The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

X04-20-หนังสืออนุสรณ์ ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร 4 ภาษา 2561-12-18 Print

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Vorawat Suthon, 2021-10-05 09:18:14

X04-20-หนังสืออนุสรณ์ ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร 4 ภาษา 2561-12-18 Print

X04-20-หนังสืออนุสรณ์ ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร 4 ภาษา 2561-12-18 Print

ป ร� ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

THE HEART OF PRAJNA PARAMITA SUTRA

般若波羅蜜多心經

प्र�ापार�मताहृदयसतू ्रम ्

摩訶般若波羅蜜多心經

ป ร� ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

大乘二十頌論

[ ม ห า ย า น ว� ส ติ ค า ถ า ศ า ส ต ร ]

สรา งถวายโดย

คณุ พอ แตแต แซอว ง 黄俤俤 Huang Di Di + คุณแม ฉิวเอ้ยี ง แซเ อยี ะ 葉秋燕 Ye Qiu Yan
คุณปู อวงเต็กอ่ี 黄德挹 Huang De Yi + คณุ ยา ผางอาโหมย 彭亜妹 Peng A Mei

คณุ ตา เอียะฮิ่งล่ือ 葉興吕 Ye Xing Lv + คุณยาย เต้ืองเจียหลาง 張芝蘭 Zhang Zhi Lan

พรอมทง้ั ลกู หลานเหลน

คําอทุ ศิ สวนบญุ กศุ ล

ขอนอ มบุญกศุ ลครงั้ นี้ถวายพระสยามเทวาธิราช
พระมหากษตั รยิ ไทยทกุ ๆพระองค
ขอนอมถวายกศุ ลผลบญุ น้ี

เปน พทุ ธบชู าแดพระพทุ ธเจา ทุกๆพระองค
พรอ มทั้งพระปจเจกพุทธเจา ทุกๆพระองค
ถวายเปนธรรมบชู า แดค าํ สอน ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ
ถวายเปน สังฆบูชา แดพ ระอรยิ เจา ท้งั หลาย
พรอมทั้งบิดามารดา ครบู าอาจารย พรหมและเทวดา
เจากรรมนายเวร สมั ภเวสี ทง้ั หลายทัง้ ปวง
ขอทานทง้ั หลายโปรดอนโุ มทนาและอโหสกิ รรม
และขอใหขาพเจา ทงั้ หลายไดเขาถึงซึง่ พระนพิ พานดวยเทอญ



หนงั สืออนุสรณ
เน่อื งในงานทําบญุ อฐั � บรรพบรุ ษุ บพุ การ�

黄 Huang Family

[ รูปถา ย ปา ยฮวงซุย คุณพอ + คณุ แม ]
คุณพอ แตแต แซอวง 黄俤俤 Huang Di Di + คุณแม ฉวิ เอยี้ ง แซเอียะ 葉秋燕 Ye Qiu Yan

[ รูปถาย ปายฮวงซุย คุณปู + คุณยา ]
คณุ ปู อว งเตก็ อี่ 黄德挹 Huang De Yi + คณุ ยา ผางอาโหมย 彭亜妹 Peng A Mei

[ รูปถาย ปา ยฮวงซยุ คุณตา + คณุ ยาย ]
คณุ ตา เอียะฮิ่งลื่อ 葉興吕 Ye Xing Lv + คุณยาย เต้อื งเจียหลาง 張芝蘭 Zhang Zhi Lan



ประวัติโดยสังเขป ของ 黄 Huang Family

เสนทางชวี ติ 100 ป จากเมืองจีน มาสูเมอื งไทย

อุตสาหกรรมยานยนตที่ขยายตัวอยางรวดเร็วท่ัวโลกและเฟองฟูอยางมาก ตั้งแตคริสตทศวรรษ 1860
สง ผลใหค วามตอ งการใชย างพารา ซึง่ เปนสวนประกอบสําคัญในอุตสาหกรรมน้ีเพ่มิ ขึ้น โดยเฉพาะกลุมประเทศ
ผูผลิตรถยนตรายใหญของโลก เชน ประเทศสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และเยอรมนี ซ่ึงมีอัตราการผลิต
และกําลังซ้อื ท่ีสูง ลวนมีความตอ งการยางพารา เพ่ือปอนอุตสาหกรรมยานยนตภายในประเทศจํานวนมาก อปุ
สงคของการใชยางพาราที่เพ่มิ จํานวนมากขึ้นตามลําดบั ทําใหอังกฤษเรมิ่ สนใจหาพน้ื ทปี่ ลูกยางพารา และเลือก
อาณานคิ มมลายาเปน แหลง ปลกู ยางพาราที่สําคญั ต้ังแตครสิ ตท ศวรรษ 1880 - 1910

กลุมประเทศผูผลิตรถยนตรายใหญของโลก ท้ังประเทศสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร เยอรมนี รัสเซีย
และฝรั่งเศส มีความตองการใชยางพาราในปริมาณท่ีสงู และมียอดการนาํ เขายางพาราเพม่ิ ขึน้ อยางตอเน่ืองทุก
ป ดวยเหตุดังกลาวอังกฤษจึงตองการใหมลายาเปนแหลงปลูกยางพาราที่สําคัญ ทําใหมีการเผยแพรพันธุ
ยางพาราและสงเสริมการปลูกยางพาราในมลายาอยางจริงจัง การเกณฑแรงงานชาวอินเดียและชาวจีนเปน
นโยบายสําคัญของอังกฤษท่ีสงเสริมการทําสวนยางพาราในมลายา เนื่องจากแรงงานเหลาน้ีเปนกําลังสําคัญใน
การทําสวนยางพาราขนาดใหญของกลมุ นายทนุ องั กฤษและนายทุนจนี

ในคริสตศตวรรษท่ี 19 ชาวจีนเปนแรงงานที่ถูกเกณฑเขาไปทําเหมืองแรในมลายาจํานวนมาก ตอมาใน
คริสตทศวรรษ 1910 เมื่อความนิยมของการทําสวนยางพาราในมลายาแพรหลายมากขึ้น จึงมีการจางแรงงาน
ชาวจีนเขาไปทําสวนยางพาราขนาดใหญข องนายทุนจนี และนายทุนองั กฤษ ชาวจีนทต่ี องการเขา ไปเปนแรงงาน
ในมลายาจะตอ งตดิ ตอ ผา นนายหนาในประเทศจีน และมกี ารทําสัญญารวมถึงจายคาเดินทาง ตลอดจนคา ดํารง
ชีพระหวางการเดินทางเขาไปในมลายาใหแกสํานักงานนายหนา เม่ือแรงงานชาวจีนเดินทางไปถึงมลายา
สํานักงานนายหนาจะจัดหาท่ีพักใหอาศัยอยูในสํานกั งานที่พํานักช่ัวคราว จนกวาชาวจีนที่อพยพมาจะมีงานทาํ
และชําระหน้ีครบตามสัญญา อน่ึงแรงงานชาวจีนจะมีอสิ ระในการเลอื กทํางานกบั นายจางไดตามความสมคั รใจ
และไมมีขอผูกมัดเหมือนแรงงานชาวอินเดีย แรงงานชาวอินเดียและชาวจีนนับเปนแรงงานที่มีความสําคัญตอ
การทาํ สวนยางพาราในมลายาอยางมาก โดยเฉพาะในปลายคริสตทศวรรษ 1900 ความตอ งการแรงงานในการ
ทาํ สวนยางพารามจี าํ นวนมาก เพอ่ื รองรับการขยายพืน้ ทก่ี ารทําสวนยางพาราในมลายาที่เพมิ่ ข้ึน

เวลากวา 100 ป ที่ชาวจีนฮกจิวท่ีมีถ่ินฐานเดิม ณ ตําบลกูเท้ียน เมืองฮกจิว (ฝูโจว) มณฑลฮกเก้ียน (ฝู
เจ้ียน) เดินทางอพยพจากประเทศจีนมารับจางทําเกษตรกรรมใน เมืองซิเทียวัน (Sitiawan) รัฐเประ (Perak)
ประเทศมาเลเซีย ในประมาณ พ.ศ. 2444 จนเม่ือประมาณป พ.ศ. 2468 มีชาวจีนฮกจิวจากรัฐเประกลุมหน่ึง
นําโดย ล่ิงจื้อปอ ลาวฮวาลิ่ง พางมิงอู กงกวางจ๊ัว โดยสารรถไฟจากมาเลเซียมาลงท่ีสถานีรถไฟทุงสง คางที่ทุง
สง 1 คืน จากนนั้ ตอ รถไฟมาลงทีส่ ถานรี ถไฟคลองจัง และเดนิ เทามาตั้งชุมชนท่แี ปด คอื สะพานรถไฟจากทุง สง
ถึงนาบอนเปน สะพานท่ีแปด และตอ มาไดเ รยี กชอ่ื ตามหมบู านนาบอนวา “ตลาดนาบอน” เมือ่ ชาวจนี ฮกจวิ เขา
มาในเมืองไทย ปลูกยางพารากันเปนสวนใหญ จึงไดสถิติเปนเมืองปลูกยางพารามากที่สุดในเมืองไทย ต้ังแตป

พ.ศ. 2508-2516 คําวา “นาบอน” จึงเปนที่รูจักของคนท่ัวโลก ซ่ึงอาจนับไดวาเปนชาวจีนกลมุ ทายๆ ท่ีเขามา
ต้ังถนิ่ ฐานชุมชนในประเทศไทย จากเส่อื ผืนหมอนใบ มาสคู วามย่งิ ใหญในปจจบุ นั

คุณพออวงแตแตและคุณแมเอียะฉิวเอี้ยง ไดเดินทางมาจากเมืองจีน เพ่ือแสวงหาแหลงทํามาหากินที่
ดีกวาที่บานเกิด โดยเดินทางจากเมืองจีน ไปยังเมืองมลายา แลวเขามายังภาคใตของเมืองไทย ตามคนจีนรุน
กอ นๆ ท่ีไดเ ดินทางมาลวงหนา แลว คุณพอไดจ ากเมอื งจนี มาตอนอายปุ ระมาณ 16 ป สว นคณุ แมม าถึงเมอื งไทย
ตอนอายุ 3 ขวบเทา น้นั ท้งั สองทา นไดต้งั รกรากทําอาชีพปลูกยางพาราท่ี ต.นาบอน อ.ทงุ สง จ.นครศรีธรรมราช
กอนจะเกดิ สงครามโลกครง้ั ที่ 2

ครอบครัวคุณพอมีพี่นองเปนชายจํานวน 4 คน ทานเปนลูกคนเล็กสุด พี่ชายคนโตอยูและตายท่ีเมืองจีน
ไมมีลูกหลานสืบสกุล พ่ีชายคนที่ 2 อยูมาเลเซีย มีลูกชายสืบสกุลและกลับไปอยูเมืองจีน และพี่ชายคนท่ี 3 ได
ตามทานมาอยูเมืองไทย มีลูกชาย 2 คน ติดมาดวย สวนครอบครัวของคุณแมมีพ่ีนอง 4 คน คุณตาคุณยายท้ัง
สองคนพาทา นมาจากเมืองมลายาตั้งแตอ ายุ 3 ขวบ แลว มีลูกชายหญงิ ตอ จากคุณแมเ พ่ิมอีก 3 คน โดยมคี ณุ แม
เปน คนโต มีลูกชาย 1 คน และลูกสาว 3 คน และคณุ ตาคุณยายกไ็ ดเสยี ชวี ิต ฝง รางไวบนผืนแผน ดนิ ไทย

คุณพออว งแตแตและคณุ แมเ อียะฉวิ เอย้ี ง ไดกําเนดิ ลูกทงั้ หมด 9 คน เปนลกู ชาย 6 คน และลกู สาว 3 คน
ทานทั้งสองไดเลี้ยงดูลูกดวยอาชีพทําสวนยางพารา และใหการศึกษาลูกท้ังหมดอยางดี ตามความตองการของ
ลกู แตล ะคน ลกู ชายคนท่ี 2 ไดดาํ เนนิ รอยตามทา น ไปบุกเบิกการทําสวนยางพาราที่ ต.มาบอาํ มฤต อ.ปะทิว จ.
ชุมพร พรอมกับลูกสาวคนโตและครอบครัว ไดยายจาก ต.จันดี มาบุกเบิกทําสวนยางพาราท่ี ต.มาบอํามฤต
ดวย ปจจุบันชาวฮกจิวที่เดินทางจากโพนทะเล มาตั้งรกรากท่ีเมืองไทย พรอมท้ังลูกหลานที่เกิดในเมืองไทย
สามารถขยายพื้นท่ีทําสวนยางพารา จากนาบอน จันดี ทุงสง ไปยัง นาสาร ละแม บานสอง มาบอํามฤต หลัง
สวน ระยอง กระจายออกไปทั่วท้ังเมืองไทย สรางรายไดใหกับเมืองไทยอยางมหาศาล น่ีคือ 100 ปของบรรพ
ชน ทล่ี งทนุ ดว ยชวี ติ เดนิ ทางดวยความยากลําบาก เพือ่ ชีวติ ท่ีมน่ั คงและอยูดีกินดี สาํ หรบั ลูกหลานในอนาคต

บรรพชนท่ีอาศัยต้ังรกรากท่ี ณ หมูบานตระกูลอวง ตําบลกูเท้ียน เมืองฮกจิว (ฝูโจว) มณฑลฮกเกี้ยน (ฝู
เจี้ยน) เปนเวลามากกวา 400 ป ปจจุบันยังคงมีประชากรอาศัยอยู จํานวนมากกวา 1,000 คน ท้ังหมดใช
แซอ วง 黄 (สําเหนียงแตจ ว๋ิ อึ้ง หมายถงึ สีเหลือง หรอื ฮอ งแต) เหมอื นกันหมด เพราะสืบเช้ือสายตอเนื่องมา
ยาวนาน ที่บานยังมีเก็บปายซุมประตูพระราชทานจากฮองแต ขอความวา สามารถสืบทอดทายาทไดอยาง
ตอเนื่อง 5 ชั่วคน และในตอนนี้สามารถสืบเช้ือสายลงมาจนถึงปจจุบัน นับเปน 18 ถึง 20 ช่ัวคนแลว ประวัติ
บรรพชนแตล ะรุน มีการจดบนั ทึกรายช่ือแตล ะชว่ั คน (Family Tree) เก็บไวทห่ี อบรรพชนจนถึงปจ จบุ ันน้ี

ในชั่วชีวิตหน่ึง บรรพชนสามารถอาศัยกายเน้ือ เดินทางฝาฟนอุปสรรคตางๆนาๆ อาบเหง่ือตางนํ้า เอา
ชีวิตเขาแลก ขามน้ําขามทะเลขามภูเขา ไปเปนระยะทางเปนพันเปนหม่ืนล้ี เอาเลือดเนื้อกระดูกฝงไวบนพื้น
แผน ดินเมอื งไทยนบั ไมถ วน แตส งั สารวัฏฏทต่ี องเวียนวา ยตายเกดิ เดินทางดวยกายทิพย มรี ะยะทางนบั ภพชาติ
ไมถวน มีความรักผูกพันในสายเลือดสายวงศตระกูล มีบาปและบุญเปนเคร่ืองนําทางไปเทาน้ัน จนกวาจะมี
ปญญา มองเห็นหนทางสูค วามพน ทกุ ขอ ยางถาวร ...นามอ ออนที อ ฮุก... นะโม อะมติ าภะ พทุ ธายะ.

