The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

X04-20-หนังสืออนุสรณ์ ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร 4 ภาษา 2561-12-18 Print

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Vorawat Suthon, 2021-10-05 09:18:14

X04-20-หนังสืออนุสรณ์ ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร 4 ภาษา 2561-12-18 Print

X04-20-หนังสืออนุสรณ์ ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร 4 ภาษา 2561-12-18 Print

สรรพส่ิงในโลกมิมีส่ิงใดเกิดข้ึนลอยๆ ทุกส่ิงเกิดข้ึนและสัมพันธกับส่ิงอื่นเปนปรตีตยสมุตปาท ความวาง
เปลาเปนท่ีเกิดของสรรพสิ่ง สรรรพส่ิงก็เปนท่ีเกิดของความวางเปลา วินาทีนี้เกิดมาจากการดับของวินาทีกอน
และการดับของวินาทีน้ีจึงไดเกิดวินาทีหนา เกิดดับ ดับเกิด วนเวียนตลอดไป คลายดังมีและคลายดังไมมี
ความสัมพันธที่เกี่ยวเนื่องกันนั้นมีในทุกสรรพสิ่งไมมียกเวน ความสัมพันธของเวลา อดีต ปจจุบัน อนาคต
ความสัมพันธของโลก ธรรมชาติ สังคม สรรพสัตว มนุษย ความวางเปลาเกิดในจิตของมนุษย และก็มีแตมนุษย
ท่ีเขาถึงความวางเปลาได สิทธิพิเศษน้ีมิใชมีไวเพ่ือใหมนุษยอยูเหนือสรรพส่ิงท้ังมวล มนุษยไมใชผูไดรับสิทธิ์ใน
การทําลายลางธรรมชาติ ในการทําลายชีวิตสัตวเพื่อความสนุกสนาน เพราะความหลงในอํานาจของความเปน
มนุษย ใชความเปนมนุษยไปในทางท่ีไมถูกตอง ธรรมชาติโลกก็ถูกทําลาย คนก็ตองรับภัยพิบัติตางๆของ
ธรรมชาติ ปฏกิ ิรยิ าเรือนกระจก วาตะภัย อทุ กภยั ภยั จากเพลิงไหม

คนทําลายสังคม เพียงเพ่ือความโลภของตน เหลา บุหร่ี ยาเสพติด ประเทศที่รํ่ารวยดวยการสง ออกอาวธุ
และสารเคมใี นการผลติ ยาเสพตดิ สดุ ทายเยาวชนในประเทศของตนเองก็เปนผูเสพยาเสพติดมากที่สุด สงคราม
ไมวาดวยวิธีใด สงครามดวยกําลังพล สงครามเศรษฐกิจดวยกําลังเงิน สงครามทางเทคโนโลยี่ ลวนกอทุกขให
ชาวโลก เพียงเพื่อสนองกิเลสแสวงหาอํานาจความเปนใหญแหงตน หรือความชอบธรรมในการจัดการกับผูอ่ืน
ตามแตตนพอใจ การเอารัดเอาเปรียบของสังคมที่เข็มแข็ง ที่มีกําลังและความคิดท่ีดีกวา เพียงเพ่ือความเหลือ
กินเหลือใชของตน สิ่งซึ่งผูออนแอกวาไดรับ ก็คือความทุกขยากลําบาก แตส่ิงซึ่งผูแข็งแกรงไดรับก็คือความ
เยอหยิ่งลําพอง ความลม สลายของความสขุ พน้ื ฐาน ความกา วรา ว ความกระเสอื กกระสน เพอ่ื หาทางเอาเปรียบ
ผูอื่นอยตู ลอดเวลา

ถาชาวโลกไดเขาสูหนทางแหงปรัชญาความวางเปลา สิ่งเลวรายทั้งหลายก็จะไมเกิด การกินเพื่ออยูสราง
ความสมดุลของสรรพสิ่ง การอยูเพื่อกินไดทําลายความสมดุลของสรรพสิ่ง ผลของความเขาใจในศูนยตาภาวะ
หรือความวางเปลา ท่ีสังคมโลกไดรับคือสันติภาพอันนิรันดร ผลความวางเปลาที่ปจเจกบุคคลไดรับ คือความ
หลุดพนจากทกุ ขทั้งมวล มีแตผ ูท ี่เห็นแจง และเขา ถึง ซ่ึงธรรมชาติแทของความวางเปลา เทา นน้ั ท่อี ยูเหนอื ความ
เลวรายทั้งมวล สามารถอยูกับความเลวรายได โดยไมเลวรายตามสภาพแวดลอมรอบตัว ดังเชนบัวแมเกิดใน
โคลนตม แตบัวก็ไมไดปนเปอนดวยโคลนตมเลย ทรัพยสิน เงินทอง ถาเราไมสามารถเห็นถึงธรรมชาติแทของ
มัน แทนที่เราจะเปนผูใช ทรัพยสิน เงินทอง เรากลับเปนผูถูกทรัพยสินใช เราตองตกเปนทาสของมัน ตองทน
ทุกข ตองใชความโลภ โกรธ หลง อยางท่ีสุด เพ่ือปฏิบัติตามคําส่ังของมัน รักษามัน สรรพสัตวและสรรพส่ิง
ประกอบกันขึ้นมาจากขนั ธ 5 รูป และ จิตวญิ ญาณรูป (รา งลักษณะ) เวทนา (อารมณ) สญั ญา (ความจํา) สังขาร
(ความรูสึก) วิญญาณ (จติ ) กรรม (การกระทาํ ) ตางๆท้งั หลายทง้ั ปวง เกดิ จากขนั ธ 5 เปนตัวควบคมุ ดงั เชน การ
ไดเห็นภาพอันสวยสดงดงาม ความชอบความตองการเปนเจาของก็บังเกิดขึ้น ตางกันในขณะที่เห็นภาพที่นา
เกลียดนากลัว ความชอบความอยากไดเปนเจาของก็ไมเกิด ปรากฏการณทั้ง 2 เกิดจากขันธท้ัง 5 เปน
ตัวกําหนด เม่ือใดเราเพงเห็นขันธ 5 คือความวางเปลา สิ่งปรุงแตงทั้งหลายไมเกิด ภาพท่ีเห็นดวยตาจะมี
ลักษณะใดก็ตาม จะสวยสดงดงามในจิตเสมอ ดังเชนภาพพระพุทธองคในรูปดุรายนาเกลียดนากลัวของชาว
พุทธวัชระยาน การดําเนินการกับขันธ 5 ดังขอความเดิมขางบน เปนการทําใหขันธ 5 บริสุทธ์ิ และใชขันธ 5

25

อนั บริสุทธิ์เพอื่ ตอสกู ารเปน ขันธ 5 เปนมายา ซงึ่ กเ็ พยี งพอใหเกิดความหลุดพนแลว แตย ังคงมใิ ชเขา สูพทุ ธภาวะ
ดังพระอวโลติเกศวรโพธิสัตว พระองคทานเห็นแจงและเขาถึงซ่ึงศูนยตา ขันธ 5 ของทานเปนอยางไรก็ไดดังที่
มันจะเปน แตก็เปนศูนยตาเมื่อทานตองการใหเปน ดังน้ัน ทานจึงอยูเหนือความควบคุมของขนั ธ 5 สามารถใช
ขันธ 5 ตามความปารถนาของตน จงึ ขามพนสรรพทกุ ข ตัวเรากเ็ ชน กนั เหน็ แจง ในความวา งเปลาของขนั ธ 5 เรา
กเ็ ปน เชน ดงั องคพ ระอวโลติเกศวรโพธสิ ัตว

รูปคือความวางเปลา ความวางเปลาคือรูป รูปไมอ่ืนไปจากความวา งเปลา ความวางเปลาไมอน่ื ไปจากรูป
เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณกว็ า งเปลา

ประโยคท้งั 2 นี้เปนแกน แทของพทุ ธศาสนา เหน็ แจงในรูปเปนความวา งเปลา เกดิ มหาปญญา เห็นแจง ใน
ความวา งเปลาเปน รูป เกิดมหากรุณา เมือ่ เหน็ แจงในรปู เปนความวางเปลา ความยดึ มน่ั ในอตั ตายอมไมมี ความ
หลงในสรรพส่ิงยอมถูกทําลายไป ธรรมชาติแทของสรรพส่ิงก็บังเกิดข้ึนในจิต น่ันคือ มหาปญญา ไดบังเกิดข้ึน
และเมอ่ื ไดเหน็ แจง ถึงความวางเปลาไดกําเนดิ รูป ความรักความเมตตากรุณาในสรรพส่งิ ท่ีเปนธรรมชาตแิ ทยอม
บังเกิดขึ้น ความเมตตากรุณาที่เกิดจากปญญาจะไมมืดบอดหลงไหล ความรักของพอและแมที่มีตอลูกเปน
เชน เดียวกัน แตพ ้ืนฐานของการปฏบิ ตั นิ ้ันตางกัน โดยพนื้ ฐานของผูชายจะแขง็ กรา ว การแสดงออกในความรักก็
แข็งแกรงขาดความออนโยน ดุดาเฆี่ยนตี จนบางคร้ังผูเปนลูกก็เขาใจผิดวา สิ่งที่พอปฏิบัติกับตนเปนความ
เกลียดชัง สวนผูเปนแมรักลูกดวยความออนโยน ทะนุถนอม ลูกสวนใหญเขาใจวาแมรักตนเองมากกวาพอ น่ัน
คือความคิดของปุถุชน ที่ยังยึดติดในอัตตาในขันธ 5 ความทุกขทรมานใจก็เกิดขึ้น พรหมวิหารธรรมเปนบอเกดิ
อันสําคัญของมหาเมตตา เมตตา (ปารถนาใหผูอื่นพนทุกข) กรุณา (ปารถนาใหผูอื่นเปนสุข) มุทิตา (ยินดีใน
ความสุขของผอู ่ืน) อเุ บกขา (ความมใี จเปน กลาง วางเฉยในสงิ่ ทค่ี วรจะเฉย)

การมองสภาพของสรรพสัตวท้ังหลายท่ีเกิดมาในปจจุบัน ดวยอุปทานในปจจุบันวาผูน้ีเปนพอ เปนแม
เปนญาติ เปนคนในครอบครัว เปนคนในชาติเดียวกัน คนน้ีเปนมิตร คนน้ีเปนศัตรู แตความเปนจริงเราไมรูเลย
วา ผูท่ีเปนศัตรูของเราในอดีตชาติหลายกัปปหลายกัลปเคยเปนพอเปนแมของเรามากอนหรือไม ดวยการมอง
โดยโพธิจิตใหมองวา ทุกสรรพชีวิตที่เกิดมาในปจจุบันชาติ ไดเคยเปนบุรพการีของเรามากอน ความรักความ
เมตตาตอสังคมชาวโลกก็เกิดข้ึน สันติภาพเกิดข้ึนทันที เพียงแตเรารักชาวโลกท่ีอายุนอยกวาเหมือนนอง
เหมอื นลูกของตน รักผสู ูงวยั กวา ดังพ่ี ดงั พอ แม ปู ยา ตา ยาย ความสขุ สนั ติในสังคมเกิดขน้ึ ความขัดแยง ถงึ แม
จะเกิดขึ้นก็เปนความขัดแยงที่เกิดขึ้นดวยความรัก มิใชเกิดข้ึนดวยความเกลียดชัง ความเอารัดเอาเปรียบกัน
ความมุงแตจะทําลายลางกันก็ไมบังเกิดขึ้น สําหรับอุเบกขาธรรมนั้น ความวางเฉยความมีใจเปนกลาง ชนสวน
ใหญแปลความเพื่อเขาขางตนเอง เพียงใชความหมายวางความวางเฉย ดังเชนคําวาสิทธิมนุษยชน มนุษยธรรม
2 ประโยคนี้มีไวเพื่อใชบีบบังคับสังคมท่ีออนแอกวาเทาน้ัน ทิเบตถูกจีนยึดครองมาหลายสิบป ไมเคยมี
มหาอํานาจใดในโลกนี้ใชคําวา สิทธิมนุษยชนกันชาวทิเบต สิทธิมนุษยชนและมนุษยธรรมจะใชก็ตอเมื่อตนเอง
ไดประโยชน และเมื่อตนเองอาจจะตองเสียประโยชน ก็ไมยอมพูดถึงคําวาสิทธิมนุษยชนเลย ไมวาใครจะ
เรียกรองอยางไร สนั ตภิ าพอนั นริ ันดรของโลกจงึ เปน แตเพียงความฝน เทานัน้

26

ในความเปน จริงสนั ติภาพอันนริ นั ดรของโลกเกดิ ข้ึนได ถา ชาวพทุ ธทัว่ โลกเขา สหู วั ใจของพุทธศาสนาอยาง
แทจริง น่ันคือเขาสูปรัชญาแหงความวางเปลา เผยแพรและชักชวนชาวโลกใหเขาสูหัวใจของพุทธศาสนาและ
ปฏบิ ัติกันอยางจริงจัง ชาวพทุ ธในบางสว นกม็ งุ เนนไปทางปจเจกพทุ ธะ ถือเร่อื งการหลุดพน เปนเรอื่ งสวนตน ไม
เกี่ยวของกับสังคมโลก ถึงแมพระพุทธเจาไดสอนทางเดินใหชาวพุทธเดินไปสูนิพพานมากมาย แตเสนทางที่
พระพุทธเจาไดปฏิบัติเองเปนตัวอยาง คือเสนทางเหงมหาเมตตาและมหาปญญา การมุงแตมหาปญญาอยาง
เดียว โดยละทิ้งเสนทางแหงมหาเมตตา ความสุขสวนตนบังเกิด แตความสุขโดยรวมจากสันติภาพอันนิรันดรก็
ไมสามารถบังเกิดข้ึนได พระนิพพานท่ีบังเกิดขึ้นก็เอนเอียง ดังน้ัน พระปญญาและพระเมตตาตองควบคูกันไป
คนอยู สังคมตองอยู ธรรมชาติตองอยู และโลกก็ตองอยู คําสอนของพุทธศาสนาวัชระยาน พระพุทธเจาโปรด
สรรพสัตวตามสภาพของสรรพสัตวนั้นๆ บางครั้งออนโยนนุมนวล บางครั้งแข็งกราว บางครั้งดุรายนากลัว
บางครง้ั มาในรูปของสตรีเพศ การแสดงปาฏหิ ารยิ ปราบชฎิลดาบสก็ดวยเหตผุ ลนี้ แตท ง้ั ปวงเกดิ จากมหาปญญา
ท่ีเห็นซ้ึงในธรรมชาติของสรรพสัตวน้ันๆ และความรักเมตตาในสรรพสัตวท้ังหลาย พระพุทธเจาท้ังหลายทรง
มอบพระมหาปญญาไวใหชาวโลก ดวยพระมหากรุณาหัวใจของพระพุทธศาสนา หัวใจของการตรัสรูก็คือ พระ
มหาปญ ญาธิคณุ และพระมหากรุณาธิคณุ ของพระพุทธองคนั่นเอง

รูปและความวางเปลานั้นคือสิ่งใดกันแน ทําไมรูปคือความวางเปลา และความวางเปลาจึงคือรูป รูปคือ
โลกคอื สงั สารวฏั ความวางเปลาคือพุทธะภาวะ สังสารวฏั เนอื้ แทกําเนิดมาพรอมกันและสง่ิ เดยี วกับพุทธสภาวะ
อันกลาวไดเลยวาพุทธคือสังสารวัฏ หรือสังสารวัฏก็คือพุทธะก็ได เม่ือสองสิ่งเปนสิ่งเดียวกัน แลวทําไมจึง
แบง เปน สองอยา ง ส่ิงทมี่ ากนั้ กลางแบง มันออกก็คือความสมมุติ เมือ่ เราทบุ ความสมมตุ ิท้ิง ทุกสิง่ ก็กลบั เปนหนึ่ง
เดียวกัน ความสมมุติคืออะไร จึงมีพลังมหาศาลมาแยกพุทธะและวัฏออกจากกันได เม่ือไดเห็น ไดยิน ไดกล่ิน
ไดรส ไดสัมผัส ในขณะท่ีจิตยังดํารงอยูอวิชชา (ความไมรู) จิตก็เสกสรรคปนแตงใหส่ิงตางๆเกิดข้ึนตามอารมณ
เปรยี บดงั คนตาบอดแตกําเนดิ คลําชาง นีแ่ หละคือตวั สมมุติ ตัวสมมุติกค็ ือขวั้ หนึ่งข้ัวข้ัวใดในในสี่ประโยคนี้ ส่งิ ท่ี
ใช- ไมใ ช, สงิ่ ท่ีไมใ ช-ไมใ ช, ไมใ ชสิ่งที่ใช- ไมใช, ไมใ ชสง่ิ ทไ่ี มใช- ก็ไมใช

โอ สารีบุตร ธรรมท้ังปวงวางเปลา ไมมีรูป ไมเกิด ไมดับ ไมมัวหมอง ไมผองแผว ไมเพ่ิม ไมลด ในความ
วางเปลาไมม รี ูป

ธรรมในความหมายแรก คือ องครวมขันธ 5 เปนสรรพสิ่งท้ังหลายท้ังปวง และเปนความวางเปลาดังได
กลา วไวแลว ธรรมในอกี ความหมายหนึ่ง คอื คาํ สอนของพระพุทธเจา อนั เปนแนวทางในการบรรลคุ วามหลุดพน
ธรรมในความหมายท้ัง 2 เกาะเกี่ยวสัมพันธอิงซึ่งกันและกันอยูตลอด เมื่อเราเห็นแจงธรรมแรกเปนความวาง
เปลา ธรรมที่ 2 กว็ างเปลาดวย เมือ่ สรรพสิ่งวา งเปลา เคร่อื งมอื ในการจดั การสรรพส่ิง ก็ไมจ ําเปน ตองมแี ละวาง
เปลาดวย ขณะที่ความวางเปลาบังเกิด สรรพสิ่งธรรมทั้งปวงก็บังเกิดดวย เพื่อจัดการควบคุมสรรพส่ิง เกิด แก
เจ็บ ตาย เปนธรรมชาติแทของสรรพสัตว ในสายตาของผูที่ยังวนเวียนอยูในขันธ 5 การเกิด เปนความปติยินดี
เปนความบริสุทธิ์ ดังคําพูดที่วา เดก็ เกดิ ใหมบ รสิ ุทธ์ปิ ราศจากมลทนิ ใดๆ การเกิดเปน ความทคี่ วรปต ิจริงๆ แตจ ะ
มีสักก่ีคนท่ีรูคาของการเกิดท่ีแทจริง คาท่ีแทจริงของการเกิดคือมีแตมนุษยเทาน้ัน ท่ีมีโอกาสไดตรัสรูหลุดพน
จากบว งของวฏั ฏะ

27

ความตายที่คนท่ัวไปวาเปนความหมองมัวโศกเศรา การตายโดยท่ีเรายังไมไดพัฒนาจิตเลยนั้นจึงเปน
ความเศราเสียใจ เมื่อมีชีวิตอยูเราไดใหอะไรแกโลกแกส ังคมโลกบาง เราไดตักตวงโอกาสท่ีไดเกิดมาโดยพัฒนา
จติ วิญญาณของเรามาไดเทาไร และเราไดม อบสิง่ ซึง่ เราไดต ักตวงไวคืนใหแกชาวโลกเปนจํานวนเทาไร การเขาสู
ภูเขาศักดส์ิ ิทธแ์ิ ลวกลบั ออกไปดวยมือเปลา เปนเรอื่ งท่ีนาเศรามาก เชนกันการเขา ภเู ขาศกั ด์ิสิทธิ์แลว ไมไดอะไร
เลย แถมยงั รวมกนั ทาํ ลายภเู ขาศกั ดส์ิ ทิ ธอ์ิ ีก นน่ั ยิ่งนา เศรามากกวา

ภูเขาศักด์ิสิทธิ์คือโลก การเกิดมาคือการเขาสูภูเขาศักดสิ์ ิทธิ์ ทุกๆวันเราไดเขารวมขบวนการทําลายภูเขา
อยูตลอดเวลาทั้งรูตัวและไมรูตัว การใชทรัพยากรอยางไมรูคุณคา การสรางมลภาวะตางๆ การกอบโกยหา
ประโยชนเขาตน โดยไมคํานึงถึงผลเสียท่ีสังคมชาวโลกจะตองรับ นั่นคือการเขารวมขบวนการทําลายภูเขา
ศักดิส์ ทิ ธ์ิ ขณะเดียวกันเราไดใ หอะไรแกภเู ขาศกั ด์ิสิทธบ์ิ าง เราเคยรักษาสภาวะแวดลอมของโลกหรอื ไม เราเคย
รว มสรางสนั ตใิ นสังคมบาน สงั คมประเทศ สงั คมโลกหรอื ไม เราเคยชักชวนชาวโลกใหเขาสูหนทางแหงความสุข
อนั นิรนั ดร ตามแนวแหง พระศาสนาหรือไม

ภูเขาศักด์ิสัทธ์ิแมวันหน่ึงขางหนาจะตองสูญสลายไปดวยกฎแหงอนิจจัง แตภูเขาศักด์ิสิทธิ์ไมควรตองถูก
ทําลายลงดวยมือของเรา หนทางท่ีจะยืดเวลาแหงกฎอนิจจังของโลก คือการนํามนุษยเขาสูพระนิพพานใหมาก
ที่สุด กอนท่ีความตายจะมาเยือนเรา สรรพสัตวตนใดที่เกิดแลวไมตองตาย เมื่อสรรพสัตวเกิดแลวตองตาย
ทําไมการเกดิ จึงบริสทุ ธิ์ แลว การตายตอ งหมองมัว ความบรสิ ุทธ์ทิ ีค่ นชอบเปรียบเทยี บวาเปน ดงั เชน กระจกเงาที่
ไมมีฝุนละอองจับ สามารถมองภาพของตัวเราไดชัดเจนทุกชอกทุกมุม สภาพน้ันเราตองม่ันคอยเช็ดคอยถู และ
คอยดูตัวเองอยูตลอดเวลา ถากระจกเงาไมมี ตัวเราก็ไมมี เราก็ไมตองเช็ดถู เราก็ไมตองคอยสองดูตัว สภาพ
เชนนไ้ี มดกี วาหรือ

ดังนั้น เม่ือขามพนสิ่งปรุงแตงเขาสูความวางเปลา เห็นแจงในธรรมชาติแทแลว ส่ิงท้ังหลายท้ังปวงก็ไม
บริสุทธิ์และไมไมบริสุทธิ์ ไมมัวหมองและไมไมมัวหมอง ความไมเพิ่มไมลด เม่ือเราเขาสูความวางเปลาแลว
สรรพส่ิงก็ไมปรากฏในจิต เราก็ไมจําเปนตองเพิ่มหรือลดสิ่งใด ขณะที่เราอยูในสถานท่ีที่วางเปลาสักแหง เรา
พอใจและเปนสุขในสภาพนั้น เราก็ไมจําเปนตองดิ้นรนหาส่ิงใดมาเพิ่มหรือร้ือทิ้งสิ่งใด แตถาเราไมพอใจไมเปน
สุขในสภาพน้นั เรากต็ องเหน่ือยดนิ้ รนเพอ่ื เพม่ิ หรอื ลดเปลี่ยนแปลงสภาพน้นั เม่ือเราอยูเหนอื สภาพความพอใจ
และไมพอใจแลว เรากไ็ มจาํ เปน ตอ งเสาะหาธรรมวิเศษใดๆมาเพมิ่ หรอื ตดั ทอนธรรมใดๆ พุทธสภุ าษิตท่ีวา รจู ัก
พอกอสุขทุกสถาน แมเลยลวงมามากกวา 2,500 ป ยังคงความศักด์ิสิทธ์ิเสมอ ความเดอื ดรอนของมนุษยท่ัวทัง้
โลกก็มาจากคําวา “ไมรจู กั พอ” ประเทศใหญไมพอในอาํ นาจ จึงพยายามทอดเงาของตนออกไป เพอื่ ทบั เพอ่ื ปก
คลุมประเทศทีเ่ ลก็ กวา คนในประเทศเล็กไมพ อใจในส่งิ ทต่ี นเองมอี ยู ก็รับทกุ ส่ิงท่ปี ระเทศอนั ไดชือ่ วา พฒั นาแลว
สง มาให ไมวาส่งิ ทไี่ ดร ับจะเปน พษิ หรอื ไม จะเหมาะสมกบั ตนหรือไม ดวยความดอ ยความรแู หงตน เหน็ ชา งขี้ ข้ี
ตามชาง สุดทายจึงถูกชางเหยียบตาย ดังนั้นพุทธสุภาษิตท่ีวา การเปนหน้ีเปนทุกขในโลกจึงบังเกิดข้ึน จึงเปน
การเพมิ่ ทกุ ขใ นทกุ ข พระพุทธเจาไมเ ปนทุกขใดเลย เพราะพระองคอยดู ว ยธรรมเดียวคอื วางเปลา

พ้ืนฐานของพุทธศาสนา คือศีล สมาธิ ปญญา ดํารงศีลเพื่อเตรียมตัวใหพรอม ดํารงสมาธิเพ่ือรับธรรม
ปฏิบัติ และก็เดินไปที่ละกาวเพ่ือสูปญญา แตก็มีอีกหนทางหน่ึงซงึ่ ผูมีสตเิ ปนเลิศไดป ฏิบัติเพ่อื ใหเกิดผลในทนั ที

