(รา่ ง)
ขอ้ บังคับสโมสรลกู เสือคุณภาพ
พ.ศ. .....
มงุ่ ม่นั พัฒนา ด้วยศรัทธา สูค่ ณุ ภาพ
(รา่ ง)
ข้อบังคบั สโมสรลกู เสอื คุณภาพ
พ.ศ. ....
---------------------------------------
สบื เนือ่ งจากการประชุมใหญส่ ามญั ของสโมสรลูกเสอื คุณภาพ ประจำปี 2563 เมอ่ื วนั ที่ 26
กรกฎาคม 2563 ทปี่ ระชมุ มมี ติให้แก้ไขขอ้ บงั คับสโมสรลกู เสือคุณภาพ
อาศัยอำนาจตามความในขอ้ 11 (1) แหง่ ขอ้ บงั คับคณะลูกเสือแห่งชาติ วา่ ด้วยการกอ่ ตง้ั สโมสร
ลูกเสอื แห่งชาติ ประกอบกับมติทีป่ ระชุมสามญั ประจำปี ... เม่ือวันที่ ... เดอื น ... พ.ศ. .... จงึ ออกข้อบงั คบั
สโมสรลกู เสอื คุณภาพ ดังต่อไปนี้
ข้อที่ 1 ข้อบงั คับนเ้ี รยี กว่า “ข้อบงั คบั สโมสรลกู เสอื คณุ ภาพ พ.ศ. ....”
ข้อท่ี 2 ข้อบังคบั น้ใี หใ้ ชบ้ งั คับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ขอ้ ที่ 3 ในข้อบงั คบั นี้
“สโมสร” หมายความว่า สโมสรลูกเสือคุณภาพ
“สมาชิก“ หมายความว่า สมาชิกสโมสรลกู เสือคณุ ภาพ
“คณะกรรมการบรหิ าร” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารสโมสรลูกเสอื คุณภาพ
“นายกสโมสร” หมายความวา่ นายกสโมสรลกู เสือคณุ ภาพ
“เลขาธกิ าร” หมายความวา่ เลขาธกิ ารสโมสรลูกเสอื คณุ ภาพ
ขอ้ ท่ี 4 ให้นายกสโมสรเปน็ ผู้รักษาการตามขอ้ บงั คับน้ี และมอี ำนาจตคี วามและวินิจฉัยช้ีขาดเกีย่ วกบั
การปฏบิ ตั งิ านตามขอ้ บงั คับนี้
ในกรณีที่นายกสโมสร ไมส่ ามารถช้ีขาดปัญหาได้ ใหเ้ สนอคณะกรรมการบรหิ ารเปน็ ผวู้ ินิจฉัย
ช้ขี าด และคำวินจิ ฉยั ของคณะกรรมการบรหิ าร ถอื วา่ เป็นท่ีส้ินสุด
หมวดที่ ๑
บทท่วั ไป
-----------------------------
ขอ้ 5 ช่ือสโมสร สโมสรน้มี ีช่ือว่า
(1) ชื่อภาษาไทย “ สโมสรลกู เสือคุณภาพ ”
(2) ช่อื ย่อภาษาไทย “ สลคภ. ”
(3) ชื่อภาษาองั กฤษ “ QUALITY SCOUT CLUB ”
(4) ชอ่ื ย่อภาษาองั กฤษ “ QSC ”
(5) คำขวัญ “ มุง่ มนั่ พัฒนา ดว้ ยศรัทธา สู่คุณภาพ ”
(6) คำขวญั ภาษาองั กฤษ “Spirit Develop Trust Faith Quality”
(7) สีสโมสร “ ส้ม - ขาบ”
ข้อ 6 สำนกั งานของสโมสร ต้ังอยู่ ณ เลขท่ี ๒๘/๒๔ หมู่ ๑ ตำบลบางศรีเมือง อำเภอเมอื งนนทบรุ ี
จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๑๙๒๓ ๖๐๗๘ อเี มล [email protected]
ข้อ 7 สัญลกั ษณ์ของสโมสร ประกอบดว้ ย สัญลักษณค์ ณะลกู เสือแหง่ ชาติ บนพ้นื ธงชาติไทย ในวงรี
สีฟ้า ภายในเครื่องหมายแปดเหลี่ยมสีม่วง ขอบเหลือง อยู่เหนือข้อความชื่อสโมสรภาษาไทย และ
ภาษาอังกฤษ ในแพรแถบสีเหลอื ง อยู่บนวงกลมสสี ม้ ขอบสขี าว และสีขาบอยู่นอกสดุ
โดยมคี วามหมาย ดงั น้ี
(๑) สญั ลกั ษณ์คณะลูกเสือแห่งชาติ บนพนื้ ธงชาตไิ ทย หมายถึง การเปน็ สมาชิกของคณะ
ลูกเสอื ไทย
(๒) เครอ่ื งหมายแปดเหล่ียม หมายถงึ ความปลอดภยั ความย่งั ยนื ความมงุ่ มน่ั พฒั นา ดว้ ย
ศรัทธาสู่คุณภาพ
(๓) สีส้ม หมายถึง ความมีพลงั และความสามัคคี
(๔) สีขาบ หมายถึง สีแทนวันพระราชสมภพ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว
(๕) สมี ่วง หมายถงึ การเป็นสมาชิกของลูกเสือโลก
(๖) สเี หลือง หมายถงึ ความร่งุ เรอื ง ราบรืน่ และความเจรญิ
(๗) สีขาว หมายถงึ ความบริสุทธ์ิ ความโปรง่ ใส
ข้อ 8 วัตถปุ ระสงค์ของสโมสร
(1) เพอ่ื ให้สมาชิกยึดมั่นและปฏิบตั ิตามคำปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื
(2) เพ่อื ธำรงไวซ้ ่ึงสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
(3) เพอ่ื เปน็ การสง่ เสรมิ สนบั สนุน กิจการลูกเสอื ของสำนกั งานลกู เสือจังหวดั และคณะ
ลูกเสอื แหง่ ชาติ
(4) เพ่ือส่งเสริม สนบั สนุน สมาชิก เยาวชน และบุคคลทั่วไป ใหม้ ีความรู้ ความกา้ วหนา้ ใน
กิจการลูกเสือ
(5) เพอ่ื ส่งเสรมิ สนับสนุน สมาชิก ใหม้ สี ่วนรว่ มในกจิ กรรมของสโมสรอยา่ งท่ัวถงึ
(6) เพอื่ เผยแพร่ข่าวสาร กิจกรรมของคณะลูกเสือแห่งชาติและสโมสร ให้สมาชกิ และชุมชน
(7) เพอ่ื ดำเนนิ การหรอื ร่วมมือกับองคก์ รการกุศลและองค์การสาธารณประโยชน์
หมวดท่ี ๒
สมาชกิ
ขอ้ 9 สมาชกิ สโมสรลกู เสอื คุณภาพ มี ๓ ประเภท
(1) สมาชกิ สามัญ
(2) สมาชิกวิสามญั
(3) สมาชิกกิตติมศักดิ์
ข้อ 10 สมาชกิ สามัญ ได้แก่ บุคลากรทางการลกู เสอื และมคี ุณสมบตั ิดงั น้ี
(1) เปน็ ผมู้ อี ายุไมต่ ำ่ กว่า 20 ปี
(2) เปน็ ผผู้ ่านการอบรมวชิ าผู้กำกับลกู เสอื ข้นั ความรู้เบื้องต้น (B.T.C.)