จบ ประวตั ิโดยสงั เขป ของ 黄 Huang Family

1 of 11

2 of 11

3 of 11

4 of 11

5 of 11

6 of 11

7 of 11

8 of 11

9 of 11

10 of 11

11 of 11

รายช�อ่ -ปย†ู ‹า-ตายาย-พ‹อแม-‹ ลูกหลาน-เหลน
黄 Huang Family

คณุ ปู อว งเต็กอี่ 黄德挹 Huang De Yi + คณุ ยา ผางอาโหมย 彭亜妹 Peng A Mei มลี กู 4 คน

คุณตา เอียะฮ่ิงลอ่ื 葉興吕 Ye Xing Lv + คุณยาย เตอื้ งเจียหลาง 張芝蘭 Zhang Zhi Lan มลี ูก 4 คน

คณุ พอ แตแต แซอว ง 黄俤俤 Huang Di Di + คุณแม ฉิวเอีย้ ง แซเ อียะ 葉秋燕 Ye Qiu Yan มีลูก 9 คน

1.นางไถม วย แซอ ว ง + นายอินทรยี  ซ่ือธานุวงศ มลี ูก 6 คน
1.1.น.ส.ปยนันท ซ่อื ธานวุ งศ
1.2.น.ส.เกสนิ ี ซ่ือธานุวงศ
1.3.น.ส.ญาณนี ซ่ือธานุวงศ + นายประพฤติ วองสมบูรณส ิน มีลกู 2 คน
1.3.1.น.ส.นฤภร วอ งสมบูรณส นิ
1.3.2.นายศุภกร วองสมบูรณสนิ
1.4.นายกนกศกั ด์ิ ซ่อื ธานุวงศ + น.ส.ออยใจ เลิศลํ้า มีลูก 1 คน
1.4.1.ด.ช.ทอปราน ซอ่ื ธานุวงศ
1.5.น.ส.กลั ยรัตน ซ่อื ธานุวงศ + นายชยตุ กังวานธรรม มีลูก 2 คน
1.5.1.ด.ช.ชยนิ กงั วานธรรม
1.5.2.ด.ญ.ชลิดา กงั วานธรรม
1.6.น.ส.ดลฤดี ซอื่ ธานุวงศ + นายกนกศกั ด์ิ จิตติเรืองวิชัย มีลกู 2 คน
1.6.1.ด.ญ.พชิ ชานันท จติ ติเรืองวิชัย
1.6.2.ด.ญ.นันทรตั น จิตตเิ รืองวิชยั

2.นายดิฐ หวังพฒั นาพาณิชย + นางณฐั ยิ า ชูชวย มีลูก 3 คน
2.1.น.ส.สายดนยี  หวงั พัฒนาพาณิชย (โบว)
2.2.น.ส.ปย าพร หวังพฒั นาพาณชิ ย (แอน)
2.3.น.ส.ภาสนิ ี หวงั พัฒนาพาณชิ ย (ออ น)

3.นายลงกรณ ปตภัทรวบิ ูลย + นางมกุ ดา แซผ า ง มีลกู 4 คน
3.1.นายอนันตฤทธิ์ เหลืองนิพัทธ (A 黄祖金)
3.2.น.ส.ธนันตณ ชั ปตภทั รวบิ ลู ย (B 黄素琳)

3.3.นายเทพฤทธ์ิ ชน่ื โชคสันต (M 黄祖贵) + น.ส.วรธกานต นริ ันดรส ขุ (แซหล่ี) มีลกู 1 คน
3.3.1.ด.ช.ณฐั วรรธน ชื่นโชคสันต (กาว 黄荣步)

3.4.นายไกรฤทธ์ิ ปต ภทั รวิบูลย (K 黄祖利) + น.ส.ชญานี บอจกั รพันธ มลี กู 2 คน
3.4.1.ด.ช.ดนยั วฒั น ปต ภทั รวิบูลย (ไท 黄荣泰)
3.4.2.ด.ญ.ภิญญาพัชญ ปตภทั รวบิ ลู ย (สยุ 黄水水)

4.นายปราการ ชืน่ โชคสนั ต + นางบษุ บง เพชรพุม มลี กู 2 คน
4.1.น.ส.อริสา ชน่ื โชคสันต + นายธนศิ ร รงั สิรักษ (แซโซว)
4.2.นายอดศิ ร ชน่ื โชคสนั ต

5.นางวรากลุ ชนื่ โชคสนั ต + นายธรี พล บุญกูล (แซเ ตื้อง) มลี กู 1 คน
5.1.นายพลวีรฺ บญุ กูล (กอลฺฟ)

6.นายวรี ะเทพ ชืน่ โชคสนั ต + นางนวรัตน เกยี รติพิมล (แซเลา) มีลูก 4 คน
6.1.น.ส.อัญชลุ ี ชืน่ โชคสันต (ลลี่ ี)่
6.2.นายเมษา ชนื่ โชคสนั ต (หนงึ่ ) + นางนฤมล สขุ ใส
6.3.น.ส.สายพิณ ช่นื โชคสนั ต (ปน )
6.4.น.ส.ผกาทิพย ชนื่ โชคสนั ต (แหวน)

6.นายวีระเทพ ชืน่ โชคสันต + นางชนัญชิดา ยอดสมุทร มีลกู 3 คน
6.5.นายศโิ รดม ช่นื โชคสันต (เซยี น)
6.6.นายเมธัส ชื่นโชคสนั ต (เซิน)
6.7.ด.ญ.พรหมพริ ยิ า ชน่ื โชคสนั ต (ซ)ี

7.นายศานต ช่ืนโชคสนั ต + นางสุภานนั ท วนิ ัยจรูญ มีลูก 2 คน
7.1.น.ส.ภชู ญา ช่ืนโชคสนั ต (ปลา)
7.2.นายพรี วัส ชื่นโชคสนั ต (เบิรด )

8.นายวรวรรธน ชนื่ โชคสันต

9.นางนวลจันทร ชนื่ โชคสันต + นายจรูญ ไพรัตน (แซภ )ู มีลูก 2 คน
9.1.น.ส.กลั ยารตั น ไพรัตน (ปอ)
9.2.นายธรี ภัทร ไพรัตน (บอล)

คณุ ป่ ู อ้วงเต็กอี คณุ ยา่ ผ่างอาโหมย่ คณุ ตา เอียะฮิงลอื คณุ ยาย เตอื งเจียหลาง
黄德挹 Huang De Yi 彭亜妹 Peng A Mei 葉興吕 Ye Xing Lv 張芝蘭 Zhang Zhi Lan

คุณพอ แตแต แซอ ว ง คณุ แม ฉิวเอย้ี ง แซเอยี ะ
黄俤俤 Huang Di Di 葉秋燕 Ye Qiu Yan

1.นางไถ่ม้วย 2.นายดฐิ 3.นายลงกรณ 4.นายปราการ 5.นางวรากุล 6.นายวีระเทพ 7.นายศานต 8.นายวรวรรธน 9.นางนวลจันทร
แซอ่ ้วง หวังพัฒนาพาณิชย ปตภัทรวิบลู ย ช่นื โชคสันต ชน่ื โชคสันต ช่ืนโชคสนั ต ชน่ื โชคสันต ชืน่ โชคสันต ช่นื โชคสันต

1.นายอนิ ทรีย 2.นางณฐั ิยา 3.นางมกุ ดา 4.นางบุษบง 5.นายธรี พล 6.นางนวรัตน 7.นางสุภานันท 9.นายจรูญ
ซื่อธานวุ งศ ชชู ่วย แซผ่ ่าง เพชรพุม บญุ กลู เกียรตพิ ิมล วินัยจรญู ไพรัตน

1.1.น.ส.ปยนันท 2.1.น.ส.สายดนีย 3.1.นายอนนั ตฤทธิ 4.1.น.ส.อรสิ า 5.1.นายพลวีรฺ 6.1.น.ส.อัญชุลี 7.1.น.ส.ภชู ญา 9.1.น.ส.กัลยารัตน
ซอ่ื ธานุวงศ หวังพัฒนาพาณชิ ย เหลอื งนพิ ทั ธ์ ชืน่ โชคสนั ต บญุ กูล ชน่ื โชคสนั ต ช่นื โชคสันต ไพรัตน

1.2.น.ส.เกสนิ ี 2.2.น.ส.ปย าพร 3.2.น.ส.ธนันตณัช 4.2.นายอดิศร 6.2.นายเมษา 7.2.นายพีรวัส 9.2.นายธีรภัทร
ซ่อื ธานวุ งศ หวังพฒั นาพาณชิ ย ปต ภทั รวิบูลย ชืน่ โชคสนั ต ชนื่ โชคสนั ต ช่ืนโชคสันต ไพรัตน

1.3.น.ส.ญาณนี 2.3.น.ส.ภาสินี 3.3.นายเทพฤทธิ์ 6.3.น.ส.สายพณิ
ซื่อธานุวงศ หวงั พัฒนาพาณิชย ช่นื โชคสันต ชน่ื โชคสนั ต

1.4.นายกนกศักดิ์ 3.4.นายไกรฤทธิ์ 6.4.น.ส.ผกาทิพย
ซือ่ ธานวุ งศ ปตภัทรวบิ ูลย ชน่ื โชคสันต

1.5.น.ส.กัลยรัตน รุ‹น 6.นางชนญั ชิดา
ซอื่ ธานุวงศ ป+†ู ย‹า ตา+ยาย ยอดสมุทร

1.6.น.ส.ดลฤดี พอ‹ +แม‹ 6.5.นายศโิ รดม
ซือ่ ธานุวงศ ลูกชายหญิง ช่ืนโชคสนั ต

Update @ 2561 B.E. 6.6.นายเมธัส 黄 Huang
ชนื่ โชคสันต Family Tree

6.7.ด.ญ.พรหมพิริยา
ช่ืนโชคสันต

Update @ 2561 B.E. 1.นางไถมวย
แซอ วง
黄 Huang Family Tree
1.นายอินทรีย
ซือ่ ธานุวงศ

1.3.น.ส.ญาณนี 1.3.นายประพฤติ 1.4.นายกนกศักดิ์ 1.4.น.ส.ออ ยใจ 1.5.น.ส.กลั ยรตั น 1.5.นายชยตุ 1.6.น.ส.ดลฤดี 1.6.นายกนกศักด์ิ
ซ่อื ธานุวงศ กังวานธรรม
ซอ่ื ธานุวงศ วอ งสมบูรณสิน ซอื่ ธานุวงศ เลศิ ลา้ํ ซื่อธานวุ งศ จติ ตเิ รืองวชิ ัย

1.3.1.น.ส.นฤภร 1.4.1.ด.ช.ทอปราน 1.5.1.ด.ช.ชยิน 1.6.1.ด.ญ.พิชชานันท
วอ งสมบรู ณสิน ซือธานวุ งศ์ กังวานธรรม จติ ติเรอื งวิชัย

1.3.2.นายศุภกร 1.5.2.ด.ญ.ชลดิ า 1.6.2.ด.ญ.นนั ทรัตน
วอ งสมบรู ณสนิ กังวานธรรม จติ ตเิ รืองวชิ ัย

3.นายลงกรณ์ 4.นายปราการ 6.นายวีระเทพ
ปีตภทั รวบิ ลู ย์ ชน่ื โชคสันต ชื่นโชคสนั ต

3.นางมกุ ดา 4.นางบษุ บง 6.นางนวรัตน
แซผ่ า่ ง เพชรพุม เกยี รตพิ มิ ล

3.3.นายเทพฤทธิ์ 3.3.น.ส.วรธกานต 3.4.นายไกรฤทธิ์ 3.4.น.ส.ชญานี 4.1.น.ส.อริสา 4.1.นายธนิศร 6.2.นายเมษา 6.2.นางนฤมล
ชื่นโชคสนั ต รังสริ ักษ ชื่นโชคสันต สุขใส
ช่นื โชคสันต นริ นั ดรสุข ปต ภัทรวบิ ูลย บอ จักรพนั ธ

3.3.1.ด.ช.ณัฐวรรธน 3.4.1.ด.ช.ดนัยวฒั น ร‹ุน
ชน่ื โชคสนั ต ปตภทั รวบิ ูลย พ‹อ + แม‹
ลกู ชายหญงิ + ภรรยาสามี
3.4.2.ด.ญ.ภิญญาพชั ญ หลาน - เหลน
ปต ภัทรวิบูลย



ป ร ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

THE HEART OF PRAJNA PARAMITA SUTRA

般若波羅蜜多心經

The Heart Sutra Annotations
Sweet Dews of the Dharma

ป ร ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร
ฉ บั บ สั ง ก ษ ป ต ะ ม า ต ฤ ก า [ ฉ บั บ ย‹ อ ]

ापार मता दयसू म ् [सं तमातकृ ा]
ภ า ค แ ป ล ป รั ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร ฉ บั บ สั ง ก ษิ ป ต ะ ม า ต ฤ ก า

ป ร ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร
ฉ บั บ ว ส ต ร ะ ม า ต ฤ ก า [ ฉ บั บ ใ ห ญ‹ ]

ापार मता दयसू म ् [[ व तरमातकृ ा]
ภ า ค แ ป ล ป รั ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร ฉ บั บ วิ ส ต ร ะ ม า ต ฤ ก า
ป รั ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร จ า ก วิ กิ พี เ ดี ย ส า ร า นุ ก ร ม เ ส รี

摩訶般若波羅蜜多心經

ป รั ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

ภ า ค ข ย า ย ค ว า ม ป รั ช ญ า ป า ร า มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

大乘二十頌論

[ ม ห า ย า น ว ส ติ ค า ถ า ศ า ส ต ร ]

ป ร ะ วั ติ พ ร ะ น า ค า ร ชุ น แ ล ะ ค ว า ม เ ข า ใ จ เ ร่ื อ ง สุ ญ ญ ต า
ท า น น า ค า ร ชุ น ะ ป รั ช ญ า ม ห า ย า น นิ ก า ย ศู น ย ต ว า ทิ น

วั ช ร ป รั ช ญ า ป า ร มิ ต า สู ต ร ท า น น า ค า ร ชุ น ะ
สุ ญ ญ ต า ธ ร ร ม ( ฉ บั บ ย อ ) พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ
บ ท ค ว า ม เ รื่ อ ง สุ ญ ญ ต า แ ล ะ จิ ต ว า ง

บ ท ส ว ด พ ร ะ ค า ถ า ป รั ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร
ลาํ นํา มู ล ฐ า น ท า ง ส า ย ก ล า ง ข อ ง น า ค า ร ชุ น
หั ว ใ จ คํา ส อ น ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ อ ง ค



ป ร ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

THE HEART OF PRAJNA PARAMITA SUTRA

般若波羅蜜多心經

Translated by the Chung Tai Translation Committee June 2002

From the Chinese translation by Tripitaka Master Xuan Zang, 7th Century

Sutra annotations: August 2008

Prior English translations of the sutra by many others were used as references. The Chung Tai

Translation Committee comprises of Dharma Masters and lay disciples and convenes regularly.

