ประเดน็ การประเมิน ๓ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๐
๒๑
ควรแสดงอารมณท์ ่ี ควรแสดงอารมณ์ที่
รุนแรง รนุ แรง
เกณฑก์ ารประเมิน
คะแนน ระดับคณุ ภาพ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรปรับปรุง
แผนการจดั การเรยี นรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๕ อย่างน้ีดีควรทา เวลา ๑ คาบ (๕๐ นาที)
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๕/๖ เร่อื ง การอา่ นกราฟ ผสู้ อน นางสาวสารสิ า เสาโร
โรงเรยี นวัดบา้ นไพบลู ย์ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
สอนวนั ท่ี ๒๕ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕
๑. สาระสาคญั
กราฟ คือ แผนภูมิท่ีใช้เส้น จุด หรือภาพ เพ่ือนาเสนอเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงในลักษณะการเปรียบเทียบให้
เห็นความชัดเจนของข้อมูล กราฟมีหลายชนิด เช่น กราฟรูปภาพ กราฟเส้น กราฟแท่ง ฯลฯ นักเรียนควร
เรียนรู้และฝึกฝนการอ่านกราฟ ทั้งกราฟรูปภาพ และกราฟแท่ง จะทาให้นักเรียนสามารถอ่านกราฟได้อย่าง
ถูกตอ้ ง และเพอื่ การสรปุ และแปลข้อมูลทมี่ ีประสิทธภิ าพ
๒. มาตรฐานและตวั ชวี้ ัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรูแ้ ละความคดิ เพื่อนาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญ๎ หาใน
การดาเนนิ ชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชีว้ ัด
ท ๑.๑ ป.๔/๓ อา่ นเรอื่ งสั้นๆ ตามเวลาท่กี าหนดและตอบคาถามจากเร่ืองที่อา่ น
๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
เม่ือนักเรยี นเรียนเรื่อง “การอ่านกราฟ” แลว้ นกั เรยี นสามารถ
๑. อธบิ ายลักษณะของกราฟได้ (K)
๒. อา่ นกราฟได้ (C)
๓. สรปุ ข้อมลู จากการอ่านกราฟได้ (C)
๔. มคี วามกระตือรอื รน้ ในการทากิจกรรม (A)
๔. สาระการเรียนรู้
ด้านองคค์ วามรู้ (Knowledge)
การอ่านกราฟ
กราฟ คอื เส้นหรอื ภาพ ทแี่ สดงการเปลีย่ นแปลงในเร่ืองใดเรือ่ งหน่งึ เพ่ือเปรียบเทียบให้เห็น
ความชดั เจน กราฟรูปภาพจะเป็นรปู แบบในการเขยี นกราฟทง่ี ่ายและเขา้ ใจได้ดีทส่ี ุด กราฟมีหลายชนิด เชน่
กราฟรปู ภาพ กราฟเส้น กราฟแท่ง เปน็ ตน้
กราฟรูปภาพ เปน็ การเขยี นรูปภาพแทนจานวนสงิ่ ตา่ ง ๆ รูปภาพทใ่ี ช้แทนสิ่งเดยี วกนั
จะต้องเหมือนกนั และมขี นาดเทา่ กัน โดยรปู ภาพ ๑ รปู จะแทนของจรงิ จานวนเท่าใดตามความเหมาะสม
กราฟแท่ง เป็นการเขียนแท่งส่ีเหลี่ยมมุมฉากแทนจานวนส่ิงต่าง ๆ โดยที่แท่งสี่เหลี่ยม
มุมฉากแต่ละแท่งเร่ิมต้นจากระดับเดียวกัน และมีความกว้างเท่ากัน ส่วนสูงหรือความยาวแต่ ละแท่งแสดง
จานวนในแต่ละรายการ
วธิ ีการอ่านกราฟรูปภาพ มดี ังนี้
๑. อ่านชื่อกราฟ
๒. ดภู าพใต้กราฟ เพื่อจะไดท้ ราบวา่ รูปภาพท่กี าหนดให้แทนจานวนเท่าใด
๓. ดภู าพในกราฟ แลว้ แทนจานวนภาพเป็นจานวนตวั เลข
๔. นาขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการอา่ นกราฟมาสรุปข้อมูล
วธิ กี ารอ่านกราฟแท่ง มีดงั นี้
๑. อา่ นช่ือกราฟ
๒. ดเู สน้ แกนในแนวตงั้ และเส้นแกนในแนวนอนวา่ กาหนดใหแ้ สดงข้อมูลอะไร
๓. ดแู ท่งกราฟในกราฟวา่ ด้านบนสดุ ของแท่งกราฟแตล่ ะแท่งวา่ มคี วามสูงเท่าไหร่ แลว้ แทน
คา่ เป็นตวั เลขตามระดับท่ีกาหนดในเส้นแกน
๔. นาข้อมูลที่ได้จากการอา่ นกราฟมาสรุปข้อมูล
ด้านสมรรถนะ (Competency)
๑. ทกั ษะการอา่ นกราฟ คอื ความสามารถในการอ่านข้อมูลจากกราฟ แล้วสามารถนาข้อมลู
ท่ีได้จากการอา่ นกราฟมาสรปุ ข้อมูลได้
๒. ทักษะการคิดวิเคราะห์ คือ ความสามารถในการเช่ือมโยงความรู้จากเน้ือหา เพ่ือนา
ความรหู้ รอื หลกั การไประบุในสถานการณ์ท่ีอาจจะเกิดขนึ้
๓. ทักษะกระบวนการกลุ่ม คือ ความสามารถในการแบ่งภาระหน้าท่ีรับผิดชอบหรือ
ช่วยเหลือซง่ึ กันและกนั ภายในกล่มุ ที่ครมู อบหมายใหไ้ ด้
ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Attribute)
มคี วามกระตือรือรน้ ในการทากจิ กรรม โดยนกั เรยี นในช้นั เรียน มสี ว่ นร่วมแสดงความคดิ เหน็
อภิปรายและโตต้ อบกับครูเป็นประจา รวมทง้ั ปฏบิ ัตภิ ารกิจกจิ กรรมท่ีได้รับมอบหมายด้วยความตงั้ ใจ
๕. กระบวนการจัดการเรียนรู้
๕.๑ การเชื่อมโยงความรเู้ ดิมกบั ความรู้ใหม่
๑. นักเรียนดรู ปู ภาพ จากโปรแกรมเพาเวอรพ์ อยท์ ดงั น้ี
กราฟรปู ภาพ กราฟแทง่
กราฟวงกลม กราฟเส้น
๒. นกั เรียนร่วมกันอภปิ รายเก่ยี วกบั รูปภาพในประเด็นตอ่ ไปน้ี
- นักเรียนเห็นภาพอะไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: กราฟรูปภาพ
กราฟแท่ง กราฟวงกลม กราฟเส้น ฯลฯ)
- รูปภาพท้ังส่ีมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของ
นักเรียน: แตกตา่ งกนั คือ ชือ่ เรียกรปู ภาพท่ี ๑ เรียกวา่ กราฟรูปภาพ รปู ภาพที่ ๒ เรยี กว่า กราฟแท่ง รูปภาพ
ท่ี ๓ เรียกว่า กราฟวงกลม และรูปภาพท่ี ๔ เรียกว่า กราฟเส้น แต่มีความเหมือนกันตรงท่ีนาเสนอข้อมูลใน
ลักษณะการเปรียบเทยี บใหเ้ หน็ ความชดั เจนของขอ้ มลู ฯลฯ)
- นกั เรยี นคดิ วา่ กราฟทง้ั ส่มี ีความสาคญั หรือมีประโยชน์อย่างไร
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: กราฟรูปภาพ เป็นกราฟท่ีอ่านง่าย สามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว
กราฟแท่ง ทาใหเ้ หน็ การเปรียบเทียบของขอ้ มูล กราฟวงกลม ดูจานวนงา่ ยแต่ไม่ค่อยชัดเจน และกราฟเส้น ทา
ใหเ้ ห็นแนวโน้มของข้อมูล ฯลฯ)
๕.๒ การกระตุน้ ใหเ้ กดิ ความขัดแยง้ ทางปัญญาและปฏบิ ัติภารกจิ การเรียนรู้
๑. นักเรียนอ่านข้อมูลที่กาหนดให้ แล้วตอบคาถามว่าข้อมูลที่ให้มาตรงกับกราฟใด โดยมี
จานวน ๒ กราฟ ดังนี้
ขอ้ มลู
วันพฤหัสบดจี าหนา่ ยแตงโมได้มากทส่ี ดุ และวันเสารจ์ าหน่ายแตงโมไดน้ อ้ ยทส่ี ุด โดยสามารถจาหน่าย
แตงโมในแตล่ ะวันอยู่ระหวา่ ง ๑๕-๔๐ ชิ้น