28

คอื เขาใจรแู จงวา พุทธะ ธรรมะ และวัฏฏ เปนสงิ่ เดียวกนั น่นั คอื การสรา งทรรศนะมรรคทถี่ กู ตองใหเกิดขึ้นกอ น
และจึงดําเนินภาวนามรรค เพ่ือใหทรรศนะมรรคเปล่ียนจากทรรศนะเปนความจริงที่ดํารงทุกขณะ น่ันคือคุณ
พุทธะ เมื่อดํารงอยูในความเปนพุทธะแลว ศีลก็คือหนวดหรือเครา ซึ่งเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติโดยมิตอ งบงั คับ
ในกรณีเชนน้ี ความเปนพุทธะเกิดข้ึนไดในทันที เพียงแตคุณรูแจงเห็นจริงวา ศูนยตา ธรรม และวัฏฏ เปนส่ิง
เดยี วกัน เมอ่ื ทัง้ สรรพส่ิงเปนสิง่ เดียวกนั จึงไมใชข ัว้ ใดขวั้ หน่ึงในส่ปี ระโยค ส่ิงทเ่ี กดิ ดับ เพิม่ ลด บรสิ ุทธ์ิ สกปรก
เปน สิง่ ทเี่ กิดขน้ึ เฉพาะสิ่งทอ่ี ยูใ นขว้ั ทั้งสเี่ ทา นนั้ เมือ่ ไมม ีข้ัวก็ไมม ที ี่ใหก ระทาํ จนเกิดปฏิกรยิ าตา งๆ

ไมมีเวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณ ไมม ีตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ ไมมรี ูป รส กลนิ่ เสียง สัมผสั ธรรมารมณ
ไมมจี กั ษุธาตุ ไมมีมโนธาตุ

ตา หู จมูก สิ้น กาย ใจ เปนอายตนะภายใน รูป เสียง กล่ิน รส สัมผัส ธรรมารมณ เปนอายตนะ
ภายนอกท่ีตอเช่ือมกัน ตาเห็น หูไดยิน ลิ้นไดรส กายรับความรูสึก ใจในที่นี้ในทางวิทยาศาสตร คือสมองแหลง
รวมของสรรพส่ิงที่อายตนะรับเขามาทุกสวนท่ีประกอบข้ึนเปนกายเนื้อ เกิดจากเซลลไขของแมและเซลลอสุจิ
ของพอ เซลลไดแบงตัวเปนอวัยวะตางๆ และเปนตัวมนุษยในท่ีสุด ในทุกขณะที่เราคงสภาพเปนมนุษยอยูนั้น
เซลลในรางกายตายไป และเกิดใหมข้ึนทดแทนตลอดเวลา การตายการเกิดของเซลลเมื่ออยูในสภาพที่สมดุล
ตามธรรมชาติของมัน ก็เกิดความสมบูรณแข็งแรง แตถาเซลลตายมากกวาเกิด หรือเกิดมากกวาตาย ความ
สมดุลไมมี เราก็เจ็บไขไดปวยทรมาน อะไรเปนสาเหตุหลักของการขาดสมดุลของเซลล อาหาร นํ้า อากาศ ยา
อารมณ

อุตสาหกรรมท่ีขาดความรู ขาดการควบคุม เห็นแกได ปลอยสารพิษลงในน้ํา ปลอยควันพิษข้ึนไปใน
อากาศ การใชสารเคมีอยางมหาศาลในการผลิตอาหาร การใชยาเคมีอยางฟมุ เฟอยในการรักษาโรค การแยง ชิง
กันกนิ ชิงกันอยู ชงิ กันมี ทาํ ใหเกิด ความเครยี ดอารมณเสยี เกอื บตลอดชวี ิต เรากนิ นํ้าทเี่ ปนพิษ กินอาหารท่ีเปน
พิษ หายใจเอาอากาศพิษ แถมดว ยอารมณที่เกิดขึ้นก็เปนพิษอกี ทุกสิง่ เกดิ ขน้ึ จากการกระทําของคน ฉะน้นั คน
จงึ ไดรับสิ่งเหลานน้ั ปลูกถัว่ ไดถัว่ ปลูกแตงไดแตง กฎแหง กรรมท่หี นีไมพ น เซลลตายมากกวาเกิด หรือเซลลเ กดิ
มากกวาตาย เปนสว นทเ่ี กดิ กับกาย แตความรูสกึ เจ็บปวดทรมาน เกิดในจิต ถา เรายังคงไมเขา ใจในธรรมชาติแท
ของเซลล เราก็จะตอ งประสพกบั ความเจบ็ ปวดทรมานครั้งแลวคร้งั เลา

เม่ือเรารูซ้ึงถึงธรรมชาติแทของเซลล เราก็ปฏิบัติตอมันไดอยางถูกตอง ความสมดุลก็เกิดตลอดเวลา
ความรูความไมรูท้ังหลายท้ังปวงเกิดขึ้นในจิตเทานั้น มีเพียงจิตเทาน้ันที่เห็นหรือไมเห็นธรรมชาติของเซลล
(ความวางเปลา) และจิตก็เปน ผูส่งั การใหส ูการปฏบิ ตั ิ ดังน้ัน ความสุขจากความสมบูรณแข็งแรง หรือความทุกข
จากการเจ็บปวด จิตจึงเปนผูรับผลน้ัน ในผูมีปญญาเม่ือพูดถึงขันธ 5 เปนศูนย ความบรรลุก็บังเกิดขึ้นทันที ใน
ระดับรอง เมื่อยังไมเห็นถึงความวางเปลาของสรรพสิ่ง ก็ตองพูดใหแคบเขามาอีก ชี้ใหเห็นถึงรางกายเปนศูนย
เม่ือซ้ึงแลวสรรพสิ่งก็คือศูนย จักษุธาตุ (ธรรมชาติแทของการเห็น) มโนธาตุ (ธรรมชาติแทของการรับรู) การรู
เห็นในธรรมชาติแทของสรรพสิ่ง รูเห็นในความวางเปลา ก็วางเปลาเชนกัน ไมมีอวิชชา ไมมีความสิ้นไปแหง
อวิชชา ไมมีความแก ความตาย ไมมีความสิ้นไปแหงความแก ความตาย อวิชชาความหมายตามพจนานุกรม
หมายถึงความไมรู เฉพาะความไมรูทางแหงนิพพาน ไมรูอดีต อนาคต ไมรูแจงดวยปญญา มิใชการเรียนรู

29

อวิชชาเปนหัวใจของวงลอ แหงวฏั ฏะสงสาร เปนกงกรรมกงเกวียนท่ีเราตองเวียนวาย ใครบางที่ตองอยูในวงลอ
แหง วัฏฏะน้ี คําตอบคือสรรพสตั วใ น 3 ภพ 6 ภูมิ มนุษยกค็ อื หน่ึงในสรรพสัตวน ั้น

คําถามตอมา ทําไมจึงเกิดขึ้น หรือทําไมเราตองเวียนวายในวัฏฏะสงสาร เนื่องจากมิจฉาทิฐิ ความสับสน
อนั เกดิ จากอวชิ ชา อวชิ ชาทาํ ใหเ รามองโลกตามโลกียะวิสยั และยดึ ถอื วา สง่ิ เหลา น้นั เปน ตัวตน เปน ความจริงจัง
แตถ าพิจารณาใหดีแลว สง่ิ เหลานีเ้ ปน เหมือนความฝน เปน อนจิ จัง เปนสิ่งทีจ่ บั ตอ งไมไ ด เวลาเราฝนดีเราก็มีสุข
อารมณของเราก็คลอยตามส่ิงท่ีเราฝน ถาเราฝนรายเราก็จะเกิดความกลัวหรือกังวล เราไดใหความรูสึกน้ันใน
ภาคความฝน แตเม่ือเราตื่นขึ้นมา เราก็จะรูวาส่ิงเหลาน้ันไมไดเปนจริง วัฏฏะสงสารก็เหมือนกับตัวเราอยูใน
ภาคฝน สําหรับสรรพสัตวที่มีปญญาอยูในโลกียะวิสัย จึงยังคงตองเวียนวายอยูในกงลอของวัฏฏะตอ ไป เพราะ
ยังคงยึดถือความฝนวาเปนจริงอยู นั้นคือหลงอยูในมิจฉาทิฐิ ไมวาภาคของความฝน หรือภาคของการตื่นน้ัน
เกิดข้ึนท่ีจิต ฉะนั้นผูปฏิบัติธรรม คือผูท่ีพยายามปลุกจิตใหต่ืนน่ันเอง พระพุทธเจาไดทรงตรัสไววา ใจเปนเอก
ในชวงท่ีมีการตั้งครรภ ธาตุของพอและธาตุของแมผสมกัน เปนชวงที่จิตกําลังจะเขาสูกาย เริ่มประกอบธาตุ
รวมกัน จิตของทารกยังเฉยอยู และตอมาจิตก็เริ่มส่ังการใหมีการเคล่ือนไหว นั่นคือจิตไดเร่ิมปฏิบัติหนาท่ีของ
มันแลว กาย วาจา ใจ แมจะตองเก่ียวเนื่องสัมพันธกัน แตกายวาจาจะไมสามารถทําการใดๆไดถาใจไมส่ัง
กายกรรมวจีกรรมจะไมเกิดถามโนกรรมไมเกิด ดังนั้นสภาพและภพภูมิตางๆ จึงเกิดขึ้นจากปริมาณอวิชชาของ
จิต โดยธรรมชาติแลว จติ ทกุ ดวงมคี วามเปน พทุ ธะอยู แตพ ุทธะในจติ ไมสามารถสองแสงเปลง ประกายออกมาได
เนือ่ งดวยเจาของดวงจิตยังคงไมเห็นถึงธรรมชาติแทของอวิชชา เมอื่ ใดทส่ี ามารถเห็นถึงธรรมชาตแิ ทข องอวิชชา
วา วา งเปลา เมอื่ นนั้ ประกายแสงแหงพทุ ธะกส็ อ งสวางออกมาทนั ที

บทความของ Heinrich Dumoulin ในชื่อ Buddhism in the World ท่ีนิวยอรค เม่ือป พ.ศ. 2519 ได
กลาวไววา

“การเปนพุทธะหมายถึงการดํารงอยูท่ีใดก็ได ดวยชีวิตท่ีรื่นเริงเบิกบาน นับต้ังแตช่ัวโมงเชาที่คุณตื่นขึ้น
จนถึงชั่วโมงสุดทายท่ีเขานอน แตการจะเรียกชีวิตท่ีรื่นเริงยินดีในขณะที่ไมมีเส้ือผาจะใส ไมมีเงินจะใช หรือมี
ความเจบ็ ปว ยในบา นเรือน และเจาหนี้มาเคาะประตูบานทวงหนี้ เปน สิง่ ทไี่ รสาระ”

โดยความเห็นของขาพเจาแลว พุทธภาวะหมายถึงการดํารงอยูที่ใดก็ไดดวยชีวิตท่ีร่ืนเริงเบิกบาน
ตลอดเวลา แตเพิม่ คําวาโดยปราศจากทุกข การไมใ สเสื้อผาเพราะไมยอมใส หรอื ไมหามาใส หรือไมม ที างหามา
ใส มันเปนประเด็นที่ตางกัน การไมมีเงินใชก็เชนกัน หาไมไดกับไมไดหา หรือหาไดนอยแตใชมาก มันสัมพันธ
กับการที่เจาหนี้มาทวงหน้ี การเปนหนี้เปนทุกขในโลก พระพุทธเจาทรงตรัสไว เปนหนี้อยู แนนอนพุทธะภาวะ
ไมเกิด และเชนกันสภาวะการเปนหน้ีเกิดข้ึนจากการปฏิบัติตัวเกินพอดี พุทธภาวะเกิดขึ้นไดในสภาพท่ีกาย
เจ็บปว ย กายปว ยจิตปวยไปดว ย พุทธะภาวะยอ มไมบังเกิด แตถ า กายปวยจติ ไมป วย พุทธะภาวะก็บังเกดิ การมี
หรือไมมีของเส้ือผา เงินทอง ไมไดแตกตางกันเลยในพุทธภาวะ พระพุทธเจาอยูในพุทธะภาวะตลอดเวลา แต
พระพทุ ธเจา กอ็ ยูในเพศภิกขาจารตลอดเวลาเชน กัน เมือ่ อวชิ ชาวา งเปลา หนทางแหง ความสนิ้ อวิชชากว็ างเปลา
ดว ย เมือ่ อวิชชาวางเปลา เราก็อยูเหนือความเปนไปของวงลอแหง วฏั ฏะสงสาร เม่อื เราอยูเ หนอื วงลอ แหงวัฏฏะ

30

สงสาร ความแกความตายก็ไมมี และไมจําเปนตองมีหนทางแหงความส้ินไปของความแกความตาย เพราะเม่ือ
พุทธะจิตบงั เกิด อวิชชาวา ง การเกิดก็วาง การแกก ารตายกว็ า ง

ไมมีสรรพสัตวใดที่ไมมีอายตนะภายนอก 6 อายตนะภายใน 6 ก็มันตองมีแลวทําไมจึงบอกวาใหมันไมมี
พระพทุ ธเจาไมเคยสอนผดิ ดังนนั้ พระสตู รจงึ ไมต กทอดมาผดิ ในความมตี อ งดาํ รงอยูอยางไมมี นั่นคอื มีกไ็ มใช
ไมใชไมมีก็ไมใช และก็ไมใชการไปทําลายมันทิ้ง เพราะมันตองมีอยูและมีอยูอยางไมมี น่ันคือ ไมมีก็ไมใช, ไมใช
ไมมีก็ไมใ ช น่ีจึงเปนพุทธะภาวะท่เี ปนหนึง่ เดียวกบั สังสารวฏั ฏ

ไมท กุ ข สมทุ ยั นโิ รธ มรรค ไมมฌี าน ไมม ีการบรรลุ เพราะไมม อี ะไรใหบ รรลุ

พระพุทธเจาไดทรงแสดงธรรมคร้ังแรกแกปจจวัคคีย ที่เรียกวาธรรมจักรกัปปวัตนสูตร คือไดแสดง
ธรรมชาติแทของทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค เมื่อไดเห็นธรรมชาติแทของอริยสัจ 4 แลว ปจจวัคคียก็บรรลุความ
เปนพระอรหันต อริยสัจขอแรก ทุกข พระพุทธเจาทรงชี้ใหเห็นวา สรรพสัตวทั้งหลายไมวาจะอยูในภพภูมิใดก็
หนีไมพนทุกข ไมวาจะเปนภูมิท่ีต่ํา เปนสัตวในนรกภูมิ ตองทนทุกขกับสภาพรอนหนาว เปรตตองทุกขที่มีการ
หิวโหยอยูตลอดเวลา สัตวเดรัจฉานมีแตการเอารัดเอาตัวรอดมีความโงเปนหลัก ในอีก 3 ภูมิท่ีเปนภูมิท่ีสูง ก็
ยังคงไมพนจากทุกข เทพแมจะไมตองรับรูถึงความหิวโหย เจ็บปวด การแก แตเทพก็ยังคงมีทุกขถึงการหมด
อายุขัยของเทพ เมื่อบุญกุศลของเทพหมด ก็จะตายจากภูมิของความเปนเทพไปเกิดใหม ถึงแมเทพทานจะรู
หรือไมรูวา จะตองไปเกิดใหมที่ไหนเวลาใด แตก็ไมสามารถควบคมุ หรือหยุดส่ิงที่จะเกดิ ข้นึ ได น่ันคือ ทุกขของ
เทพ อสูรก็มีทุกข มีความอิจฉาริษยา กราวราว การใชความรุนแรง สวนทุกขของมนุษย เกิดจากการเกิด แก
เจ็บ ตาย การไดยศเส่ือมยศ การเกิดเปนมนุษยโดยมีอาการครบ 32 ประการถือเปนโชคดี เพราะมีแตมนุษย
เทา นนั้ ที่มโี อกาสปฏบิ ตั ิไปสูความหลุดพนได สวรรคส ะดวกสบายทกุ ประการ หลงติดจงึ ไมแ สวงหาทางหลุดพน
อสูรเอาแตรบราฆาฟน วางแผนการรบจนไมมีเวลานึกถึงความหลุดพน เดรัจฉานโงจนไมมีความคิดใดๆ เปรต
ดิ้นรนหาแตกินไมนึกถึงเร่ืองการหลุดพน นรกทุกขทรมานมากเกินไปจนไมนึกถึงการหลุดพนเชนกัน ถาแบง
ประเภททุกขแ ลวจะไดประเภทใหญๆ 3 ประเภท คอื

1 ทุกขเ กดิ จากทกุ ข ดังตวั อยา งทุกขทเ่ี กิดจากความเจบ็ ปวด ความเจ็บปวดเปน ทุกขอยูแลว ความกระวน
กระวาย ความกังวล ความเศรา โศก ความกลวั เปน ทกุ ขท ีเ่ กิดขึน้ เน่อื งจากความเจบ็ ปวด เปนทกุ ขใ นทุกข

2 ทกุ ขเ กดิ จากความไมเ ที่ยงแท เมื่อไมกป่ี ทผ่ี า นมาทุกคนยินดีปรีดา เปนสขุ อยางมากมเี งนิ ทองจับจายใช
สอยกันตามแตตัวเองพอใจ แตมาในปน้ีเงินทองทรัพยสินที่เคยมีไดอันตรธานหายไปหมด ความเสียใจ ความ
เศราโศก ความทุกขไดเกิดขึ้น เหตุการณเชนน้ีมิใชจะเกิดข้ึนในหวงเวลาที่นานเปนป แตมันเกิดขึ้นตลอดเวลา
ในวนั หนง่ึ ๆเกดิ ขน้ึ ไดน ับครง้ั ไมถวน

3 ทุกขจากผลแหงกรรม ปลูกถ่ัวไดถั่ว ปลูกงาไดงา ปลูกถ่ัวเปนกรรม ผลของกรรมคือถ่ัว เชนกัน สภาพ
ความเส่อื มของรางกายกอนเวลาอันควร เปนผลของกรรมที่เราไดรบั มลพิษทงั้ หลาย กรรมคือเราสรางมลพิษให
รา งกาย ผลคือรางกายเส่ือมกอนเวลา สมทุ ยั เหตุแหงทุกข 1 ความอยากได 2 ความอยากเปน 3 ความไมอ ยาก
ไดอยากเปน 4 ความอิจฉาริษยา 5 ความเยอหย่ิงถือตัว นิโรธ ผลของการดับทุกข คือพระนิพพาน อันเปนผล
ของการปฏิบัติอริยสัจขอที่ 4 มรรค วิธีดับทุกข พระพุทธเจาไดทรงสอนวิธีดับทุกขไวถึง 84,000 วิธี หรือ

31

84,000 พระธรรมขนั ธ พระพุทธองคมิใชใหพ ทุ ธสาวกท้งั หลายปฏบิ ัตทิ ั้ง 84,000 วธิ ใี นคนเดียว แตใหเ ลอื กวธิ ีท่ี
เหมาะสาํ หรบั ตนเองท่ีสุด แมเ พยี งวิธเี ดียวกร็ ูแจงเห็นจรงิ

ดังเชน พระอรหันตจุลปาฎก กอนการบรรลุทา นเปนผูทม่ี คี วามจํานอยที่สดุ ทา นไมสามารถจาํ คําสอนของ
พระพุทธเจาไดเลยแมแ ตขอเดยี ว วันหนึง่ ทานไดเขา เฝาพระพทุ ธองค ไดกราบทูลตอ พระพุทธองคว า ทานน้นั โง
มากจําคําสอนของพระองคไมไดเลย พระพุทธเจาทรงตอบวา คนท่ีรูวาตนเองโงไมใชคนโง แตคําสอนท้ังหลาย
ไมเหมาะตอทาน พระพุทธเจาไดใหทานปฏิบตั ิเพียงอยางเดียว ใหทานกวาดบริเวณอาราม ในขณะท่ีกวาดกใ็ ห
ทองวา กวาดขยะออกใหหมด ทานไดเพียรปฏิบัติตามคําสอนเพียงขอเดียว จนในท่ีสุดความรูแจงก็บังเกิด
กวาดขยะออกจากจิตจนหมด จิตทานก็วางเปลา ความสวางในจิตก็เกิด ทานไดเปนพุทธสาวกที่สําคัญ ในการ
เผยแพรพระธรรมของพระพุทธเจา (พระพุทธเจาไดยกยองพระอรหันตจุลปาฎกอยางมาก ที่รูตนเองวาโง
ความจําไมดี) คนโงท่ีรูตัวเองวาโงไมเปน พิษเปนภัยตอสังคม แตคนท่ีฉลาดและยกตัวเองวาฉลาดตลอดเวลาน้ัน
เปน พิษเปนภยั อยางมหันตต อสงั คมโลก คนฉลาดทีเ่ ยอหย่ิงจะไมพอใจตอทุกสง่ิ และตอ งการไดใ นทุกส่ิง สว นคน
โงท่ีอวดฉลาดเปนอนั ตรายตอตนเองและคนรอบขา ง ดว ยคนโงแตอ วดฉลาดตองการกระทาํ ในทุกสิง่

ดงั ทอ่ี ดตี เจา คณะใหญสงฆจ นี นกิ ายรูปท่ี 6 พระมหาคณาจารยธรรมสมาธวิ ตั รฯ พระอาจารยข องขาพเจา
ไดส อนขาพเจา ไวว า เจ็กฮวบทง บว นฮวบทง แจง ธรรมหนึง่ ธรรมทง้ั หมน่ื กแ็ จง พระอรยิ สจั 4 ประการสัมพันธ
ตอเนื่องกันไปสูความหลุดพน และเชนกัน ธรรมชาติแทอันวางเปลาของสรรพส่ิง ไมยกเวนแมความหลุดพนก็
วา งเปลา ดังนน้ั พระอริยสัจ 4 กว็ างเปลา เมือ่ เหน็ ในความวา งเปลาของอรยิ สจั แลว ยังจะมอี ะไรใหบรรลอุ ีก

พระอริยสัจ 4 คือหนทางแหงการหลุดพน จริงหรือไม ตอบวา จริง ไมมีส่ิงใดที่พระพุทธเจาสอนผิด แลว
ทําไมพระพุทธเจาจึงสอนในอีกกาลหนึ่งวา อริยสัจ 4 อันมีทุกข สมุทัย นิโรจ มรรค เปนศูนยตา เปนความวาง
เปลา มิขัดกันหรือ เรามาพิจารณากัน เม่ือพระพุทธเจาสอนอริยสัจ 4 เพื่อใหหลุดพน น่ันคือ การหลุดพนเปน
พระอรหันต ซ่ึงก็คือการดับหายไปเฉยๆ สูญส้ินไปหมดไมเหล่ือใยใดไวเลย ตอมาพระพุทธเจาทานก็สอนทาง
สายกลาง เพ่ือใหสานุศิษยไดดาํ รงความเปนพุทธะเชนพระองคมิตองสูญหายไปเฉยๆ อันใดคือทางสายกลาง ก็
คือใหพิจารณาอริยสัจ 4 ใหเ ปน ปรตีตยสมุทปาท ใหเ ปนศนู ยตา อยาพจิ ารณาอยางแยกสว น เมือ่ พิจารณาแยก
สวน แตละขอพระอริยสัจ 4 ก็จะอยูในข้ัวใดขั้วหน่ึงในส่ีประโยค การพิจารณาพระอริจสัจ 4 ใหเปน
ความสัมพันธอิงอาศัยกัน เพราะมเี หตุจึงมีทุกข เพราะมีทกุ ขจ งึ ตองหาทางแก เพราะหาทางแกจึงมีทางแก เมอื่
ดําเนินทางแก ทุกขก็สามารถเกิดอีก เมื่อพระอริยสัจเปนปรตีตยสมุทปาทกเ็ ปนศนู ยตาดวย และก็เปนทางสาย
กลางดัวย เพราะทางสายกลางคอื ภาวะทเี่ ปนเชนนัน้ โดยไมถูกจํากดั ดวยข้วั ใดข้ัวหน่ึงในสี่ประโยค นัน่ คอื เม่อื ใด
ทีพ่ จิ ารณาพระอรยิ สจั 4 เปนศนู ยตา เมอื่ นนั้ ความเปน พุทธะกเ็ กดิ

พระโพธิสัตวดวยเหตุดําเนินตาม “ปรัชญาปารามิตา” จิตยอมไมสับสนมืดมัว เพราะจิตไมสับสนมืดมัว
จึงไมมคี วามกลัว อยเู หนือความหลอกลวง มีพระนิพพานเปนทสี่ ดุ

พระโพธิสัตว คือ ผูท่ีจะตรัสรูเปนพระพทุ ธเจาในอนาคต พระโพธิสัตว คือ ผูท่ีทรงไวซึ่งมหาเมตตากรุณา
ในวิมลเกรียติสูตรไดกลาวไววา “โรคของสัตวโลกเกิดจากกิเลส โรคของพระโพธิสัตวเกิดจากมหาเมตตา” พระ
โพธิสัตวมุงรักษาโรคทั้งหลายท้ังปวง ทั้งทางกายและใจแกสรรพสัตว เหตุใดเราจึงเรียกพอแมวาเปนพระ

32

โพธิสัตวของลูก เมื่อลูกเจ็บปวย ความเจ็บปวยของลูกคือความเจ็บปวยของพอแม และถาพอแมลูกเจ็บปวย
พรอมกัน พอแมจะไมรักษาตนเองกอนที่จะรักษาลูก ความเจ็บปวยของพระโพธิสัตวเกิดจากตองการชวยสัตว
โลก ตองการใหสัตวโลกไดรับความสุข พระโพธิสัตวอยูเหนือความทุกขท้ังมวล ท่ีเปนทุกขอยูไมใชทุกขของตน
แตเปนทุกขของสัตวโลก เพราะสัตวโลกเจ็บปวย ตนจึงเจ็บปวย ในบรรดาธรรมของพระพุทธเจาท่ีทรงสอนแก
ชาวโลก ศาสตรแหงการแพทยถือวาเปนสุดยอด ศาสตรแหงการแพทย คือศาสตรท่ีพระโพธิสัตวทุกพระองค
ทรงใชอยูตลอดเวลา