To view or download other sutra translations by CTTC, visit “Dharma Gems” on

http://sunnyvale.ctzen.org. Comments and suggestions may be sent to [email protected]

Namo Fundamental Teacher Shakyamuni Buddha

南無本師釋迦牟尼佛

SUTRA OPENING GATHA

開經偈

The Dharma, infinitely profound and subtle, is rarely encountered even in a million kalpas.

Now we are able to hear, study, and follow it, May we fully realize the Tathagata’s true

meaning.

無上甚深微妙法 百千萬劫難遭遇

我今見聞得受持 願解如來真實義

THE HEART OF PRAJNA PARAMITA SUTRA

Bodhisattva Avalokiteshvara, While deeply immersed in prajna paramita, Clearly

perceived the empty nature of the five skandhas, And transcended all suffering.

Shariputra! Form is not different from emptiness, Emptiness is not different from form.

Form is emptiness, emptiness is form. So it is with feeling, conception, volition, and

consciousness.

Shariputra! All dharmas are empty in character; Neither arising nor ceasing, Neither impure

nor pure, Neither increasing nor decreasing.

Therefore, in emptiness, there is no form; There is no feeling, conception, volition, or

consciousness; No eye, ear, nose, tongue, body, or mind; No form, sound, smell, taste, touch,

or dharmas; No realm of vision, and so forth, Up to no realm of mind-consciousness; No

ignorance or ending of ignorance, and so forth, Up to no aging and death or ending of aging

and death. There is no suffering, no cause, no extinction, no path. There is no wisdom and no

attainment. There is nothing to be attained.

1

By way of prajna paramita, The bodhisattva’s mind is free from hindrances. With no
hindrances, there is no fear; Freed from all distortion and delusion, Ultimate nirvana is reached.

By way of prajna paramita, Buddhas of the past, present, and future Attain anuttara-
samyak-sambodhi. Therefore, prajna paramita Is the great powerful mantra, The great
enlightening mantra, The supreme and peerless mantra. It can remove all suffering. This is the
truth beyond all doubt. And the prajna paramita mantra is spoken thus:
Gate gate paragate parasamgate bodhi svaha.

The Heart Sutra Annotations

THE HEART*1 OF PRAJNA*3 PARAMITA*4 SUTRA*2

般若波羅蜜多心經

Bodhisattva*5 Avalokiteshvara*6, While deeply immersed*7 in prajna paramita, Clearly
perceived the empty nature8 of the five Skandhas*9, And transcended all suffering.
Shariputra*10! Form is not different from emptiness, Emptiness is not different from form. Form
is emptiness, emptiness is form. So it is with feeling, conception, volition, and consciousness.

觀自在菩薩。行深般若波羅蜜多時。照見五蘊皆空。度一切苦厄。舍利子。色不異空。空不異色
。色即是空。空即是色。受想行識。亦復如是。

*1 Heart Sutra. The short title of this most popular and important sutra. It contains the very
essence of the vast body of wisdom teachings (prajna-paramita sutras) in Buddhism.
*2 sutra 佛經

A Buddhist scripture containing the dialogues or discourses of the Buddha.
*3 prajna 般若
Great transcendental wisdom; wisdom from understanding the truth; wisdom of understanding
the empty nature of the ‘self’ and all phenomena; wisdom that can overcome birth-and-death
and all suffering, and enlighten all beings.
*4 paramita 波羅蜜多
Perfection, the practice that can bring one to liberation. Literally, “to the other shore.” To
become a buddha, the bodhisattva practices the six paramitas: perfection of charity (dana),
moral conduct (sila), tolerance (ksanti), diligence (virya), meditation (dhyana), and, most
important of all, wisdom (prajna).

*5 bodhisattva 菩薩
One who, with infinite compassion, vows to become a buddha and to liberate countless
sentient beings. A bodhisattva practices all six paramitas (perfections), but it is the prajna

2

paramita that ultimately brings true liberation. Bodhi: enlightenment, to awaken. Sattva:
sentient beings, beings with consciousness.

*6 Avalokitesvara 觀自在,觀世音

This bodhisattva is considered the embodiment of the Buddhist virtue of compassion. Known
as Guanyin in Chinese, this is the most beloved bodhisattva in Asia. The name means
“perceiver of cries of the world” and “unhindered perceiver of the truth.” Thus this
bodhisattva is able to help all sentient beings.

*7 deeply immersed. Deep in the practice and understanding of the profound prajna paramita.
It is not enough to understand prajna intellectually; one must practice it with the whole body
and mind. Here ‘deeply’ means the understanding of not only the empty nature of the ‘self’
but also of all phenomena.

*8 empty nature 空

Both the self and all phenomena are without independent existence or inherent, fixed
characteristics. They are impermanent, mutable and mutually dependent; their individuality is
in appearance only. Buddhism provides us with several classifications of phenomena to help
us understand how ordinary people perceive the world. They are: the five skandhas, the twelve
bases, and the eighteen spheres (see below). However, our perceptions of the world are
founded on ignorance; therefore, these constructions are ultimately empty.

*9 five skandhas 五蘊

Five aggregates-form, feeling, conception, volition, and consciousness (色受想行識) Form refers
to our body or the physical world, the other four are of the mind. Ordinary beings see
themselves as composed of these aggregates. When we analyze them deeper, we find no real
substance.

*10 Sariputra 舍利子,舍利弗

(Pronounced Shariputra). A senior disciple of the Buddha, known for his wisdom.

Shariputra! All dharmas*11 are empty in character; Neither arising nor ceasing*12, Neither
impure nor pure, Neither increasing nor decreasing. Therefore, in emptiness, there is no form;
There is no feeling, conception, volition, or consciousness*13; No eye, ear, nose, tongue, body,
or mind; No form, sound, smell, taste, touch, or dharmas*14; No realm of vision, and so forth,
Up to no realm of mind-consciousness*15; No ignorance or ending of ignorance, and so forth,
Up to no aging and death or ending of aging and death*16. There is no suffering, no cause, no
extinction, no path*17.

3

舍利子。是諸法空相。不生不滅。不 垢不淨。不增不減。是故空中無色。 無受想行識。無眼耳
鼻舌身意。無色 聲香味觸法。無眼界。乃至無意識界。 無無明。亦無無明盡。乃至無老死。 亦
無老死盡。無苦集滅道。

*11 dharmas 法

“Dharma” (capitalized) means the Buddha’s teaching, the Law, the Truth; “dharmas” means
things, phenomena.

*12 neither arising … nor decreasing. By understanding the mutual dependencies and inter-
connections of all things, one realizes that all creation and destruction, birth-and-death, good
and bad, more and less, etc., exist in appearance only.

*13 no form, feeling … This negation of the five skandhas is to point out that the superficial
appearance and characters we are familiar with actually have no intrinsic substance. Form
(physical matter) is energy, its appearance is an illusion of the perceiver; feelings are subjective;
conceptions are mind-made; volition (will or intent which leads to action); and what we call
consciousness are streams of thought based on deluded understanding of reality. There is no
“self” to be found in form, feeling, conception, volition, or consciousness.

*14 no eye, ear…or dharmas. Negation of the twelve bases (of consciousness) (十二處) which
include six senses (六根) and six sense objects (六塵). The six senses are used to perceive the
six sense objects and the result is our conception of the world. The six sense objects are also
known as six dusts in Buddhism.

*15 no realm of vision … no realm of mind-consciousness. Negation ofthe eighteen spheres (
十八界), six senses, six sense objects, and six types of consciousness, that of vision, hearing,
olfaction, taste, touch, and mind-consciousness. The eighteen spheres represent the way the
deluded mind perceives and divides the world, and prevents us from seeing the unity and
equality of all things.

*16 no ignorance … no ending of aging and death. The twelve links of dependent origination (
十二因緣) explain the process of the rebirth cycle. They are ignorance −› intentional action −›
consciousness −› mind and form −› six senses −› contact −› feeling −› craving −› grasping −›
being −› birth −› old age and death. However, from the view of absolute reality, the twelve
links and their elimination (ending of …, which is needed to gain liberation from rebirth), are
also empty. In fact, what we perceive as birth-and-deaths are actually delusions, so suffering
is also empty.

4

*17 no suffering, no cause, no extinction, no path. Since suffering is produced by ignorance
and delusion, it is empty. The emptiness of suffering, cause of suffering, extinction of suffering,
and the path is a higher understanding of the Four Noble Truths.

There is no wisdom and no attainment*18. There is nothing to be attained. By way of
prajna paramita*19, The bodhisattva’s mind is free from hindrances. With no hindrances, there
is no fear*20; Freed from all distortion and delusion, Ultimate nirvana is reached.

By way of prajna paramita, Buddhas*21 of the past, present, and future Attain anuttara-
samyak-sambodhi*22. Therefore, prajna paramita is the great powerful mantra, The great
enlightening*23 mantra*24, The supreme and peerless mantra. It can remove all suffering. This
is the truth beyond all doubt. And the prajna paramita mantra is spoken thus:

Gate gate paragate parasamgate bodhi svaha*25.

無智亦無得。以無所得故。菩提薩埵。依般若波羅蜜多故。心無罣礙。無罣礙故。無有恐怖。遠
離顛倒夢想。究竟涅槃。三世諸佛。依般若波羅蜜多故。得阿耨多羅三藐三菩提。故知般若波羅
蜜多。是大神咒。是大明咒。是無上咒。是無等等咒。能除一切苦。真實不虛。故說般若波羅蜜
多咒。即說咒曰。揭諦揭諦。波羅揭諦。波羅僧揭諦。菩提薩婆訶。

*18 no wisdom and no attainment. Negation of the bodhisattva’s practice, in this specific case,
wisdom. Wisdom overcomes ignorance and delusion. Since delusions are empty, so is wisdom.
Nothing (which we do not already have) is gained by liberation. Buddha teaches that once we
get to the other shore, there is no need to carry around the raft (the teaching) that got us
there. The preceeding three annotations are about letting go of the “rafts” of the “Three
Vehicles”.

*19 by way of prajna paramita…. By the practice and profound understanding of the
empty/interconnected/equal nature of all dharmas, which is prajna wisdom, one’s mind
becomes freed from all delusions and abides in absolute peace and absolute bliss. This is
called attaining nirvana.

*20 there is no fear. Fear comes from misunderstanding and ignorance. With prajna wisdom,
all fear is removed.

*21 buddhas. “The enlightened one.” There are many buddhas in the past, present, and future;
all sentient beings can become buddhas by practicing prajna paramita.

*22 anuttara-samyak-sambodhi. Anuttara: unsurpassed. Samyak sambodhi: right and
comprehensive understanding (complete enlightenment). Unsurpassed complete
enlightenment is the state of a buddha.

5

*23 powerful, enlightening…. True wisdom liberates and empowers us. There is no higher
wisdom than prajna, nothing can compare to it. There is no higher bliss than what prajna can
bring.
*24 mantra. “True words”, also a short phrase that contains much meaning. Mantras are usually
left untranslated.
*25 gate gate paragate parasamgate bodhi svaha. This mantra basically means: go, go, go
beyond, go completely beyond to complete enlightenment.

Sweet Dews of the Dharma

THE FOUR NOBLE TRUTHS
1. Suffering exists in everyone’s life.
2. The causes of suffering are greed, anger, and ignorance.
3. Nirvana, the extinction of suffering, is possible for everyone.
4. Nirvana is achieved by following the Noble Eightfold Path.

四聖諦
苦﹐集﹐滅﹐道。

THE NOBLE EIGHTFOLD PATH
Right Understanding, Right Thought, Right Speech, Right Action, Right Livelihood, Right Effort,
Right Mindfulness, and Right Samadhi.

八正道
正見﹐ 正思惟﹐ 正語﹐ 正業﹐正命﹐ 正精進﹐ 正念﹐ 正定。

FOUR TENETS OF CHUNG TAI

To our elders be respectful,

To our juniors be kind,

With all humanity be harmonious,

In all endeavors be true.

中台四箴行 對下以慈﹐
對上以敬﹐ 對事以真。
對人以和﹐

ACTION AND NON-ACTION
When in action, perfect all actions.
When at rest, rest all thought.
Action and non-action are both illusory;

6

All we need in life are already present.

動則萬善圓彰 靜則一念不生
動靜原是虛妄 日用一切現成

THREE REFUGES

三皈依

I take refuge in the Buddha, may all sentient beings Understand the Great Way profoundly,
and bring forth the bodhi mind.
I take refuge in the Dharma, may all sentient beings Deeply enter the sutra treasury, and have
wisdom vast as the sea.
I take refuge in the Sangha, may all sentient beings Form together a great assembly, one and
all in harmony.

自皈依佛 當願眾生 體解大道 發無上心 自皈依法 當願眾生 深入經藏 智慧如海 自皈依僧 當願
眾生 統理大眾 一切無礙 自皈依僧 當願眾生 統理大眾 一切無礙 和南聖眾

FOUR GREAT VOWS

四弘誓願

Countless are sentient beings, I vow to liberate;

Endless are afflictions, I vow to eradicate;

Measureless are the Dharmas, I vow to master;

Supreme is the Buddha Way, I vow to attain.

眾生無邊誓願度 煩惱無盡誓願斷
法門無量誓願學 佛道無上誓願成

REPENTANCE

懺悔偈

All the harm I have ever done, since time immemorial,

Are caused by greed, anger, and ignorance,

And produced through my body, speech, and will,

Now I confess and amend all.

