The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กศน.ตําบล โนนปอแดง, 2022-05-05 02:39:01

แผนตำบล 65

แผนตำบล 65

แผนปฏิบัติการ
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕

กศน.ตำบลโนนปอแดง

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอผาขาว
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั เลย

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

การอนมุ ัติแผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอผาขาว

เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด สถานศึกษาได้จัดทำแผนปฏิบัติ
การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ระยะเวลา ๑ ปี ประกอบด้วยขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานศกึ ษา ทิศทางการ
ดำเนินงานของสถานศึกษา โครงการ/กิจกรรม ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษาได้พิจารณาโครงการ/กิจกรรมใน
แผนปฏิบัติการ ของ กศน.ตำบลโนนปอแดง แล้ว เห็นชอบแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
ดังกลา่ ว

ลงชือ่ ………………………………..….ผู้อนุมตั ิ
(นายอมรเทพ วิภาวิน)

ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอผาขาว
วันที่ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔ .

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ก
กศน.ตำบลโนนปอแดง

คำนำ

แผนปฏิบัติงาน กศน.ตำบลโนนปอแดง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ เป็นเอกสารในการ
ดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ของ กศน.ตำบล
โนนปอแดง ที่ตอบสนองเจตนารมณ์พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
พ.ศ. ๒๕๕๑ ทิศทางพัฒนาของนโยบายรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ รวมทั้งนโยบายและจุดเน้น
การดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๖๕ สาระของแผนปฏิบัติการประจำปีประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอผาขาว ประกอบด้วย ประวัติความเป็นมา ที่ตั้ง วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปรัชญา
หน่วยงาน ค่านิยมองค์กร เป้าประสงค์ ภารกิจ บทบาทหน้าที่ จุดเน้นการดำเนินงาน และรายละเอียดงาน/
โครงการและงบประมาณท่ีจะดำเนนิ การในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ของ กศน.ตำบลโนนปอแดง

งานโครงการและแผนงาน กศน.ตำบลโนนปอแดง ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการจัดทำ
แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ฉบับนี้จนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดีและหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ของ กศน.ตำบลโนนปอแดง จะเป็นแนวทางในการบริการ/
โครงการ และงบประมาณของสถานศึกษา ตลอดจนเป็นเครื่องมือในการกำกับติดตามผลการดำเนินงานของ
ผ้บู ริหาร รวมท้ังเป็นข้อมลู สำหรบั หน่วยงานและผูส้ นใจกิจกรรมงานการศกึ ษานอกระบบ ตอ่ ไป

นางสาวอรทัย เต็มสอาด
ครู กศน.ตำบล

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ข
กศน.ตำบลโนนปอแดง

สารบญั ข

คำนำ ๑
สารบัญ ๑
สว่ นที่ ๑ บทนำ ๑
๑๓
สภาพทวั่ ไป ๑๓
ประวัติความเปน็ มาของอำเภอผาขาว ๑๕
ประวตั ิความเป็นมา กศน.อำเภอผาขาว ๑๖
ทำเนียบผู้บริหาร ๑๗
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ๒๔
ข้าราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา ๒๔
แหลง่ เรยี นรแู้ ละภาคเี ครือข่าย ๒๔
ส่วนที่ ๒ ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ในปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ๒๔
วิสัยทศั น์ ๒๕
พันธกจิ ๒๖
เปา้ ประสงค์ ๒๖
ตวั ช้วี ัด ๓๒
ตัวช้ีวดั เชิงคณุ ภาพ ๓๔
นโยบายเรง่ ดว่ นเพอ่ื ขับเคล่อื นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ ๓๖
โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน ๓๗
โครงการภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ ๓๘
โครงการพัฒนาทกั ษะครู กศน.ฯ ๔๐
โครงการคลงั ความรู้ กศน.ฯ ๔๑
โครงการความรว่ มมือการผลิตผ้ดู แู ลผสู้ งู อายฯุ ๔๒
โครงการการจดั และสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
โครงการเพ่ิมพนู ศกั ยภาพฯ ๔๕
การดำเนนิ งานสำคญั ตามขอ้ สั่งการของรฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
(นางกนกวรรณ วิลาวัลย์) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
วาระการขบั เคลื่อนจงั หวดั เลย (THAILOEI ๔.๐)

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ค
กศน.ตำบลโนนปอแดง

สว่ นท่ี ๓ การบรหิ ารจัดการดา้ นการศึกษาของ กศน.อำเภอผาขาว ๖๐
ข้อมลู ทั่วไป ๖๐
ขอ้ มูลด้านบุคลากร ๖๐
ขอ้ มูลดา้ นงบประมาณ ๖๑
ทำเนยี บบคุ ลากร ๖๒
โครงสร้างการบริหารงาน กศน.อำเภอผาขาว ๖๗
๖๙
สว่ นท่ี ๔ แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ และรายละเอียด/โครงการ ๗๐
แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๓ (กศน.-กผ.-๐๑/๖๓) ๑๐๖
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ (กศน.-กผ.-๐๒/๖๓) ๒๑๖
รายละเอียดการจดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.อำเภอผาขาว ปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ๒๓๑
๒๓๒
ภาคผนวก
คณะผู้จดั ทำ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ง
กศน.ตำบลโนนปอแดง

สว่ นที่ ๑
บทนำ

 สภาพท่ัวไป

ช่ือสถานศึกษา : กศน. ตำบลโนปอแดง
ทอ่ี ยู่ : หมทู่ ี่ ๑๖ ถนนประชาอาสา ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จงั หวัด เลย ๔๒๒๔๐
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐-๔๒๘๑-๘๑๓๖ เบอร์โทรสาร : ๐-๔๒๘๑-๘๑๓๖
E-mail ติดต่อ : http://nonpodang.wasan.me/
สังกัด : ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอผาขาว (กศน.อำเภอผาขาว)

สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดเลย (สำนักงาน กศน.จงั หวดั เลย)
สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.)
สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

 ประวตั ิความเปน็ มาของอำเภอผาขาว
จากหลักฐานเดิมตำบลผาขาวได้ประกาศจัดตั้งเป็นตำบล เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๑ อยู่ในเขตการปกครองของ

อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ครั้นเมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๕ ได้มีประกาศแบ่งท้องที่ตำบลศรีฐาน ตำบลปวนพุ และตำบล
ผาขาว ขึ้นเป็นกิ่งอำเภอภูกระดงึ มีพื้นที่ประมาณ ๑,๓๘๐ ตร.กม. ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๖ ได้มีพระราชกฤษฎีกา
ยกฐานะกิ่งอำเภอภูกระดึงขึ้นเป็นอำเภอภูกระดึง และเมื่อปลายเดือน ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๐ พลเอกประจวบ
สุนทรางกูร รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยในสมัยน้ัน ได้ประกาศแบ่งท้องท่ีอำเภอภูกระดึง ต้ังเป็นกิ่งอำเภอ
ผาขาว มีเขตการปกครอง ๔ ตำบล คือ ตำบลผาขาว ตำบลท่าช้างคล้อง ตำบลโนนป่าซาง และตำบลโนนปอแดง
ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๓๐ ให้มีผลใช้บงั คับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๓๑
และต่อมากระทรวงมหาดไทยไดป้ ระกาศแบง่ เขตการปกครองตำบลผาขาวเพม่ิ อกี ๑ ตำบล คอื ตำบลบ้านเพิม่

ที่ตั้งที่ว่าการอำเภอผาขาว เดิมใช้ศูนย์สภาตำบลโนนปอแดงเป็นที่ทำการชั่วคราว ต่อมาทางราชการได้
จัดสรรงบประมาณสร้างอาคารที่ว่าการอำเภอผาขาวขึ้น บริเวณที่สาธารณะของหมู่บ้านโนนปอแดงและบ้านท่า
สวนยา มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ ๙๕ ไร่ และได้ดำเนินการก่อสร้างเสร็จพร้อมทำพิธีเปิดให้บริการประชาชน ใน
วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๓ โดยนายฉลอง กัลยาณมิตร อธิบดีกรมการปกครองและคณะ ให้เกียรติเดินทางมา
เป็นประธานในพธิ ี

ปัจจุบนั อำเภอผาขาวแบง่ การปกครองออกเปน็ ๕ ตำบล ๖๔ หมบู่ ้าน โดยมกี ารปกครองส่วนท้องถิน่ เปน็
เทศบาลตำบล ๒ แหง่ องคก์ ารบริหารส่วนตำบล ๓ แหง่

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑
กศน.ตำบลโนนปอแดง

คำขวญั อำเภอผาขาว
“ผาขาวสงู ตระหง่าน ออ้ ยหวานธารนำ้ สวย รวยวฒั นธรรม เลิศลำ้ ลำพวยเกมส”์

อาณาเขตที่ตง้ั :
อำเภอผาขาว ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดเลย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๔๐๗ ตร.กม. หรือ ๒๕๔,๗๓๕ ไร่

การติดต่อกับตัวจังหวัดเลย ใช้เส้นทางหลวงจังหวัดสายพวยเด้ง-ตาดข่า เชื่อมต่อทางหลวงแผ่นดินสายขอนแก่น-
เมืองเลย ระหว่างบ้านตาดข่า อยู่ห่างจากตัวจังหวัดเลยประมาณ ๗๗ กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอและ
จังหวัดอนื่ ดังนี้

ทศิ เหนือ ติดตอ่ กับเขตท้องทีอ่ ำเภอเอราวัณ จังหวดั เลย และเขตท้องท่อี ำเภอ
ศรบี ุญเรอื ง จังหวดั หนองบวั ลำภู

ทิศตะวันออก ติดตอ่ กบั เขตท้องที่อำเภอศรบี ญุ เรือง จงั หวัดหนองบัวลำภู
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตท้องที่อำเภอศรบี ุญเรือง จงั หวัดหนองบัวลำภู อำเภอ

สชี มพู จังหวดั ขอนแก่น และอำเภอภกู ระดึง จงั หวัดเลย
ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กบั ท้องที่อำเภอหนองหนิ จงั หวดั เลย

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒
กศน.ตำบลโนนปอแดง

สภาพของชุมชน

มีสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบสูงสลับเชิงเขา สูงจากระดับน้ำทะเล ๓๐๐-๕๐๐ เมตร พื้นที่ราบร้อยละ

๗๗.๕๙ ภเู ขารอ้ ยละ ๑๙.๓๖ แหลง่ น้ำร้อยละ ๒.๖๙

- ภูเขา มีภเู ขาที่สำคัญ ได้แก่ ภผู าขาว ภูผายา ภูดู่ภูซำบก ภูผาแดง

- แหล่งนำสำคัญได้แก่ ลำน้ำพวย ลำห้วยตาด ลำห้วยเดื่อ และลำห้วยสาขาอื่น ๆ นอกจากนั้น

ยังมีแหล่งกักเก็บน้ำที่สำคัญ เช่น อ่างเก็บน้ำชลประทานภูป่าไผ่ อ่างเก็บน้ำชลประทานบ้านท่าช้างคล้อง สระเก็บ

น้ำบ้านนาตาด บา้ นโนนภูทอง บ้านหัวฝาย และอน่ื ๆ

ลกั ษณะดนิ ประเภทของดินและความเหมาะสมในการเพาะปลูก

ดิน มีการระบายน้ำเร็วหรือค่อนข้างเร็ว มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะสําหรับการทาํ นา ทำไร่ และ

ทำการเกษตรเปน็ อยา่ งมากไม่มดี ินเค็ม เปน็ ดนิ ร่วนเหนยี ว ดินเหนยี วปนทราย

ลกั ษณะภมู อิ ากาศ เป็นแบบมรสุมเมืองร้อนแบ่งเป็น ๓ ฤดกู าลคือ ฤดฝู น ฤดหู นาว และฤดรู ้อน

อำเภอผาขาว จังหวัดเลยอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุม

ตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบกับภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขา ทําให้มีอากาศร้อนจัดในฤดูร้อนและหนาวจัดในฤดู

หนาว จังหวัดเลยมีพื้นท่ี เป็นภูเขาสูงจึงทําให้อุณหภมู ิเปล่ยี นแปลงง่าย อณุ หภูมสิ งู สดุ ๔๓.๕ องศาเซลเซียส ( ๒๕

เมษายน ๒๕๑๗) และ ตำ่ สุดประมาณ - ๑.๓ องศาเซลเซียส ปจั จบุ ันมีอุณหภมู ิเฉลย่ี ทั้งปี๒๖.๑ องศาเซลเซยี ส ช่วง

เดือนมิถุนายนถึงตุลาคม จะมี ลมมรสุมหรือแนวปะทะโซนร้อน (Inter Tropical Convergence Zone: ITCZ)

พาดผ่านเป็นครงั้ คราว ทําให้มฝี นตกหนกั สําหรับฤดกู าลตา่ ง ๆ ของอำเภอผาขาว จังหวัดเลย มีรายละเอียดดังนี้

- ฤดูรอ้ น เรม่ิ จากเดอื นมีนาคม – เดอื นพฤษภาคม

- ฤดฝู น เร่มิ จากเดอื นพฤษภาคม – ปลายเดือนกนั ยายน

- ฤดหู นาว เร่มิ จากกลางเดือนตลุ าคม – ปลายเดือนกุมภาพันธ์

เขตการปกครองจำนวนประชากรและจำนวนบ้าน

แบ่งการปกครองออกเป็น ๕ ตำบล ๖๔ หมู่บ้าน

๑. ตำบลโนนปอแดง จำนวน ๑๗ หม่บู ้าน

๒. ตำบลทา่ ชา้ งคลอ้ ง จำนวน ๑๔ หม่บู ้าน

๓. ตำบลผาขาว จำนวน ๑๒ หมบู่ ้าน

๔. ตำบลโนนปา่ ซาง จำนวน ๑๒ หมู่บา้ น

๕. ตำบลบา้ นเพ่ิม จำนวน ๙ หมบู่ ้าน

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓
กศน.ตำบลโนนปอแดง

จำนวนประชากรอำเภอผาขาว จงั หวัดเลย

ตำบล หมู่บา้ น จำนวน จำนวนประชากร รวม
ครัวเรือน ชาย หญงิ

ผาขาว ๑๒ ๑,๙๔๒ ๓,๓๓๓ ๓,๓๕๕ ๖,๖๘๘

ทา่ ชา้ งคล้อง ๑๔ ๒,๗๘๖ ๕,๕๑๑ ๕,๔๗๙ ๑๐,๙๙๐

โนนปอแดง ๑๗ ๓,๔๕๘ ๕,๕๘๕ ๕,๕๔๒ ๑๑,๑๒๗

โนนป่าซาง ๑๒ ๒,๑๒๗ ๓,๘๔๐ ๓,๘๗๕ ๗,๗๑๕

บ้านเพม่ิ ๙ ๑,๕๖๗ ๒,๙๐๐ ๒,๒๘๖ ๕,๖๘๖

รวม ๕ ตำบล ๖๔ ๑๑,๘๘๐ ๒๑,๑๖๙ ๒๑,๕๓๗ ๔๑,๗๐๖

แหล่งข้อมลู : ขอ้ มลู ทะเบียนราษฎร สำนกั บรหิ ารการทะเบยี นอำเภอผาขาว ณ วนั ท่ี ๓ เดือน ธนั วาคม ๒๕๖๔

สว่ นราชการต่างๆ ในพนื้ ท่ขี องอำเภอผาขาว
สว่ นราชการสังกดั สว่ นกลางมีทีต่ ั้งในพื้นทีอ่ ำเภอผาขาว
(๑) สถานตี ำรวจภธู รผาขาว
(๒) สำนกั งานสรรพากรพืน้ ท่ีสาขาผาขาว
(๓) สำนักงานท้องถิ่นอำเภอผาขาว
(๔) โรงพยาบาลผาขาว
(๕) โรงเรยี นสันตวิ ทิ ยาสรรพ(์ ระดบั มธั ยมศกึ ษา)
(๖) โรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา จำนวน๒๗ แหง่
(๗) โรงเรยี นขยายโอกาส จำนวน ๗ แหง่
(๘) ศูนยบ์ ริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ส่วนภูมิภาค
(๑) ท่ที ำการปกครองอำเภอผาขาว
(๒) สำหนกั งานทีด่ นิ อำเภอผาขาว
(๓) สำนกั งานพฒั นาชมุ ชนอำเภอผาขาว
(๔) สำนักงานเกษตรอำเภอผาขาว
(๕) สำนกั งานสาธารณสุขอำเภอผาขาว
(๖) สำนักงานปศุสัตว์อำเภอผาขาว

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๔
กศน.ตำบลโนนปอแดง

ส่วนท้องถน่ิ
(๑) เทศบาลตำบลโนนปอแดง
(๒)เทศบาลตำบลท่าช้างคล้อง
(๓) องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลผาขาว
(๔) องค์การบริหารสว่ นตำบลโนนปา่ ซาง
(๕) องค์การบริหารสว่ นตำบลบา้ นเพ่มิ

