The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 5.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sarisamimeew, 2022-04-28 10:40:48

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 5.2

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 5.2

แผนการจดั การเรียนรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๔
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๕ อย่างน้ีดคี วรทา เวลา ๑ คาบ (๕๐ นาที)
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑/๖ เร่อื ง รคู้ า จาศัพท์ ผสู้ อน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรยี นวัดบ้านไพบูลย์ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
สอนวันท่ี ๒๓ เดือนธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

๑. ความคิดรวบยอด
ศัพท์ใหม่ในบทเรียน เรื่อง อย่างนี้ดีควรทา คือ คาศัพท์พื้นฐานท่ีนักเรียนควรรู้จัก โดยมีลักษณะเป็น

คาศัพท์ที่นาเข้าสู่เนื้อเร่ืองในบทเรียน นักเรียนควรฝึกอ่าน ทาความเข้าใจความหมาย และนาคาศัพท์ไปใช้ให้
ถูกต้องตรงตามความหมาย จะทาให้นักเรียนเข้าใจเน้ือเรื่องในบทเรียนมากย่ิงข้ึน และสามารถนาคาศัพท์
เหลา่ นั้นไปใชใ้ นการสือ่ สารไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

๒. มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ป๎ญหาในการ

ดาเนินชีวิต และมนี ิสยั รักการอา่ น
ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๔/๒ อธบิ ายความหมายของคา ประโยค และสานวนจากเร่อื งท่ีอ่าน
ท ๑.๑ ป.๔/๘ มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลงั

ของภาษา ภูมิปญ๎ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
ตวั ชวี้ ัด
ท ๔.๑ ป.๔/๑ สะกดคาและบอกความหมายของคาในบรบิ ทต่าง ๆ
ท ๔.๑ ป.๔/๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลกั ภาษา

๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
เม่อื นักเรียนเรียนเรอ่ื ง “รู้คา จาศัพท”์ แล้วนักเรยี นสามารถ
๑. บอกความหมายของคาศพั ทท์ กี่ าหนดให้ได้ถกู ต้อง (K)
๒. อา่ นออกเสียงคาศัพท์ท่กี าหนดให้ได้ถกู ต้อง (C)
๓. เขยี นสะกดคาศพั ท์และคาอ่านของคาศพั ท์ทีก่ าหนดให้ได้ถูกต้อง (C)
๔. แต่งประโยคได้เหมาะสมกบั ความหมาย (C)
๕. มีมารยาทในการอ่าน (A)

๔. สาระการเรียนรู้
ดา้ นองคค์ วามรู้ (Knowledge)

คาศัพท์และความหมายจากบทท่ี ๑๓ เรื่อง อยา่ งนดี้ คี วรทา จานวน ๒๐ คา ดังน้ี

คาศพั ท์ คาอา่ น ความหมาย

สรปุ สะ-หรบุ ย่อเอาแตใ่ จความสาคญั ของเรอื่ ง

คณุ ธรรม คนุ -นะ-ทา ความดงี าม

กอ่ สร้าง ก่อ-สา้ ง การกอ่ และสร้างอาคารบา้ นเรือน

บัญญัติ บัน-หยดั ข้อความท่กี าหนดข้ึนไวเ้ ป็นขอ้ บังคบั

ปฏบิ ตั ิ ปะ-ติ-บัด ดาเนนิ ไปตามระเบียบแบบแผน

อุดมคติ อุ-ดม-คะ-ติ จินตนาการทถี่ ือเปน็ มาตรฐานแห่งความดี

สญั ลกั ษณ์ สนั -ยะ-ลัก สง่ิ ทีก่ าหนดขึน้ เพ่อื ให้หมายความแทนอีกสง่ิ หนึ่ง

สวรรค์ สะ-หวนั โลกของเทวดา,เมืองฟูา

ประธาน ประ-ทาน ท่เี ป็นหลักสาคัญในท่ีน้ัน ๆ

พระเจดีย์ทราย พระ-เจ-ด-ี ซาย เจดียท์ ่ีสร้างด้วยทราย มียอดแหลม

กตัญํู กะ-ตนั -ยู ความรูค้ ุณ

พยาบาท พะ-ยา-บาด ผูกใจเจบ็ และคดิ จะแก้แค้น

กรรโชก กนั -โชก ขใู่ หก้ ลัว

กฎหมาย กด-หมาย กฎท่ีสรา้ งขึน้ เพอื่ บังคบั บคุ คลใหป้ ฏิบตั ิตาม

บริหาร บอ-ร-ิ หาน ดาเนนิ การ,จัดการ,ออกกาลงั

เทศกาล เทด-สะ-กาน วนั เวลาทกี่ าหนดไว้เปน็ ประเพณีเพ่อื การทาบญุ

ประเพณี ประ-เพ-นี สง่ิ ทย่ี ึดเปน็ แนวปฏบิ ตั สิ บื ต่อกนั มา

มสั ยดิ มดั -สะ-ยิด สถานทปี่ ระกอบพธิ กี รรมทางศาสนาอสิ ลาม

พธิ กี รรม พิ-ที-กา แบบปฏิบัตใิ นทางศาสนา

ศลิ ปะ สนิ -ละ-ปะ ฝมี อื ,ฝมี ือทางการชา่ ง,การทาใหว้ จิ ิตรพิสดาร

ดา้ นสมรรถนะ (Competency)
๑) ทักษะการแต่งประโยค คือ การเรียบเรียงคาให้ได้ใจความ โดยมีส่วนประกอบ

คือ ภาคประธาน และภาคเเสดง
๒) ทักษะการอ่านออกเสียง คือ ความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียงในเรื่อง

การประสม พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ การอ่านคาที่มีตัวสะกดและไม่มีตัวสะกด โดยเรียงพยัญชนะ สระ
วรรณยุกตแ์ ละตวั สะกด ให้เปน็ คาอย่างถูกต้อง อ่านไดถ้ กู ตอ้ งตามอักขรวิธี

๓) ทักษะการเขียนสะกดคา คือ ความสามารถในการเขียนคาศัพท์ใหม่ในบทเรียนท่ี
กาหนดใหไ้ ด้ถกู ต้องตามหลักภาษาไทยด้วยความคลอ่ งแคลว่ ว่องไว

๔) ทักษะกระบวนการกลุ่ม คือ ความสามารถในการแบ่งภาระหน้าที่รับผิดชอบหรือ
ช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกนั ภายในกลมุ่ ทีค่ รูมอบหมายให้ได้

ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Attributes)
- มีมารยาทในการอ่าน โดยนักเรียนมีสมาธิในการอ่าน และอ่านอย่างตั้งใจไม่มีพฤติกรรม

รบกวนผอู้ น่ื ขณะอา่ น

๕. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
๕.๑ การเชื่อมโยงความรู้เดมิ กบั ความรูใ้ หม่
๑. นกั เรียนแบง่ กลุ่มออกเปน็ ๖ กลมุ่ กลมุ่ ละเทา่ ๆ กนั
๒. นักเรยี นเล่นเกม “ตอ่ เตมิ คา” บนโปรแกรมเพาเวอร์พอยท์ โดยให้นักเรียน

เติมพยัญชนะในช่องว่างให้ถูกต้องเหมาะสมกับความหมาย (กลุ่มที่ตอบถูกต้องจะได้รับคะแนน
คาละ ๕๐ คะแนน) ประกอบดว้ ยคาศพั ท์ ดงั นี้
ตัวอย่างคาศัพทป์ ริศนา

คาศัพท์ คาอา่ น ความหมาย

สรุป สะ-หรบุ ยอ่ เอาแตใ่ จความสาคัญของเรื่อง

คณุ ธรรม คุน-นะ-ทา ความดีงาม

ก่อสร้าง กอ่ -ส้าง การก่อและสรา้ งอาคารบ้านเรือน

บัญญัติ บัน-หยัด ขอ้ ความท่กี าหนดขนึ้ ไว้เปน็ ขอ้ บังคับ

ปฏบิ ัติ ปะ-ติ-บัด ดาเนินไปตามระเบยี บแบบแผน

อดุ มคติ อุ-ดม-คะ-ติ จินตนาการทถี่ ือเป็นมาตรฐานแห่งความดี

สัญลักษณ์ สนั -ยะ-ลกั สงิ่ ทีก่ าหนดข้ึนเพ่อื ให้หมายความแทนอกี ส่งิ หน่ึง

สวรรค์ สะ-หวัน โลกของเทวดา,เมอื งฟูา

ประธาน ประ-ทาน ที่เปน็ หลกั สาคญั ในทน่ี ้นั ๆ

พระเจดยี ์ทราย พระ-เจ-ด-ี ซาย เจดียท์ ่สี ร้างด้วยทราย มียอดแหลม

กตญั ํู กะ-ตนั -ยู ความรคู้ ณุ

พยาบาท พะ-ยา-บาด ผกู ใจเจ็บและคดิ จะแก้แคน้

กรรโชก กัน-โชก ขใู่ หก้ ลวั

กฎหมาย กด-หมาย กฎที่สรา้ งขึน้ เพ่อื บงั คบั บคุ คลให้ปฏบิ ัติตาม

คาศพั ท์ คาอา่ น ความหมาย
บริหาร บอ-ร-ิ หาน ดาเนนิ การ,จัดการ,ออกกาลงั
เทศกาล เทด-สะ-กาน วันเวลาที่กาหนดไว้เป็นประเพณเี พอ่ื การทาบญุ
ประเพณี ประ-เพ-นี ส่ิงที่ยึดเปน็ แนวปฏบิ ตั สิ บื ต่อกันมา
มสั ยิด มดั -สะ-ยิด สถานท่ปี ระกอบพิธกี รรมทางศาสนาอสิ ลาม
พิธีกรรม พิ-ที-กา แบบปฏบิ ตั ิในทางศาสนา
ศลิ ปะ สนิ -ละ-ปะ ฝีมือ,ฝมี อื ทางการชา่ ง,การทาให้วิจติ รพิสดาร

๓. เม่ือนักเรยี นตอบถกู ตอ้ ง ครูติดบตั รคาบนกระดาน
๔. นักเรียนอ่านคาศัพท์จากบทอ่านเรื่อง อย่างนี้ดีควรทา ท่ีครูติดบนกระดาน
โดยนักเรยี นอา่ น ๑ คาและปรบมือเปน็ จังหวะไปเรอื่ ย ๆ จนครบทกุ คา ประกอบดว้ ยคาศพั ท์ ดงั นี้

คาศพั ท์ คาอา่ น คาศพั ท์ คาอ่าน

สรุป สะ-หรุบ กตญั ํู กะ-ตนั -ยู

คุณธรรม คนุ -นะ-ทา พยาบาท พะ-ยา-บาด

กอ่ สรา้ ง ก่อ-สา้ ง กรรโชก กัน-โชก

บัญญัติ บัน-หยดั กฎหมาย กด-หมาย

ปฏิบัติ ปะ-ติ-บัด บริหาร บอ-ร-ิ หาน

อดุ มคติ อุ-ดม-คะ-ติ เทศกาล เทด-สะ-กาน

สญั ลักษณ์ สนั -ยะ-ลัก ประเพณี ประ-เพ-นี

สวรรค์ สะ-หวัน มัสยดิ มัด-สะ-ยิด

ประธาน ประ-ทาน พธิ กี รรม พิ-ที-กา

พระเจดยี ์ทราย พระ-เจ-ด-ี ซาย ศิลปะ สิน-ละ-ปะ

๕.๒ การกระตุ้นให้เกดิ ความขัดแย้งทางปัญญาและปฏบิ ัติภารกิจการเรียนรู้
๑. นักเรยี นและครูรว่ มกนั ทบทวนความหมายของคาศัพท์บางคาทน่ี ักเรยี นยงั ไมร่ ู้
๒. นักเรียนทากิจกรรม “ย่ิงยาวย่ิงดี” โดยครูจะสุ่มให้นักเรียนเลือกคาศัพท์ที่ครูติด

บนกระดาน นามาแต่งเป็นประโยคให้ได้มากท่ีสุด ซ่ึงคาท่ีนามาใช้ในการแต่งต้องมีความเหมาะสมกับ
ความหมายและบริบท ถ้าแต่งได้เหมาะสมกับความหมายและบริบท กลุ่มน้ันจะได้รับคะแนนคาละ
๕๐ คะแนน ทาเช่นน้จี นกวา่ คาจะหมด

๕.๓ การสร้างและแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง และขยายแนวคดิ ท่หี ลากหลาย
๑. นกั เรียนทาใบภารกจิ การเรยี นรทู้ ี่ ๑๓/๑ เรอ่ื ง “สรา้ งคาใหมใ่ นบทเรยี น” กลุ่มละ ๑ แผน่

โดยให้นักเรียนสร้างคาใหม่จากคาที่กาหนดจานวน ๕ คา ให้ได้มากท่ีสุด ซ่ึงคาที่สร้างขึ้นมาใหม่จะต้องมี
ความหมายเขา้ ใจได้ ภายในเวลา ๕ นาที คาละ ๕ คะแนน

๒. ตัวแทนนกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอหน้าช้ันเรยี น
๓. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ คะแนน
๕.๔ การสร้างความเขา้ ใจของตนเองและกลมุ่ โดยการสะทอ้ นความคดิ และสรปุ องคค์ วามรู้
๑. นกั เรียนและครรู ่วมกันอภปิ รายในประเดน็ ตอ่ ไปนี้

- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: อ่านคาศัพท์ได้
ถกู ตอ้ ง, รคู้ วามหมายของคาศพั ท์)

- การฝึกอ่านและเขียนคาศัพท์มีประโยชน์อย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของ
นักเรียน : ทาให้รู้จักคาศพั ทม์ ากขึน้ , ทาใหอ้ า่ นและเขยี นคาศัพทไ์ ด้ถูกต้อง)

- การเรยี นร้คู วามหมายของคาศพั ท์มีประโยชน์อยา่ งไร (คาดการณ์แนวคาตอบของ
นกั เรียน : ทาใหร้ คู้ วามหมายของคาศัพท์ , ทาให้เข้าใจเร่ืองราวท่ีอา่ น , ทาให้เราเลือกใชค้ าได้ถกู ต้อง)

๒. นักเรียนทาแบบฝึกหัดกิจกรรมที่ ๑-๓ จากเอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระ
การเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ เลม่ ๒ หนา้ ๕๘-๕๙

๖. สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้
๑) บตั รคาศพั ทจ์ ากเร่ือง “อยา่ งน้ีดคี วรทา” จานวน ๒๐ คา
๒) สื่อการสอนเพาเวอร์พอยท์กจิ กรรม “ตอ่ เติมคา”
๓) ใบภารกจิ การเรียนรทู้ ี่ ๑๓/๑ เร่ือง “สรา้ งคาใหม่ในบทเรยี น”
๔) หนงั สอื เรียน ภาษาพาที ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
๕) เอกสารประกอบการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เล่ม ๒

หนา้ ๕๘-๕๙ กจิ กรรมที่ ๑-๓
๗. การวัดและประเมินผล

ส่ิงท่จี ะวดั วิธีการวดั เคร่ืองมือท่ใี ช้วัด เกณฑผ์ า่ น
๑. บอกความหมายของคาศัพท์ท่ี สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
กาหนดใหไ้ ด้ถูกต้อง การตอบคาถาม อยู่ในระดับ ดี ข้นึ ไป
๒. อ่านออกเสยี งคาศัพทท์ ี่ สงั เกตพฤติกรรม การตอบคาถาม ผลการประเมนิ
กาหนดใหไ้ ด้ถกู ต้อง การอา่ นออกเสยี ง แบบสงั เกตพฤติกรรม อยใู่ นระดบั ดี ขึ้นไป
การอ่านออกเสยี ง
๓. เขยี นสะกดคาศัพท์และคาอ่าน ตรวจแบบฝึกหดั ไดค้ ะแนนตง้ั แต่
ของคาศัพท์ท่ีกาหนดให้ไดถ้ ูกต้อง กิจกรรมที่ ๑-๒ แบบฝกึ หัด รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป
กิจกรรมที่ ๑-๒
๔. แตง่ ประโยคไดเ้ หมาะสมกับ ตรวจแบบฝึกหดั ได้คะแนนตง้ั แต่
ความหมาย กจิ กรรมท่ี ๓ แบบฝกึ หัด ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป
กิจกรรมท่ี ๓

ส่งิ ทีจ่ ะวดั วธิ ีการวดั เครอื่ งมือท่ีใช้วดั เกณฑผ์ ่าน
๕. มมี ารยาทในการอา่ น สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
อยใู่ นระดบั ดี ขึ้นไป
การอา่ น การอ่าน

๘. บนั ทกึ ผลหลังการสอน
๘.๑ ด้านแผนการจัดการเรียนรู้
เทคนิคและวิธีการสอนจะเน้นให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น ได้ฝึกคิดวิเคราะห์