กราฟรปู ภาพแสดงจานวนแตงโมท่ีจาหน่ายไดใ้ นแต่ละวัน
๑ วันจันทร์
วันองั คาร
วันพุธ
วันพฤหัสบดี
วันศุกร์
วันเสาร์
รูป ๑ รปู มคี า่ เท่ากับแตงโม ๑๐ ช้นิ
๒ กราฟรูปภาพแสดงจานวนแตงโมท่จี าหน่ายไดใ้ นแต่ละวัน
วันจันทร์
วันอังคาร
วันพธุ
วันพฤหัสบดี
วันศกุ ร์
วันเสาร์
รปู ๑ รปู มีคา่ เท่ากับแตงโม ๑๐ ชน้ิ
๒. นกั เรยี นร่วมกันตอบคาถามในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
- จากขอ้ มูลท่ีใหม้ า นักเรียนคิดวา่ ตรงกับกราฟหมายเลขอะไร เพราะเหตใุ ด
(คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรยี น: หมายเลข ๑ เพราะขอ้ มูลท่ีใหม้ าตรงกบั กราฟทุกอย่าง ฯลฯ)
๓. นักเรียนรว่ มกันตอบคาถามเกี่ยวกับกราฟหมายเลข ๑ ตามประเดน็ ต่อไปนี้
- กราฟที่นกั เรยี นเห็นคอื กราฟอะไร
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: กราฟรูปภาพ)
- แตล่ ะวนั สามารถจาหน่ายแตงโมไดว้ นั ละเท่าไร
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: วันจันทร์ จาหน่ายได้ ๓๐ ชิ้น วันอังคาร จาหน่ายได้ ๒๐ ชิ้น วันพุธ
จาหน่ายได้ ๒๐ ชิ้น วันพฤหัสบดี จาหน่ายได้ ๔๐ ช้ิน วันศุกร์ จาหน่ายได้ ๒๐ ช้ิน และวันเสาร์ จาหน่ายได้
๑๕ ช้ิน)
- วนั ใดที่สามารถจาหน่ายแตงโมไดม้ ากท่สี ุด
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนกั เรียน: วนั พฤหัสบดี จาหนา่ ยได้ ๔๐ ชิ้น)
- วนั ใดทส่ี ามารถจาหน่ายแตงโมได้นอ้ ยที่สดุ
(คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรียน: วนั เสาร์ ได้จาหน่าย ๑๕ ชิน้ )
- แต่ละวันสามารถจาหน่ายแตงโมได้อยูร่ ะหวา่ งเทา่ ใด
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนกั เรยี น: อยู่ระหว่าง ๑๕-๔๐ ชน้ิ )
- นกั เรียนสามารถสรปุ ขอ้ มูลจากกราฟได้อยา่ งไร
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรียน: วันพฤหัสบดีจาหน่ายแตงโมได้มากท่ีสุด และวันเสาร์จาหน่ายแตงโมได้
น้อยที่สดุ โดยสามารถจาหนา่ ยแตงโมในแต่ละวันอยูร่ ะหว่าง ๑๕-๔๐ ชน้ิ )
๔. นักเรยี นอ่านกราฟท่กี าหนดให้ ดงั นี้
กราฟแท่งแสดงจานวนสัตวใ์ นสวนสัตวแ์ ห่งหน่ึง
๖. นกั เรียนรว่ มกนั ตอบคาถามเก่ียวกับกราฟตามประเด็นตอ่ ไปนี้
- กราฟทีน่ ักเรียนเห็นคอื กราฟอะไร
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรียน: กราฟแท่ง)
- สัตว์อะไรท่ีมีจานวนมากท่ีสดุ
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ลิง มี ๑๑ ตวั )
- สตั ว์อะไรท่ีมจี านวนนอ้ ยท่สี ดุ
(คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรยี น: ยรี าฟ มี ๒ ตวั )
- จานวนของสตั ว์ในสวนสัตว์แห่งนอ้ี ยู่ระหวา่ งเท่าใด
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ๒-๑๑ ตวั )
- นกั เรยี นสามารถสรุปข้อมูลจากกราฟได้อยา่ งไร
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรยี น: ลิงมีจานวนมากทีส่ ดุ และยรี าฟมจี านวนนอ้ ยท่สี ดุ โดยทจ่ี านวนของสัตว์
ในสวนสัตว์แห่งน้ีอยู่ระหวา่ ง ๒-๑๑ ตัว)
๗. นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกบั วธิ ีการอา่ นกราฟ แล้วสรปุ เป็นความรูเ้ รือ่ งวธิ กี ารอ่าน
กราฟรว่ มกนั
๕.๓ การสร้างและแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง และขยายแนวคิดที่หลากหลาย
๑. นักเรยี นแบง่ กลมุ่ เปน็ ๖ กลุ่ม กลมุ่ ละเทา่ ๆ กนั
๒. นักเรียนทาใบภารกิจการเรียนรู้ท่ี ๑๓/๕ เร่ือง “การอ่านกราฟ” โดยให้นักเรียนสรุป
ขอ้ มลู จากกราฟท่ีกาหนดให้
๓. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาจับสลากเพ่ือเลือกว่าจะได้กราฟอะไร โดยมีหมายเลข
ดังน้ี
หมายเลข ๑ กราฟรปู ภาพแสดงจานวนส้มทจ่ี าหน่ายไดใ้ นแตล่ ะวัน
หมายเลข ๒ กราฟแทง่ แสดงจานวนสตั วน์ ้าที่ชาวประมงจับได้ ๑ วัน
๔. จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปข้อมูลจากกราฟท่ีกาหนดให้ลงในใบภารกิจการ
เรียนรทู้ ี่ ๑๓/๕ เร่อื ง “การอ่านกราฟ”
๕. ตัวแทนนักเรียนนาเสนอผลงานการอ่านกราฟของกลุ่มตนเอง นักเรียนคนอื่น ๆ เพิ่มเติม
คาตอบของเพ่อื นให้ถกู ต้องและครบถ้วนตามวิธีการอา่ นกราฟ
๕.๔ การสรา้ งความเข้าใจของตนเองและกลุ่ม โดยการสะท้อนความคดิ และสรปุ องค์ความรู้
๑. นกั เรยี นร่วมกนั สรุปลกั ษณะของกราฟแตล่ ะชนิดเป็นอยา่ งไร
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: กราฟรูปภาพ เป็นการเขียนรูปภาพแทนจานวนสิ่งต่าง ๆ รูปภาพท่ีใช้
แทนส่งิ เดยี วกนั จะต้องเหมอื นกนั และมีขนาดเท่ากัน กราฟแท่ง เป็นการเขียนแท่งส่ีเหล่ียมมุมฉากแทนจานวน
สิ่งต่าง ๆ โดยท่ีแท่งส่ีเหล่ียมมุมฉากแต่ละแท่งเร่ิมต้นจากระดับเดียวกัน และมีความกว้างเท่ากัน ส่วนสูงหรือ
ความยาวแต่ ละแทง่ แสดงจานวนในแตล่ ะรายการ ฯลฯ)
๒. นักเรียนได้รับประโยชน์อะไรจากการอ่านกราฟ และจะนาไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างไร
(คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรียน: ทาใหส้ ามารถอ่านกราฟไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เข้าใจและนาข้อมูลจากกราฟไป
ใช้ได้อยา่ งถูกต้อง ไม่คลาดเคลอื่ น)
๓. นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดกิจกรรมที่ ๘-๙ ในเอกสารประกอบการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการ
เรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ เลม่ ๒ หนา้ ๖๓-๖๔
๖. ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้
๑) ส่อื การสอนเพาเวอรพ์ อยท์ เร่ือง “การอา่ นกราฟ”
๒) ใบภารกิจการเรยี นรทู้ ่ี ๑๓/๕ เรอื่ ง “การอ่านกราฟ”
๓) เอกสารประกอบการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทยชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ เล่ม ๒
หนา้ ๖๓-๖๔
๔) หนังสอื เรียน ภาษาพาที ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔
๗. การวดั และประเมินผล
ส่ิงท่ีจะวดั วิธีการวดั เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้วัด เกณฑผ์ า่ น
๑. อธบิ ายลักษณะของ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตสังเกต ผลการประเมิน
กราฟได้ การตอบคาถาม พฤติกรรมการตอบคาถาม อยู่ในระดับ ดี ข้นึ ไป
๒. อ่านกราฟได้ ตรวจแบบฝกึ หดั ได้คะแนนต้งั แต่
แบบฝกึ หัด ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป
ผลการประเมนิ
๓. สรุปข้อมลู จากการอ่าน สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตสังเกต อยใู่ นระดับ ดี ขึน้ ไป
กราฟได้ การตอบคาถาม พฤติกรรมการตอบคาถาม ไดค้ ะแนนตง้ั แต่
ตรวจแบบฝกึ หดั รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป
แบบฝึกหดั ไดค้ ะแนนตั้งแต่
ตรวจใบภารกิจการเรยี นรู้ รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป
ใบภารกิจการเรยี นรู้ ผลการประเมิน
อยู่ในระดบั ดี ขึ้นไป
๔. มคี วามกระตือรอื รน้ ใน สังเกตพฤตกิ รรม สงั เกตพฤติกรรม
การทากจิ กรรม การเรียนรู้ การเรียนรู้
๘. บนั ทกึ ผลหลังการสอน
๘.๑ ดา้ นแผนการจดั การเรยี นรู้
เทคนิคและวิธีการสอนจะเน้นให้นักเรียนได้แลกเปล่ียนแสดงความคิดเห็น ได้ฝึกคิดวิเคราะห์
หาคาตอบด้วยตนเอง โดยใช้วิธีการสอนท่ีสร้างนวัตกรท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ ทาให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับ
ผู้สอน เช่น การตอบคาถาม รวมท้ังมีกิจกรรมกลุ่มให้นักเรียนได้ทาร่วมกัน ท้ังน้ีสื่อการเรียนการสอน
เหมาะสมกบั ผเู้ รียน และสามารถสอนได้ตามแผนที่วางไว้
๘.๒ ดา้ นพฤตกิ รรมครู
ครูผู้สอนอธิบายและยกตัวอย่างจากเร่ืองใกล้ตัว ทาให้นักเรียนเห็นภาพและเข้าใจมากข้ึน อีกท้ัง
ครผู ้สู อนมีเทคนคิ และวิธีการจัดการช้ันเรียนที่เหมาะสม กระตุ้นผู้เรียนด้วยคาถามตลอดเวลา รวมถึงครูผู้สอน
ใชน้ ้าเสยี งท่อี อ่ นโยน และชัดเจน
๘.๓ ด้านพฤติกรรมนักเรยี นและผลการเรียนรู้
นักเรียนมีความกระตือรือร้นและให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม เช่น การตอบคาถาม
แสดงความคิดเหน็ ในชัน้ เรียน นอกจากน้ีนักเรียนยังให้ความสนใจและตั้งใจเรียน ท้ังนี้อาจเป็นเพราะว่าการใช้
ส่ือ นวัตกรรม และเทคนิควิธีการสอนตา่ ง ๆ ทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ จงึ ทาให้พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
เป็นไปตามผลที่ต้ังไว้ นักเรียนรู้วิธีการอ่านกราฟ ภาพรวมถือว่าอยู่ในระดับท่ีน่าพึงพอใจ นักเรียนเกิดแนวคิด
อย่างรวดเรว็ จากสถานการณ์ป๎ญหาทีก่ าหนดให้
๘.๔ อุปสรรค ปญั หา และข้อเสนอแนะ
นักเรียนบางคนยังต้องได้รับการปรับปรงุ และพฒั นาขึน้ อกี
ลงช่ือ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๕ มกราคม ๒๕๖๕
แบบบันทกึ ผลการเรียนรู้เรอ่ื ง การอ่านกราฟ
ผลการเรยี นรู้
เลข ชือ่ -สกลุ อธิบายลักษณะของ คะแนน
ท่ี กราฟ รวม
อ่านกราฟ
สรุป ้ขอมูลจากการ
อ่านกราฟ
มีความ
กระ ืตอรือร้นในการ
ทา ิกจกรรม
๓ ๓ ๓ คณุ ภาพ ๙
๑. เด็กชายภูมภิ ัทร ใจกลา้ ๒ ๑ ๒ พอใช้ ๕
๒. เด็กชายประเสรฐิ จันทรด์ ามขุ ๑ ๒ ๑ ควรปรบั ปรงุ ๔
๓. เดก็ ชายเตชนิ ท์ พวงดาว ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๔. เดก็ ชายสรรชัย สนุ ประโคน ๑ ๑ ๒ ควรปรบั ปรุง ๔
๕. เดก็ ชายชัยภทั ร เกดกนั หา ๒ ๑ ๒ ควรปรบั ปรงุ ๕
๖. เดก็ ชายนนทพัทธ์ ศรปี ระโคน ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๗. เดก็ ชายภานุวัฒน์ ขวัญเมือง ๒ ๑ ๒ ควรปรับปรงุ ๕
๘. เดก็ ชายอติวิชญ์ ศรีสว่าง ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๙. เด็กชายอดิศร ยอดรกั ษ์ ๒ ๑ ๑ ควรปรับปรุง ๔
๑๐. เดก็ ชายณฐั ภมู ิ การะเกศ ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๑๑. เด็กชายธรี ศักด์ิ จันทรเ์ พียง ๑ ๑ ๑ ควรปรบั ปรงุ ๓
๑๒. เดก็ ชายภวู ดล ศิริสวัสดิ์ ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๑๖
๑๓. เดก็ ชายธีรธรณ์ ประกายแกว้ ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๑๔. เดก็ ชายเทพฤทธ์ิ ศรีอนงค์ ๒ ๑ ๒ ควรปรบั ปรุง ๕
๑๕. เดก็ หญงิ ธันยพร ใจกล้า ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๑๖. เดก็ หญงิ ปรณั ญา บตุ รวงั ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๑๗. เดก็ หญิงกมลวรรณ นาอุดม ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๑๘. เด็กหญงิ กัญญาภร เขอื ดประโคน ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๑๙. เด็กหญงิ ธัญชนก สานกั นติ ย์ ๒ ๑ ๒ ควรปรับปรงุ ๕
๒๐. เด็กหญงิ กญั ญาณัฐ ใจกลา้ ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๒๑. เด็กหญงิ ณธิดา สืบสาย ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๒๒. เด็กหญิงนรี ชา ทิพย์รอด ๓ ๓ ๓ ดี ๙
ผลการเรยี นรู้
เลข ช่ือ-สกลุ อธิบายลักษณะของ คะแนน
ท่ี กราฟ รวม
อ่านกราฟ
สรุป ้ขอมูลจากการ
อ่านกราฟ
มีความ
กระ ืตอรือร้นในการ
ทา ิกจกรรม
๓ ๓ ๓ คณุ ภาพ ๙
๒๓. เดก็ หญิงนชิ า ทพิ ย์รอด ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๒๔. เด็กหญิงสุธิมา ปญ๎ ญาใส
๒๕. เดก็ หญิงอโนมา พวงดาว ๑ ๑ ๒ ควรปรบั ปรงุ ๔
๒๖. เดก็ หญงิ อลนิ ลดา เสน่ห์ดี
๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
ลงช่อื ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๕ มกราคม ๒๕๖๔
๘.๑ ด้านแผนการจดั การเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๘.๒ ดา้ นพฤติกรรมครู
ยูนิทดี ๑/๑
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ยนู ิทดี ๑/๒
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….../......
