รายงานวจิ ัยในชั้นเรยี น
การพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น วิชาคณติ ศาสตร์
เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหนุ ามดกี รีสอง โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ
สาหรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2
ศุภกิ า สะหมัดหานาย
ตาแหน่ง ครู
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
โรงเรยี นกาแพงวิทยา อาเภอละงู จังหวัดสตูล
สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล
ชอ่ื วจิ ยั การพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน วชิ าคณิตศาสตร์
เร่อื งการแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรสี อง โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ
ผูว้ ิจัย สาหรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2
ปที ท่ี าวจิ ัย
นางศุภกิ า สะหมัดหานาย
2564
บทคดั ยอ่
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการแยกตัว
ประกอบของพหุนามดีกรีสอง ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียน
กาแพงวิทยา จังหวัดสตูล จานวน 40 คน ได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็น
หน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองการแยกตัว
ประกอบของพหุนามดีกรีสอง จานวน 4 เล่ม คือ เล่มที่ 1 เร่ืองการแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจก
แจง เล่มท่ี 2 เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว เล่มที่ 3 เร่ืองการแยกตัว
ประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีเป็นกาลังสองสมบูรณ์ และเล่มที่ 4 เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนาม
ดีกรีสองที่เป็นผลต่างกาลังสอง แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
จานวน 4 แผน ใช้เวลาทง้ั ส้นิ 9 ช่ัวโมง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น เร่อื งการแยกตวั ประกอบ
ของพหุนามดีกรีสอง สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งเป็นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน
20 ข้อ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉล่ีย (X ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ
วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะโดยผลการวิจัย พบว่า
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั .05
สารบญั
บทท่ี หนา้
1 บทนา.............................................................................................................................. 1
ความสาคัญและความเปน็ มา ........................................................................................... 1
วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั ................................................................................................ 3
สมมติฐานการวจิ ยั .......................................................................................................... 3
ขอบเขตของการวจิ ยั ........................................................................................................ 3
กรอบแนวคดิ ของการวิจัย...................................................................................................4
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ............................................................................................................. 4
ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ .............................................................................................. 5
2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กีย่ วขอ้ ง............................................................................... ........6
แบบฝึกทักษะ ................................................................................................................. 6
แผนการจัดการเรียนรู้ ................................................................................................... 13
วิธกี ารสอน .................................................................................................................. 21
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ................................................................................................ 32
งานวิจัยที่เกย่ี วข้อง......................................................................................................... 38
3 วธิ ีการดาเนินการวิจยั .................................................................................................... 40
ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ............................................................................................ 40
เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการวิจัย ............................................................................................... 40
การสร้างเครื่องมือในการวจิ ัย......................................................................................... 41
การเก็บรวบรวมข้อมลู ................................................................................................... 42
การวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถติ ิที่ใช้ .................................................................................... 42
4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล.................................................................................................... 44
การนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ................................................................................. 44
5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ........................................................................... 46
สรปุ ผลการวจิ ัย.............................................................................................................. 46
อภปิ รายผลการวิจยั ....................................................................................................... 46
ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. 47
สารบญั (ตอ่ )
บทท่ี หนา้
บรรณานกุ รม ..................................................................................................................... 48
ภาคผนวก .......................................................................................................................... 52
ภาคผนวก ก รายนามผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่อื งมือ.............................. 53
ภาคผนวก ข แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ................................................. 55
ภาคผนวก ค แผนการจัดการเรยี นรู้......................................................................... ...63
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 ............................................................................................. 64
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 ............................................................................................. 79
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 ...........................................................................................102
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ...........................................................................................130
ประวัตยิ ่อผวู้ ิจัย............................................................................................................157
บทที่ 1
บทนา
1. ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา
ปัจจุบันสังคมไทยได้มีการเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สืบเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้า
ของวทิ ยาการ ตา่ งๆ โดยสงั คมไทยได้กลายเป็นสงั คมทใี่ ช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และเป็นสังคมของข้อมูล
ข่าวสารหรือ สังคมสารสนเทศมากขึ้น การศึกษาจึงเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ระบบการศึกษาปัจจุบันช่วยพัฒนามนุษย์ให้เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ รู้จักติดตามข้อมูล ข่าวสาร
วิทยาการใหม่ ๆ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงต่างๆท่ีเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วและหลากหลาย รู้จักคิดวิเคราะห์
ตัดสินใจ ให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ มีความคิดสร้างสรรค์และใฝ่รู้ใฝ่เรียน (กรมวิชาการ : 2544)
คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีบทบาท สาคัญย่ิงต่อการพัฒนาความคิดของมนุษย์ ทาให้มนุษย์มีความคิด
สร้างสรรค์ สามารถคิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ ระเบียบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและ
สถานการณ์ได้อยา่ งถ่ีถ้วนรอบครอบ ทาให้สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม คณิตศาสตร์เป็นเคร่ืองมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดจนศาสตร์อื่นๆ ที่
เก่ยี วขอ้ ง คณิตศาสตร์จึงมีประโยชน์ตอ่ การดารงชีวิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น นอกจากน้ีสาระวิชา
คณิตศาสตร์ ยังช่วยพัฒนามนุษย์ให้สมบูรณ์มีความสมดุลทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญาและอารมณ์
สามารถคิดเป็นทาเป็น แก้ปัญหาเป็น สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า วิชา
คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ เพราะคณิตศาสตร์ เก่ียวข้องทั้งระบบ ด้าน