หาคาตอบด้วยตนเอง โดยใช้วิธีการสอนท่ีสร้างนวัตกรท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ ทาให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับ

ผู้สอน เช่น การตอบคาถาม รวมท้ังมีกิจกรรมกลุ่มให้นักเรียนได้ทาร่วมกัน ท้ังน้ีส่ือการเรียนการสอน

เหมาะสมกบั ผู้เรียน และสามารถสอนได้ตามแผนที่วางไว้

๘.๒ ดา้ นพฤตกิ รรมครู

ผู้สอนอธิบายได้ดี ชดั เจน มีความมั่นใจ และครูผู้สอนมคี วามรา่ เริงตลอดเวลา นักเรียนก็สนุกสนานทา
ให้ไดร้ บั ทั้งความรู้และความบนั เทิง

๘.๓ ดา้ นพฤติกรรมนักเรยี นและผลการเรียนรู้
นักเรียนมีความกระตือรือร้นและให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม เช่น การตอบคาถาม
แสดงความคดิ เห็นในชัน้ เรียน นอกจากน้ีนักเรียนยังให้ความสนใจและตั้งใจเรียน ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะว่าการใช้
สอื่ นวตั กรรม และเทคนิควธิ ีการสอนต่าง ๆ ทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ จงึ ทาให้พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
เป็นไปตามผลท่ีต้ังไว้
๘.๔ อุปสรรค ปัญหา และข้อเสนอแนะ
พยายามกระจายโอกาสให้นักเรยี นไดม้ สี ่วนรว่ มในกิจกรรมอยา่ งทวั่ ถงึ และอาจนาผลงานของนักเรียน
ที่โดดเดน่ นามาจดั นทิ รรศการในหอ้ งเพอื่ ให้นกั เรียนไดช้ น่ื ชมผลงานท่ีดี

ลงช่ือ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๓ ธนั วาคม ๒๕๖๔

แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้เรอ่ื ง รคู้ า จาศพั ท์
ผลการเรยี นรู้

เลข ช่อื -สกลุ บอกความหมายของคา ัศพท์ คะแนน
ที่ ่ีทกาหนดให้ รวม

อ่านออกเสียงคา ัศพท์ที่
กาหนดให้

เ ีขยนสะกดคา ัศพท์และคา
อ่านของคาศัพท์ ่ทีกาหนดให้
แ ่ตงประโยคได้เหมาะสมกับ

ความหมาย
มีมารยาทในการ ่อาน

๓ ๓ ๑๐ ๑๐ คุณภาพ ๒๖

๑. เดก็ ชายภูมิภัทร ใจกล้า ๑๒ ๗ ๖ พอใช้ ๑๖

๒. เด็กชายประเสริฐ จันทร์ดามขุ ๑๑ ๕ ๕ พอใช้ ๑๒

๓. เดก็ ชายเตชนิ ท์ พวงดาว ๓๓ ๘ ๘ ดี ๒๔

๔. เด็กชายสรรชยั สนุ ประโคน ๑๑ ๕ ๕ ควรปรบั ปรุง ๑๒

๕. เดก็ ชายชัยภทั ร เกดกนั หา ๑๑ ๖ ๖ ควรปรบั ปรุง ๑๔

๖. เด็กชายนนทพัทธ์ ศรีประโคน ๓๓ ๙ ๙ ดี ๒๔

๗. เด็กชายภานวุ ฒั น์ ขวญั เมือง ๑๑ ๕ ๕ ควรปรบั ปรงุ ๑๒

๘. เดก็ ชายอตวิ ิชญ์ ศรสี ว่าง ๒๒ ๗ ๗ พอใช้ ๑๘

๙. เด็กชายอดศิ ร ยอดรกั ษ์ ๑๑ ๕ ๕ ควรปรบั ปรงุ ๑๒

๑๐. เด็กชายณฐั ภูมิ การะเกศ ๒๒ ๗ ๗ พอใช้ ๑๘

๑๑. เดก็ ชายธีรศักดิ์ จนั ทร์เพียง ๑๑ ๕ ๕ ควรปรบั ปรงุ ๑๒

๑๒. เดก็ ชายภวู ดล ศิริสวสั ดิ์ ๒๒ ๖ ๖ พอใช้ ๑๖

๑๓. เด็กชายธีรธรณ์ ประกายแกว้ ๓๓ ๘ ๘ ดี ๒๒

๑๔. เดก็ ชายเทพฤทธ์ิ ศรีอนงค์ ๑๑ ๕ ๕ ควรปรับปรุง ๑๒

๑๕. เดก็ หญงิ ธันยพร ใจกลา้ ๒๒ ๖ ๖ พอใช้ ๑๖

๑๖. เด็กหญิงปรณั ญา บุตรวงั ๓๓ ๘ ๘ ดี ๒๒

๑๗. เดก็ หญงิ กมลวรรณ นาอุดม ๓๓ ๘ ๘ ดี ๒๒

๑๘. เดก็ หญิงกญั ญาภร เขอื ดประโคน ๓ ๓ ๘ ๘ ดี ๒๒

๑๙. เดก็ หญิงธญั ชนก สานักนิตย์ ๑๑ ๖ ๖ ควรปรับปรุง ๑๔

๒๐. เดก็ หญงิ กญั ญาณฐั ใจกลา้ ๒๒ ๗ ๗ พอใช้ ๑๘

ผลการเรียนรู้

เลข ช่ือ-สกลุ บอกความหมายของคา ัศพท์ คะแนน
ท่ี ่ีทกาหนดให้ รวม

อ่านออกเสียงคา ัศพท์ที่
กาหนดให้

เ ีขยนสะกดคา ัศพท์และคา
อ่านของคาศัพท์ ่ทีกาหนดให้
แ ่ตงประโยคได้เหมาะสมกับ

ความหมาย
มีมารยาทในการ ่อาน

๓ ๓ ๑๐ ๑๐ คณุ ภาพ ๒๖

๒๑. เดก็ หญิงณธิดา สืบสาย ๒๒ ๗ ๗ พอใช้ ๑๘
๒๒. เด็กหญิงนรี ชา ทพิ ย์รอด
๒๓. เด็กหญงิ นิชา ทิพย์รอด ๓๓ ๘ ๘ ดี ๒๒
๒๔. เดก็ หญิงสุธมิ า ปญ๎ ญาใส
๒๕. เดก็ หญิงอโนมา พวงดาว ๓๓ ๘ ๘ ดี ๒๒
๒๖. เด็กหญิงอลนิ ลดา เสนห่ ์ดี
๑๑ ๖ ๖ ควรปรบั ปรงุ ๑๔

๒๒ ๖ ๖ พอใช้ ๑๖

๒๒ ๗ ๗ พอใช้ ๑๘

ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๑๔ ธนั วาคม ๒๕๖๔

เกณฑก์ ารให้คะแนนผลการเรยี นรขู้ องนักเรียน

ประเด็นการประเมนิ เกณฑ์การให้คะแนน
๑. บอกความหมายของ
คาศัพท์ท่ีกาหนดให้ได้ ๓ ๒๑ ๐

๒. อ่านออกเสียงคาศัพทท์ ี่ นักเรียนสามารถบอก นกั เรยี นสามารถบอก นักเรียนสามารถบอก
กาหนดให้ได้ ความหมายของคาศัพท์ได้ ความหมายของ ความหมายของคาศัพท์
ถูกต้องตัง้ แต่ ๑๖ คาขน้ึ คาศัพทไ์ ด้ถูกต้อง ได้ถูกต้องน้อยกวา่ ๑๓
๑๓-๑๕ คา
ไป คา

อ่านออกเสยี งคาศัพท์ได้ อา่ นออกเสยี งคาศัพท์ อา่ นออกเสียงคาศัพท์ไม่

ถูกต้องทุกคา ไม่ถูกตอ้ ง ๒-๓ คา ถูกต้องมากกว่า ๔ คา

๓. เขียนคาศพั ท์ใหมจ่ ากคาที่ นกั เรยี นสามารถเขยี น นกั เรยี นเขียน
กาหนดให้
๔. การแต่งประโยค คาศัพท์ใหม่จากคาท่ี คาศัพทใ์ หมจ่ ากคาที่

๕. มมี ารยาทในการอา่ น กาหนดใหไ้ ด้ถูกต้องและ กาหนดให้ไมไ่ ด้

เหมาะสม ถกู ต้อง

๑. มสี มาธิในการอา่ น ขาดคุณลักษณะ นักเรียนสามารถนาคาที่
อา่ นอยา่ งตัง้ ใจ ข้อใดข้อหน่ึงจาก ๓ กาหนดใหม้ าแต่ง
ประโยคได้ครบถ้วน
๒. ไม่มพี ฤติกรรมรบกวน ข้อ
ผอู้ นื่ ขณะอ่าน ตามสว่ นประกอบของ
ประโยค
๓. นงั่ อา่ นหรอื ยืนอา่ นใน
ทา่ ทางสุภาพ - มีใจความสมบูรณ์
เหมาะสมกับบริบท
- ลายมือ สวยงาม

ขาดคุณลักษณะ

๒ ขอ้ จาก ๓ ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน ระดบั คุณภาพ

๓ ดี

๒ พอใช้

๑ ควรปรบั ปรุง

ใบภารกจิ การเรียนร้ทู ่ี ๑๓/๑ เรื่อง “สร้างคาใหมใ่ นบทเรียน”

กลุม่ ที.่ ..............................เลขท่ี..........................................................................................

คาช้ีแจง : ให้นักเรียนสร้างคาใหม่จากคาที่กาหนดจานวน ๕ คา ให้ได้มากท่ีสุด ซึ่งคาท่ีสร้างข้ึนมาใหม่จะต้องมี
ความหมายเข้าใจได้ โดยภายในเวลา ๕ นาที (คาละ ๕ คะแนน)

ตวั อยา่ ง กฎหมาย = กา หมา ยา กายา กาย ยาก หา กม หม หมาก หก
มสั ยดิ = มด สด ยัด มัด สิ ยิม สมั ดม ยม มิ มดิ

๑. ก่อสร้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. เทศกาล
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. อุดมคติ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔. พยาบาท
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๕. พิธีกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการจดั การเรยี นรู้ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๔
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๕ อย่างน้ีดีควรทา เวลา ๑ คาบ (๕๐ นาท)ี
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๒/๖ เรื่อง อยา่ งนีด้ คี วรทา ผู้สอน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรียนวดั บ้านไพบลู ย์ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
สอนวนั ที่ ๒๔ เดือนธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

๑. ความคิดรวบยอด
การอ่านจับใจความสาคัญบทเรียน เร่ือง อย่างน้ีดีควรทา คือ การอ่านท่ีมุ่งค้นหาใจความสาคัญของ

เน้ือหาเร่อื ง อยา่ งนดี้ ีควรทา ซง่ึ มีเนื้อหาสาระความรเู้ กีย่ วกับการปฏิบตั ิตามหลักคาสอนของศาสนาต่าง ๆ เช่น
ศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลามที่มีความแตกต่างกันหลาย ๆ ด้าน ได้แก่ ข้อบัญญัติ ข้อปฏิบัติ ประเพณี พิธีกรรม
และศาสนสถาน แต่มีส่ิงหน่ึงท่ีศาสนาทุกศาสนาเหมือนกันคือ การสอนให้คนทาความดี มีเมตตากรุณาต่อ
เพ่ือนมนุษย์ นักเรียนควรฝึกอ่านจับใจความสาคัญจากเนื้อเร่ือง เพ่ือให้เกิดทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ
รวมทง้ั ทาใหม้ มี ารยาทในการอา่ น ตลอดจนเห็นคุณค่าของเรื่องที่อ่าน และสามารถนาความรู้หรือข้อคิดท่ีได้ไป
ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ให้เกดิ ประโยชนไ์ ด้

๒. มาตรฐานและตวั ช้วี ัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ป๎ญหาใน

การดาเนนิ ชีวติ และมีนสิ ยั รักการอ่าน
ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๔/๓ อา่ นเร่ืองสั้น ๆ ตามเวลาทก่ี าหนดและตอบคาถามจากเร่อื งทอี่ า่ น
ท ๑.๑ ป.๔/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่านโดยระบุเหตผุ ลประกอบ
ท ๑.๑ ป.๔/๖ สรปุ ความรูห้ รอื ข้อคดิ จากเรือ่ งที่อ่านเพื่อนาใช้ในชวี ิตประจาวนั
ท ๑.๑ ป.๔/๘ มมี ารยาทในการอา่ น

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใน
รูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ตวั ชีว้ ัด
ท ๒.๑ ป.๔/๒ เขยี นสือ่ สารโดยใช้คาได้ถกู ตอ้ งชัดเจน และเหมาะสม
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภมู ิปญ๎ ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ
ท ๔.๑ ป.๔/๕ แตง่ บทรอ้ ยกรองและคาขวัญ

๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

เมือ่ นกั เรียนเรยี นเรอื่ ง “อย่างนดี้ ีควรทา” แล้วนกั เรียนสามารถ
๑. สรุปเรือ่ งอย่างน้ดี ีควรทาได้ (K)
๒. บอกข้อคดิ จากเรอื่ งอย่างน้ีดีควรทาได้ (K)
๓. ตอบคาถามจากเรื่องอย่างน้ดี ีควรทาได้ (C)
๔. แต่งคาขวัญเพ่ือรณรงคใ์ ห้ทุกคนทาความดีได้ (C)
๕. ออกแบบวรรณรูปปลูกจติ สานึกในการทาความดีได้ (C)
๖. มมี ารยาทในการอ่าน (A)

๔. สาระการเรยี นรู้
ด้านองคค์ วามรู้ (Knowledge)
๑. เนอ้ื เร่อื งอยา่ งนดี้ ีควรทา
ศาสนาแต่ละศาสนามีความแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นศาสดาที่เป็นผู้ส่ังสอนให้รู้จักผิดชอบช่ัวดี ผู้เผย

แผศ่ าสนา ไดแ้ ก่ พระสงฆ์ บาทหลวง อิหม่าม เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีข้อบัญญัติ ข้อปฏิบัติ ประเพณี พิธีกรรม
และศาสนสถานทแี่ ตกต่างกัน แต่มีสิ่งหน่ึงท่ีศาสนาทุกศาสนาเหมือนกันคือ การสอนให้คนทาความดี มีเมตตา
กรณุ าต่อเพือ่ นมนุษย์

เร่ืองอย่างน้ีดีควรทามีข้อคิด คือ ศาสนาเป็นหลักดาเนินชีวิต ซึ่งสอนคนไม่ให้ทาชั่วได้ดีกว่ากฎหมาย
คอื รจู้ ักควบคมุ ตนเองได้ท้ังต่อหน้าและลับหลัง รวมไปถงึ สามารถควบคุมจติ ใจตนเองไดด้ ้วย

ด้านสมรรถนะ (Competency)
๑. ทักษะการจับใจความสาคัญ คือ ความสามารถในการอ่านท่ีมีจุดมุ่งหมายในการเข้าใจ

สาระหลักหรือแนวคิดของเน้ือเร่ืองที่อ่านได้อย่างถูกต้อง โดยผู้อ่านต้องอ่านทาความเข้าใจเน้ือหาต้ังแต่ต้น
จนจบ เพ่ือสรุปให้ไดว้ ่าเปน็ เร่อื งเก่ียวกับอะไร หรอื ใคร ทาอะไร ท่ไี หน เม่อื ไร อยา่ งไร และทาไม

๒. ทักษะการคิดวิเคราะห์ คือ ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้จากเนื้อหา เพื่อนา
ความรหู้ รือหลกั การไประบุในสถานการณท์ ่อี าจจะเกิดขึน้

๓. ทักษะการแต่งคาขวัญ คือ ความสามารถในการใช้ถ้อยคาท่ีสั้น กะทัดรัด มีความหมาย
ลึกซึ้ง ใช้คาต้ังแต่ ๒ คาข้ึนไป แต่ไม่ควรเกิน ๑๖ คา แบ่งเป็นวรรคได้ตั้งแต่ ๑-๔ วรรค เป็นการเขียนท่ีตรง
จุดมุ่งหมาย มีการแสดงความคิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหน่ึงอย่างชัดเจน มีใจความสาคัญเพียงอย่างเดียว ว่าจะให้
ผู้ฟง๎ คิดหรอื ปฏิบตั ิเร่ืองอะไร เปน็ คาตักเตือนหรือแนะนาให้ปฏิบัตใิ นทางที่ดี

๔. ทกั ษะการคิดเชงิ สร้างสรรค์ คอื ความสามารถในการคิดหลายทิศทาง หลายแง่ หลายมุม
คิดได้กว้างไกล ลักษณะความคิดท่ีนาไปสู่การออกแบบวรรณรูปปลูกจิตสานึกในการทาความดีได้ รวมถึงการ
คิดคน้ พบวธิ ีการแกป้ ญ๎ หาไดส้ าเรจ็