往昔所造諸惡業 皆由無始貪瞋痴
從身語意之所生 一切罪障皆懺悔

DEDICATION OF MERITS

回向偈

May the merits of our deeds; Reach every part of the world; Sentient beings large and small
all attain enlightenment. Maha-Prajna-Paramita

願以此功德 普及於一切 我等與眾生 皆共成佛道 摩訶般若波羅蜜 中台禪寺

7

ป ร ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

ฉ บั บ สั ง ก ษ ป ต ะ ม า ต ฤ ก า [ ฉ บั บ ย‹ อ ]

ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร ฉบับสังกษิปตะมาตฤกา สํานวนในมหายานสูตรสังครหะ ปรัชญาปารมิตา

หฤทัยสูตร เปนพระสูตรขนาดเล็ก ในหมวดปรัชญาปารมิตาของพระไตรปฎกฝายมหายาน พระสูตรหมวดน้ี ท่ี

เนนการใชปญญาในการนําพาสูฝงขางโนน อันไดแกพระนิพพาน ประกาศหลักอนัตตาซ่ึงเปนหลักใหญของ

พระพทุ ธศาสนา

ตน ฉบบั อกั ษรเทวนาครี จากโครงการ Digital Sanskrit Buddhist Canon

ापार मता दयसू म ् [सं तमातकृ ा]

ปฺรชญฺ าปารมิตาหฤทยสูตฺรมฺ [สํกฺษปิ ฺตมาตฤกา]
ปรชั ญาปาระมติ าหฤทะยะสตู รัม [สงั กษปิ ตะมาตฤกา]

|| नमः सव ाय ||

๚ นมะ สรวฺ ชญฺ าย ๚

๚ นะมะห สรรวัชญายะ ๚

आयावलो कते वरबो धस वो ग भीरायां ापार मतायां चया चरमाणो यवलोकय त म |

อารยฺ าวโลกเิ ตศฺวรโพธิสตฺตโฺ ว คมภฺ รี ายํา ปฺรชฺญาปารมติ ายํา จรฺยํา จรมาโณ วฺยวโลกยติ สฺม ฯ

อารยาวะโลกิเตศวะระโพธิสัตตโว คัมภีรายาม ปรัชญาปาระมิตายาม จรรยาม จะระมาโณ วยะวะโลกะยะติ

สมะ ฯ

प च क धाः, तां च वभावशू यान ् प य त म ||

ปฺจ สกฺ นธฺ าะ, ตําศจฺ สฺวภาวศูนยฺ านฺ ปศยฺ ติ สมฺ ๚
ปญ จะ สกันธาห, ตามศจะ สวะภาวะศูนยาน ปศยะติ สมะ ๚

इह शा रपु पं शू यता, शू यतवै पम ् |

อหิ ศารปิ ุตฺร รปู  ศนู ยฺ ตา, ศูนฺยไตว รปู มฺ ฯ
อหิ ะ ศารปิ ุตระ รูปม ศนู ยะตา, ศูนยะไตวะ รูปม ฯ

पा न पथृ क् शू यता, शू यताया न पथृ ग ् पम ् |

รปู านฺน ปฤถกฺ ศนู ฺยตา, ศนู ฺยตายา น ปฤถคฺ รูปมฺ ฯ
รูปานนะ ปฤถัก ศนู ยะตา, ศนู ยะตายา นะ ปฤถัค รปู ม ฯ

य पू ं सा शू यता, या शू यता त पू म ् ||

ยทรฺ ูป สา ศนู ยฺ ตา, ยา ศนู ยฺ ตา ตทฺรูปมฺ ๚
ยทั รูปม สา ศนู ยะตา, ยา ศูนยะตา ตัทรูปม ๚

एवमवे वेदनासं ासं कार व ाना न ||

เอวเมว เวทนาสํชญฺ าสํสกฺ ารวิชญฺ านานิ ๚

เอวะเมวะ เวทะนาสัญชญาสมั สการะวิชญานานิ ๚

8

इहं शा रपु सवधमाः शू यताल णा अनु प ना अ न ा अमला न वमला नोना न

प रपणू ाः |

อหิ ํ ศารปิ ตุ รฺ สรฺวธรฺมาะ ศูนฺยตาลกษฺ ณา อนตุ ฺปนฺนา อนิรทุ ฺธา อมลา น วิมลา โนนา น ปริปูรฺณาะ ฯ

อิหัม ศาริปุตระ สรรวะธรรมาห ศูนยะตาลักษะณา อะนุตปนนา อะนิรุทธา อะมะลา นะ วิมะลา โนนา นะ ปะ
ริปูรณาห ฯ

त मा छा रपु शू यतायां न पम,् न वदे ना, न सं ा, न सं काराः, न व ाना न |

ตสฺมาจฉฺ ารปิ ตุ รฺ ศนู ยฺ ตายํา น รปู ม,ฺ น เวทนา, น สํชญฺ า, น สสํ กฺ าราะ, น วชิ ฺญานานิ ฯ

ตสั มาจฉาริปตุ ระ ศนู ยะตายาม นะ รปู ม , นะ เวทะนา, นะ สัญชญา, นะ สัมสการาห, นะ วิชญานานิ ฯ

न च ःु ो ाणिज वाकायमनां स, न पश दग धरस ट यधमाः |

น จกษฺ ะุ โศฺรตฺรฆฺราณชหิ วฺ ากายมนําส,ิ น รปู ศพฺทคนฺธรสสฺปรฺ ษฺฏวยฺ ธรฺมาะ ฯ

นะ จักษุหโศรตระฆราณะชิหวากายะมะนามส,ิ นะ รูปะศัพทะคันธะระสสั ปรัษฏะวยะธรรมาห ฯ

न च धु ातयु ाव न मनोधातःु ||

น จกฺษรุ ธฺ าตรุ ฺยาวนนฺ มโนธาตุะ ๚

นะ จกั ษุรธาตรุ ยาวันนะ มะโนธาตุห ๚

न व या ना व या न व या यो ना व या यो याव न जरामरणं न जरामरण यो न

दःु खसमदु य नरोधमागा न ानं न ाि त वम ् ||

น วิทฺยา นาวิทฺยา น วิทฺยากฺษโย นาวิทฺยากฺษโย ยาวนฺน ชรามรณํ น ชรามรณกฺษโย น ทุะขสมุทยนิโรธมารฺคา
น ชฺญานํ น ปฺราปฺติตฺวม๚ฺ

นะ วิทยา นาวทิ ยา นะ วิทยากษะโย นาวิทยากษะโย ยาวันนะ ชะรามะระณมั นะ ชะรามะระณกั ษะโย นะ ทุห
ขะสะมทุ ะยะนโิ รธะมารคา นะ ชญานมั นะ ปราปติตวัม๚

बो धस व य( च ?) ापार मतामा य वहर त च तावरणः |

โพธิสตฺตวฺ สยฺ (ศจฺ ?) ปรฺ ชฺญาปารมติ ามาศฺริตฺย วิหรติ จติ ตฺ าวรณะ ฯ

โพธสิ ตั ตวัสยะ(ศจะ ?) ปรชั ญาปาระมติ ามาศรติ ยะ วหิ ะระติ จติ ตาวะระณะห ฯ

च तावरणनाि त वाद तो वपयासा त ा तो न ठ नवाणः |

จติ ฺตาวรณนาสตฺ ติ วฺ าทตฺรสฺโต วิปรยฺ าสาติกรฺ านฺโต นษิ ฺฐนริ วฺ าณะ ฯ

จิตตาวะระณะนาสตติ วาทะตรัสโต วิปรรยาสาติกรานโต นิษฐะนิรวาณะห ฯ

य व यवि थताः सवबु ाः ापार मतामा य अनु तरां स य सबं ो धम भसंबु ाः ||

ตฺรยฺ ธฺววยฺ วสถฺ ิตาะ สรฺวพทุ ฺธาะ ปฺรชญฺ าปารมติ ามาศรฺ ติ ฺย อนุตฺตรํา สมยฺ กสฺ ํโพธิมภสิ ํพุทฺธาะ ๚

ตรยัธวะวยะวัสถิตาห สรรวะพทุ ธาห ปรัชญาปาระมติ ามาศรติ ยะ อะนุตตะราม สมั ยกั สมั โพธมิ ะภิสมั พุทธาห ๚

त मा ात यः ापार मतामहाम ो महा व याम ोऽनु तरम ोऽसमसमम ः
सवदःु ख शमनः स यम म य वात ् ापार मतायामु तो म ः |

9

ตสฺมาชฺชฺญาตวฺยะ ปฺรชฺญาปารมิตามหามนฺโตฺร มหาวิทฺยามนฺโตฺร’นุตฺตรมนฺโตฺร’สมสมมนฺตฺระ สรฺวทุะขปฺรศม
นะ สตฺยมมถิ ฺยตวฺ าตฺ ปรฺ ชญฺ าปารมิตายามกุ ฺโต มนตฺ รฺ ะ ฯ
ตสั มาชชญาตะวยะห ปรชั ญาปาระมติ ามะหามนั โตร มะหาวิทยามนั โตรนตุ ตะระมนั โตรสะมะสะมะมันตระห
สรรวะทหุ ขะประศะมะนะห สตั ยะมะมิถยัตวาต ปรัชญาปาระมิตายามกุ โต มนั ตระห ฯ

[บทธารณ]ี

त यथा- गते गते पारगते पारसंगते बो ध वाहा ||

ตทฺยถา- คเต คเต ปารคเต ปารสคํ เต โพธิ สฺวาหา ๚
ตัทยะถา- คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสังคะเต โพธิ สวาหา๚

इ त ापार मता दयसू ं समा तम ् ||

อติ ิ ปรฺ ชญฺ าปารมิตาหฤทยสตู รฺ ํ สมาปตฺ มฺ ๚
อติ ิ ปรัชญาปาระมติ าหฤทะยะสตู รัม สะมาปตมั ๚

ภ า ค แ ป ล ป ร ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

ฉ บั บ สั ง ก ษ ป ต ะ ม า ต ฤ ก า

พระอารยาวโลกิเตศวรโพธิสัตว เม่ือทรงไดบําเพ็ญปญญาบารมี จนบรรลุถึงโลกุตรธรรมอันลึกซ้ึงแลว
พิจารณาเล็งเหน็ วา ที่แทจรงิ แลวขันธ ๕ นัน้ เปน สูญ จึงไดกาวลว งจากสรรพทุกขท ั้งปวง

ดูกอนทานสารีบุตร รูปคือความสูญ ความสูญน่ันแหละคือรูป ความสูญไมอื่นไปจากรูป รูปไมอื่นไปจาก
ความสูญ รูปอันใด ความสูญก็อันนั้น ความสูญอันใด รูปก็อันนั้น อนึ่ง เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ก็เปน
สูญอยางเดยี วกนั

ทานสารบี ตุ ร กส็ รรพธรรมท้งั ปวง มคี วามสูญเปนลักษณะ ไมเกดิ ไมด บั ไมม วั หมอง ไมผ อ งแผว ไมหยอน
ไมเต็ม อยางน้ี เพราะฉะน้นั แหละ ทานสารีบุตร ในความสูญจึงไมมรี ูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไมมีตา
หู จมูก ล้ิน กาย ใจ ไมมีรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะธรรม ไมมีจักษุธาตุ จนถึงมโนธาตุ ในธรรมชาติน้ัน
วิญญาณธาตุ ไมมีวิชชา ไมมีอวิชชา ไมมีความส้ินไปแหงวิชชาและอวิชชา จนถึงไมมีความแกและความตาย ไม
มีความส้ินไปแหงความแกและความตาย ไมมีทุกข สมุหทัย นิโรธ มรรค ไมมีญาณ ไมมีการบรรลุ ไมมีการไม
บรรลุ

พระโพธิสัตวผ ูว างใจในปญ ญาบารมี จะมจี ิตที่เปน อิสระจากอุปสรรคส่งิ กดี กั้น เพราะจติ ของพระองคเปน
อิสระจากอุปสรรคสิ่งกีดก้ัน พระองคจึงไมม ีความกลัวใดๆ กาวลวงพนไปจากมายาหรือสิ่งลวงตา บรรลุถึงพระ
นพิ พานไดในที่สุด

อันพระสัมมาสัมพุทธเจาในตรีกาล (อดีต ปจจุบัน และอนาคต) ดวยเหตุที่ทรงอาศัยปญญาบารมี จึงได
ตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ดวยเหตุฉะน้ี จึงสมควรทราบวาปญญาบารมีน้ี คือมหาศักดามนตร (เปนมหา
มนตอันศักด์ิสิทธ์ิ) คือมหาวิทยามนตร (เปนมนตแหงความรูอันยิ่งใหญ) คืออนุตรมนตร (เปนมนตอันไมมีมนต
อื่นย่ิงกวา) คืออสมสมมนตร (เปนมนตอันไมมีมนตอ่ืนใดมาเทียบได) สามารถขจัดสรรพทุกขท้ังปวง นี่เปน
สัจจะ เปน อสิ ระจากความเทจ็ ทง้ั มวล จงึ เปน เหตใุ หก ลา วมนตรแ หงปญญาบารมีวา

10

“คะเต คะเต ปารคะเต ปารสงั คะเต โพธิ สวาหา”*

*...ปกตินั้น บทธารณี นั้นมักจะไมแปล แตหากแปลจะแปลวา “จงไป จงไป ไปถึงฝงโนน ไปใหพนโดย
ส้ินเชิง บรรลุถงึ ความรูแจง”...*

เชงิ อรรถ

ศูนยตาหรือสุญญตา (บาลี: สุฺญตา, สันสกฤต: ศูนฺยตา) แปลวา ความวางเปลา ความเปนของสูญ มี
ความหมายวา ความไมม ตี ัวตน ถอื เอาเปนตวั ตนไมได

“สุญญตาอนั ใด อนตั ตากอ็ ันนัน้ อนัตตาอนั ใด สญุ ญตาก็อนั น้ัน”

คําวา สุญญตา เปนคําที่ฝายมหายานนิยมใชแพรหลายมากท่ีสุด สุญญตากับอนัตตาความจริงก็มี
ความหมายใกลเคียงกัน กลาวคือเปนคําปฏิเสธสภาวะซึ่งมีอยู เปนอยูดวยตัวมันเอง เพราะในทรรศนะของ
มหายาน สรรพส่ิงซึ่งปรากฏแกเรา ลวนเปนปฏิจจสมุปบาทธรรมทั้งส้ิน สุญญตามิไดหมายวา วางเปลาไมมี
อะไรเลยเหมือนอากาศ แตหมายเพียงวา ไมมีสภาวะท่ีดํารงอยูไดโดยตัวของมันเอง ชนิดที่ไมตองอาศัยปจจัย
แตปจจัยธรรมซึ่งอาศัยกันเปนภาพมายา มีอยูปรากฏอยูมิใชวา จะไมมีอะไรๆไปเสียทั้งหมด ฝายมหายาน
อธิบายวา โลกกับพระนิพพาน ความจริงไมใชอันเดียวกันหรือแตกตางกัน กลาวคือ โลกเปนปฏิจจสมุปบาท
ความดับปฏิจจสมุปบาทนั้นเสียได ก็คือพระนิพพาน ฉะนั้นทั้งโลกและพระนิพพาน จึงเปนสุญญตา คือไมใช
เปนสภาวะ และเม่ือสภาวะไมมีเสียแลว อภาวะก็พลอยไมมีไปดวย เพราะมีสภาวะ จึงมีอภาวะเปนของคูกัน
ผูใดเห็นวา โลกและพระนิพพานเปนสภาวะ ผูนั้นเปนสัสสตทิฏฐิ ผูใดเห็นวา โลกและพระนิพพานเปนอภาวะ
เลา ผูน้ันก็เปนอุจเฉททิฏฐิ ผูใดเห็นวา โดยสมมติสัจจะธรรมท้ังปวง เปนปฏิจจสมุปบาท และโดยปรมตั ถสัจจะ
ธรรมทั้งปวง เปน สญุ ญตาไซร ผนู น้ั แลไดชือ่ วา ผูม ีสมั มาทิฏฐโิ ดยแท ทวี่ า มานี้ เปน มติของพระนาครชุนผเู ปนตน
นกิ ายสญุ ญวาท”