(3) เป็นผู้มีความประพฤตเิ รียบร้อย
(4) เป็นผมู้ ีศรทั ธาในกจิ การลกู เสือ
(5) ไมเ่ ปน็ โรคท่สี งั คมรังเกียจ
ขอ้ 11 สมาชกิ วิสามญั ไดแ้ ก่ ลูกเสอื เนตรนารี บคุ คลทว่ั ไป และมีคุณสมบัติดงั น้ี
(1) เปน็ ผู้มีความประพฤติเรยี บร้อย
(2) เป็นผูม้ ีศรทั ธาในกิจการลูกเสือ
(3) ไม่เปน็ โรคท่ีสังคมรังเกียจ
ขอ้ 12 สมาชกิ กติ ตมิ ศกั ด์ิ ได้แก่ บคุ คลผทู้ รงเกียรติ หรือผู้ทรงคุณวฒุ ิ หรอื ผมู้ อี ุปการคณุ แก่สโมสร
ซึง่ คณะกรรมการลงมตใิ หเ้ ชญิ เขา้ เป็นสมาชกิ ของสโมสร
ข้อ 13 คา่ ธรรมเนยี มการสมัครและค่าบำรุงสโมสร
(1) สมาชกิ สามญั และสมาชกิ วิสามัญ จะตอ้ งเสียคา่ ธรรมเนยี มการสมคั รและค่าบำรงุ
สโมสรตลอดชพี คนละ 200 บาท (สองรอ้ ยบาทถ้วน)
(2) สมาชกิ กติ ตมิ ศกั ดิ์ ไมต่ ้องเสยี ค่าธรรมเนยี มการสมัครและค่าบำรุงสโมสร
ขอ้ 14 การสมัครเขา้ เปน็ สมาชกิ ของสโมสร
ให้ผู้ประสงค์ที่จะสมัครเข้าเป็นสมาชิกของสโมสร ยื่นใบสมัครตามแบบของสโมสรต่อ
เลขาธิการ โดยมีสมาชิกสามัญรับรองอย่างน้อย ๑ คน และให้เลขาธิการลงชื่อและเสนอต่อนายกสโมสร
ลงนาม เปน็ การเสร็จขนั้ ตอนการสมคั รสมาชกิ สโมสร
เมื่อคณะกรรมการบริหารสโมสรลูกเสือพิจารณาการสมัครแล้ว ผลเป็นประการใดให้
เลขาธิการเปน็ ผูแ้ จ้งให้ผูส้ มคั รรับทราบโดยเร็ว
ถ้าคณะกรรมการบรหิ ารสโมสรลกู เสือพจิ ารณาอนุมัติใหผ้ ู้สมคั รเข้าเป็นสมาชิก ก็ให้ผู้สมัคร
นั้นชำระค่าธรรมเนียมการสมัครและค่าบำรุงสโมสรต่อนายทะเบยี น สมาชิกภาพของผูส้ มัคร ให้เริ่มนบั ต้งั แต่
วนั ทผ่ี ้สู มัครไดช้ ำระค่าธรรมเนยี มการสมคั รและค่าบำรงุ สโมสรเปน็ ทีเ่ รียบร้อย
ขอ้ 15 สมาชกิ ภาพสนิ้ สดุ ลงเมือ่
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) ขาดคณุ สมบตั ิตามข้อ 8 หรือ ข้อ 9
(4) มีความประพฤติเสื่อมเสีย และคณะกรรมการบริหารสโมสรลูกเสือมีมติให้พ้นจาก
สมาชกิ ภาพ โดยมีคะแนนเสยี งไม่นอ้ ยกว่า ๒ ใน ๓ ของคณะกรรมการบริหารสโมสรลกู เสือ
(5) เป็นบุคคลล้มละลาย คนวิกลจรติ คนไร้ความสามารถหรอื เสมือนไร้ความสามารถ
(6) การเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ไมม่ ีวันสิ้นสุดลง เว้นแต่ คณะกรรมการบริหารสโมสรให้พ้น
จากสมาชิกภาพ
ข้อ ๑6 หนา้ ท่แี ละสทิ ธิของสมาชกิ
(1) มหี นา้ ทีจ่ งรักภกั ดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
(2) มีหนา้ ท่ีช่วยประชาสัมพันธ์กจิ กรรมของสโมสรให้เปน็ ท่รี จู้ ักอยา่ งกวา้ งขวาง
(3) มหี น้าที่เขา้ รว่ มในกิจกรรมที่สโมสรจดั ให้มขี นึ้
(4) มีหน้าทจ่ี ะตอ้ งปฏบิ ัติตามระเบยี บปฏิบัติและขอ้ บงั คบั ของสโมสร
(5) มสี ิทธเิ สนอความคดิ เห็นเก่ยี วกับการดำเนนิ การของสโมสรต่อคณะกรรมการบริหารได้