๕. ทักษะกระบวนการกลุ่ม คือ ความสามารถในการแบ่งภาระหน้าที่รับผิดชอบหรือ
ชว่ ยเหลือซึ่งกันและกันภายในกลุ่มที่ครูมอบหมายใหไ้ ด้

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attributes)
มมี ารยาทในการอา่ น โดยนักเรยี นมีสมาธิในการอา่ น และอ่านอย่างตง้ั ใจไม่มพี ฤติกรรม

รบกวนผ้อู ื่นขณะอ่าน
๕. กระบวนการจดั การเรยี นรู้

๕.๑ การเชอ่ื มโยงความรู้เดิมกบั ความรใู้ หม่
๑. นักเรยี นดูรูปภาพ จากโปรแกรมเพาเวอรพ์ อยท์ ดงั นี้

๒. นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายเกี่ยวกบั รปู ภาพในประเดน็ ต่อไปนี้
- นักเรียนเห็นภาพอะไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ภาพพระสงฆ์

บาทหลวง และอิหมา่ ม)
- บุคคลทั้งสามมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร และมีหน้าท่ีอย่างไรบ้าง

(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: แตกต่างกัน คือ พระสงฆ์เก่ียวข้องกับศาสนาพุทธ บาทหลวงเกี่ยวข้อง
กับศาสนาครสิ ต์ และอหิ ม่ามเกีย่ วข้องกับศาสนาอสิ ลาม แต่มีความเหมือนกันตรงท่ีเป็นผู้ที่ทาหน้าที่ในการเผย
แผค่ าสอนของศาสนา)

๕.๒ การกระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ทางปญั ญาและปฏบิ ัติภารกจิ การเรยี นรู้
๑. นักเรยี นอ่านเนอ้ื เรอ่ื ง “อยา่ งนี้ดีควรทา” โดยใช้เวลา ๕ นาที
๒. นักเรียนทากิจกรรม “ตอบให้ไวทายให้ถูก” โดยมีกติกาคือ ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนเลือก

แผ่นปูายหมายเลข ๑-๖ โดยหลังแผ่นปูายจะมีคาถามและคะแนนของคาถามน้ันติดอยู่ คะแนนจะมีต้ังแต่
คาถามละ ๕๐-๒๐๐ คะแนน

๓. นกั เรยี นทากิจกรรม“ตอบใหไ้ วทายใหถ้ กู ” จนกว่านกั เรียนจะตอบคาถามครบทกุ ข้อ
โดยคาถามมีดงั น้ี

- ตวั ละครในเร่ืองมีใครบา้ ง (๕๐ คะแนน)
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนกั เรยี น: (นิ่ม นวล อน้ ทิดยอด พ่ีอุ่นเรอื น )

- ศาสนสถานของแตล่ ะศาสนาเรยี กว่าอะไร จงยกตวั อย่าง (๑๐๐ คะแนน)
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน : ศาสนาพุทธ คือ วัด, ศาสนาคริสต์ คือ โบสถ์ และศาสนาอิสลาม
คือ มัสยดิ )

- สานวนท่ีว่า "สวรรคอ์ ยใู่ นอก นรกอยู่ในใจ" นกั เรียนเข้าใจว่าอยา่ งไร
(๑๕๐ คะแนน) (คาดการณแ์ นวคาตอบของนกั เรยี น : คนทาความดีย่อมมีความสขุ สดชื่น แจม่ ใส อ่ิมเอิบใจ
เหมอื นอยู่สวรรค์ แตค่ นทาความชัว่ แม้ไม่มีใครร้เู หน็ แต่ตัวเองย่อมรอู้ ยู่แกใ่ จ ความกงั วล ทุกข์ร้อนสุมอยู่ในใจ
เหมอื นตกนรก)

- ผู้ท่ปี ฏิบตั ิตามคาสอนของศาสนาจะเกิดผลดีอย่างไร (๑๕๐ คะแนน)
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรียน : ชวี ติ จะสงบและมคี วามสุข เพราะศาสนามักสอนให้เราละเว้นการทาชั่ว
ให้ทาแตส่ ิ่งท่ดี ี ไมเ่ บยี ดเบียนผู้อ่นื )

- ศาสนาสง่ เสรมิ การดารงชีวิตใหเ้ ป็นสขุ ได้อยา่ งไร (๒๐๐ คะแนน)
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ศาสนาทุกศาสนาสอนให้คนทาความดี มีเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ เม่ือเรา
ปฏิบัติตามคาสอน ไม่เบยี ดเบียนหรือคดิ ร้ายต่อผ้อู ่นื แล้ว จะทาให้จิตใจ และการดาเนนิ ชวี ิตของเราเป็นสขุ )

- “ศาสนาสอนใหค้ นไม่ทาชว่ั ได้ดีกวา่ กฎหมาย” นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใด (๒๐๐
คะแนน) (คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรียน: ศาสนาสามารถทาให้คนรูจ้ กั ควบคมุ ตนเองไดท้ ้ังต่อหนา้ และ
ลบั หลัง และสามารถควบคุมจิตใจไดด้ ้วย)

๔. นกั เรียนร่วมกนั สรุปคะแนนจากการตอบคาถาม
๕.๓ การสรา้ งและแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง และขยายแนวคดิ ท่หี ลากหลาย

๑. นกั เรยี นได้เรียนรอู้ ะไรจากเรื่อง "อย่างนีด้ คี วรทา"
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ได้เรียนรู้ว่าศาสนาแต่ละศาสนามีหลักปฏิบัติ พิธีกรรม หรือประเพณีที่
แตกต่างกัน แต่ทุกศาสนามีสงิ่ ทเี่ หมือนกันคือ การสอนใหค้ นทาความดี มเี มตตากรุณาต่อเพื่อนมนุษย์ ฯลฯ)

๒. การกระทาอะไรทนี่ กั เรียนคิดวา่ "อย่างน้ีดีควรทา" (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน:
ปฏิบัติตนตามคาสอนของศาสนาที่ตนนับถือ, ตั้งใจเรียน, เชื่อฟ๎งพ่อแม่ ครู อาจารย์, มีความซ่ือสัตย์สุจริต
ช่วยเหลือผู้อ่ืน, กริ ยิ าสภุ าพ ออ่ นน้อมถอ่ มตน ฯลฯ)

๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันแต่งคาขวัญเพื่อส่งเสริมการทาความดีเพื่อสังคมและ
ประเทศชาติ ในหัวข้อ “คิดดี ทาดี สร้างสุข สู่สังคม” ลงในใบภารกิจการเรียนรู้ท่ี ๑๓/๒ เร่ือง “อย่างนี้ดีควร
ทา”

๔. ตัวแทนนักเรียนนาเสนอคาขวญั ของกลมุ่ ตนเอง

๕. นักเรียนทุกคนร่วมกันโหวตคาขวัญท่ีถูกใจตนเองมากที่สุด โดยห้ามเลือกกลุ่มของตนเอง
และมคี ะแนน ดงั น้ี กลุม่ ท่ไี ดล้ าดับที่ ๑ ได้รับคะแนน ๕๐๐ คะแนน

กลุ่มทไ่ี ดล้ าดบั ที่ ๒ ไดร้ บั คะแนน ๓๐๐ คะแนน
กล่มุ ที่ไดล้ าดบั ท่ี ๓ ได้รับคะแนน ๒๐๐ คะแนน
กลุ่มทีไ่ ดล้ าดบั ที่ ๔-๖ ไดร้ บั คะแนน ๑๐๐ คะแนน
๕.๔ การสรา้ งความเข้าใจของตนเองและกลุ่ม โดยการสะทอ้ นความคิด และสรปุ องค์ความรู้
๑. นกั เรยี นร่วมกนั ตอบคาถามในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
- นักเรียนได้รับประโยชน์หรือข้อคิดอะไรจากเรื่องอย่างน้ีดีควรทา (คาดการณ์แนว
คาตอบของนักเรียน : ศาสนาเป็นหลักดาเนินชีวิต ซ่ึงสอนคนไม่ให้ทาชั่วได้ดีกว่ากฎหมาย คือรู้จักควบคุม
ตนเองไดท้ ้งั ต่อหน้าและลบั หลัง รวมไปถึงสามารถควบคุมจิตใจตนเองไดด้ ้วย)
- นักเรียนบอกแนวทางในการนาประโยชน์หรือข้อคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: นาหลักปฏิบัติของศาสนาที่ตนเองนับถือไปปฏิบัติ เช่น
การไม่เบียดเบียนหรือคิดร้ายต่อผู้อื่น มีใจเมตตาช่วยเหลือผู้อ่ืนเม่ือเดือดร้อน ทาความดีทุกคร้ังท่ีมีโอกาส
ละเว้นการตามใจตนเองเพือ่ ทาในสิ่งที่ไม่เหมาะสม)
๒. นักเรียนทาแบบฝึกหัดกิจกรรมท่ี ๔-๕ ในเอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการ
เรียนรภู้ าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เลม่ ๒ หน้า ๕๙ – ๖๑
๕.๕ การสรา้ งผลิตภัณฑแ์ ละนวตั กรรม
นักเรียนออกแบบวรรณรูปปลูกจิตสานึกในการทาความดี โดยครูให้นักเรียนดูตัวอย่าง
วรรณรูปในรปู แบบตา่ ง ๆ แล้วใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันออกแบบและตกแต่งให้สวยงาม ซึ่งทาเป็นการบา้ น
ตัวอยา่ งวรรณรปู

๖. ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
๑) สอ่ื การสอนเพาเวอรพ์ อยท์ เรือ่ ง “อย่างนด้ี ีควรทา”
๒) หนังสอื เรียน ภาษาพาที ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔
๓) ใบภารกจิ การเรียนรูท้ ี่ ๑๓/๒ เรอื่ ง “อยา่ งน้ีดีควรทา”
๔) เอกสารประกอบการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ เล่ม ๒

หนา้ ๕๙ – ๖๑ กิจกรรมที่ ๔-๕

๗. การวดั และประเมินผล วธิ ีการวดั เครือ่ งมือท่ใี ช้วดั เกณฑ์ผ่าน
ส่งิ ทีจ่ ะวดั สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
การตอบคาถาม อยใู่ นระดับ ดี ข้นึ ไป
๑. สรปุ เรอ่ื งอยา่ งนดี้ คี วรทาได้ สังเกตพฤตกิ รรม การตอบคาถาม ผลการประเมิน
การตอบคาถาม แบบสังเกตพฤติกรรม อยู่ในระดับ ดี ขน้ึ ไป
๒. บอกข้อคดิ จากเร่ืองอยา่ งนี้ดี ตรวจแบบฝกึ หดั ไดค้ ะแนนต้ังแต่
ควรทาได้ กจิ กรรมท่ี ๔-๕ การตอบคาถาม รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป
๓. ตอบคาถามจากเรื่องอย่างนีด้ ี ตรวจใบภารกจิ แบบฝึกหัด ไดค้ ะแนนต้ังแต่
ควรทาได้ รอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป
๔. แต่งคาขวัญเพื่อรณรงค์ให้ การเรยี นรู้ กิจกรรมท่ี ๔-๕
ทกุ คนทาความดีได้ ใบภารกิจการเรียนรู้ ได้คะแนนตง้ั แต่
ตรวจผลงาน รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป
๕. ออกแบบวรรณรปู ปลูก ผลงาน ผลการประเมนิ
จติ สานกึ ในการทาความดีได้ สังเกตพฤติกรรม อยูใ่ นระดับ ดี ข้ึนไป
๖. มมี ารยาทในการอา่ น การอา่ น แบบสังเกตพฤติกรรม
การอา่ น

๘. บนั ทึกผลหลังการสอน
๘.๑ ด้านแผนการจัดการเรยี นรู้
เทคนิคและวิธีการสอนจะเน้นให้นักเรียนได้แลกเปล่ียนแสดงความคิดเห็น ได้ฝึกคิดวิเคราะห์

หาคาตอบด้วยตนเอง โดยใช้วิธีการสอนท่ีสร้างนวัตกรที่มีความคิดสร้างสรรค์ ทาให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับ

ผู้สอน เช่น การตอบคาถาม รวมท้ังมีกิจกรรมกลุ่มให้นักเรียนได้ทาร่วมกัน ท้ังนี้ส่ือการเรียนการสอน

เหมาะสมกบั ผูเ้ รียน และสามารถสอนได้ตามแผนทว่ี างไว้

๘.๒ ด้านพฤตกิ รรมครู

ครูผู้สอนมีการเตรียมมาเป็นอย่างดี มีความมั่นใจ อธิบายได้ชัดเจน เป็นลาดับข้ันตอน วิธีการจัดการ
ชั้นเรียนท่ีเหมาะสม ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนน่าสนใจ กระตุ้นผู้เรียนด้วยคาถามตลอดเวลา และ
ครผู ู้สอนใชน้ ้าเสียงทีอ่ อ่ นโยน

๘.๓ ด้านพฤตกิ รรมนักเรียนและผลการเรยี นรู้
นักเรียนให้ความรว่ มมือและมีความกระตือรอื ร้นในการทากิจกรรมต่าง ๆ ดีมาก เช่น การตอบคาถาม
แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน จากการสังเกตการตอบคาถามของนักเรียนทาให้ทราบว่านักเรียนมีการคิด
วิเคราะหค์ ่อนขา้ งดี นกั เรยี นสามารถตอบคาถามได้ถกู ตอ้ ง มีการวิเคราะห์ตัวอย่างและอธิบายลักษณะตัวอย่าง
ที่ได้เรยี นรู้อย่างชดั เจน นอกจากนี้นกั เรยี นยังให้ความสนใจและตั้งใจเรียนเป็นอย่างมาก โดยเพาะวีดิทัศน์และ
ท้ังนอ้ี าจเป็นเพราะวา่ การใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคนคิ วิธีการสอนต่าง ๆ ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและให้ผู้เรียน
ได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ และออกแบบผลิตภัณฑ์ได้อย่างสร้างสรรค์ จึงทาให้พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
เป็นไปตามผลทตี่ ั้งไว้ อยา่ งไรกต็ ามบางคร้งั ก็มนี กั เรียนท่ีค่อนขา้ งเสยี งดัง ทาให้รบกวนเพ่ือน ๆ ในชัน้ เรียน
๘.๔ อปุ สรรค ปัญหา และข้อเสนอแนะ
ใชเ้ วลาในการอ่านเน้อื หานานเกินไปควรปรบั เวลาให้เหมาะสม

ลงชอ่ื ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๕ ธนั วาคม ๒๕๖๔

แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นรเู้ รื่อง อย่างนดี้ ี ควรทา
ผลการเรยี นรู้

เลข ชือ่ -สกลุ สรุปเร่ืองอย่างน้ีดีควรทา คะแนน
ที่ บอก ้ขอคิดจากเร่ืองอย่างน้ีดี รวม

ควรทา
๓. ตอบคาถามจากเร่ือง

อย่างน้ี ีดควรทา
แ ่ตงคาข ัวญเพื่อรณรงค์ให้

ทุกคนทาความ ีด
ออกแบบวรรณรูปปลูก
ิจตสานึกในการทาความดี
มีมารยาทในการ ่อาน

๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๑๒ คุณภาพ ๓๘

๑. เด็กชายภมู ภิ ัทร ใจกล้า ๑ ๒ ๗ ๖ ๕ พอใช้ ๒๑

๒. เด็กชายประเสริฐ จันทรด์ ามขุ ๑ ๑ ๕ ๕ ๕ พอใช้ ๑๗

๓. เด็กชายเตชินท์ พวงดาว ๓ ๓ ๘ ๘ ๘ ดี ๓๐

๔. เด็กชายสรรชัย สนุ ประโคน ๑ ๑ ๕ ๕ ๕ ควรปรบั ปรงุ ๑๗

๕. เด็กชายชยั ภทั ร เกดกันหา ๑ ๑ ๖ ๖ ๗ ควรปรบั ปรงุ ๒๑

๖. เดก็ ชายนนทพัทธ์ ศรปี ระโคน ๓ ๓ ๙ ๙ ๑๐ ดี ๓๔

๗. เด็กชายภานวุ ัฒน์ ขวัญเมอื ง ๑ ๑ ๕ ๕ ๖ ควรปรับปรงุ ๑๘

๘. เดก็ ชายอตวิ ชิ ญ์ ศรีสวา่ ง ๒ ๒ ๗ ๗ ๗ พอใช้ ๒๕

๙. เด็กชายอดศิ ร ยอดรกั ษ์ ๑ ๑ ๕ ๕ ๕ ควรปรบั ปรงุ ๑๗

๑๐. เด็กชายณฐั ภมู ิ การะเกศ ๒ ๒ ๗ ๗ ๙ พอใช้ ๒๕

๑๑. เดก็ ชายธีรศักด์ิ จันทร์เพียง ๑ ๑ ๕ ๕ ๕ ควรปรบั ปรุง ๑๗

๑๒. เด็กชายภวู ดล ศิริสวสั ด์ิ ๒ ๒ ๖ ๖ ๖ พอใช้ ๒๒

๑๓. เด็กชายธีรธรณ์ ประกายแก้ว ๓ ๓ ๘ ๘ ๑๑ ดี ๓๓

๑๔. เด็กชายเทพฤทธิ์ ศรีอนงค์ ๑ ๑ ๕ ๕ ๕ ควรปรบั ปรุง ๑๗

๑๕. เดก็ หญิงธนั ยพร ใจกลา้ ๒ ๒ ๖ ๖ ๖ พอใช้ ๒๒

๑๖. เดก็ หญงิ ปรณั ญา บตุ รวัง ๓ ๓ ๘ ๘ ๘ ดี ๓๐

๑๗. เดก็ หญงิ กมลวรรณ นาอดุ ม ๓ ๓ ๘ ๘ ๑๐ ดี ๓๒

๑๘. เด็กหญงิ กญั ญาภร เขอื ดประโคน ๓ ๓ ๘ ๘ ๘ ดี ๓๐

๑๙. เดก็ หญิงธัญชนก สานกั นิตย์ ๑ ๑ ๖ ๖ ๗ ควรปรบั ปรงุ ๒๑

๒๐. เด็กหญิงกญั ญาณฐั ใจกลา้ ๒ ๒ ๗ ๗ ๘ พอใช้ ๒๖

ผลการเรยี นรู้

เลข ชอ่ื -สกลุ สรุปเร่ืองอย่างน้ีดีควรทา คะแนน
ที่ บอก ้ขอคิดจากเร่ืองอย่างน้ีดี รวม