พัฒนาการคดิ ของมนษุ ย์ และเกีย่ วขอ้ งกบั กิจกรรมประจาวนั ของมนุษย์อกี ดว้ ย (กรมวชิ าการ : 2546)
คณิตศาสตร์จึงเป็นศาสตร์ท่ีสาคัญย่ิงในการจัดการศึกษาและยังเป็นพื้นฐานในการศึกษาขั้น
สงู และ วทิ ยาการสาขาตา่ ง ๆ และความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ล้วนแต่อาศัย
ความร้ทู าง คณิตศาสตร์ แต่นกั เรียนสว่ นมากไมป่ ระสบผลสาเร็จในการเรียนคณิตศาสตร์ ซ่ึงส่วนใหญ่เกิด
จากครูผู้สอนท่ีใช้ วิธีการสอนแบบเก่า ซึ่งเป็นวิธีการสอนแบบบรรยายหน้าช้ันเรียนเป็นหลัก ครูเป็นผู้
กาหนดรูปแบบการเรียนโดย เน้นเน้ือหาเป็นศูนย์กลาง ไม่คานึงถึงผู้เรียน และความแตกต่างระหว่าง
บุคคล จึงทาให้ผู้เรียนไม่ให้ความสนใจใน การเรียนเท่าท่ีควรและมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชา
คณิตศาสตร์ท่ีค่อนข้างต่า เพราะการสอนในรูปแบบเดิม ทาให้นักเรียนเกิดความเบ่ือหน่าย ไม่อยากเรียน
ทั้งนี้เนื่องจากการสอนแบบบรรยายเน้นครูเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ให้แก่นักเรียนเพียงอย่างเดียว เป็น
วิธีทเ่ี อ้ือประโยชน์แก่นักเรยี นบางกลุ่มเท่าน้ัน ดังนัน้ การจัดการเรยี นรู้ควร เป็นไปในรปู แบบทีแ่ ตกต่าง
ไปจากการสอนแบบบรรยายบ้าง เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเอง เกิดความ สนใจและต้องการ
ที่จะเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น ครูจึงจาเป็นต้องพัฒนาหรือปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนเพื่อให้การ จัดการ
เรียนการสอนเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ซึง่ จะส่งผลให้นักเรยี นมีการพัฒนาเป็นไปตามจดุ ประสงค์ที่
กาหนดไว้และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ที่พัฒนาเพิ่มข้ึน ที่ผู้วิจัยนามา
ประกอบการจดั การเรยี นรู้ดังนี้
1 วิธีการสอนแบบโมเดลซิปปา (CIPPA Model) เป็นวิธีการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเป็น
ผู้สรา้ งความร้ดู ้วยตนเอง และตอ้ งพึ่งการมีปฏสิ มั พันธ์กบั เพ่อื น ๆ บคุ คลอ่นื ๆ และสงิ่ แวดล้อมรอบตัว
รวมท้ังตอ้ งอาศัยทักษะกระบวนการต่าง ๆ จานวนมาก เป็นเคร่ืองมือในการสร้างความรู้ และจะทาให้
ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ได้ดี เข้าใจลึกซึ้งและจะอยู่คงทนมากขึน้ ประกอบดว้ ยข้ันตอนท่ีสาคัญได้แก่ ขั้น
ทบทวนความรู้เดิม ข้ันแสวงหาความรู้ใหม่ ข้ันเช่ือมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ข้ันแลกเปล่ียน
ความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม ข้ันสรุปและจัดระเบียบความรู้ ขั้นการแสดงผลงาน ขั้นประยุกต์ใช้
ความรู้
2 วธิ ีการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5 ขน้ั (Inquiry Method : 5E) เปน็ วิธีสอนท่สี ่งเสริม
ให้นักเรยี นค้นควา้ หาความรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ใชใ้ นการแก้ปัญหา และมีครู
เป็นผู้ช้ีแนะแนวทางให้แก่นักเรียน ประกอบด้วย ขั้นตอนที่สาคัญได้แก่ ข้ันกระตุ้นความสนใจ
ข้ันสารวจค้นหา ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป ขน้ั ขยายความรู้ และข้ันประเมนิ ความรู้
3 วิธีการสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) เป็นวิธีการสอนท่ีมีกระบวนการจาก
สว่ นย่อยไปหาส่วนใหญ่ หรือกฎเกณฑ์ หลักการ ข้อเท็จจรงิ หรือข้อสรุป โดยการนาเอาตัวอย่างขอ้ มูล
จากเหตุการณ์ จากสถานการณ์หรือจากปรากฏการณ์ท่ีมีหลักการแฝงอยู่ นามาให้ผู้เรียน
ศกึ ษา สังเกต ทดลอง เปรียบเทียบหรือวิเคราะห์จนสามารถสรุปหลักการหรือกฎเกณฑ์ได้ด้วยตนเอง
มีข้นั ตอนสาคัญ ไดแ้ ก่ ขัน้ เตรยี ม/ทบทวนความรเู้ ดิม ขั้นสอน ขัน้ เปรยี บเทยี บ/รวบรวม
ขั้นสรปุ และข้นั นาไปใช้
4 วิธีการสอนแบบกระบวนการปฏิบัติ เป็นวิธีการสอนที่ครเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นลง
มือปฏิบัติหรือทาการทดลองค้นหาความรู้ด้วยตนเอง เสริมสร้างความคิดในการหาเหตุผล ทาให้เกิด
ประสบการณ์ตรง หรือเป็นการเรียนรู้จากสภาพจริง ผู้เรียนเป็นผู้กระทาเพ่ือพิสูจน์หรือค้นหาความรู้
ด้วยตนเอง มีข้ันตอนสาคัญ ได้แก่ ขั้นสังเกตรับรู้ ขั้นทาตามแบบ ข้ันทาเองโดยไม่มีแบบ ข้ันฝึกทา
ใหช้ านาญ
ผวู้ จิ ัยในฐานะผู้สอนในรายวิชาคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน จงึ เห็นความจาเป็นถึงความสาคัญใน
การพัฒนารปู แบบการเรยี นการสอนรายวิชาคณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ทกั ษะกระบวนการ
คดิ วิเคราะห์ การให้เหตุผล การแก้ปัญหาอย่างมีระเบียบ นาความรู้ไปประยุกต์ใชร้ ่วมกับศาสตร์อ่ืนๆ
ใชแ้ ก้ปัญหาในชีวติ ประจาวนั เกดิ เจตคติท่ดี ีและมีความสุขในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
ดังน้ันผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ในรายวิชา
คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนกาแพงวิทยา อ.ละงู จ.สตูล ทั้งนี้เพ่ือนาผลวิจัยดังกล่าวมาใช้เป็นแนวทาง
ในการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนวิชาคณิตศาสตร์ และเพื่อให้นักเรยี นสามารถพัฒนาตนเอง เกิด
ทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์และสามารถต่อยอดองค์ความรู้ในระดับสูงขน้ึ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ
2. วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 4
เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีได้รับการจัดการ
เรียนรู้โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ
3. สมมตฐิ านการวิจัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน4 เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุ
นามดีกรีสอง นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 หลังเรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน
4. ขอบเขตการวิจัย
การวิจัยในครง้ั น้ผี ูว้ จิ ัยได้กาหนดขอบเขตการวจิ ยั ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้
1. ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง
1.1 ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาช้ันปีที่ 2 ท่ีกาลังศึกษาอยู่ในภาค
เรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นกาแพงวทิ ยา อ.ละงู จ.สตลู จานวน 4 ห้องเรียน ได้แก่ ม.2/2 ,
ม.2/3 , ม.2/4 และ ม.2/7 รวมทง้ั ส้ิน 162 คน
1.2 กลมุ่ ตัวอยา่ งทีใ่ ชใ้ นการวิจัย นักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 ท่กี าลังศึกษาอยู่
ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนกาแพงวิทยา อ.ละงู จ.สตูล จานวน 40 คน ท่ีได้
จากการเลือกกลุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
2. ตัวแปรท่ีศกึ ษา ตัวแปรที่ใช้ในการวจิ ยั ครั้งน้ีประกอบด้วยตวั แปร 2 ประเภท
2.1 ตวั แปรต้น คอื แบบฝกึ ทกั ษะเรื่องการแยกตัวประกอบของพหนุ าม
2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน4 เรื่องการแยกตัว
ประกอบของพหุนามดีกรสี อง
3. ระยะเวลาท่ใี ช้ในการวจิ ยั
การวิจัยครัง้ นี้ผู้วจิ ัยได้ดาเนินการในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 ใช้เวลาทั้งหมด 9 คาบ
คาบละ 50 นาที
5. กรอบแนวคดิ ของการวิจยั
ในการศึกษาวจิ ยั ครงั้ นี้ผวู้ ิจยั ได้กาหนดกรอบแนวคดิ ในการวิจยั ดงั นี้
ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการแยกตัว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน4
ประกอบของพหนุ ามดีกรีสอง เร่อื ง การแยกตัวประกอบของพหนุ ามดีกรีสอง
ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย
6. นิยามศัพท์เฉพาะ
1. แบบฝึกทักษะ หมายถึง สื่อการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม เร่ืองการแยก
ตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เพ่ือให้
นักเรียนใช้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถ โดยมีองค์ประกอบ ดังนี้ คาช้ีแจง จุดประสงค์การ
เรยี นรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน สรุปความรู้ แบบฝกึ ทักษะ เกณฑ์การให้คะแนน และแบบทดสอบหลัง
เรยี น โดยผวู้ ิจยั แบง่ เนอื้ หาย่อยออกเป็น 4 เลม่ ดงั น้ี
เล่มที่ 1 เรอื่ งการแยกตวั ประกอบโดยใช้สมบตั ิการแจกแจง
เล่มท่ี 2 เร่ืองการแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รสี องตวั แปรเดียว
เลม่ ที่ 3 เรือ่ งการแยกตัวประกอบของพหนุ ามดกี รสี องท่ีเป็นกาลงั สองสมบรู ณ์
เล่มที่4 เรอื่ งการแยกตัวประกอบของพหนุ ามดีกรีสองทเี่ ปน็ ผลต่างกาลงั สอง
2. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น หมายถงึ ความสามารถในการเรยี นวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน4
เร่ืองการแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2/3 โดยวัดจากการทา
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน4 เรอ่ื งการแตัวประกอบของพหุนาม
ดกี รีสอง ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนกาแพงวิทยา
จงั หวัดสตูล ซ่งึ เป็นแบบเลือกตอบ 4 ตวั เลอื ก จานวน 20 ข้อ
3. แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่ผู้วิจัยได้ดาเนินการจัดเตรียมไว้
ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย องค์ประกอบดังนี้ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ จุดประสงค์
การเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน4 เร่ือง
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยนาวิธีการสอนที่
หลากหลาย มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วชิ าคณิตศาสตร์ ให้เหมาะสมกับเน้ือหาย่อย
ในหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรอ่ื งการแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รีสอง
7. ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ บั
ด้านความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจในวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน4 มากข้ึนโดยมีผลสัมฤทธ์ิ เรื่องการ
แยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รีสองที่ดีขนึ้
ด้านการนาไปใช้
ผลวิจัยที่ได้จะเป็นแนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ซ่ึง
ครผู ู้สอนสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ในการเรียนการสอน และทาวิจัยเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิของ
ผู้เรียน