ทศบารมี 10 ประการ ทาน ศลี ขนั ติ วิริยะ สมาธิ ปญญา อบุ าย ปณธิ าน พละ ฌาน เกดิ ข้ึนพรอ มกันทัน
ที่ เม่อื ไดม กี ารปฏิบตั ศิ าสตรแหงการแพทย ดังนน้ั บคุ คลทมี่ งุ บําบัดทกุ ขทั้งทางกาย และใจของชาวโลก โดยหวงั
ส่ิงตอบแทนเพียงความสุขของชาวโลกบุคคลน้ัน จึงเปนพระโพธิสัตวที่จริงแท พระโพธิสัตวท่ีปฏิบัติตนเชนนั้น
ได ก็ดวยเห็นแจงถึงธรรมชาติของสรรพส่ิงท่ีเปนความวางเปลา แพทยในโลกียะวิสัยเม่ือเจ็บปวยตองรักษา
ตนเองใหหายกอน จึงจะรักษาผูอื่นตอไป แตแพทยโพธิสัตวถึงแมตนจะเจ็บปวยอยู ก็จะรักษาผูอื่นไปเรื่อยๆ
เพราะทานทรงเห็นแจงในธรรมชาติ ความวางเปลา ของความเจ็บปวยนั้น และดวยมหาเมตตาท่ีทานมีอยู
โดยปรกติแลวคนท่ัวโลกกลัวความมดื ในความมืดไมสามารถเห็นสิ่งใด ใจก็คอยระแวงวาจะมีภยั อันตรายอยาง
น้อี ยางนัน้ เกิดขน้ึ คนทีไ่ มกลวั ความมืดคอื คนที่นอนหลับ ในชว งที่นอนหลบั คอื ชว งทใี่ จวางท่ีสุด จงึ ไมกลวั ความ
มืด เชน กนั เมื่อใจวา งแมอยูใ นทีม่ ืดใจก็สวา ง พระโพธิสัตวจ ติ ของทานวางเปลา ทา นจงึ ไมม คี วามมืดความสวาง
จิตของพระโพธิสัตววางเปลา ทานจึงไมมีสิ่งใดตองกลัว อยูเหนือความหลอกลวง ความหวาดระแวง มายาภาพ
เกิดจากการปรุงแตง ของจิต น่นั คือเทจ็ และจรงิ เก่ียวพนั กนั อยูต ลอดเวลา และนัน่ ก็คือธรรมชาตแิ ทของสรรพสิ่ง
อันวางเปลา

ดังในประวัติปรมาจารยนิกายเซ็นองคที่ 6 ของประเทศจีน ทานฮุยเลง มีพระอาจารยทานหนึ่ง ไดกลาว
วา รางกายคือตนโพธิ์ จิตใจคือกระจกเงา ตองหมั่นเช็ดถูทุกเวลา อยาใหฝุนละออง มาเกาะติด น่ันคืออภิญญา
จิต แตมใิ ชสดุ ยอดแหงนิพพาน ทานฮุยเลงไดแกบ ทขางบนวา ตน โพธนิ์ ้นั มิใชโ พธิ์ อกี ทง้ั กระจกเงาก็ไมมี จะตอง
เช็ดถูอะไร มีอะไรใหฝุนละอองเกาะ พระนิพพานบังเกิดข้ึนในจิตนี้ ทานฮุยเลงไดบรรลุเห็นแจง และไดเปน
ปรมาจารย นิกายเซ็นองคท่ี 6 ไดทําคุณประโยชนแกพุทธศาสนาอยางมากมาย พระนิพพานมีผูนําไปแปล
ความหมายวา การดบั สญู เปน ความเขา ใจความหมายท่ีแคบเกินไป การดบั สญู กเิ ลสของปจ เจกบคุ คล เปน พระ
นพิ พานในความหมายน้ี การสญู สิน้ ของกิเลสพรอมกบั การจรรโลงโลก ธรรมชาติ สังคม ใหคงอยู เพ่อื สรรพสัตว
ไดพ บบรมสุข อยใู นสันติภาพอันนริ ันดร มีโอกาสเขา สูพทุ ธเกษตรนัน่ จึงเปน พระนพิ พานอนั แทจ ริง

การมองโลกเปนมายา แลวพยายามหลีกหนีมัน ดวยความกลัววา มันจะสงผลกระทบมาถึงเราน้ัน เปน
เร่ืองไมถูกตอง อีกทั้งการพยายามทําลายความมายาทั้งปวงทิ้ง ก็ไมใชส่ิงถูกตองเชนกัน เม่ือใดท่ีเราเห็นวา โลก
เปนเชนน้ีน่ีเอง เปนดังท่ีมันเปน เปนศุนยตา เมื่อน้ันพระนิพพานในความหมายที่แทจริงก็ปรากฎ พระนิพพาน
ในความความหมายท่แี ทจริงไมใชความดบั สญู แตเ ปนโลกแหง ปรากฏการณพุทธเกษตร ทไี่ มม ีมา ไมมไี ป ดํารง
อยูอ ยา งอิสระเบ้อื งหนาตนทกุ ขณะจติ

พระพทุ ธเจา ทัง้ 3 กาลดวยเหตดุ าํ เนินตาม ปรัชญาปารามิตา จึงไดบรรลุอนตุ รสมั มาสัมโพธญิ าน
33

พระพุทธเจาทั้ง 3 กาล ดวยความหมายตามตัวอักษร 3 กาล คือ อดีต ปจจุบัน อนาคต แตความหมาย
ในทางพระสูตรนี้ หมายถงึ กาลไมส ้นิ สดุ พระพทุ ธเจา ในความหมายนี้ มิใชห มายถึงพระศากยะมนุ ีพทุ ธเจาเพียง
พระองคเ ดียว ในจํานวนสตั วโ ลกทนี่ ับไมถว น ต้งั แตกอนมีประวัตศิ าสตรนานนับไมถวน พระพทุ ธเจา ก็ไดบังเกิด
ขน้ึ มานับไมถวนแลวเชน กัน ดว ยสรรพสัตวท ัง้ หลายทมี่ ีอยู และเคยมอี ยใู นโลกน้ี ลว นมีความเปน พทุ ธะอยูในตัว
และพรอ มท่จี ะบรรลุมรรคผลไดต ลอดเวลา พระทีปงกรพุทธเจาในอดีต พระศากยะมุนีพุทธเจาในปจจุบนั และ
ศรีอริยเมตตรัยพุทธเจาในอนาคต พระอรหันตทั้งปวง พระปจเจกพุทธเจาอีกมากมาย มนุษยโลกในปจจุบันใน
จาํ นวนหลายพันลานคน ยอมมผี สู ําเร็จมรรคผลเกิดข้ึนอยตู ลอดเวลา ดงั นน้ั การปฏิบตั ติ นของชาวพุทธทงั้ หลาย
ควรวางตนใหถ ูกตองเหมาะสม และมีทัศนะคตทิ ่ีถกู ตองตอ ชาวโลก ปฏิบัติตอ ผูอ่ืนดังผอู ืน่ เปนพุทธะ และปฏบิ ตั ิ
ตอตนเอง ดังตนเองเปนพุทธะเชนเดียวกัน เราเชื่อมั่นในพระธรรมเชนไร เราก็เชื่อมั่นวาชาวโลกทุกผูคนเปน
ผูใหธรรมะแกเราเชนกัน อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ คือความรูแจงอันสูงสุด ไมมีความรูใดสูงกวา พระพุทธเจา
ทานหยิบก็ข้ึน ปลอยก็วาง ไมมีสิ่งใดสัมผัสไมไ ด และก็ไมมีส่งิ ใดยึดตดิ ได พรอมท้ังมอบหนทางความเปนพุทธะ
ใหชาวโลกท้ังหลาย จึงสาํ เรจ็ อนตุ รสัมมาสมั โพธิญาณ

จึงทราบวา “ปรัชญาปารามิตา”เปนมหาศักดาธารณี เปนมหาวิทยาธารณี เปนอนุตรธารณี เปนอสม
ธารณี สามารถดับสรรพทกุ ข

ธารณี หรือมนตร หรือคาถา คอื คําศกั ดิ์สิทธิ์ คําสวด คําสอน ของพระพทุ ธเจา ทกุ คาํ ถอื เปนคําศักดิ์สิทธิ์
มหาศักดาธารณี คือคําศักด์ิสิทธิท์ รงฤทธอิ์ ํานาจ ในการทําลายอวิชชาท้ังมวลเขา สูสภาวะสูงสดุ คือพระนพิ พาน
มหาวิทยาธารณี คือวิชาการอันจริงแทแนนอน ไมมีกาลเวลา เพราะทันสมัยอยูเสมอ ไมวาวิทยาศาสตรจะ
นําไปสูดาวอังคารแลว วิทยาการน้ีก็ยังคงเปนยานพาหนะสําคัญ นําพาเราไปสูฝงนิพพานตลอดเวลาตลอดกาล
ไมเคยเส่ือมสภาพหรือชํารุดใชการไมได อนุตรธารณี คือธารณีนี้ทรงความศักด์ิสิทธ์ิสูงสุด ไมมีธารณีใดสูงกวา
อสมธารณี คือ ไมมีธารณใี ดเทียบเทา

สัจจะธรรมไมผดิ พลาด ฉะนั้นจงึ ประกาศ “ปรัชญาปารามิตาธารณ”ี ดงั นี้

ตายาถา โอม คะเต คะเต ปารา คะเต ปารา สัง คะเต โพ ธิ โซ ฮา

คําสวดนี้เปน คาถาหัวใจของปรัชญาปารามิตาสูตร เลียนคํามาจากสันสฤตโบราณ ฉะนั้นจึงไมขอแปล
ความหมาย บทธารณีในภาษาจีนไดจบเพียงเทานี้ แตในสันสฤตไดมีอีกประโยควา ไดกลาวปรัชญาปารามิตา
สูตรจบแลว ในภาษาทิเบตมกี ารบรรยายท่ีมาของพระสตู ร และบท สรุปของพระสูตรน้ี ดงั ท่ีพระพทุ ธเจา ไดต รัส
ไวในสังยุตตนิกายวา “ดูกรกัจจนะ โลกนี้ติดอยูกับสิ่งสองประการ คือ “ความมี”และ “ความไมมี” ผูใดเห็น
ความเกิดขึ้น ของส่ิงท้ังหลายในโลก ตามความเปนจริง และดัวยปญญา “ความไมมี” อะไรในโลก จะไมมีแกผ ู
น้ัน ดูกอนกัจจนะ ผูใดเห็นความดบั ของส่ิงท้ังหลาย ในโลกตามความเปนจริง และดวยปญญา “ความมี” อะไร
ในโลก จะไมมีแกผูนั้น” เม่ือพระอัสสชิ ไดรับคําขอรองจากพระสารีบุตร ใหยอคําสอนของพระพุทธเจาลงใน
คาถาเดียว ทา นไมกลาวถงึ อริยสัจ 4 หรือ มรรคมีองค 8 แตทา นกลา วถงึ ความวางเปลาของปฎจิ จสมุปบาท ซ่ึง
เปนธรรมที่ลึกซึ้งที่สุด เชนกันทานนาคารชุนโพธิสัตวก็ไดใชธรรมน้ี ฟนฟูพุทธศาสนาข้ึนมาอีกครั้ง หลังจากถูก
ศาสนาอื่นโจมตีจนแทบสูญสลายไปจากโลก การรูศูนยตาเปนปญญาสูงสุด การบรรลุศูนยตานี้ คือ ตรัสรู

34

ปญญา คือ พอ เมตตากรุณา คือ แม โดยความรักของพอและแม บุคคลก็จะบรรลุความเปนพุทธะโดยสมบูรณ
ปญญาท่ีปราศจากความศรัทธา ความรูที่ปราศจากความรัก เหตุผลท่ีปราศจากความกรุณา นําไปสูความสูญ
เปลา ศรทั ธาที่ปราศจากเหตุผล ความรักที่ปราศจากความรู ความกรณุ าท่ีปราศจากปญญา นาํ ไปสูค วามยงุ ยาก
เสื่อมสลาย แตในท่ีใดท่ีปญญา กรุณา และความรัก อันลึกซ้ึงรวมตัวกัน ในท่ีน้ันยอมมีความสมบูรณและบรรลุ
ความตรัสรูอันสูงสุด การบําเพ็ญเพียรตามปรัชญาปารามิตาน้ี มิใชใหแกลงเห็นธรรมชาติแทคือความวางเปลา
เพ่ือเปนขออางใหไมทําอะไรเลย เกียจครานตอหนาที่การงาน โดยคิดวาเมื่อวางแลว จะตองทําอะไรอีก ทําไป
ทําไม ทุกส่ิงทุกอยางวางหมด การคิดเชนน้ันผิดอยางมหันต การรูแจงในปรัชญาปารามิตา เพื่อใหเกิดปญญารู
สภาพท่ีแทจริงของสรรพสิ่ง เม่ือเรารูธาตุแทของเพื่อนเรา ยอมยินดีรักใครสุขใจในความเปนเพ่ือนกัน และเตม็
ใจทจ่ี ะกระทําการเพ่ือเพ่ือน เชนกันการรแู จงในธรรมชาตขิ องสรรพสิ่ง เพ่ือใหเ กดิ ความรักตอสรรพสิ่ง ยินดีและ
เตม็ ใจประกอบการใดๆ เพื่อสรรพส่ิงใหยนื ยงคงอยู สรรพส่งิ อยูที่ใจ ความรแู จง อยูที่ใจ การทําการงานดวยใจท่ี
รูแจง ความเบอื่ หนายความรสู ึกถูกบงั คบั ใหท าํ ยอ มไมเกดิ ข้ึน เราจะทํางานดว ยความเปน สุข

พระพุทธเจาหลังจากตรัสรูแลว ก็ทํางานของพระองคอยางขยันขันแข็ง ไมยอมหยุดจนถึงวาระสุดทาย
กอ นปรินพิ พานก็ยงั ปฏิบัตงิ านอยู โดยสอนบรรดาสาวกทช่ี มุ นุมกันอยูว า

“ความเสื่อมมีอยูในสังขารท้ังหลาย จงยังประโยชนตนและประโยชนทาน ใหถึงพรอมดวยความไม
ประมาทเถดิ ”

แลวจึงเขาสูปรินิพพาน การหลอกตัวเองวา ไดเห็นแจงในความวางเปลาแลว ไมทําอะไรเลย นั่นเปน
เดรัจฉานจิต อยูรอความตาย มิใชรูแจงในนิพพานจิต ศูนยตาสภาวะ หรือ สภาวะแหงความวางเปลา จึงเปน
สภาวะแหงเอกภาพของสังคมโลก สันติภาพอันนิรันดร บรมสุขของมนุษย ในสภาพท่ีจิตและกายยังคงยึด
เหน่ยี วกันอยู และเปนผคู วบคุมวงลอแหง วัฏฏะของตน เมือ่ จติ และกายแยกจากกันแลว

เมื่อจิตมองเห็น เขาใจแจงใน สิ่งท่ีใช-ไมใช, สิ่งที่ไมใช-ไมใช, ไมใชสิ่งที่ใช-ไมใช, ไมใชส่ิงที่ไมใช-ก็ไมใช
ดํารงจิตในตรงกลางของความไมใชท้ังส่ีข้ัว ภาวะน้ีคือการรูแจงในพระอริยสัจ 4 รูแจงในทางสายกลาง รูแจง
ในปรตีตยสมุทปาท น่ีคือ ศูนยตา เมื่อน้ันพุทธภาวะบังเกิด เม่ือภาวะน้ันตั้งม่ันในจิตเปนนิสัย เปนสันดาน คน
ธรรมดาเชนทา น กค็ ือพระพุทธเจา

จากคําสอนของ พระมหาคณาจารยโพธแ์ิ จง และ มหาวชั ราจารยโ ซนมั รนิ โปเช

หนงั สือ การพนทุกขข องมหายาน
หนังสอื พุทธประวตั ิระหวาง 2,500 ป
หนังสอื พุทธสนั ติวธิ ีทฤษฎีเชงิ โครงสราง

ฤทธิชัย เอกสนิ ทิ ธก ลุ เขยี น ชาญชัย คูณทวีลาภ ตรวจทาน 28 กุมภาพนั ธ 2541

35

大乘二十頌論

ม ห า ย า น ว ส ติ ค า ถ า ศ า ส ต ร

คุรนุ าครชนุ รจนา

พระตรปี ฏ กธราจารย ทานปาละ แปลพากษจนี

สามเณรศุภโชค ตีรถะ แปลพากษไทย

ปณามคาถา

“พระมหาสมณะอันบังเกิดในภัทรกัลปน้ี พระองคใดนามวา โคตม ผูทรงแสดงธรรม ดุจกระทําส่ิงท่ีควํ่า

ใหหงาย แลเปนผูประเสริฐแหงหมูศากยราช ดวยคุณอันเปนจริงนั้น ขาพเจานอบนอม ซึ่งพระมหาสมณะ

พระองคน ั้น ดวยเศียรเกลา ”

“ธรรมเหลาใด อันบังเกิดแลว แตพระมหาสมณะนั้น ยอมยงั จิตแหง ชนท้ังหลายเหลาใดใหเกษม ดวยคุณ

นนั้ ขอความเปนผมู จี ติ อันเกษม จงบังเกิดแกขา พเจา ในบัดดล”

“สงฆสาวกแหงพระมหาสมณะนั้นเหลาใด ประพฤติการอันสมควรแกการดับทุกขแลวไซร ขาพเจาจัก

บชู าองคแ หงคณุ นนั้ ดว ยมโนทวาร”

“คุรุใดบังเกิดในบวรพระพุทธศาสนาน้ีแลวไซร มีนามวา นาคารชุน ผูถึงพรอมดวยองคคุณ มีทาน ศีล

เปนตน ดวยการกลาวองคคุณแหงความเปนจริงในพระรัตนตรัยน้ัน ขอความสวัสดีจงบังเกิดมี แลขอขาพเจา

ปริวรรตคัมภีรอันมีนามวา มหายานวีสติศาสตร อัน คุรุนาคารชุน รจนาไวดีแลวน้ัน จงสําเร็จลุลวงไปดวย เพ่ือ

ประโยชนส ขุ แหงมหาชนท้ังหลาย”

歸命不可思議性 諸佛無著真實智

諸法非言非無言 佛悲愍故善宣說

“อนั วาความเคารพนอบนอ มทม่ี ิไดค าํ นึงในภาวะ เหลาพุทธะผูไ มข ดั ขอ งในปรมัตถสจั จะโดยปญญา

ธรรมทง้ั หลายมิใชมิกลาวไมใ ชไรก ารกลาว ดว ยความเมตตาแหง พทุ ธะจักกลาวคําอันเปน กุศล”

第一義無生 隨轉而無性
佛眾生一相 如虛空平等

“ปรมัตถส ัจจะไรการเกดิ ตามการเปลี่ยนแปลงแลอภาวะ

พทุ ธะแลสรรพสตั วเ ปน เอกลกั ษณะ ประดจุ สูญญตาอนั สมภาพ”

此彼岸無生 自性緣所生
彼諸行皆空 一切智智行

“น้นั แลคอื ฝง แหง นิพพาน สวภาวะเปนปจ จัยแหง การเกดิ

มรรคาทงั้ หลายนั้นลวนเปน ศนู ยตา รวมถงึ มรรคาแหง สพั พัญู”

無染真如性 無二等寂靜
諸法性自性 如影像無異

“ไรป รารถนาในภตู ตถตาภาวะ แลทไ่ี มเ ปนสองนน้ั คอื นิพพาน

สภาวธรรมทงั้ หลายท่ีมีอยูในตวั ของมันเอง ประดจุ ดังภาพสะทอนอนั ไรแ ตกตา ง”

凡夫分別心 無實我計我
故起諸煩性
及苦樂捨等

36

“ปุถุชนผแู บงแยกจิต ไรภ ูตตถตาหาตรรกในตวั ตน”

ยอ มยังใหบ ังเกิดบรรดากกุ กจุ จะภาวะ แลทุกขภาวะ สุขภาวะ อเุ บกขาภาวะเปน อาทิ

世間老病死 為苦不可愛

隨諸業墜墮 此實無有樂

“โลกนคี้ วามชราความเจ็บไขแลมรณา เปน ทกุ ขอนั มินา ปรารถนา

คลอ ยตามลงสกู รรมท้ังหลาย น้นั คือความจรงิ อันไรสุข”

天趣勝妙樂 地獄極大苦

皆不實境界 六趣常輪轉

“สวรรคค ตอิ นั วิจติ รตระการตาแลสขุ อนั เปนเลศิ นรกอันเปน ยอดแหง ทกุ ขอันย่ิงใหญ”

เพราะตางกม็ ิเขา ใจในสัจจะ จึงยงั หมนุ เวียนในคตทิ ง้ั หกน้เี ปน นิจ

眾生妄分別 煩惱火燒燃

墮地獄等趣 如野火燒林

“สัตวท ้ังหลายผเู ห็นผดิ ยอ มแบงแยก กิเลศคือไฟอนั รอนแรง

เมือ่ คลอ ยตามยอมตกสูนรกคติเปนอาทิ อุปมาดังไฟท่แี ผดเผดปาไมฉ นั นัน้ ”

眾生本如幻 復取幻境界

履幻所成道 不了從緣生

“มลู เดมิ แหง สรรพสตั วนั้นดังมายา ยอ นคนื สูอุปทานมายาเขต

ประพฤตใิ นมายาสสู าํ เร็จมรรค ยอมไมยอนกลับเปนปจ จยั ใหบ ังเกดิ ”

如世間畫師 畫作夜叉相

自畫己自怖 此名無智者

“อปุ มาดง่ั ศิลปาจารยใ นโลกนี้ รงั สรรคย กั ษลกั ษณะ

คอื ตนแสดงความหวน่ั กลัวแหง ตน จึงไดซอื่ ผูไรป ญ ญานัก”

眾生自起染 造彼輪迴因

造已怖墜墮 無智不解脫

“สรรพสัตวใดทบ่ี ังเกิดความดา งพรอ ยในตน กลาววา น้ันคอื เหตุของสังสารวัฏ

แลกลา ววาหากนอ มลงสคู วามกลัวแหง ตน คือไรป ญ ญาหาใชว มิ ตุ ติไม”

眾生虛妄心 起疑惑垢染

無性計有性 受苦中極苦

“สัตวหมูใ ดลวงหลอกเขาใจผดิ ในจิต ยอ มบงั เกิดวจิ กิ ิฉากิเลศเครอื่ งเศรา หมองอนั เปนมลทนิ แลดางพรอย

ไรส ภาวะแตกับคดิ หาสภาวะ ยอ มไดรบั ทุกขเ วทนาแลมีเวทนานั้นแลเปนท่สี ดุ รอบ”

佛見彼無救 乃起悲愍意

故發菩提心 廣修菩提行

“พุทธทัศนะนน้ั ไรก ารออ นวอน แตถ ึงกระน้นั บังเกดิ ความเมตตากรณุ าดว ยเจตนา

ยอมกระทําการต้งั โพธจิ ิต อันเปน แบบประพฤตใิ นโพธมิ รรค”

得無上智果 即觀察世間

分別所纏縛 故為作利益

“ยอมสาํ เร็จในอนตุ ริยะปญ ญาผล จกั บังเกดิ เจโตปริญญาญาณบนโลก

การแบง แยกในกุศลพันธะ กระทาํ ไซรนั้นเพ่ือการแหง ประโยชน”

從生及生已 悉示正真義

37

後觀世間空 離初中後際

“จากการบงั เกิดแลบังเกดิ แลว ยอ มแสดงความถกู ตองแหง ปรมตั ถสัจจะ

หลงั การพิจารณาโลกนค้ี ือความวา ง ยอ มละจดุ กาํ เนิดทีเ่ ร่มิ ตน ”

觀生死涅盤 是二俱無我

無染亦無壞 本清淨常寂

“หากพิจารณาการเกดิ ตายแลนิพพาน ก็แคส องคาํ คอื ไรต น

มิดางพรอ ยอีกทง้ั มแิ ปรปรวน มลู เดิมบรสิ ุทธิแ์ ลสงบเปนนิจ”

夢中諸境界 覺已悉無見

智者寤癡睡 亦不見生死

“ในขอบเขตก่ึงกลางแหงความฝน ทงั้ หลายนน้ั โพธอิ ันบรบิ รู ณแลว ยอ มไรทศั นะ

ปญ ญานั้นมลี กั ษณะคลายจากถีนมิทธะ อกี ท้ังมิพานพบการเกิดแลการตาย”

愚癡闇蔽者 墜墮生死海

無生計有生 起世間分別

“อันโมหะวิจกิ ฉิ าแลความหลอกลวงปดบังนนั้ หากคลอยตามก็ยอ มลงสทู ะเลแหงทะเลแหง ความเกดิ ตาย

ไรบ งั เกดิ แตกลับคิดหาความบังเกดิ ยอมบังเกิดความแบง แยกใหโ ลกน”ี้

若分別有生 眾生不如理

於生死法中 起常樂我想

“หากแบงแยกในภาวะ สรรพสัตวน ัน้ ไมส มดงั เหตุผล

ในการเกิดดับในธรรมนนั้ บงั เกดิ สญั ญาในความสุขของตน”

此一切唯心 安立幻化相

作善不善業 感善不善生

“สิง่ ท้งั หลายน้นั สกั แตวา จติ ความสงบสขุ นนั้ บังเกิดเปน มายาแลมีการเปล่ยี นแปลงเปนลกั ษณะ

กระทํากุศลมใิ ชก ศุ ลกรรม สัมผัสกศุ ลกศุ ลไมบ ังเกิด”

若滅於心輪 即滅一切法

是諸法無我 諸法悉清淨

“หากนิโรธในจิตอนั เปล่ยี นแปลง กบ็ งั เกิดนิโรธในธรรมท้ังหลาย

คอื สรรพธรรมน้ันเปนอนตั ตา ธรรมทง้ั หลายนัน้ ยอมบรสิ ทุ ธ์ิ”