เสถียร โพธินันทะ, ชุมนมุ พระสูตรมหายาน, สํานักพิพมพบรรณาคาร, 2516, ต-ถ

ดแู ละฟง เพ่ิมเติมหลกั ของสุญญตา อ.เสถยี ร โพธินันทะ

สุญญตาในลทั ธมิ หายาน อ.เสถยี ร โพธนิ ันทะ

ธรรมสงั คีต ปรัชญาปารมิตาหฤทยั สูตร

ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร น้ันมีหลากหลายภาษาและหลายสํานวน (แตเนื้อหาเหมือนกัน) นอกจากจะ
นิยมสาธยายเปนระหวางประกอบพิธีทางศาสนา ในประเทศที่นับถือพุทธศาสนาฝายมหายานแลว ในปจจุบัน
ยังพบในรูปแบบที่เปนธรรมสังคีต ประกอบกับดนตรีหลากหลายแนว และเวอรช่ันท่ีไดรับความสนใจ หลาย
ทานคงจะเคยไดยิน ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร หรือ The Heart Sutra ท่ีรองเปนภาษาสันสกฤตโดย Imee
Ooi ชาวมาเลเซีย เชื้อสายจีนเปนท่ีแพรหลายใน Youtube เวอรชั่นนี้เปนท่ีช่ืนชอบในไทยมาก ไมวาจะเปนใน
รูปแบบวีดีโอหรือแมแตบทปริวรรต ผูเรียบเรียงคิดวา ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร ของ Imee Ooi นาจะเปน
ฉบับสังกษิปตะมาตฤกา [ฉบับยอ] แตสํานวนของใครไมทราบใด แตนาจะเปนคนละสํานวนกับสํานวนใน
มหายานสูตรสังครหะ

11

เน่ืองจากเปนพระสูตรที่เปนท่ีสนใจของคนไทยจํานวนมาก บทแปลไทยของ ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร
ฉบับสังกษิปตะมาตฤกา นี้ ก็มีหลากหลายสํานวนเชนกัน มีแพรหลายในอินเตอรเน็ตจํานวนมาก แตหาท่ีมาท่ี
ไปไมไ ด อนงึ่ ผูเ รยี บเรยี งเองไมใชผ ูเ ชย่ี วชาญภาษาสนั สฤต ดังนน้ั ผเู รยี บเรยี งจงึ เลือกสํานวนมาหนึ่งสาํ นวน แต
ณ ที่น้ี ผเู รยี บเรียงนํามาประกอบใสไวพอเปน ที่สงั เขปเทาน้นั

ป ร ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

ฉ บั บ ว ส ต ร ะ ม า ต ฤ ก า [ ฉ บั บ ใ ห ญ‹ ]

ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร เปนพระสูตรขนาดเล็ก ในหมวดปรัชญาปารมิตาของพระไตรปฎกฝาย
มหายาน พระสูตรหมวดน้ี ท่ีเนนการใชปญญาในการนําพาสูฝงขางโนน อันไดแก พระนิพพาน ประกาศหลัก
อนัตตา ซึง่ เปน หลักใหญของพระพุทธศาสนา

ปรัชญาปารมิตาหฤทยั สูตรในมหายานสูตรสังครหะนั้น มสี องฉบบั คอื ฉบบั สังกษปิ ตะมาตฤกาและฉบับวิ
สตระมาตฤกา จากคราวท่ีแลวไดนําเสนอ ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร ฉบับสังกษิปตะมาตฤกา ไปแลว คราวน้ี
ขอเสนอ ฉบับวสิ ตระมาตฤกา

ตนฉบบั อักษรเทวนาครี จากโครงการ Digital Sanskrit Buddhist Canon

ापार मता दयसु म।्

ปรฺ ชฺญาปารมติ าหฤทยสตุ รฺ มฺฯ
ปรัชญาปาระมติ าหฤทะยะสตุ รัมฯ
ปรชั ญาปารมิตาหฤทัยสูตร

[ व तरमातकृ ा]

[วิสตฺ รมาตฤกา]
[วิสตะระมาตฤกา]
[ฉบบั ใหญ]

॥नमः सव ाय॥

๚นมะ สรวฺ ชฺญาย๚
๚นะมะห สรรวะชญายะ๚
ขอนอบนอ มแดพ ระผูสัพพัญู พระปรีชาญาณหยั่งรูส่ิงท้งั ปวง ทั้งท่เี ปนอดีต ปจ จบุ นั และอนาคต

एवं मया तु म।्

เอวํ มยา ศรฺ ตุ มฯฺ
เอวมั มะยา ศรตุ ัมฯ
ขา พเจาไดส ดบั มาแลวอยา งน้ี

एकि मन ् समये भगवान ् राजगहृ े वहर त म गृ कू टे पवतमे हता भ सु घं ेन साध महता
च बो धस वसघं ेन।

เอกสมฺ นิ ฺ สมเย ภควานฺ ราชคฤเห วิหรติ สฺม คฤธฺรกูเฏ
12

ปรฺวเต มหตา ภกิ ษฺ สุ เํ ฆน สารฺธํ มหตา จ โพธิสตตฺ วฺ สํเฆนฯ
เอกัสมนิ สะมะเย ภะคะวาน ราชะคฤเห วิหะระติ สมะ คฤธระกูเฏ
ปรรวะเต มะหะตา ภิกษุสงั เฆนะ สารธัม มะหะตา จะ โพธสิ ัตตวะสงั เฆนะฯ
สมัยหนึ่งพระผูมีพระภาคประทับอยูที่ภูเขาคิชกูฏใกลกรุงราชคฤห พรอมดวยพระภิกษุสงฆหมูใหญ พระ
โพธสิ ตั วหมูใหญ

तने खलु समयेन भगवान ् ग भीरावसंबोधं नाम समा धं समाप नः।

เตน ขลุ สมเยน ภควานฺ คมฺภรี าวสโํ พธํ นาม สมาธิ สมาปนฺนะฯ
เตนะ ขะลุ สะมะเยนะ ภะคะวาน คมั ภรี าวะสมั โพธัม นามะ สะมาธมิ สะมาปนนะหฯ
สมยั นั้นแล พระผูมีพระภาคทรงเขาสมาธชิ อ่ื วา คัมภรี าวสมั โพธะ

तेन च समयेन आयावलो कते वरो बो धस वो महास वो ग भीरायां ापार मतायां चया
चरमाणः एवं यवलोकय त म।

เตน จ สมเยน อารฺยาวโลกเิ ตศฺวโร โพธิสตตฺ ฺโว มหาสตตฺ ฺโว
คมฺภีรายํา ปฺรชฺญาปารมติ ายํา จรยฺ ํา จรมาณะ เอวํ วฺยวโลกยติ สฺมฯ
เตนะ จะ สะมะเยนะ อารยาวะโลกเิ ตศวะโร โพธิสตั ตโว มะหาสตั ตโว
คมั ภีรายาม ปรัชญาปาระมิตายาม จรรยาม จะระมาณะห เอวมั วยะวะโลกะยะติ สมะฯ
โดยสมยั เดยี วกนั น้ันแล พระอารยะอวโลกเิ ตศวรโพธิสัตวมหาสัตว ไดประพฤตจิ ริยาในปรชั ญาปารมิตาอนั ลึกซ้ึง
(ปญ ญาบารมี คณุ ชาติที่ทําใหบ รรลถุ ึงฝง แหง ปญ ญา)

प च क धां तां च वभावशू यं यवलोकय त॥

ปจฺ สกฺ นฺธาํ สฺตาํ ศฺจ สฺวภาวศนู ฺยํ วยฺ วโลกยต๚ิ
ปญ จะ สกันธามสตามศจะ สวะภาวะศูนยัม วยะวะโลกะยะต๚ิ
คอื ไดพ ิจารณาขนั ธ ๕ และความสญู โดยสภาพ

अथायु मान ् शा रपु ो बु ानभु ावेन आयावलो कते वरं बो धस वमते दवोचत-् यः
कि च कु लपु ो [वा कु लदु हता वा अ यां] ग भीरायां ापार मतायां चया चतकु ामः,कथं
श त यः ?

อถายุษฺมานฺ ศาริปุโตฺร พุทฺธานุภาเวน อารฺยาวโลกิเตศฺวรํ โพธิสตฺตฺวเมตทโวจตฺ- ยะ กศฺจิตฺ กุลปุโตฺร [วา กุลทุ
หิตา วา อสยฺ ํา] คมภฺ รี ายาํ ปรฺ ชฺญาปารมติ ายํา จรฺยาํ จรฺตุกามะ,กถํ ศกิ ษฺ ติ วยฺ ะ ?
อะถายุษมาน ศาริปุโตร พุทธานุภาเวนะ อารยาวะโลกิเตศวะรัม โพธิสัตตวะเมตะทะโวจัต- ยะห กัศจิต กุละปุ
โตร [วา กลุ ะทุหติ า วา อสั ยาม] คมั ภีรายาม ปรัชญาปาระมิตายาม จรรยาม จรรตุกามะห, กะถมั ศกิ ษิตะวยะห
?
ลําดับน้ันพระสารีบุตรผูมีอายุ ไดกลาวกับพระอารยะอวโลกิเตศวรโพธิสัตว ดวยพุทธานุภาพวา กุลบุตร (หรือ
กลุ ธิดาใดๆ) ใครจะประพฤติจริยาในปรชั ญาปารมิตาอันลกึ ซง้ึ นัน้ จะพงึ ศึกษาอยา งไร ?

13

एवमु ते आयावलो कते वरो बो धस वो महास वः आयु म तं शा रपु मते दवोचत-् यः
कि च छा रपु कु लपु ो व कु लदु हता वा [अ या]ं ग भीरायां ापार मतायां चया
चतुकामः,

เอวมุกฺเต อารยฺ าวโลกเิ ตศฺวโร โพธสิ ตตฺ โฺ ว มหาสตตฺ วฺ ะ อายุษมฺ นฺตํ ศารปิ ุตรฺ เมตทโวจตฺ- ยะ กศจฺ จิ ฺฉาริปตุ รฺ กุลปุ
โตฺร ว กุลทุหิตา วา [อสยฺ าํ ] คมฺภรี ายํา ปรฺ ชญฺ าปารมติ ายาํ จรยฺ ํา จรฺตกุ ามะ,
เอวะมกุ เต อารยาวะโลกเิ ตศวะโร โพธิสัตตโว มะหาสัตตวะห อายุษมันตมั ศารปิ ุตระเมตะทะโวจัต- ยะห กศั จิจ
ฉารปิ ุตระ กลุ ะปโุ ตร วะ กุละทุหิตา วา [อัสยาม] คัมภรี ายาม ปรชั ญาปาระมติ ายาม จรรยาม จรรตุกามะห,
พระอารยะอวโลกิเตศวรโพธสิ ัตวมหาสตั ว อันพระสารีบตุ รผมู ีอายุไดกลาวอยา งนแี้ ลว ไดก ลาวตอบวา ทา นสารี
บุตร กุลบุตรหรอื กลุ ธดิ าใดๆ ใครจ ะประพฤติจรยิ าในปรชั ญาปารมิตาอันลึกซึ้ง

तने वै ं यवलो कत यम-् प च क धां तां च वभावशू यान ् समनपु य त म।

เตไนวํ วยฺ วโลกติ วยฺ ม-ฺ ปจฺ สกฺ นฺธาํ สฺตําศจฺ สวฺ ภาวศนู ฺยานฺ สมนปุ ศยฺ ติ สมฺ ฯ
เตไนวัม วยะวะโลกติ ะวยัม-ปญจะ สกันธามสตามศจะ สวะภาวะศนู ยาน สะมะนุปศยะติ สมะฯ
เขาพงึ พิจารณาอยางนี้ คอื พจิ ารณาขนั ธ ๕ วา มีความสูญโดยสภาพ

पं शू यता, शू यतवै पम।्

รปู  ศนู ยฺ ตา, ศูนฺยไตว รปู มฯฺ
รูปม ศนู ยะตา, ศนู ยะไตวะ รปู มฯ
รปู คอื ความสูญ ความสูญนั่นแหละคอื รูป

पा न पथृ क् शू यता, शू यताया न पथृ ग ् पम।्

รูปานนฺ ปฤถกฺ ศนู ยฺ ตา, ศนู ฺยตายา น ปฤถคฺ รูปมฺฯ
รปู านนะ ปฤถกั ศนู ยะตา, ศูนยะตายา นะ ปฤถัค รูปม ฯ
รปู ไมอ่ืนไปจากความสญู ความสญู ไมอนื่ ไปจากรูป

य पू ं सा शू यता, या शू यता त पू म।्

ยทรฺ ปู  สา ศนู ยฺ ตา, ยา ศูนยฺ ตา ตทฺรูปมฯฺ
ยัทรูปม สา ศนู ยะตา, ยา ศนู ยะตา ตทั รูปม ฯ
รูปอันใดความสูญกอ็ นั นน้ั ความสญู อนั ใดรูปกอ็ ันน้ัน

एवं वेदनासं ासं कार व ाना न च शू यता।

เอวํ เวทนาสํชฺญาสํสกฺ ารวิชญฺ านานิ จ ศนู ยฺ ตาฯ
เอวมั เวทะนาสญั ชญาสัมสการะวิชญานานิ จะ ศนู ยะตาฯ
อนงึ่ เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ กม็ คี วามสูญเปนสภาพอยา งเดียวกัน

एवं शा रपु सवधमाः शू यताल णा

เอวํ ศาริปตุ รฺ สรวฺ ธรฺมาะ ศนู ยฺ ตาลกษฺ ณา
เอวัม ศาริปุตระ สรรวะธรรมาห ศนู ยะตาลกั ษะณา

14

ดกู อน ทานสารบี ตุ ร กส็ รรพธรรมทัง้ ปวงมคี วามสูญเปน ลกั ษณะ

अनु प ना अ न ा अमला वमला अननू ा असंपणू ाः।

อนุตฺปนฺนา อนิรทุ ฺธา อมลา วมิ ลา อนนู า อสํปรู ฺณาะฯ
อะนุตปนนา อะนริ ทุ ธา อะมะลา วิมะลา อะนนู า อะสมั ปูรณาหฯ
ไมเ กิด ไมดบั ไมม ัวหมอง ไมผ องแผว ไมห ยอ น ไมเต็ม อยางน้ี

त मा त ह शा रपु शू यतायां

ตสมฺ าตฺตรฺหิ ศาริปตุ ฺร ศูนฺยตายํา
ตสั มาตตรรหิ ศารปิ ุตระ ศนู ยะตายาม
เพราะฉะนนั้ แหละทานสารีบุตร ในความสูญน้นั จงึ

न पम,् न वदे ना, न सं ा, न सं काराः, न व ानम,्

น รูปมฺ, น เวทนา, น สํชฺญา, น สํสฺการาะ, น วิชฺญานมฺ, นะ รูปม, นะ เวทะนา, นะ สัญชญา, นะ สัมสการาห,
นะ วชิ ญานมั ,
ไมม รี ปู ไมม เี วทนา ไมมีสญั ญา ไมม สี งั ขาร ไมมวี ญิ ญาณ

न च ुन ो ं न ाणं न िज वा न कायो न मनो

น จกษฺ ุรฺน โศฺรตฺรํ น ฆฺราณํ น ชิหวฺ า น กาโย น มโน
นะ จกั ษุรนะ โศรตรัม นะ ฆราณัม นะ ชิหวา นะ กาโย นะ มะโน
ไมมีตา ไมมีหู ไมมจี มกู ไมมลี ้นิ ไมมีกาย ไมม ีใจ