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองการแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้แบบฝึกทักษะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยได้ศึกษา
เอกสารแนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง ตามลาดบั ดงั น้ี
1. แบบฝึกทกั ษะ
1.1 ความหมายและลักษณะของแบบฝึกทกั ษะท่ดี ี
1.2 สว่ นประกอบของแบบฝึกทักษะ
1.3 หลกั จิตวทิ ยาในการสร้างแบบฝกึ ทกั ษะ
1.4 ขนั้ ตอนการสรา้ งและการหาประสทิ ธิภาพของแบบฝึกทักษะ
1.5 ประโยชนข์ องแบบฝกึ ทกั ษะ
2. แผนการจัดการเรยี นรู้
2.1 ความหมายและความสาคัญของแผนการจัดการเรียนรู้
2.2 รปู แบบและส่วนประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้
2.3 ขั้นตอนการเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้
3. วิธกี ารสอน
3.1 วิธีการสอนแบบโมเดลซปิ ปา (CIPPA Model)
3.2 วธิ ีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ข้ัน (Inquiry Method : 5E)
3.3 วธิ ีการสอนแบบอปุ นยั (Inductive Method )
3.4 วธิ ีการสอนแบบกระบวนการปฏบิ ตั ิ
4. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
4.1 ความหมายของผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
4.2 องค์ประกอบที่มีอิทธิพลตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
4.3 การวัดผลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
5. งานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
1. แบบฝึกทกั ษะ
1.1 ความหมายและลักษณะของแบบฝกึ ทกั ษะทดี่ ี
คาว่า “แบบฝึกเสริมทักษะ” หรือ “แบบฝึก” มีความหมายเดียวกัน ซ่ึงบางคร้ัง
จะเรียกว่าแบบฝึก บางคร้ังเรียกว่าแบบฝึกเสริมทักษะ เพราะเป็นนวัตกรรมที่ครูนามาใช้ในการฝึก
หรือเสริมทักษะของผู้เรียน เพื่อให้เกิดรูปธรรมในการเรียนการสอนและเพิ่มประสิทธิภาพของการ
เรยี นใหส้ ูงยิ่งขน้ึ มนี กั การศกึ ษาหลายทา่ นได้ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะไว้ดงั น้ี
อนงค์คิริ วิชาลัย (2549 : 5) ได้ให้ความหมายและความสาคัญของแบบฝึกว่าเป็นวิธี
สอนที่สนุกอีกวิธีหนึ่ง เพราะผู้เรียนมีโอกาสนาความรู้ที่เรียนมาแล้วฝึกให้เกิดความเข้ าใจ
ที่กว้างขวางยง่ิ ขนึ้
ปริญญา ผลิเจริญสุข (2550 : 5) กล่าวว่า แบบฝึกทักษะ เป็นส่ือการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น
เพื่อให้นักเรียนใช้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถ เม่ือศึกษาแต่ละชุดจบแล้วจะมีการทดสอบ
ประเมินผลกอ่ นศึกษาแบบฝกึ ทักษะชุดตอ่ ไป
ถวัลย์ มาศจรัสและคณะ (2550 : 5) กล่าวว่า แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะ เป็นกิจพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้เกิดการเรยี นรู้ได้อย่างเหมาะสม มีความหลากหลาย และปริมาณเพียงพอท่ีสามารถ
ตรวจสอบและพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ สามารถนาผ้เู รียนส่กู ารสรุปความคิด
รวบยอดและหลักการสาคญั ของสาระการเรียนรู้ รวมทั้งทาให้ผู้เรยี นสามารถตรวจสอบความเข้าใจใน
บทเรยี นดว้ ยตนเองได้
ปราณี จินฤทธิ์ (2552 : 32) กล่าวว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง งานที่ครูมอบหมายให้
นักเรียนทาด้วยตนเอง ภายหลังจากได้เรียนบทเรียน เพื่อเป็นการทบทวนและฝึกทักษะในเรื่อง
ที่เรยี นผ่านมาแลว้
สรุปได้วา่ แบบฝึกทักษะ หมายถงึ สื่อการเรียนการสอนอย่างหน่ึงที่ช่วยให้ผู้เรียนเกดิ การ
เรียนรู้ บรรลุตามวัตถุประสงค์จากการปฏิบัติด้วยตนเองภายหลังจากการเรียนเน้ือหาบางส่วน ได้
อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ แบบฝึกเป็นส่ือชนิดหน่ึงที่ครูสร้างขึ้น ใช้ประกอบการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ สร้างความเข้าใจ เสริมทักษะให้
นักเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิดความชานาญ เกิดทักษะ สามารถจดจาเนื้อหาได้อย่างแม่นยามากขึ้น
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เป็นเอกสารท่ีผู้สอนสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อการสอนในการช่วยเสริมให้
ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาท่ีเรียนมากขึ้น และสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปใช้อย่างถูกต้อง
และเกิดความเขา้ ใจย่งิ ขึน้
ลักษณะของแบบฝึกทกั ษะท่ดี ี
นักการศกึ ษาไดอ้ ธบิ ายลกั ษณะของแบบฝึกทักษะท่ีดีไวด้ งั น้ี
ถวัลย์ มาศจรัสและคณะ (2550 : 21) ได้กล่าวถึงแบบฝึกหัดและแบบฝึกเสริม
ทักษะท่ดี ีต้องมีลกั ษณะ ดังนี้
1. จดุ ประสงค์ต้องชัดเจนสอดคล้องกับการพฒั นาตามสาระการเรียนรู้และ
กระบวนการเรยี นรู้ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
2. เนื้อหาถกู ต้องตามหลักวชิ า ใช้ภาษาเหมาะสม มคี าอธบิ ายและคาส่งั ชดั เจน
งา่ ยต่อการปฏบิ ตั ติ าม สามารถพฒั นาทักษะการเรียนรู้ นาผเู้ รียนสู่การสรปุ ความคิดรวบยอดและ
หลกั การสาคญั ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นไปตามลาดบั ข้ันตอนการเรียนรู้สอดคล้องกับวธิ ีการ
เรียนรแู้ ละความแตกต่างระหวา่ งบุคคล มีคาถามและกิจกรรมท่ที ้าทาย สง่ เสรมิ ทกั ษะกระบวนการ
