่ นหนงั สือ
น้องว่งิ ฝนตก
๓. นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ กนั ภายในกลุม่ เก่ียวกบั ลักษณะของประโยคทต่ี ิดบน
กระดาน
๔. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันหาความสัมพนั ธ์ของประโยค จากนั้นให้จัดกลุ่มแถบประโยคบน
กระดานใหเ้ ปน็ หมวดหมตู่ ามความเขา้ ใจของนักเรียน โดยในขั้นตอนน้ีสมาชิกในห้องจะช่วยกันปรับแก้คาตอบ
และจัดกลุ่มของประโยคบนกระดานจนถูกต้อง (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: แบ่งได้ ๒ กลุ่ม คือ
ประโยค ๒ ส่วนและประโยค ๓ ส่วน)
กางเกงขาด พอ่ ขบั รถ
ฝนตก แบงค์ด่มื นม
นกบิน ฉันอา่ นหนังสือ
นอ้ งวิ่ง แมก่ นิ ข้าว
๕.๒ การกระตุ้นให้เกดิ ความขดั แย้งทางปัญญาและปฏิบัตภิ ารกิจการเรยี นรู้
๑. นักเรยี นร่วมกนั สงั เกตและวเิ คราะห์แถบประโยคบนกระดานทคี่ รจู ดั เป็น ๒ กลมุ่
ดงั ตอ่ ไปน้ี
กลมุ่ ๑ กลมุ่ ๒
๒. น้องรอ้ งเพลง แมวจับหนู
น้าไหล ฉนั กนิ ขนม
แมข่ ่ีช้าง
พนี่ อนหลบั
วุ้นหวั เราะ อ้นไปเท่ยี ว
นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ประโยค แล้วรว่ มกันอภิปรายในประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี
แถบประโยคในกลุ่มท่ี ๑ มีลักษณะอยา่ งไร (คาดการณแ์ นวคาตอบของนกั เรยี น:
ประโยคทป่ี ระกอบด้วยประธานและกรยิ า)
แถบประโยคในกลมุ่ ท่ี ๒ มลี ักษณะอยา่ งไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน:
ประโยคที่ประกอบดว้ ยประธาน กรยิ า และกรรม)
๓. นกั เรยี นรว่ มกนั พจิ ารณาบัตรคา
ประโยค ๒ ส่วน ประโยค ๓ สว่ น
จากนน้ั นักเรียนพจิ ารณาเพอ่ื จบั คบู่ ัตรคากบั ชุดกลุม่ ประโยคบนกระดานวา่ กลุ่มใดสมั พนั ธก์ นั (คาดการณแ์ นว
คาตอบของนกั เรียน: ประโยคอยกู่ ลุ่มท่ี ๑ ส่วนวลีอย่กู ล่มุ ท่ี ๒)
๔. นักเรียนร่วมกันสังเกตและพิจารณาว่า แถบประโยคท้ัง ๒ กลุ่มนั้น มีแถบประโยคใดท่ีไม่
สอดคล้องกับกลุ่มหรือไม่ เพราะเหตุใด (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: มี แถบประโยคคาว่า อ้นไป
เทย่ี ว ไม่ใชป่ ระโยค ๓ สว่ น แต่เป็นประโยค ๒ สว่ น เพราะเป็นประโยคทปี่ ระกอบดว้ ยประธานและกรยิ า)
๕. นกั เรยี นร่วมกนั แยกสว่ นประกอบของประโยคจากตัวอย่างประโยคที่กาหนดให้จาก
กจิ กรรมก่อนหน้าน้ี
๕.๓ การสร้างและแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง และขยายแนวคิดท่หี ลากหลาย
๑. นกั เรยี นทากจิ กรรม “ตอบใหไ้ ว ทายใหถ้ ูก” โดยครจู ะยกตัวอยา่ งประโยคจานวน ๕
ประโยค แล้วสุ่มใหน้ กั เรียนตอบวา่ เปน็ ประโยค ๒ ส่วน หรอื ประโยค ๓ ส่วน โดยมีประโยคดงั น้ี
- ประโยค ๒ ส่วน วลี ได้แก่ เตา่ คลาน รถแลน่
- ประโยค ๓ สว่ น ไดแ้ ก่ ชา้ งกินอ้อย กระต่ายกินผกั ฉันพับกระดาษ
๕.๔ การสรา้ งความเขา้ ใจของตนเองและกลุ่ม โดยการสะทอ้ นความคิด และสรุปองคค์ วามรู้
๑. นักเรยี นร่วมกันอภิปรายด้วยประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี
- ถ้านักเรียนไม่สามารถแยกส่วนประกอบของประโยค รวมทั้งไม่สามารถจาแนก
ประโยค ๒ ส่วนและ ๓ ส่วนได้ นักเรียนคิดว่าจะเกิดผลอย่างไรต่อตัวของนักเรียน (คาดการณ์แนวคาตอบ
ของนกั เรียน: ไมม่ ีความรู้พืน้ ฐานเพ่อื นาไปใชใ้ นการสรา้ งประโยค เขียนสื่อสารหรือพูดสือ่ สารไมร่ ูเ้ ร่อื ง ฯลฯ)
- ถา้ นักเรยี นสามารถแยกส่วนประกอบของประโยค รวมทั้งสามารถจาแนกประโยค
๒ ส่วนและ ๓ ส่วนได้ นักเรียนคิดว่าจะเกิดผลอย่างไรต่อตัวของนักเรียน (คาดการณ์แนวคาตอบของ
นักเรียน: เข้าใจเร่ืองประโยคมากขึ้น มีความรู้พื้นฐานเพ่ือนาไปใช้ในการสร้างประโยค สื่อสารได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ ฯลฯ)
๒. นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั กิจกรรมที่ ๗ จากเอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ เลม่ ๒ หน้า ๑๐
๓. ครูสุม่ ตัวแทนนักเรยี นจานวน ๑ - ๒ คน มานาเสนอแบบฝกึ หัดของตนเองหน้าช้ันเรยี น
เพอ่ื เปน็ การเฉลยคาตอบ
๔. เพือ่ นนักเรยี นนาเสนอความคิดเหน็ ของตนเองเพ่ิมเติมในความคิดทแ่ี ตกต่าง
๖. สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้
๑) บตั รคา
๒) แถบประโยค
๓) สือ่ การสอนเพาเวอร์พอยท์
๔) หนังสอื เรียน ภาษาพาที ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔
๕) เอกสารประกอบการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ เล่ม ๒ หนา้ ๙
๗. การวัดและประเมินผล วิธกี ารวดั เครอื่ งมือท่ใี ช้วัด เกณฑ์ผา่ น
สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
สง่ิ ทจี่ ะวดั การตอบคาถาม อยใู่ นระดบั ดี ขึ้นไป
๑. บอกลักษณะของประโยค ๒ สว่ น การตอบคาถาม
และ ๓ ส่วนได้ ตรวจแบบฝึกหดั ได้คะแนนตง้ั แต่
๒. แยกส่วนประกอบของประโยคได้ กิจกรรมท่ี ๗ แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป
กจิ กรรมท่ี ๗
๓. จาแนกประโยค ๒ สว่ นและ ๓ ตรวจแบบฝึกหัด ไดค้ ะแนนตั้งแต่
ส่วนได้ กิจกรรมท่ี ๗ แบบฝึกหัด ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
๔. มีความกระตือรอื รน้ ในการทา สังเกตพฤตกิ รรม กจิ กรรมที่ ๗ ผลการประเมิน
กจิ กรรม การเรยี นรู้ แบบสงั เกตพฤติกรรม อยใู่ นระดบั ดี ขึ้นไป
การเรียนรู้
๘. บนั ทึกผลการจัดการเรยี นรู้
๘.๑ ด้านการวางแผนการจัดการเรยี นรู้
ครูออกแบบกิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่ใหน้ ักเรียนมสี ่วนร่วมในการทากิจกรรมกนั ทุกคน ส่ือการ
สอนท่ีครูออกแบบช่วยดึงดูดความสนใจของนักเรียนเป็นอย่างดี การจัดการเรียนรู้เป็นไปตามที่วางแผนไว้ทุก
ขั้นตอน นอกจากน้ยี งั ออกแบบใบกจิ กรรมท่ีมีรูปแบบใหม่ ๆ เพือ่ ดึงดดู ความสนใจของนักเรียนด้วย การดาเนิน
กจิ กรรมการเรยี นรู้เปน็ ไปตามขัน้ ตอนท่อี อกแบบไวแ้ ละตามเวลาที่กาหนด
๘.๒ ด้านพฤตกิ รรมครู
ครเู ปน็ ผอู้ ธบิ ายความรใู้ หน้ กั เรียนฟงั กอ่ นทน่ี ักเรยี นไดศ้ ึกษาความรูด้ ว้ ยตนเอง ครูเปน็ ผู้
ดาเนินกจิ กรรมการเลน่ เกมให้เปน็ ไปตามลาดบั ขั้นตอนทก่ี าหนด
๘.๓ ด้านพฤตกิ รรมนกั เรยี นและผลการเรียนรู้
กจิ กรรมที่ออกแบบให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการเลน่ เกมเหมือนกนั ทกุ คน ทาให้นกั เรียนได้
แสดงออกทางความรู้ และความสามารถอย่างเท่าเทียมกัน ทาหวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้ง่าย ขณะ
จดั การเรยี นรู้ มนี ักเรยี นบางคนท่มี ีพฤตกิ รรมไม่ค่อยเหมาะสม แต่ครูกส็ ามารถตักเตือนและควบคมุ ชน้ั เรยี นได้
๘.๔ อปุ สรรค ปัญหา และขอ้ เสนอแนะ
นักเรยี นชอบสอ่ื การเรียนรทู้ ามือทส่ี ามารถหยิบจบั ได้ ดงั น้นั ครูควรออกแบบสอ่ื การเรียนร้ใู น
ลักษณะดังกลา่ วในการประกอบการสอนใหส้ ม่าเสมอ เพอื่ ให้นักเรยี นสนใจและใสใ่ จการเรียนมากขึ้น
ลงช่ือ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
แบบบันทึกผลการเรยี นรเู้ ร่ือง จาแนกแยกสว่ นประกอบของประโยค
ผลการเรียนรู้
บอกลกั ษณะ แยก จาแนก มคี วาม คะแนน
รวม
เลข ชอื่ -สกลุ ของประโยค สว่ นประกอบ ประโยค ๒ กระตือรือร้น
ที่ ๒ ส่วนและ ของประโยค ส่วนและ ๓ ในการทา ๑๓
๕
๓ สว่ น สว่ น กจิ กรรม ๕
๑๓
๓ ๕ ๕ คณุ ภาพ ๕
๕
๑. เดก็ ชายภมู ิภัทร ใจกล้า ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๑๒
๕
๒. เด็กชายประเสริฐ จนั ทร์ดามขุ ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๕
๓. เด็กชายเตชินท์ พวงดาว ๓ ๕ ๕ ดี ๙
๕
๔. เด็กชายสรรชยั สุนประโคน ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๘
๑๓
๕. เดก็ ชายชัยภัทร เกดกนั หา ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๕
๘
๖. เด็กชายนนทพัทธ์ ศรีประโคน ๓ ๕ ๔ ดี ๑๑
๕
๗. เดก็ ชายภานุวัฒน์ ขวญั เมอื ง ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๗
๗
๘. เด็กชายอตวิ ิชญ์ ศรสี ว่าง ๒ ๓ ๒ ดี ๘
๖
๙. เดก็ ชายอดศิ ร ยอดรกั ษ์ ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๑๑
๑๐. เด็กชายณฐั ภมู ิ การะเกศ ๒ ๔ ๓ ดี
๑๑. เด็กชายธีรศกั ด์ิ จนั ทร์เพียง ๑ ๒ ๒ พอใช้
๑๒. เดก็ ชายภวู ดล ศริ ิสวสั ด์ิ ๒ ๓ ๓ ดี
๑๓. เดก็ ชายธรี ธรณ์ ประกายแก้ว ๓ ๕ ๕ ดี
๑๔. เดก็ ชายเทพฤทธิ์ ศรีอนงค์ ๑ ๒ ๒ พอใช้
๑๕. เด็กหญิงธนั ยพร ใจกล้า ๒ ๓ ๓ ดี
๑๖. เด็กหญงิ ปรัณญา บุตรวงั ๓ ๔ ๔ ดี
๑๗. เด็กหญิงกมลวรรณ นาอุดม ๓ ๕ ๕ พอใช้
๑๘. เดก็ หญงิ กญั ญาภร เขือดประโคน ๓ ๒ ๒ ดี
๑๙. เด็กหญงิ ธญั ชนก สานักนิตย์ ๑ ๓ ๓ ดี
๒๐. เด็กหญงิ กัญญาณัฐ ใจกลา้ ๒ ๓ ๓ ดี
๒๑. เด็กหญงิ ณธิดา สบื สาย ๒ ๒ ๒ ดี
๒๒. เด็กหญิงนีรชา ทพิ ย์รอด ๓ ๔ ๔ ดี
ผลการเรียนรู้
บอกลกั ษณะ แยก จาแนก มคี วาม คะแนน