न पं न श दो न ग धो न रसो न ट यं न धमः।

น รปู  น ศพโฺ ท น คนฺโธ น รโส น สฺปรฺ ษฺฏวยฺ ํ น ธรมฺ ะฯ
นะ รูปม นะ ศพั โท นะ คันโธ นะ ระโส นะ สปรัษฏะวยมั นะ ธรรมะหฯ
ไมม รี ูป ไมม เี สียง ไมม กี ลิน่ ไมม ีรส ไมมีสัมผัส ไมมธี รรมารมณ

न च ुधातयु ाव न मनोधातनु धमधातुन मनो व ानधातःु ।

น จกษฺ รุ ฺธาตุรฺยาวนฺน มโนธาตรุ ฺน ธรมฺ ธาตรุ นฺ มโนวชิ ญฺ านธาตุะฯ
นะ จกั ษุรธาตรุ ยาวนั นะ มะโนธาตรุ นะ ธรรมะธาตรุ นะ มะโนวิชญานะธาตหุ ฯ
ไมมจี ักษธุ าตจุ นถึงมโนธาตุ ไมม ีธรรมธาตุและมโนวญิ ญาณธาตุ

न व या ना व या न यो याव न जरामरणं न जरामरण यः,

น วิทฺยา นาวิทฺยา น กฺษโย ยาวนนฺ ชรามรณํ น ชรามรณกษฺ ยะ,
นะ วิทยา นาวทิ ยา นะ กษะโย ยาวันนะ ชะรามะระณมั นะ ชะรามะระณักษะยะห,
ไมมีวชิ ชา และอวิชชา ไมม คี วามชรา ความมรณะ หรอื ความส้ินไปแหงความชรา ความมรณะ

न दःु खसमदु य नरोधमागा न ानं न ाि तना ाि तः।

น ทะุ ขสมุทยนโิ รธมารคฺ า น ชญฺ านํ น ปฺราปฺตริ ฺนาปรฺ าปตฺ ะิ ฯ
นะ ทหุ ข ะสะมุทะยะนิโรธะมารคา นะ ชญานมั นะ ปราปติรนาปราปติหฯ

15

ไมม ที ุกข สมุทัย นโิ รธ และมรรค ไมมีญาณ ไมม ีการบรรลุหรอื การไมบ รรลุ

त मा छा रपु अ ाि त वेन बो धस वानां ापार मतामा य वहर त च तावरणः।

ตสมฺ าจฉฺ าริปตุ รฺ อปฺราปฺตติ ฺเวน โพธสิ ตตฺ วฺ านํา ปรฺ ชญฺ าปารมติ ามาศฺริตฺย วหิ รติ จติ ตฺ าวรณะฯ
ตัสมาจฉาริปุตระ อปั ราปตติ เวนะ โพธสิ ัตตวานาม ปรัชญาปาระมติ ามาศริตยะ วิหะระติ จิตตาวะระณะหฯ
ทานสารบี ุตร เพราะฉะน้ันพระโพธิสัตวผ ูดําเนินตามปรชั ญาปาระมิตา มคี วามขดั ของ เพราะกิเลสหอหุมจิตเปน
อุปสรรคขวางก้ันอยู [ก็เพราะยงั มิไดบ รรล]ุ

च तावरणनाि त वाद तो वपयासा त ा तो न ठ नवाणः।

จติ ตฺ าวรณนาสตฺ ติ ฺวาทตฺรสฺโต วิปรยฺ าสาติกฺรานโฺ ต นิษฺฐนิรวฺ าณะฯ

จติ ตาวะระณะนาสตติ วาทะตรสั โต วิปรรยาสาตกิ รานโต นษิ ฐะนิรวาณะหฯ

เม่อื ไมม กี เิ ลสหุมหอ จิตแลว ยอ มปราศจากอุปสรรค จึงไมส ะดุงกลัว กาวลวงความขัดของ บรรลถุ งึ พระนิพพาน
ไดส ําเร็จ

य व यवि थताः सवबु ाः ापार मतामा य अनु तरां स य संबो धम भसंबु ाः।

ตฺรยฺ ธวฺ วฺยวสฺถติ าะ สรวฺ พทุ ฺธาะ ปรฺ ชญฺ าปารมิตามาศรฺ ิตยฺ อนุตตฺ รํา สมยฺ กฺสํโพธิมอฺ ภสิ ํพทุ ธฺ าะฯ
ตรยัธวะวยะวัสถิตาห สรรวะพุทธาห ปรชั ญาปาระมติ ามาศริตยะ อะนตุ ตะราม สมั ยกั สมั โพธมิ อะภสิ ัมพทุ ธาห
อันบรรดาพระพุทธเจาท้ังหลายในกาลทั้งสาม (อดีต ปจจุบัน และอนาคต) ทรงดําเนินตามปรัชญาปารมิตา จึง
ไดตรสั รูอนตุ รสัมมาสมั โพธญิ าณอนั ย่งิ แลว

त मा ात यः ापार मतामहाम ः

ตสมฺ าทฺ ชฺญาตวยฺ ะ ปรฺ ชญฺ าปารมติ ามหามนฺตรฺ ะ

ตัสมาท ชญาตะวยะห ปรชั ญาปาระมิตามะหามันตระห

ดว ยเหตุฉะน้ีจึงสมควรทราบ มหามนตในปรัชญาปารมติ านี้

अनु तरम ः

อนตุ ฺตรมนตฺ ฺระ
อะนตุ ตะระมนั ตระห
เปน มนตอันไมม มี นตอ น่ื ย่งิ กวา

असमसमम ः

อสมสมมนตฺ ฺระ

อะสะมะสะมะมันตระห

เปน มนตอ ันไมมมี นตอืน่ ใดมาเทียบได

सवदःु ख शमनम ः

สรวฺ ทุะขปฺรศมนมนฺตฺระ
สรรวะทุหข ะประศะมะนะมันตระห
เปน มนตอันประหารเสียซ่ึงสรรพทกุ ขทงั้ ปวง

16

स यम म य वात ् ापार मतायामु तो म ः।

สตยฺ มมถิ ฺยตฺวาตฺ ปฺรชฺญาปารมิตายามุกโฺ ต มนตฺ ฺระฯ
สัตยะมะมิถยัตวาต ปรัชญาปาระมิตายามกุ โต มันตระหฯ
นีเ่ ปนความสัตยจริงปราศจากความเทจ็ จึงเปนเหตุใหกลา วมนตรแ หง ปรชั ญาปารมติ า

त यथा- गते गते पारगते पारसंगते बो ध वाहा।

ตทยฺ ถา- คเต คเต ปารคเต ปารสํคเต โพธิ สวฺ าหาฯ
ตทั ยะถา- คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสงั คะเต โพธิ สวาหาฯ
จงกลาวเชนนี้ : คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสังคะเต โพธิ สวาหา
(ปกตนิ ้นั บทธารณี นน้ั มักจะไมแ ปล แตห ากแปลจะแปลวา จงไป จงไป ไปถงึ ฝง โนน ไปใหพน โดยส้นิ เชงิ บรรลุ
ถงึ ความรูแจง)

एवं शा रपु ग भीरायां ापार मतायां चयायां श त यं बो धस वेन॥

เอวํ ศารปิ ตุ รฺ คมฺภีรายาํ ปรฺ ชญฺ าปารมติ ายาํ จรฺยายํา ศิกฺษติ วฺยํ โพธิสตฺตเฺ วน๚
เอวมั ศาริปุตระ คมั ภีรายาม ปรัชญาปาระมิตายาม จรรยายาม ศิกษติ ะวยมั โพธสิ ตั ตเวนะ๚
ในสมัยน้ันแล พระอารยะอวโลกเิ ตศวรโพธิสัตวม หาสตั วกลาวกบั พระสารีบุตรเถระวา “ทานสารีบุตร สัตวผูจะ
ตรสั รู พงึ ศกึ ษาประพฤติจรยิ าปรัชญาปารมติ าดวยประการฉะนี้”

अथ खलु भगवान ् त मा समाधे यु थाय आयावलो कते वर य बो धस व य
साधकु ारमदात-् साधु साधु कु लपु ।

อถ ขลุ ภควานฺ ตสฺมาตฺสมาเธรวฺ ฺยตุ ถฺ าย อารยฺ าวโลกิเตศฺวรสยฺ โพธสิ ตฺตฺวสฺย สาธกุ ารมทาตฺ- สาธุ สาธุ กุลปุตฺรฯ
อะถะ ขะลุ ภะคะวาน ตัสมาตสะมาเธรวยุตถายะ อารยาวะโลกิเตศวะรัสยะ โพธิสัตตวัสยะ สาธุการะมะทาต-
สาธุ สาธุ กลุ ะปตุ ระฯ
ในลําดับนั้นแล พระผูมีพระภาคทรงออกจากสมาธิน้ันแลว ไดประทานสาธุการแดพระอารยะอวโลกิเตศวร
โพธิสตั ว “เปนเชนนั้น ! เปนเชน น้นั ! กุลบุตร !

एवमेतत ् कु लपु , एवमते ग भीरायां ापार मतायां चय चत यं यथा वया न द टम।्

เอวเมตตฺ กุลปุตฺร, เอวเมตทฺ คมฺภีรายํา ปรฺ ชญฺ าปารมติ ายํา จรฺยํ จรฺตวยฺ ํ ยถา ตฺวยา นริ ทฺ ษิ ฏฺ มฯฺ
เอวะเมตัต กุละปุตระ, เอวะเมตัท คัมภีรายาม ปรัชญาปาระมิตายาม จรรยัม จรรตะวยัม ยะถา ตวะยา
นิรทษิ ฏมั ฯ
ขอน้ันเปนอยางน้ัน กุลบุตร ! ประพฤติจริยาในปรัชญาปารมิตาอันลึกซ้ึงน้ัน พึงประพฤติปฏิบัติอยางนี้ อยางท่ี
ทา นยกข้นึ แสดงแลว

अनमु ो यते तथागतरै ह ः॥

อนุโมทยฺ เต ตถาคไตรอรฺหทฺภะิ ๚
อะนุโมทยะเต ตะถาคะไตรอรั หัทภหิ ๚
พระตถาคตอรหันตเ จาทัง้ หลายในไตรโลกนาถยอ มทรงอนุโมทนา

17

इदमवोच गवान।्

อทิ มโวจทฺภควานฯฺ
อิทะมะโวจทั ภะคะวานฯ
พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสธรรมอนั นแ้ี ลว

आन दमना आयु मान ् शा रपु ः आयावलो कते वर च बो धस वः सा च सवावती प रषत ्
सदेवमानषु ासरु ग धव च लोको भगवतो भा षतम यन दन॥्

อานนฺทมนา อายุษฺมานฺ ศาริปุตฺระ อารฺยาวโลกิเตศฺวรศฺจ โพธิสตฺตฺวะ สา จ สรฺวาวตี ปริษตฺ สเทวมานุษา
สุรคนธฺ รวฺ ศฺจ โลโก ภควโต ภาษติ มภยฺ นนทฺ น๚ฺ
อานันทะมะนา อายุษมาน ศาริปุตระห อารยาวะโลกเิ ตศวะรัศจะ โพธิสัตตวะห สา จะ สรรวาวะตี ปะริษัต สะ
เทวะมานษุ าสรุ ะคันธรรวศั จะ โลโก ภะคะวะโต ภาษติ ะมภั ยะนันทัน๚
พระสารีบุตรผูมีอายุ พระอารยะอวโลกิเตศวรโพธิสัตว พุทธบริษัทอันมีในประชุมชนทุกเหลา และสัตวโลก
พรอมทั้งเทวา มนุษย อสรู คนธรรพ ก็มีใจเบิกบานชื่นชมภาษิตของพระผมู ีพระภาคดว ยประการฉะนี.้

इ त ापार मता दयसू ं समा तम।्

อิติ ปฺรชฺญาปารมิตาหฤทยสตู ฺรํ สมาปตฺ มฺฯ
อิติ ปรชั ญาปาระมิตาหฤทะยะสูตรัม สะมาปตมั ฯ
จบปรชั ญาปารมิตาหฤทยั สูตร กม็ ีดวยประการฉะนี้
หมายเหตุ

*...(อายตนะภายนอก ๖ อยาง) ไมมีวิญญาณ (ความรูสึกรับรูได) ในอายตนะภายในทั้ง ๖ ดวย (จักษุ
วิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ และมโนวิญญาณ) ไมมีวิชา ไมมีอวิชา ไมมี
ความส้ินไปแหงวชิ ชาและอวิชชา จนถงึ ไมมคี วามแกความตาย และไมมีส้นิ ไปแหง ความแกความตาย...*

*...ไมมีทุกข สมัทัย นิโรธ มรรค ไมมีญาณ (ปญญา) ไมมีการบรรลุถงึ ซึง่ ปญญา และไมมีอะไรที่ตองบรรลุ
อยตู อไป...*

*...พระโพธิสัตตเ ม่ือไดทรงบําเพ็ญปญญาบารมีแลว เปนผูถึงความเปนผูมีจิตท่ีเหลืออยูตอ ไปแลว จึงเปน
ผูมีความเห็นถูกตองชอบธรรม (สัมมาทิฐิ) และกระทํากิจท้ังปวงอยางถูกตองโดยเสมอ ในที่สุดก็บรรลุถึงพระ
นิพพาน บรรดาปวงพระพุทธเจาทุกๆองคมีทั้งอดีตกาล ปจจุบันกาล และอนาคตกาล ลวนตางไดเคยบําเพ็ญ
ปญญาบารมีมาดวยกันแลวทุกๆพระองค และเม่ือไดบําเพ็ญคุณธรรมน้ีแลวจึงไดตรัสรูอนตุ รสัมมาสัมโพธิญาณ
...*

*...ดังน้ันควรไดทราบวาปญ ญาบารมีนี้เปน มนตท่ีศักดิ์สิทธ์ิ เปนมนตท ี่ไมอาจมีมนตบทใดมาเทียบเคียงได
เปนมนตท่ีสามารถขจัดทุกขภัยทั้งปวง และนําพาไปสูแดนนิพพานไดแนนอน จึงไมควรจะมีความกังขาใดๆ
ตอไปเลย...*

*...ดังนั้นควรหม่ันสวดภาวนามนตบทน้ี ดวยเหตุน้ีแล...จงไป ไป ไปยังฟากฝงโนน ไปใหพนอยางสิ้นเชิง
ไปสคู วามเปนผรู ู ไปสคู วามสงบสนั ตเิ บกิ บานเกษมศานตเ ถิด...*

18

ภ า ค แ ป ล ป รั ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร ฉ บั บ วิ ส ต ร ะ ม า ต ฤ ก า

พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร ผูประกอบดวยโลกุตรปญญาอันลึกซึ้ง ไดมองเห็นวา โดยธรรมชาติแทแลว
ขันธท ัง้ หา น้ันวา งเปลา และดวยเหตุท่เี หน็ เชนนนั้ จงึ ไดก าวลวงพนจากความทุกขท ั้งปวงได