(6) มีสิทธิไดร้ ับสวัสดกิ ารตา่ งๆ ทีส่ โมสรจัดใหม้ ขี ้ึน
(7) มีสทิ ธิเข้าร่วมการประชมุ ใหญ่ของสโมสร
(8) มีสิทธิในการร้องขอให้สโมสร สนับสนุน ส่งเสริมและช่วยเหลือสมาชิกในเรื่องของ
ความก้าวหน้าทางลกู เสือ โดยเปน็ ไปตามขัน้ ตอน
หมวดท่ี ๓
คณะกรรมการบรหิ ารสโมสรลูกเสอื
ขอ้ 17 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง ทำหน้าที่บริหารกิจการของสโมสร มีจำนวนอย่างน้อย ๗ คน
อย่างมากไม่เกิน ๑๗ คน คณะกรรมการนี้ต้องเป็นสมาชิกสามัญที่มาจากการเลือกตั้งของที่ประชุมใหญ่ของ
สโมสร และให้ผ้ทู ไ่ี ดร้ ับการเลือกต้ังจากทปี่ ระชุมใหญ่ เลือกตง้ั กันเอง เป็นนายกสโมสร 1 คน และอุปนายก
3 คน สำหรับตำแหน่งกรรมการบรหิ ารสโมสรลกู เสือในตำแหน่งอืน่ ๆ ให้นายกสโมสรเป็นผู้แตง่ ตัง้ ผู้ที่ได้รบั
เลือกจากที่ประชุมใหญ่เข้ามาดำรงตำแหน่งต่างๆ ของสโมสร ตามที่ได้กำหนดไว้ ซึ่งตำแหน่งของ
คณะกรรมการบริหารสโมสรลกู เสือมตี ำแหนง่ และหนา้ ท่ีโดยสงั เขป ดังน้ี
(1) นายกสโมสร ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าในการบริหารกิจการของสโมสร เป็นตัวแทนของ
สโมสรในการติดต่อกับบุคคลภายนอก และทำหน้าท่ีประธานในที่ประชุมต่าง ๆ ของสโมสร รวมทั้งเป็น
ผู้ควบคมุ การปฏบิ ตั ติ ามวัตถุประสงค์ นโยบาย และระเบียบขอ้ บังคบั ของสโมสร
(2) อุปนายก ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยนายกสโมสรในการบริหารงานของสโมสร ปฏิบัติหน้าท่ี
ตามท่นี ายกสโมสรมอบหมาย และทำหนา้ ทแี่ ทนในกรณีท่นี ายกสโมสรไม่อยู่ หรือไม่สามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ทไี่ ด้
(3) เลขาธิการ ทำหนา้ ท่เี ก่ียวกับงานธรุ การของสโมสรทั้งหมด เป็นหัวหนา้ เจา้ หน้าที่สโมสร
ในการปฏิบัติกิจการของสโมสร และปฏิบัติตามคำสั่งของนายกสโมสร ตลอดจนปฏิบัติหน้าที่เป็น
เลขานุการในการประชุมตา่ งๆ ของสโมสร
(4) นายทะเบียน ทำหน้าที่เกี่ยวกับงานทะเบียนสมาชิก ให้เป็นไปตามข้อบังคับของ
สโมสร กฎหมายต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง และประสานงานกับเหรัญญกิ ในการเรยี กเก็บเงินคา่ ธรรมเนียมการสมัคร
และค่าบำรงุ สโมสรของสมาชกิ
(5) เหรัญญิก ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงิน การบัญชี บัญชีทรัพย์สินของสโมสร จัดทำบัญชี
รายรับ – รายจ่ายของสโมสร และเก็บเอกสารหลกั ฐานตา่ ง ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งเพ่อื การตรวจสอบ
(6) ปฏิคม ทำหน้าที่เกีย่ วกบั การต้อนรบั แขกของสโมสร เป็นหัวหน้าในการจดั เตรียมสถานท่ี
ต่างๆ ของสโมสร เตรียมสถานที่ประชุมของสโมสร และคอยดูแลบริการต่างๆ กับสมาชิกเพื่ออำนวยความ
สะดวก
(7) ประชาสัมพนั ธ์ ทำหน้าทเี่ ผยแพร่การดำเนินกิจกรรมของสโมสร และชอ่ื เสียงเกียรติคุณ