กระตือรอื รน้ รวม
เลข ชอื่ -สกลุ ของประโยค สว่ นประกอบ ประโยค ๒ ในการทา
ท่ี ๑๓
๒ ส่วนและ ของประโยค สว่ นและ ๓ กิจกรรม ๑๑
คุณภาพ ๖
๓ ส่วน ส่วน ๖
ดี ๖
๓๕๕
ดี
๒๓. เดก็ หญิงนชิ า ทิพยร์ อด ๓๔๔
๒๔. เดก็ หญงิ สุธิมา ปัญญาใส ดี
๒๕. เดก็ หญิงอโนมา พวงดาว ๑๓๓
๒๖. เด็กหญิงอลนิ ลดา เสนห่ ด์ ี ดี
๒๒๒
๒๒๒
ลงชอื่ ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลการเรยี นรู้ของนักเรยี น
ประเดน็ การประเมนิ เกณฑ์การใหค้ ะแนน
๓๒๑๐
๑. บอกลักษณะของ นกั เรียนสามารถบอก นักเรียนสามารถบอก นักเรียนไม่สามารถ
ประโยค ๒ ส่วนและ ลกั ษณะของประโยค ลกั ษณะของประโยค บอกลักษณะของ
๓ สว่ นได้ ๒ ส่วนและ ๓ สว่ น ๒ สว่ นและ ๓ ส่วน ประโยค ๒ ส่วนและ
ได้อย่างถูกต้อง ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง แต่ยงั ๓ ส่วนได้
ไมค่ รอบคลุ ม
๒. แยกส่วนประกอบ นักเรยี นแยก นกั เรยี นแยก
ของประโยค และ สว่ นประกอบของ สว่ นประกอบของ
สามารถจาแนก ประโยค และสามารถ ประโยค และจาแนก
ประโยค ๒ ส่วนและ จาแนกประโยค ๒ ประโยค ๒ สว่ นและ
สว่ นและ ๓ สว่ นได้ ๓ สว่ น ไมถ่ ูกต้อง
๓ ส่วน
ถกู ต้อง
๓. นกั เรียนมคี วาม นกั เรยี นท้งั หมด มี นักเรยี นในชั้นเรียน นักเรยี นท้งั หมด ไมม่ ี
กระตือรอื รน้ ในการทา ส่วนร่วมแสดงความ บางส่วน สว่ นรว่ มแสดงความ
กจิ กรรม คดิ เหน็ อภปิ รายและ มีสว่ นร่วมแสดงความ คดิ เหน็ อภิปรายและ
โต้ตอบกบั ครเู ป็น คิดเหน็ อภปิ รายและ โต้ตอบกบั ครู รวมทงั้
ประจา รวมทงั้ ปฏิบัติ โต้ตอบกบั ครู รวมท้งั ไมต่ ัง้ ใจปฏบิ ัติภารกิจ
ภารกจิ กจิ กรรมท่ี ปฏิบัตภิ ารกิจ กิจกรรมที่ได้รับ
ได้รับมอบหมายดว้ ย กิจกรรมที่ไดร้ ับ มอบหมาย
ความตั้งใจ มอบหมายด้วยความ
ต้งั ใจ
เกณฑก์ ารประเมนิ
คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรปรบั ปรุง
แผนการจัดการเรยี นรู้ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ สนุกสนานกบั การเลน่ เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาท)ี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕/๖ เรอ่ื ง รู้ความหมาย ขยายประโยค ผสู้ อน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรียนวัดบา้ นไพบลู ย์ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
สอนวนั ท่ี ๙ เดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. ความคิดรวบยอด
ส่วนขยายของประโยค เป็นส่วนที่นามาเขียนเพื่อขยายประโยคให้มีความหมายท่ีชัดเจนย่ิงข้ึน
นักเรียนควรเรียนรู้เรื่องประโยคและส่วนขยายประโยค จะทาให้นักเรียนเข้าใจโครงสร้างของประโยค
ใช้ประโยคเพือ่ การสื่อสารไดอ้ ยา่ งถูกต้อง อกี ทง้ั ยงั เห็นความสาคัญของประโยคเพื่อการส่ือสาร
๒. มาตรฐานและตวั ชีว้ ดั
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสอ่ื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราวในรูปแบบ
ตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ตัวชว้ี ัด
ท ๑.๑ ป.๔/๒ เขยี นสือ่ สารโดยใช้คาได้ถกู ต้องชดั เจน และเหมาะสม
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของ
ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ
ตวั ชีว้ ัด
ท ๑.๑ ป.๔/๔ แตง่ ประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
เมอื่ นักเรียนเรียนเรอื่ ง “รู้ความหมาย ขยายประโยค” แลว้ นกั เรียนสามารถ
๑. บอกลักษณะของส่วนขยายของประโยคได้ (K)
๒. แยกสว่ นขยายท่ีอยู่ในประโยคได้ (C)
๓. แต่งประโยคทมี่ สี ว่ นขยายในประโยคได้ (C)
๔. มคี วามกระตือรือร้นในการทากิจกรรม (A)
๔. สาระการเรียนรู้
ดา้ นองค์ความรู้ (Knowledge)
สว่ นขยายของประโยค เปน็ ส่วนท่นี ามาเขยี นเพอื่ ขยายประโยคใหม้ คี วามหมายที่ชดั เจน
ยงิ่ ขน้ึ ส่วนขยายของประโยคน้ีสามารถสว่ นขยายประธาน ขยายกริยา หรือขยายกรรม คาที่เป็นส่วนขยายมัก
วางตดิ กบั คาทถ่ี ูกขยาย
ด้านสมรรถนะ (Competency)
๑. ทักษะการคิดวเิ คราะห์ ตามแนวคดิ ของมารซ์ าโน (Marzano, ๒๐๐๑) คือ
๑.๑ ด้านการจดั จาแนก คอื ความสามารถในการสงั เกตและจาแนกแยกแยะรายละเอยี ด
ของสิง่ ตา่ ง ๆ หรือเหตุการณ์ทเ่ี หมอื นหรือแตกตา่ งกันออกเป็นสว่ น ๆ อยา่ งมีหลกั เกณฑ์และเขา้ ใจง่าย
๑.๒ ด้านการจัดหมวดหมู่ คือ ความสามารถในการใช้ความรู้เพ่ือการจัดกลุ่ม จัดลาดับ