ควรทา
๓. ตอบคาถามจากเร่ือง

อย่างน้ี ีดควรทา
แ ่ตงคาข ัวญเพื่อรณรงค์ให้

ทุกคนทาความดี
ออกแบบวรรณรูปปลูก
ิจตสานึกในการทาความดี
มีมารยาทในการ ่อาน

๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๑๒ คณุ ภาพ ๓๘

๒๑. เด็กหญิงณธิดา สืบสาย ๒ ๒ ๗ ๗ ๗ พอใช้ ๒๕
๒๒. เด็กหญงิ นีรชา ทิพย์รอด
๒๓. เดก็ หญิงนิชา ทิพยร์ อด ๓ ๓ ๘ ๘ ๑๐ ดี ๓๒
๒๔. เด็กหญิงสธุ ิมา ปญ๎ ญาใส
๒๕. เด็กหญิงอโนมา พวงดาว ๓ ๓ ๘ ๘ ๑๐ ดี ๓๒
๒๖. เด็กหญิงอลินลดา เสนห่ ์ดี
๑ ๑ ๖ ๖ ๗ ควรปรบั ปรุง ๒๑

๒ ๒ ๖ ๖ ๖ พอใช้ ๒๒

๒ ๒ ๗ ๗ ๗ พอใช้ ๒๕

ลงช่ือ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๕ ธนั วาคม ๒๕๖๔

ประเดน็ การประเมนิ เกณฑ์การให้คะแนนผลการเรียนรขู้ องนกั เรียน ๑
เกณฑก์ ารให้คะแนน

๓๒

๑. สรุปเรื่องคนดีศรี นักเรียนสามารถอธบิ าย นักเรียนสามารถอธิบาย นักเรียนไม่สามารถอธบิ าย
โรงเรยี นได้ เรือ่ งราวได้ครบถ้วนตาม เรือ่ งราวไดบ้ างประเดน็ เรือ่ งราวได้ตามประเดน็
ประเดน็ และไม่เป็นไป
ประเดน็ และเปน็ ไป ตามลาดับเหตุการณ์
ตามลาดับเหตกุ ารณ์

๒. บอกข้อคดิ จากเรื่องคน นักเรียนสามารถบอกขอ้ คิด นกั เรียนสามารถบอกข้อคดิ นักเรียนสามารถบอกข้อคิด
ดีศรีโรงเรียนได้ จากเรือ่ งไดต้ ง้ั แต่ ๓ ข้อข้ึน
จากเรอื่ งได้ ๒ ข้อ จากเรือ่ งได้ ๑ ขอ้
๓. ออกแบบรางวัลเชิดชู ไป
คนดศี รีไพบลู ย์ มคี วามน่าสนใจ มคี วามน่าสนใจ มีความน่าสนใจ
เกณฑ์ตดั สนิ มคี วามชดั เจน เกณฑ์ตัดสิน ยงั ไม่ค่อย เกณฑ์ตดั สิน ไม่มชี ดั เจน
- ด้านเนอ้ื หา และเป็นไปได้
ความชดั เจน และเป็นไปไม่ได้

- ดา้ นการใชภ้ าษา เขยี นสะกดคาไดถ้ ูกตอ้ งตาม เขยี นสะกดคาได้ถูกต้อง เขยี นสะกดคาไม่ถูกต้อง

อกั ขรวธิ ี เวน้ วรรคตอนได้ ตามอักขรวิธี เว้นวรรคตอน ตามอักขรวธิ ี เว้นวรรคตอน

ถูกต้องและเลอื กใชค้ าได้ ไมถ่ ูกตอ้ งและไม่กระชบั ไมถ่ ูกต้องเขา้ ใจยาก
ถูกต้องตามความหมาย ไมก่ ระชับและไมส่ ละสลวย

- ดา้ นคุณภาพงาน ผลงานสวยงาม มคี วาม ผลงานสวยงาม มคี วาม ผลงานขาดความคิด
สร้างสรรค์ และผลงาน สร้างสรรค์ และผลงานมี สร้างสรรค์ ผลงานไม่
๔. ตอบคาถามจากเร่ือง สะอาด ลายมืออา่ นง่าย สะอาด ลายมืออา่ นยาก
คนดีศรีโรงเรียนได้ นกั เรียนสามารถตอบคาถาม รอบขดี ฆา่ เล็กน้อย นักเรยี นสามารถตอบ
จากเรอื่ งได้ ถูกตอ้ งตง้ั แต่ ๓ นกั เรยี นสามารถตอบ
คาถามจากเร่ืองได้ ถกู ต้อง
ขอ้ ข้ึนไป คาถามจากเร่ืองได้ ถกู ต้อง
๑ ขอ้
๒ ขอ้

๕. แตง่ คาขวัญได้ เขยี นสะกดคาได้ถูกตอ้ งตาม เขียนสะกดคาได้ถูกต้อง เขียนสะกดคาไม่ถูกต้อง

อกั ขรวธิ ี เว้นวรรคตอนได้ ตามอักขรวธิ ี เว้นวรรคตอน ตามอักขรวิธี เว้นวรรคตอน

ถูกต้องและเลือกใช้คาได้ ได้ถูกต้อง แตเ่ น้อื หาสื่อ ไม่ถูกตอ้ ง และเนื้อหาไม่
ถูกต้องตามความหมาย ความตามประเดน็ ที่ เกย่ี วขอ้ งกับประเดน็ ที่
เนอ้ื หาสือ่ ความตรงตาม กาหนดให้เปน็ บางส่วน
ประเด็นท่ีกาหนดให้ และมี กาหนดให้

ความนา่ สนใจ

ประเด็นการประเมนิ ๓ เกณฑก์ ารให้คะแนน ๑
๕. มีมารยาทในการอา่ น ๒ ขาดคณุ ลักษณะ ๒ ข้อ
๑. มสี มาธใิ นการอ่าน
อ่านอย่างต้งั ใจ ขาดคณุ ลักษณะขอ้ ใด จาก ๓ ขอ้
๒. ไมม่ พี ฤติกรรมรบกวน ขอ้ หน่ึงจาก ๓ ขอ้
ผอู้ ่นื ขณะอ่าน
๓. ไมใ่ ช้นวิ้ ชีต้ ามตัวอักษร
และวางท่าทางท่ีถกู ต้อง
เหมาะสมขณะอ่าน

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน ระดับคุณภาพ

๓ ดี

๒ พอใช้

๑ ควรปรับปรุง

ใบภารกจิ การเรียนร้ทู ี่ ๑๓/๒ เรอ่ื ง “อย่างน้ีดีควรทา”

กล่มุ ที่ เลขที่
คาช้ีแจง : ให้นกั เรียนแต่งคาขวญั เพื่อส่งเสรมิ การทาความดเี พื่อสังคมและประเทศชาติ

หวั ข้อ
“คดิ ดี ทาดี สร้างสขุ สสู่ ังคม”

แผนการจดั การเรยี นรู้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๕ อย่างนี้ดีควรทา เวลา ๑ คาบ (๕๐ นาท)ี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓/๖ เรือ่ ง เที่ยวเมืองพระรว่ ง ผู้สอน นางสาวสาริสา เสาโร
โรงเรยี นวดั บ้านไพบลู ย์ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
สอนวันที่ ๒๗ เดอื นธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

๑. ความคิดรวบยอด
การอ่านจับใจความสาคัญบทเรียนวรรณคดีลานา เร่ือง เที่ยวเมืองพระร่วง คือ การอ่านท่ีมุ่งค้นหา

ใจความสาคัญของเน้ือหาเร่ือง เท่ียวเมืองพระร่วง โดยเป็นการนาเสนอเรื่องราวของอาณาจักรสุโขทัยสมัยพ่อ
ขุนรามที่มีความเจริญรุ่งเรือง และสงบสุข นอกจากนี้ยังกล่าวถึงบทเพลง “ไทยรวมกาลังตั้งมั่น” โดยเนื้อหา
ของเพลงเป็นการปลุกจิตใจให้ฮึกเหิม รักชาติ รวมท้ังกล่าวถึงบทเพลง “สยามานุสสติ” ซ่ึงแต่งขึ้นเพ่ือปลุกใจ
ใหค้ นไทยรกั ชาติ นักเรียนควรฝึกอ่านจับใจความสาคัญจากเน้ือเร่ือง เพื่อเกิดทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ
ตลอดจนสามารถนาความรูท้ ี่ไดไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจาวนั และมีมารยาทในการอ่าน

๒. มาตรฐานและตวั ช้ีวดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ป๎ญหาใน

การดาเนนิ ชีวติ และมนี ิสัยรักการอา่ น
ตัวชว้ี ัด
ท ๑.๑ ป.๔/๑ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง
ท ๑.๑ ป.๔/๒ อธิบายความหมายของคา ประโยค และสานวนจากเรอื่ งท่ีอา่ น
ท ๑.๑ ป.๔/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรอ่ื งที่อา่ นโดยระบุเหตุผลประกอบ
ท ๑.๑ ป.๔/๖ สรปุ ความรหู้ รือข้อคิดจากเรื่องทอี่ ่านเพ่ือนาใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน
ท ๑.๑ ป.๔/๘ มีมารยาทในการอา่ น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน

รปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ตัวชวี้ ดั
ท ๒.๑ ป.๔/๒ เขียนสอ่ื สารโดยใช้คาไดถ้ กู ต้องชัดเจน และเหมาะสม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ

ตวั ชี้วดั
ท ๕.๑ ป.๔/๑ ระบขุ ้อคิดจากนทิ านพืน้ บ้านหรือนิทานคตธิ รรม
ท ๕.๑ ป.๔/๒ อธบิ ายข้อคดิ จากการอ่านเพือ่ นาไปใชใ้ นชวี ติ จริง

๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้
เมื่อนกั เรยี นเรียนเรอื่ ง “เทย่ี วเมอื งพระร่วง” แล้วนกั เรียนสามารถ
๑. สรปุ เรือ่ งเทยี่ วเมืองพระรว่ งได้ (K)
๒. บอกขอ้ คิดจากเร่อื งเท่ียวเมืองพระรว่ งได้ (K)
๓. ตอบคาถามจากเรื่องเทยี่ วเมืองพระร่วงได้ (C)
๔. อ่านออกเสยี งทานองเสนาะได้ (C)
๕. ถอดคาประพนั ธจ์ ากบทรอ้ ยกรองที่อ่านได้ (C)
๖. มมี ารยาทในการอ่าน (A)

๔. สาระการเรียนรู้
ดา้ นองค์ความรู้ (Knowledge)
๑. เนื้อเรอื่ งเท่ียวเมอื งพระรว่ ง
ครอบครัวของน้าค้างได้ไปเท่ียวอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย เม่ือวันท่ี 17 มกราคม ปีท่ีแล้ว วันน้ัน

เปน็ วนั สาคญั วันหน่งึ ของชาวสโุ ขทยั เพราะเปน็ วนั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ทางราชการจัดข้ึนเพื่อน้อมราลึก
ถึงพระมหากรุณาธิคุณของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งอาณาจักรสุโขทัยในอดีต
ตอนกลางวันมีพิธีบวงสรวงดวงพระวิญญาณของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช กลางคืนมีงานสมโภชเฉลิมฉลอง
อยา่ งยิ่งใหญ่

ครอบครัวของน้าค้างได้โอยทาน นักเรียนโรงเรียนเมืองเก่า ซ่ึงอยู่หลังอุทยานเป็นมัคคุเทศก์
นาเที่ยวชมอุทยานประวัติศาสตร์ มัคคุเทศก์น้อย เป็นคนนาเที่ยวที่ดี มีความรู้เร่ืองสถานท่ีต่าง ๆ ในอุทยาน
ประวัติศาสตร์ พ่อกับแม่ของมัคคุเทศก์น้อยจะขายของที่ระลึกอยู่ในอุทยานประวัติศาสตร์ สินค้าแต่ละอย่าง
สว่ นมากเป็นฝีมือของพ่อ พ่อของเขาเป็นช่างแกะสลักไม้ฝีมือดี แกะสลักไม้เป็นรูปสัตว์หลายชนิด ส่วนแม่เป็น
คนขาย ทั้งครอบครวั ช่วยกันทามาหากนิ พวกเขาภูมิใจทไี่ ด้เกดิ เปน็ ลกู หลานของพอ่ ขุนรามคาแหง

มัคคุเทศก์น้อยบอกพวกเขาว่า คืนน้ีมีการแสดง สี เสียง และละครพูด เรื่องพระร่วง บทพระราช
นิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖) การแสดงแสง สี เสียง ในคืนนั้น เป็นการ
นาเสนอเร่ืองราวของอาณาจักรสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามท่ีมี ความเจริญรุ่งเรือง และสงบสุข เม่ือการแสดงจบลง
ก็เป็นการแสดงละครพูดเร่อื งพระรว่ ง ซ่ึงเป็นตานานเกี่ยวกับพระร่วงผู้ทรงขับไล่พวกขอมให้พ้นไปจากดินแดน
ไทย และทาให้คนไทยมีอสิ รภาพมาจนถึงทุกวนั น้ี

ฉากแรกของบทละครพดู เรอื่ งพระร่วงเรม่ิ ขน้ึ ท่ีเมืองละโว้ กลา่ วถึงพระร่วงพ่อเมืองละโว้กาลังเป็นทุกข์
เพราะฝนแล้ง และเป็นเวลาที่ต้องส่งส่วยน้าไปให้ท้าวพันธุมเจ้ากรุงขอมที่นครธม (เมืองขอม) ซ่ึงไม่สามารถ
ผัดผ่อนได้อีก พระร่วงขอให้นักคุ้มขนไปให้ แต่นักคุ้มบ่ายเบ่ียง พระร่วงจึงใช้อุบายสานชะลอมตาถี่ แล้วเอา
ชันยาขึ้นมาเป็นภาชนะใส่น้าแทนตุ่ม นักคุ้มจึงต้องยอมขนกลับเมืองขอมตามสัญญา นักคุ้มกราบทูลถึงความ
เฉลียวฉลาด และความสามารถของพระร่วงให้ท้าวพันธุมทรงทราบ ท้าวพันธุมทรงเกรงว่าพระร่วงจะมีบุญญา
ธิการ มาเสมอเหมือนพระองค์ และอาจจะต้ังตนข้ึนเป็นผู้วิเศษ ก่อการกาเริบข้ึนกับขอม ท้าวพันธุมคิดจะ

กาจัดพระร่วงเพื่อเป็นการตัดไฟแต่ต้นลม จึงมีรับส่ังให้พญาเดโชคุมกองทัพไปจับพระร่วงจากเมืองละโว้มา
ถวายพระองค์