................../.................
เกณฑก์ ารให้คะแนนผลการเรยี นรูข้ องนักเรียน
ประเดน็ การประเมนิ เกณฑก์ ารให้คะแนน
๑. อธิบายลักษณะของ
กราฟได้ ๓ ๒๑ ๐
๒. อ่านกราฟได้ นกั เรียนสามารถอธิบาย นักเรียนสามารถอธบิ าย นกั เรียนไม่สามารถ นกั เรียนไม่
อธบิ ายลักษณะของ สามารถสรปุ
๓. สรปุ ขอ้ มลู จาก ลกั ษณะของของกราฟได้ ลักษณะของกราฟได้ ข้อมูลจากการ
การอา่ นกราฟ กราฟได้ อ่านกราฟได้
อยา่ งถูกต้อง ครบทุก อย่างถูกต้อง
๔. มีความกระตือรือรน้ นกั เรียนไมส่ ามารถ
ในการทากิจกรรม ประเดน็ แตย่ งั ไม่ครบทุกประเด็น ตอบคาถามและสรุป
ข้อมูลจากการอ่าน
นกั เรียนสามารถตอบ นักเรยี นสามารถตอบ
กราฟได้
คาถามและสรปุ คาถามและสรปุ
นกั เรียนสามารถสรปุ
ข้อมลู จากการอ่าน ข้อมูลจากการอ่าน ข้อมลู จากการอ่าน
กราฟไดถ้ ูกตอ้ งและ
กราฟไดถ้ ูกตอ้ ง กราฟได้ถูกตอ้ ง แต่
เหมาะสม
ครบถว้ นทุกประเดน็ ยงั ไมค่ รบทุกประเดน็ นกั เรียนไม่มสี ว่ นร่วม
นักเรียนมสี ว่ นรว่ มแสดง นกั เรียนมีส่วนรว่ มแสดง แสดงความคดิ เห็น
ความคิดเหน็ ความคดิ เห็น อภิปรายและ
โตต้ อบกบั ครู
อภปิ รายและโตต้ อบ อภปิ รายและโต้ตอบ รวมทั้งไมต่ ั้งใจ
กบั ครูเปน็ ประจา กับครูบา้ งรวมทง้ั ปฏบิ ัติภารกิจ
รวมทั้งปฏบิ ตั ภิ ารกิจ ปฏิบตั ิภารกจิ กจิ กรรมที่ได้รบั
กิจกรรมท่ีไดร้ บั กจิ กรรมท่ีได้รับ มอบหมาย
มอบหมายดว้ ยความ มอบหมายดว้ ยความ
ตั้งใจ ตัง้ ใจ
เกณฑก์ ารประเมนิ
คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรปรับปรงุ
ใบภารกจิ การเรยี นร้ทู ่ี ๑๓/๕ เรอื่ ง “การอา่ นกราฟ”
กลุ่มท่ี...............................เลขท่ีสมาชิกในกลมุ่ ..........................................................................................
คาช้แี จง : ใหน้ ักเรียนสรุปขอ้ มูลจากกราฟแท่งทก่ี าหนดให้
กราฟแท่งแสดงจานวนสตั ว์น้าทชี่ าวประมงจับได้ ๑ วัน
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบภารกิจการเรยี นรู้ท่ี ๑๓/๕ เร่ือง “การอ่านกราฟ”
กลุ่มที่...............................เลขทีส่ มาชกิ ในกลุ่ม..........................................................................................
คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นสรุปข้อมูลจากกราฟรูปภาพทีก่ าหนดให้
กราฟรูปภาพแสดงจานวนส้มที่จาหน่ายได้ในแตล่ ะวัน
วนั จนั ทร์
วนั องั คาร
วันพุธ
วันพฤหัสบดี
วันศกุ ร์
วันเสาร์
วันอาทติ ย์
รปู ๑ รูป มีค่าเท่ากับสม้ ๑๐ ลกู
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจดั การเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๕ อย่างน้ีดคี วรทา ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๖/๖ เรือ่ ง คาทปี่ ระวสิ รรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์ เวลา ๑ คาบ (๕๐ นาท)ี
โรงเรยี นวัดบา้ นไพบลู ย์ ผสู้ อน นางสาวสารสิ า เสาโร
สอนวันที่ ๒๗ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๑.๓๐ น.