หน่วยงานรัฐวิสาหกจิ

(๑) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาผาขาว

(๒) ทีท่ ำการไปรษณียผ์ าขาว

(๓) การไฟฟ้าสว่ นภูมิภาคอำเภอผาขาว

หนว่ ยงานท่ีอยู่ในความรบั ผดิ ชอบของกองทัพบก กระทรวงกลาโหม/

(๑) หนว่ ยสัสดีอำเภอผาขาว

การศกึ ษา

สถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่อำเภอผาขาว สังกัด สำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย

เขต ๒ จำนวน ๓๐ โรงเรียน และสำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๑๙ จำนวน ๑ โรงเรยี น มีรายละเอียด

มดี ังน้ี

(เขต ๑๙) ระดบั มัธยมศึกษาจำนวน ๑ โรงเรียน คอื โรงเรยี นสนั ตวิ ทิ ยาสรรพ์

(เขต ๒) โรงเรยี นขยายโอกาส จำนวน ๗ โรงเรียน ได้แก่

๑.โรงเรียนบ้านผาขาวตำบลผาขาว

๒.โรงเรยี นบ้านเพมิ่ ตำบลบา้ นเพมิ่

๓. โรงเรยี นบ้านหนองตานาตำบลทา่ ชา้ งคล้อง

๔. โรงเรียนบ้านนาตาดสมสะอาด ตำบลท่าช้างคล้อง

๕. โรงเรียนบา้ นเจียรวนนท์อุทิศ ๓ตำบลโนนป่าซาง

๖. โรงเรียนบา้ นห้วยไคร้ ตำบลโนนปอแดง

๗. โรงเรียนบ้านโนนปอแดง ตำบลโนนปอแดง

(เขต ๒) ประถมศึกษา จำนวน ๒๓ โรงเรยี น ได้แก่

๑.โรงเรียนบ้านซำกกค้อ ๒.โรงเรยี นบา้ นท่าสวนยางศรีวไิ ล

๓.โรงเรยี นบา้ นนาล้อม ๔.โรงเรยี นบา้ นซำไคร้

๕.โรงเรียนบา้ นโนนกกขา่ ๖.โรงเรยี นบา้ นดงนอ้ ย

๗.โรงเรียนบ้านแสนสุข ๘. โรงเรียนบา้ นหวั ฝาย

๙.โรงเรียนบ้านโคกผกั หวาน ๑๐.โรงเรียนบ้านซำพร้าว

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๕
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๑๑.โรงเรียนบ้านหว้ ยยาง ๑๒.โรงเรียนบ้านหว้ ยกาบเปลอื ย

๑๓.โรงเรยี นบา้ นหว้ ยเดอื่ เหนอื ๑๔.โรงเรียนบ้านโนนสวา่ งโสกนกไก่นา

๑๕.โรงเรยี นบา้ นโนนป่าซาง ๑๖.โรงเรยี นบ้านพวยเดง้

๑๗.โรงเรียนบา้ นทา่ ช้างคล้องหนองอเี ป้ีย ๑๘.โรงเรยี นบา้ นโนนภทู อง

๑๙.โรงเรียนบา้ นนาเหมอื ดแอ่ ๒๐.โรงเรียนบา้ นหนองแต้

๒๑.โรงเรยี นบ้านโนนสมบูรณ์ ๒๒.โรงเรียนบา้ นหัวขวั

๒๓. โรงเรียนบ้านภปู ่าไผ่ (ถกู ยบุ แล้ว)

ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ จำนวน ๒๗ โรงเรียนไดแ้ ก่
๑. ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลผาขาว
๒. ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ วดั สว่างอารมณ์
๓. ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กวดั ไชยศรยี าราม
๔. ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านซำกกค้อ
๕. ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บ้านห้วยไคร้
๗. ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บ้านเพิ่ม
๘. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวดั ศรีทองสามคั คี
๙. ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ วัดถำ้ ผาสวรรค์
๑๐. ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กวดั อทุ ัยบรรพต
๑๑. ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นหนองไฮ
๑๒. ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ วดั ปา่ สามคั คีพฒั นา
๑๓. ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ บ้านเพ่มิ สามัคคี
๑๔. ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ วดั สว่างเกาะแก้ว
๑๕. ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ วัดนาคหงษา
๑๖. ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ วดั ห้วยไครศ้ รัทธาราม
๑๗. ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กวัดสว่างโนนงาม
๑๘. ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กวดั วนิ ับสงั วร
๑๙.ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นโนนภูทอง
๒๐. บ้านท่าช้างคล้อง
๒๑. ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบา้ นหวั ขัว
๒๒.ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กโนนป่าซาง

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๖
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๒๓. ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ บา้ นห้วยไฮ
๒๔. ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นหว้ ยยาง
๒๕. ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กโสกนกไกน่ า
๒๖. ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กวดั ถาวรมงคล
๒๗. ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ วัดศรีสมบูรณ์พัฒนา
ศูนยบ์ รกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจำตำบล ๕ แห่ง ไดแ้ ก่
๑. ตำบลโนนปอแดง
๒. ตำบลผาขาว
๓. ตำบลท่าชา้ งคลอ้ ง
๔. ตำบลโนนปา่ ซาง
๕. ตำบลบา้ นเพิม่

การสาธารณสขุ
- มีสถานบริการสาธารณสุข ประกอบด้วยโรงพยาบาลชุมชนขนาด ๓๐ เตียง ๑ แห่ง คือโรงพยาบาล
ผาขาว
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ๖ แหง่ ไดแ้ ก่ รพ.สต. สมศกั ดิ์พัฒนา ,รพ.สต. บา้ นเพ่ิมสุข ,
รพ.สต.พวยเดง้ ,รพ.สต. นาตาด ,รพ.สต. ห้วยยาง ,รพ.สต. โนนป่าซาง

การศาสนาและวฒั นธรรม
การนับถือศาสนาในเขตอำเภอผาขาว ประชาชนในพื้นที่นับเป็นศาสนาพุทธ และยึดเหน่ียวจิตใจการ
ดำเนินชีวิตจงึ เรียบงา่ ยมกี ารพึงพาอาศยั กัน ประพฤติปฏิบัตใิ นประเพณวี ฒั นธรรม โดยมสี ถาบนั ทางศาสนา ดังนี้
วัดมีวัดจำนวน ๘๙ แห่ง โดยแยกเปน็ วัดมหานกิ าย จำนวน ๕๐ แห่งวัดธรรมยตุ ิ จำนวน ๓๙ แห่ง
ขนบธรรมเนยี มประเพณีและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณแี ละวฒั นธรรม ทส่ี ำคญั และจดั ขนึ้ ในโอกาสต่างๆ
จะมาจากความเชื่อที่มีการนับถือมาแต่โบราณและปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณ ฮีต ๑๒ คลอง๑๔ ทั้งนี้เพื่อสืบ
สานทางเอกลกั ษณะของชนชาติ และยงั เป็นการสรา้ งความสามัคคีให้ชมุ ชนอกี ดว้ ย ดังน้ี
๑) บญุ กองขา้ วหรอื บุญก้มุ ขา้ วจดั ในเดือน ๓ หรอื เดือน ๔ (หลงั จากเก็บเก่ยี วขา้ วแลว้ )
๒) ประเพณีสงกรานต์จดั ในเดอื น เมษายน
๓) ประเพณีบุญบั้งไฟเดอื นหกของทกุ ปี
๔) ประเพณบี ญุ งานแหเ่ ทียนพรรษา
๕) บุญกระยาสารทหรือบญุ ข้าวประดบั ดนิ จะกระทำกนั ในเดือนเกา้
๖) งานถวายผ้ากฐนิ อำเภอประจำปี
๗) ประเพณีลอยกระทง

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๗
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๘) งานสืบสานประเพณีลำพวยเกมส(์ จัดขึ้นเดือนเมษายนทุกป)ี

การคมนาคม/สาธารณปู โภคและสาธารณปู การ

การคมนาคมอำเภอผาขาวมที างบกเพยี งทางเดียว ดังนี้

๑. ถนนสายสำคัญๆ การคมนาคมตดิ ตอ่ ระหวา่ งอำเภอ จงั หวดั รวมทงั้ การคมนาคมภายในตำบล

และหม่บู ้าน ไดแ้ ก่

-ทางหลวงแผ่นดนิ อำเภอผาขาว -จงั หวดั เลย ระยะทาง ๗๗ กิโลเมตร

-ทางหลวงแผน่ ดิน-ชนบท อำเภอผาขาว-อำเภอเอราวัณ ระยะทาง ๓๐ กิโลเมตร

-ทางหลวงชนบทอำเภอผาขาว–อำเภอศรีบญุ เรือง ระยะยาง ๓๐ กโิ ลเมตร

-ทางหลวงแผ่นดิน-ชนบท อำเภอผาขาว-อำเภอหนองหิน ระยะทาง ๒๐ กิโลเมตร

-ทางหลวงแผน่ ดิน อำเภอผาขาว - อำเภอภกู ระดึง ระยะทาง ๔๐ กิโลเมตร

๒) นำ้ ประปา มีระบบน้ำประปาหมู่บา้ นครบท้ัง ๖๔ หมบู่ า้ น

๓) การไฟฟ้า ในพื้นที่ของอำเภอผาขาว มีไฟฟ้าใช้ ทั้ง ๖๔ หมู่บ้าน โดยมีหน่วยงานที่ให้การ

บริการดา้ นไฟฟ้า คอื การไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยวังสะพุง

๔) การสื่อสารโทรคมนาคม

-ท่ที ำการไปรษณยี ผ์ าขาว

-โทรศัพท์ – สญั ญาณรบั ได้ ๓ เครอื ขา่ ย ทรูมูฟ, ดแี ทค, เอไอเอส

(บางพนื้ ท่ี ไมม่ ีสัญญาณ เช่น บา้ นมอดินแดง บา้ นหว้ ยไคร้ บา้ นซำไคร้ ต. โนนปอแดง)

สภาพทางเศรษฐกจิ
ลักษณะทางเศรษฐกิจของอำเภอผาขาว มีทั้งเศรษฐกิจภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมใน

ครัวเรือน รายได้เฉลยี่ ต่อหวั ของอำเภอ ๗๕,๓๓๔ บาท/คน/ปี ประชากรสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ร้อยละ ๗๐ เลี้ยงสัตว์ ร้อยละ ๑๐ ประกอบอาชีพค้าขาย ร้อยละ ๑๕ และอื่น ๆ ร้อยละ ๑๕ นอกจากน้ัน
ยงั มีรายได้เสรมิ จากการเลย้ี งสัตว์ และจากการรวมกลมุ่ เพอ่ื ผลิตสินค้าหนงึ่ ตำบลหนงึ่ ผลติ ภัณฑ์ เชน่ กลุม่ จักรสาน
กลุ่มทอผ้า กลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหม กลุ่มผลิตชาจากใบหม่อน กลุ่มผลิตผ้าห่มจากเศษวัสดุผ้า กลุ่มผลิตสุรา
พื้นเมือง เป็นต้น (ข้อมูล จปฐ. จากสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอผาขาวและข้อมูลจากสำนักงานเกษตร
อำเภอผาขาว ปี ๒๕๖๑)

๑) รายไดข้ องประชากร
รายไดข้ องประชากรของอำเภอผาขาว เฉลี่ย ๗๕,๓๓๔ บาท/คน/ปี(ข้อมูล จปฐ. ๒๕๖๑)

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๘
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๒) การประกอบอาชพี
เกษตรกรรม เป็นอาชีพหลักของประชาชนในพื้นที่ของอำเภอผาขาวคือ การทำนา ทำไร่ ทำ
สวนยาง และปลกู พืชผกั ชนิดตา่ งๆดังนี้
. ออ้ ยโรงงาน ๔๔,๖๕๐.๐๖ ไร่

. ปาลม์ ๙,๗๑๓.๒๙ ไร่

• ขา้ วเหนียวนาปีพื้นทป่ี ลูก ๑๗,๑๙๑.๙๑ ไร่

• กลว้ ยนำ้ วา้ พืน้ ที่ปลกู ๖๑ ไร่

• ข้าวโพดเลยี้ งสัตวพ์ ื้นที่ปลูก ๒,๘๑๘ ไร่

• มนั สำปะหลงั พื้นที่ปลูก ๑,๐๖๔.๗๕ ไร่

• ลำไยพ้ืนท่ปี ลกู ๕๒๒ ไร่

• มะขามหวานพืน้ ทีป่ ลูก ๒๕๔ ไร่

- พชื เศรษฐกิจท่ีสำคญั ได้แก่

• ยางพาราพื้นที่ปลูก ๑๘,๐๐๗ ไร่

พื้นที่เปิดกรีดยางประมาณ ๑๐,๐๖๗.๗๔ ไร่ – ผลผลิตรวมประมาณ ๒,๘๑๘.๙๖ ตัน/ปีรายได้

ประมาณ ๕๖,๓๗๙.๒ ลา้ นบาท/ปี(ข้อมูลจากเกษตรอำเภอผาขาว ปี ๒๕๕๙)
ปศุสัตว์ เป็นอาชีพรองของประชากรในพื้นที่ของอำเภอผาขาว การเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ใน

อำเภอผาขาว โดยท่ัวไปจะเลีย้ งโคพ้นื เมือง โคเนือ้ ลูกผสม ไก่พ้ืนเมือง เป็ด ส่วนใหญก่ ารเลยี้ งสัตว์จะใช้ในการ
บริโภคในครัวเรือนและไว้ใช้งานบ้างเป็นบางครัวเรือนเท่านั้น สำหรับการเลี้ยงโค กระบือ จะมีการเลี้ยงแบบ
ปล่อยธรรมชาติ โดยให้หาอาหารกินเอง จะไม่มีการปลูกหญ้าในการเลี้ยงสัตว์ แต่จะมีการเกี่ยวหญ้ามาเลี้ยง
เฉพาะในช่วงที่มกี ารทำนา หลังจากฤดูการทำนาเสร็จสิ้นไป ก็จะปล่อยตามทุ่งนา หรือบริเวณปา่ ในปัจจุบันมี
การเลี้ยงโคเนื้อลูกผสมไว้เพื่อการค้า เพราะว่าสามารถ ที่จะขายได้ง่ายและมีราคาที่สูงพอสมควร และเริ่มมีการ
ปลูกหญ้าไว้เพอื่ เลยี้ งโคแลว้ ในบางครวั เรือน ดังนี้

แนวโน้มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ได้ลดลงเป็นจำนวนมาก เนื่องจากสาเหตุได้ปรับเปลี่ยนอาชีพไป
ปลกู ยางพารา เกษตรกรบางรายไม่ต้องการท่จี ะเลยี้ งสัตว์ ทำใหส้ ถานการณ์การประกอบอาชีพด้านปศุสัตว์ลดลง
ทำให้กระทบต่อผู้บรโิ ภคทต่ี ้องการบรโิ ภคเนือ้ สตั ว์

ประมง จะเป็นการทำประมงแบบพื้นบ้าน เลี้ยงปลาในบ่อดิน และมีการเลี้ยงกบในกระชังการ
ประมง ส่วนใหญ่แล้วประชากรในอำเภอผาขาวจะทำประมงโดยการเล้ียงปลาในบ่อดิน ซึ่งปาที่นำมาเลี้ยงเป็น
ปลากินพืช อาทิ ปลานิล ปลาไน ปลาตะเพียน ปลาดุกในบ่อดิน และมีการเลี้ยงกบในกระชัง ส่วนน้อย ซึ่ง
ส่วนใหญเ่ ลยี้ งเพอ่ื ยังชพี และลดค่าใช้จา่ ยในครวั เรือน

ค้าขาย การค้าขายส่วนใหญ่จะอยู่ในเขตเมือง สินค้าที่จำหน่วยจะเป็นสินค้าทางการเกษตร
นอกจากนั้นเป็นสินคา้ อปุ โภค บริโภค

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๙
กศน.ตำบลโนนปอแดง

รับจ้างทั่วไป ประชาชนในอำเภอผาขาว ส่วนใหญ่จะอพยพไปทำงานรับจ้างยังต่างถิ่น เช่น
กรุงเทพมหานคร และปรมิ ณฑล ไปรบั จา้ งตดั ออ้ ย ไปทำงานรับจ้างและงานแมบ่ ้านท่ตี า่ งประเทศ

๓) แหล่งเงินทุน การทำการเกษตรส่วนใหญ่นั้น จะมีเงินทุนในการผลิตที่เป็นของตนเองน้อย
มาก ส่วนใหญ่จะได้เงินลงทุนมาจากแหล่งต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเงินกู้ ทั้งของภาครัฐและเอกชน เพื่อนำไปซ้ือ
ปจั จัยทางการผลติ โดยแหล่งเงินก้แู ต่ละแห่งก็จะมีข้อตกลงในการให้กู้ยืมทแ่ี ตกตา่ งกนั แหลง่ เงนิ กไู้ ดแ้ ก่

(๑) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร (ธกส.) สาขาผาขาวซึ่งเกษตรกรจะเป็นลูกค้า
ของธนาคารอยู่แล้ว สำหรับการใหบ้ รกิ ารจะเป็นการให้เงินสดและรปู แบบของสินเชอื่ โดยมีหลักทรัพยค์ ำ้ ประกนั