佛廣宣說世間法 當知即是無明緣

若能不起分別心 一切眾生何所生

“พระพทุ ธเจาผูประกาศธรรมธรรมในโลกนี้ ยอ มทราบเหตุปจจยั ในการบงั เกดิ ของอวิชชา

หากสามารถบงั เกิดการไมแ บง แยกแหงจิต สรรพสัตวจักเกดิ ไดแ ตทไ่ี หน”

於彼諸法法性中 實求少法不可得

如世幻師作幻事 智者應當如是知

“ในธรรมท้งั หลายนนั้ ธรรมภาวะอนั เปน กลาง ดวยสัจจะน้ันหากจะขอใหธ รรมนั้นมีนอยยอ มเปนบมไิ ด

ประดจุ ดังมายาจารยใ นโลกกระทาํ มายากิจ ปญ ญาน้นั พงึ ทราบดงั เชนน”ี้

生死輪迴大海中 眾生煩惱水充滿

若不運載以大乘 畢竟何能到彼岸

“ในสังสารวัฏอันมีเกิดตายท่มี ากมาย สรรพสตั วม คี วามราํ คาญฟุงซานดังนา้ํ ที่อดั แนน

หากมิขับเคลอื่ นในมหายาน ทายทส่ี ดุ น้นั อะไรสามารถถึงฝง แหงนพิ พาน”

38

ประวัติพระนาคารชุน และ ความเขาใจเร่ืองสุญญตา

ประวตั พิ ระนาคารชนุ

ผูกอต้ังพุทธปรัชญาสายนี้ คือ พระนาคารชุน เนื่องจากประวัติของทานมักมีการกลาวถึงในแงปาฏิหาริย
เปนสวนมาก สําหรับประวัติของทานในฐานะท่ีเปนบุคคลจริงๆ ตามประวัติศาสตร ระบุวา ทานถือกําเนิดท่ี
เมืองวิทารภะ ในแควน โกศลภาคใต ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระเจายชั ญศรี เคาตมีบุตร แหง ราชวงศอ ันธระ ราว
พุทธศักราช ๖๐๐–๗๐๐ ป ทานนาคารชุนนาจะเกิดในชวงน้ี ดังเชนที่อาจารยมุซาชิ ตาชิกาวะ ผูเขียน An
Troduction to the Philosophy of Ngrjuna ไดกําหนดชวงสมัยของพระนาคารชุนวา นาจะอยูราวๆป พ.ศ.
๖๔๓–๗๔๓ ไมเ กนิ น้ี

เลากันวา เพราะมารดาของทา นไดใหก ําเนิดทานท่ีใตต นไมชอ่ื วา อรชุน ทา นจงึ ไดชอื่ วา อรชุน สว นคําวา
นาคารชุน น้ัน เปนช่ือที่ไดมาเม่ือทานไดไปพบกับพวกนาค ซ่ึงคอยดูแลคัมภีรมหายานที่ช่ือ มหาปรัชญาปารมิ
ตาสตู ร ที่เมืองนาคพิภพ

ทานนาคารชุนเม่ือไดบรรพชาเปนสามเณรแลว ไดมาเขาศึกษาท่ีมหาวิทยาลัยนาลันทากับพระอาจารยส
ราหภัทร หลังจากนั้นจึงไดศกึ ษาธรรมกับพระอาจารยราหุลภทั รผูเปน อธิการบดขี องนาลันทา จนกระท่ังเมือ่ ได
บวชเปนพระภิกษุ ก็ไดรับความไววางใจจากพระอาจารยใหเปนพระผูดูแลนักศึกษาในมหาวิทยาลัย และเปน
อธกิ ารบดแี หงนาลนั ทาองคต อมา

มีตํานานเลาวา เนื่องจากทานมีความแตกฉานในพระสัทธรรมและนานาลัทธิ ทานจึงใชเวลาไปกับการ
สอนธรรมะแกพระนักศกึ ษา และโตว าทกี ับพวกพราหมณแ ละเจา ลัทธิในสมยั นนั้ จนคร้ังหน่งึ พวกนาคไดม าฟง
ธรรมจากทานแลวเกิดความเล่ือมใส จึงไดนิมนตทานไปยังนาคพิภพ แลวพาไปชมหองมหาสมบัติ แลวมอบ
ถวายพระคัมภีร “มหาปรัชญาปารมิตาสูตร” ซึ่งเปนพระสูตรสําคัญที่เก็บรักษาท่ีเมืองนาคไวชานานแลว ทาน
พระนาคารชุน (อรชุน-ผูยิ่งใหญของพวกนาค) ทานไดศึกษาคัมภีรดังกลาวจนถ่ีถวนและทะลุปรุโปรง เม่ือ
กลับมาเมืองมนุษยก็ไดนําคัมภีรดังกลาวติดตัวมาดวย และทานก็ไดต้ังหลักปรัชญามาธยมิกะวาท โดยใชฐาน
จากพระสูตรนี้เอง

อาจารย เค. สัตจิทานันทะ มูรติ (K. Satchidananda Murty) ไดใหขอสังเกตวา สาเหตุที่ตองมีตํานาน
การไดคัมภีรดังกลาวมาจากพวกนาค อาจเปนเพราะวาทานไดต้ังหลักปรัชญาขึ้นบนพ้ืนฐานของคัมภีรนี้ และ
เพื่อใหคัมภีรน้ี ซึ่งเปนคัมภีรมหายานที่เกิดข้ึนใหม (ตามที่ทราบกันดีวา ฝายมหายานไดแตงคัมภีรพระสูตรข้ึน
เองมากมาย) ไดรับการยอมรับ จึงตองมีตํานานวา ทานไดรับคัมภีรนี้มา ซึ่งเปนพระพุทธพจนโดยแท แตเก็บ
รกั ษาไวทเ่ี มืองนาค

ทา นไดใ ชเวลาตลอดท้ังชีวติ ในการตัง้ หลกั ปรัชญาศนู ยวาท หรือมาธยมกิ วาท ดว ยเหตุทีห่ ลักปรัชญาของ
ทา นนั้นลกึ ซ้งึ ยง่ิ ใหญ ทา นจึงไดรับการขนานนามวา เปน Second Buddha (พระพทุ ธเจา องคทสี่ อง)

สําหรับบ้ันปลายชีวิตของทาน เหตุการณหรือประวัติการมรณภาพของทานนั้น สวนมากมีกลาวไวเปน
ตํานานมากกวา จะเปนประวัติศาสตร ท่พี อจะกลาวถึงเปนหลักฐานไดบา งกค็ ือ ทานมรณภาพเม่ืออายุได ๖๐ ป

39

ตลอดในชวงชีวิต ทานมีกษัตริยพระองคหนึ่งเปนผูอุปฏฐากและเปนเหมือนสหายธรรม คือ พระเจายัชญศรี
เคาตมบี ตุ ร ทา นไดเ คยเขียนจดหมายสอนธรรมถึงเพ่อื นของทานหลายฉบบั

ผลงานของพระนาคารชุน

คัมภีรที่ทานไดรจนาไวน้ันมีหลายเลมดวยกัน หากจะนํามาแสดงไวท้ังหมด ก็จะเปนการทําใหรายงาน
ฉบับนี้ยาวเกินไป จงึ ขอนํามากลาวถึงเฉพาะบางเลม

๑. คมั ภรี ห มวดศาสนา-ปรัชญา

๑).มูลมาธยมิกการิกา หรือ มาธยมิกศาสตร หรือ โศลกมูลฐานวาดวยทางสายกลาง เปนคัมภีรที่มีคาถา
๔๐๐ การิกา แบงเนื้อหาออกเปน ๒๗ บท เนื้อความไดกลาวถึงการใชวิภาษวิธี (ซ่ึงจะกลาวถึงตอไป) เพ่ือ
ช้ีใหเหน็ ถงึ ความเปน ศูนยตาของสรรพสงิ่ สิ่งทีน่ า สนใจของคมั ภรี นคี้ อื ทา นนาคารชนุ ไดก ลาวถึงพระสูตรในฝาย
เถรวาทสูตรหนึง่ คอื กัจจานโคตตสตู ร ซึ่งในพระสูตรดังกลา ว ไดกลา วถงึ “ความเปน” และ “ความไมเปน” วา
“การบอกวา สงิ่ นมี้ ี เปน สุดโตง” การบอกวา “สงิ่ นี้ไมม ี ก็เปนสดุ โตง”

๒).ศนู ยตาสัปตติ เปน คมั ภีรที่แตงเปนคาถา ๗๐ คาถา อธบิ ายเรอื่ งศูนยตาและความวางเปลา

๓).มหาปรชั ญาปารมติ าศาสตร เปนคัมภรี ท ่ีแตง อธบิ าย มหาปรชั ญาปารมติ าสูตร เปนตน

๒. คมั ภรี ห มวดศิลปะการโตว าที

๑).วิครหวยาวรตนี เปนคัมภีรวาดวยเรื่องการปฏิเสธขอโตแยงตางๆ เปนคาถา ๗๐ คาถา พรอมดวย
อรรถกถาอธิบายโดยพระนาคารชุนเอง

๒).ไวทัลยสูตร / ไวทัลยปกรณะ เปนคัมภีรวาดวยการแยกแยะขอวินิจฉัยตางๆ ออกเปนสวนๆ แบบ
วิภาษวธิ ี

๓. ผลงานประเภทจดหมายถึงเพื่อน

๑).สุหฤลเลขะ เปนคัมภีรที่มีลักษณะเปนจดหมาย หรือการเขียนสนทนาของทานไปถึงเพื่อน คือ พระ
เจายัชญศรี เคาตมีบุตร แตงเปนคาถาจํานวน ๑๒๓ คาถา เนื้อความพูดถึงการประกอบกรรมดี หลักศีลธรรมท่ี
ควรกระทํา ซ่ึงเปนการยืนยันวา พระนาคารชุนทานไมไดกลาวถึงแตเ ร่ืองศูนยวาทเพียงอยางเดยี วเทาน้ัน หลัก
ศีลธรรมอนื่ ๆ กส็ าํ คญั เชนกัน

๒).รตั นาวลี เปน หนังสือสอนธรรมท่ีทา นสง ไปถึงเพอ่ื นของทา น คือพระเจายัชศรี เคาตมบี ตุ ร เชนกัน

นอกจากคัมภีรที่ทานพระนาคารชุนแตง เพื่ออธิบายปรัชญาธรรมของทานแลว ก็มีลูกศิษยของทาน เชน
พระอารยะเทพ ซึง่ ไดแตง คมั ภีรอ ธิบายหลกั มาธยมกิ วาทเหมอื นกนั เชน คัมภรี ศตศาสตรก าริกา

หลกั ปรัชญาศนู ยวาท หรอื หลักสญุ ญตา

การจะอธิบายใหเ ขา ใจถึงหลกั ปรัชญาศูนยวาท หรอื หลกั สุญญตาน้ัน เปนเรื่องทไ่ี มงา ย หรอื กค็ อื เปน เร่ือง
ยากเอามากๆ เพราะเปนปรชั ญาทลี่ กึ ซงึ้ และยากจะทาํ ความเขา ใจไดง า ยๆดว ยตัวอกั ษร อน่งึ หลักศูนยวาทนั้น
เปนหลักธรรมท่ีเปนดาบสองคม ดังคํากลาวที่วา “ผูใดพูดคําวาสุญญตา โดยไมมสี ัมมาทิฏฐิเปนเครือ่ งรองรับ ผู
นัน้ ยอ มเปนอจุ เฉททิฏฐิโดยถายเดียว”

40

ขอนี้หมายความวา หลักปรัชญาสุญญวาท เปนหลักเพ่ือทําความเขาใจเร่ืองการไมไปสูส่ิงสุดโตงสองดาน
ท้งั ความมแี ละความไมม ี แตเพราะคาํ วา “สญุ ญตา” หมายถงึ ความเปนสูญ คอื ความไมมีอะไร จึงเสีย่ งมากที่จะ
เขา ใจไปวา “หมายถงึ การไมม อี ะไรๆเลย”

ถาผูศึกษาเขาใจคําวา สุญญตา โดยความเปนสุญญตาจริงๆ ก็จะประหัตประหารกิเลส แตถาพูดคําวา
สญุ ญตา โดยไมร ูจกั วา สุญญตาคืออะไร ผนู นั้ ก็เปน อุจเฉททฏิ ฐิ มีท่ีไปทเี่ ดยี วคอื โลกันตนรก

ดังน้ัน คําวา สุญญตา ตองทําความเขาใจกอนวา ไมไดหมายถึงปรัชญาแหงความศูนยเปลาแตอยางใด
เพราะถา เปน เชน นัน้ ศนู ยวาท หรอื มาธยมกิ วาทะ ก็จะกลายเปน อุจเฉทวาท อนั เปน มจิ ฉาทิฏฐชิ นดิ รา ยแรง

การจะทําความเขาใจเร่ืองศูนยวาทนั้น จึงตองทําความเขาใจไปทีละข้ันๆ และตองรูจักหลักการอธิบาย
สุญญวาท โดยวิธีการท่ีพระนาคารชุนและสํานักปรัชญาสุญญวาท (ซึ่งตอไปจะขอเรียกวา มาธยมิก) ไดเสนอ
เอาไว ซึ่งจะไดก ลา วตอไป

๑) ความหมายของคาํ วา สญุ ญตา
คาํ วา สุญญตา ไมไดห มายถงึ ความไมม ีอะไรเลย คําๆนี้ หมายถงึ การปฏิเสธคําบัญญตั ิ หรือความยึดถือใน
ส่ิงตา งๆวา เปนสิ่งนั้น เปน สงิ่ น้ี เชน

เชือกยาว / เชอื กส้นั
ใหญ / เล็ก
ดี / ชั่ว
มี / ไมม ี

อวชิ ชา / วชิ ชา ฯลฯ
การยึดถือในบัญญัติเหลานี้ หลักปรัชญามาธยมิก ถือวาเปนความสุดโตง เพราะเม่ือใดที่บอกวา “เปน
น่ัน” หรือ “เปนนี”่ ก็จะมีความรสู กึ กบั ส่งิ น้ันในแบบหน่ึง ซง่ึ ความรสู กึ นั้น คอื “ความยึดตดิ ”
ดังน้ัน คําวา สุญญตา คือความวางเปลาจากการบอกวา มีส่ิงน้ันอยู หรือ มีสิ่งน้ีอยู หากจะอธิบายให
เห็นชัด ยกตัวอยางเชน เราบอกวา “นรกสวรรคน้ันมี” สุญญตาก็จะบอกวา “นรกสวรรคไมมี” แตคําวา “ไม
ม”ี ในท่ีนี้ ไมไดห มายถึงการเปนอุจเฉททิฏฐิ แตห มายถึง คําบัญญตั ิอยางน้ันนะ “ไมมี” มันมแี ตสภาพท่ีเปน ไป
ตามเหตุปจจัยของกันและกันเทานั้น เชน คนทําชั่ว-ก็ไปตกนรก คนทําดี-ก็ไปสวรรค ท้ังนรกและสวรรค ลวน
แตไ มมีทั้งนน้ั มันมีแตความเปนเหตเุ ปน ปจ จัยซ่ึงกนั และกนั
อธิบายใหเห็นชัดข้นึ ไปอกี ก็คือ นรก-สวรรค เปนสภาพธรรมที่เปนไปตามเหตปุ จจัย การไปนรกสวรรค ก็
เปนไปตามเหตปุ จจัย เราจะบอกวา “มี ก็ไมถ กู ” แตจะบอกวา “ไมม ี ก็ไมไ ด” เชน กนั
สุญญตา จึงเปน คํา ปฏเิ สธ ในการบอกวา สิ่งนนั้ เปน อยางนั้น สิ่งน้ีเปนอยางน้ี เพราะทุกสงิ่ เปน ไปตามเหตุ
ปจจัย เม่ือสิ่งใดอาศัยเหตุปจจัย สิ่งน้ันก็ไมไดมีอยู-เปนอยูโดยตัวมันเอง และเมื่อส่ิงใดตองอาศัยเหตุปจจัย สิ่ง
นั้นกบ็ อกไมไ ดว า มนั เปน หรือมันไมเ ปนอะไร เพราะเหตนุ ้นั มันจงึ เปนสุญญตา
หากจะเปรียบเทียบไปแลว เม่ือกับเราบอกวา “มีเชือกยาว” และบอกวา “มีเชือกสั้น” แตแทจริง เชือก
ยาวเชือกส้ันน้ัน ไมมีอยูเลย เพราะเราจะพูดวา “ยาว” ก็ตองอาศัย “สั้น” เทียบ จะพูดวา “ส้ัน” ก็ตองอาศัย

41

“ยาว” เทยี บ หากนําเอาเชือกขนาดประมาณ ๓ เซน มาลองดู อาจจะมีผูบ อกวา “เชือกเสนน้สี ้นั ” แตถามผี ูนาํ
เอาเชือกขนาด ๑ เซน มาวางเทียบ เชือกยาว ๓ เซนที่มีผูบอกวา “สั้น” ก็จะกลายเปนเชือก “ยาว” ขึ้นมา
ทันที การบอกวา “ยาว” และ “สัน้ ” จึงเปนเพียงการเทยี บกันเทานน้ั

ดังนั้น หลักสุญญตา จึงถูกเรียกโดยพระนาคารชุนวา “มาธยมิก” คือ เปนทางสายกลาง เพราะไมอยูใน
ขายของอะไรเลย จงึ เปน ทางสายกลาง ไมใ ชท้งั สง่ิ น้ันและสิง่ น้ี

๒) ความเขา ใจผิดเก่ยี วกบั คําวาสุญญตา

มีผูเขาใจผิดวา “สุญญตา” ที่ทานนาคารชุนนําเสนอข้ึนมาน้ัน เปนการกลาวถึงความไมมีอะไรเลย อยาง
อุจเฉททฏิ ฐิ คือทกุ อยา งขาดสญู ไปหมด ซ่ึงการเขา ใจอยา งน้ี ถอื วาเขาใจผดิ เพราะคําวา “ไมมอี ะไรเลย” กเ็ ปน
ทางสุดโตงทางหน่ึงเหมือนกัน สุญญตาเปนการปฏิเสธแมแตจะบอกวา “มี” หรือ “ไมมี” อะไร เพราะส่ิงน้ันก็
เปน ความ “ม”ี อยางหน่งึ เหมือนกัน (มใี นความมีอะไร มีในความไมม ีอะไร)

ความเขาใจผิดอีกแบบหนึ่งเก่ียวกับคําวา “สุญญตา” คือมีผูเขาใจวา สุญญตาเปนสภาพสูงสุด หรือ
สภาพสัมบูรณ หรือ ความดีงามสูงสุด อยางใดอยางหนึ่ง เชนเขาใจกันวา มีการเขาถึงอะไรสักอยา งหนึง่ ที่ชอ่ื วา
“สุญญตา” ซึ่งเปนความจริงสูงสุดบางอยาง ความเขาใจอยางน้ีก็ผิดเชนกัน เพราะมาธยมิกถือวา “สุญญตา”
ไมใชการเขาถึงอะไรทั้งน้ัน แตเปนการปฏิเสธความยึดถอื ในบัญญตั ทิ ั้งปวง หรือในการบอกวา สิ่งน้ันเปนสิง่ นน้ั
สิง่ น้เี ปนสิ่งนี้

เนื่องจากการทําความเขาใจในความหมายของคําวา “สุญญตา” นั้น ยังคลุมเครืออยูมาก เพราะสุญญตา
ไมอ าจเปนไดแมแ ตวา “ม”ี หรอื “ไมม ีอะไร” แตเปน สิ่งทอี่ ยูตรงกลาง ระหวา งสองส่ิง หรอื ก็คือ ไมเขาไปเกาะ
เกยี่ วกับทฏิ ฐทิ ้งั สองประการ

อยางไรกต็ าม เราอาจจะสรุปความหมายของคําวา “สญุ ญตา” ทีแ่ ปลวา “ความวาง” ไดว า มีความหมาย
เดียวกับคําวา “อนัตตา” ในพระพุทธศาสนาเถรวาท เพราะอยางนอยที่สุด สุญญตาก็ไมไดหมายถึงความมี
ตวั ตน หรือความปราศจากตัวตนอยางแนนอน ดังน้ัน เราอาจใชคาํ และความหมายของคําวา “อนัตตา” เพื่อใช
อธบิ ายสญุ ญตาใหชัดเจนขึ้นกไ็ ด เพราะเหตทุ ่ีสญุ ญตาเปนคาํ ปฏเิ สธความมอี ยูของตวั ตนทง้ั ปวงน่นั เอง

ดงั ทที่ า นนาคารชุน กลา วถึงสุญญตา ในลัทธปิ รัชญาของทา นวา

“สรวมฺ อนาตมํ” – ส่ิงทั้งปวงไมเปนอตั ตา

“สรวมฺ สุญญํ” – เพราะเหตนุ ้นั ส่ิงทง้ั ปวงจงึ วา งเปลา

๓) การใชหลกั ปฏจิ จสมปุ บาท เพ่อื ใหห ย่งั เหน็ สญุ ญตาหรอื ทางสายกลาง

สําหรบั พทุ ธปรัชญามาธมกิ แลว “ปฏจิ จสมปุ บาท” เปนหลกั คาํ สอนท่ใี ชอ ธิบายความเปน “สุญญตา” ได
ดีที่สุด เพราะปฏจิ จสมุปบาทท่พี ระพุทธเจา ทรงแสดงนั้น ทรงแสดงไวท ง้ั สายเกดิ และสายดับ

มาธยมิกใชหลักปฏิจจสมุปบาท เพ่ือทําความเขาใจในสภาวะทุกสิ่งท่ีปรากฏแกเราวา “ไมมีแกนสารใน
ตัวเอง” บางครั้งใชคําวา “ปรากฏการณ” หรือบางคร้ังก็ใชคําวา “มายา” แทน สรรพส่ิงลวนเกิดจากเงื่อนไข
ตางๆ ประกอบกันข้ึนมา เชนเดียวกับหลักการของปฏิจจสมุปบาท ถึงแมส่ิงน้ันๆจะมีอยูก็มีอยูแบบอิงอาศยั กนั

42

และกนั เกิดขน้ึ (สมั พทั ธ) ดังน้นั จงึ ไมสามารถยดึ ถอื อะไรไดเ ลย เพราะวา งเปลาจากตัวตนและวา งเปลาจากการ
ยดึ ถือใดๆ

ตามทัศนะของนิกายมาธยมิกะ สิ่งทั้งหลายเกิดข้ึนและเปนไปตามกระบวนการของเหตุและปจจัย เหตุ
และผลลัพธจะตองเกิดข้ึนรวม และเปนไปควบคูกันไปอยางไมขาดสาย ไมมีส่ิงใดพิเศษแยกตางหากจากสิ่งอ่ืน
เม่ือบุคคลเขาใจกระบวนการปฏจิ จสมุปบาท ก็เทากับเขาใจกระบวนการเกิดและการดับของความทุกข เพราะ
การเขาใจหลักปฏิจจสมุปบาท ก็คือการหย่ังรูอริยสัจ 4 โดยตรง ดังคํากลาวท่ีวา “บุคคลใดหย่ังเห็นการอิง
อาศัยกันและกันเกิดขึ้น เทากับวาบุคคลน้ันหยั่งเห็นความทุกข การเกิดขึ้นของความทุกข การดับไปของความ
ทุกข และหนทางทีจ่ ะนําไปสูค วามทกุ ข”

ดังนั้น ทางสายกลาง (มาธยมกิ ะ) กค็ ือ การหยั่งรูปฏิจจสมุปบาท กลา วคอื การองิ อาศยั กนั และกันเกดิ ข้ึน
และเปนไปของสรรพส่ิง เพราะสรรพส่ิงปราศจากการมีอยูดวยตัวเอง (สวภาวะ) ซึ่งเรียกวา “วางจากสิ่งที่เปน
แกนแท” นั่นคือทางสายกลาง คือความวางจากแกนแท หรือการยึดถือเอาแกนสารไมได ซึ่งก็คือกระบวนการ
ของปฏิจจสมุปบาท ดังนั้น ทางสายกลาง ความวาง (สุญญตา) และกระบวนการอิงอาศัยกันและกันเกิดขึ้น
(ปฏิจจสมปุ บาท) จงึ เปน สิ่งท่ีแสดงใหเห็นถึงอริยสจั 4 เชนเดียวกัน จงึ มีฐานะเปน ความจริงอนั เดยี วกัน

กลา วโดยสรปุ นิกายมาธยมกิ ะยอมรับหลกั การเรอ่ื งปฏจิ จสมุปบาท เชน เดยี วกนั กับพุทธศาสนานิกายเถร
วาท โดยใชในการอธิบายลักษณะทไี่ มม แี กน แทท่ีแทจริง (สวภาวะ) ของสรรพส่งิ เพราะทกุ สิง่ ลวนตองอิงอาศัย
กันและกันเกิดขึ้นเปนไปทั้งส้ิน จึงวางเปลาจากความมีอยูในตนเองอยางแทจริงท่ีเรียกวา “สุญญตา” ดังน้ัน
หลักการเร่ืองปฏิจจสมุปบาทและสุญญตา จึงเปนหลักการท่ีอธิบายถึงความปราศจากลักษณะท่ีไรแกนสารท่ี
แทจ รงิ ของสรรพสงิ่ เชน เดียวกัน ปฏิจจสมุปบาทและสุญญตาจึงอาจเรยี กไดวา “ทางสายกลางของมาธยมกิ ะ”

ดังนั้น คําวา “มาธยมิก” ท่ีแปลวา “ทางสายกลาง” นั้น จึงเปนคนละความหมายท่ีเขาใจกันใน
พระพุทธศาสนาเถรวาท หรือท่ีพระพุทธเจาทรงแสดงไวในธัมมจักกัปปวตนสูตร เพราะทางสายกลางในพุทธ
ศาสนาเถรวาทเปน หลักปฏิบตั ิ แตค าํ วา “มาธยมิก” ทแี่ ปลวาทางสายกลาง เพราะไมต กอยใู นขายของการบอก
วา ความมี และ ความไมมี หรอื การบอกวาอะไรเปนอะไร