จัดประเภทของส่ิงตา่ ง ๆ โดยใช้คุณลกั ษณะหรือคุณสมบตั ขิ องสงิ่ นน้ั ๆ อยา่ งมีหลักการหรอื หลกั เกณฑ์
๑.๓ ดา้ นการวเิ คราะหข์ ้อผิดพลาด คือความสามารถในอธิบายขอ้ ผิดพลาดหรือระบุความไม่
สมั พันธก์ นั ของบัตรคาได้อย่างมเี หตุผล
๑.๔ ดา้ นการสรุปอา้ งองิ หลักการ คอื ความสามารถในการเช่อื มโยงขอ้ มูลเพื่ออธิบายข้อมลู
ตามหลักการได้
๑.๕ ดา้ นการนาไปใช้ คอื ความสามารถในการนาความรหู้ รือหลักการไประบใุ นสถานการณ์
ทีอ่ าจจะเกดิ ข้ึน
๒. ทักษะกระบวนการกลุ่ม คอื ความสามารถในการแบ่งภาระหน้าที่รับผิดชอบหรือช่วยเหลือซ่ึง
กันและกันภายในกลุ่มทค่ี รูมอบหมายใหไ้ ด้
๓. ทักษะการแต่งประโยค คือ การเรียบเรียงคาให้ได้ใจความ โดยมีส่วนประกอบ คือ
ภาคประธาน และภาคเเสดง
ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (Attributes)
มีความกระตือรอื รน้ ในการทากิจกรรม โดยนักเรียนในช้ันเรียน มสี ่วนร่วมแสดงความคิดเห็น
อภิปรายและโตต้ อบกบั ครเู ป็นประจา รวมทงั้ ปฏบิ ัติภารกิจกิจกรรมท่ีไดร้ บั มอบหมายด้วยความตั้งใจ
๕. กระบวนการจดั การเรียนรู้
๕.๑ การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความร้ใู หม่
๑. นกั เรยี นทากิจกรรม “ฝกึ คิด ฝกึ สรา้ งประโยค” โดยมีกติกาคือ ครูจะติดบตั รคาบน
กระดานแล้วให้นักเรยี นนาคาบนกระดานมาสรา้ งเปน็ ประโยคให้ได้มากท่สี ุด
พ่อ อาหาร แมว เสียงดงั ตวั อว้ น
ปลา ของฉนั คณุ ยาย ขนม ขโมย
กิน เดก็ หญงิ ทา สนุ ัข แสนอรอ่ ย
อยา่ งมีความสขุ เรว็ มาก ตัวโต หัวเราะ ว่งิ
๒. นักเรียนพิจารณาส่วนประกอบของประโยคและแยกส่วนประกอบของประโยค
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรยี น: ประธาน กริยาและกรรม)
๓. นักเรียนร่วมกันพิจารณาส่วนประกอบของประโยคที่เหลืออยู่ว่าเป็นส่วนใดของประโยค
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรยี น : สว่ นขยายของประโยค)
๕.๒ การกระตุน้ ให้เกดิ ความขดั แย้งทางปัญญาและปฏิบัติภารกจิ การเรียนรู้
๑. นกั เรียนร่วมกันอภิปรายเกีย่ วกบั ลักษณะส่วนขยายของประโยค (คาดการณแ์ นวคาตอบ
ของนกั เรียน: ส่วนขยายของประโยค เป็นส่วนท่ีนามาเขยี นเพื่อขยายประโยคให้มีความหมายที่ชัดเจนย่งิ ขึน้ )
๒. จากนั้นรว่ มกนั อภปิ รายเกีย่ วกับเร่ืองประโยค โดยใหน้ กั เรียนตอบคาถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี
- หากนาส่วนขยายของประโยคออก ประโยคจะยงั มคี วามหมายท่สี มบรู ณ์หรือไม่
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ความหมายของประโยคยงั สมบรู ณ์)
- เพราะเหตใุ ดเมอ่ื ตัดส่วนขยายของประโยคออกแล้วจงึ ไม่ทาให้ความหมายของ
ประโยคเปล่ียนแปลงไป (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ส่วนที่ตัดออกเรียกว่า ส่วนขยายของประโยค
ส่วนขยายประโยค เป็นส่วนที่นามาเขียนเพ่ือขยายประโยคให้มีความหมายท่ีชัดเจนย่ิงขึ้น เมื่อตัดส่วนขยาย
ของประโยคออกก็ไมท่ าให้ความหมายของประโยคเปล่ียนแปลงไป)
๓. นักเรียนพิจารณาข้อความ “น้องกินข้าว” บนกระดาน จากนั้นให้นักเรียนเพ่ิมส่วนขยาย
ของประโยค และบอกวา่ ขยายส่วนใดของประโยค
๕.๓ การสร้างและแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง และขยายแนวคดิ ทีห่ ลากหลาย
ครูสุม่ นักเรยี นออกมายกตัวอย่างประโยคโดยใหเ้ ขยี นประโยคบนกระดาน และให้นักเรียนทุก
คนร่วมกันแยกส่วนประกอบของประโยค (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ประธาน กริยา กรรม และ
ส่วนขยายของประโยค)
๕.๔ การสรา้ งความเขา้ ใจของตนเองและกลมุ่ โดยการสะท้อนความคดิ และสรุปองคค์ วามรู้
๑. นกั เรยี นสรุปความร้เู ร่ืองท่ีไดร้ ับจากการเรียนเรือ่ ง “รูค้ วามหมาย ขยายประโยค”
ตามประเด็นต่อไปน้ี
- นกั เรยี นได้เรยี นรู้อะไรจากการเรยี นเรอื่ ง “รคู้ วามหมาย ขยายประโยค”
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนกั เรยี น: ไดร้ จู้ กั สว่ นประกอบของประโยค ได้รจู้ ักสว่ นขยายของประโยค)
- นักเรียนคดิ วา่ ส่วนขยายของประโยคมคี วามสาคญั หรือไม่ มหี น้าทีอ่ ยา่ งไร
(คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรียน: สาคัญ เพราะสว่ นขยายของประโยคมีหนา้ ท่ีขยายประโยคให้มี
ความหมายทช่ี ดั เจนยิ่งขนึ้ )