(๒) กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง จำนวน ๖๔ กองทุน กองทุนละ ๒,๒๐๐,๐๐๐ –
๒,๖๐๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งหมดจำนวน ๑๔๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท (ข้อมูลจากสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ
ผาขาว ปี ๒๕๖๑)

(๓) กองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน(กข.คจ.) จำนวน ๔๐ กองทุน/หมู่บ้าน เงินทุน
จำนวน ๑๑,๒๐๐,๐๐๐ บาท (ข้อมลู จากสำนกั งานพัฒนาชุมชนอำเภอผาขาว ปี ๒๕๖๑)

(๔) กล่มุ ออมทรพั ย์เพอ่ื การผลิต จำนวน ๓๑ กลมุ่ /หมู่บา้ น เงินทนุ จำนวน ๓๕,๒๐๐,๐๐๐ บาท
(ข้อมลู จากสำนกั งานพฒั นาชุมชนอำเภอผาขาว ปี ๒๕๖๑)

(๕)มีกลุ่มอาชีพและสถาบันเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ๑๒๒ แห่งสมาชิก ๑,๕๐๙ คน(ข้อมูล
จากเกษตรอำเภอผาขาว ปี ๒๕๕๙)

๔) การพาณชิ ย์และการบริการ
- ปมั๊ นำ้ มันขนาดเลก็ (ไมม่ รี ้านสะดวกซื้อ)ใหบ้ รกิ ารประชาชน จำนวน ๗ แห่ง
- ตลาดสดเทศบาล จำนวน ๑ แห่งคือตลาดสดเทศบาลตำบลโนนปอแดง
- มรี ้านสะดวกซอ้ื เปดิ ๒๔ ช่วั โมง จำนวน ๒ แห่ง คือ โลตัสเอ็กเพรส และ เซเวน่ อเี ลเว่น ตัง้ อยู่ที่
บา้ นพรสวรรค์ หมูท่ ่ี ๘ ตำบลโนนปอแดง
-มศี ูนยแ์ สดงรถยนต์ จำนวน ๑ แหง่
-มศี นู ย์แสดงรถจกั รยานยนต์ จำนวน ๓ แหง่
๕) การท่องเท่ียว

แหล่งทอ่ งเท่ียวสว่ นใหญ่จะเป็นแหล่งท่องเที่ยวของธรรมชาติและเชงิ อนุรักษ์ ไดแ้ ก่

๑.ภผู าขาว อยูใ่ นพื้นทตี่ ำบลผาขาว เปน็ ทอี่ ยขู่ องสัตว์ป่าและพันธ์ุไม้หลายชนิด นอกจากน้ียังมี

หว้ ยน้ำพุ ซง่ึ เปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาติทช่ี าวผาขาวให้ความนิยม และภผู าขาวยงั มกี ลุ่มอนุรักษ์ภูผาขาว ท่ี

ดแู ลและชว่ ยกนั อนรุ ักษ์

๒. ภูป่าไผ่อยู่ในพื้นที่ตำบลโนนป่าซาง เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลต่างๆ

เชน่ สงกรานต์ ปีใหม่

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑๐
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๓. ภูซำบก อยู่ในพ้ืนที่ตำบลท่าชา้ งคล้อง เป็นที่พักผ่อน และเป็นที่เข้าค่ายของผู้คนหรอื คณะท่ี
ตอ้ งการศกึ ษาธรรมชาติ และมสี ถานท่ีทดสอบความกล้า เปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วแหง่ ใหม่ เปิดใหบ้ ริการเม่ือปี พ.ศ.
๒๕๔๘

๔. น้ำพุธรรมชาติ มีน้ำไหลเย็นเป็นลำธารตลอดทั้งปีตั้งอยู่ที่ บ้านดงน้อย หมู่ที่ ๔ ตำบลผาขาว
อำเภอผาขาว จังหวดั เลย

๕. วัดป่าวเิ วกภเู ขาวงศ์ ตงั้ อยู่ ณ บ้านดงน้อย หมทู่ ่ี ๔ ตำบลผาขาว อำเภอ ผาขาว จังหวัดเลย
๖. ถ้ำผาสวรรค์ ตั้งอยู่ติดทางหลวงหมายเลข ๒๔๐๐ สาย หนองหิน-เอราวัณ กิโลเมตรที่ ๘
หมู่ที่ ๓ บ้านผาสวรรค์ ต.บ้านเพิ่ม อ.ผาขาว จ.เลย เป็นภูเขาสูงชัน มถี ้ำหินยอ่ ย สวยงาม มีทัศนียภาพสวยงาม มี
ถ้ำ ๓ แห่ง ชั้นล่าง ๑ แห่งเป็นแหล่งพำนักของสงฆ์ ชั้นบน ๒ แห่งมี บันไดขึ้นถึงปากถ้ำชั้นบน มีศาลาพักระหว่าง
ทางขน้ึ
๗. เครื่องปั้นดินเผาโบราณ ตั้งอยู่ บ้านเพิ่ม หมู่ที่ ๑ ตำบลบ้านเพิ่ม อำเภอผาขาว จังหวัดเลย
ห่างจากถนนหนองหิน-เอราวณั ๑ กิโลเมตร เป็นไหปูนป้ัน ขนาดใหญ่สดุ หน้ากว้าง ๑ ฟุต สูง ๔๐ ซม. และเล็กสดุ
กว้าง ๑๐ ซม. สูง ๑ คืบ บางไหบิน่ แตก รวมแล้ว๑๕ ใบ และกริชทองสัมฤทธ์ิ คน้ พบเมอ่ื ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘
คาดว่ามีอายรุ าว ๕๐๐-๑,๐๐๐ ปี
๘. น้ำตกธารทอง เกิดจากน้ำที่ผุดออกมาจากใต้ดินไหลเป็นลำธาร ไหลตลอดทั้งปี น้ำใสและเย็น
มาก ตง้ั อยู่ ณ บ้านซำกกค้อ ตำบลโนนปอแดง ถอื วา่ เป็นสถานท่ที อ่ งเทย่ี วอกี แห่งหนึง่ ท่ีมีความนา่ สนใจ
๙. สวนสตรอเบอร่แี ละองุ่น ตงั้ อยู่ ณ บา้ นซำพร้าว ตำบลบา้ นเพ่มิ เป็นสถานทที่ ่องเที่ยวแห่งใหม่
ของอำเภอผาขาว
๑๐. น้ำตกพบรัก ซึ่งมีการค้นพบ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยกำนันตำบลผาขาว ปัจจุบันยังไม่ได้รับ
การพฒั นาใหเ้ ป็นแหลง่ ท่องเทีย่ วที่สวยงาม
๑๑. หม่บู ้านชมุ ชนทอ่ งเทีย่ ว OTOP นวัตวถิ ี จำนวน ๕ หมู่บ้าน ได้แก่

๑) บ้านผาขาว หมู่ ๑ ตำบลผาขาว
๒) บ้านดงน้อย หมู่ ๔ ตำบลผาขาว
๓) บา้ นโนนกกขา่ หมู่ ๕ ตำบลโนนปอแดง
๔) บา้ นภูป่าไผ่ หมู่ ๖ ตำบลโนนป่าซาง
๕) บ้านผาสวรรค์ หมู่ ๓ ตำบลบา้ นเพ่ิม
๖) การอตุ สาหกรรม
อำเภอผาขาว ยังไม่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ยังขาดเงินลงทุน ส่วน
ใหญ่จะเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน ใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นใช้แรงงานในครัวเรือน ใช้เวลาว่างในครอบครัวในการ

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑๑
กศน.ตำบลโนนปอแดง

ทำงาน ผลติ ภณั ฑ์ท่ไี ด้ส่วนใหญเ่ ปน็ ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ในครัวเรือน และจำหนา่ ยในท้องถิ่น อาทิ การทอผ้า การแปรรูป
สนิ ค้าทางการเกษตร เช่น กลว้ ย หน่อไม้

ด้านสังคมอำเภอผาขาว ถือว่ามีความเป็นสังคมชนบทมากกว่าอำเภอเมือง ประชาชนอาศัยอยู่กันแบบ
เครอื ญาติ มีความเอือ้ เฟ้ือเผื่อแผ่ และมคี วามสัมพนั ธ์ท่ดี ีต่อกันชว่ ยเหลอื ซง่ึ กันและกนั

-สถานบรกิ าร /ไมม่ ี
-โรงแรม ทพี่ กั /รสี อรท์ มี ๓ แห่ง ไดแ้ ก่

๑. ณัฐริกาตร์ สี อรท์
๒.ครัวเธครีสอรท์
๓.แฟมิลร่ี ีสอรท์
- ภตั ตาคาร/รา้ นอาหาร/สว่ นใหญเ่ ปน็ ร้านอาหารตามสัง่
-การประกอบธรุ กจิ อื่นๆ/ ไม่มี

ทรพั ยากรทางธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
น้ำถอื เป็นทรัพยากรที่มีความสำคญั ในการดำรงชวี ิตของมนุษย์ สตั ว์ และพืช อำเภอผาขาวมี

แหล่งนำ้ ธรรมชาตหิ ลายสาย เน่อื งจากมภี ูมปิ ระเทศท่ีเป็นภเู ขา ซึง่ ถือเป็นตน้ กำเนดิ ของแหลง่ น้ำ อาทิภูปา่ ไฝ่ภูชำ
บก ซง่ึ ถือวา่ มีความสำคัญต่อกิจกรรมทางการเกษตร

ปา่ ไม้สภาพป่าไม้เป็นป่าไม้ผลัดใบ โดยจะมไี ม้ไผ่ ไมเ้ ต็ง ไม้รัง หรือเป็นปา่ ไม้เบญจพรรณเป็น
แหล่งกำเนดิ ลำหว้ ยหลายสาย ในปัจจบุ ันมีการตดั ไม้เพอ่ื ทำการเกษตรและการหาของป่าเปน็ จำนวนมากโดยเฉพาะ
หนอ่ ไม้และหาเหด็ ป่า ทำใหส้ ภาพของป่าไมข้ าดความสมดุลทางธรรมชาติ

- มพี ้ืนที่ป่าไม้ ๔๔,๑๓๔ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๗.๐๒ ของพ้นื อำเภอ
- พื้นทส่ี ำนกั งานปฏิรูปที่ดนิ เพ่อื การเกษตร (สปก.)(ปา่ ไม้มอบให้ สปก.) จำนวน ๒๑๐,๒๔๐ ไร่
คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๑.๐๕ ของพื้นท่ีอำเภอ

ดินดินส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นดินร่วนปนทรายดินมีสีน้ำตาลหรือเหลือง ใต้ลงไปเป็นดินเหนียวสี
น้ำตาล สีแดง และศลิ าแลงอ่อนปะปนอยู่ด้วยเป็นจำนวนมาก อาจพบช้นั หินทรายหรือหินดินดานทผี่ ุพังสลายตัวใน
ช้นั ถัดไป

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑๒
กศน.ตำบลโนนปอแดง

 ประวตั ิความเป็นมาของ กศน.ตำบลโนนปอแดง
ตำบลโนนปอแดงตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๐ เทศบาลตำบลโนนปอแดง ได้รับการยกฐานะจากองค์การ

บริหารส่วนตำบลโนนปอแดง เป็นเทศบาลตำบลโนนปอแดง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ ๑๕
กรกฎาคม ๒๕๕๑ ต้ังอยู่ หมทู่ ี่ ๔ บา้ นท่าสวนยา ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จังหวดั เลย ระยะทางจาก
เทศบาลถึงอำเภอ ๐.๕ กม. ห่างจากจังหวัดเลย ๖๓ กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่าง ๆ เนื้อที่
ประมาณ ๑๒๓ ตารางกิโลเมตร (๗๖,๘๗๕ ไร่) พื้นที่เป็นภูเขา เขตอุทยานและป่าไม้รวม ๒๔.๖๐ ตร.กม.
พื้นที่เป็นทร่ี าบประมาณ ๙๘.๔๐ ตร.กม.หา่ งจากจังหวดั เลย ๖๓ กิโลเมตร มอี าณาเขตตดิ ตอ่ กับตำบลต่าง ๆ ดังน้ี

ทศิ เหนอื จด ตำบลโนนปา่ ซาง อำเภอผาขาว
ทิศใต้ จด ตำบลผานกเคา้ อำเภอภูกระดงึ
ทิศตะวนั ออก จด ตำบลทา่ ชา้ งคล้อง อำเภอผาขาว
ทศิ ตะวันตก จด ตำบลผาขาว อำเภอผาขาว

ข้อมลู บุคลากร

ประเภท รายละเอียด

๑) พนักงานราชการ ๑) ช่ือ นางสาวอรทยั เตม็ สอาด ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล ‘
.
วฒุ ิการศึกษา ครุศาสตรบัณฑติ สาขา สังคมศึกษา ง

๒) ชอ่ื นางสาวนงนชุ บางประอนิ ทร์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล .

วุฒิการศกึ ษา ครุศาสตรบัณฑิต สาขา บรรณารกั ษ์ศาสตร์ ‘

๒) ลูกจ้างช่ัวคราว ๑) ชื่อ ว่าท่ี ร.ต.นธวฒั น์ อะทะโน ตำแหนง่ ครู ศรช. .

วุฒกิ ารศกึ ษา ศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขา รฐั ประสาสนศาสตร์

3. วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์

วิสัยทัศน์
“ประชาชนชาวตำบลโนนปอแดง ได้รับการศึกษาตลอดชีวิต และการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำที่มี

คณุ ภาพ อยา่ งทั่วถึง และเท่าเทียมกัน เพื่อให้เกดิ สังคมฐานความรู้ และการมีอาชีพอยา่ งยังยืน”

พนั ธกิจ
จัดและส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยให้กบั ประชาชนชาวตำบลโนนปอแดง ทีอ่ ยู่

นอกโรงเรียนตามความต้องการและจำเป็น พร้อมทั้งจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำเพื่อพัฒนาสมรรถนะของ
ประชาชนและชุมชนให้สามารถสรา้ งสรรค์และแข่งขันด้านอาชพี ได้อย่างยง่ั ยนื

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑๓
กศน.ตำบลโนนปอแดง

เป้าประสงค์
1.ประชาชนตำบลโนนปอแดง ทกุ กลุ่ม ทุกวัย ได้รบั โอกาสทางการศึกษาอยา่ งทวั่ ถึง เท่าเทยี มและตอ่ เนื่อง

อย่างมีคณุ ภาพ
2. ประชาชนในชมุ ชนมกี ารจัดการความรแู้ ละกระบวนการเรยี นรู้เพื่อสร้างสงั คมแห่งภูมิปัญญาและการ

เรียนรู้
3. มแี หลง่ เรยี นรู้ท่หี ลากหลายอย่างท่ัวถึง เพอ่ื ใหป้ ระชาชนเรียนรไู้ ด้ตลอดชวี ิต
4. มกี ารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี ใน กศน.ตำบล

กลยุทธ์/วิธีการ
1. สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา เข้าถงึ กล่มุ เปา้ หมายที่หลากหลายและทัว่ ถึง
2. พฒั นากระบวนการเรยี นการสอนให้สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
3. ผนกึ กำลงั ภาคีเครือข่ายให้มสี ว่ นรว่ มจัดการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต

ตัวช้วี ัด
เชงิ ปริมาณ

1. ร้อยละ 80 ของประชาชนตำบลศรฐี านได้รบั โอกาสทางการศึกษา อยา่ งท่ัวถึงเทา่ เทยี มและต่อเนื่อง
อย่างมีคุณภาพ

2. รอ้ ยละ 75 ของประชาชนตำบลศรีฐาน มีความรแู้ ละทักษะในการประกอบอาชีพ
3. รอ้ ยละ 100 ของแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีมกี ารพัฒนากจิ กรรมแหล่งเรียนรใู้ ห้มีความหลากหลาย และสนบั สนุนให้
เกิดการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต
4. ร้อยละ 80 ของผู้เรยี นและผรู้ ับบริการการศกึ ษาแต่ละหลักสูตร สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
5. จำนวนองคก์ ร/ หน่วยงานภาคเี ครอื ขา่ ยทม่ี ีความพร้อมในการจดั การศึกษาให้เกิดการเรยี นรู้ตลอดชีวิต

เชงิ คุณภาพ
1. ประชาชนตำศรฐี านได้รบั โอกาสทางการศึกษา อยา่ งทัว่ ถงึ เทา่ เทยี มและต่อเนื่อง อยา่ งมีคุณภาพ
2. ประชาชนตำบลศรีฐาน มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ
3. มกี ารพัฒนากจิ กรรมแหลง่ เรยี นรูใ้ ห้มคี วามหลากหลาย และสนบั สนนุ ให้เกิดการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ
4. ผ้เู รียนและผ้รู ับบรกิ ารการศกึ ษาแตล่ ะหลกั สูตร สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั
5. องค์กร/ หน่วยงานภาคเี ครือข่ายท่ีมคี วามพร้อมในการจัดการศึกษาใหเ้ กิดการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑๔
กศน.ตำบลโนนปอแดง

การวเิ คราะหจ์ ุดแขง็ จุดอ่อนของสถานศกึ ษา
สถานศึกษาได้ประชุมบุคลากรเพื่อร่วมกันประเมินสถานภาพของสถานศึกษาโดยใช้การวิเคราะห์
สภาพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดลอ้ มภายในสถานศึกษารวมทัง้
โอกาสและอปุ สรรคจากสภาพแวดลอ้ มภายนอกสถานศึกษาอันเปน็ ปจั จัยต่อการจัดการศกึ ษาเพ่ือนำผลไปใช้ในการ
กำหนดทิศทางการดำเนินงานของศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอภูกระดงึ ซ่ึงได้ผลการ
ประเมนิ สถานภาพของดงั นี้
1. SWOT Analysis ของสถานศกึ ษา
1.1 สภาพแวดล้อมภายใน

1.1.1จดุ แขง็ (Strength )อยู่ในชมุ ชน
1.1.1.1 สถานศึกษาอยใู่ นท่ชี ุมชน
1.1.1.2สถานศึกษามีอาคารเปน็ เอกเทศ
1.1.1.3มบี ุคลากรเต็มพ้นื ที/่ บุคลากรมคี วามรู้ความสามารถหลากหลายสาขาวชิ า
1.1.1.4สถานศึกษามนี โยบาย/จุดเนน้ การดำเนนิ งานทชี่ ดั เจน
1.1.1.5ผูบ้ รหิ ารใชห้ ลกั ธรรมมาภิบาลในการบริหาร
1.1.1.6มีการกระจายงบประมาณอย่างทั่วถงึ ตามแผนงบประมาณ
1.1.1.7มีการประชาสัมพันธ์งาน กศน.อย่างต่อเน่ือง
1.1.1.8 มวี สั ดุ สอื่ เพียงพอต่อการจัดกิจกรรม
1.1.1.9 มภี าคีเครอื ขา่ ยให้ความรว่ มมอื ในการจัด ส่งเสริมงาน กศน.