๔) การใชว ิภาษวธิ เี พ่ือหยง่ั เหน็ ความจรงิ

เนื่องดวยปรัชญามาธยมิก เปนปรัชญาท่ีกลาวถึงทางสายกลาง คือการไมไปอยูในระหวางการบอกวา
“อะไรเปนอะไร” หรือ “อะไรไมเปนอะไร” ดังนั้น การท่ีจะช้ีใหเห็นถึงความเขาใจผิดในทฤษฎี หรือความคิด
ความเชื่อใดก็ตาม จึงตองใชการหาความจริงโดยการโตตอบ ใหผูท่ีเชื่อในความคิดใดความคิดหน่ึง หรือเช่ือใน
ความคิดของตนเอง จะไดยืนยันใหแนชัดวา สิ่งที่ตนเองเชื่อเปนจริงหรือไม หรือสิ่งที่ตนเองเช่ือน้ัน ม่ันใจขนาด
ไหน วิธีการสนทนาโตตอบน้ี ไดกลายมาเปนวิธีการหลักของพระพุทธศาสนาฝายมหายาน โดยเฉพาะมาธยมกิ
และเปนวิธีการที่แพรหลายท่ัวไปในพระพุทธศาสนามหายานสายตางๆ เพ่ือใชในการเผยแผหลักปรัชญาของ
นิกายตนเองอยางหน่ึง รวมถึงเพื่อท่ีจะแกไขขอเขาใจผิดของบุคคลในลัทธิอ่ืนๆอีกอยางหน่ึง หลักวิธีการ
ดงั กลาวน้ี เรยี กวา วิภาษวธิ ี (Dialectic) หรอื ตรรกวภิ าษ

43

วิภาษวิธีเปนวิธีการที่พระนาคารชุนไดนํามาใช โดยใชกับบุคคลสองจําพวก คือ พวกท่ียึดถือคัมภีรหรือมี
ศรัทธาตอส่ิงใดส่ิงหนึ่ง โดยไมตองอาศัยการพิสูจน หรือพวกท่ียืนยันทัศนะบางอยางอยางแนนอนเกี่ยวกับสัจ
ภาวะ หรือเช่อื ในภาวะของสงิ่ ใดสง่ิ หน่งึ วา เปน อยา งนน้ั อยางน้ีอยางแนน อน

โดยปกติ การโตเถียงหรือการกลาวถึงวาทะธรรมประการใดประการหนง่ึ จะมีลักษณะอยู ๔ ดา น หรอื ๔
มมุ เรียกวา จตุกโกฏิ หรือ จตุกโกณะ (Tetralemma) ซึง่ จะมีโครงสรา ง คือ

วาทะท่ียืนยนั
วาทะที่ปฏิเสธ
วาทะท้งั ยนื ยนั และปฏเิ สธ
วาทะทั้งไมยืนยันและไมปฏิเสธ
ยกตัวอยา ง เชน วาทะวา “นิพพานเปน อตั ตาหรอื ไม? ” จตกุ โกฏกิ จ็ ะส่อื ออกมาวา
นพิ พานเปนอัตตา
นพิ พานไมเ ปนอตั ตา (เปนอนัตตา)
นิพพานเปน ทงั้ อตั ตาและอนตั ตา
นพิ พานไมเ ปน ทั้งอตั ตาและอนตั ตา
ถาหากวาทะทั้งส่ีแบบนี้เกิดขึ้น วิภาษวิธีก็จะใชวิธีการใหผูเห็นเชนน้ัน ไดยืนยันคําตอบ หรือความเห็น
ของตนเองใหแนชัด และจะถามกันจนกระท่ังผูตอบ จะยืนยันหรือไมยืนยัน ในสิ่งน้ันหรือไม ซ่ึงสุดทายก็จะทํา
ใหเห็นวา แทจริงผูตอบหรือผูยืนยันความเห็นของตนนั้น ไมไดม ีความม่ันใจในสิ่งที่ตนเองเชื่อ หรือบอกไมไดว า
ส่งิ ทต่ี นเช่ือน้ันเปน ความจริง
การใชว ภิ าษวธิ ขี องทา นนาคารชุน ไมใ ชว ธิ กี ารเพอ่ื เอาชนะหรอื เพ่อื จะบอกวา ความเห็นของฝา ยมาธยมิก
ถูกตองกวาฝายอ่ืน หรือจะบอกวาทุกอยางเปนสุญญตา ซึ่งเปนสภาวะแบบหนึ่งแตอยางใด วิภาษวิธีเปนแต
เพียงการช้ีใหเห็นถึงความยึดมั่นของผูยึดถือในวาทะหรือความเห็นของตนเองวา ไมมีแกนสารสาระแตอยางใด
หรอื ก็คอื เม่ือยังยึดม่นั ในสิ่งท่ีตนเองคดิ เหน็ หรือเชอื่ วาสง่ิ นั้นสิ่งน้ีเปน จรงิ กไ็ มม ีทางจะเขาถงึ ปรมัตถ หรอื การ
หลดุ จากความยึดมน่ั ถือมนั่ ใดๆได
ยกตัวอยางเชน การท่ีชาวพุทธเถรวาทบอกวา “นิพพานเปนอนัตตา” กับชาวพุทธอีกสํานักหน่ึงบอกวา
“นิพพานเปนอัตตา” เมื่อผูยึดถือวาทะเหลาน้ัน ตองถูกวิภาษวิธีมาจับ หรือมาโตตอบ หรือใหผูที่ยึดถือ
ความเห็นเชนน้ัน ไดยืนยันความเห็นของตนเอง โดยถูกถามไปเรื่อยๆ ผูยึดถือความเห็นเชนน้ัน ก็จะรูสึกเองวา
ความเช่ือของตนเองนั้นไมจ รงิ หรือไมส มเหตสุ มผลแตอ ยา งใด เมอ่ื ถึงจุดนั้นแหละ จึงเรียกวา “สุญญตา”
สุมาลี มหณรงคชยั ไดเ ขียนไวใ น พทุ ธศาสนามหายาน วา
การใชว ภิ าษวธิ ีโตแ ยงแนวคิดตางๆ ใหเ ห็นวาแนวคิดเหลานัน้ เอียงไปในขั้วใดข้ัวหน่ึง จากนั้นกป็ ระกาศวา
แนวคิดเหลา นี้เปนสญุ ญะ (คือวาง) สุญญตาไมใ ชเนื้อหาทางความคิดของมาธยมิกะ แตส ุญญตาเปนวิธกี ารท่ีถูก
นํามาใช เพ่ือชวยใหคนคลายความยึดมั่นถือม่ัน ดังนั้น ตอคําถามท่ีวา “เราจะตระหนักเห็นสุญญตา (ทางสาย
กลาง) ไดอยางไร” ก็คงจะตอบไดวา สุญญตาเปนการเปดเผยใหเหน็ “สิ่งท่ีไมมีอยู” มากกวา “ส่ิงท่ีมีอยู” การ

44

เผยใหเห็นสิ่งที่ไมมีอยูน้ี (ในรูปแบบของการปฏิเสธ) เปน “วิธีการ” ท่ีจะนําไปสูอิสรภาพ มากกวาเปน
“ความหมาย” ของอสิ รภาพ สว นสันตินาช้ีวา “สญุ ญตา” ไมใชอ ะไรบางอยางท่ีมเี น้อื หาในตัวเอง สญุ ญตาไมใช
ทัศนะ ไมใชจุดยืนทางทฤษฎีอะไร แตสุญญตาเปนทัศนคติวิพากษในเชิงปรัชญา (Philosophically Critical
Attitude)

อยางไรกต็ าม ปญหาอยางหน่ึงทีน่ ักปรชั ญาสายมาธยมิกมกั ประสบ กค็ ือการถกู โจมตจี ากพุทธนิกายอื่นๆ
วา มาธยมกิ ดีแตใ ชการโตเถียงเพ่ือวิพากษว ิจารณค วามเห็นอ่ืนวา ใชไ มได และถือวา ความเห็นของตนเองดีกวา
คนอ่ืน ซึ่งก็เทากับวามาธยมิกไดเสนอความเหน็ อกี อนั หน่ึงออกมาเชน เดียวกัน และความเห็นนัน้ ของมาธยมกิ ก็
ตองถือวาใชไมไดไ ปดวย เพราะเปนทัศนะอันหน่ึงท่ีมาธยมิกเองก็ปฏิเสธในทุกๆทัศนะอยูแลว หรือถูกตําหนิวา
มาธยมิกเห็นอะไรๆเปนสุญญตาไปเสียหมด ถาเปนเชนนั้น คําสอนของพระพุทธเจาก็เช่ือถือไมได คําสอนใน
พระพุทธศาสนาก็ไมจริงไปหมด เพราะอะไรๆก็เปนสุญญตา ดังที่นักพุทธปรัชญาสายอื่นๆวิพากษวิจารณพุทธ
ปรัชญามาธยมกิ อยา งรุนแรง อยางพทุ ธปรัชญาสายโยคาจาระ เปน ตน

สําหรับเรื่องนี้ ชาวมาธยมิกจะตอบวา แทจริงแลวมาธยมิกไมไดปฏิเสธทุกสิ่งทุกอยาง และถือวาทุกส่ิง
เปน สุญญตาไปเสียหมดแตอ ยา งใด เพียงแตมาธยมกิ ไมเหน็ วาคําสอนของพระพุทธเจา จะมีฐานะเปน “ตัวแกน
สารสาระ” หรือตวั แกนแทแ ตอ ยา งใด แตเปน “วิถี” หรือ “อุบาย”

เหมือนกับการท่ีเรารูวา “ตะเกียง” ใชทําใหเกิดแสงไฟ “แพ” ใชขามฟาก แตถาเราไมจุดไฟที่ตะเกียง
หรือนั่งแพขา มทะเลไป ของเหลานั้นกไ็ มเ กิดประโยชน เชนเดียวกับคาํ สอนของพระพุทธเจา ถาเราเอาแตเ ชดิ ชู
กันวา พระธรรมเปนของดีเลิศ นิพพานเปนเชนน้ันเชนน้ี แตไมเคยปฏิบัติ ก็ไมไดรับประโยชนจากธรรมะ
เหลา นน้ั แตอยา งใด

สําหรับเรื่องของวิภาษวิธีกับหลักสุญญตาน้ัน ถาผูศึกษาเขาใจหลักวิภาษวิธีอยางถองแทแลว ก็จะรูวา
แทจริงมาธยมิก เพียงแตปฏิเสธในความยึดถือของส่ิงทั้งปวง ดวยความยึดมั่นถือม่ันเองโดยไมประจักษถองแท
มาธยมิกเองก็มีหลักการเร่ืองของความจริงสองแบบ คือ แบบสมมติกับแบบปรมัตถ อยางที่ชาวพุทธเถรวาท
เขา ใจเชนเดียวกัน

สําหรับเรือ่ งการโตเ ถยี งในสภาวะตางๆนน้ั พระนาคารชุนไดช้ีใหเหน็ วา แทจริงแลวการที่บคุ คลท้ังหลายมี
วาทะเห็นเปนอยางน้ันอยางน้ี ก็มาจากความยึดถือสวนตัวท้ังนั้น โดยอาจไมมใี ครรูสภาวะท่ีแทจริงเลย (เพราะ
สภาวะนน้ั ไมอาจรูไดดว ยศพั ทบ ญั ญตั ิ)

ในมลู มัธยมกการกิ า (หรอื มูลมาธยมิกการกิ า) บทที่ ๑๘ โศลกท่ี ๗ – ๙ ทานนาคารชุนไดก ลาวไวว า
ส่ิงทีภ่ าษาระบุถกู ตัดท้ิงไป

ดินแดนของความคดิ กถ็ กู ตัดทิง้ ไป
ไมม กี ารเกิด ไมม กี ารดบั

ความเปน จรงิ กเ็ หมอื นกับนพิ พาน

ทกุ สง่ิ เปนจรงิ และกไ็ มเปนจรงิ
ทงั้ จรงิ และไมจริง
45

มไิ ดเ ปน จรงิ และมิไดไ มเ ปน จรงิ

น่คี อื คาํ สอนของพระพุทธเจา

มิไดอิงอาศยั ส่ิงอื่นสงบ

และมไิ ดป รุงแตงดว ยการคิดปรงุ แตง ใดๆ

มไิ ดมกี ารคดิ แยกแยะ มิไดม ีการแบงแยก

นค่ี อื ลักษณะของส่งิ ตามท่ีเปน จริง

จากโศลกดังกลาว จะทําใหเราเห็นไดวา “สุญญตา” เปนการกลาวถึง “ความวาง” จากการยึดมั่นถือม่ัน
ในศัพทบัญญัติ หรือในการยึดถือส่ิงใดๆทั้งส้ิน เพราะไมวาอะไร ก็ไมอาจบอกไดเลยวา ส่ิงน้ันคือสิ่งนั้น ส่ิงน้ีคือ
ส่ิงนี้ มันมเี พยี งแตการเกยี่ วเนอ่ื งของเหตุปจ จัย ทีท่ ําใหสิง่ ทัง้ หลายมกี ารบญั ญัตศิ ัพทเรียกเทาน้ัน โดยแทจ ริง ไม
มสี ภาวะใดเปน อยจู รงิ เลย

ดังนั้น การเขาถึงความหมายของสุญญตา ไมใชการเขาใจวาความวางคืออะไร แตใหเขาใจวา ทุกส่ิงทุก
อยางทั้งท่ีเปน “สวภาวะ” (ภาวะความมีอยู) และ “อภาวะ” (ความไมมีอยู) นั้น ลวนแตไมมีอะไรจริงแทสัก
อยางเดียว เพราะมันเกิดข้ึน ตั้งอยู ดับไป ตามเหตุปจจัยเทาน้ัน นี่คือความหมายของสุญญตา ปรัชญาวาดวย
“ความไมย ดึ ม่นั ถอื มน่ั ในบญั ญตั ิแหงสภาพธรรมทง้ั ปวง เพราะทกุ ส่ิงเกดิ ข้ึนตงั้ อยูดบั ไปดว ยเหตุปจจัย”

เมื่อกลาวถึงเรื่องความวางแหงศูนยตา การแสดงถึงขันธ ๕ เปนธรรมที่ไมมีสภาวะ เปนของวางเปลา
ตามที่พระศาสดาทรงตรัสสอนของทานนาคารชุน ถูกฝายโตแยงวาอยางนี้ก็เปนอุทเฉททิฏฐิ พระพุทธองคจะ
สอนใหบุคคลเจริญมรรคผลไปเพ่ือสิ่งใดเลา ในเมื่อทุกสิ่งทุกอยางวางเปลาเชนนี้ วาทะของทานเปนนัสติกะ
ทําลายกุศลธรรมทงั้ ปวง ทา นคุรุนาคารชนุ แสดงกลับไปวา

“วาทะของเรา แบงเปน 2 นัย คือโดยโลกียะนัย เรากลาววา ธรรมทั้งปวงมีอยูอยางมายา เชนเดียวกับ
ความฝน เราไมไดป ฏิเสธเหตกุ ารณในความวา “เปนของไมมีอย”ู เรากลาววาความฝน มอี ยแู ตม ีอยางไมจรงิ เรา
รับสมมติบัญญัติตามโลกโวหาร ไมไดปฏเิ สธกรรมกิรยิ า เหมือนกบั เราไมไ ดป ฏเิ สธความฝน วา ไมมี แตเม่ือวา โดย
ปรมัตถนัย ส่ิงทั้งปวงเปนศูนยตา เหมือนเรากลาววาความฝนไมใชความจริง เราจึงไมใชพวกนัสติกะ ตรงกัน
ขามกับพวกทานน่ันแหละ กลับจะเปนฝายปฏิเสธบุญกรรมกิริยาเสียเอง เพราะพวกทานยึดถือวา ส่ิงทั้งปวง
มสี วลกั ษณะ เมือ่ เปนเชนน้ี คนทาํ บาปกต็ องทําบาปวันยังค่ํา ไมมที างกลับตวั เปน คนดีได เพราะคนทาํ บาปมีสว
ลักษณะ การทําก็มสี วลักษณะ บาปกม็ สี วลักษณะ สิ่งใดเปน สวลักษณะ ส่ิงนัน้ เปลี่ยนแปลงไมได เปนอยูด ว ยตัว
มันเองไมอาศัยส่ิงอื่น เพราะฉะนั้น ฝายทานจึงปฏิเสธบุญกรรมกิริยา ฝายเราถือวาสวลักษณะไมมี เปนศูนยตา
คนชั่วจึงกลายเปนคนดีได ปุถุชนจึงเปนอรหันตได เด็กจึงเติบโตเปนผูใหญได ถาถืออยางมติทาน เด็กตองเปน
เด็กตลอดไป ถาเด็กเปล่ียนเปนผูใหญ ยอมแสดงวาเด็กคนน้ันไมมีสวลักษณะเปนศูนยตา เพราะฉะน้ัน เราจึง
กลา ววา เพราะมศี ูนยตานเี่ อง อบุ ตั ิกาลของโลก จงึ ไดเ ปน ไปตามระเบียบ”

ดวยการแสดงอรรถาธิบายในแงปรัชญาแหงปฏิจจสมุปบาทของทานคุรุนาคารชุน หากเรามีโอกาสได
โยนิโสมนสิการ จะเห็นถึงความลุมลึกแหงปญญาสามารถแสดงอรรถแหงธรรมไดอยางชัดแจง ในการพิจารณา
ในความวางแหงศูนยตาน้ัน การปฏิเสธการยึดถืออัตตาใดๆ มิใชความสูญเปลา หากแตเปนมัชฌิมปฏิปทา อัน

46

คือ สภาวะวางในหลักศูนยตา ปราศจากความยึดม่ันถือม่ัน เปนสักแตวาธรรม อันสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา
ไดแ สดงไว

ขอความตอไปนี้ จากคัมภีรวิสุทธิมรรค อาจชวยเสริมความที่กลาวมาขางตนนี้ได จึงขอยกคําแปลมา
แสดงไว ณ ทีน่ ี้

“วาโดยความจริงแท (สัจจะ) ในโลกนี้มีแตนามและรูป (นามธรรมและรูปธรรม) ก็แลในนามและรูปน้ัน
สัตวหรือคนก็หามีไม นามและรูปนี้วางเปลา ถูก (ปจจัย) ปรุงแตงขึ้น เหมือนดังเคร่ืองยนต เปนกองแหงทุกข
(ส่งิ ไมคงตวั ) เชนกับหญา และฟน”

“ทกุ ขน น่ั แหละมอี ยู แตผ ูทุกขหามีไม, การกระทํามอี ยู แตผ ทู ําหามีไม, นิพพานมอี ยู แตค นผูนิพพานไมม ี,
ทางก็มอี ยู แตผ เู ดนิ ทางไมม ี”

“ผูทํากรรมก็ไมมี ผูเสวยผลก็ไมมี มีแตธรรมท้ังหลายลวนๆ เปนไป (กระบวนธรรม), อยางน้ี น่ีเปน
ความเห็นที่ถูกตอง เมื่อกรรมและวิบาก (ผลของกรรม) พรอมทั้งเหตุ เปนไปอยูอยางน้ี ตนปลายก็ไมเปนท่ีรูได
เหมือนด่ังกอนหรือหลังแหงเมลด็ พืชกับตนไมเปนตน แมในอนาคตเม่ือสงั สาระยังมีอยู ก็ยังมองไมเห็นการท่ีจะ
ไมเปนไป (ของกรรมและวบิ าก)”

“พวกเดียรถยี  ไมรคู วามขอน้ี จึงไมเ ปน อสิ ระ (อสยวํ สี = ไมม ีอํานาจในตน หรือไมเ ปน ตัวของตนเอง ตอง
ข้ึนตอผูอื่นดวยการยึดถือผิด) ยึดเอาสัตตสัญญา (ความสําคัญหมายวาเปนสัตวบุคคล) แลว มีความเห็นไปวา
เท่ียงแทย่ังยืน (เปนสัสสตะ) บาง วาขาดสูญ (เปนอุจเฉทะ) บาง พากันถือทิฏฐิ ๖๒ อยาง ขัดแยงกันและกัน,
พวกเขาถกู มัดดว ยเคร่อื งพนั ธนาการคอื ทฏิ ฐิ ถูกกระแสตัณหาพดั พาไป, เมอ่ื ลองลอยไปตามกระแสตัณหา กพ็ น
จากทุกขไมได สวนภิกษุพุทธสาวก รูกระจางท่ีวามาอยางนี้ ยอมเขาใจปรุโปรง (แทงตลอด) ถึงปจจัยท่ีลึกซ้ึง
ละเอียดและวา ง”

“กรรมไมมีในวบิ าก วบิ ากไมม ีในกรรม ทั้งสองวางจากกันและกัน, แตป ราศจากกรรม ผลก็ไมมี เหมือนดัง
วา ไฟมิใชอยูในแสงแดด มิใชอยูในแวนแกว (อยางเลนสนูน) มิใชอยูในมูลโคแหง (ท่ีใชเปนเช้ือเพลิง) แตก็
มิใชอ ยูภายนอกจากวัตถุทงั้ สามน้ัน หากเกิดจากการประกอบพรอมเขาดว ยกัน ฉันใด, วบิ ากกห็ าไมไดทีภ่ ายใน
กรรม แตภายนอกกรรมก็หาไมได สวนกรรมเลาก็ไมมีในวิบากน้ัน กรรมวางจากผล ผลก็ไมมีในกรรม แตผลก็
อาศัยกรรมน่ันแหละเกิดข้ึนจากกรรมนั้น ฉันน้ัน แทจริงในกระบวนแหงสาระน้ี เทพก็ตาม พรหมก็ตาม
ผสู รางสงั สาระ หามีไม มีแตธ รรมทั้งหลายลว นๆเปน ไป ดวยอาศยั การประชุมพรอ มแหง เหตเุ ปน ปจจยั ”

“ธรรมชาติน้ี มีเหตุเกิดพร่ังพรอมแลวอยางนี้ เปนทุกข ไมเที่ยง คลอนแคลน เปนของชั่วคราวไมยั่งยืน,
ธรรมท้ังหลาย กเ็ กดิ จากธรรมทั้งหลาย โดยเปนเหตุกัน, ในกระบวนความเปน ไปนี้ จงึ ไมมที ัง้ ตัวตน (อัตตา) ไมม ี
ทั้งตวั อ่ืน”

“ธรรมทั้งหลายยังธรรมทั้งหลายใหเกดิ ข้นึ โดยความประกอบพรอ มแหงเหตุเปนปจจัย, พระพุทธเจาทรง
แสดงธรรมเพ่ือความดับแหงเหตุทั้งหลาย, เม่ือเหตุทั้งหลายระงับไป วงจร (วัฏฏะ ) ขาด ก็ไมหมุนตอไป, ชีวิต
ประเสรฐิ (พรหมจรรย) ยอมมเี พื่อการทาํ ความจบส้นิ แหงทุกขอ ยา งน,ี้ เมื่อหาตวั สตั วไมไ ด จึงไมมีท้ังขาดสญู ไม
มีทัง้ เทยี่ งแทย ัง่ ยนื ”

47

ทานนาคารชุนะ ปรัชญามหายาน นิกายศูนยตวาทิน

อาจารยนาคารชุนไดประกาศทฤษฎีศูนยตวาทิน ดวยอาศัยหลักปจจยการและอนัตตาของพระพุทธองค
เปนปทัฏฐาน ทานกลาววา สังขตธรรม อสังขตธรรม มีสภาพเทากันคือสูญ ไมมีอะไรที่เปนอยูมีดวยตัวของมัน
เองไดอยางปราศจากเหตุปจจัยปรุงแตง แมกระทั่งพระนิรวาณ เพราะฉะนั้นอยาวาแตสังขธรรมเปนมายาไร
แกนสารเลย พระนิรวาณก็เปนมายาดวย ส่ิงที่อาจารยนาคารชุนปฏิเสธคือ “ส่ิงที่มีอยูดวยตัวของมันเอง” ทุก
อยางไมวา จะเปน อยูโ ดยสมมตหิ รอื ปรมัตถ

ก็สิ่งที่มีอยูดวยตัวของมันเองนั้น กินความหมายรวมท้ังอาตมันหรืออัตตาดวย แตเรื่องอาตมันนั้น
พระพุทธศาสนาทุกนิกาย (ยกเวนนิกายวัชชีบุตรและพวกจิตสากล) ปฏิเสธอยางเด็ดขาดไมยอมใหเหลือเศษ
อะไรอยูแลว แตต ามทัศนะของอาจารยนาคารชนุ ทา นคณาจารยเหลาน้นั ถงึ แมปฏเิ สธความมีอยูดว ยตัวของมัน
เองเพยี งแตอาตมนั เทานั้น แทจริงยงั ไมเกดิ อุปาทานยึดสิ่งที่มอี ยูในตัวของมันเอง ในขันธ ธาตุ อายตนะ พระนิร
วาณวา มีอยูดวยตัวของตัวเองอีก เห็นวามีกิเลสตองละ และมีพระนิรวาณเปนท่ีบรรลุ ซ่ึงเปนความเขาใจผิด
นาคารชุนกลาววา สิ่งทเ่ี ราเขาใจวา มันเปน สงิ่ จดุ สดุ ทายทม่ี ีอยดู วยตัวของมนั เองนั้น แทจริงก็เกิดจากปจจัยอ่ืน
อกี มากหลายปรุงแตงขึ้น เมื่อส่ิงท้งั หลายไมม ีภาวะอนั ใดแนน อนของตวั เองเชน นี้ ส่งิ เหลา นัน้ ก็เปนประดุจมายา
ส่ิงใดเปนมายาสิง่ นน้ั ก็ไรค วามจรงิ จึงจัดวา สูญ