๑. ความคิดรวบยอด
คาที่ประวิสรรชนีย์ หมายถึง คาที่นาพยัญชนะมาประสมกับสระอะ (-ะ) และคงรูปสระ (-ะ) ไว้หลัง
พยัญชนะ เวลาอา่ นจะอา่ นออกเสยี ง อะ เต็มเสียง ส่วนคาทไี่ มป่ ระวิสรรชนีย์ หมายถึง คาที่ประสมสระอะ (-ะ) แต่
ไมม่ รี ูปสระ (-ะ) เวลาอา่ นจะอา่ นออกเสียง อะ ก่งึ เสียง เม่ือนักเรียนเข้าใจลักษณะของคาท่ีประวิสรรชนีย์และคาท่ี
ไมป่ ระวสิ รรชนีย์ แล้วจะทาให้นักเรียนอ่านและเขียนสะกดคาคาที่เป็นคาประวิสรรชนีย์และคาท่ีไม่ประวิสรรชนีย์
ไดถ้ กู ต้องและเหมาะสมกบั ความหมาย รวมทง้ั เหน็ ความสาคัญของคาทปี่ ระวสิ รรชนยี ์และคาท่ไี ม่ประวสิ รรชนยี ์
๒. มาตรฐานและตวั ชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ป๎ญหาใน การ
ดาเนินชีวิต และมีนสิ ัยรักการอา่ น
ตวั ชีว้ ดั
ท ๑.๑ ป.๔/๒ อธิบายความหมายของคา ประโยค และสานวนจากเร่อื งทอ่ี ่าน
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา และพลังของ
ภาษา ภูมิปญ๎ ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ
ท ๔.๑ ป.๔/๑ สะกดคาและบอกความหมายของคาในบรบิ ทต่าง ๆ
ท ๔.๑ ป.๔/๔ แตง่ ประโยคไดถ้ กู ต้องตามหลักภาษา
๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
เมอ่ื นกั เรยี นเรยี นเร่ือง “คาทป่ี ระวิสรรชนยี แ์ ละไม่ประวิสรรชนีย์” แล้วนกั เรยี นสามารถ
๑. อธิบายลักษณะของคาที่ประวสิ รรชนยี ์และไม่ประวสิ รรชนยี ไ์ ด้ (K)
๒. จาแนกคาท่ปี ระวิสรรชนียแ์ ละคาท่ีไมป่ ระวสิ รรชนียไ์ ด้ (C)
๓. แต่งประโยคจากคาท่ีประวสิ รรชนยี ์และไม่ประวิสรรชนียไ์ ด้ (C)
๔. มคี วามกระตือรือรน้ ในการทากจิ กรรม (A)
๔. สาระการเรยี นรู้
ด้านองคค์ วามรู้ (Knowledge)
๑. ความหมายของคาประวิสรรชนียแ์ ละคาทีไ่ ม่ประวสิ รรชนยี ์
คาท่ีประวิสรรชนีย์ หมายถึง คาท่ีนาพยัญชนะมาประสมกับสระอะ (-ะ) และคงรูปสระ
(-ะ) ไว้หลังพยัญชนะ เวลาอา่ นจะอ่านออกเสยี ง อะ เต็มเสยี ง
คาท่ีไม่ประวิสรรชนีย์ หมายถึง คาที่ประสมสระอะ (-ะ) แต่ไม่มีรูปสระ (-ะ) เวลาอ่าน
จะอา่ นออกเสียง อะ กงึ่ เสยี ง
๒. ลักษณะของคาประวสิ รรชนียแ์ ละคาทีไ่ ม่ประวสิ รรชนีย์
คาท่ีประวิสรรชนีย์ คือ คาท่ีอ่านออกเสียง อะ เต็มเสียงและมีรูป (-ะ) ประสมอยู่
แบง่ เป็น ๒ ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ ประวิสรรชนยี ท์ ี่พยางค์หน้า เช่น กะทิ กระซิบ กระดูก บะหมี่ กะเพรา เป็นต้น และ
ประวิสรรชนีย์ที่พยางค์ทา้ ย เช่น ซาบะ หิมะ ศิลปะ มานะ ศีรษะ ธรุ ะ ลักษณะ อสิ ระ เปน็ ตน้
คาที่ไม่ประวิสรรชนีย์ คือ คาที่อ่านออกเสียง อะ กึ่งเสียงแต่ไม่มีรูปสระ (-ะ) เช่น
จกั รยาน คณุ ภาพ สขุ ภาพ ผสม สมุด ผลไม้ ผลติ ภัณฑ์ ธนบตั ร ฉบบั ทหาร ตลาด พลงั งาน ถนน เป็นตน้
ดา้ นสมรรถนะ (Competency)
๑. ทักษะการแต่งประโยค คือ การเรียบเรียงคาให้ได้ใจความ โดยมีส่วนประกอบ
คือ ภาคประธาน และภาคเเสดง
๒. ทักษะการอ่านออกเสียง คือ ความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียงในเร่ือง
การประสม พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ การอ่านคาที่มีตัวสะกดและไม่มีตัวสะกด โดยเรียงพยัญชนะ สระ
วรรณยุกตแ์ ละตวั สะกด ให้เปน็ คาอยา่ งถูกตอ้ ง อา่ นไดถ้ ูกต้องตามอกั ขรวิธี
๓. ทักษะการเขียนสะกดคา คือ ความสามารถในการเขียนคาศัพท์ที่กาหนดให้ได้ถูกต้องตาม
หลกั ภาษาไทยดว้ ยความคล่องแคลว่ ว่องไว
๔. ทักษะกระบวนการกลุ่ม คอื ความสามารถในการแบ่งภาระหน้าท่ีรับผิดชอบหรือช่วยเหลือซึ่ง
กันและกนั ภายในกลุม่ ทคี่ รูมอบหมายใหไ้ ด้
๕. ทักษะการคิดวิเคราะห์ คือ ความสามารถในการจาแนกแยกแยะคาท่ีประวิสรรชนีย์และคาท่ี
ไมป่ ระวสิ รรชนยี ์ได้
ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (Attribute)
มีความกระตือรอื รน้ ในการทากิจกรรม โดยนักเรยี นในช้ันเรียน มสี ่วนรว่ มแสดงความคดิ เหน็
อภปิ รายและโต้ตอบกับครูเป็นประจา รวมทั้งปฏบิ ตั ภิ ารกิจกจิ กรรมท่ีได้รับมอบหมายด้วยความต้งั ใจ
๕. กระบวนการจดั การเรียนรู้
๕.๑ การเช่ือมโยงความรเู้ ดิมกับความรใู้ หม่
๑. นักเรียนแบ่งกล่มุ ออกเปน็ ๖ กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั
๒. นกั เรยี นเล่นเกม “ปรศิ นาคาทายสุดหรรษา” จากโปรแกรมเพาเวอร์พอยท์ จานวน ๖ คาถาม
กลุ่มใดท่ีตอบได้ถกู ต้องจะได้รบั คะแนนข้อละ ๒๐ คะแนน โดยมีปรศิ นาดังนี้
๑) ฉนั คอื อะไร ได้จากมะพรา้ ว
คั้นน้าขน้ ขาว ชาวบ้านทาแกง
(คาตอบ : กะท)ิ
๒) ฉนั คืออะไร ไวใ้ ช้ทอดผดั
บอกให้แนช่ ัด คู่นัดตะหลวิ
(คาตอบ : กระทะ)
๓) ตัวฉันคอื ใคร รู้ไหมหนจู า๋
ห่มเหลอื งทุกครา เชา้ มาบณิ ฑบาต
(คาตอบ : พระสงฆ)์
๔) ฉันคอื อะไร ใช้สองขาป่๎น
ทง้ั ถบี ทั้งยัน พลนั ให้เคลือ่ นท่ี
(คาตอบ : จกั รยาน)
๕) ฉนั คืออะไร เดก็ ใชก้ อดเล่น