สารีบุตร รูปไมตางจากความวาง ความวางก็ไมตางไปจากรูป รูปคือความวางนั่นเอง และความวางก็คือ
รปู นน่ั เอง เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวิญญาณ กเ็ ปน ดังนี้ดวย

สารีบุตร ธรรมทั้งหลาย มีธรรมชาติแหงความวาง ไมไดเกิดขึ้นและไมไดดับลง ไมไดสะอาดและไมได
สกปรก ไมไดเพ่มิ ขึน้ ไมไ ดลดลง

ดังนั้น ในความวางจึงไมมีรูป ไมมีเวทนา หรือสัญญา ไมมีสังขาร หรือวิญญาณ ไมมีตาหรือหู ไมมีจมูก
หรือล้ิน ไมมีกายหรือจิต ไมมีรูปหรือเสียง ไมมีกลิ่นหรือรส ไมมีโผฏฐัพพะหรือธรรมารมณ ไมมีโลกแหงผัสสะ
หรือวิญญาณ ไมมีอวิชชา และไมมีความดับลงแหงอวิชชา ไมมีความแกและความตาย และไมมีความดับลงซ่ึง
ความแกและความตาย ไมมีความทุกข และไมมีตนเหตแุ หงความทุกข ไมมีความดับลงแหงความทุกข และไมม ี
มรรคทางใหถึงซ่ึงความดับลงแหงความทุกข ไมมีการประจักษแจง และไมมีการบรรลุถึงเพราะไมมีอะไรท่ี
จะตอ งบรรลถุ ึง

พระโพธิสัตวผูวางใจในโลกุตรปญญา จะมีจิตที่เปนอิสระจากอุปสรรคส่ิงกีดกั้น เพราะจิตของพระองค
เปนอิสระจากอุปสรรคสิ่งกีดกั้น พระองคจึงไมมีความกลัวใดๆ กาวลวงพนไปจากมายาหรือส่ิงลวงตา บรรลุถึง
พระนพิ พานไดในที่สดุ พระพทุ ธในอดีต ปจจบุ ัน และอนาคต ผทู รงวางใจในโลกุตรปญญา ไดป ระจักษแ จงแลว
ซงึ่ ภาวะอันตืน่ ข้นึ อันเปนภาวะท่ีสมบูรณแ ละไมมีใดอ่ืนยิ่ง ดงั นัน้ จงรูไดเถดิ วา โลกุตรปญ ญา เปน มหามนตอัน
ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ เปน มนตแหงความรูอันย่งิ ใหญ เปน มนตอ นั ไมมีมนตอนื่ ยง่ิ กวา เปนมนตอนั ไมม มี นตอืน่ ใดมาเทียบได
ซ่งึ จะตัดเสียซงึ่ ความทุกขท ้ังปวง

นี่เปนสัจจะ เปน อสิ ระจากความเท็จทั้งมวล ดงั นน้ั จงทอ งมนตแ หงโลกุตรปญญา
คะเต คะเต ปาระคะเต ปาระสงั คะเต โพธิ สวาหา
ไป ไป ไปยงั ฟากฝง โนน ไปใหพ น อยางสิน้ เชงิ บรรลถุ ึงการรูแจง ความเบิกบาน

ป รั ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร จ า ก วิ กิ พี เ ดี ย ส า ร า นุ ก ร ม เ ส รี

ปรัชญาปารมติ าหฤทยั สตู ร (สนั สกฤต : ापार मता दय, สนั สกฤต-โรมาไนซ : Prajñāpāramitā Hṛdaya;
จีน : 摩訶般若波羅蜜多心經; ทิเบต: རིན་ཆེན་ ེ) คือพระสูตรท่ีสําคัญและเปนท่ีนิยมยิ่งในพุทธศาสนาฝาย
มหายาน ชอื่ "ปรชั ญาปารมิตาหฤทยั สูตร" มีความหมายตามตวั อักษรวา “พระสตู รอนั เปน หวั ใจแหง ปฏิปทาอัน
ยวดยิ่งแหงความรูแจง” ในภาษาอังกฤษมักแปลโดยสังเขปวา “หฤทัยสูตร” (The Heart Sūtra) พระสูตรน้ี มัก
ไดร บั การยอมรบั วา เปน พระสูตรทมี่ ีผูรจู ัก และนิยมท่ีสุดมากกวา พระสตู รใดของพทุ ธศาสนา

ปรชั ญาปารมติ าหฤทัยสูตรจัดอยใู นพระสตู รหมวดปรัชญาปารมติ าของพระไตรปฎ กฝา ยมหายาน และถอื
เปนพระสตู รฝายมหายานท่โี ดดเดนท่ีสุดในหมวดน้ี เชน เดยี วกบั วชั รเฉทิกปรชั ญาปารมติ าสูตร ปรัชญาปารมิตา
หฤทัยสูตรเปนออกเปนโศลกภาษาสันสกฤตจํานวน 14 โศลก แตละโศลกมี 32 อักขระ สวนพระสูตรที่ไดรับ
การแปลเปนภาษาจีนโดยพระเสวียนจั้ง (ถังซําจ๋ัง) มีทั้งหมด 260 ตัวอักษรจีน ในภาษาอังกฤษมักแปลออกมา

19

ไดจํานวน 16 บรรทัด จํานับเปนพระสูตรในหมวดปรัชญาปารมิตาที่มีขนาดกระชับท่ีสุด เนื่องจากพระสูตรใน
หมวดน้ีมักมีขนาดยาว ท่ียาวที่สุดมีจํานวนถึง 100,000 โศลก ท้ังน้ี เกเช เคลซัง กยัตโซ คณาจารยดานพุทธ
ศาสนาฝายทเิ บตไดใหอรรถกถาธบิ ายเกี่ยวกบั พระสูตรนี้ไวว า

“สารัตถะแหง ปรชั ญาปารมิตาสูตร (ปรชั าปารมติ าหฤทัยสูตร) มีขนาดส้ันมาก เม่ือเทียบกับปรัชญาปารมิ
ตาสูตรอ่ืนๆ แตพระสูตรนี้ไดบรรจุเอาไวซึ่งความหมายโดยนัยตรง และนัยประหวัดของพระสูตรขนาดยาวไว
ทง้ั หมด”

เอ็ดเวิรด คอนเซ (Edward Conze) ผูเช่ียวชาญดานศาสนาพุทธไดจัดลําดับพระสูตรนี้ ใหอยูในลําดับที่
3 ของท้ังหมด 4 ลําดับพัฒนาการของพระสูตรสายปรัชญาปารมิตา อยางไก็ตาม พระสูตรน้ีอาจมีชวงลําดับ
พัฒนาการคาบเก่ยี วกับยุคท่ี 4 เน่ืองจากตอนทายของพระสูตรปรากฏคาถา (ซึ่งบางคร้ังเรียกวาธารณี) อันเปน
ลักษณะของพัฒนาการของสายตันตระ ซ่ึงเปนพัฒนาการชวงหลังสุดของพุทธศาสนา นอกจากน้ี ในบางกรณี
พระสตู รดงั กลา วยงั ไดรับการจดั หมวดหมูเขาอยูในหมวดตนั ตระ ในพระไตรปฎ กสายทเิ บตบางสาย

คอนเซ ประเมินอายุของพระสูตรไววา นาจะมีจุดกําเนิดอยูในชวงป ค.ศ.350 แตนักวิชาการบางคนคาด
วา นาจะมีอายุเกากวาถึง 2 ศตวรรษ อยางไรก็ตาม จากการศึกษาเม่ือเร็วๆ น้ีพบวา ไมสามารถประเมินอายุ
ของพระสูตรไดเ กินศตวรรษที่ 7

พระสูตรฉบบั ภาษาจนี มักนํามาสาธยาย ระหวางประกอบพิธที างศาสนาโดยพระภิกษุนกิ ายฉาน (เซน) ใน
จีน ญี่ปุน เกาหลี และเวียดนาม นอกจากนี้ ยังมีความสําคัญกับนิกายชินงอน โดยทานคูไค ผูกอตั้งนิกายนี้ใน
ญ่ีปุนยังไดรจนาอรรถกถาไว รวมถึงอีกหลายนิกายในศาสนาพุทธแบบทิเบตก็ยังศึกษาพระสูตรนี้อยางยิ่งยวด
อกี ดว ย

พระสูตรน้ีจัดอยูในกลุมพระสูตรจํานวนหยิบมือท่ีมิไดเปนพุทธวจนะโดยตรง ในบางฉบับมีการเอยถึง
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ทรงชื่นชมและรับรองวจนะของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว อาทิเชนพระสูตรฉบับ
ฝา เยว ทม่ี อี ายุราวปค.ศ.735 อยา งไรกต็ าม การระบถุ งึ ในสวนน้ี ไมปรากฏในฉบับของพระถังซาํ จั๋ง ขณะทฉี่ บับ
ภาษาทิเบตมีขนาดยาวกวา กระนั้นก็ตาม ฉบับแปลภาษาทิเบตซ่ึงพบท่ีตุนหวงไมปรากฏอารัมภกถา สวนใน
พระไตรปฎกฉบบั ภาษาจีนเก็บรกั ษาทั้งฉบบั ยาวและฉบบั สน้ั ซงึ่ ยังคงพบตน ฉบบั ในภาษาสันสกฤตทั้ง 2 ฉบบั

ชื่อพระสูตร : พระสูตรฉบับจื่อเฉียน ใหช่ือไววา “ปวญั่วปวลัวมี เซินอีจวน” หรือ “ปรัชญาปารมิตา
ธารณี” ฉบับของพระกุมารชีพใหชื่อไววา “มัวฮัวปวญัวปวลัวมี เซินอีจวน” หรือ มหาปรัชญาปารมิตา มหา
วิทยาธารณี ฉบบั ของพระเสวยี นจัง้ (พระถงั ซาํ จงั๋ ) เปน ฉบบั แรกทม่ี คี าํ วา “หฤทยั ” แทรกไวใ นชือ่ พระสตู ร

แมวาโดยทั่วไปจะเรียกพระสูตรน้ีวา พระสูตรหัวใจ หรือ Heart Sutra แตคําวา “สูตร” มิไดปรากฏใน
ฉบับภาษาสันสกฤตแตอยางใด เพราะปรากฏเพียงวา “ปรัชญาปารมิตาหหฤทัย” ฉบับของพระเสวียนจ้ังเปน
ฉบับแรกที่มีการเติมคําวา พระสูตรเขาไป แมวาจะไมพบฉบับภาษาสันสกฤตฉบับใดท่ีพวงทายดวยคําวา
“สูตร” หรือ “พระสูตร” คําน้ีไดกลายเปนคําที่พบไดเปนปกติในฉบับภาษาจีน ภาษาทิเบต และภาษาอังกฤษ
ท้ังนี้ ฉบับภาษาทิเบตบางฉบับเติมคําวา “ภควตี” ตอทายช่ือพระสูตร ตามความเชื่อเชิงบุคคลาธิษฐานเทศนา
ท่ีวา หลักธรรมปรชั ญาปารมติ า หรือ ปญ ญาบารมี มีรูปลักษณเ ปน สตรี

20

ตัวบท : ผูเช่ียวชาญดานศาสนาพุทธหลายทาน แบงพระสูตรออกเปนสวนตางๆ แตกตางกันออกไปตาม
ทัศนะของทานเหลานั้น แตโดยสังเขปแลวพระสูตรน้ีพรรณนาถึงการบรรลุธรรมของพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร
อนั เกดิ จากการเพงวิปสนาอยางลาํ้ ลกึ จนบงั เกดิ ปญ ญา (ปรัชญา) ในการพิจารณาเลง็ เหน็ วาสรรพสิ่งตางๆ ลวน
วางเปลา และประกอบดวยขนั ธ 5 (ปญจสกนั ธะ) อันไดแ ก รปู เวทนา สญั ญา (สังชญา) สังขาร (สงั สการ) และ
วญิ ญาณ (วชิ ญาน)

ทั้งน้ี หัวใจหลักของพระสูตร ดังที่ระบุวา “รูปคือความวางเปลา ความวางเปลาคือรูป รูปไมอื่นไปจาก
ความวางเปลา ความวางเปลาไมอื่นไปจากรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณก็วางเปลา” นับเปนแกนแทของ
พุทธศาสนา เห็นแจงในรูปเปนความวางเปลา เกิดมหาปญญา เห็นแจงในความวางเปลาเปนรูป เกิดมหากรุณา
เมื่อเห็นแจงในรูปเปนความวางเปลา ความยึดมั่นในอัตตายอมไมมี ความหลงในสรรพสิ่งยอมถูกทําลายไป
ธรรมชาติแทของสรรพส่ิง ก็บังเกิดข้ึนในจิต นั่นคือ มหาปญญา ไดบังเกิดขึ้น และเมื่อไดเห็นแจงถึงความวาง
เปลา ได กําเนิดรูป ความรกั ความเมตตากรุณาในสรรพสิ่งท่ีเปนธรรมชาตแิ ทย อมบังเกิดข้ึน ความเมตตากรุณา
ท่ีเกดิ จากปญญาจะไมมดื บอด หลงไหล ความรักของพอและแมท มี่ ีตอลูกเปน เชน เดยี วกนั

คาถา : จุดเดนสําคัญของปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร คือคาถาตอนทายพระสูตรท่ีวา “คะเต คะเต ปาร
คะเต ปารสังคะเต โพธิสวาหา” หรืออาจแปลโดยคราวๆ ไดวา “จงไป จงไป ไปถึงฝงโนน ไปใหพนโดยสิ้นเชิง
บรรลุถึงความรูแจง หะเหวย!” อยางไรก็ตาม ตนฉบับในภาษาตางๆ มักละไว ไมแปลคาถานี้ ตามตํานานฝาย
จนี ระบุวา คณาจารยชาวอินเดียที่เดินทางมาประกาศพระศาสนาในแผนดนิ จนี ไมแปลคาถานีเ้ พราะทานทราบ
ดีวา ไมมีทางที่จะทําได และเปนไปไมไดที่จะอธิบายความนัยอันล้ีลับของคาถาน้ี กลาวกันวา หากผูใดสาธยาย
คาถาในพระสตู รจนบงั เกดิ สมาธิขน้ึ บดั นัน้ ความนยั อนั ลึกซึง้ ของคาถาก็จะเปดเผยขึน้ มาเอง

ขณะที่คณาจารยทิเบตตีความไปในแนวทางพุทธตันตระ โดยบางทานตีความวา คาถาน้ีเปนการแสดงถึง
การเค่ียวกรําบาํ เพญ็ บารมีของพระโพธสิ ัตวผ านภพภมู ิตางๆ กลา ววคือ ภพภมู ิชัน้ มลู ฐาน หรอื สมั ภารมรรค (คะ
เต คะเต) ผานถงึ ภาคแรกของภพภูมแิ รก หรือประโยคะมรรค (ปารคะเต) ถึงภาคทส่ี องของภพภูมิแรกจนถึงภพ
ภูมิที่สิบ หรือประโยคะแหงสุญญตาจนถึงภาวนามรรค (ปารสังคะเต) กระทั่งจนถึงภูมิที่สิบเอ็ด หรืออไศกษะ
มรรค (โพธิสวาหา) ดังที่ เกเช เคลซัง กยัตโซ ไดอธิบายไวในหนังสือ The New Heart of Wisdom ความวา
“คาถาน้ี ซ่ึงอยูในพากยภาษาสันสกฤต อธิบายการปฏิบัติตามแนวทางมหายานไวอยางเขมขนที่สุด ซ่ึงเราจัก
บรรลแุ ละโดยสมบรู ณโ ดยผานปญ ญาบารมี (ปรัชญาปารมติ า)”