นาคารชุนอธิบายวา สิ่งท่ีมีอยูดวยตัวของมันเอง ยอมบงถึงความเปนอิสระ ไมขึ้นอยูกับส่ิงอื่น จะ
เปล่ียนแปลงมิได ซ่ึงถาหากเปนเชนน้ัน ก็เปนการขัดตอกฎปจจยาการของพระพุทธศาสนา เพราะตามกฎแหง
ปจจัย สิ่งท้ังปวงยอมอาศัยเหตุ ปจจัยจึงมีขึ้น ไมไดมีส่ิงหน่ึงส่ิงใดเปนอยูโดยโดดเดี่ยว เชนนี้ยอมจัดเปน*สัส
สตทฏิ ฐิไป อน่ึงถามคี วามเห็นวา ทงั้ ปวงขาดสญู ปฏเิ สธตอ บาปบุญคุณโทษเลา กเ็ ปน *อุจเฉททฏิ ฐิ

หลักธรรมฝายศูนยตวาทิน จึงไมเปนทั้งฝายสัสสตทิฏฐิ ก็เพราะแสดงถึงแกนความจริงวา สรวม ศูนยม
ดว ยความเปนที่ไรภาวะทโี่ ดดเด่ียวโดยตัวของมันเอง และไมเปน ทงั้ อจุ เฉททิฏฐิหรือนตั ถิกทิฏฐิ กเ็ พราะแสดงวา
สิง่ ท้ังปวงอาศัยเหตเุ ปน ปจ จัยดจุ มายา มอี ยูดว ยสมมติบญั ญัติ ดวยประการดงั นี้ อาจารยน าคารชนุ กลาววา การ
หลุดรอดจากบาปทั้งปวง ตองทําลายความตดิ อยใู นภาวะหรือสัสสต ความเปนอยู ซ่ึงจัดวาเปนสัสสตทิฏฐิ และ
ทําลายความติดในอภาวะหรืออสัสสต ความไมเปนอยู ซ่ึงเปนนัตถิกทิฏฐิเสียน่ันแหละ จึงบรรลุถึง
มชั ฌิมาปฏปิ ทา

เพือ่ สนับสนนุ ทฤษฎีน้ี อาจารยนาคารชุนยกพระพุทธภาษติ ทีต่ รัสแกพ ระกัจจายนะขน้ึ อา งวา “ดกู อนกจั
จายนะ ขอท่ีวาสิ่งทั้งปวงมีอยู เปนสวนสุดขางหนึ่ง ขอที่วาส่ิงทั้งปวงไมมีอยู ก็เปนสวนสุดอีกขางหนึ่ง ตถาคต
ยอมแสดงธรรมโดยทา มกลาง ไมเ กีย่ วของสว นสดุ ท้ังสองน้นั ”

เพราะฉะนั้น ศูนยตวาทินจึงเรียกอีกชื่อหนึ่งวา มาธยามิกะ ซึ่งตอไปจะเรียกชื่อนี้แทนชื่อเดิม ตออสังข
ธรรม ฝายมาธยามิกะมที ัศนะวา อสงั ขธรรมน้ันยอ มไมม ีความเกดิ ปรากฏขนึ้ อนั ใดความเกดิ ไมม ี อนั นั้นจะมอี ยู
อยางไร อุปมาดังดอกฟาและเขากระตาย หรือนางหินมีครรภ ซ่ึงเปนส่ิงที่ไมเคยมีในโลก และไมเคยมีปรากฏ
ดวยอันดอกฟา น้ันใครบางเคยเห็น กระตายเกดิ มีเขางอก หรือรูปปน สตรีเกดิ มีครรภข้ึนไดนั้น ลวนเปนมายา

48

อนึ่ง ถาพระนิรวาณมีอยูไซร พระนิรวาณจักชื่อวามีการเกิดขนึ้ สิ่งใดมีการเกิดข้ึนส่ิงนั้นยอมไมเที่ยง เปน
การขัดกัน และหากสิ่งใดมีอยูโดยลําพังตัวเอง จะปราศจากการิยรูปหรือคุณภาพมิได สิ่งใดมีการิยรูปหรือ
คุณภาพยอมบงใหเห็นวา สิ่งนั้นมีการปรุงแตงอยู ดังนั้นจึงสรุปวานิรวาณก็เปนประดุจมายา เพราะไมมีการ
เกดิ ขึ้นเหมอื นดอกฟา เขากระตา ย หรอื นางหนิ มคี รรภ

อนึ่ง ถาพิจารณาใหลึกซ้ึงความเกิดความดับท่ีแท ก็ไมเปนอื่นไปนอกจากความไมเกิด-ไมดับนั้นเอง พระ
นิรวาณมิใชจ กั เปน ภาวะใดภาวะหน่ึง นอกจากปรากฏการณท ง้ั หลาย

*สงั ขตธรรม (ธรรมะของขนั ธ 5 หรอื โลกยี ะธรรม หรือสงั ขารธรรม ซ่ึงไมเทีย่ ง เปน ทุกข เปน อนัตตา)

*อสงั ขตธรรม (ความส้ินราคะ ความสนิ้ โทสะ ความสิ้นโมหะ)

*ความหมายของอุจเฉททิฏฐิ ประกอบมาจากคําสองคําคือ อุจเฉทะ (ขาดสูญ, ขาดส้ิน, ตัวขาด) และทิฏฐิ
(ความเห็น, การเห็น, ลัทธิ, ทฤษฎี, ทัศนะ) อุจเฉททิฏฐิ หมายความวา ทัศนะท่ีเชื่อวา อัตตาและโลกขาดสูญ
ในความเห็นวา ขาดสูญ หมายความวา เห็นวาหลังจากตาย อัตตาและโลกจะพินาศสูญหมด กลาวคือ หลังจาก
ตายแลว อัตตาทกุ ประเภท ไมมีการเกิดอกี

*อีกนัยหนึ่ง อุจเฉททิฏฐิ หมายถึง การปฏิเสธความไมมีแหงผลของการกระทําทุกอยาง คือ ไมยอมรับวามีผล
ยอนกลับมาถึงตัวผูทํา ทุกอยางจบสิ้นเพียงแคเชิงตะกอน หลังจากตายแลว อัตตาและโลกไมเกิดอีก เปน
มิจฉาทฏิ ฐิ (ความเห็นผิด)

*สัสสตทิฏฐิ-ความเห็นวาเที่ยง คือความเห็นวา อัตตาและโลกเปนส่ิงเท่ียงแทย่ังยืน คงอยูตลอดไป เชน เห็นวา
คนและสัตวตายไปแลว รางกายเทานั้นทรุดโทรมไป สวนดวงชีพหรือเจตภตู หรือมนัสเปนธรรมชาติไมสูญ ยอม
ถอื ปฏสิ นธิในกาํ เนดิ อ่ืนสืบไป เปนมจิ ฉาทฏิ ฐอิ ยา งหนง่ึ ; ตรงขามกับ อุจเฉททฏิ ฐิ

*นัตถิกทิฏฐิ แปลวา ความเห็นวาไมมี หมายความวา ความเห็นที่ยอมรับแตความไมมี ปฏิเสธความมีอยูทุก
อยาง หรือความเห็นวาสิ่งท่ีทําแลวไมมีผลยอนกลับตอผูกระทําความดี เปนความเห็นที่ปฏิเสธผลของการ
กระทําเปนตน ดงั พุทธพจนท ่วี า

“สมณพราหมณพวกหน่ึง มีวาทะอยา งน้ี มีความเห็นอยางน้ีวา ทานทีใ่ หแลว ไมม ีผล การบวงสรวงไมมีผล
การบูชาไมมีผล ผลวิบากแหงกรรมที่สัตวทําดีทําชั่วไมมี โลกนี้ไมมี โลกหนาไมมี คุณของมารดาไมมี คุณของ
บิดาไมมี โอปปาติกสัตวไมมี สมณพราหมณท่ีปฏิบัติชอบ ทําโลกน้ีและโลกหนาใหแจงชดั ดวยปญญาอันย่ิงเอง
แลว ประกาศใหร ูท วั่ ไมมใี นโลก”

หลักปจจยาการท่ีแทก็คือความไมเกิดไมดับ และเปนท้ังมัชฌิมาปฏิปทาดวย ถาเราพิจารณาดวยสาย
สมทุ ัยคือ อวชิ ชาเปนปจ จัยใหเกดิ สงั ขารๆ เปน ปจ จัยใหเกดิ วญิ ญาณ ฯลฯ เชน นั้นโดยลําดบั โลกสมุทัยกเ็ กิดขนึ้
ถาพจิ ารณาสายดับคอื เพราะอวชิ ชาดับสังขารจงึ ดับ เพราะสงั ขารดบั วิญญาณจึงดับฯลฯ เชนนโี้ ดยลาํ ดับไซร ก็
เปนโลกนิโรธะ (คอื พระนริ วาณ) ฝา ยมัธยามกิ ะยกพระพทุ ธภาษิตขน้ึ อา งอีกวา

“เมื่อสิ่งอันนี้มีอยู สิ่งอันน้ันก็จักเกิดข้ึน เพราะเกิดข้ึนแหงส่ิงอันนี้ เม่ือส่ิงอันนั้นไมมีอยู ส่ิงอันน้ียอมไมมี
ส่งิ อนั น้จี ะดับได ก็เพราะดับแหง สง่ิ อนั น้นั ”

49

ในปจ จยการนัน่ เอง เมือ่ กลาวโดยสายเกดิ กเ็ ปนโลกสมุทยั เมอ่ื กลา วโดยสายดับกเ็ ปนโลกนโิ รธะ หรือพระ
นิรวาณ เพราะฉะน้นั ใชวา จะมีพระนิรวาณตา งหาก นอกเหนือปรากฏการแหงปจจยการน้ีไม เพราะเห็นแจงใน
โลกสมุทัย นัตถิกทฏิ ฐิจงึ ไมเกดิ ขน้ึ และเพราะแจงในโลกนโิ รธะ สสั สตทฏิ ฐิจึงไมอุบัติ

อรรถกถาของทานนิลเนตร ไดใหขออปุ มาโดยงายๆวา “เหมือนกับเมล็ดพืชเมลด็ แรกนั้น เกิดข้ึนในสมยั ใด
แมเราจะสบื สวนไปจนถึงเบื้องปฐมกลั ป เรากห็ าไมพ บวา เมล็ดพืชเมลด็ แรกเกิดข้ึนอยา งไร และมอี ะไรเปนปฐม
เหตุ เราไมอาจหาไปจนพบ ถามีปฐมเหตุอะไรเปนปฐมเหตุใหเกิดปฐมเหตุน้ันอีกเลา สืบสวนไปไมมีที่ส้ินสุด
ความเกิดแหงเมล็ดน้ี จึงไมป รากฏ (ทป่ี รากฏวาเมลด็ พืชนั้นเปน มายา)

เมอื่ เมล็ดความเกดิ ไมป รากฏ จะกลา ววาเมล็ดพืชน้นั ดับไมมีเลยหรอื ก็หามไิ ด เพราะเมลด็ พชื ที่เราเห็นอยู
น้ันมี (อยางมายา) สืบเนื่องกันมาเร่ือยจนถึงปจจุบัน และจากปจจุบันจะสืบเน่ืองไปจนถึงอนาคต ถากระน้ัน
เมล็ดพืชก็มีภาวะเที่ยงนะซิ เปลาเลย เพราะถามีภาวะเท่ียงแลว ไซร เมล็ดพืชจะงอกงามเปนตนก่ิงกานใบสาขา
ไมไ ด ถาไมเทีย่ งเมลด็ พืชน้ันชื่อวาขาดสูญดวยหรือไม ไมขาดสูญหรอก เพราะกิง่ กา นใบสาขาใบดอกของพืชน้ัน
ยอ มสบื สันตติเนือ่ งมาจากเมลด็

ดังน้ันไซร ควรกลาววาเปนหนึ่งก็ไมควร เพราะหากเปนหน่ึงแลว ก่ิงใบดอกผลจะมีไมได จะตองเปนตัว
เมล็ดพืชนั้นเอง ถามิใชหนึ่งก็สมควรวาตางแตกแยกจากเมล็ดพืชเด็ดขาดหรือ มิไดเลย หากตางแตกแยกจาก
เมล็ดพืชแลว กิ่งกานสาขาใบดอกก็ออกจากเม็ดพืช เหมือนงูเลื้อยออกจากโพรงอยางนั้นซิ เปลาอีกเหมือนกัน
เพราะเราตอยเมลด็ พืชนนั้ ออก เรากห็ าไมพบกิ่งกานสาขาใบดอกในเมลด็ น้นั ฉะนน้ั เราจึงลงบญั ญตั ิไดวา เมล็ด
พืชนน้ั เปนเพียงมายา”

สาํ หรับทฤษฎเี ร่ืองพุทธภาวะ มีอยูในสรรพสตั วน้นั อาจารยนาคารชุนไมร บั รองทฤษฎนี ้ี ถือวา ถาอยา งน้ัน
ก็จัดวา เปนพวกวาทะผลอยูในเหตุ ฝายมัธยามิกะยอมถือวา สัตวท้ังหลายมีความสามารถท่ีจะบรรลุความเปน
พุทธได เพราะสัตวทั้งปวงไมมีภาวะอันคงท่ีด้ังเดิม ทํากรรมใดยอมไดรับผลกรรมน้ัน เม่ือลงทุนสรางทศบารมี
จนสมบูรณ ก็จกั บรรลเุ ปนสัมพุทธะได ไมใชว ามีพทุ ธภาวะ ทบี่ รสิ ทุ ธทิ์ ี่เปนอมตะอยูกอ น เปน อนมตคั คะ แตถ กู
หุมอยา งฝา ยภูตตถาวาท ทัง้ นี้เนือ่ งดวยการถือวา มีพุทธภาวะทีแ่ นน อนอยูกอนแลวนนั้ ช่อื วา เปน การถอื “สง่ิ ที่
มีอยดู ว ยตัวของมันเอง” นนั่ เอง

อนึ่ง เมอ่ื ธรรมทั้งปวงเกิดจากเหตุปจ จัย จึงปราศจากแกนสารตัวตน เมือ่ ปราศจากตวั ตน อะไรเลาเปน ตัว
ทองเที่ยวในวัฏฏสังสาร อะไรเลาเปนตัวดับกิเลส บรรลุพระนิรวาณ เราจะเห็นวาวางเปลาท้ังสิ้น ไมมีสภาวะ
เกิดหรือดับไป เพราะฉะนั้นผูบรรลุนิรวาณไมมีแลว พระนิรวาณอันผูนั้นจะบรรลุจึงพลอยไมมีไปดวย ทาน
นาคารชุนอรรถาธิบายตอไปอีกวา พระพุทธเจาตรัสเทศนาหลักอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รวมลงไดที่ศูนยตาน้เี อง
และดังน้ันในปรัชญาปารมิตาสูตร จึงกลาววา “รูป ศูนยตา ศูนยตาตท รูป” รูปคือความสูญ ความสูญคือรูป
นั้นคือสังขตะ อสังขตะแทก็เปนเพียงสมมติบัญญัติ ความจริงยอมเปนสูญ บัณฑิตที่สอดสองดวยปญญาเทานั้น
จึงจักตรสั รถู ึง เพราะอสังขตะยอมเปนธรรมคกู บั สังขตะ ปราศจากสิ่งท่มี ีอยูดว ยตวั ของมนั เองเหมอื นกนั

เมอื่ แสดงปรัชญามาถึงตอนนี้ พวกอสั ตวิ าทินกแ็ ยง ขึ้นมาวา เมอื่ สังขตะอสงั ขตะ ลวนเปน สูญไปแลว การ
บําเพ็ญมรรคผลตางๆ มิไรสาระไปดวยหรือ ความเปนอยางนี้ มิเปนอุจเฉทวาทหรือ ทานนาคารชุนก็โตกลับไป

50

วา เพราะส่ิงท้ังปวงเปน ของสูญ ปราศจากส่ิงที่เปนอยูดว ยตวั ของมันเองนะซิ ปุถุชนจึงบําเพ็ญมรรคภาวนาเปน
อริยบุคคลได คนทําชั่วจึงลงนรกได คนทําดีจึงไปสวรรคได ถาหากมีส่ิงท่ีเปนอยูดวยตัวของมันเองแลว มันจะ
เกิดแปรเปล่ียนภาวะจากปุถุชนเปนอริยเจาไดอยางไรหนอ เพราะสิ่งที่เปนอยูดวยตัวของมันเอง ยอมหมายถึง
ส่ิงน้ันตองไมอิงอาศัยสิ่งอ่ืนเลยสําเร็จในตัวของมันเอง ดํารงอยูดวยตัวของมันเองเชนนี้ ยอมเปนการหักลางกฏ
อนจิ จัง ทกุ ขัง อนตั ตา ของพระพทุ ธองค และทฏิ ฐอิ ยางนม้ี ิเปน สัตตวาทหรือ ฝายมัธยามิกะอปุ มาอยางโลกๆวา
เหมือนกับอาศัยท่ีวาง เราปราถนาจะสรางอะไรๆ จึงจักสรางขึ้นได ณ เน้ือที่วางเปลาตรงนั้น ไมวาจะมากหรือ
นอย อุปไมยดังอาศัยศูนยตา เหตุปจจัยทั้งหลายจึงจักแสดงบัญญัติขึ้นมาได ฉันใดก็ฉันนั้น ธรรมทั้งหลายไม
อุบัติขึ้นเอง ไมอุบัติจากสิ่งอื่น ทั้งไมอุบัติขึ้นเองดวย ไมอุบัติจากส่ิงอื่นรวมอยูดวยกัน และไมใชปราศจากเหตุ
เพราะฉะน้ันจงึ รวู า ไมม ีการอุบัติขึน้ ลย

เสถียร โพธนิ นั ทะ ปรชั ญามหายาน

“สงั ขตธรรมท้งั ปวง มอี ุปมาดงั่ ความฝน ด่งั ภาพมายา ดั่งฟองนา้ํ ด่ังเงา ดงั่ นาํ้ คาง และดั่งสายฟาแลบ พงึ
เพง พจิ ารณาโดยอาการเชนนแี้ ล”

วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร ทานนาคารชุนะ

จากสว นหนงึ่ ในหนงั สอื พระนาคารชนุ ะกับคาํ สอนวาดว ยทางสายกลาง

เขียนโดย คุณสมุ าลี มหณรงคชัย อา นเพม่ิ เติมจากหนังสอื พระนาคารชนุ ะกับคาํ สอนวาดว ยทางสายกลาง

ภายใตกรอบของอภิธรรม ความเห็นวาส่ิงทั้งหลายเพียงเกิดดับตอเนื่องกนั ไปโดยไมขาดสาย เปนคําสอน
ท่ีเกิดขึ้นเพื่ออธิบายกฎไตรลักษณ มีการถกเถียงแลกเปลี่ยนความคิด เพ่ือสรางเหตุผลที่ดีที่สุดในการอธิบาย
ความมอี ยแู บบชว่ั ขณะจติ สาํ นักพุทธใหญๆท่ไี ดรับการยอมรับ มีคําอธบิ ายทต่ี างกนั ไปในเร่ืองนี้ และนน่ั นําไปสู
ความขัดแยง ในสงั คมสงฆ กอนหนา ที่ทา นนาคารชุนะจะถอื กําเนิด

มาธยมิกะคือกลุมของชาวพุทธท่ียอมรับคําสอน วาดวยเรื่องของความวาง ทางสายกลาง และการอิง
อาศัยกันและกันในการมีอยูของสรรพสิ่ง โดยบุคคลที่วางรากฐานคําสอนคือ ทานนาคารชุนะ ที่เปนที่รูจักกัน
อยางกวา งขวาง สํานกั พทุ ธมหายานทุกแหง ทัง้ ทีอ่ นิ เดยี จีน ญ่ีปุน และทเิ บต ตา งไดรับอทิ ธิพลคําสอนของทาน
สํานักพุทธในยุคหลังโดยมากจะพัฒนาหลักคําสอนเชิงปรัชญา โดยเช่ือมโยงกับหลักศูนยตา (สุญญตา) ของ
สํานักนี้ ทานนาคารชุนนะจึงไดรับการยกยอง ใหอยูในฐานเปนพระพุทธเจาองคที่สอง การศึกษาเรื่องของทาน
จงึ มคี วามสําคัญ หากตองการรจู ักพุทธศาสนาใหกวา งกวาทค่ี นุ เคย

เหตุที่ดลใจใหปฐมาจารยของสํานักคือ ทานนาคารชุนะ เขียนงานอธิบายคําสอนวาดวยหลักการสาย
กลาง เพราะเกิดจากท้ังปจจัยภายนอก อันไดแกแนวคิดของฮินดูโบราณ เชน เร่ืองสางขยะ เรื่อยไปถึงการ
อิทธิพลของพระสูตรชิ้นสําคัญ มหาปรัชญาปารมิตาสูตร ท่ีไดรับการอางวา คนพบโดยทานนาคารชุนะ ไปถึง
ปจจัยภายใน อันไดแกความขัดแยงในการตีความหลักธรรมของพระพุทธเจา ที่มีการใหความสําคัญกับตัว
พระพุทธเจาแทนที่พระธรรมและคําส่ังสอน ซ่ึงเบี่ยงเบนออกจากพระพุทธประสงค เหลานี้...จึงนําใหไปสูการ
แสวงหาทางสายกลางในศาสนาพุทธ

51

นาสังเกตวาปจจัยภายใน คือแรงผลักดันแทจริงที่มีผลทําใหเกิดสํานักมาธยมิกะ ปจจัยภายนอกน้ันเปน
เพียงแรงเสริม มาธยมิกะหรือเรียกอีกอยางวา ศูนยตาวาท หมายถึงคําสอนท่ีประกาศความวางในสิ่งท้ังหลาย
หรือแปลวาผูนับถือคําสอนเร่ืองทางสายกลาง เน้ือหาคําสอนในเร่ืองทางสายกลางจะเรียกวา “มัธยมกะ”
(ความเปนมาของสํานักน้ี สามารถสืบยอนไปในสมัยพระเจาอโศกมหาราช หลังพุทธปรินิพพานประมาณสอง
รอ ยกวา ป ซงึ่ มกี ารสังคายนาพทุ ธศาสนาครง้ั ทสี่ าม)

นักปราชญหลายคนเช่ือวา มัธยมกะเกิดข้ึนจากการท่ีพยายามจะอธิบายทาทีของพระพุทธองค เมื่อไม
ทรงตอบคําถามบางอยาง ซึ่งเรียกวา “ปญหาอัพยากฤติ” ทั้งนี้ไมใชทรงตอบไมได แตเปนเพราะไมวาจะตอบ
อยางไร ก็คงไมอาจพนไปจากการทําใหคนฟงเขาใจผิด ยิ่งถาผูฟงยอมรับสมมติฐานบางอยางลวงหนาอยูในใจ
แลว จะทําใหเขา ใจคําตอบไปตามจรติ ตน

ความเห็นท่ีเปนปญหาอัพยากฤติ* ในทางเถรวาทมีอยู 10 ขอ ไดแก 1.โลกเท่ียง 2.โลกไมเท่ียง 3.โลกมี
ท่ีสุดหรือมีขอจํากัด 4.โลกไมมีท่ีสุดหรือไมมีขอจํากัด 5.ชีวะเหมือนกับสรีระ 6.ชีวะตางกับสรีระ 7.ตถาคตตาย
แลวเกิด 8.ตถาคตตายแลวไมเกิด 9. ตถาคตตายแลวท้ังเกิดและไมเกิด 10.ตถาคตตายแลวเกิดก็ไมใช ไมเกิดก็
ไมใ ช ในทางมหายานแบง ออกเปน 14 ขอ จัดได 4 กลมุ

กลมุ แรก 1.โลกเท่ยี ง 2.โลกไมเ ท่ยี ง 3.โลกทัง้ เที่ยงและไมเ ทีย่ ง 4.โลกไมใชท ง้ั เที่ยงและไมเ ที่ยง

กลุม สอง 5.โลกมีทสี่ ุด 6.โลกไมมีทส่ี ุด 7.โลกทั้งมีทสี่ ดุ และไมมที ่สี ุด 8.โลกมีท่สี ดุ กไ็ มใช ไมมที ่สี ดุ กไ็ มใช

กลุมสาม 9.วิญญาณเหมือนกับรางกาย 10.วิญญาณตางจากรางกาย กลุมสี่ 11.ตถาคตมีอยูหลัง
ปรินิพพาน 12.ตถาคตไมมีอยูหลังปรินิพพาน 13.ตถาคตท้ังมีอยูและไมมีอยูภายหลังปรินิพพาน 14.ตถาคต
ภายหลงั ปรินิพพานมอี ยูก ไ็ มใช ไมมอี ยกู ไ็ มใช

อาการนิ่งของพระพุทธเจา กอใหเกิดความเขาใจผิดมากมายในสายตาคนนอก ถูกวิพากษวิจารณวา ไมรู
จรงิ หรือรูแ ตไ มสามารถอธิบาย เหตุผลของการไมชี้แจงน้ี เปนเร่อื งทีพ่ ุทธฝายเดิมไมสนใจ แตสงฆบ างกลุมเห็น
วา ประเด็นนี้มองขามไมได เพราะเช่ือในความเปนผูรูทุกอยางของพระพุทธองค กลุมเหลานี้จึงเปนพวกแรกท่ี
ทําใหพระพุทธเจามีสถานะเหนือมนษุ ยธรรมดา ความสามารถของพระองคทานเปนสิ่งที่ชาวบานไมอาจหยง่ั ถงึ
นานวันพวกเขาก็ย่ิงทําใหพระพุทธเจากับพระธรรมคําส่ังสอนเปนภาวะเหนือโลก แยกความจริงทางโลกทาง
ธรรมออกจากกนั เด็ดขาด