ทกุ คราที่เหน็ เปน็ ต้องหอมดม
(คาตอบ : ต๊กุ ตา)
๖) ฉันมสี ีเขยี ว มาทอ่ งเท่ียวไทย
ทกุ คนกนิ ได้ เน้ือในมเี มลด็
(คาตอบ : ฝรัง่ )
๓. นักเรียนพิจารณาคาศพั ทไ์ วบ้ นกระดาน ๒๐ คา แลว้ ให้นกั เรียนอ่านออกเสยี งคาศัพท์
พร้อมกัน
กะทิ กระทะ พระสงฆ์ จกั รยาน
ต๊กุ ตา ฝร่งั ภาระ สะพาน
มะลิ ศลิ ปะ ธรรมชาติ ตลาด
สถานี ผลไม้ สับปะรด มะละกอ
กติกา ธนบตั ร สยาม หมิ ะ
๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันหาความสัมพันธ์ของคา จากนั้นให้จัดกลุ่มบัตรคาบนกระดานให้
เป็นหมวดหมตู่ ามความเขา้ ใจของนักเรยี น โดยในขน้ั ตอนนส้ี มาชิกในห้องจะช่วยกนั ปรับแก้คาตอบและจัดกลุ่มของ
คาบนกระดานตามเกณฑ์ท่ีตนเองกาหนดไว้ (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: แบ่งตามจานวนพยางค์ ได้ ๓
กลุ่ม คือ จานวน ๑ พยางค์, ๒ พยางค์ และ ๓ พยางค์ แบ่งตามได้ ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มคาเป็นและคาตาย แบ่งได้ ๒
กลมุ่ คอื คาท่ีมีสระอะ และคาที่ไม่สระอะ)
กล่มุ ท่ี ๑ กลมุ่ ที่ ๒
กะทิ ตกุ๊ ตา
กระทะ ฝรง่ั
มะลิ สถานี
ศิลปะ ผลไม้
สะพาน กตกิ า
ธรรมชาติ
สับปะรด ตลาด
พระสงฆ์ จกั รยาน
ธนบัตร
หมิ ะ สยาม
มะละกอ
ภาระ
๕. คาท้ังสองกลุ่มมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน:
เหมือนกันคือท้ังสองกลุ่มออกเสียงสระอะเหมือนกัน แต่ต่างกันคือกลุ่มท่ี ๑ อ่านออกเสียงสระอะและมีรูปสระอะ
สว่ นกลุม่ ที่ ๒ อา่ นออกเสยี งสระอะแตไ่ มม่ ีรูปสระอะ)
๖. นักเรียนตอบคาถามว่าคาทีม่ ีรปู สระอะเรยี กว่าอะไร และคาทไ่ี มม่ รี ูปสระอะเรียกวา่ อะไร
(คาดการณแ์ นวคาตอบของนักเรียน: คาทีม่ ีรูปสระอะเรียกว่าคาประวิสรรชนีย์ และคาที่ไม่มีรูปสระอะเรียกว่าคา
ทไี่ ม่ประวสิ รรชนีย์)
๕.๒ การกระตนุ้ ใหเ้ กิดความขดั แย้งทางปญั ญาและปฏบิ ัตภิ ารกิจการเรียนรู้
๑. นักเรียนอา่ นบตั รคาศัพท์ท่ีครูติดบนกระดาน โดยจดั หมวดหมู่เป็น ๒ กล่มุ
กลุ่มที่ ๑ กลมุ่ ท่ี ๒
ทะเลาะ สมอง
ทะลุ สบาย
กระตือรอื ร้น ถนอม
ตะลึง แสดง
ตล่ิง สะดวก
เยอะแยะ โตะ๊
๒. นกั เรยี นร่วมกนั วิเคราะห์บัตรคา แลว้ รว่ มกนั อภิปรายในประเด็น ดังต่อไปนี้
- คาทีอ่ ยู่ในกลมุ่ ท่ี ๑ มลี กั ษณะอย่างไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: มรี ปู
สระอะ ออกเสียงอะเตม็ เสียง เปน็ คาประวสิ รรชนยี ์)
- คาทอี่ ย่ใู นกลมุ่ ท่ี ๒ มลี ักษณะอยา่ งไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรียน: ไม่มรี ูป
สระอะ แต่ออกเสียงอะก่ึงเสียง เป็นคาที่ไม่ประวิสรรชนยี ์)
๓. นักเรยี นร่วมกนั สงั เกตและพิจารณาวา่ บตั รคาทั้ง ๒ กลุ่มนั้นมีบัตรคาใดท่ีไม่สอดคล้องกับกลุ่ม
หรอื ไม่เพราะเหตุใด (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: คาว่า ตลิ่ง เป็นคาท่ีไม่ประวิสรรชนีย์ เพราะออกเสียง
สระอะแต่ไม่มีรูปสระอะ ส่วนคาว่าเยอะแยะมีรูป (-ะ) แต่ไม่ได้ออกเสียงสระอะเนื่องจากมาจากรูปสระแอะ กับ
สระเออะ จึงไม่ได้จัดอยู่ในท้ังสองกลุ่ม ส่วนคาว่าสะดวกเป็นคาประวิสรรชนีย์เพราะมีรูปสระอะและออกเสียง
สระอะ สว่ นคาวา่ โต๊ะ มีรูป (-ะ)แตไ่ มไ่ ดอ้ อกเสยี งสระอะ เพราะมาจากสระโอะ จึงไมไ่ ดจ้ ัดอยใู่ นท้ังสองกลุ่ม)
๔. นักเรียนสังเกตและและอา่ นออกเสียงบัตรคาท่ีครูตดิ บนกระดาน
ธรุ ะ บาดทะยกั มหาสมุทร
๕. นกั เรียนคดิ วา่ คาท่ีมีรปู สระอะท้งั สามคานอ้ี ่านออกเสยี งแตกตา่ งกันอยา่ งไร
(คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: คาท่ีมีมากกว่า ๑ พยางค์ พยางค์ท่ีออกเสียงอะ ไม่ว่าจะประวิสรรชนีย์
หรือไมป่ ระวิสรรชนีย์ ให้ออกเสยี ง อะ ครึ่งเสยี ง ยกเวน้ พยางค์ท้ายทีป่ ระวิสรรชนยี ์ใหอ้ อกเสยี ง อะ เต็มเสียง)
๕.๓ การสรา้ งและแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง และขยายแนวคิดทห่ี ลากหลาย
๑. นกั เรยี นทาใบภารกจิ การเรียนรทู้ ่ี ๑๓/๖ เรื่อง“คาทปี่ ระวสิ รรชนีย์และไม่ประวสิ รรชนยี ์”
โดยครูจะกาหนดเร่ืองราวมาให้ แล้วให้นักเรียนหาคาศัพท์ท่ีเป็นคาท่ีประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์เติมลงใน
ช่องว่างให้ถูกต้องและเหมาะสมกับเร่ืองราว โดยใช้เวลา ๕ นาที กลุ่มใดท่ีสามารถหาคาศัพท์ได้มากที่สุดและ
ถูกต้องจะเป็นกล่มุ ทชี่ นะ
๒. ตัวแทนนักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น
๓. นักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถกู ต้องของคาศพั ท์
๕.๔ การสรา้ งความเข้าใจของตนเองและกลมุ่ โดยการสะท้อนความคดิ และสรุปองค์ความรู้
๑. นกั เรยี นร่วมกนั ตอบคาถามในประเดน็ ต่อไปน้ี
- ถ้านกั เรียนไมส่ ามารถจาแนกคาทีป่ ระวิสรรชนียแ์ ละคาทไี่ ม่ประวิสรรชนยี ์ได้ นักเรยี น
คดิ ว่าจะเกิดผลอยา่ งไร (คาดการณ์แนวคาตอบของนักเรียน: ทาให้เขียนสะกดคาผดิ )