ฝาุ ยพระรว่ งมน่ั ใจว่าขอมจะต้องยกกาลังมาโจมตี จงึ ส่งสาส์นไปขอกาลังจากเมืองสุโขทัย แต่เจ้าเมือง
สโุ ขทัยกาลังประชวรหนกั พระร่วงจึงเตรียมการรับมือเอง นายมั่น ปืนยาว ทราบว่าพระเจ้าแผ่นดินขอมรับส่ัง
ใหพ้ ญาเดโชยกทัพมายังละโวเ้ พ่ือจับตวั พระรว่ ง จงึ รบี มาแจ้งขา่ วให้พระรว่ งทราบล่วงหน้า พระร่วงตัดสินใจว่า
จะหนีไปบวชเป็นภิกษุท่สี โุ ขทยั เพื่อตัดปญ๎ หาให้ชาวเมืองละโว้ต้องเดือดร้อน พระร่วงได้หลบหนีออกจากเมือง
ละโวโ้ ดยมีนายทหารตดิ ตามไปด้วยสองคน ส่วนพญาเดโชเม่ือทราบว่าพระร่วงหนีไปสุโขทัยก็ปลอมตัวติดตาม
ไปเพ่ือจับพระร่วงประหาร พญาเดโชไปถึงสุโขทัย พบพระร่วงแต่ไม่รู้จัก ถึงเข้าไปตามหาพระร่วง พระร่วง
ทราบทันทีว่าเป็นขอมปลอมตัวมา จึงออกอุบายให้น่ังรอ แล้วบอกว่าจะไปตามพระร่วงมาให้ ถึงตอนนี้
มัคคุเทศก์น้อยบอกว่าพญาเดโชเป็นขอมดาดิน เพราะปลอมตัวได้แนบเนียนจนไม่มีใครจาได้ และอยู่ ๆ ก็มา
โผล่ทว่ี ัดน้ี จงึ เปรยี บกนั ว่ามาเหมือนขอมดาดิน แตใ่ นตานานเล่าว่าขอมดาดินมา แล้วภายหลังพระร่วงสาปให้
กลายเป็นหินอยทู่ ีต่ รงนน้ั

การแสดงครึ่งหลงั เปน็ ตอนที่พระร่วงพร้อมด้วยทหารและศิษย์วัดกรูกันเข้าจับพญาเดโชมัดไว้ และส่ง
ตัวคืนในให้ท้าวพันธุม ชาวสุโขทัยต่างสรรเสริญพระร่วงว่า ไม่มีความผูกพยาบาทจองเวร จึงปรึกษากันว่า
เมืองสุโขทัยว่างกษัตริย์ ต่างก็เห็นสมควรจะเชิญพระร่วงขึ้นเป็นกษัตริย์ครองเมืองสุโขทัย แต่หลวงเมืองแห่ง
ละโว้ไม่ยินยอม เพราะพระร่วงยังเป็นพ่อเมืองละโว้อยู่ พระมหาราชครูจึงเสนอให้รวมท้ังสองเมืองเข้าเป็น
อาณาจกั รเดยี วกนั ให้พระร่วงเป็นกษัตริยอ์ ยู่ทก่ี รงุ สุโขทยั อาณาจกั รไทยจะได้เป็นปึกแผน่

ในตอนสดุ ท้ายของการแสดงละคร นกั แสดงทกุ คนออกมายืนเข้าแถวด้านหน้าเวทีร้องเพลง “ไทยรวม
กาลังต้ังม่ัน” และเพลง “สยามมานุสสติ บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ซ่ึงพระองค์ทรงพระราชนิพนธเ์ พื่อปลุกใจให้คนไทยรกั ชาติ

๒. การอ่านทานองเสนาะ มวี ธิ ีการดงั น้ี
๒.๑ การแบง่ วรรคจงั หวะในการอ่าน

การแบ่งวรรคจังหวะในการอ่านของกลอนสุภาพ กลอนสุภาพจะแบ่งจังหวะการอ่านคาใน แต่ละ
วรรคเปน็ ๓ ชว่ ง ดังนี้ คือ

- ถา้ วรรคละ ๖ คา จะแบง่ อ่านเปน็ ๒ - ๒ - ๒
- ถา้ วรรคละ ๗ คา จะแบง่ อา่ นเป็น ๒ - ๒ - ๓
- ถา้ วรรคละ ๘ คา จะแบ่งอา่ นเปน็ ๓ - ๒ - ๓
- ถ้าวรรคละ ๙ คา จะแบง่ อา่ นเปน็ ๓ – ๓ - ๓
การแบง่ วรรคจงั หวะในการอา่ นโคลงสสี่ ภุ าพ มีวธิ ีการอ่านดงั น้ี
- อ่านทอดเสียงให้ตรงตามจงั หวะของแต่ละวรรค วรรคหนา้ แต่ละบาทมี ๒ จงั หวะ จังหวะ

ละ ๒ คา และ ๓ คาวรรคหลงั บาทที่ ๑ และบาทที่ ๓ มี ๑ จังหวะ เป็นจังหวะ ๒ คา ถ้ามีคาสร้อยก็เพ่ิมอีก ๑
จังหวะ เป็นจังหวะ ๒ คา วรรคหลังบาทที่ ๒ มี ๑ จังหวะ เป็นจังหวะ ๒ คา วรรคหลังบาทท่ี ๔ มี ๒ จังหวะ
จังหวะละ ๒ คา

- คาทา้ ยวรรคทใ่ี ช้คาเสียงจตั วา ตอ้ งเอ้ือนเสยี งใหส้ ูงเปน็ พิเศษ ตามปกติโคลงสี่สุภาพทแี่ ต่ง
ถูกต้องและไพเราะ ใชค้ าเสยี งจตั วาตรงคาท้ายของบาทที่ ๑ หรือคาทา้ ยบท

- เอ้ือนวรรคหลงั บาทท่ี ๒ ใหเ้ สยี งตา่ กว่าปกติ
- ในกรณีท่มี ีคามากพยางค์เกินแผนบงั คับตอ้ งรวบเสียงคานัน้ ๆ ให้สน้ั เข้า
๒.๒ การทอ่ งเปน็ ทานองเสนาะ ชว่ ยใหบ้ ทอาขยานนนั้ มคี วามไพเราะ ผทู้ อ่ ง เกดิ ความสนใจ
จดจาบทอาขยานไดด้ ี และสนกุ สนานยิง่ ขึ้น การฝกึ อ่านทานองเสนาะมขี ้นั ตอนดังนี้

๑) อา่ นเปน็ ร้อยแกว้ ธรรมดาให้ถูกต้องชัดเจน ทั้งคาควบกล้าและเสียงวรรณยุกต์ให้
ถูกต้องตามอักขรวิธี

๒) แบง่ วรรคในการท่องให้ถกู จังหวะวรรคตอน
๓) ทอ่ งให้สมั ผัสคลอ้ งจองกนั เพือ่ ความไพเราะ
๔) ท่องให้ถูกทานองและลีลาของคาประพันธ์ คาประพันธ์แต่ละชนิดจะมีบังคับ
จานวนคาสัมผัส หรือคาเอก คาโท แตกต่างกัน การอ่านทานองเสนาะจึงต้องอ่านให้ถูกท่วงทานองและลีลา
ของคาประพันธ์แต่ละชนิด
๕) ท่องโดยใช้น้าเสียงให้เหมาะสมกับเน้ือหาและอ่านพยางค์สุดท้ายของวรรคด้วย
การทอดหรือเออ้ื นเสียง แล้วปล่อยใหห้ างเสยี งผวนขึ้นจมูก
๓. การถอดคาประพันธ์ คือการแปลความจากคาประพันธ์ร้อยกรองมาเขียนใหม่เป็นภาษาร้อยแก้วที่
สละสลวยโดยคงเนือ้ ความเดิมไว้ โดยมีวธิ กี ารดงั นี้
๓.๑ อ่านบทประพนั ธน์ ้นั ใหจ้ บ แล้วจบั ใจความใหไ้ ดว้ ่ากล่าวถงึ อะไรมรี ายละเอยี ดอยา่ งไร
๓.๒ ศึกษาเนือ้ หาโดยรวมทีละบรรทัด คาศัพท์ต่าง ๆ ต้องแปลความหมาย หรือหาคาสามัญ
ทม่ี คี วามหมายตรงกนั มาแทน
๓.๓ ไมเ่ พิม่ ความใหม่ใหเ้ กนิ ไปจากทีป่ รากฏในคาประพันธ์แตไ่ ม่ใหค้ วามเดิมขาดหายไป
๓.๔ คงบรรยากาศของเน้ือเรื่องเดิมไว้ เช่น บทที่แสดงความศักดิ์สิทธ์ิ ความรัก ความ
สวยงามความโกรธ ฯลฯ ต้องใช้ข้อความที่คงบรรยากาศเดิมไว้
๓.๕ ทาความเขา้ ใจกบั ข้อความท่ถี อดไว้ และเรยี บเรยี งดว้ ยสานวนภาษาของตนเอง

ดา้ นสมรรถนะ (Competency)
๑. ทักษะการจับใจความสาคัญ คือ ความสามารถในการอ่านที่มีจุดมุ่งหมายในการเข้าใจ

สาระหลักหรือแนวคิดของเน้ือเรื่องท่ีอ่านได้อย่างถูกต้อง โดยผู้อ่านต้องอ่านทาความเข้าใจเน้ือหาต้ังแต่ต้น
จนจบ เพือ่ สรุปให้ไดว้ ่าเปน็ เรอ่ื งเก่ียวกบั อะไร หรือใคร ทาอะไร ท่ีไหน เม่อื ไร อย่างไร และทาไม

๒. ทักษะการคิดวิเคราะห์ คือ ความสามารถในการเช่ือมโยงความรู้จากเนื้อหา เพ่ือนา
ความร้หู รือหลกั การไประบใุ นสถานการณท์ ีอ่ าจจะเกิดข้นึ

๓. ทักษะกระบวนการกลุ่ม คือ ความสามารถในการแบ่งภาระหน้าท่ีรับผิดชอบหรือ
ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ภายในกลมุ่ ทค่ี รูมอบหมายใหไ้ ด้

๔. ทักษะการอ่านออกเสียงทานองเสนาะ คือ ความสามารถในการอ่านออกเสียงอย่าง
ไพเราะตามลีลาทานองของบทร้อยกรองแตล่ ะประเภท เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเสนาะ

๕. ทักษะการถอดคาประพันธ์ คอื ความสามารถในการแปลความจากบทประพนั ธ์รอ้ ย
กรองมาเขยี นใหม่ด้วยสานวนภาษาของตนเองเปน็ ภาษาร้อยแกว้ ทสี่ ละสลวย โดยคงเนอื้ ความเดิมไว้

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attributes)
มีมารยาทในการอา่ น โดยนักเรียนมีสมาธใิ นการอา่ น และอ่านอย่างตั้งใจไม่มีพฤตกิ รรม

รบกวนผอู้ ืน่ ขณะอา่ น

๕. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
๕.๑ การเชื่อมโยงความร้เู ดิมกบั ความรูใ้ หม่
๑. นักเรยี นแบ่งกลุม่ ออกเปน็ ๖ กลุม่ กลุม่ ละเท่า ๆ กัน
๒. นักเรียนทากิจกรรม “DAVINCI เกมถอดรหัสคาศัพท์” โดยครูจะมีรูปภาพคาใบ้มาให้

แล้วให้นักเรียนคิดคาตอบท่ีสัมพันธ์กับรูปภาพคาใบ้ จานวน ๕ คา (กลุ่มที่ตอบถูกต้องจะได้รับคะแนน
๕๐ คะแนน)
ตัวอยา่ งกจิ กรรม

๓. นักเรยี นอ่านคาศัพทแ์ ละความหมายจากบทอ่านเรือ่ ง เท่ยี วเมืองพระรว่ ง ท่คี รแู สดงบน
โปรแกรมเพาเวอร์พอยท์ ประกอบดว้ ยคาศัพท์ ดังน้ี

คาศัพท์ คาอ่าน ความหมาย
วฒั นา วัด-ทะ-นา ความเจริญ,ความงอกงาม
ประวัตศิ าสตร์ ประ-หวดั -สาด,ประ-หวัด-ต-ิ สาด วชิ าดว้ ยเหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ มาหรือเรอื่ งราวของประเทศชาติ
ตามทีบ่ นั ทึกไวเ้ ปน็ หลักฐาน
กษัตริย์ กะ-สดั พระเจา้ แผน่ ดนิ
พรหมจรรย์ พรม-มะ-จนั การถือพรตบางอย่าง
หนไี ป
ปลาต ปะ-ลาด

๕.๒ การกระตุน้ ให้เกดิ ความขัดแยง้ ทางปญั ญาและปฏบิ ัติภารกจิ การเรยี นรู้
๑. นักเรียนอา่ นในใจเนอื้ เร่ือง “เทย่ี วเมอื งพระรว่ ง” ภายในเวลา ๕ นาที (โดยครไู ด้

มอบหมายใหน้ ักเรยี นอ่านลว่ งหนา้ มาแล้ว)
๒. นกั เรยี นทากจิ กรรม “แฟนพนั ธแุ์ ท้เทีย่ วเมอื งพระร่วง” โดยมขี ้ันตอนการทากิจกรรมดังน้ี

 นักเรยี นแบง่ กลุม่ ออกเป็น ๖ กลุม่ กลุ่มละเทา่ ๆ กนั

 นกั เรยี นนกั เรียนเข้าสู่โปรแกรม Kahoot หลังจากน้ันใสห่ มายเลข PIN ทคี่ รแู สดง
บนโปรแกรมเพาเวอรพ์ อยท์ เสร็จแล้วกดปมุ Enter

ตวั อย่างหน้าจอ

ใส่ชื่อสาหรบั เข้ารว่ มเล่นเกม แลว้ กดปมุ OK, go!
ตวั อย่างหน้าจอ

 เมื่อนกั เรียนเข้ารว่ มครบทุกกลุม่ ครูกดปุม “Start” คาถามขอ้ ท่ี ๑ กเ็ ริ่มข้นึ โดยครู
มคี าถามจานวน ๖ ขอ้ แล้วให้นักเรยี นตอบคาถามน้ันให้ถูกต้อง

ตัวอยา่ งคาถาม
- ผู้ทแ่ี นะนาและอธบิ ายข้อมลู ตา่ ง ๆ เกีย่ วกบั สถานทที่ ่องเที่ยว เรียกว่าอะไร
- “วันพ่อขุนรามคาแหงมหาราช” ตรงกบั วันทเ่ี ทา่ ไร และเดือนอะไร
- ครอบครัวของน้อยหรือโอยทาน รสู้ กึ อยา่ งไรท่ีได้เกิดเป็นลูกหลานของพ่อขุน

รามคาแหงมหาราช
- “บทละครพดู เรอ่ื ง พระร่วง” เป็นบทพระราชนิพนธ์ของพระมหากษัตยิ พ์ ระองค์

ใด
- “พระรว่ ง” ทรงมคี วามสาคัญอย่างไรในประวัติศาสตร์ไทย
- “บทละครพูดเรื่อง พระรว่ ง” ผู้แต่งต้องการให้คนไทยยดึ มน่ั ในสง่ิ ใดเพ่ือ

ประเทศชาตจิ ะไดม้ นั่ คงดารงสบื ไป
๓. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ คะแนน

๕.๓ การสรา้ งและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และขยายแนวคดิ ทหี่ ลากหลาย

๑. นักเรียนและครอู า่ นบทประพนั ธ์“ไทยรวมกาลังตงั้ มน่ั ” เปน็ ร้อยแกว้ พร้อมกัน โดยครู

เปน็ ผชู้ ่วยแนะนาแกไ้ ขข้อผิดพลาด เร่ืองการแบ่งวรรคตอนและการอ่านออกเสียง จากบทประพันธ์หน้า ๑๗๗

บนโปรแกรมเพาเวอร์พอยท์ ดงั น้ี

ไทยรวมกาลังต้งั มนั่ จะสามารถปอู งกันขันแข็ง

ถึงแมว้ า่ ศัตรูผมู้ แี รง มายุทธแ์ ยง้ ก็จะปลาตไป

ขอแต่เพียงไทยเราอย่าผลาญญาติ ร่วมชาตริ ่วมจิตเป็นข้อใหญ่

ไทยอยา่ มุง่ รา้ ยทาลายไทย จงพร้อมใจพรอ้ มกาลังระวงั เมอื ง

ใหน้ านาภาษาเขานยิ ม ชมเกียรตยิ ศฟเู ฟ่อื ง

ช่วยกันบารงุ ความรงุ่ เรือง ใหช้ ่ือไทยกระเดอื่ งทัว่ โลกา

ชว่ ยกนั เต็มใจใฝุผดุง บารุงทง้ั ชาตศิ าสนา

ให้อย่จู นสนิ้ ดินฟาู วัฒนาเถดิ ไทย ไชโย !