1.1.2 จดุ อ่อน (Weakness )
1.1.2.1บุคลากรขาดความกา้ วหน้าในการทำงานทำให้เกิดภาวะสมองไหล
1.1.2.2การปฏบิ ัติงานไม่ตอ่ เนือ่ งจากมกี ารปรบั เปลยี่ นบคุ ลากรบ่อย ๆ
1.1.2.3สื่อเทคโนโลยไี มท่ นั สมยั สำหรับการให้บริการ
1.1.2.4การปฏิบัตงิ านบางอย่างไม่ตรงกับบทบาทหนา้ ที่
1.1.2.5บคุ ลากรใหมไ่ มไ่ ด้รบั การอบรมก่อนการปฏบิ ตั งิ าน
1.1.2.6 ส่ือเทคโนโลยไี มเ่ พยี งพอในการให้บริการ
1.1.2.7 ระบบการนิเทศ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมจากภาคี

เครือขา่ ยยงั ไม่เพยี งพอ

1.2สภาพแวดล้อมภายนอก
1.2.1 โอกาส(Opportunity)
1.2.1.1 มีภาคีเครอื ข่ายทีห่ ลากหลาย ในการร่วมจดั สง่ เสริม สนบั สนนุ การดำเนนิ งาน

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑๕
กศน.ตำบลโนนปอแดง

1.2.1.2มแี หลง่ เรยี นร้/ู ภูมิปัญญาที่หลากหลาย
1.2.1.3เปน็ เมอื งแห่งการทอ่ งเท่ยี ว/ศิลปะและวัฒนธรรม
1.2.1.4 ประชากรชาวเลยมอี าชพี ท่ีหลากหลาย
1.2.1.5การคมนาคมสะดวก และมีระบบสาธารณปู โภคเพยี งพอ
1.2.1.6มีชอ่ งทางในการตดิ ต่อสื่อสารท่ีหลากหลายรวดเรว็
1.2.1.7มีชอ่ งทางการเผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์งาน กศน. ทห่ี ลากหลาย
1.2.1.8ผ้บู รหิ ารระดับจังหวัด/อำเภอใหค้ วามสำคญั กับการศึกษา
1.2.2อุปสรรค(Threats )
1.2.2.1ขาดการทำงานแบบบูรณาการรว่ มกนั เกิดความซำ้ ซ้อนในการทำงาน
1.2.2.2ผู้เรียนมีอายุเฉลี่ยน้อยลง มีวุฒิภาวะและความรับผิดชอบน้อยเป็นปัญหาในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้
1.2.2.3ผู้เรยี นเห็นความสำคญั การประกอบอาชพี มากกว่าการเรยี นรู้

2. ทศิ ทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบล
2.1 ปรชั ญา
“คดิ เป็น ทำเปน็ แกป้ ญั หาเป็น เนน้ เศรษฐกจิ พอเพยี ง”
2.2 วิสัยทศั น์
“ประชาชนตำบลโนนปอแดง ได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถ

ดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จำเป็นในโลก
ศตวรรษที่ 21”

2.3 อตั ลักษณ์ สถานศึกษา “ใฝ่เรยี นรู้ ค่คู ุณธรรม”
ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง การจัดการศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้ แสวงหาความรู้จากแหล่งความรู้ตา่ ง ๆ

ในการพัฒนาตนเองและงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้ก้าวทันกับสภาวการณ์หรือสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป และ
สามารถถ่ายทอดความรู้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ขององค์กรได้เป็นอย่างดีตลอดจนเน้นกระบวนการให้ผู้เรียน คิด
เปน็ ทำเปน็ แก้ปัญหาเปน็

คคู่ ณุ ธรรม หมายถึง การจัดการศึกษาโดยใช้หลกั คุณธรรม จริยธรรม ใหผ้ ู้เรียนมีสว่ นร่วมใน

การพัฒนาชมุ ชน สงั คม

พนั ธกิจ
๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับ

การศกึ ษาพฒั นาทักษะการเรียนรขู้ องประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกชว่ งวยั พรอ้ มรบั การเปล่ียนแปลง
บรบิ ททางสงั คม และสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑๖
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๒. ส่งเสริม สนับสนนุ และประสานภาคีเครือขา่ ย ในการมีส่วนร่วมจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งการดำเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหล่งการเรียนรู้อื่นใน
รปู แบบต่างๆ

๓. ส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพใน
การจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้กบั ประชาชนอยา่ งทว่ั ถึง

๔. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทุก
รูปแบบใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทในปจั จบุ ัน

๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่มี
คณุ ภาพโดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล

เป้าประสงค์
๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนกลุ่มเป้าหมายพิเศษได้รับ
โอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษา
ตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละ
กลุ่มเป้าหมาย
๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็น
พลเมืองอันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและ
ยัง่ ยนื ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และสงิ่ แวดล้อม
๓. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรยี นรู้และมเี จตคติทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที เี่ หมาะสมสามารถคิด
วเิ คราะห์และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั รวมทัง้ แกป้ ัญหาและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์
๔. ประชาชนไดร้ บั การสร้างและสง่ เสรมิ ใหม้ ีนสิ ยั รักการอา่ นเพอื่ การแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง
๕. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมท้ังการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรยี นรู้ของชมุ ชน
๖. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการยกระดับ
คุณภาพในการจดั การเรียนรู้และเพิม่ โอกาสการเรียนรใู้ ห้กบั ประชาชน
๗. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพ
ชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ
สงิ่ แวดลอ้ ม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชน และชมุ ชนในรูปแบบท่หี ลากหลาย
๘. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
๙. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑๗
กศน.ตำบลโนนปอแดง

ตัวชีว้ ดั

๑. จำนวนผเู้ รียนการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีไดร้ บั การสนบั สนนุ ค่าใช้จ่าย
ตามสิทธทิ ี่กำหนดไว้

๒. จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา
ตอ่ เนอ่ื ง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่สอดคลอ้ งกับสภาพ ปัญหา และความต้องการ

๓. จำนวนผู้รบั บริการในพ้นื ทีเ่ ปา้ หมายได้รบั การสง่ เสรมิ ด้านการรู้หนงั สอื และพัฒนาทักษะชวี ิต
๔. รอ้ ยละการอ่านของคนไทยเพ่มิ ขน้ึ
๕. จำนวนนักเรยี นนกั ศกึ ษาทไ่ี ด้รบั บรกิ ารตวิ เข้มเตม็ ความรู้
๖. จำนวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่เข้าถึงบริการการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ใน
รปู แบบตา่ ง ๆ
๗. จำนวนประชาชนที่ได้รับการอบรมให้มีความรู้ ในอาชีพการเกษตรที่เหมาะสมกับสภาพบริบท และ
ความต้องการของพ้นื ท่/ี ชมุ ชน
๘. จำนวนแหล่งเรียนรู้ในระดับตำบลที่มีความพร้อมในการให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัย
๙. จำนวนทำเนียบศูนย์เรียนรเู้ กษตรพอเพียงของตำบล และจำนวนกลมุ่ เกษตรชุมชนดีเด่น
๑๐. จำนวนประชาชนได้รับการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ (ระยะสั้น)
สำหรับประชาชนในศนู ย์อาเซยี นศกึ ษา กศน.
๑๑. มีการพัฒนาอุปกรณ์การผลิตและการเผยแพร่ข่าวโทรทัศน์เพื่อการศึกษาสำหรับศูนย์ข่าวโทรทัศน์
เพอ่ื การศกึ ษา ๑ ระบบ
๑๒. จำนวนบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการผลิตรายการโทรทัศน์ได้รับการอบรมให้มีความรู้และทักษะใน
การปฏิบตั ิงานเพ่ือรองรบั การปฏบิ ตั ิงานในสถานีวทิ ยุโทรทัศน์ระบบดิจิทลั
๑๓. จำนวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่เข้าถึงบริการความรู้นอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั ผา่ นชอ่ งทางสือ่ เทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร
๑๔. จำนวนรายการโทรทศั น์/ CD/แอพพลิเคชัน่ ในการให้ความรดู้ ้านการเกษตร
๑๕. จำนวน/ประเภทของสื่อ ที่มีการจัดทำ/พัฒนาและนำไปใช้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน/
ผรู้ ับบรกิ ารการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั
๑๖. ร้อยละของหนว่ ยงาน และสถานศกึ ษา กศน. ท่มี ีการใชร้ ะบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดทำฐานข้อมูล
ชุมชนและการบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยของ
องค์การ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑๘
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๑๗. จำนวนระบบฐานข้อมลู กลางด้านการศึกษาของประเทศท่ีได้รับการพัฒนาให้ทันสมัยและเปน็ ปัจจบุ นั

๑๘. จำนวนผ้ผู า่ นการอบรมตามหลักสตู รท่ีกำหนดของโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตำบล

๑๙. ร้อยละของตำบล/แขวง มีปริมาณขยะลดลง

๒๐. จำนวนบุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

๒๑. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาในสังกดั ท่ีมรี ะบบประกันคุณภาพภายในและมีการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเอง

๒๒. จำนวนองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ที่ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดำเนินงาน

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
ตวั ชี้วดั เชิงคุณภาพ

๑. ร้อยละทเี่ พิ่มขึน้ ของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น
(N-NET)

๒. ร้อยละของกำลังแรงงานที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า ได้รับการศึกษา
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า

๓. ร้อยละของนักเรียน/นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาที่ได้รับบริการติวเข้มเต็มความรู้เพิ่ม
สงู ข้ึน

๔. รอ้ ยละผจู้ บหลกั สูตร/กิจกรรมการศึกษานอกแบบทส่ี ามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจดุ มุ่งของ
หลักสูตร/กจิ กรรมทก่ี ำหนด

๕. ร้อยละของผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมที่สามารถอ่านออกเขียนได้และคิดเลขเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของ
กจิ กรรม

๖. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรียนที่มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการพัฒนาอาชีพตาม
โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน

๗. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการ

พฒั นาศกั ยภาพ ทักษะอาชีพ สามารถมงี านทำหรอื นำไปประกอบอาชพี ได้
๘. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้าน

อาชีพ (ระยะสน้ั ) มีความรู้ในการส่ือสารภาษาอังกฤษ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้
๙. จำนวนครู กศน. ตน้ แบบการสอนเพ่อื การส่อื สารภาษาองั กฤษสามารถเปน็ วิทยากรแกนนำได้
๑๐.ร้อยละของครู กศน. ทั่วประเทศ สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้อยา่ ง

สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของผเู้ รียน
๑๑.รอ้ ยละของผเู้ ขา้ รับการอบรมหลักสูตรการดแู ลผู้สงู อายกุ ระทรวงศึกษาธิการ ผา่ นเกณฑก์ ารอบรมตาม

หลักสตู รทีก่ ำหนด
๑๒.รอ้ ยละของหน่วยงาน และสถานศกึ ษา กศน. ท่ีสามารถดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑๙
กศน.ตำบลโนนปอแดง

ตามบทบาทภารกิจที่รับผิดชอบได้สำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยใช้ทรัพยากร
อยา่ งคมุ้ คา่ /ตามแผนที่กำหนดไว้

ประเด็นกลยุทธ์
กลยทุ ธท์ ี่ ๑ เข้าถึงกลุ่มเปา้ หมายทหี่ ลากหลายและทั่วถึง

ตวั ชวี้ ัด
๑.๑ ฐานขอ้ มลู ความต้องการการเรยี นรขู้ องกลมุ่ เป้าหมายรายบคุ คล และรายชมุ ชน
๑.๒ แผนการเรยี นรตู้ ามความต้องการการเรยี นรขู้ องกลุม่ เปา้ หมายรายบุคคล และรายชุมชน
๑.๓ ระบบการใหบ้ รกิ ารข่าวสารข้อมลู สารสนเทศแก่กลมุ่ เปา้ หมาย
แนวทางการดำเนินงาน
๑.๑ จัดกิจกรรมให้ประชาชนในพื้นท่ี ๖๔ หมู่บ้าน ให้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเรยี นรู้
ตลอดชวี ิต
๑.๒ กำหนดพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายเพื่อเจาะลึกจัดกิจกรรม โดยดำเนินการทั้ง ๔ ตำบล ๆ ละ ๑
หมบู่ ้าน เพือ่ สรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรโู้ ดยใชช้ ุมชนเปน็ ฐานตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
๑.๓ พฒั นาระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศ โดยจดั ทำข้อมลู รายบุคคล รายกลุ่ม และเช่ือมโยง
กบั ภาคเี ครือข่ายเพือ่ สามารถตรวจสอบให้เปน็ ปจั จบุ ันและนำไปใช้ได้
๑.๔ มีฐานข้อมลู ทร่ี ะบุความต้องการ ความพึงพอใจของผู้เรียน ผูร้ ับบริการในพืน้ ทีเ่ ปา้ หมาย
๑.๕ จดั ทำแผนการเรยี นรรู้ ายบุคคล รายครอบครวั และรายกลุ่ม ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทุก
กจิ กรรม

กลยุทธท์ ี่ ๒ ปรบั วธิ เี รียน เปล่ยี นวธิ ีสอน ให้สอดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของแตล่ ะกล่มุ เป้าหมาย
ตวั ชี้วดั
๒.๑ มีหลักสูตรและสื่อที่พร้อมให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะการประชาสัมพันธ์การ

ใหบ้ ริการ
๒.๒ มีวิธีการและนวตั กรรมการเรยี นการสอนที่เหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพและความต้องการของ

กล่มุ เปา้ หมาย อย่างน้อย ๑ วธิ กี าร หรือ ๑ นวตั กรรม
๒.๓ มีรายงานการประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ของผู้จบ

การศึกษาแตล่ ะหลกั สตู รเพ่ิมข้ึน
๒.๔ มีระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๐
กศน.ตำบลโนนปอแดง

แนวทางการดำเนินงาน
๒.๑ จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และคลังหลักสูตรให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของ
ผ้เู รียนและผรู้ ับบริการ
๒.๒ จดั ใหม้ ีการพัฒนาหลักสตู ร โดยคำนงึ ถึงการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย
๒.๓ จัดให้มีสื่อ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับเนื้อหาของแต่ละ
กิจกรรมการเรยี นรู้
๒.๔ จัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ผู้รับบริการ
และเนือ้ หาของแตล่ ะกจิ กรรม
๒.๕ พัฒนาจัดกระบวนการเรียนรู้โดยยึดหลักคุณธรรมนำความรู้ และให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วย
ตนเองตามศักยภาพ
๒.๖ จดั ใหม้ ีการวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้ดู ว้ ยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย ตามเนือ้ หาการเรยี นรู้ของแต่
ละกิจกรรม โดยมุ่งเนน้ การประเมนิ ความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม จรยิ ธรรม ของผู้เรยี นและผู้รับบรกิ าร
๒.๗ นำการจัดการความรมู้ าใช้ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพและความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมาย
๒.๘ จัดบริการแนะแนวการศึกษาให้แกก่ ลุ่มเปา้ หมายอย่างท่ัวถงึ
๒.๙ วจิ ยั และพัฒนากระบวนการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
๒.๑๐ นำระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอกมาใช้ในการ
บริหารและพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