- การเรียนรู้เรอื่ งทปี่ ระวิสรรชนีย์และคาทไี่ ม่ประวิสรรชนยี ์มีประโยชนอ์ ยา่ งไรบ้าง
(คาดการณ์แนวคาตอบของนกั เรียน: อา่ นออกเสียงคาได้ถูกต้อง , ทาใหเ้ ข้าใจความหมายของคาชดั เจน ,
ทาให้เขยี นสะกดคาได้ถูกต้อง , ทาใหส้ ามารถเลอื กใช้คาได้ถูกต้องเหมาะสม)
๒. นักเรียนทาแบบฝึกหัดกิจกรรมที่ ๑๐-๑๒ ในเอกสารประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เลม่ ๒ หน้า ๖๔-๖๕
๖. สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้
๑) สือ่ การสอนเพาเวอร์พอยท์ปรศิ นาคาทายสดุ หรรษา
๒) ใบภารกจิ การเรยี นรู้ท่ี ๑๓/๖ เรอ่ื ง “ตามลา่ หาคาทปี่ ระวิสรรชนีย์และไม่ประ
วิสรรชนยี ์”
๓) บัตรคา “คาท่ปี ระวสิ รรชนยี แ์ ละไมป่ ระวสิ รรชนยี ์”
๔) เอกสารประกอบการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ เล่ม ๒ หน้า ๔๑
กจิ กรรมท่ี ๘
๗. การวดั และประเมินผล
สิง่ ท่ีจะวดั วิธีการวัด เครอื่ งมอื ที่ใช้วดั เกณฑผ์ า่ น
๑. อธบิ ายลกั ษณะของคาทป่ี ระ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตสังเกต ผลการประเมนิ
วสิ รรชนียแ์ ละไมป่ ระวสิ รรชนยี ไ์ ด้ การตอบคาถาม พฤติกรรมการตอบคาถาม อยู่ในระดับ ดี ข้นึ ไป
๒. จาแนกคาท่ีประวิสรรชนียแ์ ละคาทีไ่ ม่ ตรวจแบบฝึกหดั ไดค้ ะแนนต้งั แต่
ประวิสรรชนีย์ได้ แบบฝกึ หดั ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป
๓. แตง่ ประโยคจากคาทปี่ ระวสิ รรชนยี ์ ตรวจแบบฝกึ หดั ไดค้ ะแนนต้งั แต่
และไม่ประวสิ รรชนีย์ได้ แบบฝึกหัด ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป
๔. มคี วามกระตือรือรน้ ในการทา สังเกตพฤติกรรม ผลการประเมิน
กิจกรรม การเรยี นรู้ แบบสังเกตพฤติกรรม อยูใ่ นระดับ ดี ขึ้นไป
การเรียนรู้
๘. บนั ทกึ ผลหลังการสอน
๘.๑ ด้านแผนการจดั การเรยี นรู้
เทคนิคและวิธีการสอนจะเน้นให้นักเรียนได้แลกเปล่ียนแสดงความคิดเห็น ได้ฝึกคิดวิเคราะห์
หาคาตอบด้วยตนเอง โดยใช้วิธีการสอนที่สร้างนวัตกรท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ ทาให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับผู้สอน
เช่น การตอบคาถาม รวมทั้งมกี จิ กรรมกลุ่มให้นักเรียนได้ทาร่วมกัน ทั้งน้ีส่ือการเรียนการสอนเหมาะสมกับผู้เรียน
และสามารถสอนไดต้ ามแผนทีว่ างไว้
๘.๒ ด้านพฤตกิ รรมครู
ครผู ูส้ อนอธบิ ายและยกตัวอย่างจากเรื่องใกล้ตัว ทาให้นักเรียนเห็นภาพและเข้าใจมากขึ้น อีกทั้งครูผู้สอน
มีเทคนิคและวิธีการจัดการช้ันเรียนท่ีเหมาะสม กระตุ้นผู้เรียนด้วยคาถามตลอดเวลา รวมถึงครูผู้สอนใช้น้าเสียงท่ี
ออ่ นโยน และชัดเจน
๘.๓ ด้านพฤติกรรมนักเรยี นและผลการเรยี นรู้
นักเรียนมีความกระตือรือร้นและให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม เช่น การตอบคาถาม
แสดงความคิดเห็นในช้ันเรียน นอกจากน้ีนักเรียนยังให้ความสนใจและตั้งใจเรียน ท้ังน้ีอาจเป็นเพราะว่าการใช้สื่อ
นวัตกรรม และเทคนิควิธีการสอนต่าง ๆ ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จึงทาให้พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นไป
ตามผลที่ต้ังไว้ นักเรียนเข้าใจคาท่ีมีและไม่มีประวิสรรชนีย์ดีข้ึน ภาพรวมถือว่าอยู่ในระดับท่ีน่าพึงพอใจ นักเรียน
เกดิ แนวคดิ อย่างรวดเรว็ จากสถานการณป์ ๎ญหาท่ีกาหนดให้
๘.๔ อุปสรรค ปญั หา และข้อเสนอแนะ
นักเรยี นบางคนยังตอ้ งไดร้ บั การปรับปรุงและพัฒนาข้ึนอกี
ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสาริสา เสาโร)
๒๘ มกราคม ๒๕๖๕
แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นรเู้ ร่อื ง คาทป่ี ระวสิ รรชนีย์และไม่ประวสิ รรชนีย์
ผลการเรียนรู้ ค
อธิบายลักษณะของคาท่ีประ ะ
วิสรรชนี ์ยและไม่ประวิสรรชนีย์
จาแนกคา ่ีทประวิสรรชนี ์ยและ แ
เลข คา ี่ทไม่ประวิสรรชนีย์ น
ที่ แ ่ตงประโยคจากคา ่ีทประ
ชอ่ื -สกลุ วิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์ น
ีมความกระตือรือร้นในการทา
ร
กิจกรรม
ว
ม
๓ ๓ ๓ คณุ ภาพ ๙
๑. เดก็ ชายภูมภิ ัทร ใจกลา้ ๒ ๑ ๒ พอใช้ ๕
๒. เด็กชายประเสรฐิ จนั ทรด์ ามุข ๑ ๒ ๑ ควรปรับปรุง ๔
๓. เดก็ ชายเตชินท์ พวงดาว ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๔. เดก็ ชายสรรชยั สนุ ประโคน ๑ ๑ ๒ ควรปรบั ปรงุ ๔
๕. เดก็ ชายชัยภทั ร เกดกันหา ๒ ๑ ๒ ควรปรับปรงุ ๕
๖. เด็กชายนนทพัทธ์ ศรปี ระโคน ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๗. เดก็ ชายภานวุ ฒั น์ ขวัญเมือง ๒ ๑ ๒ ควรปรับปรุง ๕
๘. เดก็ ชายอติวิชญ์ ศรีสว่าง ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๙. เด็กชายอดิศร ยอดรักษ์ ๒ ๑ ๑ ควรปรับปรงุ ๔
๑๐. เดก็ ชายณฐั ภมู ิ การะเกศ ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๑๑. เด็กชายธีรศกั ดิ์ จนั ทร์เพียง ๑ ๑ ๑ ควรปรับปรงุ ๓