๒. นักเรียนฟง๎ ครูอา่ นบทประพนั ธเ์ ป็นทานองเสนาะเป็นตวั อย่าง เรอ่ื งการแบง่ วรรคตอนใน

การอา่ นบทประพันธ์เปน็ ทานองเสนาะ

๓. นกั เรียนฝกึ อา่ นเป็นทานองเสนาะจากบทรอ้ ยกรอง หนา้ ๑๗๗ ดังน้ี

ไทยรวมกาลังตงั้ มั่น จะสามารถปูองกันขนั แข็ง

ถึงแม้วา่ ศตั รผู ูม้ ีแรง มายทุ ธแ์ ยง้ ก็จะปลาตไป

ขอแตเ่ พียงไทยเราอยา่ ผลาญญาติ ร่วมชาตริ ่วมจติ เปน็ ข้อใหญ่

ไทยอยา่ มงุ่ ร้ายทาลายไทย จงพรอ้ มใจพรอ้ มกาลังระวงั เมอื ง

ให้นานาภาษาเขานิยม ชมเกียรติยศฟูเฟอ่ื ง

ช่วยกนั บารุงความรุ่งเรอื ง ให้ชื่อไทยกระเดอ่ื งท่ัวโลกา

ชว่ ยกันเตม็ ใจใฝุผดงุ บารุงทั้งชาตศิ าสนา

ใหอ้ ยู่จนส้ินดินฟาู วัฒนาเถดิ ไทย ไชโย !

๔. นักเรยี นร่วมกันถอดคาประพนั ธท์ ี่ได้อ่านทานองเสนาะไป โดยถอดความทีละบาท และมี

ครูสรปุ เพมิ่ เตมิ เช่น

“ไทยรวมกาลังตั้งม่ัน จะสามารถปูองกันขนั แข็ง”

ถอดความไดว้ ่า หากคนไทยรวมพลังสามัคคกี ัน กจ็ ะสามารถปูองกนั จากตา่ ง ๆ ได้

“ถงึ แมว้ ่าศัตรูผมู้ ีแรง มายุทธ์แยง้ กจ็ ะปลาตไป”

ถอดความไดว้ า่ ถึงแม้จะมีศตั รูเข้ามาทารา้ ย กต็ อ้ งหนไี ป

๕. นักเรยี นมีวิธีการอย่างไรในการถอดคาประพันธ์น้ี (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน :

อ่านบทประพันธ์นั้นให้จบ ศึกษาเน้ือหาโดยรวมทีละบรรทัด คาศัพท์ต่าง ๆ ต้องแปลความหมาย หรือหาคา

สามัญที่มีความหมายตรงกันมาแทน ทาความเข้าใจกับข้อความท่ีถอดไว้ และเรียบเรียงด้วยสานวนภาษาของ

ตนเอง)

๖. นกั เรยี นและครอู ่านบทประพนั ธ์เร่อื ง “สยามานสุ สติ”เป็นรอ้ ยแก้วพรอ้ มกัน โดยครเู ป็น

ผู้ช่วยแนะนาแก้ไขข้อผิดพลาด เร่ืองการแบ่งวรรคตอนและการอ่านออกเสียง จากบทประพันธ์หน้า ๑๗๘

บนโปรแกรมเพาเวอรพ์ อยท์ ดังน้ี

ใครรานใครรุกด้าว แดนไทย

ไทยรบจนสุดใจ ขาดดน้ิ

เสียเนื้อเลือดหลง่ั ไหล ยอมสละ สิน้ แล

เสยี ชีพไปุเสยี ส้นิ ชอ่ื กอ้ งเกยี รติงาม

หากสยามยงั้ อยยู่ งั้ ยืนยง

เราก็เหมอื นอย่คู ง ชพี ดว้ ย

หากสยามพินาศลง ไทยอยู่ ไดฤ้ า

เราก็เหมอื นมอดม้วย หมดสิ้นสกุลไทย

๖. นักเรียนฟง๎ ครูอ่านบทประพนั ธเ์ ป็นทานองเสนาะเป็นตัวอย่างจานวน ๒ บาท เรื่องการ

แบง่ วรรคตอนในการอา่ นบทประพันธ์เป็นทานองเสนาะ

๗. นกั เรยี นฝึกอ่านเป็นทานองเสนาะจากบทรอ้ ยกรอง หนา้ ๑๗๘ ดังน้ี

ใครรานใครรุกด้าว แดนไทย

ไทยรบจนสุดใจ ขาดดน้ิ

เสยี เนอ้ื เลือดหลัง่ ไหล ยอมสละ สิ้นแล

เสียชีพไปุเสยี ส้ิน ชื่อก้องเกยี รตงิ าม

หากสยามยงั้ อยู่ยัง้ ยนื ยง

เรากเ็ หมือนอยู่คง ชพี ดว้ ย

หากสยามพินาศลง ไทยอยู่ ไดฤ้ า

เราก็เหมือนมอดม้วย หมดสน้ิ สกุลไทย

๘. นักเรียนร่วมกันถอดคาประพันธ์ท่ีได้อ่านทานองเสนาะไป โดยถอดความทีละบาท และมี

ครูสรปุ เพ่มิ เตมิ เช่น

“ใครรานใครรุกดา้ ว แดนไทย”

ถอดความได้วา่ ผใู้ ดทีม่ ารุกล้าแผน่ ดินไทย

๙. นกั เรยี นมีวิธีการอย่างไรในการถอดคาประพันธ์น้ี (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน :

อ่านบทประพันธ์น้ันให้จบ ศึกษาเนื้อหาโดยรวมทีละบรรทัด คาศัพท์ต่าง ๆ ต้องแปลความหมาย หรือหาคา

สามัญที่มีความหมายตรงกันมาแทน ทาความเข้าใจกับข้อความที่ถอดไว้ และเรียบเรียงด้วยสานวนภาษาของ

ตนเอง)

๑๐. บทร้อยกรองทัง้ สองเร่อื ง ให้ขอ้ คิดในเรื่องใด

(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ปลุกจิตสานึกในการรักชาติ มีสานึกรักและหวงแหนบ้านเมืองและให้

คนไทยทกุ คนรักและสามัคคีกนั )

๕.๔ การสรา้ งความเขา้ ใจของตนเองและกลุม่ โดยการสะท้อนความคดิ และสรุปองคค์ วามรู้

๑. นักเรียนช่วยกันตอบคาถามว่านักเรียนได้รับประโยชน์หรือข้อคิดอะไรจากเร่ือง

“เท่ียวเมอื งพระรว่ ง” (คาดการณแ์ นวคาตอบของนกั เรยี น: ทาให้ได้เรียนรู้เร่ืองราวของอุทยานประวัติศาสตร์

สุโขทัย เร่ืองราวของพระร่วงที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะของผู้นา หรือผู้ปกครองท่ีดีว่าต้องเป็นผู้สติป๎ญญากล้า

หาญ เสยี สละ มเี มตตา และต้องรักประชาชนเปน็ ที่ตงั้ ดังเช่นพระร่วง และได้ข้อคิดการรู้รักสามัคคี การรักชาติ

ฯลฯ)

๒. นักเรยี นสามารถนาประโยชน์หรือข้อคดิ ไปใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั ไดอ้ ย่างไรบ้าง

(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรยี น: มีความเมตตา เสียสละตอ่ ผู้อื่น รจู้ กั แบง่ ป๎น และมีความรักใครก่ ลม

เกลยี วกบั เพ่ือน ๆ รกั ในความเป็นไทย อนุรักษ์ศลิ ปวัฒนธรรมไทย ฯลฯ)

๓. นักเรียนทาแบบฝกึ หดั ข้อที่ ๑-๔ ในเอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เล่ม ๒ หนา้ ๑๑๗ – ๑๑๙

๖. สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้
๑) สอ่ื การสอนเพาเวอร์พอยท์ คาถามและบทรอ้ ยกรองจากเรือ่ ง “เท่ยี วเมอื งพระรว่ ง”
๒) หนังสือเรียน วรรณคดีลานา ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔
๓) เอกสารประกอบการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ เล่ม ๒

หนา้ ๑๑๗ – ๑๑๙ แบบฝกึ หดั ข้อท่ี ๑-๔
๔) ส่อื การสอนจากโปรแกรม KAHOOT เร่อื ง “แฟนพันธแ์ุ ทเ้ ที่ยวเมอื งพระร่วง”

๗. การวัดและประเมินผล

สง่ิ ท่จี ะวดั วิธกี ารวดั เครือ่ งมอื ที่ใช้วดั เกณฑ์ผา่ น
๑. สรุปเร่อื งเที่ยวเมือง สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
พระรว่ งได้ การตอบคาถาม อยูใ่ นระดับ ดี ข้นึ ไป
การตอบคาถาม

๒. บอกขอ้ คดิ จากเร่อื ง สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ผลการประเมิน
เทีย่ วเมืองพระร่วงได้ การตอบคาถาม การตอบคาถาม อยูใ่ นระดบั ดี ข้นึ ไป

๓. ตอบคาถามจากเรื่อง ตรวจแบบฝกึ หัด แบบฝกึ หัด ไดค้ ะแนนตง้ั แต่
เท่ยี วเมืองพระรว่ งได้ รอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป

สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
การตอบคาถาม การตอบคาถาม อยูใ่ นระดับ ดี ขึน้ ไป

๔. อา่ นออกเสยี งทานอง สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
เสนาะได้ การอ่าน การอา่ น อยู่ในระดบั ดี ข้นึ ไป
๕. ถอดคาประพนั ธจ์ าก
บทรอ้ ยกรองท่ีอ่านได้ สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
๖. มมี ารยาทในการอา่ น การตอบคาถาม การตอบคาถาม อยูใ่ นระดับ ดี ข้นึ ไป
สงั เกตพฤติกรรม
แบบสงั เกตพฤติกรรม ผลการประเมนิ
การอ่าน การอ่าน อยใู่ นระดับ ดี ข้ึนไป

๘. บันทึกผลหลังการสอน
๘.๑ ดา้ นแผนการจัดการเรยี นรู้
เทคนิคและวิธีการสอนจะเน้นให้นักเรียนได้แลกเปล่ียนแสดงความคิดเห็น ได้ฝึกคิดวิเคราะห์

หาคาตอบด้วยตนเอง โดยใช้วิธีการสอนที่สร้างนวัตกรท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ ทาให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับ

ผู้สอน เช่น การตอบคาถาม รวมท้ังมีกิจกรรมกลุ่มให้นักเรียนได้ทาร่วมกัน ทั้งน้ีสื่อการเรียนการสอน

เหมาะสมกบั ผูเ้ รียน และสามารถสอนไดต้ ามแผนท่วี างไว้

๘.๒ ด้านพฤติกรรมครู

ครผู สู้ อนอธบิ ายและยกตัวอยา่ งจากเรอื่ งใกล้ตัว กระตุ้นผ้เู รียนด้วยคาถามตลอดเวลา รวมถึงครูผู้สอน
ใชน้ ้าเสียงท่อี อ่ นโยน และชัดเจน แกไ้ ขปญ๎ หาเฉพาะเรือ่ งเวลาไดด้ ี โดยพยายามกระชับกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม

๘.๓ ดา้ นพฤตกิ รรมนกั เรียนและผลการเรยี นรู้
จากการใช้ส่ือและเทคนิควิธีการสอนทาให้นักเรียนมีความสนใจและตั้งใจเรียน นักเรียนมีความ
กระตือรือร้นและให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม เช่น การตอบคาถาม แสดงความคิดเห็นในช้ันเรียน
ขณะครูสอน สว่ นมากนักเรยี นไม่อ่านหนังสือมาล่วงหน้า จึงทาให้ไม่สามารถตอบคาถามในเน้ือหาได้ และด้วย
เวลาท่เี หลอื เพยี ง ๒๕ นาที ทาให้นักเรียนไม่ไดท้ ากจิ กรรมอยา่ งเต็มท่ี
๘.๔ อุปสรรค ปัญหา และข้อเสนอแนะ

ช่วงการเลน่ เกมกะหล่าปลมี ีเร่ืองราว ควรกาหนดกติกาให้ชดั เจนว่านักเรียนไม่ควรโยนกะหลา่ ปลีให้
เพ่อื น ควรตรวจสอบความหมายของคาศัพทย์ ากที่ปรากฏในบทเรยี นใหถ้ ถี่ ้วน

ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๘ ธนั วาคม ๒๕๖๔

แบบบนั ทึกผลการเรียนรู้เรือ่ ง เที่ยวเมืองพระร่วง
ผลการเรยี นรู้

เลข ชอ่ื -สกลุ สรุปเรื่องเ ่ีทยวเ ืมองพระร่วง คะแน
ที่ บอก ้ขอคิดจากเรื่องเท่ียว นรวม

เมืองพระร่วง
ตอบคาถามจากเรื่องเ ่ทียว

เมืองพระร่วง
อ่านออกเสียงทานองเสนาะ
ถอดคาประ ัพนธ์จากบทร้อย

กรอง ่ทีอ่าน
มีมารยาทในการ ่อาน

๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๑๐ คณุ ภาพ ๓๖

๑. เด็กชายภูมิภทั ร ใจกล้า ๑๒ ๗๖ ๖ พอใช้ ๒๒

๒. เดก็ ชายประเสริฐ จนั ทรด์ ามุข ๑๑ ๕๕ ๕ พอใช้ ๑๗

๓. เด็กชายเตชินท์ พวงดาว ๓๓ ๘๘ ๘ ดี ๓๐

๔. เด็กชายสรรชยั สุนประโคน ๑๑ ๕๕ ๕ ควรปรับปรงุ ๑๗

๕. เดก็ ชายชัยภัทร เกดกันหา ๑๑ ๖๖ ๖ ควรปรบั ปรุง ๒๐

๖. เด็กชายนนทพัทธ์ ศรปี ระโคน ๓๓ ๙๙ ๙ ดี ๓๓

๗. เดก็ ชายภานวุ ัฒน์ ขวญั เมอื ง ๑๑ ๕๕ ๕ ควรปรบั ปรุง ๑๗

๘. เดก็ ชายอตวิ ชิ ญ์ ศรีสว่าง ๒๒ ๗๗ ๗ พอใช้ ๒๕

๙. เด็กชายอดิศร ยอดรักษ์ ๑๑ ๕๕ ๕ ควรปรับปรุง ๑๗

๑๐. เดก็ ชายณฐั ภมู ิ การะเกศ ๒๒ ๗๗ ๗ พอใช้ ๒๕

๑๑. เดก็ ชายธีรศักดิ์ จันทรเ์ พียง ๑๑ ๕๕ ๕ ควรปรบั ปรงุ ๑๗

๑๒. เดก็ ชายภวู ดล ศริ ิสวสั ดิ์ ๒๒ ๖๖ ๖ พอใช้ ๒๒

๑๓. เด็กชายธรี ธรณ์ ประกายแก้ว ๓๓ ๘๘ ๘ ดี ๓๐

๑๔. เด็กชายเทพฤทธิ์ ศรีอนงค์ ๑๑ ๕๕ ๕ ควรปรับปรุง ๑๗

๑๕. เด็กหญิงธนั ยพร ใจกลา้ ๒๒ ๖๖ ๖ พอใช้ ๒๒

๑๖. เด็กหญงิ ปรณั ญา บุตรวงั ๓๓ ๘๘ ๘ ดี ๓๐

๑๗. เดก็ หญิงกมลวรรณ นาอุดม ๓๓ ๘๘ ๘ ดี ๓๐

๑๘. เดก็ หญิงกญั ญาภร เขือดประโคน ๓ ๓ ๘๘ ๘ ดี ๓๐

๑๙. เด็กหญงิ ธญั ชนก สานกั นิตย์ ๑๑ ๖๖ ๖ ควรปรับปรงุ ๒๐

๒๐. เด็กหญิงกญั ญาณฐั ใจกล้า ๒๒ ๗๗ ๗ พอใช้ ๒๕

ผลการเรยี นรู้

เลข ช่อื -สกลุ สรุปเรื่องเ ่ีทยวเ ืมองพระร่วง คะแน
ที่ บอก ้ขอคิดจากเรื่องเท่ียว นรวม

เมืองพระร่วง
ตอบคาถามจากเรื่องเ ่ทียว

เมืองพระร่วง
อ่านออกเสียงทานองเสนาะ
ถอดคาประ ัพนธ์จากบทร้อย

กรอง ่ทีอ่าน
มีมารยาทในการ ่อาน

๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๑๐ คุณภาพ ๓๖

๒๑. เด็กหญิงณธดิ า สบื สาย ๒๒ ๗๗ ๗ พอใช้ ๒๕
๒๒. เด็กหญงิ นีรชา ทพิ ย์รอด
๒๓. เดก็ หญิงนชิ า ทพิ ย์รอด ๓๓ ๘๘ ๘ ดี ๓๐
๒๔. เด็กหญิงสธุ มิ า ปญ๎ ญาใส
๒๕. เด็กหญิงอโนมา พวงดาว ๓๓ ๘๘ ๘ ดี ๓๐
๒๖. เด็กหญิงอลนิ ลดา เสนห่ ด์ ี
๑๑ ๖๖ ๖ ควรปรบั ปรงุ ๒๐