กลยุทธท์ ี่ ๓ พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ เทคโนโลยเี พื่อการศึกษา และภมู ปิ ญั ญาให้เป็นฐานความรู้ของชุมชน
ตวั ชว้ี ัด
๓.๑ ห้องสมดุ ประชาชนไดร้ ับการพัฒนากจิ กรรมใหเ้ ปน็ หอ้ งสมดุ มีชีวติ
๓.๒ มกี ารใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษาท่หี ลากหลาย ซึ่งเพิ่มโอกาสการเข้าถึงความร้ขู องประชาชน
๓.๓ มกี ารส่งเสริมการเรียนรูจ้ ากภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ และแหล่งเรียนรู้

แนวทางการดำเนินงาน
๓.๑ ขยายแหล่งเรยี นรู้ให้หลากหลายและกว้างขวาง ครอบคลุมในทุกประเภทและพืน้ ที่
๓.๒ พฒั นาแหล่งเรยี นรู้ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและองค์ความรู้ ตลอดจนสื่อตา่ ง ๆ ในการให้บริการอย่าง
ครอบคลุมและทวั่ ถึง

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๑
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๓.๓ สง่ เสริมสนบั สนุนชอ่ งทางการเรยี นรู้ ดว้ ยเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา เชน่ ศูนย์ ICT โทรทัศน์
เพอื่ การศึกษา (ETV)

๓.๔ ส่งเสรมิ และพัฒนาแหล่งเรยี นรใู้ ห้มีชวี ติ เช่น ห้องสมดุ ประชาชน กศน.ตำบล กศน.อำเภอ
แหล่งเรยี นรู้ ตลอดจนส่งเสริมการจดั กจิ กรรมในรูปหอกระจายข่าว วิทยุชุมชน

กลยุทธ์ท่ี ๔ ผนึกกำลังภาคีเครือข่ายใหม้ ีส่วนรว่ มจดั การศกึ ษา
ตวั ชว้ี ัด
๔.๑ จำนวนภาคีเครือข่ายอย่างน้อย ๕ เครือข่าย ในพื้นที่ร่วมจัดการศึกษานอกโรงเรียนร่วมกบั

สถานศึกษา
๔.๒ จำนวนกิจกรรมอยา่ งนอ้ ย ๕ กิจกรรม ของสถานศกึ ษา ทีมภี าคีเครือขา่ ยรว่ มจัด
๔.๓ ร้อยละ ๘๐ ของผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ของภาคีเครือข่ายมี

ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับดี

แนวทางการดำเนินงาน
๔.๑ แสวงหาและจัดทำฐานข้อมูล และทำเนียบภาคีเครือข่ายในการจัดการเรียนรู้ ทั้งในและ
นอกพน้ื ที่อำเภอหนองหิน
๔.๒ สร้างความตระหนักและความเข้าใจกับภาคีเครือข่ายเพื่อร่วมจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตใน
รปู แบบต่าง ๆ
๔.๓ จดั ใหม้ ขี อ้ ตกลงความรว่ มมอื (MOU) ของภาคีเครือขา่ ย
๔.๔ สร้างแรงจงู ใจใหเ้ กดิ การรว่ มคดิ รว่ มวางแผน รว่ มทำ รว่ มแก้ปัญหา และร่วมพัฒนาการ
จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ในชุมชนกับภาคีเครือขา่ ย
๔.๕ สง่ เสริมให้มีการระดมการใช้ทรพั ยากรรว่ มกันกบั ภาคีเครอื ข่าย
๔.๖ จัดและพัฒนากจิ กรรมเครอื ขา่ ยสมั พนั ธ์
กลยุทธท์ ี่ ๕ เพ่มิ ประสิทธิภาพการบรหิ าร
ตัวช้วี ดั
๕.๑ สถานศกึ ษา ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตัวช้วี ัดธรรมาภิบาลระดับดี
๕.๒ จำนวนบคุ ลากรไม่ตำ่ กว่าร้อยละ ๙๕ ทำงานตรงตามความรับผิดชอบ
๕.๓ มีระบบการประสานงานทีม่ ีประสิทธภิ าพ

แนวทางการดำเนนิ งาน
๕.๑ พฒั นาระบบการทำงานในลักษณะการวจิ ยั และพฒั นา (R&D) อยา่ งตอ่ เน่ือง

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๒
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๕.๒ พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการบริการ และการจัดการความรู้เพ่ือ
ตอบสนองความต้องการของกลุม่ เป้าหมาย

๕.๓ นำหลักธรรมาภิบาลมาใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน
๕.๔ ใช้ทรัพยากรใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสูงสดุ ในการทำงาน
๕.๕ พัฒนาระบบการให้บริการด้วยเทคโนโลยีสื่อสารสนเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการของ
ผู้รับบรกิ าร
๕.๖ จัดและพัฒนาการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมายให้มีประสิทธิภาพ โดยการจัดอาสาสมัคร
กศน. เปน็ ผู้ประสานงานระหวา่ งตำบล และหมบู่ า้ น
๕.๗ นอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการบริหารจดั การ

เป้าหมาย
๑. ประชากรวัยแรงงานอายุ ๑๕-๕๙ ปี ได้รับการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการและความจำเป็นได้

แก่
๑.๑ ประชากรวัยแรงงานอายุ ๑๕–๓๙ ปี ได้รับการศึกษาไม่น้อยกว่าระดับมัธยมศึกษา
๑.๒ ประชากรวัยแรงงานอายุ ๔๐–๕๙ ปี ได้รับบริการการศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตาม

อธั ยาศยั
๒. ประชาชนในอำเภอผาขาว มคี วามรู้และทกั ษะการดำรงชีวิตบนพ้นื ฐานปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
๓. ภาคส่วนของสงั คมอย่างน้อย ๑ ภาคี มสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ
๔. ประชาชนในอำเภอหนองหินได้รับบริการการเรียนรู้ตลอดชวี ติ จากสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา และ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร และแหล่งเรยี นรู้

 แหลง่ เรียนรู้และภาคีเครอื ข่าย

กศน.ตำบล ท่ีตั้ง ผ้รู ับผิดชอบ
นางสาวอรทยั เต็มสอาด
๑. กศน.ตำบลโนนปอแดง บา้ นปอแดง ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จ.เลย นางสาวนงนุช บางประอินทร์

รวมจำนวน ๑ แห่ง

ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน ทีต่ ง้ั ผูร้ บั ผดิ ชอบ
๑. ศรช.บ้านปอแดง บา้ นปอแดง ตำบลโนนปอแดง อำเภอผาขาว จงั หวัดเลย วา่ ที่ ร.ต.นธวฒั น์ อะทะโน

รวมจำนวน ๒ แห่ง

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๓
กศน.ตำบลโนนปอแดง

ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ความรู้ความสามารถ ท่ีอยู่
๑. หมอพราหมณ์บายศรสี ู่ขวัญ แหลง่ เรียนรปู้ ระเภทบคุ คล ม.๓ บ.หว้ ยกาบเปลอื ย ต.โนนปา่ ซาง อ.ผาขาว จ.เลย
๒. สานสุม่ ไก่จากไมไ้ ผ่ แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทบุคคล ๘๙ ม.๖ บ.ภปู ่าไผ่ ต.โนนป่าซาง อ.ผาขาว จ.เลย
๑. การเสริมสวยครบวงจร แหลง่ เรยี นร้ปู ระเภทบุคคล ม.๑ บ.โนนปอแดง ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว จ.เลย
๒. การทอเส่ือกก แหล่งเรียนร้ปู ระเภทบคุ คล ม.๕ บ.โนนกกขา่ ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว จ.เลย
๓. โรงขนมจีน แหลง่ เรียนรปู้ ระเภทบคุ คล ม.๓ บ.นาล้อม ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว จ.เลย
๔. นวดแผนโบราณ แหลง่ เรยี นรู้ประเภทบคุ คล ม.๑๓ บ.นิยมไทย ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว จ.เลย
๕. การจกั สานจากไมไ้ ผ่ แหลง่ เรยี นรู้ประเภทบุคคล ม.๑๗ บ.ศรวี ไิ ล ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว จ.เลย

รวมจำนวน ๕ ท่าน

แหลง่ เรียนรอู้ ืน่ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ท่ตี ้งั
๑. การเสรมิ สวยครบวงจร แหลง่ เรียนรปู้ ระเภทบคุ คล ม.๑ บ.โนนปอแดง ต.โนนปอแดง
๒. การปลกู แตงกวา แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทสงิ่ ที่มนุษยส์ รา้ งขน้ึ อ.ผาขาว จ.เลย
๓. โรงขนมจนี แหลง่ เรียนรูป้ ระเภทบุคคล ม.๒ บ.หนองอเี ป้ยี ต.โนนปอแดง
๔. การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า แหล่งเรียนรู้ประเภทส่ิงที่มนุษย์สรา้ งขนึ้ อ.ผาขาว จ.เลย
๕. การทอเสื่อกก แหลง่ เรยี นรู้ประเภทบคุ คล ม.๓ บ.นาลอ้ ม ต.โนนปอแดง
๖. ไรน่ าสวนผสม แหลง่ เรยี นรูป้ ระเภทส่งิ ท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขึ้น อ.ผาขาว จ.เลย
๗. ไรน่ าสวนผสม แหลง่ เรียนรปู้ ระเภทส่งิ ท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขน้ึ ม.๔ บ.ทา่ สวนยา ต.โนนปอแดง
๘. การเล้ยี งปลานลิ แหลง่ เรียนรูป้ ระเภทสิง่ ที่มนษุ ย์สร้างขึ้น อ.ผาขาว จ.เลย
๙. การเพาะเหด็ นางฟา้ แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภทสง่ิ ที่มนษุ ยส์ ร้างขน้ึ ม.๕ บ.โนนกกข่า ต.โนนปอแดง
อ.ผาขาว จ.เลย
ม.๖ บ.หว้ ยไคร้ ต.โนนปอแดง
อ.ผาขาว จ.เลย
ม.๗ บ.ซำกกค้อ ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว
จ.เลย
ม.๘ บ.พรสวรรค์ ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว
จ.เลย
ม.๙ บ.ซำไคร้ ต.โนนปอแดง
อ.ผาขาว จ.เลย

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๔
กศน.ตำบลโนนปอแดง

แหลง่ เรียนรอู้ ่นื ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ท่ตี ้งั
๑๐. แหลง่ เรยี นรเู้ กษตรทฤษฎี แหล่งเรียนรูป้ ระเภทสง่ิ ที่มนุษยส์ รา้ งขน้ึ ม.๑๐ บ.ซำนอ้ ย ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว
ใหม่ แหล่งเรียนรู้ประเภทสง่ิ ที่มนุษยส์ รา้ งขึ้น จ.เลย
๑๑. ศนู ยก์ สิกรรมสถาบันความรู้ แหลง่ เรยี นรู้ประเภทสิ่งที่มนษุ ย์สร้างขน้ึ ม.๑๑ บ.ซำจำปา ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว
แหลง่ เรียนรปู้ ระเภทบคุ คล จ.เลย
๑๒. เกษตรผสมผสาน แหล่งเรียนรปู้ ระเภทสง่ิ ที่มนุษยส์ ร้างข้ึน ม.๑๒ บ.หว้ ยงา ต.โนนปอแดง
แหลง่ เรยี นรู้ประเภทสงิ่ ที่มนุษย์สร้างขึ้น อ.ผาขาว จ.เลย
๑๓. นวดแผนโบราณ แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภทส่งิ ท่ีมนษุ ย์สรา้ งขน้ึ ม.๑๓ บ.นิยมไทย ต.โนนปอแดง
แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล อ.ผาขาว จ.เลย
๑๔. ไรน่ าสวนผสม ม.๑๔ บ.ทรัพย์สมบูรณ์
๑๗ แห่ง ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว จ.เลย
๑๕.การทำไรอ่ ้อย ม.๑๕ บ.วงั บอน ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว
จ.เลย
๑๖.ไร่นาสวนผสม ม.๑๖ บ.ปอแดง ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว
จ.เลย
๑๗.การจกั สานจากไมไ้ ผ่ ม.๑๗ บ.ศรวี ไิ ล ต.โนนปอแดง
อ.ผาขาว จ.เลย
รวมจำนวน

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๕
กศน.ตำบลโนนปอแดง

ส่วนที่ ๒

ยทุ ธศาสตรแ์ ละจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕

(ร่าง)
นโยบายและจุดเนน้ การดาํ เนนิ งาน สํานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
…………………………………………………………………………………..
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้กําหนดแผนแม่บทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอด
ช่วงชีวิต โดยมีแผนย่อยที่เกี่ยวข้องกับการใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนได้แก่ แผนย่อยประเด็นการ
พัฒนาการเรียนรู้ และแผนย่อยประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ที่มุ่งเน้นการสร้างสภาพแวดล้อมท่ี
เอ้ือต่อการพฒั นา และเสรมิ สร้างศักยภาพมนุษย์ การพฒั นาเดก็ ตัง้ แต่ชว่ งการตงั้ ครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วง
วัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงาน รวมถึงการส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการ
พัฒนาการเรียนรู้ ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
ประกอบกับแผนการปฏิรูป ประเทศด้านการศึกษา นโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูป
กระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพ คนตลอดช่วงชีวิต และนโยบายเร่งด่วนเรื่องการเตรียมคนไทยสู่
ศตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่
12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและแผนระดับชาติ ว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. 2562 2568) โดยคาดหวัง
ว่าการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ประชาชนจะได้รับ การพัฒนาการเรียนรู้ให้เป็นคนดี คนเก่งมีคุณภาพ
และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน และกระทรวงศึกษาธิการ ได้
กําหนดนโยบายและจุดเน้น ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ขึ้น เพื่อเป็น เข็มมุ่งของหน่วยงานภายใต้
กระทรวงศกึ ษาธิการ ขับเคลือ่ นการดําเนินงานใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องแผนต่าง ๆ ดงั กลา่ ว
สํานักงาน กศน. เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ตระหนัก ถึงความสําคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ
และนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คํานึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งในเรื่องหลักธรรมาภิบาล
หลักการกระจาย อํานาจ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และ
ปฏิบตั กิ ารดา้ นข้อมูลข่าวสาร การสรา้ งบรรยากาศในการทํางานและการเรียนรู้ ตลอดจนการใชท้ รัพยากรด้านการ
จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้น การพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ่ ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้คุณภาพ การ
สร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๖
กศน.ตำบลโนนปอแดง

อันจะนําไปส่กู ารสร้างโอกาสและลดความเหลอ่ื มลา้ํ ทางการศึกษา การยกระดับคณุ ภาพและเพิม่ ประสิทธิภาพการ
ใหบ้ รกิ ารสาํ หรบั ทุกกลุ่มเปา้ หมาย และสร้างความพึงพอใจ ใหก้ บั ผูร้ ับริการ โดยได้กาํ หนดนโยบายและจุดเน้นการ
ดาํ เนนิ งาน สาํ นักงาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้

หลักการ
กศน. เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” นโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน.

ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
1. ด้านการจดั การเรยี นรู้คุณภาพ
1.1 น้อมนําพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการ อัน

เนือ่ งมาจากพระราชดําริทุกโครงการ และโครงการอันเกย่ี วเนอื่ งจากราชวงศ์
1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการ และ

รฐั มนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ
1.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลกู ฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวนิ ัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยึดมั่น
ในสถาบนั หลกั ของชาติ รวมถึงการมจี ิตอาสา ผา่ นกิจกรรมต่างๆ

1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนาประเทศ
สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรียน/ผู้รับบริการ รวมถึงปรับลด
ความหลากหลายและความซ้ําซ้อนของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษาสําหรับกลุ่มเป้าหมายบนพื้นที่ สูง พื้นท่ี
พิเศษ และพืน้ ที่ชายแดน รวมทงั้ กลุม่ ชาตพิ ันธ์ุ

1.5 ปรบั ระบบทดสอบ วดั ผล และประเมนิ ผล โดยเนน้ การใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นเคร่อื งมือให้ผเู้ รยี น สามารถ
เข้าถึงการประเมินผลการเรียนรู้ได้ตามความต้องการ เพื่อการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ความสําคัญกับ การ
เทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะผู้เรียน ให้
ตอบโจทย์การประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถภาพผู้ใหญ่ ตลอดจนกระจาย
อํานาจ ไปยังพ้นื ทใ่ี นการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1.6 ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ดว้ ยตนเองครบวงจร ต้ังแต่
การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา
ต่อเนือ่ ง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย เพือ่ เป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนร้ใู ห้กับกลุ่มเปา้ หมายที่สามารถ
เรียนรู้ ไดส้ ะดวก และตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของผเู้ รยี น

1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสํานักงาน กศน. ตลอดจน พัฒนา
สอื่ การเรยี นรู้ท้ังในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และใหม้ ีคลังสื่อการเรียนร้ทู เี่ ป็นส่ือทถี่ ูกต้องตามกฎหมาย ง่ายต่อ
การสืบค้นและนําไปใช้ในการจัดการเรียนรู้

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๗
กศน.ตำบลโนนปอแดง

1.8 เร่งดําเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหน่วยกิต เพ่ือ
การสรา้ งโอกาสในการศกึ ษา

1.9 พฒั นาระบบนิเทศการศกึ ษา การกํากับ ตดิ ตาม ทงั้ ในระบบ On-Site และ Online รวมท้ัง สง่ เสรมิ
การวจิ ยั เพอ่ื เป็นฐานในการพฒั นาการดาํ เนนิ งานการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

2. ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ
2.1 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตท่ีเน้นการพฒั นาทักษะที่จําเปน็ สําหรับแต่ละช่วงวัย และการจัด

การศึกษาและการเรยี นร้ทู ่เี หมาะสมกับแต่ละกลมุ่ เป้าหมายและบริบทพืน้ ที่
2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เน้น New skill Up skill และ Re skเที่สอดคล้องกับบริบท พื้นที่

ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive
Technology

2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้าง
อาชีพ เพ่มิ รายได้ และมคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี” ใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐาน เปน็ ทยี่ อมรับของตลาด ตอ่ ยอดภูมิปญั ญาท้องถ่ิน
เพ่ือสรา้ งมลู ค่าเพ่มิ พัฒนาสวู่ ิสาหกจิ ชมุ ชน ตลอดจนเพ่ิมช่องทางประชาสัมพันธแ์ ละช่องทางการจําหน่าย

2.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life Skill ใน
การดาํ รงชีวติ ท่เี หมาะกับชว่ งวยั

2.5 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาท่ีพฒั นาทักษะท่ีจําเป็นสาํ หรับกลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ เช่น ผู้พิการ ออทิสติก
เดก็ เร่ร่อน และผดู้ อ้ ยโอกาสอน่ื ๆ

2.6 ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากร กศน. และผู้เรียนเพื่อรองรับ
การพัฒนาประเทศ

2.7 สง่ เสริมการสร้างนวตั กรรมของผเู้ รียน กศน.
2.8 สร้าง อาสาสมัคร กศน. เพื่อเป็นเครือข่ายในการส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ใน
ชมุ ชน
2.9 ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมทั้งรวบรวมและเผยแพร่เพื่อให้
หนว่ ยงาน / สถานศึกษา นาํ ไปใช้ในการพฒั นากระบวนการเรยี นร้รู ่วมกนั
3. ดา้ นองค์กร สถานศกึ ษา และแหลง่ เรียนรู้คณุ ภาพ
3.1 ทบทวนบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน สถานศึกษา เช่น สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษา และ
พัฒนาต่อเนื่องสิรินธร สถานศึกษาขึ้นตรงสังกัดส่วนกลาง กลุ่มสํานักงาน กศน.จังหวัด ศูนย์ฝึกและพัฒนาราษฎร
ไทย บรเิ วณชายแดน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการขบั เคลือ่ นการจัดการศึกษาตลอดชีวติ ในพื้นท่ี
3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตําบล และศนู ย์การเรยี นร้ชู ุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) ให้
เปน็ พืน้ ท่ีการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ท่ีสําคญั ของชมุ ชน

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๘
กศน.ตำบลโนนปอแดง

3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ท่เี นน้ Library Delivery เพ่ือเพม่ิ อัตราการอา่ น และการรู้
หนงั สอื ของประชาชน

3.4 ใหบ้ รกิ ารวทิ ยาศาสตรเ์ ชิงรุก Science@home โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นเครอ่ื งมือนําวิทยาศาสตร์ สู่
ชวี ติ ประจําวนั ในทุกครอบครัว

3.5 ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการสร้างพื้นทกี่ ารเรยี นรู้ ในรปู แบบ Public Learning Space/ Co- (eaming
Space เพื่อการสร้างนเิ วศการเรียนรใู้ ห้เกดิ ขนึ้ สังคม

3.6 ยกระดบั และพฒั นาศูนย์ฝึกอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน ให้เปน็ สถาบันพฒั นาอาชพี ระดบั ภาค
3.7 สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การดําเนินงานของกลุ่ม กศน. จงั หวัดใหม้ ีประสิทธภิ าพ
4. ดา้ นการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพ
4.1 ขบั เคล่อื นกฎหมายวา่ ด้วยการส่งเสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกจิ บทบาทโครงสร้าง
ของหนว่ ยงานเพอื่ รองรับการเปลีย่ นแปลงตามกฎหมาย
4.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง และข้อบังคับต่าง ๆ ให้มีความทันสมัย เอื้อต่อการบริหาร จัดการ
และการจดั การเรยี นรู้ เชน่ การปรบั หลกั เกณฑค์ ่าใช้จ่ายในการจัดหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เน่ือง
4.3 ปรับปรุงแผนอัตรากําลัง รวมทั้งกําหนดแนวทางที่ชัดเจนในการนําคนเข้าสู่ตําแหน่ง การย้าย โอน
และการเลอื่ นระดับ
4.4 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตําแหน่งให้ตรงกับ สายงาน
และทักษะทจ่ี ําเปน็ ในการจดั การศึกษาและการเรียนรู้
4.5 ปรับปรุงระบบการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการศึกษาให้มีความครอบคลุม เหมาะสม เช่น การปรับ
ค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษาของผ้พู กิ าร เดก็ ปฐมวัย
4.6 ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เช่น ข้อมูล
การรายงานผลการดําเนินงาน ข้อมูลเด็กตกหล่นจากการศึกษาในระบบ เดก็ เร่รอ่ น ผูพ้ กิ าร
4.7 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ เครื่องมือในการบรหิ ารจัดการอย่างเต็มรูปแบบ
4.8 ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมินคุณภาพ และ
ความโปรง่ ใสการดาํ เนนิ งานของภาครัฐ (ITA)
4.9 เสริมสร้างขวัญและกําลังใจให้กับข้าราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ประกาศ
เกียรตคิ ุณ การมอบโล่ / วุฒบิ ตั ร
4.10 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพรอ้ มในการจัดการศึกษา นอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการส่งเสริมการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ สําหรบั ประชาชน

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๙
กศน.ตำบลโนนปอแดง

การดำเนนิ งานสำคญั ตามข้อสง่ั การของรฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
(นางกนกวรรณ วิลาวลั ย)์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

➣ การขับเคลือ่ น กศน. สู่ กศน.WOW

๑. พฒั นาครู กศน.และบคุ ลากรท่เี กี่ยวขอ้ งกับการจดั กจิ กรรมการศึกษาและเรียนรู้ : Good Teacher
เป็นผู้เช่ือมโยงความรู้กับผู้เรียนผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทัน

ต่อการเปลยี่ นแปลงของสังคม เปน็ ผูจ้ ัดกจิ กรรม การเรียนร้แู ละบริหารจัดการความรู้ทีด่ ี
๑.๑ เพิ่มอตั ราขา้ ราชการครู กศน. ๘๙๑ อตั รา
(๑) ให้เร่งดำเนินการเรื่องการหาอัตราตำแหน่ง การสรรหา บรรจุ แต่งตั้ง ข้าราชการครู กศน.

๘๙๑ อตั รา เพอ่ื จดั สรรให้กับ กศน.อำเภอทกุ แห่ง ๆ ละ ๑ อตั รา
๑.๒ พัฒนาครู และบคุ ลากร
(๑) พัฒนาครู กศน.ตำบลเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้น เรื่องการ

พฒั นาทักษะการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะการจัดกระบวน การเรยี นรู้
(๒) พฒั นาศกึ ษานเิ ทศกใ์ หส้ ามารถปฏิบตั ิการนิเทศได้อย่างมศี ักยภาพ
(๓) พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดบั ทุกประเภทให้มีทักษะความรู้เร่ืองการใช้ประโยชน์ จากดิจิทลั

และภาษาตา่ งประเทศท่จี ำเป็น

๒. พัฒนา กศน.ตำบลให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ : Good Place – Best Check
in

ให้มีความพร้อมในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและเรียนรู้ เป็นแหล่งข้อมูลสาธารณะที่ง่ายต่อ การ
เข้าถึง มบี รรยากาศทเ่ี อือ้ ต่อการเรยี นรู้เปน็ เสมือนคาเฟก่ ารเรียนรสู้ ำหรับทุกคนทุกช่วงวยั มสี ิ่งอำนวยความสะดวก
มคี วามสวยงามที่ดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยสำหรับผู้ใชบ้ ริการ

๒.๑ เร่งยกระดับ กศน.ตำบล ๙๒๘ แห่ง (อำเภอละ ๑ แห่ง) เป็น กศน.ตำบล ๕ ดี พรีเมี่ยม ที่
ประกอบด้วย ครดู ี สถานท่ีดี (ตามบริบทของพืน้ ท)่ี กิจกรรมดี เครอื ขา่ ยดี และมนี วัตกรรมดมี ีประโยชน์

๒.๒ จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน.ใน ๕ ภูมิภาค เป็น Co - Learning Space ศูนย์การเรียนรู้ ท่ี
ทันสมัยสำหรบั ทุกคน โดยเปิดพนื้ ท่ีเพ่ือยกระดับการเรยี นรู้ พรอ้ มเปิดบริการตา่ ง ๆ อาทิ พื้นท่ีสำหรับการทำงาน/
การเรยี นรู้ พืน้ ทส่ี ำหรับทำกิจกรรมตา่ ง ๆ หอ้ งประชมุ กลมุ่ ย่อย รวมทง้ั ให้บริหารห้องสมดุ ทั้งในรูปแบบดิจิทัล และ
สบื ค้นหนังสอื ในหอ้ งสมดุ ด้วยตนเอง บริการอนิ เทอร์เนต็ มลั ตมิ เี ดีย เพ่ือรองรบั การเรยี นรู้แบบ Active learning

๒.๓ พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จำนวน ๑๐๓ แห่ง ให้เป็น Digital Library โดยให้ มี
บริการ Free Wi-fi บรกิ ารหนังสือในรูปแบบ e-Book บรกิ ารคอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอรเ์ นต็ เพอื่ การสบื ค้นข้อมลู

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓๐
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๒.๔ ปรบั ปรุงรถการอ่านเคล่อื นท่ี เพื่อการเข้าถึงการอา่ นในทุกพน้ื ท่ี ทุกชุมชน
๓. ส่งเสรมิ การจดั กจิ กรรมการเรียนร้ทู ีท่ นั สมยั และมปี ระสทิ ธิภาพ : Good Activities

พัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้มีความทันสมัย เอื้อต่อการเรียนรู้ สำหรับทุกคน ที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกท่ีทกุ
เวลา มีกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของ
ประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์
ของคนในชมุ ชนไปสู่การจัดการความร้ขู องชมุ ชนอย่างยัง่ ยืน

๓.๑ พัฒนาการจัดการศกึ ษาออนไลน์ กศน. โดยให้มีการเรียนออนไลน์สายสามัญ การเรียนออนไลน์เรื่อง
ทักษะอาชพี และการพฒั นาเว็บเพจการค้าออนไลน์

๓.๒ ใหม้ หี ลักสตู รลูกเสอื มคั คเุ ทศก์ โดยให้ กศน.จงั หวัดทกุ จงั หวดั / กทม จดั ต้ังกองลูกเสอื ท่ีเป็นลูกเสือที่มี
ความพร้อมด้านทักษะภาษาต่างประเทศเป็นลูกเสือมัคคุเทศก์จังหวัดละ ๑ กอง เพื่อส่งเสริมลูกเสือจิตอาสา
พฒั นาการทอ่ งเที่ยวในแตล่ ะจงั หวัด

๓.๓ เร่งปรับหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. ให้เป็นอาชีพที่รองรับอุตสาหกรรมอนาคต (New
S-curve) โดยเฉพาะจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษให้ดำเนินการโดยเร่งด่วน สำหรับพื้นที่ปกติให้พัฒนา
อาชีพท่ีเน้นการต่อยอดศักยภาพและบริบทตามบรบิ ทของพ้นื ที่

๔. เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครอื ขา่ ย : Good Partnerships
ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือกับภาคีเครอื ข่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสรมิ และสนับสนุนการมีส่วนรว่ มของชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความรว่ มมือในการ
ส่งเสริม สนบั สนนุ และจัดการศึกษาและการเรยี นรใู้ ห้กบั ประชาชนอยา่ งมีคณุ ภาพ

๔.๑ เร่งจดั ทำทำเนยี บภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ในแตล่ ะตำบล เพ่ือใช้ประโยชนจ์ ากภมู ิปัญญาท้องถ่ินในการสร้าง
การเรยี นรู้จากองค์ความรู้ในตวั บุคคลให้เกดิ การถา่ ยทอดภูมิปัญญา สร้างคณุ คา่ ทางวฒั นธรรมอยา่ งยง่ั ยนื

๔.๒ สง่ เสรมิ ภูมิปัญญาท้องถิ่นส่กู ารจัดการเรยี นรชู้ มุ ชน
๔.๓ ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายเพื่อการขยาย และพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยใหเ้ ขา้ ถงึ กลุม่ เป้าหมายทุกกลุม่ อย่างกว้างขวางและมีคณุ ภาพ อาทิ กล่มุ ผสู้ ูงอายุ กลมุ่ อสม.

๕. พฒั นานวตั กรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลมุ่ เป้าหมาย : Good Innovation
ให้พัฒนานวัตกรรมหรือสร้างสรรค์การดำเนินงานใหม่ ๆ เพื่อสร้างมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ พัฒนา

กระบวนการเรียนรู้ใหท้ ันสมัย
๕.๑ เร่งจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษา และพัฒนาผลิตภัณฑ์ Brand กศน. เพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ การ

บรหิ ารจดั การการผลิต การสง่ ออก การตลาด และสรา้ งชอ่ งทางการจำหนา่ ย ตลอดจนส่งเสริมการใชป้ ระโยชน์จาก
เทคโนโลยีในการเผยแพร่และจำหน่ายผลติ ภณั ฑ์

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓๑
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๕.๒ พัฒนาสนิ คา้ และผลติ ภัณฑ์ กศน. พร้อมท้งั ให้มีการคัดเลือกสนิ ค้าและผลติ ภัณฑ์ท่ีเป็นสุดยอด กศน.
ของแต่ละจังหวัด เพื่อส่งไปจัดจำหน่ายยังสถานีจำหน่ายน้ำมัน ซึ่งจะเป็นการสร้างช่องทางจำหน่ายสินค้าและ
ผลติ ภัณฑใ์ หก้ วา้ งขวางย่งิ ขึ้น

๕.๓ สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยใี นการปฏิบตั งิ าน การบริหารจดั การ และการจัดการเรยี นรู้
๕.๔ ใหม้ กี ารใชว้ จิ ยั อย่างง่ายเพอ่ื การสรา้ งนวตั กรรมใหม่

๖. จัดตั้งศูนยก์ ารเรียนรู้สำหรบั ทกุ ช่วงวยั : Good Learning Centre
ท่ีเป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีสามารถให้บรกิ ารประชาชนในชุมชนได้ทุกคน ทกุ ช่วงวัย ท่ีมีกิจกรรมที่

หลากหลาย สนองตอบความต้องการในการเรียนร้ใู นแต่ละช่วงวัย และเป็นศูนยบ์ รกิ ารความรู้ ศนู ย์การจัดกิจกรรม
ทคี่ รอบคลุมทุกกลุ่มวยั เพื่อใหม้ พี ฒั นาการเรียนรู้ที่เหมาะสม และมคี วามสขุ กับการเรียนรูต้ ามความสนใจ

๖.๑ ให้เรง่ ประสานกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐานเพอื่ จัดทำทำเนยี บขอ้ มูลโรงเรียนท่ีถูก
ยบุ รวม หรือคาดว่าน่าจะถูกยุบรวม

๖.๒ ให้สำนักงาน กศน.จังหวัด ในจังหวัดท่ีมีโรงเรียนที่ถูกยุบรวมประสานขอใช้พืน้ ที่ เพื่อจัดตั้ง ศูนย์การ
เรยี นรสู้ ำหรบั ทุกชว่ งวยั กศน.