- ส่วนขยายของประโยคสามารถขยายสว่ นใดของประโยคได้บา้ ง (คาดการณ์แนว
คาตอบของนกั เรียน: ขยายประธาน กริยา และกรรม)
๒. นักเรียนทาแบบฝกึ หดั กิจกรรมที่ ๘-๙ จากเอกสารประกอบการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการ-
เรยี นร้ภู าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ เล่ม ๒ หน้า ๑๑-๑๒
๓. ครูสุ่มตัวแทนนกั เรียนจานวน ๑ - ๒ คน มานาเสนอแบบฝึกหัดของตนเองหนา้ ช้ันเรียน
เพอ่ื เป็นการเฉลยคาตอบ
๔. เพอ่ื นนกั เรยี นนาเสนอความคิดเหน็ ของตนเองเพิ่มเติมในความคิดทีแ่ ตกตา่ ง
๖. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
๑) บตั รคาการสรา้ งประโยค
๒) แถบประโยค
๓) หนังสอื เรยี น ภาษาพาที ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔
๔) เอกสารประกอบการเรียนหลักภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔
เลม่ ๒ หน้า ๑๑-๑๒
๗. การวัดและประเมนิ ผล วิธกี ารวัด เครอ่ื งมือท่ใี ช้วัด เกณฑ์ผา่ น
สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
สิ่งทีจ่ ะวดั การตอบคาถาม อยู่ในระดบั ดี ข้นึ ไป
๑. บอกลักษณะของส่วน การตอบคาถาม
ขยายของประโยคได้ ตรวจแบบฝึกหัด ไดค้ ะแนนต้งั แต่
กิจกรรมท่ี ๘ แบบฝึกหดั ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป
๒. แยกส่วนขยายที่อยู่ใน กิจกรรมที่ ๘
ประโยคได้ ตรวจแบบฝกึ หดั ไดค้ ะแนนตัง้ แต่
กจิ กรรมที่ ๙ แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป
๓. แต่งประโยคทีม่ สี ว่ น สังเกตพฤติกรรม กจิ กรรมที่ ๙ ผลการประเมิน
ขยายในประโยคได้ การเรียนรู้ แบบสงั เกตพฤติกรรม อยใู่ นระดับ ดี ขึ้นไป
๔. มคี วามกระตือรือรน้ ใน การเรียนรู้
การทากิจกรรม
๘. บันทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้
๘.๑ ด้านการวางแผนการจัดการเรียนรู้
ครอู อกแบบกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีให้นักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในการทากิจกรรมกันทุกคน สือ่ การ
สอนท่ีครูออกแบบช่วยดึงดูดความสนใจของนักเรียนเป็นอย่างดี การจัดการเรียนรู้เป็นไปตามท่ีวางแผนไว้ทุก
ขั้นตอน นอกจากน้ียงั ออกแบบใบกิจกรรมทีม่ รี ปู แบบใหม่ ๆ เพื่อดึงดดู ความสนใจของนักเรียนด้วย การดาเนิน
กจิ กรรมการเรยี นรู้เป็นไปตามข้ันตอนท่ีออกแบบไว้และตามเวลาทก่ี าหนด
๘.๒ ด้านพฤตกิ รรมครู
ครูเป็นผู้อธิบายความรู้ให้นกั เรียนฟัง กอ่ นทีน่ ักเรยี นไดศ้ ึกษาความรูด้ ้วยตนเอง ครูเป็นผู้
ดาเนนิ กจิ กรรมการเลน่ เกมให้เป็นไปตามลาดับขัน้ ตอนท่ีกาหนด
๘.๓ ดา้ นพฤตกิ รรมนกั เรียนและผลการเรยี นรู้
กจิ กรรมทอี่ อกแบบให้นักเรียนไดม้ ีสว่ นรว่ มในการเลน่ เกมเหมือนกนั ทุกคน ทาใหน้ กั เรยี นได้
แสดงออกทางความรู้ และความสามารถอย่างเท่าเทียมกัน ทาหวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้ง่าย ขณะ
จดั การเรียนรู้ มนี ักเรียนบางคนที่มพี ฤติกรรมไม่คอ่ ยเหมาะสม แต่ครูก็สามารถตักเตือนและควบคมุ ชั้นเรยี นได้
๘.๔ อุปสรรค ปญั หา และขอ้ เสนอแนะ
นกั เรียนชอบสอื่ การเรียนรทู้ ามือทสี่ ามารถหยบิ จับได้ ดงั นน้ั ครูควรออกแบบสือ่ การเรียนรู้ใน
ลกั ษณะดังกล่าวในการประกอบการสอนใหส้ มา่ เสมอ เพ่ือใหน้ กั เรยี นสนใจและใสใ่ จการเรียนมากขน้ึ
ลงชอื่ ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นรเู้ รอื่ ง ร้คู วามหมาย ขยายประโยค
ผลการเรียนรู้
บอกลกั ษณะ แยกสว่ น แตง่ ประโยค มคี วาม คะแนน
รวม
เลข ช่อื -สกลุ ของส่วน ขยายที่อยู่ใน ทมี่ สี ว่ นขยาย กระตือรือร้น
ท่ี ขยายของ ประโยค ในประโยค ในการทา ๑๓
๕
ประโยค กจิ กรรม ๕
๑๓
๓ ๕ ๕ คุณภาพ ๕
๕
๑. เดก็ ชายภูมภิ ัทร ใจกล้า ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๑๒
๕
๒. เด็กชายประเสรฐิ จันทร์ดามขุ ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๕
๓. เดก็ ชายเตชินท์ พวงดาว ๓ ๕ ๕ ดี ๙
๕
๔. เดก็ ชายสรรชยั สุนประโคน ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๘
๑๓
๕. เด็กชายชยั ภทั ร เกดกันหา ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๕
๘
๖. เดก็ ชายนนทพัทธ์ ศรปี ระโคน ๓ ๕ ๔ ดี ๑๑
๕
๗. เด็กชายภานวุ ัฒน์ ขวัญเมอื ง ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๗