เรียนรขู้ องธรรมชาติวชิ า มีกลยุทธ์การนาเสนอและการตัง้ คาถามทชี่ ัดเจน นา่ สนใจ ปฏบิ ัติได้
สามารถให้ข้อมลู ย้อนกลบั เพื่อปรับปรุงการเรียนรู้ของผเู้ รียนได้อย่างต่อเน่ือง
ปราณี จิณฤทธิ์ (2552 : 39-40) กล่าวถึง ลกั ษณะการสร้างแบบฝกึ มดี งั น้ี
1. แบบฝึกที่สร้างเกี่ยวข้องกับบทเรียนท่ีเรียนผ่านมาแล้ว มีเน้ือหาสรุปย่อหรือ
หลกั เกณฑใ์ ห้ผเู้ รยี นไดศ้ ึกษาทบทวน
2. แบบฝึกควรเป็นเร่ืองนา่ สนใจ และท้าทายความสามารถผฝู้ กึ
3. แบบฝึกควรเรียงจากง่ายไปยาก
4. จานวนแบบฝึกไม่ต้องยาก แต่ให้ฝึกบ่อย ๆโดยการใช้รูปแบบการฝึกที่
หลากหลาย มรี ปู ภาพประกอบแบบฝึก
5. แบบฝึกตอ้ งมคี วามถูกต้อง ห้ามผิดพลาด
6. ใชเ้ วลาการฝึกใหเ้ หมาะสม คือ ไม่น้อยและมากเกนิ ไป
สมจติ ร ศรีเอย่ี ม (2553 : 14) กลา่ วว่า ลักษณะของแบบฝึกทักษะท่ีดีควรเหมาะสม
กับผู้เรียนในด้านวัย ความสามารถ และความสนใจ ซึ่งมีคาชี้แจงและตัวอย่างส้ัน ๆ มีหลายรูปแบบ
ใชเ้ วลาคิดไม่นานเกนิ ไป เพื่อช่วยให้ผ้เู รียนเข้าใจชัดเจน
สรุปได้ว่า ลักษณะของแบบฝึกทักษะท่ีดีควรเหมาะกับวัย และความสามารถของ
ผู้เรียน มีคาอธิบายการใช้อย่างชัดเจน เข้าใจง่าย ใช้ภาษาที่เหมาะส ม ใช้เวลาไม่นานเกินไป
มีรูปแบบที่น่าสนใจ สีสันการนาเสนอเร้าความสนใจ ท้าทายให้นักเรียนอยากแสดงความสามารถและ
สามารถศกึ ษาได้ดว้ ยตนเอง
1.2 สว่ นประกอบของแบบฝกึ ทักษะ
นักการศึกษาไดอ้ ธบิ ายส่วนประกอบของแบบฝึกทักษะไว้ดงั นี้
สุนันทา สุนทรประเสริฐ (2544 : 11-12) กล่าวถึง ส่วนประกอบของแบบฝึก
หรือแบบฝกึ หดั ประกอบดว้ ยสงิ่ ต่อไปนี้
1. คู่มือการใช้แบบฝึก เป็นเอกสารสาคัญประกอบการใช้แบบฝึกว่าใช้เพื่ออะไร มี
การใช้อย่างไร เช่น ใช้เป็นงานฝึกท้ายแบบเรียน ใช้เป็นการบ้าน หรือใช้สอนซ่อมเสริม
ควรประกอบด้วยสาระดังน้ี
1.1 สว่ นประกอบแบบฝึก ซงึ่ ระบวุ า่ แบบฝกึ ชดุ นีม้ ีแบบฝึกท้งั หมดกชี่ ดุ
อะไรบ้าง มีส่วนประกอบอ่ืน ๆ หรือไม่ เชน่ แบบทดสอบหรือแบบบนั ทึกการประเมนิ
1.2 สิ่งที่ครูผู้สอน หรือนักเรียนต้องเตรียม (ถ้ามี) จะเป็นการบอกให้ครูผู้สอน
หรือนักเรียนเตรยี มตัวล่วงหนา้ ใหพ้ ร้อมก่อนเรยี น
1.3 จุดประสงคใ์ นการใช้แบบฝกึ
1.4 ขั้นตอนในการใช้แบบฝึก บอกตามลาดับการใช้ อาจเขียนในรูปแนวการ
สอนหรอื แผนการสอนจะชดั เจนยง่ิ ขึ้น
1.5 เฉลยในแบบฝกึ แต่ละชุด
2. แบบฝึกเป็นสื่อการสอนที่สร้างขึ้นเพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ ให้เกิดการเรียนรู้
ทถ่ี าวร ควรมอี งค์ประกอบดังนี้
2.1 ชอ่ื ชดุ ฝกึ ในแตล่ ะชุดยอ่ ย
2.2 จดุ ประสงค์
2.3 คาสงั่
2.4 ตัวอยา่ ง
2.5 ชุดฝึก
2.6 ภาพประกอบ
2.7 แบบทดสอบก่อน หลังเรยี น
2.8 แบบประเมนิ บันทึกผลหลังใช้
สุวิทย์ มูลคา และสนุ ันทา สนุ ทรประเสริฐ (2550 : 61-62) ไดก้ ล่าวถึงสว่ นประกอบของ
แบบฝกึ ไว้ว่า แบบฝึกควรประกอบด้วยส่วนสาคญั ตา่ ง ๆ ดังนี้
1. คมู่ ือการใชแ้ บบฝกึ เปน็ เอกสารสาคัญประกอบการใช้แบบฝึกวา่ ใช้เพ่ืออะไร
และมีวธิ ีการใชอ้ ย่างไร เช่น ใช้เป็นงานฝึกทา้ ยบทเรียน ใชเ้ ปน็ การบา้ น หรอื ใช้สอนซอ่ มเสรมิ
ควรประกอบดว้ ย
1.1 สว่ นประกอบของแบบฝกึ จะระบุว่าในแบบฝึกชดุ น้ีมีแบบฝึกทงั้ หมดกีช่ ดุ
อะไรบา้ ง และมีส่วนประกอบอ่นื ๆ หรือไม่ เชน่ แบบทดสอบ หรือแบบบนั ทึกผลการประเมนิ
1.2 สิ่งท่ีครูหรือนักเรยี นต้องเตรยี ม (ถา้ มี) จะเป็นการบอกใหค้ รหู รือนักเรียนเตรยี ม
ตวั ให้พร้อมลว่ งหน้าก่อนเรียน
1.3 จุดประสงค์ในการใชแ้ บบฝกึ
1.4 ข้นั ตอนในการใช้ บอกข้อตามลาดบั การใช้ และอาจเขียนในรูปของแนวการ
สอนหรือแผนการสอนจะชัดเจนยงิ่ ข้นึ
1.5 เฉลยแบบฝึกในแต่ละชุด
2. แบบฝึก เปน็ ส่ือทส่ี ร้างขึน้ เพ่ือให้ผู้เรยี นฝกึ ทักษะ เพ่อื ให้เกิดการเรียนรูท้ ี่ถาวร
ควรมอี งค์ประกอบ ดังนี้
2.1 ชื่อชดุ ฝึกในแตล่ ะชุดย่อย
2.2 จดุ ประสงค์
2.3 คาสง่ั
2.4 ตวั อยา่ ง
2.5 ชุดฝึก
2.6 ภาพประกอบ
2.7 ขอ้ ทดสอบก่อนและหลงั เรยี น
2.8 แบบประเมนิ บันทกึ ผลการใช้
1.3 หลักจติ วทิ ยาการสร้างแบบฝึกทักษะ
ในการสร้างแบบฝึกทักษะนั้น จาเป็นจะต้องคานึงถึงองค์ประกอบของการสร้าง
ด้วย เพื่อจะได้แบบฝึกทักษะที่ดีมีคุณภาพ และสิ่งหน่ึงท่ีจะขาดไม่ได้ในการสร้างแบบฝึกทักษะ คือ
หลักจิตวิทยา เพราะการเรียนการสอนจะได้ผลดีต้องใช้แบบฝึกทักษะที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
แนวทฤษฎีและจิตวิทยาการเรียนรู้ท่ีเป็นพื้นฐานในการสร้างแบบฝึกทักษะ มีความสอดคล้องกับ
ทฤษฎกี ารเรยี นรูท้ ่ีสาคญั ๆ ดงั นี้
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2550 : 99) กล่าวถึงทฤษฎีทางจิตวิทยา
ทีเ่ กยี่ วกับการสร้างแบบฝกึ ท่ีสาคัญ 2 ทฤษฎี คอื
1. ทฤษฎีการเช่ือมโยง (Connectioned Thoery) ของธอรน์ ไดค์ (Thorndike) เป็น
การเชื่อมโยงระหว่างสิง่ เร้า กับการตอบสนองของผเู้ รียนในแต่ละชั้นอยา่ งต่อเน่ือง โดยอาศยั กฎการ
เรยี นรู้ 3 กฎ คือ
1.1 กฎแหง่ ความพร้อม (Law of readiness) กฎนกี้ ลา่ วถงึ สภาพความพร้อม
ของผเู้ รียนท้ังทางด้านร่างกายและจติ ใจถา้ ร่างกาย เกดิ ความพร้อมแลว้ ได้กระทายอ่ มเกิดความพึง
พอใจ แต่ถ้ายังไม่พรอ้ มทจี่ ะทาแลว้ ถกู บงั คบั ให้กระทาจะทาให้เกดิ ความไมพ่ ึงพอใจ
1.2 กฎแหง่ การฝึกหัด (Law of exercise) กฎนกี้ ล่าวถงึ การสร้างความม่นั คง