๑๒. เด็กชายภวู ดล ศิรสิ วสั ดิ์ ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๑
๖
๑๓. เด็กชายธรี ธรณ์ ประกายแก้ว ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๑๔. เดก็ ชายเทพฤทธ์ิ ศรอี นงค์ ๒ ๑ ๒ ควรปรับปรงุ ๕
๑๕. เดก็ หญงิ ธนั ยพร ใจกลา้ ๒ ๒ ๒ พอใช้ ๖
๑๖. เดก็ หญิงปรณั ญา บตุ รวัง ๓ ๓ ๓ ดี ๙
๑๗. เด็กหญงิ กมลวรรณ นาอุดม ๓ ๓ ๓ ดี ๙
เลข ชือ่ -สกลุ อธิบายลักษณะของคาท่ีประผลการเรียนรู้ ค
ที่ วิสรรชนี ์ยและไม่ประวิสรรชนีย์ ะ
จาแนกคา ่ีทประวิสรรชนีย์และ๓๓ แ
๓๓ น
คา ี่ทไม่ประวิสรรชนีย์๑๒ น
แ ่ตงประโยคจากคา ่ีทประ๒๒ ร
วิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์๒๒ ว
ีมความกระตือรือร้นในการทา๓๓ม
๓๓ ๙
กิจกรรม๑๒
๒๒ ๙
๑๘. เด็กหญงิ กญั ญาภร เขอื ดประโคน ๓ ๒๒ คุณภาพ
๑๙. เด็กหญิงธญั ชนก สานกั นิตย์ ๓ ดี ๕
๒๐. เด็กหญิงกญั ญาณัฐ ใจกลา้ ๒
๒๑. เด็กหญงิ ณธิดา สบื สาย ๒ ควรปรับปรุง ๖
๒๒. เดก็ หญงิ นีรชา ทพิ ยร์ อด ๒ พอใช้
๒๓. เด็กหญงิ นชิ า ทิพยร์ อด ๓ พอใช้ ๖
๒๔. เดก็ หญิงสธุ มิ า ป๎ญญาใส ๓ ดี
๒๕. เด็กหญิงอโนมา พวงดาว ๑ ดี ๙
๒๖. เดก็ หญงิ อลนิ ลดา เสนห่ ด์ ี ๒
๒ ควรปรับปรุง ๙
พอใช้
พอใช้ ๔
๖
๖
ลงชื่อ………………………………………………. ผู้สอน
(นางสาวสารสิ า เสาโร)
๒๕ มกราคม ๒๕๖๔
เกณฑ์การให้คะแนนผลการเรียนรู้ของนักเรยี น
ประเด็นการประเมนิ เกณฑ์การให้คะแนน
๓ ๒ ๑๐
๑. อธบิ ายลักษณะ นักเรียนสามารถอธบิ าย นักเรียนสามารถอธบิ าย นักเรยี นไม่สามารถอธิบาย
ของคาท่ีประ ลักษณะของคาท่ีประ ลักษณะของคาท่ีประ ลักษณะของคาท่ีประ
วิสรรชนีย์และไมป่ ระ วิสรรชนียแ์ ละไม่ประ วสิ รรชนยี ์และไมป่ ระ วิสรรชนยี แ์ ละไมป่ ระ
วสิ รรชนยี ์ได้ วสิ รรชนียไ์ ด้อยา่ งถูกต้องครบ วสิ รรชนียไ์ ด้อยา่ งถูกต้อง แต่ วสิ รรชนียไ์ ด้
ยงั ไมค่ รบทกุ ประเด็น
เขยี นสะกดท่ีประ ทกุ ประเดน็ นักเรยี นสามารถเขยี นสะกดที่
วสิ รรชนียแ์ ละไมป่ ระ ประวสิ รรชนียแ์ ละไมป่ ระ
วิสรรชนีย์ วิสรรชนยี ์ไดถ้ กู ต้อง นกั เรยี นไมส่ ามารถ
เขียนสะกดทป่ี ระ
วิสรรชนียแ์ ละไม่
ประวิสรรชนีย์ได้
เขยี นคาอา่ นของ นกั เรยี นสามารถเขยี นคาอา่ น นักเรยี นเขยี นคา
คาศัพทท์ ี่กาหนดให้ ของคาศัพทท์ ี่กาหนดให้ได้ อ่านของคาศัพทท์ ่ี
ถูกต้อง กาหนดให้ไมถ่ ูกตอ้ ง
แตง่ ประโยค - นักเรียนสามารถนาคาท่ี - นักเรยี นแต่ง
กาหนดให้มาแต่งประโยคได้ ประโยคไม่ได้
๒. มคี วาม ครบถว้ นตามสว่ นประกอบ
กระตือรือร้นในการ นักเรยี นมสี ่วนร่วมแสดง นกั เรียนมีสว่ นรว่ มแสดง
ทากิจกรรม ความคดิ เหน็ อภปิ รายแล ความคิดเห็นอภปิ ราย ของประโยค
โตต้ อบกบั ครูเป็นประจา และโต้ตอบกับครูบา้ ง - มใี จความสมบรู ณ์
รวมทงั้ ปฏบิ ตั ิภารกิจ เหมาะสมกบั บรบิ ท
รวมทงั้ ปฏบิ ัตภิ ารกจิ กจิ กรรมท่ีได้รบั - ลายมอื สวยงาม
กิจกรรมท่ีไดร้ บั มอบหมายดว้ ยความ นกั เรยี นมสี ว่ นร่วมแสดง
ต้งั ใจ ความคดิ เหน็ อภิปราย
มอบหมายดว้ ยความตัง้ ใจ และโตต้ อบกับครู รวมท้ัง
ไม่ตง้ั ใจปฏบิ ัตภิ ารกิจ
กจิ กรรมท่ีไดร้ ับ
มอบหมาย
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน ระดบั คุณภาพ
๓ ดี
๒ พอใช้
๑ ควรปรบั ปรุง
ใบภารกจิ การเรยี นรู้ที่ ๑๓/๖
เรอ่ื ง “คาทีป่ ระวิสรรชนียแ์ ละไมป่ ระวิสรรชนยี ์”
กลุ่มที่...............................เลขท่.ี .........................................................................................
คาชแ้ี จง: ใหน้ กั เรียนเตมิ คาท่ีประวิสรรชนียแ์ ละไมป่ ระวสิ รรชนีย์ในช่องว่างใหเ้ หมาะสมกบั เรือ่ งราว
เช้าวันอังคารท่ีแสนสดใส วันนี้โรงเรียนฉันหยุด ฉันและแม่วางแผนกันว่าจะทาอาหาร
รับประทานกัน ในครัวท่ีบ้านของฉันมีอุปกรณ์มากมาย เช่น …………..……. ….……………
….……………..
……….……. ฯลฯ และวันน้ีคุณแม่จะพาฉันไปซ้ือ………..…………………………..ที่……………………….. เพื่อ
นามาทาอาหารสาหรบั เยน็ นี้ คุณแม่ย้าฉนั ว่าต้องซ้อื ผลไมก้ ลบั บ้านด้วย วันนี้มีผลไม้หลาย…………..เช่น
…………..……. ….…………… ….…………….. ฯลฯ
หลังจากที่รับประทานอาหารเรียบร้อยแล้ว ฉันก็ทาความ ......................โต๊ะและห้องครัว
ก่อนท่ีจะไปทาการบ้าน เพราะพรุ่งนี้คุณครูนัดส่งการบ้านวิชาภาษาไทย ฉันเคยทาข้อสอบวิชา
ภาษาไทยได้...............................เต็มด้วยนะ เพราะฉันมีความ…………………และ…….………หม่ันเพียร
มาก ๆ ต้องรีบเขา้ นอนแลว้ เด๋ียวต่นื ไปโรงเรยี นไมท่ ัน
กะทิ บตั รคาศพั ท์ จักรยาน
ตกุ๊ ตา สะพาน
มะลิ กระทะ พระสงฆ์ ตลาด
สถานี ฝร่ัง ภาระ มะละกอ
กติกา ศลิ ปะ ธรรมชาติ มะลิ
ผลไม้ สบั ปะรด
ธุระ ธนบัตร บรโิ ภค
บาดทะยกั มหาสมทุ ร
กลุ่มที่ ๑ กลุ่มท่ี ๒
ทะเลาะ สมอง
ทะลุ สบาย
กระตือรอื ร้น ถนอม
ตะลึง แสดง
ตลงิ่ สะดวก
เยอะแยะ โตะ๊