ของสโมสรแก่สมาชกิ และบคุ คลโดยทวั่ ไปใหเ้ ป็นที่รจู้ กั อยา่ งแพร่หลาย
(8) วิชาการ ทำหน้าที่ควบคุมทางด้านวิชาการ การฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตรอย่าง
ถูกต้อง
(9) กิจกรรม ทำหน้าที่กำหนดปฏิทินกิจกรรมของสโมสรทั้งปี และคิดเสนอกิจกรรมต่างๆ
ต่อสโมสร
(10) กรรมการกลาง ทำหนา้ ที่ปฏบิ ัติงานตามมติที่ประชุมสโมสร
ตำแหน่งนอกจากนี้อาจกำหนดเพิ่มเติมได้ตามความจำเป็นและความเหมาะสม
คณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ สามารถจะแตง่ ต้ังใหม้ อี นกุ รรมการได้
ข้อ 18 คณะกรรมการบริหารสโมสรลูกเสือมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละไม่เกิน 2 ปี นายก
สโมสรลกู เสอื จะดำรงตำแหน่งติดตอ่ กนั ได้ไมเ่ กนิ 3 วาระ
ข้อ 19 คณะกรรมการบริหารสโมสรลูกเสือชุดเก่า จะต้องมอบหมายงานให้คณะกรรมการบริหาร
สโมสรลูกเสือชุดใหมภ่ ายใน ๓๐ วันนบั จากวันพ้นตำแหนง่
ขอ้ 20 ตำแหน่งกรรมการบริหารสโมสรลูกเสือถ้าต้องว่างลงก่อนครบกำหนดตามวาระ ให้
คณะกรรมการบรหิ ารสโมสรลูกเสือแต่งตั้งสมาชิกสามัญคนใดคนหนึง่ ให้ดำรงตำแหน่งแทนจนครบวาระของ
คณะกรรมการบริหารสโมสรลกู เสอื ชุดนน้ั
ข้อ 21 กรรมการบรหิ ารสโมสรลกู เสือพน้ จากตำแหน่ง
(1) ครบวาระตามขอ้ 16
(2) ตาย
(3) ลาออก
(4) ขาดการเปน็ สมาชิกภาพ
(5) มีความประพฤติเสื่อมเสีย และคณะกรรมการบริหารสโมสรลูกเสือมีมติให้พ้นจาก
ตำแหนง่ โดยมีคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของคณะกรรมการบริหารสโมสรลกู เสอื
ข้อ 22 อำนาจและหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการบรหิ ารสโมสรลกู เสือ
(1) มีอำนาจออกระเบียบปฏิบัตติ ่างๆ เพอ่ื ใหส้ มาชิกได้ปฏิบัตติ ามระเบียบขอ้ บงั คบั สโมสร
(2) มอี ำนาจแตง่ ต้งั และถอดถอนเจ้าหน้าท่ีของสโมสร
(3) มีอำนาจแตง่ ตั้งกรรมการทป่ี รึกษา หรืออนกุ รรมการได้
(4) มอี ำนาจเรียกประชมุ ใหญ่สามญั ประจำปี และประชมุ ใหญว่ ิสามัญ
(5) มอี ำนาจแต่งตง้ั คณะกรรมการอ่นื ทไ่ี มไ่ ด้กำหนดไว้ในขอ้ บงั คบั น้ี
(6) มหี น้าที่จดั กิจกรรมเก่ยี วกับกจิ การลูกเสือ โดยเฉพาะวันสำคญั ของคณะลกู เสือแหง่ ชาติ
(7) มีหน้าที่จัดกิจกรรมพัฒนาลูกเสือทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา สังคม จิตใจและ
ศีลธรรม
(8) มหี นา้ ทรี่ ับผิดชอบในกจิ การทั้งหมด รวมท้ังการเงิน ทรัพย์สนิ การดำเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ
ของสโมสรให้ถูกต้องตามหลกั วชิ าการ และสามารถใหส้ มาชิกตรวจสอบไดเ้ มอ่ื สมาชกิ รอ้ งขอ
(9) มีหนา้ ทดี่ ำเนินกจิ กรรมให้เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ของสโมสร
(10)มีหนา้ ท่ีจดั ทำบนั ทึกการประชุมไว้เป็นหลกั ฐาน