ประเด็นก็คือ หากโลกิยวิถีแยกขาดจากโลกุตรวิถี แลวคนจะหลุดพนไดอยางไร ทานนาคารชุนะมี
คุณูปการตอพระพุทธศาสนา ในฐานะที่เปนผูชี้ใหเห็นขอบกพรองของความเชื่อเชนนี้ วิภาษวิธีของทานคือ
ตัวอยางอันดีเยี่ยม ท่ีใชทําลายมิจฉาทิฐิในใจคน ในแงหนึ่งชวยอธิบายอาการน่ิงของพระพุทธองค โดยใหเห็น
อาการนิ่งเชื่อมโยงกับคําสอนวาดวยเรื่องทางสายกลาง และเพราะเหตุน้ีทําใหบางทานสรุปวา นาคารชุนะเปน
บคุ คลที่กอใหเกิดการปฏวิ ัติในระดบั ลึก (profound revolution) จากอาการนง่ิ ของพระพทุ ธองค ทานสามารถ
อธิบายไปสูการวพิ ากษท ศั นะทง้ั หลายไปอยางกวางขวาง

พระนาคารชุนะ (นาคารชุน) เปนที่รูจักและกลาวถึงเรื่อยมาตั้งแตอดีต ประวัติศาสตรของพุทธมหายาน
มักปรากฏช่ือของทานในฐานะครูผูยิ่งใหญคนหนึ่งเสมอ ทานไดรับการยกยองอยางมาก แตในขณะท่ีไดรับการ

52

สรรเสรญิ ผคู นอีกจํานวนไมนอ ยกว็ พิ ากษต วั ทา นและงานของทาน นบั วา นาคารชนุ ะคือปราชญชาวพทุ ธที่ไดรับ
ความสนใจในระดับตนๆ เสมอมา

เปนเรื่องยากมากท่ีจะถายทอดคําสอนของทานนาคารชุนะ เหตุเพราะความคิดของทานเปนนามธรรม
เขาใจยาก ถาอธิบายไมดีคําสอนของทานจะถูกโตแ ยง วาเปน ทฐิ อิ ันหนึ่งทันที
*อัพยากฤต-“ซึ่งทานไมพยากรณ”, บอกไมไดวาเปนกุศลหรืออกศุ ล คือ เปนกลางๆ ไมดีไมชั่ว ไมใชกุศล ไมใช
อกุศล

ปรัชญาปารมิตาเปนคัมภีรเกาแกของชาวพุทธที่ไมปรากฏผูแตง ตํานานฝายมหายานเชื่อวา นาคารชุนะ
ไดรับพระสูตรน้ีมาจากดินแดนของนาค เปนบทรวบรวมคําสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา เปนคําสอนลึกซ้ึงที่
จะไดรับการคนพบ โดยบุคคลท่ีมีปญญา เม่ือถึงเวลาอันเหมาะสม ไมวาขอเท็จจริงจะเปนอยางไร พระสูตร
ความยาวหนึ่งแสนโศลกน้ี ก็ไดเ ชือ่ วาเปนสอ่ื แหงปญ ญาของชาวพุทธโดยแท เนื่องจากพระสูตรเผยใหเห็นความ
ไรแกนสารของสรรพสิ่ง ไมมอี ะไรทใ่ี ครจะยึดถอื ได จงึ เขา กบั กฎไตรลักษณ

ปรัชญาปารมิตาจึงช่ือวา เปนคําสอนที่ประกาศความวางในธรรม (ธรรมศูนยตา) ลึกซ้ึงกวาคําสอนพุทธ
ท่ัวไป ท่ีประกาศความวางในบุคคลเทานั้น (ปุคคลศูนยตา) สวนของปรัชญาปารมิตาสูตรที่ชาวพุทธนิยมอาน
และไดรับการแปลเปนภาษาไทยแลวหลายสํานวนคือ วัชรเฉทิก (วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร) กับ ปรัชญาปารมิ
ตาหฤทัย (มหาปรัชญาปารมิตาหน่ึงแสนโศลก ในสวนวัชรเฉทิกปรัชญาปารมิตาสูตร 600 ผูก หรือวัชรปรัชญา
ปารมติ า นับเปน หัวใจของมหายานและเกีย่ วเน่อื งกับโพธิสัตวด วย)

เนื้อหาสําคัญคือ ผูฝกฝนเปนโพธิสัตว จะตองหม่ันพิจารณาความจริงที่วา แมวาโลกน้ีจะมีสัตวอุบัติขึ้น
มากมาย มีทั้งที่ประกอบดวยสัญญาหรือไมก็ตาม มีการรับรูหรือไมมี กําเนิดแบบไหนก็ตาม หนาท่ีของโพธสิ ตั ว
คือชวยสัตวเหลาน้ัน ใหหลุดพนโดยไมละเวนใคร และแมจะชวยสัตวใหหลุดพนอยูตลอดเวลา แตความจริงหา
ไดมสี ตั วใ ดท่ีโพธสิ ตั วช วยใหหลดุ พน ไมม ผี ูชวยใหหลดุ พน ไมม ีกระทั่งการหลดุ พน โพธสิ ตั วจ ะตองมองทกุ อยาง
โดยวางไปหมด ไมเชน นัน้ แลว จะเทากบั กาํ ลงั สรา งทวิภาวะระหวา งตนกับผูอ นื่ หรอื จิตกบั ธรรม งายๆคอื หากมี
ความคิดปรุงแตงตัวเรา-เขาอยูในการฝกฝน อาทิ มีตัวเราคอยชวย มีผูอื่นถูกชวย การคิดแบบนี้ถือวาเปนการ
แบงแยกในระดับละเอียด แมไมเก่ียวกับเรื่องดีช่ัว แตทวิภาวะก็เกิดขึ้นจากการหลอเล้ียงอัตตา ตัวตน บุคคล
และส่ิงของ.

สุญญตาธรรม (ฉบับยอ)

พุทธทาสภกิ ขุ บรรยายเม่ือ ๑๖ เมษายน ๒๕๑๔
สิ่งที่เรียกวา “สญุ ญตา” คือเร่อื งทัง้ หมดของพุทธศาสนา
คําวา “สุญญตา” แปลวา “ความวาง” ตามรูปภาษาบาลี แปลตามตัววา “สูญ” ไดนําเร่อื งนีม้ าแสดงเมือ่

๑๕ ปม าแลว ทาํ ใหเกิดปฏิกิรยิ าในทางตอ ตานวามใิ ชพุทธศาสนา หรือเปน พุทธศาสนาฝายมหายาน มิใชของ
ฝา ยเถรวาท ผทู ีไ่ ดฟงแลว แทนทีจ่ ะสนใจ กลบั เกิดความกลวั ข้ึน เพราะเขาใจตามคาํ ที่แปลไววา “สูญเปลา”
เปน การแปลดว ยความไมร ู เพราะใน “ความวาง” นั้นมี “ความเตม็ ” มิใชความสญู เปลา คือเตม็ ไปดวย
ความหมายท้งั หมดของพุทธศาสนา.*(๑)

53

สญุ ญตาเปนตัวแทแ ละเปน หัวใจของพุทธศาสนา

ความรูโดยทวั่ ไปของชาวพุทธ เห็นวา พุทธศาสนามี ๒ ระดบั คอื เปลือกกบั แกน หรือ โลกิยะกบั โลกตุ ตระ
สําหรบั เรอ่ื ง “สุญญตา” มีแตแกน ไมม ีเปลอื ก ไมม กี ระพ้ี จงึ ตัง้ อยใู นฐานะเปน “หวั ใจ” ของพุทธศาสนา โดย
เหตทุ ี่มีเทา นน้ั เอง สญุ ญตาจึงกลายเปน ตวั แททั้งหมดของพุทธศาสนาไปดวย.*(๒)

เปรียบดว ยเพชรเม็ดหน่ึง มนั ก็เปน ทัง้ หมดของตวั มนั เอง และเปนทั้งหวั ใจของมันดวย มนั มีเพียงเทานั้น
และจะตอ งเปนสง่ิ ที่บรสิ ทุ ธ์ิ ไมมอี ะไรเจอื ปน เปนสิ่งทีม่ ีคา สงู สุด.*(๓)

ขอใหพิจารณาเพื่อทําความเขา ใจใหไ ดว า เรอ่ื ง “สุญญตา” เปนทั้งหัวใจและตัวแทท ง้ั หมดของพุทธ
ศาสนา เรียนรเู รอื่ งเดยี วน้ี จะทําใหเขา ใจหลกั พุทธศาสนาไดทง้ั หมด.*(๔)

รูเร่อื งสญุ ญตาทําใหป ระหยดั เวลาในการดับทกุ ข

การพดู เรอื่ ง “สญุ ญตา” เพือ่ ประหยดั เวลาของการศึกษาและปฏิบตั ิ “เพอ่ื การดับทุกข” รูเรือ่ งนี้เรอ่ื ง
เดียว ทําใหรูทกุ เรอ่ื งทั้ง ๘๔,๐๐๐ ธรรมขันธ “รหู น่งึ รูห มด” นบั เปนการยน เวลาอยา งดยี ิง่ .*(๕)

พุทธบรษิ ัทไทยยงั ไมสมบูรณ ยงั ไมถูกตอง หรอื ลาหลังงมงาย ท่ไี มร ูหรือไมสนใจเร่ือง “สญุ ญตา” ดังเชน
เมือ่ ประกาศเรอ่ื งนอ้ี อกไปในตอนแรกๆ ทาํ ใหม ีเสียงคัดคานวา เปน “มิจฉาทฏิ ฐ”ิ มาบัดนี้ เรมิ่ มีการสนใจกัน
มากขน้ึ ตอ งใชเ วลาถงึ ๑๕-๒๐ ป จึงจะทาํ ใหมกี ารยอมรบั เรือ่ ง “สญุ ญตา”.*(๖)

ขอยนื ยนั วา ถารูเร่ือง “สุญญตา” จะทําใหการปฏบิ ัตเิ พอ่ื การดับทุกขไดโดยตรง เปนผลจริงและโดยงา ย
เปน การยนเวลาในการศึกษาและปฏิบัติ เพอ่ื การดับทุกขอยา งแทจรงิ .*(๗)

สุญญตาเปน เพชรของพุทธธรรม ส่ิงท่เี รียกวา “สุญญตา” เปนเพชรของธรรมะในพทุ ธศาสนา พุทธบรษิ ัท
ทกุ คนจะตอ งถอื เอาเพชรเม็ดนใ้ี หไดใ นทีส่ ุด มฉิ ะนั้นแลวจะเปน หมนั เปลา.*(๘)

การคนหาเพชรเปนเรื่องยาก ดังความเหน็ ของลัทธิมหายานแสดงไววา “คนเหลาน้ีหาเพชรไมพ บ
เพราะวา มันซอ นอยูที่หนาผากของเขาเอง” ขอใหสงั เกตดูทีห่ นาผากพระพุทธรูป มจี ุดอะไรอยจู ุดหนง่ึ เรียก
“อุณาโลม” หรอื บางพวกเรยี ก “ตาท่ีสาม” คือ ตาปญญา เปน ตาสําหรบั ดูธรรมะ จดั เปนสญั ลกั ษณข อง
ธรรมจักษุ ซง่ึ สามารถเหน็ ไดล ะเอียดลึกซึ้งกวา “มงั สจกั ษุ” หรือตาเนื้อ.*(๙)

ความหมายของเพชรทซี่ อนอยทู ห่ี นา ผาก เปน การแสดงถงึ ความยากในการทจ่ี ะมองเหน็ เพราะเรอื่ ง
สญุ ญตาเปน ส่งิ เขา ใจยาก มองเห็นยาก และเขา ถึงไดย าก แตก ไ็ มสดุ วิสยั สําหรับผมู ีปญ ญา เปรียบการนําเพชร
จากหนิ มาถลุงและเจียระไน ยอมไมเปน การยากสําหรับผูมคี วามรู อวชิ ชานั่นเองท่ีเปน เสนผมบังภูเขา คือมิให
มองเห็นสุญญตา.*(๑๐)

ความยากในการมองเห็นสุญญตา มีลกั ษณะเหมือนเสน ผมบงั ภูเขา ความจริงธรรมชาตริ อบตวั เรา กําลัง
แสดงธรรมเรื่อง “สุญญตา” อยูตลอดเวลา แตเ รามองไมเ ห็น เพราะคนสว นมากชอบมองสิง่ นอกตัว หรอื ไกลตวั
เพราะเหน็ งาย สว นการมองหาสญุ ญตาตอ งมองยอ นเขาดูในตัวเอง คําที่วา “ซอ นอยูท ี่หนา ผาก” หมายถึง การ
แนะนําใหม องยอนดตู ัวเองในภายใน แลวจะพบ “สุญญตา” ท่ีตวั เอง.*(๑๑)

54

เม่อื มองเห็นสญุ ญตาท่ีตวั เอง ก็จะทําใหม องเหน็ ความเปน สญุ ญตาของสิ่งทัง้ ปวงดวย เพราะทกุ สงิ่ มีสภาพ
อยางเดียวกัน ตรงกับคาํ ท่ีกลาววา “รหู นึง่ รหู มด” นั่นคือ สญุ ญตาเปน ทั้งหัวใจและเปนทง้ั หมดของพุทธ
ศาสนา.*(๑๒)

พระพทุ ธเจาตรัสแตเ รือ่ งสุญญตา

ความหมายของธรรมะในพระไตรปฎ ก เมอ่ื พจิ ารณาดแู ลวจะเห็นวา แสดงถึงลักษณะของ “สุญญตา” ใน
รปู แบบตางๆ กนั โดยเหตุนี้ จงึ กลา วไดว า พระพทุ ธเจาไมต รสั เรอ่ื งอื่น นอกจากเร่อื ง “สญุ ญตา” โดยเฉพาะใน
พระไตรปฎก ตอนสังยุตตนกิ าย ทรงแสดงถึงเรื่อง “สุญญตา” โดยตรงไวม ากท่ีสดุ .*(๑๓)

มพี ระพุทธภาษิตอยบู ทหนึ่งไมวาอยูตรงไหนของพระไตรปฎก ยอมตรัสขึน้ ตนดว ยประโยคน้ีท้งั น้นั – “เย
เต สุตฺตนฺตา ตถาคตภาสิตา คมฺภรี า คมฺภีรตฺถา โลกุตฺตรา สุ ฺ ฺตปปฺ ฏิสํยตุ ฺตา” มีคาํ อยู ๖ คาํ ยกเวน “เย เต”
ซ่ึงเปน คณุ ศพั ท แปลวา “เหลาใด” (ดูคําแปลในขอ ๑๖) สุตตฺ นฺตา – ระเบียบแหง สูตร ตถาคตภาสิตา – ท่ี
ตถาคตตรสั แลว คมภฺ ีรา – ลึกซึง้ คมคฺ รี ตฺถา – มอี รรถอันลกึ ซงึ้ โลกตุ ตฺ รา – เหนือโลก สุฺ ฺตปปฺ ฏิสยํ ุตตฺ า –
เนอื่ งเฉพาะดว ยสุญญตา.*(๑๔)

ใจความของคาํ เหลานม้ี ีวา “ระเบียบแหง สตู ร” คือขอความท่ีกลาวไวเ ปนหลกั เกณฑ เรยี กวา ระเบียบ
แหงสตู รใดๆก็ตาม ทใี่ ดๆกต็ าม คอื หมายถึงทั้งหมด ทีต่ ถาคตไดตรสั แลว เปนเรือ่ งลึกซ้งึ มีอรรถอันลกึ ซง้ึ เหนือ
โลก แลวก็เนือ่ งดวยสญุ ญตา นเ่ี ปนการบงบอกอยูในตวั ประโยคแลว วา ถาตถาคตตรัส ก็ตอ งเปนเรื่องทเี่ นอ่ื ง
ดวยสญุ ญตา.*(๑๕)

เรอ่ื งตรงกันขาม คือเรื่องท่ีพระพุทธเจาไมต รัส ไดแกข อ ความท่วี า “เย เต สตุ ตฺ นตา – ระเบียบแหง สูตร
ท้ังหมดเหลา ใด กวิกตา – ทพ่ี วกกวรี อ ยกรองขน้ึ กาเวยฺยา – อยูในลกั ษณะของกาพยก ลอน หรือยูในลักษณะ
ของกวีนพิ นธ จิตฺตกฺขรา – มตี ัวอักษรอนั วิจติ ร จิตตฺ พยฺชนา – มีพยัญชนาอันวจิ ติ ร พาหริ กา – เปน เร่ือง
ภายนอก สาวกภาสิตา – เปนคําทีส่ าวกภาษติ คอื สาวกกลา ว มอี ยู ๖ คําเหมือนกัน.*(๑๖)

คําวา “พาหิรกา” แปลวา เปนไปในเร่อื งภายนอก คือนอกเรอื่ ง หมายถึง นอกเรื่องแหงความดับทกุ ข
เพราะพระองคตรัส แตเรื่องทุกขกับความดับทกุ ขเทานั้น ถา ไมเ ปน ไปตามนี้ ก็เปนเรอื่ งนอกเร่ือง.*(๑๗)

พทุ ธศาสนาเปน เครื่องดับทุกขโดยตรง

สิ่งทเี่ รียกวา “พุทธศาสนา” ตอ งอยูในฐานะเปน เครื่องดบั ทุกขโดยตรง อยางนี้เรยี กวา พุทธศาสนาใน
ฐานะทเ่ี ปน ศาสนา (religion) แตถา พทุ ธศาสนาในฐานะท่ีเปน ปรชั ญา เปน วรรณคดี เปนศิลปะ เปนอะไร
มากมายออกไปอีกหลายอยา ง อยางนีเ้ รยี กวา “นอกเร่ือง” คือเปน สว นเกนิ เพราะอยนู อกขอบเขตของการดับ
ทุกข. *(๑๘)

ในคมั ภีรว ิสุทธมิ รรคบรรยายลกั ษณะของ “โลกวิท”ู ของพระพทุ ธเจาไววา รูจกั โลกทางวตั ถุ คอื รูวา โลก
ยาวเทาไร กวา งเทาไร หนาเทาไร และตง้ั อยบู นนาํ้ มีปลาตัวใหญร องรบั อยู น่เี ปนการบรรยายนอกเรอ่ื งพุทธ
ศาสนา เพราะคาํ วา “โลกวทิ ู – รแู จง โลก” น้นั โลกคือทกุ ข พระพุทธเจาทรงรูแจง โลกคอื ทุกข ทรงรูแ จง โลก
ดว ยลักษณะ ๔ ประการ คอื ทรงรวู า น่คี อื โลก นค่ี ือโลก น่คี ือเหตุใหเกดิ โลก น่คี อื ความดบั สนทิ ของโลก นี่คือ
ทางใหถึงความดับสนทิ ของโลกทงั้ ๔ อยางนี้ รวมอยูในรา งกายทยี่ าวประมาณวาหนึง่ นี้ ทย่ี ังเปนๆ อยู.*(๑๙)

55

เรื่อง “สุญญตา” ไมมลี กั ษณะอันวิจิตรไพเราะโดยอักขระและพยัญชนะ แตไ พเราะในทางดบั ทกุ ข ดงั ที่
เรยี กวา งามในเบื้องตน งามในทามกลาง งามในเบอ้ื งปลาย อะไรทํานองนัน้ การดบั ทกุ ขไดเปน ยอดของความ
ไพเราะวจิ ติ รอนั ชนื่ ใจ สวนส่งิ ที่มใิ ชส ุญญตานน้ั มนั ชื่นใจเพราะวา ไพเราะหูในทางกวีนิพนธ. *(๒๐)

ความเหน็ ของพระอริยเจา กับของชาวโลก ยอ มเหน็ ตรงกนั ขา มกนั สง่ิ ท่ีพระอริยเจาเห็นวา เปน ทุกข
ชาวโลกเห็นวาเปนสุข สิง่ ทีพ่ ระอรยิ เจา เห็นวา เปน สุข ชาวโลกกลับมองเหน็ วาเปน ทุกข ดังเรอ่ื ง “สุญญตา” ก็
เชนกนั ผูรูเหน็ วา “สุญญตา” มีความชนื่ ใจจับใจที่ดับทุกขได แตฝ ายทีไ่ มรพู ดู ถงึ ความไพเราะจบั ใจทางอักขระ
ไพเราะทางพยญั ชนะ อนั เปนสิ่งนอกเรือ่ งจากความดบั ทกุ ข มคี วามแตกตางตรงกันขา มกันอยางนี.้ *(๒๑)

ความไพเราะท่ีเปนภาษาคน ไดแ กตัวหนงั สอื ทาํ ใหเพราะหู สว นความไพเราะท่เี ปน ภาษาธรรม คือความ
ดับทุกขได เปน โลกุตตระอยเู หนือโลก ใครมองเหน็ ความเหนอื โลกจะรสู กึ ไพเราะ ฉะนนั้ พระธรรมหรอื ความ
ดับทุกขในพทุ ธศาสนา จัดเปนกวนี พิ นธ พระนิพพานกเ็ ปน กวีนิพนธเหมอื นกัน เพราะวามคี วามไพเราะลกึ ซึง้
ตรงทดี่ ับทกุ ขได แตมิใชเปน การไพเราะทางหูดว ยตวั หนังสือหรอื คาํ รอยกรอง.*(๒๒)

“ถารูเรอ่ื ง “สุญญตา” จะทําใหก ารปฏิบัติเพอื่ การดับทุกขไ ดโดยตรง เปนผลจรงิ และโดยงา ย”
“พุทธศาสนาทกุ รปู แบบ ยอมเนื่องอยูดวยสุญญตา คือการปลอ ยวางความยดึ ถอื ไมย ึดม่ันถือม่ันในสง่ิ ท้ังปวง”
ภิกขุ ฉ.ชุติวณฺโณ, ภิกขุ ฉ.ช.วมิ ตุ ตยานันทะ หรอื พระอธกิ ารเฉลมิ ชุตวิ ณฺโณ
เจา อาวาสวัดเจดียง าม ต.บอ ตรุ อ.ระโนด จ.สงขลา

บทความเร่ือง สุญญตา และ จิตวาง

จาก จติ ประภสั สร สู สญุ ญตา และ มหากุศล อยา งไหน “จติ วา ง”
ที่มา-มตชิ นสุดสปั ดาห ฉบบั วันท่ี 27 พฤษภาคม - 2 มถิ นุ ายน 2559
คอลมั น- ดังไดสดบั มา เผยแพร- วนั ศกุ รท ี่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.2559

ถูกตองอยางท่ีสุด ที่จะเสนอปุจฉาอยางสอดรับกับความตองการ นั่นก็คือ “จิตประภัสสรเปนจิตบริสุทธ์ิ
หรอื เปลา”

คําตอบคือ ประภัสสรมีความหมายคนละอยางกับบริสุทธ์ิ ประภัสสรตรงกับคําวา “เรืองแสง” เปน
คุณสมบัติประจําตัวของสิ่งท่ีเรียกวา “วิญญาณธาตุ” ตามธรรมดาแสงน้ันไมเศราหมอง จะเศราหมองตอเมื่อมี
อะไรมาปนลงไปในแสง โดยเฉพาะก็คือ “กิเลส” ดังน้ัน จิตสูญเสียความเปนประภัสสร เม่ือถูกกิเลสที่เปน
อาคันตุกะจรเขามา ถาจะเรียกประภัสสรบริสุทธ์ิ ก็บริสุทธ์ิอยางภาษาชาวบาน ไมใชบริสุทธิ์อยางความหมาย
ของพระอริยเจา ท้ังนี้แลวแตว า เราจาํ กัดขอบเขตของคําท่ีพูดกันเพียงไหน

แตอยางไรก็ตาม ในขณะแหงประภัสสรน้ันตองวางจากกิเลส หรือความยึดม่ันถือมั่นดวยความโงน้ัน
เหมือนกัน ดังนั้น ก็พอท่ีจะเรียกหรือสงเคราะหจิตประภัสสรน้ีไวในพวกจิตวางดวยเหมือนกัน สวนท่ีมันจะ
บรสิ ุทธหิ์ รอื ไมนน้ั มนั เปนอกี เร่อื งหนึง่ ดังท่กี ลาวมาแลว

เมื่อสามารถสรุปในเร่ือง “จิต” อันสัมพันธกับ “ประภัสสร” ไดในระดับแนนอนหนึ่ง ยังคําถามวา “ถา
เชนนั้น จิตวางก็มีหลายชนิด” “จะวาชนิดเดียวก็ได หลายชนิดก็ได แลวแตเราจะเพงเล็งกันกวางหรือแคบ
เพียงไร” น่คี ือเปน คําตอบ ทว่ี า ชนิดเดยี วนั้น หมายถงึ วา ในขณะนัน้ มนั ปราศจากอุปาทานวาตวั ตนหรอื ของตน

56

ก็แลวกัน คือมันจะยังไมทันเกิด หรือไมอาจจะเกิด ก็ไดทั้งนั้น ที่วามีหลายชนิดนั้นก็คือ วางไดหลายอยาง คือ
วา งเด็ดขาดอยา งจติ พระอรหนั ตก็มี วางไมเ ดด็ ขาดอยางจิตผูท่ีไมใ ชพ ระอรหันตก ็มี วางเองตามธรรมชาติเพราะ
ยังไมมีอารมณมากวนก็มี อารมณมากระทบแลวควบคุมไดก็มี กําลังอยูในสมาธิบางชนิดก็มี หรือมีอารมณท่ีไม
กอใหเกิดความยึดม่ันถือม่ันอยูก็มี กําลังพักผอนนอนหลับตามปกติก็มี หรือแมที่สุดแคมีบทเพลงหรือดนตรี
“บางชนดิ ” มาขับกลอ มแวดลอ มอยกู ม็ ี เหลาน้เี รยี กวา มนั มีหลายชนดิ แตอยา งไรกต็ าม เมอ่ื สรปุ เอาแตใ จความ
ท่ีมุงหมายในทน่ี แี้ ลว มีใจความสําคัญอยูที่วา เรากาํ ลังวางจากอปุ าทานทีก่ ําลังสําคัญมน่ั หมายวา เปน ตวั กู-ของ
กู อยกู ็แลว กนั และถอื วานน่ั แหละคือปรกติภาวะแทของจิต และไมมคี วามทุกข