๗
๘. เด็กชายอตวิ ชิ ญ์ ศรสี ว่าง ๒ ๓ ๒ ดี ๘
๖
๙. เดก็ ชายอดิศร ยอดรักษ์ ๑ ๒ ๒ พอใช้ ๑๑
๑๐. เดก็ ชายณัฐภมู ิ การะเกศ ๒ ๔ ๓ ดี
๑๑. เด็กชายธรี ศกั ดิ์ จนั ทรเ์ พยี ง ๑ ๒ ๒ พอใช้
๑๒. เด็กชายภูวดล ศิริสวัสดิ์ ๒ ๓ ๓ ดี
๑๓. เดก็ ชายธรี ธรณ์ ประกายแก้ว ๓ ๕ ๕ ดี
๑๔. เดก็ ชายเทพฤทธ์ิ ศรีอนงค์ ๑ ๒ ๒ พอใช้
๑๕. เดก็ หญิงธันยพร ใจกลา้ ๒ ๓ ๓ ดี
๑๖. เดก็ หญิงปรัณญา บุตรวัง ๓ ๔ ๔ ดี
๑๗. เด็กหญงิ กมลวรรณ นาอุดม ๓ ๕ ๕ พอใช้
๑๘. เดก็ หญงิ กัญญาภร เขือดประโคน ๓ ๒ ๒ ดี
๑๙. เดก็ หญงิ ธัญชนก สานกั นิตย์ ๑ ๓ ๓ ดี
๒๐. เด็กหญงิ กัญญาณฐั ใจกลา้ ๒ ๓ ๓ ดี
๒๑. เด็กหญิงณธิดา สบื สาย ๒ ๒ ๒ ดี
๒๒. เด็กหญิงนรี ชา ทพิ ยร์ อด ๓ ๔ ๔ ดี
เลข ชื่อ-สกลุ บอกลกั ษณะ ผลการเรยี นรู้ มคี วาม คะแนน
ท่ี ของสว่ น แยกส่วน แตง่ ประโยค กระตือรอื รน้ รวม
ขยายของ ขยายท่ีอยู่ใน ที่มีสว่ นขยาย ในการทา
๒๓. เด็กหญงิ นชิ า ทพิ ยร์ อด ประโยค ประโยค ในประโยค ๑๓
๒๔. เดก็ หญิงสธุ มิ า ปญั ญาใส ๓ กจิ กรรม ๑๑
๒๕. เด็กหญงิ อโนมา พวงดาว ๕๕ คุณภาพ ๖
๒๖. เด็กหญิงอลนิ ลดา เสนห่ ์ดี ๓ ๔๔ ๖
๓๓ ดี ๖
๑ ๒๒
๒๒ ดี
๒
ดี
๒
ดี
ลงชอ่ื ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
เกณฑ์การให้คะแนนผลการเรยี นรูข้ องนกั เรยี น
ประเดน็ การประเมิน เกณฑ์การใหค้ ะแนน
๑. บอกลักษณะของส่วน ๓ ๒๑ ๐
ขยายของประโยคได้ นกั เรียนสามารถบอก
นักเรยี นสามารถบอก นกั เรยี นไมส่ ามารถ นกั เรยี นแยก
๒. แยกสว่ นประกอบ ลกั ษณะของสว่ น ส่วนประกอบของ
ของประโยค ขยายของประโยค ลักษณะของสว่ น บอกลักษณะของส่วน ประโยคไม่ถูกต้อง
ได้อยา่ งถกู ต้อง นักเรยี นแตง่ ประโยค
๓. แต่งประโยคที่มีสว่ น ขยายของประโยค ขยายของประโยคได้ ท่ีมสี ่วนขยายไม่
ขยาย นักเรียนทัง้ หมด มี
สว่ นร่วมแสดงความ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง แตย่ ัง ถูกต้อง
๔. นักเรยี นมคี วาม คิดเหน็ อภปิ รายและ
กระตือรือรน้ ในการทา โตต้ อบกับครูเป็น ไมค่ รอบคลุ ม
ประจา รวมทัง้ ปฏิบตั ิ
กิจกรรม ภารกิจกิจกรรมที่ นักเรียนแยก
ได้รับมอบหมายด้วย
ส่วนประกอบของ
ความตงั้ ใจ
ประโยค ได้ถูกต้อง
นักเรยี นแต่งประโยค
ที่มสี ่วนขยายได้อยา่ ง
ถกู ต้องและเหมาะสม
นักเรียนในชน้ั เรยี น นกั เรียนทั้งหมด ไมม่ ี
บางส่วน มี ส่วนร่วมแสดงความ
ส่วนร่วมแสดงความ คิดเห็น อภิปรายและ
คดิ เห็นอภิปรายและ โต้ตอบกบั ครู รวมทั้ง
โต้ตอบกบั ครู รวมทัง้ ไม่ต้ังใจปฏิบัตภิ ารกิจ
ปฏบิ ัติภารกจิ กจิ กรรม กจิ กรรมที่ไดร้ ับ
ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายดว้ ย มอบหมาย
ความตั้งใจ
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน ระดับคุณภาพ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรปรบั ปรงุ
แผนการจัดการเรยี นรู้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ สนกุ สนานกบั การเลน่ เวลา ๑ คาบ (๖๐ นาที)
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๖/๖ เรือ่ ง รู้ความหมาย ขยายประโยค ผู้สอน นางสาวสาริสา เสาโร
โรงเรยี นวดั บา้ นไพบูลย์ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
สอนวันที่ ๑๑ เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. ความคิดรวบยอด
การเขียนจดหมายลาป่วย เป็นการเขียนจดหมายเมื่อเกิดเจ็บป่วย แล้วไม่สามารถไปโรงเรียนได้
เป็นการเขียนเพ่ือแจ้งวัตถุประสงค์ให้ครูทราบว่าต้องการลาเรียน โดยการเขียนจดหมายจะต้องใช้ภาษาท่ี
แตกต่างกัน และใช้ภาษาสุภาพ เขียนด้วยลายมือที่อ่านง่าย สะอาด เรียบร้อย เม่ือนักเรียนได้ทราบ
องค์ประกอบและวิธีการเขียนจดหมายลาป่วยแล้ว จะทาให้นักเรียนเขียนจดหมายลาป่วยได้ถูกต้อง
และเห็นความสาคัญของการเขียนจดหมายลาปว่ ย
๒. มาตรฐานและตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราวใน
รูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมีประสิทธิภาพตัวช้ีวัด
ตวั ชวี้ ดั
ท ๒.๑ ป.๔/๑ คดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และคร่งึ บรรทัด
ท ๒.๑ ป.๔/๕ เขยี นจดหมายถงึ เพอ่ื นและบิดามารดา
ท ๒.๑ ป.๔/๘ มีมารยาทในการเขียน
๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
เมอื่ นักเรยี นเรียนเร่ือง “จดหมายลาป่วย” แลว้ นักเรยี นสามารถ