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓๒
กศน.ตำบลโนนปอแดง

โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน

แนวทางการดำเนนิ งาน
จากสถานการณ์เศรษฐกจิ และความเหล่อื มลํ้าทมี่ ีอย่ใู นสังคมปจั จุบนั แสดงถงึ ฐานเศรษฐกิจของประเทศ ที่

ยังไม่เข้มแข็งประซาซนระดับฐานรากยังมีรายได้น้อย ส่วนใหญ่มีอาชีพภาคการเกษตร จึงไม่มีโอกาสที่จะเติบโต
เป็นชนชั้นกลาง การขาดโอกาสและความรู้เก่ียวกับทักษะด้านอาชีพทำให้เกิดปัญหาในการประกอบอาชีพ เพื่อ
สร้างรายไดจ้ ากผลผลติ ของตนเอง จากสภาวะการดังกล่าว รัฐบาลจึงได้ให้ความสำคัญตอ่ การพฒั นาประเทศ ด้าน
เศรษฐกจิ พนื้ ฐานของประซาซนกลุม่ ดงั กล่าว โดยพยายามที่จะล่งเสริมอาชีพเพ่ือสรา้ งงานและผลผลิต ที่มีคุณภาพ
ให้แก่ประซาซนอย่างทั่วถึงและทุกระดับซั้น ซึ่งการพัฒนาประเทศจะต้องพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของประเทศ
ดังนั้น การจัดการศึกษาจึงเป็นปัจจัยสำคัญอันจะน่าไปสูก่ ารบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ อย่างมีคุณภาพ
และย่งั ยืน เพือ่ ตอบสนองยุทธศาสตรซ์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) ด้านการสรา้ งโอกาส และ ความเสมอภาค
ทางสังคมเพื่อเร่งกระจายโอกาสการพัฒนาให้ทั่วถึง ลดความเหลื่อมลํ้าไปสู่สังคมเสมอภาค และเป็นธรรม
สำนกั งาน กศน. ซ่งึ เปน็ หนว่ ยงานทางการศึกษาทมี่ ีสถานศกึ ษาตัง้ อยู่ในระดับอำเภอ/เขต จำนวน ๙๒๘ แห่ง และ
กศน. ตำบล จำนวน ๗,๔๒๔ แห่ง ได้ขับเคลื่อนโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมซน เพื่อพัฒนา ความรู้และฝึกอาชีพแก่
ประซาซน โดยการจัดกิจกรรมฝกึ อาชพี ภายใต้ ๕ หลกั สตู รกลุม่ อาชพี ไดแ้ ก่ กลมุ่ อาชพี ด้านเกษตรกรรม กลุ่มอาชีพ
ด้านอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม กลุ่มอาชีพด้าน พาณิชย กรรมและบริการ กลุ่มอาชีพ ด้านความคิดสร้างสรรค์
และกลุ่มอาชพี เฉพาะทาง เชน่ ชา่ งไฟฟ้า ช่างซ่อมแอร์ ฯลฯ โดยมุ่งหวงั ให้ประซาซน ที่เขา้ รับการฝกึ อาชีพสามารถ
น่าความรู้ไปไข้ประกอบอาชีพได้มีการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์/บริการให้มีคุณภาพ เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม มีล่ง
เสรมิ การขายและขยายซ่องทางการจำหนา่ ยสินคา้ ไปยงั ผู้บริโภคทีห่ ลากหลาย ภายใต้ Brand กศน. ในอนาคต

แนว,ทางการจัดสรร/เบิกจา่ ยงบประมาณ
การจัดสรรงบประมาณ สำหรับเป็นค่าไข้จ่ายสำหรับการฝึกอาชีพ ให้แก่ประชาชน จำแนกรายละเอียด

ดังนี้
๑.กศน.ตำบล จำนวน๗,๔๒๔ แห่ง ใหบ้ ริการประชาชนแห่งละ๗๐ คนรวมท้ังส้นิ ๕๑๙,๖๘๐ คน
๒.ศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน และศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ รวม ๑๐ แห่ง ให้บริการ

ประชาชนแหง่ ละ ๓๕๐ คน รวมทัง้ สิน้ ๓,๕๐๐ คน

กลมุ่ เปา้ หมาย/งบประมาณ
จำนวนกลมุ่ เปา้ หมายทง้ั ส้ิน ๕๒๓,๑๘๐ คน
คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั กิจกรรมคนละ ๙๐๐ บาท เป็นเงนิ ท้งั สิน้ ๔๗๐,๘๖๒,๐๐๐ บาท
การเบิก-จา่ ย สำหรบั การจัด'ฝึกอาชพี ใน ๒ รูปแบบ มีรายละเอยี ด ดังนี้

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓๓
กศน.ตำบลโนนปอแดง

1. รปู แบบกลมุ่ สนใจ
หลักสูตรอาชีพไม่เกิน ๓๐ ชั่วโมง ผู้เรียนตั้งแต่ ๖ คนขึ้นไป เบิกค่าตอบแทนวิทยากร ได้

ช่ัวโมงละไมเ่ กิน ๒๐๐ บาท และคา่ วัสดฝุ ึกให้เบกิ ได้ในกรณีทม่ี กี ารฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ ไม่เกิน ๑,๐๐๐ บาท/กลมุ่
2. รปู แบบชนั้ เรียนวิชาชีพ
หลักสตู รฝกึ อาชีพท่ีมีระยะเวลาการฝึกอาชีพตั้งแต่ ๓๑ ช่ัวโมงข้นึ ไป จำนวนผู้เรียน ต้ังแต่

๑๑ คนขึ้นไป เบิกค่าตอบแทนวิทยากรได้ชั่วโมงละ ๒๐๐ บาท ค่าวัสดุฝึกไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท ทั้งนี้ หากราย
วิชาชีพใด มีความจำเป็นต้องใช้ค่าวัสดุเกินกว่าที่กำหนด ให้ขอความเห็นชอบต่อผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.
จังหวัด/กทม. โดยผ่านคณะกรรมการที่สำนักงาน กศน.จังหวัด/กทม. แต่งตั้ง เพื่อพิจารณา ตามความเหมาะสม
ภายในวงเงินงบประมาณและเปา้ หมายทจี่ งั หวดั ไดร้ บั จดั สรร

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓๔
กศน.ตำบลโนนปอแดง

โครงการภาษาต่างประเทศเพือ่ การสื่อสารด้านอาชีพ

แนวทางการดำเนินงาน
1. สำนักงาน กศน.โอนเงินงบประมาณให้กับสำนักงาน กศน.จังหวัดทุกแห่ง/กทม. เพื่อน่าไปจัดสรรให้

สถานศึกษาในสังกัดในการใช้เป็นคา่ ใช้จา่ ยการอบรมภาษาตา่ งประเทศเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพให้กับ ประชาชน
ในพื้นที่ตามเป้าหมายที่แต่ละจังหวัดกำหนด โดยหลักสูตรละไม่ตํ่ากว่า ๑๕ คน ตามที่ได้สำรวจความ ต้องการจัด
อบรมตามโครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ทั้งนี้ในกรณีท่ี
เป้าหมายไมเ่ พยี งพอ สำนกั งาน กศน.จงั หวัด/กทม. สามารถบริหารจดั การจำนวนเปา้ หมายให้ เหมาะสมตามบริบท
ซองพื้นท่ี

2. ใหส้ ถานศกึ ษาในสงั กัดทตี่ ้องการจดั อบรมดำเนนิ การ ดังน้ี
2.1 จัดทำโครงการอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ พร้อมหลักสูตรบรรจุ ใน

แผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา เสนอขอความเห็นชอบต่อสำนักงาน กศน.จังหวัด/กทม. (กรณีมี การ
เปลย่ี นแปลงไปจากที่ได้รับความเหน็ ชอบไวเ้ ดิม)

2.2 การจัดทำหลักสูตรภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ สามารถใช้เอกสารทางวิซาการ
ซองกล่มุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สำนกั งาน กศน.

2.3 จัดทำคำสัง่ แต่งต้ังคณะทำงานโครงการภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการสือ่ สารดา้ นอาชีพ
2.4 จัดอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพตามโครงการที่ได้รับความเห็นชอบจาก
ผอู้ ำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวดั /กทม. และตามหลักสูตรทไ่ี ดร้ ับการอนมุ ตั ิจากผ้อู ำนวยการสถานศึกษา
2.5 ประเมินผลความพึงพอใจและประเมินตามวัตถุประสงค์ซองหลักสูตรหลังการฝึกอบรม และ มอบ
วุฒิบัตรให้กับผู้ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ โดยผู้ เข้ารับการ อบรม
จะต้องมีระยะเวลาในการอบรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของโครงการ/หลกั สตู ร
2.6 สรุปและรายงานผลการดำเนนิ งานโครงการฯ พรอ้ มทง้ั แนบรปู ภาพการจัดกจิ กรรมอบรม ส่งไป ยัง
สำนักงาน กศน.จังหวัด/กทม. เพื่อรวบรวมข้อมูลต่อไป ทั้งนี้ การรายงานผลให้รายงานในระบบ DMIS พร้อมท้ัง
แนบรูปภาพการจัดกิจกรรมอบรม
3. ให้สำนักงาน กศน.จังหวัดทุกแห่ง/กทม. ที่ต้องการจัดอบรมดำเนินการสรุปและรายงานผลการ
ดำเนินงานโครงการฯ ซองสถานศึกษาในสังกัด โดยใหเ้ จ้าหน้าท่ผี ู้รบั ผิดขอบโครงการน้ีของสำนักงาน กศน. จังหวัด
ทุกแห่ง/กทม. เท่านั้น เป็นผู้กรอกข้อมูลใน Google form หรือสแกน QR code ที่กำหนดไว้ พร้อมทั้ง แนบ
รปู ภาพการจดั กิจกรรมอบรม ไปยงั สำนกั งาน กศน.
4 คณะทำงานลงพื้นที่เป้าหมายเพื่อนิเทศ ติดตามและประเมินผล พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
การดำเนินงานโครงการภาษาต่างประเทศเพอื่ การส่อื สารดา้ นอาชพี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓๕
กศน.ตำบลโนนปอแดง

แนวทางการจดั สรร/เบิกจ่ายงบประมาณ

1. แนวทางการจดั สรร
สำนักงาน กศน. โอนเงินงบประมาณให้กับสำนักงาน กศน.จังหวัดทุกแห่ง/กทม.เพื่อน่าไปจัดสรร ให้

สถานศึกษาในสังกัดในการใช้เป็นค่าใช้จ่ายการอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชพี ให้กับ ประซาซน
ในพื้นทตี่ ามเปา้ หมายท่ีแต่ละจงั หวดั กำหนด หลกั สตู รละไมต่ ่าํ กวา่ ๑๕ คน ตามทีไ่ ด้สำรวจ ความตอ้ งการจัดอบรม
ตามโครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ทั้งนี้ในกรณีที่
เปา้ หมายไม่เพียงพอ สำนกั งาน กศน.จังหวัด/กทม. สามารถบริหารจัดการจำนวน เปา้ หมายใหเ้ หมาะสมตามบริบท
ของพน้ื ที่

2. การเบกิ จา่ ยงบประมาณ
ให้ใช้หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประซาซนของสถานศึกษา สังกัด

สำนักงาน กศน. พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามหนังสือสำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ดว่ นท่ีสุด ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๐๔/๘๐๒๑
ลงวันที่ ๕ มถิ ุนายน ๒๕๖๒

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓๖
กศน.ตำบลโนนปอแดง

โครงการพฒั นาทักษะครู กศน. ตน้ แบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร

แนวทางการดำเนินงาน
1. สำนักงาน กศน. กำหนดกรอบการดำเนนิ งานโครงการ
2. จัดทำเกณฑ์การคดั เลอื กผู้เข้าร่วมโครงการอบรมฯ
3. คัดเลอื กผู้เขา้ รับการอบรมจากเกณฑ์การคดั เลือก
4. คัดเลือกสถาบันการสอนภาษาอังกฤษ/หลักสูตรการอบรมเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ

เปา้ หมายของโครงการ
5. ดำเนินการอบรม
6. ติดตาม ประเมินผล

แนวทางการจัดสรร/เบกิ จา่ ยงบประมาณ
1. ค่าใช้จ่ายในการประชุมกำหนดกรอบในการดำเนินงานเพื่อการจัดอบรมครู กศน.ต้นแบบการสอน

ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่อื สาร
2. ค่าใช้จ่ายในการประชุมร่วมกับสถาบันการสอนภาษาอังกฤษ/หน่วยงานในการจัดโครงการอบรม ครู

กศน.ตน้ แบบการสอนภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สารเพื่อกำหนดรปู แบบในการจัดอบรมครู กศน.
3. คา่ ใช้จ่ายในการจัดประชมุ จัดทำเกณฑค์ ดั เลอื กครู กศน.
4. ค่าใช้จ่ายในการค่าลงทะเบียนโครงการอบรมครู กศน. ต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

กับ สถาบันการสอนภาษาองั กฤษ/หน่วยงานในการจัดโครงการอบรมครู กศน.ฯ (โอน งปม. ไปที่ สำนักงาน กศน.
จังหวดั สำหรับผู้ท่ไี ด้รับการคดั เลือกเชา้ ร่วมโครงการ)

5. ลงพื้นที่ดำเนินการจัดประชุมติดตามประเมินโครงการพัฒนาครู กศน. ต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษ
เพื่อการส่อื สาร จำนวน ๕ ภาค

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓๗
กศน.ตำบลโนนปอแดง

โครงการคลังความรู้ กศน. เพอ่ื การพฒั นาคุณภาพชวี ิต
(Thailand Knowledge Portal : TKP)

แนวทางการดำเนนิ งาน
1) การประสานแผนการดำเนนิ งานกับสถาบนั กศน.ภาคทง้ั ๕ ภาค และสำนกั งาน กศน.

กรุงเทพมหานคร
2) กลุ่มแผนงานโอนงบประมาณค่าใช้จ่ายให้กับสถาบัน กศน. ภาค ทั้ง ๕ ภาค และสำนักงาน กศน.

กรงุ เทพมหานคร ตามสัดส่วนครู กศน.ตำบลในภาคนั้น ๆ ในอตั รา ๑,๐๐๐ บาทตอ่ หัว
3) สถาบัน กศน. ภาคและสำนักงาน กศน. กรุงเทพมหานคร จัดตัง้ คณะทำงานรว่ มกับสำนักงาน กศน.

จังหวดั ดำเนินการพฒั นาบคุ ลากร
4) คณะทำงานสถาบนั กศน. ภาค และสานกั งาน กศน.กรุงเทพมหานคร ดำเนินการประชมุ ปฏบิ ตั กิ าร

บุคลากร กศน.ตำบล จำนวน ๗,๔๐๐ คน ท่วั ประเทศ (ตามรายภาค)
5) จัดประชุมเพื่อจัดระบบข้อมูลที่ได้มาจากชุมซน ผ่านระบบ API ของ Google มาพัฒนาเป็น

Knowledge Bank

แนวทางการจัดสรร/เบกิ จา่ ยงบประมาณ จำนวน หมายเหตุ
๗,๔๐๐,๐๐๐ บาท
ท่ี การจัดสรร
๑. จัดสรรให้สถาบัน กศน. ภาค เพื่อจัดประชุม ๓๐๗,๒๐๐ บาท
๑,๔๕๐,๘๐๐ บาท
ปฏิบัติการ ครู กศน ตำบล คิดเป็นรายหัวละ
๒. ๑จดั,๐ส๐รร๐ใหบ้สาถทาบจำันนกวานรศ๗ึก,ษ๔า๐ท๐างคไกนล

- คา่ ใช้จา่ ยสำหรับคณะวทิ ยากร

- ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมเพื่อจัดระบบข้อมูล
ทไ่ี ด้มา จากชุมซน ผ่านระบบ API ซอง Google มา
พัฒนาเปน็ Knowledge Bank จำนวน ๖ ครั้ง

- จดั ทำคู่มอื การดำเนนิ งานคลงั ความรู้ กศน. ๓๗๐,๐๐๐ บาท

เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ๗,๔๐๐ เล่ม ๆ ละ ๕๐

บาท รวมท้ังสิน้ ๙,๕๒๘,๐๐๐ บาท

๘,๐๐๐ บาท

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓๘
กศน.ตำบลโนนปอแดง

โครงการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม
อัธยาศัยสำหรบั คนพกิ าร

แนวทางการดำเนินงาน

1. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดทำเอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ

เกย่ี วกับวธิ ีการใช้แบบคดั กรองคนพิการทางการศึกษา

2. จัดประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารครผู สู้ อนคนพกิ าร จำนวน ๓๐๐ คน จากครผู ู้สอนคนพิการทย่ี งั ไม่ผา่ นการ

อบรมการใช้แบบคดั กรองคนพิการทางการศึกษา ให้มีความรู้และสามารถทำหน้าที่คัดกรองบุคคลของสถานศึกษา

ว่า เป็นคนพิการประเภทต่าง ๆ และน่าผลการรับรองพร้อมข้อมูลจากการคัดกรองมาประกอบการพิจารณาจัดทำ

แผน จัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล

3. สรปุ และติดตามผลการดำเนนิ งาน

แนวทางการจดั สรร/เบิกจา่ ยงบประมาณ

รายการ ไตรมาส ๑-๒ จำนวนเงนิ /บาท คิดเปน็
ไตรมาส ๓-๔ รวมทงั้ สน้ิ รอ้ ยละ

• งปม. ทไ่ี ดร้ ับ รวมทงั้ สนิ้ - ๒,๕๒๕,๙๐
๒,๕๒๕,๙๐๐ ๐
• แผนการใช้เงิน :- จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ

ครูผู้สอนคนพิการ/สรปุ และ ติดตามผล ๑๐๐

การดำเนนิ งาน

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓๙
กศน.ตำบลโนนปอแดง

โครงการความร่วมมอื การผลิตผู้ดแู ลผู้สงู อายุ
ระหว่างกระทรวงศึกษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการดำเนนิ งาน
1. จัดประชมุ ช้ีแจงสร้างความเข้าใจ
2. สำรวจและให้พื้นท่ยี ืนยันความพร้อมความต้องการจดั อบรมหลกั สตู รการดูแลผู้สูงอายขุ องกรมอนามัย
3. จดั สรรเงินงบประมาณ ให้สำนกั งาน กศน. จังหวัด ตามจำนวน กศน. อำเภอ ท่ียืนยนั ความพร้อม
4. สำนกั งาน กศน. จงั หวัด จดั ทำและจัดส่งแผนปฏบิ ัตกิ ารให้สำนักงาน กศน.
5. กำกบั ตดิ ตาม แก้ไขปัญหาและสรุปผลการดำเนนิ งานร่วมกับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการจัดสรร/เบกิ จ่าย

งบประมาณ แนวทางการจัดสรร
การเบิกจา่ ยงบประมาณ

รายการ จำนวนเงิน/บาท คิดเปน็ จัดสรรใหแ้ ก่
ร้อยละ
ไตรมาส ๑-๒ ไตรมาส ๓-๔ รวมท้ังสิ้น
๘๙.๒๙ • สำนกั งาน กศน. จงั หวัด/กทม.
• งปม. ที่ได้รับ รวม ๖,๗๒๐,๐๐๐ ๖,๗๒๐,๐๐๐ ๑๓,๔๔๐, ๑๐.๗๑ • ศกพ.