(11)มีหนา้ ท่รี ายงานผลการดำเนินกิจการของสโมสรประจำทกุ รอบปี ตอ่ ผู้อำนวยการลูกเสือ
เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 1
ข้อ 23 คณะกรรมการบริหารสโมสรลูกเสือประชุมอย่างน้อยปีละ ๖ ครั้ง เลือกวัน เวลา ตามความ
เหมาะสม
ขอ้ 24 การประชุมคณะกรรมการบริหารสโมสรลูกเสือ จะต้องมผี ู้เข้ารว่ มประชมุ ไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึง
ของกรรมการทั้งหมดจึงถอื วา่ ครบองค์ประชมุ ถา้ มเี สยี งมตทิ ป่ี ระชุมเทา่ กันให้ประธานในทป่ี ระชุมชี้ขาด
หมวดที่ ๔
การประชมุ ใหญ่
ข้อ ๒5 การประชมุ ใหญข่ องสโมสรมี ๒ ประเภท คือ
(1) การประชมุ ใหญส่ ามัญประจำปี อย่างนอ้ ยปลี ะ 2 ครง้ั
(2) การประชุมใหญ่วิสามัญ อาจจะมีขึ้นโดยเหตุที่คณะกรรมการเห็นควรจัดให้มีขึ้น
ด้วยการเข้าชื่อร่วมกันของสมาชิกสามัญจำนวน ๑ ใน ๕ ของสมาชิกสามัญทั้งหมด ได้เข้าชื่อร้องขอให้จัด
ประชุมใหญ่วิสามัญขึ้น ซึ่งการนี้จะต้องจัดให้มีการประชุมใหญ่วิสามัญขึ้นภายใน ๓๐ วันนับตั้งแต่วนั ที่ได้รับ
หนังสือรอ้ งขอ
ขอ้ 26 การแจ้งกำหนดนัดประชุมใหญ่ ให้เลขาธิการเป็นผู้แจ้งกำหนดนัดประชุมใหญ่ให้สมาชิกได้
ทราบ และการแจ้งจะต้องเป็นลายลักษณ์อักษร โดยระบุวัน เวลา และสถานที่ให้ชัดเจน โดยจะต้อง
แจ้งให้สมาชิกได้ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน และประกาศแจ้งกำหนดนัดประชุมไว้ ณ สำนักงานของ
สโมสรเป็นเวลา ไมน่ ้อยกว่า ๑๕ วนั ก่อนถงึ กำหนดการประชมุ ใหญ่
ขอ้ ๒7 การประชุมใหญส่ ามัญประจำปี จะต้องมีวาระการประชมุ อยา่ งนอ้ ย ดังต่อไปน้ี
(1) แถลงกิจการทผ่ี า่ นมาในรอบปี
(2) แถลงบัญชรี ายรับ รายจา่ ย ของปีทีผ่ า่ นมา
(3) เลือกต้ังคณะกรรมการชุดใหม่ เม่อื ครบกำหนดวาระ
(4) เร่อื งอ่ืน ๆ (ถ้าม)ี
ขอ้ ๒8 ในการประชมุ ใหญ่สามัญประจำปี หรอื การประชมุ ใหญ่วสิ ามัญจะต้องมสี มาชิกสามญั เข้าร่วม
ประชุมไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกสามัญทั้งหมด จึงจะถือว่าครบองค์ประชุม แต่ถ้าเมื่อถึง
กำหนดเวลา การประชุมยังมีสมาชิกสามญั เข้าร่วมประชุมไม่ครบองค์ประชุมกใ็ ห้ขยายเวลาออกไป ๑ ชั่วโมง
แต่เม่ือที่ประชุมเกิดขึ้นจากการร้องขอของสมาชิกสามัญเข้าร่วม ประชุมไม่ครบจำนวน ก็ให้ถือว่าครบองค์
ประชุม ยกเว้นถ้าเป็นการประชุมใหญ่วิสามัญของสมาชิกก็ไม่ต้องจัดประชุมใหญ่สามัญ ให้ถือว่าการประชมุ
เป็นการยกเลกิ
ขอ้ ๒9 การลงมตติ ่างๆ ในทปี่ ระชมุ ใหญ่ ถา้ ข้อบังคับมไิ ด้กำหนดไวเ้ ปน็ อยา่ งอ่ืน ก็ใหถ้ อื คะแนนเสียง
ข้างมากเปน็ เกณฑ์ แตถ่ ้าคะแนนเสียงเท่ากัน กใ็ หป้ ระธานในการประชมุ เปน็ ผูช้ ข้ี าด
ขอ้ 30 ในการประชุมใหญข่ องสโมสร ถ้านายกสโมสรไม่สามารถปฏิบัติหนา้ ที่ได้ ก็ให้ที่ประชุมใหญ่