แลวก็ถึงคําถามสําคัญ นั่นก็คือ แลวจิตวางชนิดไหนเลาท่ีประสงคในประโยคที่กลาววา “เปนอยูดวยจิต
วาง” คาํ ตอบคือ หมายถงึ จติ วางทกุ ชนิด เพราะเหตุผลอยา งเดยี วคอื ไมว าจะเปน จติ วางชนิดไหนลว นแตไมเปน
เหตุใหเ กดิ ทุกขท้งั นัน้ เราเอาแตไมม ที กุ ขกแ็ ลวกัน อยา ไปเหอ ความเปน พระอรยิ บุคคลชน้ั น้ันชั้นนี้ เหมือนท่ีเขา
แหไปทําวิปสสนา เพื่อจะเปนนั่นเปนน่ีแขงขันกันเลย ซ่ึงมีแตจะทําจิตใหไมวางยิ่งข้ึน ดังที่เห็นอวดเบงทับกัน
ทะเลาะวิวาทกัน ดังน้ัน จะเปนจิตวางชนิดไหนก็ไมนารังเกียจ ท่ีวางเองตามธรรมชาติน้ันยิ่งจําเปนสําหรับทุก
คน เพราะทําใหค นมีจิตไมผดิ ปรกติ ไมเปน โรคเสน ประสาท หรอื โรคจติ เปน ตน

สวนที่ควบคุมใหวางนั้น ก็เปนเพียงการยึดความวางตามธรรมชาติใหยาวออกไป หรือใหประณีตข้ึน
เทาน้ัน สวนท่ีวางเด็ดขาดโดยเปนพระอรหนั ตแลวน้ัน ไมจําเปนตองพูดถึงในท่ีน้ี เพราะเปนการเปนอยูดวยจติ
วางอยูในตวั โดยไมต อ งพยายามอะไรอีกตอไปแลว

นายินดีมาก ดวยความรอบคอบมาก ดวยความสุขุม จึงไดเสนอคําถามวา “จิตมีชื่อประหลาดๆ เชน จิต
มหากุศล เชนนี้เปนจิตวางหรือเปลา” “จิตมหากุศลน้ีฟงดูก็ประหลาดสมชื่อ” จิตมหากุศลตามศาลาวัดนัน้ ฟง
ดูแลวเปนความทะเยอทะยาน เพือ่ จะไดอ ะไรท่มี งุ มาดท่สี ุดจนจัดเปนมหากุศล เหมือนการลงทนุ คา กาํ ไรอันเกิน
ควรหรอื อะไรทํานองน้ีทง้ั นน้ั

ถาอยางนั้นไมช่ือวาเปนจิตวาง แตก็เปนจิตวุนอยางย่ิง จิตท่ีเปนมหากุศลอยางแทจริงควรจะเปนจิตวาง
คือไมปรารถนาอะไรดวยความยึดมั่นถือม่ัน ไมปรารถนาแมแตส่ิงที่เรียกวามหากุศลนั้นดวย มหากุศลที่ทําไป
ดวยความอยาก จะเอาเปนตัวกูหรือของกูนั้น ไมมีอะไรมากไปกวาขนมหรือลูกกวาดสําหรับใหรางวัลเด็ก เพ่ือ
จูงใจใหเ ขาขยนั ทาํ งาน ฉะนน้ั มหากุศลตามศาลาวัดนนั้ ยงั ไมใชจ ิตวาง ควรนกึ ถงึ เร่ืองอน่ื ทช่ี วนใหวา งจะดกี วา

ใครเคยพบที่ไหนบางวา พระพุทธเจาไดเคยทรงใชคําคํานี้และด่ืนเหมือนคําวา “สุญญตา” คําวา “สุญญ
ตา” กับคําวา “มหากุศล” สองคํานี้คําไหนควรจะถูกจัดวาเปนอภิธรรมกวากัน หรือถึงกับวาอันไหนไมเปน
อภธิ รรมเสียเลย ดงั นั้น จิตวา งกับจิตมหากุศลจะเปนของสงิ่ เดยี วกันอยางไรได

ทานลองคิดดูเองเถิด ของสองอยางน้ีอยางไหนที่เต็มอัดอยูดวยกลิ่นอายของตัณหาอุปาทาน อยางนั้น
“ยังไมใชจติ วาง”

รากฐานแหงจิตวาง มอี ยใู นพระไตรปฎกหรือไม ความสงสัยสําคัญ

ทม่ี า-มติชนสุดสัปดาห ฉบบั วันท่ี 3 - 9 มิถนุ ายน 2559

คอลมั น- ดังไดส ดับมา เผยแพร- วันศุกรท ่ี 3 มิถนุ ายน พ.ศ.2559
57

และแลว กเ็ ขามาสคู าํ ถามอันสาํ คญั และทรงความหมายย่ิง ซง่ึ สอดรับกับความขอ งใจของอีกหลายคน น่ัน
ก็คือ คาํ วา “จติ วาง” ไมม ใี นพระไตรปฎ ก ใชไ หม คลา ยกับคําวา “จติ วา ง” เปนการบัญญัติขึ้นเองโดยอตั โนมัติ
จากทานพุทธทาสภิกขุ เหมือนกับไดกล่ินอายมาจาก “มหายาน” เทากับเปนการแตกออกไปจากขนบแหง
“หินยาน” อาจเปนเพราะเห็นวา ทานพุทธทาสภิกขุเคยแปลและเรียบเรียง “สูตรของเวยหลาง” อันเปน
อาจารยคนสาํ คญั แหง นิกายเซน อันเปน แขนงหนึ่งแหง มหายาน

ตอความสงสัยในเร่ืองน้ี ตองตอบอยางยืดยาวย่ิง ตองอานขอนี้จะเขาใจไดงาย โดยการเปรียบเทียบดวย
อุปมา คนเขลาเขาไปในปาก็เห็นแตปา ไมเห็นตนไม พอไดฟงพระพุทธภาษิตท่ีวา “วะนัง ฉินทะถะ มา รุกขัง
ตัดปาซิ อยาตัดตนไม” เขาก็ฟงไมถูก และไมรูวาจะทําอยางไรใหตรงตามพระพุทธประสงค เพราะไมรูจักแยก
ตนไมออกจากปา ท่ีถูกนั้นเขาควรชําระปาท่ีรกและเปนอันตรายใหหมดไป ใหเหลือแตตนไมสวยงามรมรื่น
สะดวกสบายในการอยูอาศัย เชนเดียวกับที่เราไมตองทําลายเบญจขันธอันเปนที่ตั้งของกิเลส เพียงแตทําลาย
กิเลสอันเกิดที่เบญจขันธก็พอแลว ฉันใดก็ฉันน้ัน ถาเขาไมมองเห็นกิเลสท่ีมีอยูในเบญจขันธ เขาก็โงไปทําลาย
เบญจขนั ธเขาเทานน้ั เอง

พระไตรปฎกท้ังหมดทั้งแปดหม่ืนสี่พันพระธรรมขันธ ลวนแตสอนใหทําจิตใหวางจากอุปาทานที่มีอยูใน
เบญจขันธ ไมโดยตรงก็โดยออมเปนอยางนอย สําหรับสวนใหญหรือหัวใจของพระไตรปฎกนน้ั คือ การสอนทํา
ใหจิตวางจากอุปาทาน ภายหลังจากที่ไดละบาปและบําเพ็ญบุญมาเต็มท่ีแลว เรียกวาการชําระจิตใหบริสุทธิ์
จากความยึดม่ันถือมั่นในบุญและบาปน่ันเอง รวมท้ังกุศลและมหากุศลดวย บุญ บาป กุศล อกุศล ท่ียึดไวดวย
อุปาทานนั่นแหละคือปา จะตองตัดเสียใหหมด ใหเหลือแตตนไมที่สวยๆงามๆ คือ “จิตวาง” นี่คือการที่
พระไตรปฎกทัง้ หมดมุงหมายจะพดู แตเ ร่ืองการทาํ ใหจติ วา ง

แมจ ะพูดเรอ่ื งนรกสวรรคอะไร ก็มไิ ดพูดเพอื่ ใหยดึ ถือจนรกั อยากจะไดเ หมือนใจจะขาด หรือกลวั และเปน
หวงรําคาญจนหมดสุข แตพูดเพื่อใหละความยึดถอื ทั้งหมดทั้งส้ินเสีย เพ่ือความมีจิตวาง ไมมีการเสพติดในสิ่งที่
กะล้ิมกะเหล่ยี กันวา “มหากศุ ล”

คาํ วา “สุญญตา” (ความวา ง) ก็มีท่วั ไปในพระไตรปฎก และยงั ตรัสกําชบั ไวว า ขอความเรื่องใดไมเก่ยี วกับ
เร่ืองสุญญตา ขอความเร่ืองนั้นก็ไมใชตถาคตภาษิต เปนเพียงเร่ืองของคนชั้นหลังๆกลาว และเร่ืองสุญญตาน้ี
มิใชเล็งเห็นแตความวางเฉยๆ แตเล็งถึงการทําใหจิตวางจากส่ิงท่ีมากลุมรุมหุมหอจิตใหเศราหมอง ไมมีจิตวาง
จากกิเลส โดยเฉพาะคืออุปาทานอันเปนตัวการแหงทุกขโดยตรง ดังพระพุทธภาษิตท่ีวา “จงเห็นโลกโดยความ
เปนของวางทกุ เมือ่ เถดิ ” ดังนี้เปนตน

จิตท่ีเห็นส่ิงท้ังปวงโดยความเปนของวางอยูเชนนั้น คือจิตที่วางจากอุปาทาน ซ่ึงยอมจะวางจากทุกขดว ย
โดยอัตโนมัติ ซ่ึงในท่ีนี้เราเรียกวา “จิตวาง” เฉยๆ เพราะไมมีคําไหนท่ีดีกวานี้ กะทัดรัดกวานี้ หรืออมความได
ทง้ั หมดทง้ั ส้ินเหมอื นคาํ คาํ น้ี

“การปฏิบัติเพื่อทําจิตใหวางจากอุปาทาน” ประเด็นเดียวน้ีเทานั้น ที่เปนเนื้อแทของพุทธศาสนา การ
ปฏิบัตินอกน้ันมีท่ัวไปแมในศาสนาอ่ืน ดังน้ัน พระไตรปฎกท่ีแทจะมุงสอนแตเร่ืองทําจิตใหมีสุญญตาแตอยาง
เดียว และสญุ ญตาถงึ ทส่ี ดุ น้นั คอื ส่ิงท่เี รยี กกันวา นิพพาน

58

ถามีใครพูดวาเร่ืองจิตวางไมมีในพระไตรปฎกแลว เราจะอยากจะพูดบางวา เรื่อง “มหากุศล” นั้นแหละ
ไมม ีในพระไตรปฎก และเตม็ ไปดว ยกลนิ่ อายของอุปาทาน จงรจู ักปา รจู กั ตน ไม และรูจักแยกปาออกจากตนไม
กันเสยี บางเถิด ถา มัวแตปนเปกันอยอู ยางน้ีแลว ไมม วี ันจะพบพระพทุ ธศาสนาเลย เมอื่ เรอ่ื งการทําจิตใหวางคือ
เนอ้ื แทของพระไตรปฎกแลว คาํ วา จิตวา งก็ซอ นอยูในพระไตรปฎ กท้ังหมดทุกบรรทดั หรือทกุ ตัวอกั ษร แตค นท่ี
เห็นแตปาไมเห็นตนไมน้ัน ก็ยอมมองไมเห็นอยูน่ันเอง ยอมจะไปเลือกเอามหากุศล ซ่ึงเปรียบเสมือนปาทึบเขา
อยางชว ยไมได

เมื่อเสพติดในมหากุศลหนักเขา ก็เห็นเรื่องจิตวางเปนเร่ืองมิจฉาทิฏฐิเปนธรรมดา เพราะเขากลัววา เม่ือ
จิตวางแลว จะเปนการขาดทุนยุบยับไมไดอะไรเลย โดยท่ีไมรูวา “วาง” นั้นแหละคือการไดทั้งหมด และไดสิ่ง
สูงสดุ ในระดบั นิพพาน มหากศุ ลของความยดึ มั่นนั้น รังแตจะเวียนวายอยใู นวฏั สงสารเทานัน้ เอง

ทาํ ไมตอ ง “จิตวาง” ทาํ ไมจึงมใิ ช “มหากศุ ล” เสน ทาง “สมั มาทฏิ ฐ”ิ

ท่ีมา-มติชนสุดสปั ดาห ฉบับวนั ที่ 10 - 16 มิถนุ ายน 2559

คอลมั น- ดงั ไดส ดบั มา เผยแพร- วนั ศุกรท ่ี 10 มิถนุ ายน พ.ศ.2559

มีความสงสัยมาอยางตอเนื่องและยาวนานมาแลววา การหยิบยกคําวา “จิตวาง” ของทานพุทธทาสภิกขุ
เปนเร่ืองในทาง “มหายาน” มิไดเปนเรื่องในทาง “หินยาน” หรือ “เถรวาท” ท้ังๆท่ีในความเปนจริง เร่ืองของ
สุญญตาเปนหลักธรรมอยางที่อาจสรุปไดวาเปน “พุทธศาสนา” โดยตรง มิจําเปนตองแยกเปน “มหายาน” มิ
จาํ เปน ตองแยกเปน “หินยาน”

หากมิไดดํารงอยูอยางเปนพุทธศาสนาโดยตรง จะมีคําวา “สุญญตวิโมกข” อยูอีกหรือ ดังมีคําอธิบายวา
วิโมกขนนั้ แปลวา “พน” หมายความวาพนจากกเิ ลส ไดแ ก พระอรหตั ชนิดท่ีไดชื่อวาสญุ ญตาวโิ มกขน น้ั เพราะ
หาราคะ โทสะ โมหะเปนนิมติ คือหาเครื่องหมายมิได จงึ เทา กบั “วาง”

คําถามที่วา ทําไมทานจึงไมใชคําอื่นที่ไมใชคําวา “จิตวาง” อาจปรากฏขึ้นเม่ือเดือนเมษายน 2504 แตก็
ตองยอมรับวา “เหมาะ” แมกระทั่งในเดือนมิถุนายน 2559 “เพราะคนพวกนี้หลับมานาน ดวยอํานาจยาเสพ
ตดิ มากเกนิ ไป ถึงกับตองปลุกกนั ดวยการปลุกชนิดทเี่ ปน การถลกหนังหัว อยางนอยสักเทาฝามอื จึงจะตนื่ ได” น่ี
คือคําตอบ “เหตุนี้แหละจึงไดใชคําวา ความวาง หรือ จิตวาง ซึ่งพวกท่ีมากไปดวยสักกายทิฏฐิ เขากลัวกันย่ิง
กวา สงิ่ ใด แมท า วมหาพรหมก็ยังกลวั คําคํานี้ มากกวา คาํ พูดคาํ ไหนหมดในโลกน้ี”

พรอมกับย้ําอยางหนักแนน “และอีกทางหนึ่งน้ัน เรื่องสุญญตาอันเปนหัวใจของพระพุทธศาสนา หรือ
พระไตรปฎ กนัน้ ไดนอนเปนหมันอยูนานนักแลว ในหมูคนทห่ี ันไปมวั เมาในการเสพตดิ มหากุศลในประเทศไทย
อันเปน ประเทศท่ีถูกอุปโลกนใ หเปน เอกในทางพระพุทธศาสนา”

“ถาไมรูเรื่องน้ีกันเสียเลยสักวันหนึ่ง ในเร็วๆนี้จะพิสจู นความไมม ีอะไรที่เปนพุทธศาสนาเลยในตัวออกมา
ใหโลกเห็น ดังน้ัน จึงชวนใหหยิบเอาเร่ืองความวางขึ้นมาศึกษากันไวบาง จะไมตองเดินตามกนพวกอื่นท่ีเขาไป
กันไกลในเร่ืองสญุ ญตาในวันขางหนา”

ถามตอวา “เรอื่ งความวางน้ี ทเี่ ปน มิจฉาทฏิ ฐกิ ม็ ีอยูเ หมอื นกัน มใิ ชห รอื ”
59

คําตอบ คือ “ถูกแลว” น่ันคือพวกท่ีถือวา “อะไร อะไร ไมมีเลย นอกจากความตองการของเขาเทานั้น
ตายแลวก็เลิกกัน” สวนเรื่องความวางในพุทธศาสนาน้ันถือวา อะไร อะไร ก็มีบุญ บาป สุข ทุกข ชั่วดี ฯลฯ มี
อยูทั้งนั้น แตเราอยามีจิตไปยึดมั่นตอสิ่งเหลาน้ันเขาก็แลวกัน เม่ือจิตวางจากความยึดมั่นแลว ก็มี พระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ อันแทจริงอยใู นความยดึ มน่ั น่นั เอง

นอกไปจากน้ัน มักเปน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ชั้นที่เปลือกนอก ตองพยายามเขาใหถึงของจริง
ชั้นใน ดวยการทําจิตใหวางจากอปุ าทาน ในการทจ่ี ะไปเกาะเก่ยี วสิง่ ทงั้ ปวงไว โดยความเปนตัวกูหรือของกู ตอ ง
ไมยึดถือมหากุศลวา “เปนของกู” จึงจะเปนจิตวาง ถาจะมีหรือปฏิบัติในมหากุศล ก็เพียงเพ่ือเอามาใสฝามือดู
ใหร วู า “เปน ของที่ยดึ มน่ั ถือมัน่ ไมไ ด”

เรามพี ระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ เพ่ือสอนความไมยดึ มั่นถือม่ันใหแ กเ รา เรามที รัพยสมบัตเิ พยี งเพื่อเปน
อุปกรณแกชีวิต และมีชีวิตอยูก็เพ่ือศึกษาเร่ืองความไมยึดม่ันถือม่ัน หรือเร่ือง “ความวาง” นั่นเอง ความวางที่
เปนสัมมาทิฏฐิน้ัน ก็เพ่ือสละตัวตนออกไป ไมเอาอะไรมายึดไวเปนอุปาทาน สวนความวางท่ีเปนมิจฉาทิฏฐินั้น
เปนอุบายหลอกลวงตัวเองหรือผูอื่น เพ่ือจะเอาอะไรเปนของตัว โดยไมใหผูอ่ืนคัดคาน หรือเพ่ือแสวงหา
ประโยชนใหแ กต วั ดว ยอุบายตลบตะแลงของทฏิ ฐินัน่ เอง

จากนีจ้ ึงเหน็ ไดวา น้นั มคี ูค ําเปรยี บเทียบใหเ ห็นอยางเดนชดั คือ
1 คอื ระหวา ง “จิตวา ง” กบั “มหากุศล”
1 คอื ระหวาง “สมั มาทฏิ ฐิ” กับ “มิจฉาทิฏฐิ”

แนนอน “จิตวาง” ยอมดํารงอยูอยางเปนเอกภาพกับ “สัมมาทิฏฐิ” ขณะที่ “มหากุศล” ยอมดํารงอยูคู
เรียงเคียงไปกับ “มิจฉาทิฏฐิ” และในท่ีสุดเปาหมายยอมอยูที่ “จิตวาง” และในท่ีสุด เปาหมายหรือเสนทางที่
จะดําเนินไป ก็คือการดําเนินไปใหบรรลุถงึ จุดแหง “ความวาง” อันเทากับเปนการยึดกุม “จิตวาง” มิใช “มหา
กุศล” อนั เทากบั เปน การเดนิ ไปบนเสนทางแหง “สมั มาทฏิ ฐิ” มิใชก ารเดินไปบนเสน ทางแหง” มิจฉาทิฏฐ”ิ

ทุ ก ส ร ร พ สิ่ ง เ ป น ห นึ่ ง เ ดี ย ว ห น่ึ ง เ ดี ย ว คื อ ทุ ก ส ร ร พ สิ่ ง
(All is One and One is All)

ทุ ก ส่ิ ง ทุ ก อ ย า ง ใ น โ ล ก ล ว น เ ป น ห น่ึ ง
ห นึ่ ง น้ั น คื อ สั จ จ ะ สู ง สุ ด
พุ ท ธ ะ จิ ต ส ร ร พ สั ต ว

ต า ง ล ว น เ ป น ห นึ่ ง เ ดี ย ว กั น

60

บ ท ส ว ด พ ร ะ ค า ถ า ป รั ช ญ า ป า ร มิ ต า ห ฤ ทั ย สู ต ร

คเต คเต ปาระคเต ปาระสังคเต โพธิ สวาหา

อารยา วโลกเิ ตศวรา โพธสิ ตั ตจวั กรรมบริ ัม ปรชั ญา ปารมิตา จารัม จารา มาโน

วยี าวะ โลกติ ิสมา ปญชะ สกนั ตา อะสัตตสั จา สวภาสะ ศูนิยะ ปาสสั ตสิ มา

อฮี า สารปี ุตระรปู ง ศนู ยะ ศนู ิยะตา อีวารปู ง รูปานา เวทะศูนยิ ะตา ศูนยา นายะนา เวทะซารปู ง

ยัทรปู มสา ศูนยิ ะตะยา ศูนยิ ะตา ซารูปง อีวัม อวั ัม เวทนา สังญา สังสการะ วียาณัม

อฮี า สารีปตุ ระ สรวะธมั มา ศูนิยะตะลักษณา อนุตปนนา อนริ ปู ยส อะมะลาอะวมิ าลา

อะนนุ า อาปาริปนุ า ตัสมาต สารปี ุตระ ศนู ยิ ะตายะ นารปู ง

นาวยานา นาสังญานา สังสาระ นาวยิ านมั นาจกั ษุ โศตรา กรรณนา ซิหวา

กายา มะนา ซานะรปู ม ซัพดา กนั ดา รสั สสั สปต ตา วยี ะดามา

นาจกั ษุ ธาตุ ยาวนั นะ มโนวญิ ญานัม ธาตุ นาวดยี า นาวดยี า จาโย ยาวันนา

จาระ มรณัม นาจาระมาณมั จาโย นาทกุ ขา สมุทายา นโิ รคา มรรคา

นายะนัม นาประติ นาอะบิส สะมะยัง ตัสมานา ปรัตตติ วา โพธิสัตวานมั

ปรัชญา ปารมิตา อาสรติ ะ วิหะรัชชะ จิตตา อะวะระณะ จิตตา อะวะระณา นสั ติต วาทัต ทรัสโต

วปิ ารยิ าซา อาติกันตา นิสทรา นิรวาณัม ตรยี าวะ เรยี วะ สทิ ธะ สาวา พทุ ธา

ปรัชญา ปารมติ า อาสวิชชะ อนุตตะระ สัมยกั สัมโพธิ อะป สมั โพธา

ตัสมาต เนียทาวียา ปรชั ญา ปารมิตา มหามันทรา มหาวทิ ยะ มันทรา อนตุ ตระ มันทรา

อสมา สมาธิ มนั ทรา สัพยา ทุกขา ปรัชญา มานา สักยงั อามิ เจยี จวา

ปรัชญา ปารมติ า มุขา มนั ทรา ตะติ ตยิ ะตา คเต คเต ปาระคเต ปาระสังคเต โพธิ สวาหา

จงมสี ติ ตามรู ตามดู ผูรูกับสิง่ ทถี่ กู รู ทางอายตนะท้งั หก
วามนั เกดิ ข้ึน ต้ังอยู แลวก็ดับไป มเี หตกุ เ็ ตอ งกิดขน้ึ หมดเหตกุ ต็ องดับไป

เปน อนัตตา อนิจจงั ทุกขัง ไมใ ชเ รา ไมใ ชข อง ของเรา
สกั แตว า เปน ธรรมชาติทีว่ า งเปลา

61

ลํา นํา มู ล ฐ า น ท า ง ส า ย ก ล า ง ข อ ง น า ค า ร ชุ น

ธรรมอนั ไมม่ คี วามดบั ไมม่ คี วามเกดิ ขนึ
ไมม่ คี วามขาดสญู ไมม่ คี วามเทยี งแท้
ไมม่ คี วามหมายเพยี งอยา่ งเดยี ว ไมม่ คี วามหมายนานาประการ

ไมม่ กี ารมา ไมม่ กี ารไป
ธรรมอนั ชอื วา่ ประตตี ยสมตุ ปาท อนั ประเสรฐิ

มธี รรมอนั สงบปราศจากประปัญจธรรม
พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เป็นผทู้ รงสอนธรรมเหลา่ นี

ขา้ พเจา้ ขอน้อบนอมวนั ทาแด่
พระผมู้ วี าทะเลศิ ยงิ กวา่ วาทะทงั หลาย พระองคน์ นั

หั ว ใ จ คาํ ส อ น ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ อ ง ค

เย ธมฺมา เหตุ ปปภฺ วา เย ธมั มา เห ตุ ปป ภะ วา
เตสํ เหตํ ตถาคโต เต สงั เห ตัง ตะ ถา คะ โต
เตสฺ จ โย นโิ รโธ จ เต สญั จะ โย นิ โร โธ จะ
เอวํ วาที มหาสมโณ เอ วัง วา ที มะ หา สะ มะ โณ

ธ ร ร ม เ ห ล า ใ ด เ กิ ด แ ต เ ห ตุ
พ ร ะ ต ถ า ค ต เ จ า ท ร ง แ ส ด ง เ ห ตุ แ ห ง ธ ร ร ม เ ห ล า นั้ น

แ ล ะ ค ว า ม ดั บ แ ห ง ธ ร ร ม เ ห ล า น้ั น
พ ร ะ ม ห า ส ม ณ ะ ป ก ติ ท ร ง สั่ ง ส อ น อ ย า ง น้ี

62




Click to View FlipBook Version