ทงั้ ส• ิ้นแผนการใชเ้ งนิ ๐๐๐
- จดั อบรม ๖,๐๐๐,๐๐๐ ๖,๐๐๐,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐,๐๐

- บรหิ ารจดั การ ๗๒๐,๐๐๐ ๗๒๐,๐๐๐ ๑,๔๔๐,๐๐๐๐

๑. กรอบวงเงินงบประมาณการจัดอบรม หลักสตู ร/บาท
๗๐ ช่ัวโมง ๔๒๐ ช่วั โมง
รายการคา่ ใชจ้ า่ ย
๑๔,๐๐๐ ๘๔,๐๐๐
• ค่าตอบแทนวทิ ยากร (ช่ัวโมงละ ๒๐๐ บาท)
• ค่าบรหิ ารจดั การและค่าวัสดสุ ิ้นเปลอื งในการจดั อบรม ๑๑,๗๐๐ ๕๗,๐๐๐

รวมท้งั สิ้น ๒๕,๗๐๐ ๑๔๑,๐๐๐

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๔๐
กศน.ตำบลโนนปอแดง

๒. แนวปฏิบัติการเบกิ จ่ายการจัดอบรม
เป็นไปตามหนังสอื สำนกั งาน กศน. ดว่ นท่สี ดุ ที่ ศธ ๐๒๑๐.๑๒๑/๕๓๕๑ ลงจันท่ี ๒๖ กันยายน ๒๕๕๙
ดงั น้ี

1. คา่ ตอบแทนวทิ ยากร ใหเ้ บกิ จ่ายในอัตราชวั่ โมงละไมเ่ กิน ๒๐๐ บาท
2. ค่าบรหิ ารจดั การและคา่ วสั ดุ ให้เบิกจา่ ยเทา่ ทีจ่ ่ายจรงิ ตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด เพอ่ื
ประโยชนข์ องทางราชการ ภายในวงเงนิ งบประมาณทไ่ี ด้รับจดั สรรเมื่อหกั ค่าตอบแทนวิทยากร
3. ให้เบกิ จา่ ยค่าตอบแทนวทิ ยากรไดไมเ่ กินวันละ ๖ ชัว่ โมง
4. ให้ยมื เงินราชการจากโครงการมาจ่ายเป็นคา่ ตอบแทนวิทยากรไดเ้ ทา่ ท่จี ำเป็น

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๔๑
กศน.ตำบลโนนปอแดง

โครงการการจดั และสง่ เสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชีวิต
เพือ่ คงพัฒนาการทางกายจติ และสมองของผู้สงู อายุ

แนวทางการดำเนนิ งาน

1. พฒั นาการจดั และส่งเสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชวี ติ เพื่อคงพฒั นาการทางกาย จิต และสมอง ของ

ผสู้ งู อายุ

2. สำรวจและให้สถานศึกษาทุกประเภทยืนยันความพร้อมความต้องการจัดกิจกรรมคงพัฒนาการ

ทางกาย จิตและสมองของผ้สู ูงอายุ ในรปู แบบท่เี ป็นไปตามความตอ้ งการของผสู้ ูงอายุและศักยภาพ

ของบุคลากร ที่เป็นกิจกรรมทักษะชวี ิต กลุ่มสนใจ การศึกษาตามอัธยาศัยผ่านห้องสมุดประชาชน

บ้านหนังสือชุมชน รวมทั้งพื้นที่สาธารณะอื่น ๆ ที่มีในชุมชน เช่น โรงเรียนผู้สูงอายุ ศาลา

อเนกประสงค์ ฯลฯ

3. จัดสรรเงนิ งบประมาณ ใหห้ น่วยงาน/สถานศกึ ษา ตามขอ้ มูลทีย่ ืนยันความต้องการจดั กจิ กรรม

4. หน่วยงาน/สถานศกึ ษา จัดทำและจดั สง่ แผนปฏิบตั กิ ารให้สำนกั งาน กศน.

5. กำกับ ตดิ ตาม แก้ไขปัญหาและสรปุ ผลการดำเนนิ งานรว่ มกับกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการจดั สรร/เบกิ จ่ายงบประมาณ

แนวทางการจัดสรร

รายการ ไตรมาส จำนวนเงิน/บาท รวมท้งั ส้ิน คิดเปน็ จัดสรรให้แก่
๑-๒ รอ้ ยละ
ไตรมาส
๓-๔

• งปม. ท่ไี ด้รับ รวมท้งั สน้ิ ๕๐,๔๙๒,๙๐๐ ๕๐,๔๙๒,๙๐๐ ๑๐๐,๙๘๕,๘๐
• แผนการใชเ้ งิน ๐

- จดั กิจกรรมในพื้นท่ี ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐ ๙๙.๐๒ • สถานศกึ ษาทีม่ ีความตอ้ งการ

- พัฒนาและบริหารจัดการ
๔๙๒,๙๐๐ ๔๙๒,๙๐๐ ๙๘๕,๘๐๐ ๐.๙๘ • ศกพ.

การเบิกจ่ายงบประมาณ
1. กรอบวงเงนิ การจดั สรร : จัดสรรใหเ้ ปน็ รายหัว ๑๐๐ บาท ต่อผ้สู งู อายุ ๑ คน
2. จัดกจิ กรรมการศึกษาตลอดชวี ติ ลกั ษณะใด ให้เบิกจา่ ยตามระเบยี บในเร่ืองนน้ั ๆ

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๔๒
กศน.ตำบลโนนปอแดง

โครงการเพ่ิมพนู ศกั ยภาพและสานพลงั การสร้างความรอบรู้
ใหค้ นรนุ่ ใหมเ่ ตรยี มความพรอ้ มในทกุ มติ ิ

แนวทางการดำเนินงาน
๑.สร้างแผนการดำเนินงาน ๒ ระดับ ไดแ้ ก่ แผนการดำเนนิ งานระดับส่วนกลาง และระดับพื้นท่ี
๒.พัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินการบูรณาการ (ระบบข้อมูล ระบบคลังปัญญา ระบบการจัดทำ

และใชแ้ ผนสู่การปฏิบัติ ช่องทางการสื่อสารทีม่ ีประสทิ ธภิ าพของกลไกขับเคลื่อน บูรณาการฯ)
๓.จัดทำแนวทางและกระบวนการพัฒนาศักยภาพกลไกบูรณาการแต่ละประเด็นโดยผู้เชี่ยวชาญและ ทีม

วิชาการ
๔.จัดการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อขับเคลื่อนการออกแบบการทำงาน สร้างความ

รอบรใู หค้ นรนุ่ ใหม่เตรยี มความพร้อมในทุกมิติ แบบบรู ณาการ ๕ ภาค
๕.เติมเต็มศักยภาพทีมน่าบูรณาการ เก็บข้อมูลเพื่อเรียนรู้ สร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ใน ๒

รูปแบบ ดงั นี้
๕.๑ผ่านซอ่ งทางการติดตอ่ ล่อื สารแบบ Social Media
๕.๒ผา่ นการลงพืน้ ท่ีอย่างนอ้ ย ๑๙ จงั หวดั

๖.จดั เวทวี ิชาการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ๕ ภาค ภายใตก้ ลไกสรา้ งการเรียนรแู้ ละเครอื ขา่ ยบรู ณาการ

แนวทางการจัดสรร/เบกิ จา่ ยงบประมาณ จำนวนเงิน/บาท รวมทั้งสิน้ คิดเป็น จัดสรรใหแ้ ก่
ไตรมาส ๑-๒ไตรมาส ๓-๔ ร้อยละ
รายการ
๔,๐๐๐,๐๐๐ ๖,๐๐๐,๐๐๐ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐
• งปม. ทไ่ี ดร้ ับ รวมท้ังสนิ้
• แผนการใช้เงนิ ๕๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ ๕.๐๐ • ศกพ.
๑๕๐,๐๐๐ ๑๕๐,๐๐๐ ๑.๕๐
๑) สร้างแผนการดำเนินงาน ๑๕๐,๐๐๐ ๑๕๐,๐๐๐ ๑.๕๐
๒) พัฒนาเคร่อื งมือสนบั สนนุ ๓,๐๐๐,๐๐๐
๓) จดั ทำแนวทาง ๒๐๐,๐๐๐ ๓,๐๐๐,๐๐๐ ๓๐.๐๐
๔) พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร ๕ ภาค ๑,๐๐๐,๐๐ ๑,๒๐๐,๐๐๐ ๑๒.๐๐
๕) เตมิ เต็มศกั ยภาพทมี นำ ๐๕,๐๐๐,๐๐ ๕,๐๐๐,๐๐๐ ๕๐.๐๐
๖) จัดเวทีวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๕ ภาค ๐

การเบิกจา่ ยงบประมาณ
เบิกจ่ายตามระเบียบที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการจัดประชุม ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ และ
คา่ ใช้จา่ ยในการจดั 'ฝกึ อบรม สัมมนา

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๔๓
กศน.ตำบลโนนปอแดง

วาระการขบั เคล่อื นจังหวดั เลย (THAILOEI ๔.๐)

เพ่อื ให้จงั หวดั เลขสามารถดำเนนิ การตามนโยบาย คสช.รัฐบาล และสอดรบั กับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๒ นโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ ตลอดจนวิสัยทัศน์ของจังหวัดเลย
“เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายการพัฒนาที่ยั่งยืน” ซึ่งหัวหน้าส่วนราชการและ
คณะกรรมการจังหวัดเลย มีมติเมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๐ กำหนดวาระการขับเคลื่อนจังหวัดเลย (THAILOEI
๔.๐) รวม ๘ ประเด็น เพือ่ ให้เกดิ ความม่ันคง มง่ั คงั่ ย่งั ยืน ดังน้ี

Tourism and Sports ยะระดับแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐานสร้างมลู ค่าผลิตภัณฑแ์ ละบริการด้านการ
ท่องเทย่ี ว สง่ เสริมการตลาดและพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการท่องเทยี่ ว อนุรกั ษ์ฟ้ืนฟธู รรมชาติและส่ิงแวดล้อม
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เป็นมิตรกับคนทั้งมวลเสริมสร้างการท่องเที่ยวชุมชน การ
ทอ่ งเท่ียวเชงิ สรา้ งสรรค์ ภมู ิปญั ญา การเกษตร และศิลปวฒั นธรรมไปสกู่ ารสร้างมลู คา่ ดา้ นการทอ่ งเที่ยวใหส้ ามารถ
สร้างและกระจายรายได้แก่ประชาชน ส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกาย เล่นกีฬา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และ
พัฒนากฬี าสู่ความเป็นเลศิ

Health สง่ เสรมิ ประชาชนชาวเลยให้มีการกนิ ดอี ย่ดู ี มคี วามร้คู วามเข้าใจและตระหนกั ในการดแู ลสุขภาพ
อนามัยทั้งทางร่ายกายและจิตใจของตนเองที่เหมาะสม สามารถถึงการรักษาพยาบาลอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง
ยกระดบั การบริการสาธารณสุข สรา้ งวัฒนธรรม การบรโิ ภคทีป่ ลอดภัย

Agriculture ส่งเสรมิ การเกษตรแบบผสมผสาน และทันสมยั โดยการนำเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมมาใช้ใน
การยกระดับคุณภาพและผลผลิตทาการเกษตร การแปรรู้สินค้าภาคเกษตรให้มีคุณภาพและมาตรฐาน พัฒนาและ
เพิ่มแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ผลักดันการพัฒนาเกษตรกรให้เป็น Young Smart Farmer/Samar Farmer สร้าง
ความเข็มแข็งให้กับ สถาบันเกษตรกร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรรวมทั้งมีเครือข่ายธุรกิจ มุ่นเน้นการส่งเสริมและ
การพัฒนาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมีการบริหารจัดการทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน ควบคู่ไปกับการน้อมนำ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เพื่อสร้างความม่ันคง และความปลอดภัยทางอาหารแก่
ชาวเลย ชาวไทยและนานาประเทศ

Investment and Trade เพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการค้า การ
บรกิ าร และการผลิต การสง่ เสริม SMEs/ Start up วสิ าหกิจชมุ ชน สถาบนั สหกรณ์ กลุม่ อาชพี ต่างๆ อำนวยความ
สะดวกด้านการค้าและการลงทนุ ส่งเสรมิ การค้าชายแดน การจา้ งงานท่ีมีคุณค่า การพัฒนาสมั มาชพี เศรษฐกิจฐาน
รากและประชารัฐ OTOP ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตและบริการภายใต้การ
พฒั นาทยี่ ั่งยนื

Loei for All ยกระดับคุณภาพชีวิต สร้างศักยภาพคนและชุมชนให้เข้มแข็ง ปรับปรุงและพัฒนาบริการ
ภาครัฐมุ่งสู่ความเป็นสากล โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตามแนวทางประชารัฐ การพัฒนาเพื่อเสริมสร้าง
ความมั่นคง การลดความเหลื่อมล้ำ ส่งเสริมคามเสมอภาคทางสังคมและความเท่าเทียมทางเพศ การขจัดความ
ยากจน สร้างงาน สร้างอาชีพ สรา้ งรายได้ มนุ่ เน้นการพัฒนาเด็กและเยาวชน สตรี ผสู้ งู อายุ คนพิการผู้ด้อยโอกาส

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๔๔
กศน.ตำบลโนนปอแดง

และ “บำบัดทุกข์ บำรุงสุข” แก่ทุกกลุ่ม พัฒนาบ้านเมืองให้สะอาด แก้ไขปัญหายาเสพติด อำนวยความยุติธรรม
สร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อย มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ให้มีความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย
เสริมสร้างวินยั จราจร เปน็ ถ่นิ ฐานทปี่ ลอดภัยสำหรับอย่อู าศัย เพือ่ ความสงบสุขอยา่ งยั่งยนื

Open Town to arts and Culture เทิดทูนสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์และทำนุบำรุงศิลปะ
วัฒนธรรม ประเพณี ภาษาพนื้ ถ่นิ ใหม้ ีการรักษา สบื ทอดและพัฒนาอยา่ งยั่งยืน สรา้ งจติ สำนกึ ค่านิยม และวิถีชีวิต
ทด่ี งี ามในสังคม สง่ เสรมิ ตอ่ ยอดทุนทางศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีภมู ิปัญญาท้องถ่ิน เพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ
สง่ เสริมความสัมพันธ์ทางวฒั นธรรมกบั ประเทศเพ่ือนบา้ น เพื่อนำเลยไปสู่สากล

Education ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานสากล ส่งเสริมการเรียนรู้และทักษะวิชาชีพตลอด
ชีวิต จดั การเรียนร้อู ยา่ งมีเป้าหมายเพ่อื สว่ นรวม เน้นการนำความรไู้ ปสกู่ ารปฏิบตั ิ สามารถใชค้ วามรู้สรา้ งนวัตกรรม
เปน็ พลเมอื งทีด่ ีและพัฒนาทักษะชวี ติ สู่งานอาชีพ ภายใต้การเตรียมคนในศตวรรษท่ี ๒๑ โดยการมีส่วนร่วมของทุก
ภาคสว่ นตามแนวทางประชารฐั

Integrity ส่งเสริมการใช้หลักธรรมาภิบาล การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีในทุกภาคส่วนเสริมสร้าง
คุณธรรม จรยิ ธรรมและรู้จักพอเพียง มคี วามสามัคคี มวี นิ ัย ทำนุบำรุง และสง่ เสรมิ ศาสนา จารีตประเพณีอันดีงาม
ส่งเสริมให้ชาวเลยมีความปรองดองสมานฉันท์ เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุขใชว้ ิถีวฒั นธรรม และแนวทางศาสนาในการดำรงชีวิต ส่งเสรมิ ใหช้ ุมชนเข้มแข็ง
สงบสุข ส่งเสริมและปลูกฝังให้ชาวเลยมีความเข้าใจในสิทธิและหน้าที่ ความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริต เอ้ือ
อาทร ชว่ ยเหลอื เกื้อกลู เคารพกฎหาย กตกิ าสังคม และครรลองคลองธรรมท่ดี ี

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๔๕
กศน.ตำบลโนนปอแดง


Click to View FlipBook Version