ทำการเลอื กตัง้ กรรมการที่มารว่ มประชมุ คนใดคนหนึ่ง ทำหนา้ ท่เี ปน็ ประธานในการประชมุ คราวนน้ั
หมวดท่ี ๕
การเงินและทรัพยส์ ินของสโมสร
ขอ้ 31 สโมสรลูกเสอื อาจมีรายไดด้ ังต่อไปนี้
(1) เงินค่าสมัครเปน็ สมาชกิ สโมสรลูกเสือ
(2) เงนิ คา่ บำรุงตามทีส่ โมสรลกู เสือกำหนด
(3) เงินและทรพั ยส์ นิ ซึ่งมีผ้อู ุทศิ ใหส้ โมสรลูกเสือ โดยปราศจากภาระผกู พนั
(4) เงนิ รายได้อ่นื ซ่ึงไม่ขดั ตอ่ วตั ถุประสงค์ของคณะลกู เสอื แห่งชาติ
(5) รายไดจ้ ากการดำเนินกิจกรรมท่เี หมาะสม
(6) เงนิ อดุ หนนุ จากหนว่ ยงานของรัฐ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินและงบประมาณแผ่นดิน
(7) ดอกผลจากทรพั ยส์ ินท่มี ีผอู้ ทุ ศิ ให้สโมสรลกู เสอื
ขอ้ 32 การเงินและทรัพย์สินทั้งหมดให้อยู่ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารสโมสร
ลกู เสอื สว่ นเงนิ สดสโมสร ถ้ามีใหน้ ำฝากไวใ้ นธนาคาร
ขอ้ 33 การลงนามในตั๋วเงินหรือเช็คของสโมสร จะต้องมีลายมือชื่อของนายกสโมสรหรือผู้ทำการ
แทนลงนาม ร่วมกับเหรัญญิก หรือเลขาธิการพร้อมกับประทับตราของสโมสรหรือไม่ประทับตราของสโมสร
(ข้นึ กบั เงื่อนไขของธนาคาร) จึงจะถอื ว่าใชไ้ ด้
ข้อ 34 ให้นายกสโมสรมอี ำนาจสัง่ จ่ายเงินของสโมสรได้ครัง้ ละไมเ่ กนิ ๑๐,๐๐๐ บาท (หนึง่ หม่ืนบาท
ถว้ น) ถา้ เกนิ กวา่ นี้จะตอ้ งได้รบั อนุมัติจากคณะกรรมการบรหิ ารสโมสรลูกเสอื และคณะกรรมการบริหารสโมสร
ลกู เสือ จะอนมุ ัติให้จา่ ยเงนิ ได้ครงั้ ละไมเ่ กิน ๖๐,๐๐๐ บาท (หกหม่นื บาทถว้ น) ถา้ จำเป็นจะต้องจ่ายเกนิ กว่านี้
ต้องได้รบั อนุมตั จิ ากท่ีประชมุ ใหญ่ของสโมสร ท้ังนใ้ี หเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บการเงินของสโมสร
ขอ้ ๓5 ให้เหรัญญิก มีอำนาจเก็บรักษาเงินสดของสโมสรได้ไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นบาท
ถ้วน) ถ้าเกนิ กวา่ จำนวนนจ้ี ะต้องนำฝากธนาคารในบญั ชีของสโมสร ภายใน 15 วันทำการ
ข้อ ๓6 เหรัญญิก จะต้องทำบัญชีรายรับ รายจ่าย ให้ถูกต้อง การรับหรือการจ่าย ทุกครั้งจะต้องมี
หลักฐานเป็นหนังสอื ลงลายมือชื่อของนายกสโมสรหรือผู้ทำการแทนรว่ มกับเหรญั ญกิ หรือผู้ทำการแทนพร้อม
กับประทับตราของสโมสรทุกคร้งั
หมวดที่ 6
จริยธรรมของสมาชิกสโมสรลกู เสอื
ขอ้ ๓7 จกั ตอ้ งจงรักภกั ดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
ขอ้ 38 จักต้องเครง่ ครดั ตอ่ การปฏบิ ัติตนตามคำปฏิญาณและกฎของลูกเสอื
ขอ้ 39 จกั ต้องเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีในการรกั ษาไว้ซ่งึ ขนบธรรมเนียมประเพณลี กู เสอื
ข้อ 40 จักต้องมีอุดมการณ์ในการทำงานเพื่อประเทศชาติ ชุมชนและช่วยเหลือผู้อื่นอย่างเต็ม