๑. บอกส่วนประกอบของจดหมายลาป่วยได้ (K)
๒. บอกตาแหนง่ ของสว่ นประกอบของจดหมายลาปว่ ยได้ (K)
๓. เขียนจดหมายลาป่วยได้ (C)
๔. มมี ารยาทในการเขยี น (A)
๔. สาระการเรียนรู้
ด้านองคค์ วามรู้ (Knowledge)
การเขียนจดหมาย เป็นการสื่อสารวธิ ีหน่งึ จดหมายหมายท่ีเขยี นถงึ บุคคลต่าง ๆ ยอ่ มใช้ภาษาที่
แตกต่างกนั และใช้ภาษาสุภาพ เขยี นด้วยลายมือที่อ่านงา่ ย สะอาด เรียบรอ้ ย จา่ หนา้ หนา้ ซองให้ถกู ต้อง
ชัดเจน ถ้าสง่ ทางไปรษณียจ์ าเปน็ ตอ้ งปดิ ดวงตราไปรษณยี ากรใหค้ รบตามราคาทก่ี าหนด
จดหมายทนี่ กั เรียนควรรู้
๑. จดหมายสว่ นตัว นกั เรยี นเขียนถึง พ่อแม่ เพ่ือน หรือญาติพ่ีน้อง
๒. จดหมายกิจธุระ นักเรยี นเขยี นถงึ ครูเพื่อลาปว่ ย หรือลากิจ
การเขียนจดหมายลาครู เป็นการเขียนจดหมายเพ่ือแจ้งให้ครูประจาช้นั ทราบถึงเหตผุ ลทีไ่ ม่สามารถมา
เรียนได้หรือเหตุผลท่ีต้องขาดเรยี น โดยใชภ้ าษาท่ีสภุ าพ แสดงถึงความเคารพผเู้ ขยี นเรียนให้คุณครู และเขียน
ใหถ้ ูกต้องตามรปู แบบของจดหมาย
ส่วนประกอบของจดหมายและตาแหน่งในการเขยี นจดหมาย
๑. ท่อี ยขู่ องผเู้ ขียน อยตู่ รงมมุ บนขวาของหนา้ กระดาษใหเ้ รมิ่ เขียนท่ีกึ่งกลางหน้ากระดาษ
๒. วนั เดือน ปี ให้เขยี นก่งึ กลางหน้ากระดาษ โดยเขียนวนั เดอื น ปี ที่จะเขียนจดหมาย
๓. คาขึน้ ต้น ให้เขียนเวน้ ค่นั หนา้ กระดาษ ๑.๕ น้วิ
๔. เนื้อหา เริม่ เขยี นโดยยอ่ หน้าเล็กน้อย โดยเขยี นบอกสาเหตุ และบอกระยะเวลาการลา
๕. คาลงท้าย อยู่ตรงกบั วนั เดอื นปที ่ีเขียน เป็นการบอกกล่าวแสดงความเคารพ
๖. ลงชอ่ื ผูเ้ ขียน ใหเ้ ขยี นเยอ้ื งลงมาทางขวามือเล็กนอ้ ย
๗. คารบั รองของผ้ปู กครอง ให้เขยี นตรงกบั คาขนึ้ ตน้ แล้วใหผ้ ูป้ กครองลงชอ่ื กากบั ไว้
ด้านสมรรถนะ (Competency)
กระบวนการเขยี นจดหมายลาปว่ ย ประกอบดว้ ย
๑. ทาความเข้าใจองค์ประกอบของจดหมายลาปว่ ย
๒. จดจารูปแบบการเขียนจดหมายลาปว่ ย
๓. วางแผนการเขียนจดหมายลาป่วยโดยกาหนดหัวข้อย่อยของจดหมาย เช่น ที่อยู่
ผ้เู ขยี น วนั เดอื นปี คาข้นึ ต้น ฯลฯ
๔. ฝกึ เขียนจดหมายลาป่วยด้วยตนเอง
๕. เชื่อมโยงความรสู้ ูก่ ารนาไปปฏิบตั ิจริง เชน่ การเขยี นจ่าหนา้ ซองและนาจดหมาย
ใส่ซองมาสง่ ครู
ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (Attributes)
มมี ารยาทในการเขียน โดยนกั เรียนเขยี นด้วยลายมอื ทอี่ า่ นง่าย เป็นระเบยี บ สะอาด ไม่มีรอย
ขดี ฆา่
๕. กระบวนการจดั การเรียนรู้
๕.๑ การเชือ่ มโยงความรู้เดมิ กบั ความรใู้ หม่
๑. นักเรยี นแบง่ กลมุ่ เปน็ ๕ กลมุ่ กลมุ่ ละ ๗ คน
๒. นักเรียนทากิจกรรม “คาถามชวนคิด” ครูติดบัตรคาบนกระดาน แล้วให้นักเรียนตอบ
คาถามว่าบัตรคาทน่ี กั เรียนเหน็ เก่ียวขอ้ งกบั เรื่องใด
ที่อยขู่ องผ้เู ขยี น วนั เดอื น ปี คาขน้ึ ต้น เนอ้ื หา
คาลงทา้ ยและลงชื่อผ้เู ขยี น คารับรองของผู้ปกครอง
(คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรยี น: องค์ประกอบของจดหมาย)
๓. นกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายเร่ืองจดหมายในประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี
- จดหมายคอื อะไร
- ทาไมต้องเขยี นจดหมาย
- หากนกั เรียนไมส่ บายนักเรยี นจะทาอยา่ งไรใหค้ รูทราบวา่ นักเรียนตอ้ งการลา
โรงเรยี น
- นกั เรียนเคยเขียนจดหมายลาปว่ ยหรอื ไม่
๕.๒ การกระตนุ้ ให้เกิดความขดั แย้งทางปญั ญาและปฏิบัติภารกจิ การเรียนรู้
๑. นกั เรียน ดรู ปู ทคี่ รนู าเสนอบนโปรแกรมเพาเวอรพ์ อยท์
๒. ให้นกั เรยี นร่วมกันพิจารณารปู แล้วตอบคาถามว่าหมายเลข ๑ – ๖ เป็นองค์ประกอบส่วน
ใดของจดหมาย (เม่ือนักเรียนตอบคาถามถูกต้อง ครูเฉลยองค์ประกอบของจดหมายและยกตัวอย่างการเขียน
แตล่ ะองคป์ ระกอบ)
๕.๓ การสรา้ งและแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง และขยายแนวคิดท่หี ลากหลาย
๑. นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายเรื่องการเขยี นจดหมายในประเด็นดงั ตอ่ ไปนี้
- นกั เรยี นคิดวา่ ผรู้ บั จะทราบไดอ้ ยา่ งไรว่าใครเป็นผสู้ ่งจดหมายให้
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรียน: ตอ้ งจา่ หนา้ ซองจดหมาย)
๒. นกั เรียน ดรู ปู ท่ีครนู าเสนอบนโปรแกรมเพาเวอรพ์ อยท์
………………………………… ๑ ๓
…………………………………
…………………………………
๒ ……………………………………
……………………………………
….