๒๒ ๖๖ ๖ พอใช้ ๒๒

๒๒ ๗๗ ๗ พอใช้ ๒๕

ลงชือ่ ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๔

ประเด็นการประเมนิ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลการเรียนรขู้ องนกั เรียน ๑
เกณฑ์การให้คะแนน

๓๒

๑. สรุปเรื่องเทย่ี วเมืองพระ นกั เรยี นสามารถอธิบายเร่ืองราว นกั เรียนสามารถอธบิ าย นกั เรยี นไม่สามารถอธบิ าย
ร่วง ไดค้ รบถว้ นตามประเดน็ และ เรือ่ งราวไดบ้ างประเดน็ เรื่องราวได้ตามประเดน็
เป็นไปตามลาดับเหตุการณ์ ประเดน็ และไมเ่ ปน็ ไป
๒. บอกข้อคดิ จากเรอื่ งเร่ือง ตามลาดบั เหตุการณ์ นกั เรียนสามารถบอกขอ้ คิด
เท่ยี วเมืองพระรว่ ง นักเรียนสามารถบอกข้อคดิ จาก นักเรียนสามารถบอกข้อคิด จากเรอื่ งได้ ๑ ขอ้
เร่อื งได้ตงั้ แต่ ๓ ข้อขึน้ ไป
จากเรือ่ งได้ ๒ ขอ้

๓. ตอบคาถามจากเรื่อง นักเรียนสามารถตอบคาถามจาก นกั เรยี นสามารถตอบคาถาม นกั เรียนสามารถตอบคาถาม
เร่อื งเท่ียวเมืองพระร่วง เรื่องได้ถกู ต้องตั้งแต่ ๓ ข้อขึ้นไป จากเรอื่ งได้ถูกต้อง ๒ ข้อ จากเร่ืองไดถ้ ูกต้อง ๑ ขอ้

๔. อ่านออกเสยี งทานอง นักเรียนอ่านทานองเสนาะจาก นกั เรยี นอา่ นทานองเสนาะ นกั เรียนอ่านทานองเสนาะ
เสนาะได้ บทเรยี นเรือ่ ง ดวงจันทร์ของ จากบทเรยี นเร่ือง จากบทเรยี นเรื่อง
ลาเจียกได้ โดยสามารถแบง่
๕. ถอดคาประพันธ์จากบท วรรคคา เอ้ือนเสยี ง และอา่ น ดวงจันทรข์ องลาเจยี กได้ ดวงจนั ทรข์ องลาเจยี กได้
รอ้ งกรองที่อา่ นได้ โดยสามารถแบง่ วรรคคา โดยสามารถแบง่ วรรคคา
ออกเสียงคา เอื้อนเสยี ง และอ่านออก เออื้ นเสียง และอ่านออก
ไดถ้ ูกตอ้ ง เสยี งคาได้ถกู ต้อง ไดเ้ ป็น
สว่ นมากโดยครคู อยเพ่ิมเติม เสียงคาได้ถูกต้อง
นกั เรียนสามารถถอดคา เป็นบางสว่ น และครูคอย
ประพนั ธไ์ ดส้ อดคลอ้ งกับ บ้างเลก็ นอ้ ย
คาประพันธ์ทุกประเด็น นกั เรยี นสามารถถอดคา เพ่ิมเติมเปน็ สว่ นมาก
นกั เรียนสามารถถอดคา
ประพนั ธ์ได้สอดคล้องกบั
ประพันธไ์ ดส้ อดคล้องกับคา
คาประพนั ธ์เป็นสว่ นมาก
ประพันธ์เป็นสว่ นน้อย

๖. มมี ารยาทในการอ่าน ๑. มีสมาธใิ นการอา่ น ขาดคณุ ลักษณะขอ้ ใดข้อ ขาดคุณลักษณะ
อ่านอย่างตัง้ ใจ หนงึ่ จาก ๓ ขอ้ ๒ ข้อจาก ๓ ข้อ
๒. ไม่มพี ฤตกิ รรมรบกวนผู้อ่ืน
ขณะอา่ น
๓. ไม่ใช้นว้ิ ชต้ี ามตัวอักษร
และวางท่าทางที่ถูกต้อง
เหมาะสมขณะอา่ น

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน ระดบั คุณภาพ

๓ ดี

๒ พอใช้

๑ ควรปรบั ปรุง

แผนการจดั การเรยี นรู้ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔
กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๕ อย่างนี้ดีควรทา เวลา ๑ คาบ (๕๐ นาท)ี
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๔/๖ เรื่อง มารยาทการฟัง การดแู ละการพูด ผสู้ อน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรยี นวดั บา้ นไพบลู ย์ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
สอนวนั ที่ ๒๘ เดอื นธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

๑. ความคดิ รวบยอด
การฟ๎ง และการดู เพ่ือให้การรับสารมีสิทธิภาพ ควรพิจารณาแยกแยะข้อเท็จจริงและสรุปใจความ

สาคัญ วิเคราะห์ ใคร่ครวญ และประเมินค่า ซึ่งสิ่งเหล่านี้ต้องอาศัยการหมั่นฝึกฝนเป็นประจา จึงจะช่วยให้
นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ชีวิตประจาวันได้ นอกจากน้ีในการฟ๎งหรือการพูดทั้งผู้ฟ๎งและผู้พูดจาเป็นต้องมี
มารยาทในการฟ๎งและการพูด ดังนั้นมารยาทในการ การดู และการพูดถือเป็นส่ิงสาคัญที่ควรยึดถือปฏิบัติ
เพราะหากขาดมารยาทท่ีดจี ะทาใหข้ าดผลสัมฤทธิ์และประสทิ ธิภาพในการรับและส่งสาร

๒. มาตรฐานและตัวช้วี ัด
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ
ตา่ ง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ

ตัวชว้ี ดั
ท ๒.๑ ป.๔/๒ เขยี นสอื่ สารโดยใชค้ าได้ถกู ต้องชดั เจน และเหมาะสม
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
และความรสู้ กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตวั ชว้ี ัด
ท ๓.๑ ป.๔/๖ มีมารยาทในการฟ๎ง การดู และการพดู

๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้
เม่ือนกั เรียนเรียนเร่อื ง “มารยาทการฟง๎ การดูและการพดู ” แลว้ นกั เรียนสามารถ
๑. อธบิ ายลักษณะของมารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูดได้ (K)
๒. จาแนกมารยาททด่ี แี ละไมด่ ใี นการฟง๎ การดู และการพูดได้ (C)
๓. เขยี นคาพูดจากสถานการณท์ ี่กาหนดใหไ้ ด้อย่างเหมาะสม (C)
๔. มีมารยาทในการฟง๎ การดู และการพูด (A)

๔. สาระการเรยี นรู้
ดา้ นองค์ความรู้ (Knowledge)
มารยาทการฟงั และการดู

๑. ไมส่ ่งเสียงดังและไม่พดู คุยกันขณะฟ๎งและดู
๒. ต้งั ใจฟ๎งและมีสมาธิในการดู
๓. เมื่อมขี ้อสงสยั ใหย้ กมือก่อนถาม
๔. รอให้ผ้พู ูด พดู จบแลว้ จงึ ถาม
๕. เมอ่ื ผู้พูด พูดจบควรปรบมือเพื่อเป็นการให้เกียรติแกผ่ ู้พูด
มารยาทในการพูด
๑. พูดใหเ้ สียงดังชดั เจน
๒. ไมต่ ะโกนโหวกเหวกเสียงดัง
๓. มองดผู ูฟ้ ง๎ ขณะพูด
๔. ใชน้ า้ เสียงนุ่มนวลน่าฟ๎ง
๕. ใชค้ าพดู ทีส่ ุภาพ ไม่พูดจาหยาบคาย

ด้านสมรรถนะ (Competency)
๑. ทักษะการฟัง คือ ความสามารถในการรับสารทางหู เป็นการฟ๎งอย่างมีจุดมุ่งหมาย

มมี ารยาทและรจู้ กั พินจิ พเิ คราะห์เนอ้ื หาของสารท่รี บั ว่ามขี ้อเทจ็ จริงอยา่ งไร
๒. ทักษะการดู คือ ความสามารถในการรบั สารทางตา นาส่ิงที่ได้เห็นจดจาและนามาตีความ

จนเป็นผลให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
๓. ทักษะการพูด ความสามารถในการใช้ถ้อยคา น้าเสียง รวมทั้งกิริยาอาการต่าง ๆ

เพื่อถา่ ยทอดอารมณ์ ความรูส้ ึกนกึ คดิ ความรู้ ประสบการณไ์ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔. ทักษะการเขียน คือ ความสามารถในการเขียนคาพูดจากสถานการณ์ท่ีกาหนดให้ได้

ถูกตอ้ งเหมาะสม
๕. ทักษะการคิดวิเคราะห์ คือ ความสามารถในการจาแนกแยกแยะมารยาทที่ดีและไม่ดีใน

การฟง๎ การดู และการพูดจากขอ้ ความท่กี าหนดใหไ้ ด้ถูกต้องเหมาะสม
๖. ทักษะกระบวนการกลุ่ม คือ ความสามารถในการแบ่งภาระหน้าที่รับผิดชอบหรือ

ช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกนั ภายในกลมุ่ ท่ีครูมอบหมายให้ได้

ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Attributes)
- มมี ารยาทในการฟง๎ การดู และการพูด โดยนักเรียนมีพฤติกรรมที่ฟ๎งและดูอย่างตั้งใจ ไม่ส่ง

เสียงดัง เม่ือมีข้อสงสัยให้ยกมือก่อนถาม รวมทั้งใช้คาพูดอย่างระมัดระวัง สุภาพเหมาะสมกับกาลเทศะ
ออกเสียงสระ พยัญชนะ และคาควบกล้าได้อย่างชัดเจน ตลอดจนมีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใสในการพูด
ไมพ่ ดู ตาหนิ หรอื ไมค่ วรแสดงอารมณ์ท่ีรนุ แรง

๕. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
๕.๑ การเชื่อมโยงความรูเ้ ดมิ กับความรูใ้ หม่
๑. นักเรยี นชมวดี ิทัศน์ การพูดสนทนา จาก https://www.youtube.com/watch?v=elIvNnj3BtA

ดังน้ี

๒. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นว่าวีดิทศั น์ทชี่ มเปน็ การพดู ลักษณะใด
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนกั เรียน: เป็นการพดู สนทนา)

๓. นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ ว่าวดี ทิ ศั น์ที่ชม การพดู ของแม้นเมือง พรพัน ณวัตร
เดือนและบอส มลี กั ษณะการพดู อย่างไร
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนกั เรยี น: ผพู้ ูดใชน้ ้าเสียงชดั เจน สบตาผูฟ้ ๎งขณะพูด พูดสภุ าพ ฯลฯ)

๔. นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นว่าวีดิทัศน์ทชี่ ม การพูดของเด็กท่านประธาน มีลักษณะ
การพูดอย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: เป็นการพูดท่ีกระแทกเสียง พูดทาให้คนอื่นเสียหาย
พูดไมส่ ภุ าพ เปน็ ตน้ )

๕. นกั เรียนคดิ ว่าการพดู ของเดก็ ท่านประธาน เป็นการพดู ท่ดี หี รือไม่ เพราะอะไร
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: เปน็ การพดู ทีไ่ ม่ดี ผู้เป็นการพูดทีก่ ระแทกเสยี ง พูดทาให้คนอ่ืนเสียงหาย
พูดไมส่ ภุ าพ ไมใ่ ห้เกียรตผิ ูอ้ ่นื เป็นตน้ )

๖. นักเรียนคดิ ว่าการพดู ที่ดตี อ้ งมลี กั ษณะอย่างไร
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: พูดให้เสียงดังชัดเจน ไม่ตะโกนโหวกเหวกเสียงดัง มองดูผู้ฟ๎งขณะพูด
ใช้นา้ เสียงนุ่มนวลน่าฟ๎ง ใชค้ าพดู ทีส่ ภุ าพ ไมพ่ ูดจาหยาบคาย เปน็ ตน้ )

๕.๒ การกระต้นุ ให้เกดิ ความขดั แยง้ ทางปญั ญาและปฏิบตั ิภารกจิ การเรยี นรู้
๑. ขออาสาสมัครนักเรียน ๒ คน มาเล่านิทานใหเ้ พอื่ นฟง๎ โดยทค่ี รูจะพานักเรยี นออกไป

เตรียมตัวนอกห้องเรียน ระหว่างที่นักเรียนอาสาสมัครกาลังเตรียมตัวอยู่ ครูนัดแนะกับนักเรียนในห้องว่า
ตอนท่ีนักเรียนอาสาสมัครคนที่ ๑ ออกมาเล่านิทาน ให้นักเรียนทุกคนไม่ต้องต้ังใจฟ๎ง ให้พูดคุย ไม่สนใจ
แต่พอนักเรียนอาสามสมคั รคนที่ ๒ ออกมาเลา่ นทิ านใหน้ กั เรยี นทกุ คนตัง้ ใจฟ๎ง

๒. เม่ือนักเรยี นอาสาสมคั รทง้ั ๒ คน เล่านทิ านเสรจ็ นักเรียนร่วมกันตอบคาถามดงั ต่อไปนี้
- ตอนที่นักเรียนอาสาสมัครคนท่ี ๑ ออกมาเล่านิทาน พฤติกรรมของนักเรียนใน

ห้องเรียนเป็นอย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ส่งเสียงดัง ไม่ฟ๎งผู้พูด มีนักเรียนหยอกล้อกัน
เปน็ ตน้ )

- นักเรียนอาสาสมคั รคนท่ี ๑ ร้สู ึกอย่างไรทเ่ี พอ่ื นไม่ฟง๎ ขณะท่เี ราเลา่ นิทาน
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: เสียใจ,โกรธ,ไม่พอใจ,อยากร้องไห้ เปน็ ตน้ )

- ตอนทนี่ ักเรยี นอาสาสมัครคนท่ี ๒ ออกมาเล่านทิ าน พฤติกรรมของนักเรียนใน
หอ้ งเรียนเป็นอย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรยี น: นกั เรยี นทุกคนต้ังใจฟ๎ง ไม่สง่ เสยี งดงั พรอ้ มกับ
ปรบมอื เมื่อผพู้ ูดเล่าจบ เปน็ ต้น )

- นกั เรยี นอาสาสมัครคนที่ ๒ รู้สึกอย่างไรท่เี พ่ือนตั้งใจฟ๎งขณะท่ีเราเล่านิทาน
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนกั เรยี น: ดใี จ และรสู้ ึกวา่ เราได้รบั ความสาคัญ เปน็ ต้น )

๓. ในฐานะที่นักเรียนเปน็ ผูฟ้ ๎งและดู นักเรียนคิดวา่ มารยาทท่ีดใี นการฟ๎งและการดูควรจะเป็น
อย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ตั้งใจฟ๎งและดูวีดิทัศน์ ไม่คุยหรือเล่นกันขณะที่ฟ๎ง ไม่พูดแทรก
ขณะทีผ่ พู้ ดู พดู อยู่หรอื ขณะดวู ีดทิ ศั น์)

๔. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เร่ืองมารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด และสรุป

เพมิ่ เตมิ จากโปรแกรมเพาเวอร์พอยท์

๕.๓ การสรา้ งและแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองและขยายแนวคิดทีห่ ลากหลาย
๑. นักเรียนแบง่ กลมุ่ ออกเป็น ๖ กลมุ่ กลุ่มละเทา่ ๆ กัน
๒. นักเรยี นทากจิ กรรม “รู้มารยาทการฟ๎ง การดูและการพูด” โดยมีกติกาคือ ให้นักเรียนทุก

คนยืนขึ้นและตอบคาถามว่าข้อความท่ีกาหนดเป็นมารยาทการฟ๎ง การดูและการพูดท่ีเหมาะสมหรือไม่
ถา้ เหมาะสมใหน้ กั เรยี นยกมือขวา และหากไม่เหมาะสมให้ยกมือซ้าย นักเรียนคนใดท่ีตอบผิดจะต้องน่ังลงไม่มี
สิทธิ์เล่นต่อ นักเรียนท่ีตอบถูกจะได้เล่นเรื่อย ๆ เพ่ือหาคนชนะโดยนักเรียนท่ีชนะจะได้รับสติกเกอร์ ๑ ดวง
ประกอบด้วยข้อความดงั ต่อไปนี้