ความสามารถด้วยความรับผิดชอบ เสียสละ ซ่ือสตั ย์ สุจรติ เพอ่ื ช่วยเหลอื ผู้อนื่ ชมุ ชน และประเทศชาติ
ข้อ 41 จักต้องร่วมกิจกรรมของลูกเสืออย่างสม่ำเสมอ โดยถือเป็นหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติอย่างไม่ควร
หลีกเล่ียง เวน้ แต่มีเหตุสดุ วิสยั
เบด็ เตลด็
ข้อ 42 นายกสโมสรลกู เสอื โดยคำแนะนำและยินยอมของคณะกรรมการบรหิ ารสโมสร มสี ิทธอ์ิ อก
กฎระเบยี บได้ แต่ต้องไมข่ ดั ต่อข้อบงั คับนี้
ข้อ 43 ปัญหาใด ๆ อันเกิดขึ้นก็ดี การตีความข้อบังคับและระเบียบต่างๆ ก็ดี ให้เป็นหน้าที่ของ
คณะกรรมการบรหิ ารสโมสร
ขอ้ 44 ข้อบังคับสโมสรจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้โดยมติของที่ประชุมใหญ่เท่านั้น และองค์ประชุม
จะต้องมสี มาชิกสามัญเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกวา่ ๑ ใน ๓ ของสมาชิกสามัญทัง้ หมด มติของที่ประชุมใหญ่ใน
การเปลยี่ นแปลงแก้ไขข้อบงั คับ จะต้องมีคะแนนเสยี งไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ของสมาชิกสามญั ท่ีเข้าร่วมประชุม
ท้ังหมด
ขอ้ 45 ขอ้ ระเบยี บปฏิบัตติ า่ งๆ ของสโมสรทจี่ ดั ทำข้นึ ตอ้ งไมข่ ดั ต่อข้อบงั คับสโมสร และจะต้องได้รับ
ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบริหารสโมสร
การสิ้นสดุ ของสโมสรลกู เสอื
ขอ้ 46 ใหส้ โมสรลูกเสือส้ินสดุ ลงดว้ ยเหตดุ ังตอ่ ไปน้ี
(1) เมื่อสมาชิกมีมติด้วยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ของสมาชิกทั้งหมดให้เลิกกิจการของสโมสร
ลกู เสอื
(2) เมื่อปรากฏว่าการดำเนินกิจการของสโมสรลูกเสือขัดต่อวัตถุประสงค์และอุดมการณ์
ของลูกเสือหรือกฎหมาย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรืออาจเป็นอันตรายต่อความสงบสุขของ
ประชาชนหรือความม่นั คงของรฐั
(3) เม่ือสโมสรลกู เสือไมส่ ามารถดำเนนิ การตอ่ ไปได้ ไมว่ ่าด้วยเหตใุ ด
ให้ผู้อำนวยการลูกเสือเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต 1 โดยมติท่ีประชุม
เสียงข้างมากของคณะกรรมการลูกเสอื เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 มีอำนาจสั่งใหส้ โมสร
ลูกเสอื สนิ้ สุดลงเมอื่ ได้รับรายงานหรือทราบเหตุตามวรรคหน่งึ
ให้ผู้อำนวยการลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 ประกาศ
การส้ินสดุ ของสโมสรลูกเสอื นนั้ ณ สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
ข้อ 47 เมื่อสโมสรลูกเสือสิ้นสุดการดำเนินกิจการไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทรัพย์สินของสโมสรท่ี
เหลืออย่หู ลงั จากท่ีได้ชำระบญั ชเี ป็นทีเ่ รยี บร้อยแล้ว ให้ตกเป็นของคณะลกู เสือแห่งชาติ
ประกาศ ณ วนั ที่ .... เดือน ....... พ.ศ. ....
(นายสมโภชน์ เจรญิ ขำ)
นายกสโมสรลูกเสือคุณภาพ