๓. ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั พิจารณารูปแลว้ ตอบคาถามว่าหมายเลข ๑ – ๓ เป็นองค์ประกอบสว่ น
ใดของหน้าซองจดหมาย (เม่ือนักเรียนตอบคาถามถูกต้อง ครูเฉลยองค์ประกอบของจดหมายและยกตัวอย่าง
การเขียนแต่ละองคป์ ระกอบ)
๕.๔ การสรา้ งความเขา้ ใจของตนเองและกลมุ่ โดยการสะท้อนความคิด และสรุปองค์ความรู้
๑. นักเรียนฝึกการเขียนจดหมายในกิจกรรมท่ี ๑๐-๑๑ จากเอกสารประกอบ
การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ เล่ม ๒ หน้า ๑๓-๑๔ ตามตัวอย่างจดหมาย
บนโปรแกรมเพาเวอรพ์ อยท์
๒. นกั เรยี นรว่ มกันสรุปองคค์ วามรเู้ กีย่ วกับองค์ประกอบของจดหมาย
๓. นักเรยี นตอบคาถามในประเดน็ ต่อไปนี้
- นักเรยี นไดร้ ับความรู้หรอื ประโยชน์อย่างไรในการเรียนรเู้ รื่องการเขียนจดหมายลาป่วย
คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรียน: ได้ฝกึ สมาธิ, ได้ฝกึ ความสามารถในการใชภ้ าษา, สามารถ
นาไปใช้ในอนาคตหรือชีวติ ประจาวันได้
-
๖. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
๑) สือ่ องค์ประกอบของจดหมายเพาเวอร์พอยท์
๒) ตวั อยา่ งจดหมายลาปว่ ย
๓) หนังสอื เรยี น ภาษาพาที ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔
๔) เอกสารประกอบการเรยี นหลกั ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔
เล่ม ๒ หน้า ๑๓-๑๔
๗. การวัดและประเมินผล
ส่งิ ท่จี ะวัด วธิ กี ารวัด เครื่องมอื ทีใ่ ช้วัด เกณฑผ์ า่ น
๑. บอกสว่ นประกอบของ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
จดหมายลาปว่ ยได้ การตอบคาถาม อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
๒. บอกตาแหน่งของ สังเกตพฤติกรรม การตอบคาถาม ผลการประเมิน
สว่ นประกอบของจดหมายลา การตอบคาถาม แบบสังเกตพฤติกรรม อยู่ในระดับ ดี ขน้ึ ไป
ปว่ ยได้
๓. เขียนจดหมายลาป่วยได้ ตรวจแบบฝกึ หดั การตอบคาถาม ไดค้ ะแนนตงั้ แต่
กิจกรรมท่ี ๑๐-๑๑ ร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป
๔. มมี ารยาทในการเขยี น ตรวจแบบฝกึ หัด แบบฝกึ หดั ผลการประเมนิ
กิจกรรมที่ ๑๐-๑๑ กจิ กรรมท่ี ๑๐-๑๑ อยใู่ นระดบั ดี ข้นึ ไป
แบบฝึกหดั
กิจกรรมท่ี ๑๐-๑๑
๘. บันทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้
๘.๑ ด้านการวางแผนการจดั การเรยี นรู้
ครูปรับเปล่ียนรูปแบบการสอน โดยในการสอนจริง ครูอธิบายหลักการเขียนจดหมายให้
นกั เรยี นฟังก่อน จากน้ันครทู บทวนและอธิบายหลักการเขียนใหน้ กั เรยี นฟังอีกรอบหนงึ่ พร้อมท้ังใหน้ ักเรียนลง
มอื เขียนจดหมายในแบบฝึกหัดตามไปดว้ ย เพอื่ ใหน้ กั เรยี นเขียนได้อย่างถูกต้อง
๘.๒ ดา้ นพฤติกรรมครู
ครอู ธิบายความรู้ให้นกั เรยี นฟังก่อนทากจิ กรรม และอธบิ ายให้คาแนะนาเพิ่มตอนตอนที่
นักเรียนลงมอื เขยี นจดหมายในใบงาน
๘.๓ ดา้ นพฤติกรรมนักเรียนและผลการเรยี นรู้
นกั เรยี นทุกคนมีพฤติกรรมทเี่ หมาะสม ต้งั ใจฟงั และตง้ั ใจทาใบงานเปน็ อยา่ งดี ผลการเรียนรู้
เรือ่ งการเขยี นจดหมายในครั้งนี้จึงอยใู่ นระดบั ดี เม่ือนกั เรียนทาผิด แล้วครใู หค้ าแนะนา นกั เรียนก็พรอ้ มแก้ไข
ใหถ้ ูกต้อง
๘.๔ อปุ สรรค ปญั หา และข้อเสนอแนะ
การเรยี นรู้เร่ืองการเขียนต้องใชเ้ วลาในการสอนและฝึกปฏบิ ัติ แตใ่ นการสอนจริงน้ันมีเวลา
จากดั ครูจึงปรบั เปล่ยี นรปู แบบการสอนใหม่ โดยอธิบายหลักการเขยี นและใหน้ ักเรียนเขียนไปพร้อมกนั
ลงชอ่ื ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