พระมหาคณาจารยโพธ์ิแจงและมหาวัชราจารยโซนัมรินโปเช กลาววา “คําสวดน้ีเปนคาถาหัวใจของ
ปรัชญาปารามิตาสูตร เลียนคํามาจากสันสฤตโบราณ ฉะนั้นจึงไมขอแปลความหมาย บทธารณีในภาษาจีนได
จบเพียงเทานี้ แตในสันสฤตไดมีอีกประโยควา ไดกลาวปรัชญาปารามิตาสูตรจบแลว ในภาษาทิเบตมีการ
บรรยายที่มาของพระสูตรและบทสรปุ ของพระสตู รนี้ ดังทีพ่ ระพทุ ธเจา ไดตรัสไวในสงั ยุตตนกิ ายวา

“ดูกรกัจจนะโลกน้ีติดอยูกบั ส่ิงสองประการ คอื “ความมี”และ “ความไมมี” ผูใดเหน็ ความเกดิ ขนึ้ ของส่ิง
ทั้งหลาย ในโลกตามความเปนจริงและดัวยปญญา “ความไมมี”อะไรในโลกจะไมมีแกผูน้ัน ดูกอนกัจจนะ ผูใด
เห็นความดบั ของส่งิ ท้ังหลายในโลกตามความเปน จริงและดวยปญญา “ความม”ี อะไรในโลกจะไมมีแกผ นู ัน้ ”

21

摩訶般若波羅蜜多心經

ป รั ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

ฉบับแปลนี้ แปลจากภาษจีนดว ยสาํ นวนทเี่ รียบงาย เปนการแปลเอาความ แปลศัพทท ่ยี ุงยากเปน ภาษา
สามญั แตยังความหมายเชนเดมิ พระสูตรแบงเปน ตนฉบับภาษาจนี และคําแปลภาษาไทย มีดังนี้

摩訶般若波羅蜜多心經。

พระสูตรหัวใจแหงปญ ญาและบารมี

觀自在菩薩,行深般若波羅蜜多時,

พระผูท อดสายตาคอยชวยเหลือสรรพสัตว ยามปฏิบัตลิ ึกซึง้ ซ่ึงปญญาและบารมี

照見五藴皆空,度一切苦厄。

เห็นแจง วาสงิ่ ทปี่ ระกอบขึ้นเปนมนุษย ลว นวางเปลา จึงขามพน ทกุ ขท้งั หลาย

舍利子,色不異空,空不異色,

สารบี ตุ ร รูปลกั ษณไ มตางจากความวางเปลา ความวางเปลาไมตา งจากรปู ลักษณ

色即是空,空即是色。

รปู ลักษณคือความวา งเปลาโดยแท ความวางเปลา โดยแทค ือรูปลักษณ

受、想、行、識:亦復如是。

ความรสู ึก ความจํา การปรงุ แตง และการรบั รู ก็เชน เดยี วกนั

舍利子,是諸法空相。

สารีบุตร ธรรมชาติทัง้ ปวงลว นแตม ีลักษณะทวี่ างเปลา

不生不滅,不垢不淨,不增不減。

ไมเ กดิ ไมด ับ ไมม วั หมอง ไมผ อ งแผว ไมเต็ม ไมพรอ ง

是故空中無色,

ดังนนั้ ภายในความวางเปลา จึงปราศจากรปู ลกั ษณ

無受、想、行、識;無眼、耳、鼻、舌、身、意,

ไรความรสู กึ ความจาํ การปรุงแตง และการรบั รู ไรต า หู จมกู ล้ิน กาย ใจ

無色、聲、香、味、觸、法,無眼界,乃至無意識界,

ไรรูป เสียง กล่ิน รส สัมผัส และอารมณที่ใจคดิ ไรผัสสะแหง ดวงตา แมก ระท่ังไรผสั สะแหง ดวงใจ

無無明,亦無無明盡;乃至無老、死,亦無老、死盡。

ไรซ่ึงความไมรูแ จง และยังไรก ารสน้ิ สุดของความไมร ูแจง กระทง่ั ความไมแ กช ราและความตาย ยังรวมถึงการสิน้
ไปของความแกชราและความตาย

無苦、集、滅、道,無智亦無得。

ไมมที ุกข ไมม เี หตุแหง ทุกข ไมมีการส้นิ ไปแหง ทกุ ข และไมม กี ารส้ินไปในวถิ แี หง การส้ินทุกข ไมม คี วามรอบรู ไม
มีการไดมาซึ่งความรอบรู

以無所得故,菩提薩埵,依般若波羅蜜多故。

ดวยเหตทุ ่ีไรการจะไดมาซงึ่ ความรอบรู พระโพธสิ ัตวจึงดาํ เนินตามครรลองแหง ปญ ญาและบารมี ดังนี้

心無罣礙,無罣礙故,

จติ ใจจงึ ไรค วามกงั วล เมอ่ื จิตใจไรค วามกงั วล ดงั นี้

無有恐怖,遠離顛倒夢想,究竟涅槃。

22

จงึ ปราศจากความกลัว หา งไกลภาพฝนอันเปน มายา บรรลุความหลดุ พนเปนแนแท

三世諸佛,依般若波羅蜜多故,

พระพทุ ธเจาทงั้ อดตี ปจ จุบัน และอนาคต เน่อื งดวยปญ ญาและบารมี ดังน้ี

得阿耨多羅三藐三菩提

จงึ บรรลุถงึ ความรแู จงอนั สูงสดุ

故知般若波羅蜜多。

ดวยเหตนุ ้ี พงึ เขา ใจวาปญญาและบารมนี ั้น

是大神咒,是大明咒

คือคาํ ภาวนาอันทรงศักดาอานุภาพ คอื คาํ ภาวนาอันแจม แจง

是無上咒,是無等等咒。

คอื คําภาวนาที่สูงสุด คือคําภาวนาที่ไรเ ทยี มทาน

能除一切苦,真實不虛,

สามารถเยียวยาความทกุ ขทรมานท้งั หลาย เปน ความจริงแนแ ทไมแปรผัน

故說般若波羅蜜多咒。

จงึ พึงสาธยายคําภาวนาแหง ปญ ญาและบารมี ดังนี้

即說咒曰

เอยคาํ ภาวนา ดังนว้ี า

揭諦,揭諦,波羅揭諦,波羅僧揭諦, 菩提,薩婆訶。

คเต คเต ปารคเต ปารสงั คเต โพธิ สวาหา
(ไป ไป ขามไปใหพ น ใหพ นที่สดุ ถึงความรูแจง เทอญ)

摩訶般若波羅蜜多心經。

จบ มหาปรัชญาปารมติ าหฤทัยสูตร.

ภ า ค ข ย า ย ค ว า ม ป รั ช ญ า ป า ร า มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

หลักการส่ปี ระโยคทเ่ี ปนหวั ใจของมัธยมิก
สิ่ ง ที่ ใ ช - ไ ม ใ ช

ส่ิ ง ที่ ไ ม ใ ช - ไ ม ใ ช
ไ ม ใ ช สิ่ ง ท่ี ใ ช - ไ ม ใ ช
ไ ม ใ ช สิ่ ง ที่ ไ ม ใ ช - ก็ ไ ม ใ ช
น่ี คื อ ศู น ย ต า คื อ นิ พ พ า น คื อ ท า ง ส า ย ก ล า ง
ปรัชญาปารามิตาหฤทัยสูตร เปนพระสูตรดั้งเดิมท่ีสุด กับทั้งเปนมูลฐานของทฤษฎีศูนยตา เปนพระสูตร
สําคัญของทั้งมหายานและวัชรยาน คุรุนาคารชุนผูกอต้ังนิกายมาธยมิก ราว ค.ศ.1 เปนผูรวบรวม อยูในมาธ
ยมิกศาสตร ทานกุมารชีพไดแปลเปนพากษจีน ประมาณพุทธศตวรรษที่ 8 แพรหลายมากจนถึงปจจุบันท่ี
เรียกวา “ซมิ เก็ง”
บรรยายความปรัชญาปารามติ าหฤทยั สตู ร
ปรัชญา เปนคําสันสกตซึ่งตรงกับคําบาลี หรือที่คําไทยนํามาใชคือคําวา ปญญา ความหมายในที่นี้คือ
หลักแหงความรูชั้นสูงเพ่ือใหเกิดปญญา ปญญาน้ันแยกออกไดเปน 2 ทาง คือ สมมุติสัจจ หรือปญญาทางโลก

23

และปรมัตถสัจจ หรือปญญาทางธรรม สมมุติสัจจ คือ ความจริงที่เกิดขึ้นจากการรับรูของอายตนะ เปนความ
จริงจากการเปรียบเทียบ ปญญาทางโลกน้ันนําพาความสุขทางกายใจในระยะสั้นช่ัวครั้งชั่วคราว ทําใหมนุษย
หลงไหลในโลกียะสขุ สว นปรมัตถสัจจซ งึ่ โดยทว่ั ไปแลวเขา ใจวาคือความจริงแทดั้งเดิม ซง่ึ ลึกลงไปเปนธรรมชาติ
แท เปนความสุขทางจิต เปนความสุขอันนิรันดร ก็ยังหนีไมพนจากความเปนสมมุติสัจจ ซึ่งอาจจะกลาวไดวา
เปนสงิ่ สุดของความเขา ใจปรมัตถส จั จใ นโลกยี ะโลก ปรมัตถส ัจจ คอื ศนู ยตา หรือ ความวางเปลา

คําวา ปญ ญาดังที่เราเขาใจกันท่ัวไป คือปญ ญาของมนษุ ย ผศู กึ ษาเลา เรยี นจะสําเร็จปริญญาสูงทสี่ ุด เทาท่ี
จะมีการคิดคนวิชาการขน้ึ มาได ถงึ วาเปน ปญญาทเี่ ลิศสุด แตย งั คงเปนปญญาท่ีวนเวยี นอยคู วามโลภ โกรธ หลง
ยังคงว่ิงวนอยูในฟากฝงน้ี ปญญาของพระพุทธเจาเปนปญญาแหงอิสระ เห็นแจงในศูนยตา เปนความสุขอัน
นิรันดร ตามความหมายแหงพระสูตรนี้ เปนไปเพ่ือใหเกิดปญญาแหงพระพุทธเจา เพ่ือใหผูปฏิบัติไดเปนเชน
พระพุทธเจา ปารามิตา แปลวา ขามไปฝงโนน ในทางพุทธศาสนาไดแบงโลกออกเปน 2 ฝง โลกฝงน้ีคือโลกยี ะ
โลก โลกแหง ความหลงติดยดึ มน่ั ขาดอิสระ โลกอกี ฝง คือโลกตุ ระโลก คอื โลกท่ีประทับแหง พระพุทธเจาท้ังหลาย
โลกแหงความเห็นแจง อิสระ ศนู ยตา ( วา งเปลา ) หฤทยั ความหมายทางโลกยี ะ คือ ใจอันเปน แหลง เก็บปญญา
เพื่อแยงชิงความสุขทางโลก โดยยึดติดอยูกับความโลภ โกรธ หลง สวนหฤทัยตามความหมายแหงโลกุตระน้ัน
คือ จิตแหลงเก็บปญญา เพื่อไปสูพระนิพพาน อันจะทําใหเราไดเปนเชนพระพุทธเจาในที่สุด ปรัชญาปารามิตา
หฤทัยสูตร คอื คาํ สอนหวั ใจแหง ปญญานําพาขา มฝากฝง

พระอวโลติเกศวรโพธิสัตว เมื่อปฏิบัติซ้ึงในปรัชญาปารามิตา เพงเห็นขันธ 5 เปนความวางเปลา จึงขาม
พนทุกข

การเห็นการไดยินของมนุษย เริ่มดวยการเห็นและไดยินในระดับต้ืน เห็นผิวเผินกอน หลังจากน้ัน ถาเรา
ไดดําเนินการตอไป ก็จะเห็นและไดยินดวยจิตตามมา เปนการเห็นและไดยินลึกซึ้งเขาไปอีกระดับหน่ึง นั่นคือ
การเพงตอจากการเห็น เม่ือเพงเห็นแลวไดปฏิบัติตอคือการพิจารณาผลที่ไดสมบูรณ คือเห็นลึกซ้ึงถึงธรรมชาติ
อันแทจริงของสรรพส่ิง การเพงมองเห็นดวยจิต คือ สมาธิ การพิจารณาตอมา คือ วิปสสนา ท้ัง 2 วิธีคือการ
เรียนรูแผนที่ เพ่ือใชในการเดินทางเขาสูประตูแหงความเปนพุทธะ การปฏิบัติท้ัง 2 วิธี เพ่ือใหเกิดปญญา
ปญญาที่วาคือปญญาในการอานแผนท่ีอยางชํานาญและไมหลงทาง ดังท่ีทานนาคารชุนโพธิสัตวไดกลาวไววา
“ปญญาคือตา ปฏิบัติคือเทา จะไปถึงดนิ แดนที่เย็นสบาย (พระนพิ พาน)” ปญญาจากตาคอื ทฤษฎี ทฤษฎีทไ่ี มมี
การปฏิบัติก็เปลาประโยชน การปฏิบัติที่ไมมที ฤษฎีกส็ ับสนหลงทางไดงาย ด่ังคนตาบอดคลําทาง ดังน้ันปญญา
จากการเพง(สมาธิ) ปญญาจากการคิด(วิปสสนา) จะใหผลสมบูรณคือปญญาที่ไดจากการปฏิบัติ เราเคยไดอาน
ไดยินเร่ืองศูนยตา เราเคยไดคิดถึงความหมายของศูนยตา สุดทายเราเคยไดเขาสูศูนยตา นั่นคือผลท่ีสมบูรณ
บรรลุความรูแจงแลว ความวางเปลาหรือศูนยตา คือความวางเปลา เอกภาพ สันติภาพอันนิรันดร ตามนัยแหง
พระสูตรน้ีความวางเปลา มิใชความวางเปลาซึ่งไมมีสิ่งใดเลย เปนความวาเปลาซ่ึงเกิดจาก สิ่งท่ีใช-ไมใช, ส่ิงที่
ไมใช-ไมใ ช, ไมใชสง่ิ ที่ใช- ไมใ ช, ไมใ ชส ง่ิ ท่ีไมใช-ก็ไมใ ช มฉิ ะน้ันความความวา งเปลาน้ัน จะเปนอุเฉกฑิกคอื ความ
สูญ (ซึ่งจัดเปนข้ัวหนง่ึ ของหนงึ่ ส่ปี ระโยคท่ไี มใ ช)

24


Click to View FlipBook Version