ข้อ ๑ ถามผู้พูดทนั ทที ส่ี งสัย (ไม่เหมาะสม ควรรอให้ผ้พู ูดพูดจบเสยี กอ่ นจงึ ยกมือถาม)
ข้อ ๒ ต้งั ใจฟง๎ อย่างสนใจ (เหมาะสม)
ข้อ ๓ พูดโดยการตะโกนเสียงดัง ๆ (ไม่เหมาะสม ควรใช้น้าเสียงที่พอดี ดังฟ๎งชัด แต่ไม่
ตะโกน)
ข้อ ๔ พูดเร็ว ๆ เพื่อเป็นการประหยัดเวลา (ไม่เหมาะสม ควรพูดด้วยจังหวะที่ไม่ช้าหรือ
เร็วเกนิ ไป)
ขอ้ ๕ หวั เราะเมอื่ ผพู้ ูดพูดผิด (ไมเ่ หมาะสม ไม่ควรหัวเราะเมือ่ ผอู้ ื่นเกดิ ความผดิ พลาด)

ข้อ ๖ ขณะท่พี ูดควรมองหน้าผฟู้ ง๎ อย่างทั่วถึง (เหมาะสม)
ข้อ ๗ รับโทรศัพท์แต่พูดเบา ๆ (ไม่เหมาะสม ไม่ควรรับโทรศัพท์ หรือหากจาเป็นควร
ออกไปรบั นอกหอประชุม)
ข้อ ๘ เดินเข้าออกห้องประชุมตามความต้องการ (ไม่เหมาะสม เพราะจะทาให้ผู้พูดเสีย
สมาธิ ควรลุกออกเม่ือผูพ้ ดู พูดจบแล้ว)
ข้อ ๙ ปรบมือให้ผพู้ ดู เมอ่ื ผู้พูดพดู จบ (เหมาะสม)
ข้อ ๑๐ ตง้ั ใจฟง๎ หรือดู (เหมาะสม)
๓. นักเรียนนาเสนอคาตอบเพ่ิมเติมเก่ียวกับมารยาทในการฟ๎ง การดูและการพูด ตามความ
คิดเห็นของนักเรียน
๔. นกั เรยี นรว่ มกันตอบคาถามในประเดน็ ต่อไปน้ี

- เมื่อนักเรียนต้องออกมาพูดหน้าช้ันเรียน นักเรียนจะมีวิธีการพูดอย่างไรบ้าง
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: สวัสดีค่ะ ดิฉัน/กระผม เด็กหญิง/เด็กชาย…………… นักเรียน
ระดับช้ัน……………โรงเรยี น………………………. ฯลฯ)

- เม่ือนักเรียนพูดหน้าช้ันแล้วนักเรียนพูดผิด นักเรียนควรพูดอย่างไร (คาดการณ์
แนวคาตอบของนกั เรียน: กลา่ วคาวา่ ขออภัยคะ่ /ครบั แลว้ พูดตอ่ )

- ขณะท่ีนักเรียนกาลังทาแบบฝึกหัดอยู่ในห้องเรียน แต่มีเพ่ือนบางคนคุยและเล่น
เสียงดัง ทาให้นักเรียนไม่มีสมาธิในการทาแบบฝึกหัด นักเรียนจะพูดกับเพื่อน ๆ อย่างไร (คาดการณ์แนว
คาตอบของนกั เรียน: เพื่อน เบากว่านไี้ ดไ้ หม พอดเี ราไมม่ สี มาธิในการทาแบบฝึกหัด ขอบคุณมากนะ ฯลฯ)

๕.๔ การสร้างความเข้าใจของตนเองและกลุ่มโดยการสะทอ้ นความคดิ และสรุปองคค์ วามรู้

๑. นักเรยี นตอบคาถามและรว่ มกนั อภปิ รายในประเด็นต่อไปน้ี
- นักเรียนร่วมกนั สรปุ ความรเู้ กย่ี วกบั มารยาทการฟ๎ง การดูและการพูด

(คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรยี น: มารยาทการฟังและการดู ได้แก่ ๑. ไมส่ ่งเสียงดังและไม่พูดคุยกันขณะ
ฟง๎ และดู ๒. ตั้งใจฟง๎ และมีสมาธิในการดู ๓. เม่ือมีข้อสงสัยให้ยกมือก่อนถาม ๔. รอให้ผู้พูด พูดจบแล้วจึงถาม
๕. เมื่อผู้พูด พูดจบควรปรบมือเพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ผู้พูด มารยาทในการพูด ได้แก่ ๑. พูดให้เสียงดัง
ชดั เจน ๒. ไม่ตะโกนโหวกเหวกเสยี งดงั ๓. มองดูผฟู้ ๎งขณะพูด ๔. ใช้น้าเสียงนุ่มนวลน่าฟ๎ง ๕. ใช้คาพูดที่สุภาพ
ไมพ่ ดู จาหยาบคาย ฯลฯ)

- นักเรียนจะมีแนวทางในการนาความรู้เรื่อง มารยาทการฟ๎ง การดูและการพูด
ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันอย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: โดยทาให้สามารถคาพูดอย่าง
ระมัดระวงั สุภาพเหมาะสมกบั กาลเทศะ ประพฤตปิ ฏิบัติตนให้เหมะสม ฯลฯ)

๒. นักเรียนทาแบบฝึกหัดกิจกรรมที่ ๖-๗ ในเอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ เล่ม ๒ หน้า ๖๑-๖๓

๖. ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้
๑) ส่ือการสอนเพาเวอรพ์ อยท์ เร่อื ง มารยาทการฟง๎ การดแู ละการพูด
๒) วดี ิทศั น์ จาก https://www.youtube.com/watch?v=elIvNnj3BtA
๓) หนงั สือเรียน ภาษาพาที ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๔
๔) เอกสารประกอบการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ เล่ม ๒

หนา้ ๖๑-๖๓ กจิ กรรมท่ี ๖-๗

๗. การวัดและประเมินผล วธิ กี ารวัด เคร่ืองมือที่ใช้วัด เกณฑผ์ ่าน
สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ผลการประเมิน
สง่ิ ท่จี ะวดั การตอบคาถาม อยใู่ นระดับ ดี ขน้ึ ไป
๑. อธิบายลักษณะของมารยาท สังเกตพฤติกรรม การตอบคาถาม ได้คะแนนต้ังแต่
ในการฟง๎ การดู และการพดู ได้ การตอบคาถาม แบบสงั เกตพฤติกรรม ๘ คะแนน ข้นึ ไป
๒. จาแนกมารยาทที่ดีและไม่ดี ตรวจแบบฝึกหัด ได้คะแนนต้งั แต่
ในการฟ๎ง การดู และการพดู ได้ การตอบคาถาม ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป
กิจกรรมท่ี ๕ แบบฝึกหดั ไดค้ ะแนนตั้งแต่
๓. เขยี นคาพูดจากสถานการณ์ท่ี ตรวจแบบฝึกหดั กจิ กรรมที่ ๕ ร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป
กาหนดใหไ้ ด้อย่างเหมาะสม กิจกรรมที่ ๖ แบบฝกึ หัด ผลการประเมนิ
๔. มีมารยาทในการฟ๎ง การดู สงั เกตพฤตกิ รรม กจิ กรรมท่ี ๖ อยใู่ นระดบั ดี ขนึ้ ไป
และการพูด
การเรยี นรู้ แบบสงั เกตพฤติกรรม
การเรียนรู้

๘. บนั ทกึ ผลหลังการสอน
๘.๑ ดา้ นแผนการจดั การเรียนรู้
เทคนิคและวิธีการสอนจะเน้นให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น ได้ฝึกคิดวิเคราะห์

หาคาตอบด้วยตนเอง โดยใช้วิธีการสอนที่สร้างนวัตกรที่มีความคิดสร้างสรรค์ ทาให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับ

ผู้สอน เช่น การตอบคาถาม รวมท้ังมีกิจกรรมกลุ่มให้นักเรียนได้ทาร่วมกัน ทั้งนี้ส่ือการเรียนการสอน

เหมาะสมกบั ผูเ้ รยี น และสามารถสอนไดต้ ามแผนทวี่ างไว้

๘.๒ ดา้ นพฤติกรรมครู

ครูผู้สอนอธิบายและยกตัวอย่างจากเรื่องใกล้ตัว ทาให้นักเรียนเห็นภาพและเข้าใจมากข้ึน อีกท้ัง
ครผู สู้ อนมเี ทคนิคและวิธกี ารจดั การช้ันเรียนที่เหมาะสม กระตุ้นผู้เรียนด้วยคาถามตลอดเวลา รวมถึงครูผู้สอน
ใชน้ ้าเสียงท่อี อ่ นโยน และชดั เจน

๘.๓ ด้านพฤติกรรมนกั เรยี นและผลการเรยี นรู้
นักเรียนมีความกระตือรือร้นและให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม เช่น การตอบคาถาม
แสดงความคดิ เหน็ ในชั้นเรยี น นอกจากนี้นักเรียนยังให้ความสนใจและต้ังใจเรียน ท้ังน้ีอาจเป็นเพราะว่าการใช้
ส่อื นวตั กรรม และเทคนคิ วิธกี ารสอนต่าง ๆ ทเี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ จงึ ทาให้พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
เป็นไปตามผลท่ีตั้งไว้ นักเรียนรักษามารยาทได้ดี ภาพรวมถือว่าอยู่ในระดับท่ีน่าพึงพอใจ นักเรียนเกิดแนวคิด
อย่างรวดเร็วจากสถานการณป์ ๎ญหาทกี่ าหนดให้
๘.๔ อุปสรรค ปญั หา และข้อเสนอแนะ
นักเรยี นบางคนยังตอ้ งไดร้ บั การปรับปรุงและพัฒนาขึ้นอกี

ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๘ ธนั วาคม ๒๕๖๔

แบบบันทึกผลการเรยี นร้เู รื่อง มารยาทการฟัง การดู และการพดู
ผลการเรียนรู้

เลข ชื่อ-สกลุ อธิบายลักษณะของ คะแนน
ท่ี มารยาทในการ ๎ฟง รวม
การดู และการ ูพด
จาแนกมารยาท ีท่ดี
และไม่ดีในการฟ๎ง
การดู และการ ูพด
เ ีขยนคา ูพดจาก

สถานการณ์ ่ที
กาหนดให้
มีมารยาทในการ ๎ฟง
การ ูด และการ ูพด

๓ ๓ ๓ คณุ ภาพ ๙

๑. เดก็ ชายภมู ิภัทร ใจกล้า ๒ ๑ ๒ พอใช้ ๕

๒. เด็กชายประเสริฐ จนั ทรด์ ามุข ๑ ๒ ๑ ควรปรบั ปรุง ๔

๓. เด็กชายเตชนิ ท์ พวงดาว ๓ ๓ ๓ ดี ๙

๔. เดก็ ชายสรรชัย สนุ ประโคน ๑ ๑ ๒ ควรปรบั ปรงุ ๔

๕. เด็กชายชยั ภทั ร เกดกันหา ๒ ๑ ๒ ควรปรบั ปรุง ๕

๖. เดก็ ชายนนทพัทธ์ ศรีประโคน ๓ ๓ ๓ ดี ๙

๗. เดก็ ชายภานวุ ฒั น์ ขวญั เมอื ง ๒ ๑ ๒ ควรปรับปรุง ๕

๘. เดก็ ชายอติวิชญ์ ศรสี วา่ ง ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖

๙. เด็กชายอดศิ ร ยอดรักษ์ ๒ ๑ ๑ ควรปรบั ปรงุ ๔

๑๐. เดก็ ชายณฐั ภูมิ การะเกศ ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖

๑๑. เด็กชายธรี ศกั ดิ์ จันทรเ์ พยี ง ๑ ๑ ๑ ควรปรบั ปรุง ๓

๑๒. เดก็ ชายภวู ดล ศิรสิ วสั ดิ์ ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๑๖

๑๓. เด็กชายธีรธรณ์ ประกายแก้ว ๓ ๓ ๓ ดี ๙

๑๔. เดก็ ชายเทพฤทธิ์ ศรีอนงค์ ๒ ๑ ๒ ควรปรับปรงุ ๕

๑๕. เด็กหญงิ ธนั ยพร ใจกลา้ ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖

๑๖. เด็กหญิงปรัณญา บตุ รวัง ๓ ๓ ๓ ดี ๙

๑๗. เดก็ หญงิ กมลวรรณ นาอุดม ๓ ๓ ๓ ดี ๙

๑๘. เด็กหญงิ กญั ญาภร เขือดประโคน ๓ ๓ ๓ ดี ๙

๑๙. เดก็ หญิงธัญชนก สานักนติ ย์ ๒ ๑ ๒ ควรปรับปรุง ๕

๒๐. เดก็ หญิงกญั ญาณฐั ใจกลา้ ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖

๒๑. เด็กหญงิ ณธิดา สบื สาย ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖

๒๒. เด็กหญิงนีรชา ทิพย์รอด ๓ ๓ ๓ ดี ๙

ผลการเรยี นรู้

เลข ช่อื -สกลุ อธิบายลักษณะของ คะแนน
ท่ี มารยาทในการ ๎ฟง รวม
การดู และการ ูพด
จาแนกมารยาท ีท่ดี
และไม่ดีในการฟ๎ง
การดู และการ ูพด
เ ีขยนคา ูพดจาก

สถานการณ์ ่ที
กาหนดให้
มีมารยาทในการ ๎ฟง
การ ูด และการ ูพด

๓ ๓ ๓ คุณภาพ ๙

๒๓. เดก็ หญิงนิชา ทิพย์รอด ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๒๔. เด็กหญิงสธุ มิ า ปญ๎ ญาใส
๒๕. เดก็ หญงิ อโนมา พวงดาว ๑ ๑ ๒ ควรปรับปรงุ ๔
๒๖. เด็กหญิงอลนิ ลดา เสน่หด์ ี
๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖

๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖

ลงชอ่ื ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๔ ธันวาคม ๒๕๖๔

เกณฑ์การใหค้ ะแนนผลการเรียนร้ขู องนกั เรียน

ประเดน็ การประเมิน ๓ เกณฑก์ ารให้คะแนน ๐
๒๑

๑. อธบิ ายลกั ษณะของ นกั เรยี นสามารถ นกั เรยี นสามารถ นักเรยี นไมส่ ามารถ
มารยาทในการฟ๎ง การดู อธบิ ายลกั ษณะของ อธิบายลักษณะของ อธบิ ายลักษณะของ
และการพดู ได้ มารยาทในการฟ๎ง มารยาทในการฟ๎ง มารยาทในการฟ๎ง
การดู และการพดู การดู และการพดู การดู และการพูด
ได้ อยา่ งถูกต้อง
ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง แตย่ ังไม่ครบทุก ได้
ครบทกุ ประเดน็
ประเดน็

๒. จาแนกมารยาททีด่ ีและไม่ นกั เรียนสามารถ นกั เรยี นไมส่ ามารถ
ดีในการฟ๎ง การดู และการ จาแนกมารยาทท่ดี ี จาแนกมารยาททดี่ ี
พดู และไม่ดใี นการฟง๎ และไมด่ ีในการฟง๎

การดู และการพดู การดู และการพดู

ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ได้

๓. ตอบคาถามทีก่ าหนดให้ นักเรยี นสามารถ นกั เรยี นตอบคาถาม
ตอบคาถามท่ี ที่กาหนดให้ไม่
กาหนดให้ไดถ้ กู ต้อง ถกู ต้อง
และเหมาะสม

๔. มมี ารยาทในการฟ๎ง การดู นักเรียนมีพฤตกิ รรม นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรม นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรม

และการพดู ทฟ่ี ง๎ และดูอย่าง ทีฟ่ ๎งและดูอยา่ ง ทีฟ่ ๎งและดูอยา่ งไม่
ต้ังใจ ไมส่ ่งเสียงดัง ตั้งใจ ไม่สง่ เสยี งดัง ต้งั ใจ สง่ เสยี งดงั
รวมท้งั ใชค้ าพดู รวมท้งั ใชค้ าพดู รวมทง้ั ใชค้ าพูดไม่
อยา่ งระมดั ระวงั อยา่ งระมัดระวัง ระมดั ระวัง ไม่
สภุ าพเหมาะสมกบั สุภาพเหมาะสมกบั เหมาะสมกบั
กาลเทศะ ออกเสยี ง กาลเทศะ ออกเสียง

สระ พยญั ชนะ และ สระ พยญั ชนะ และ กาลเทศะ ออกเสียง

คาควบกลา้ ไดอ้ ย่าง คาควบกลา้ ไดอ้ ย่าง สระ พยัญชนะ และ

ชัดเจน ตลอดจนมี ชัดเจน ตลอดจนมี คาควบกล้าผดิ
ใบหนา้ ย้ิมแยม้ ใบหนา้ ย้ิมแยม้ ตลอดจนพูดตาหนิ
แจ่มใสในการพูด แจม่ ใสในการพดู
ไมพ่ ูดตาหนิ หรือไม่ ไม่พูดตาหนิ หรอื ไม่ หรอื แสดงอารมณ์ที่

รนุ แรง


Click to View FlipBook Version