ของการเช่ือมโยงระหว่างสงิ่ เร้ากับการตอบสนองทีถ่ ูกต้อง โดยการฝกึ หัดกระทาซา้ บ่อยๆ ยอ่ มทาให้
เกดิ การเรียนรู้ได้นานและคงทนถาวร
1.3 กฎแห่งผลท่พี อใจ (Law of effect) กฎนี้กล่าวถึงผลที่ไดร้ บั เมื่อแสดง
พฤติกรรมการเรยี นรู้แลว้ ว่าถา้ ไดร้ ับผลทพี่ ึงพอใจ ย่อมอยากจะเรยี นรู้อีกต่อไป แต่ถ้าไดร้ ับผลท่ี
ไมพ่ ึงพอใจก็ไม่อยากจะเรยี นรู้ หรือเกดิ ความเบ่ือหนา่ ย
2. ทฤษฎีของสกนิ เนอร์
สกินเนอร์ (B.F. Skinner) สนใจศึกษาเร่ืองราวพฤติกรรมโดยอาศัยพ้ืนฐานทาง
ธรรมชาตแิ ละลักษณะของมนษุ ย์ ซึง่ มีสว่ นท่ีเป็นพื้นฐานในการสร้างแบบฝึกเสรมิ ตอ่ จากทฤษฎี S-R
ของธอรน์ ไดค์ ดังนี้
2.1 การเสรมิ แรง (Reinforcement) เปน็ ส่งิ เร้าทีท่ าให้อัตราการแสดงออกของ
พฤติกรรมเปลีย่ นแปลงไปในทางทต่ี ้องการและพฤติกรรมบางอย่างออกไปได้
2.2 ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ผเู้ รยี นมีความแตกต่าง มีโอกาสแสวงหา
ความรไู้ ด้ดว้ ยตนเองจะช้าหรอื เรว็ ตามความสามารถของแตล่ ะคน
สุวิทย์ มูลคา และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550 : 54-55) กล่าวถึงความสัมพันธ์ของ
จติ วทิ ยาการเรยี นรู้กับการสร้างแบบฝกึ ไว้อยา่ งน่าสนใจ ดังน้ี
1. ทฤษฎกี ารลองผดิ ลองถูกของ ธอร์นไดค์ ซ่งึ ไดส้ รุปเปน็ กฎเกณฑก์ ารเรียนรู้
3 ประการ ได้แก่
1.1 กฎความพรอ้ ม หมายถงึ การเรียนร้จู ะเกดิ ขน้ึ เมือ่ บุคคลพรอ้ มท่ีจะกระทา
1.2 กฎผลทไ่ี ด้รบั หมายถงึ การเรียนรจู้ ะเกดิ ขึน้ เพราะบุคคลกระทาซ้า
และยิ่งทามากความชานาญจะเกดิ ข้นึ ไดง้ ่าย
1.3 กฎการฝกึ หัด หมายถึง การฝึกหดั ให้บุคคลทากิจกรรมต่างๆ นน้ั ผู้ฝึกจะต้อง
ควบคมุ และจดั สภาพการ ให้สอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ของตนเอง บคุ คลจะถกู กาหนดลักษณะ
พฤติกรรมที่แสดงออก
แบบฝึกทักษะจะมีประสิทธิภาพ น่าเชื่อถอื ถูกต้องตามจุดประสงค์ของการฝึกได้น้ันต้อง
อาศยั หลกั จติ วิทยาทคี่ วรนามาใช้ในการสรา้ งแบบฝกึ ทักษะ ดังนี้
กลิ่นพะยอม สุระคน (2544 : 60-61) กล่าวว่า หลักจิตวิทยาในการสร้างแบบฝึกน้ัน
ตอ้ งคานึงถึงการนาสิง่ ท่ีกลุ่มเปา้ หมายพอใจมาเป็นสง่ิ เร้า เพอื่ ให้เกิดการตอบสนองและเกิดการเรียนรู้
โดยการฝึกทากิจกรรมซ้า ๆ อยเู่ สมอจึงจะเกิดความแมน่ ยาและทักษะขึ้น หลังจากฝกึ ทากิจกรรมแล้ว
ต้องให้ผู้เรียนทราบถึงผลแห่งการกระทาของตนด้วย นอกจากน้ีการเรียงเน้ือหาจากง่าย ไปยาก หรือ
นาภาพมาเป็นสงิ่ เรา้ ความสนใจ นอกจากจะคานงึ ถึงส่ิงเหล่านี้แล้ว ควรคานึงถึงความแตกต่างระหวา่ ง
บคุ คลของผูเ้ รียนดว้ ย
สมจิตร ศรีเอี่ยม (2553 : 17) กล่าวว่า หลักจติ วิทยาในการสร้างแบบฝึกทักษะท่ีดี ต้อง
ยึดหลักจิตวทิ ยาในการสร้างตอ้ งตรงตามความตอ้ งการของผู้เรยี นไม่ว่าจะเป็นแรงจูงใจ การฝึกซ้า การ
ทดลองจากสิ่งใกล้ตัว และความแตกต่างระหว่างบุคคล เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะ
ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
สรุปได้ว่า ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการสร้างแบบฝึกทักษะที่ดี น่าสนใจ
เหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน และสอดคล้องกับหลักทฤษฎีการเรียนรู้ของผู้เรียน
แต่ละวัย จะต้องนาหลักจิตวิทยามาใช้ จะทาให้การเรียนการสอนคณิตศาสตร์เป็นไปอย่างสนุกสนาน
และมปี ระสทิ ธิภาพ แบบฝึกทักษะเปน็ สิ่งทส่ี าคัญของการจดั การเรียนรู้ นอกจากจะชว่ ยให้ผเู้ รียนเกิด
ทักษะความชานาญแล้ว ยังช่วยให้สามารถจาบทเรียนนั้นได้นาน แบบฝึกทักษะท่ีดี และมี
ประสิทธิภาพน้นั ตอ้ งมคี วามหมายและมีคณุ คา่ ต่อผูเ้ รยี น การวิจัยคร้งั นี้ ผวู้ จิ ยั จัดทาแบบฝึกทักษะวชิ า
คณิตศาสตร์ โดยได้คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน การจัดเรียงลาดับของเน้ือหา
จากง่ายไปยาก สีสันเร้าความสนใจของนักเรียน การจูงใจผู้เรียนเพ่ือให้เกิดความต้องการเรียนรู้
หลกั การฝึกซา้ ๆ เพอื่ ให้เกิดทกั ษะและความแม่นยา และพัฒนาทกั ษะไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
1.4 ขนั้ ตอนการสรา้ งและการหาประสทิ ธิภาพของแบบฝกึ ทกั ษะ
นกั การศึกษาได้กลา่ วถงึ ขน้ั ตอนการสรา้ งแบบฝึกทักษะไวด้ งั นี้
สุนันทา สุนทรประเสริฐ (2544 : 14) กล่าวว่าขั้นตอนการสร้างแบบฝึกทักษะ
จะคล้ายคลึงกับการสร้างนวตั กรรมทางการศึกษาประเภทอน่ื ๆ ซ่งึ มีรายละเอยี ด ดงั นี้
1. วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2. ศึกษารายละเอียดในหลักสูตร เพ่ือวิเคราะห์เน้ือหา จุดประสงค์ และกิจกรรม
การเรียนรู้
3. พจิ ารณาแนวทางแกป้ ัญหาที่เกิดข้นึ จากขอ้ 1. โดยการสร้างแบบฝึกทักษะ
และเลือกเน้อื หาในสว่ นท่ีจะสร้างแบบฝึกนัน้ วา่ จะทาเรื่องใดบา้ ง กาหนดเป็นโครงเร่ืองไว้
4. ศกึ ษารูปแบบในการสร้างแบบฝึกจากเอกสารตา่ ง ๆ
5. ออกแบบชดุ ฝกึ แตล่ ะชดุ ใหม้ รี ูปแบบหลากหลายนา่ สนใจ
6. ลงมือสร้างแบบฝึกในแต่ละชุด พร้อมท้ังข้อทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนให้
สอดคล้องกบั เนอื้ หา และจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
7. ส่งใหผ้ ู้เช่ยี วชาญตรวจสอบ
8. นาไปทดลองใช้ แล้วบนั ทกึ ผลเพ่ือนามาปรับปรุงแกไ้ ขสว่ นทีบ่ กพร่อง 9.
ปรับปรุงจนมปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ท่ตี ัง้ ไว้
10. นาไปใช้จริงและเผยแพร่ต่อไป
ถวัลย์ มาศจรัส และคณะ (2550 : 20) ได้กล่าวถึง ข้ันตอนการสร้างแบบฝึกเสริม
ทกั ษะวา่ ขน้ั ตอนงา่ ย ๆ ของการสร้างและจดั ทาแบบฝึกหดั หรอื แบบฝึกเสริมทกั ษะมดี ังน้ี
1. ศึกษาเนอื้ หาสาระสาหรบั การจดั ทาแบบฝึกหัด หรือแบบฝึกเสริมทักษะ
2. วิเคราะหเ์ น้อื หาสาระโดยละเอียด เพอื่ กาหนดจุดประสงค์ในการจดั ทา
3. ออกแบบการจดั ทาแบบฝกึ หัด แบบฝกึ เสริมทักษะตามจดุ ประสงค์
4. สร้างแบบฝึกหัด แบบฝึกเสริมทกั ษะและสว่ นประกอบอนื่ ๆ เช่น แบบทดสอบ
ก่อนฝกึ บตั รคาสั่ง ขน้ั ตอนกิจกรรมท่ผี ูเ้ รยี นต้องปฏิบัติ แบบทดสอบหลงั ฝึก
5. นาแบบฝกึ หัด แบบฝกึ เสริมทักษะไปใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
6. ปรับปรงุ พฒั นาให้สมบรู ณ์
จากการศึกษาขั้นตอนการสร้างแบบฝึกทักษะข้างต้น ผู้วิจัยได้สร้างแบบฝึกทักษะ
โดยมีข้ันตอนการสร้างโดยสรุปดังนี้ 1) ศึกษาเอกสารและรายละเอียดเก่ียวกับหลักการและวิธีการ
สร้างแบบฝึกทักษะ 2) ศึกษาหลักสูตรท่ีเก่ียวข้อง 3) กาหนดโครงสร้างของแบบฝึกทักษะ 4) สร้าง
แบบฝึกทักษะและหาประสิทธภิ าพแบบฝึกทักษะ และ 5) ปรับปรุงแก้ไข จดั ทา รูปเล่ม คาชแี้ จง คู่มือ
การใช้ พรอ้ มนาไปใชจ้ ริง
1.5 ประโยชน์ของแบบฝกึ ทกั ษะ
นกั การศึกษาไดก้ ลา่ วถงึ ประโยชน์ของแบบฝกึ ทกั ษะไว้ดงั น้ี
วิไลลักษณ์ ลาจันทึก (2548 : 18) กล่าวว่า หากผู้สอนสร้างบทเรียนที่มีแบบฝึก
ทักษะที่มีประโยชน์ มีความหมาย ผู้เรียนสามารถเรียนได้เร็ว เกิดการเรียนรู้ท่ีดีข้ึนและช่วยให้การจา
บทเรยี นไดง้ า่ ยยิ่งขึน้
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2550 : 70-73) กลา่ วถึงประโยชน์ของ
แบบฝึกทกั ษะ ดังนี้
1. เปน็ ส่วนเพ่มิ เตมิ หรือเสริมหนงั สอื เรียน
2. ช่วยเสริมทักษะการใช้ภาษาให้ดีขึ้น แต่ทั้งนี้จะต้องอาศัยการส่งเสริมและความ
เอาใจใส่จากครูผสู้ อนด้วย
3. ช่วยในเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคล เพราะการที่ให้นักเรียนทาแบบฝึก
ท่ีเหมาะสมกับความสามารถของเขาจะช่วยใหน้ กั เรียนประสบความสาเรจ็
4. แบบฝึกช่วยเสรมิ ใหท้ ักษะทางภาษาคงทน
5. การให้นักเรยี นทาแบบฝกึ ช่วยให้ครูมองเหน็ จดุ เด่นหรือจุดบกพร่องของ
นกั เรยี นได้ชัดเจน ซึง่ จะชว่ ยให้ครดู าเนินการปรับปรุง แก้ไขปัญหานั้น ๆ ได้ทันท่วงที
6. แบบฝึกทจ่ี ดั พิมพ์ไวเ้ รยี บรอ้ ยแลว้ จะช่วยใหค้ รปู ระหยดั แรงงานและเวลาในการ
ทจี่ ะเตรยี มการสรา้ งแบบฝึก นกั เรยี นกไ็ ม่ต้องเสียเวลาในการคดั ลอกแบบฝึก ทาให้มเี วลาและโอกาส
ไดฝ้ ึกฝนมากขึ้น
สุวิทย์ มลู คา และสุนันทา สุนทรประเสรฐิ (2550 : 53) กล่าวถงึ ประโยชนข์ อง
แบบฝึกไวห้ ลายประการ ดังนี้
1. ทาใหเ้ ขา้ ใจบทเรียนดีข้ึนเพราะเป็นเครื่องอานวยประโยชนใ์ นการเรยี นรู้
2. ทาใหค้ รทู ราบความเขา้ ใจของนักเรยี นทม่ี ีตอ่ บทเรียน
3. ฝกึ ใหเ้ ด็กมคี วามเชอื่ ม่ันและสามารถประเมินผลของตนเองได้
4. ฝกึ ใหเ้ ด็กทางานตามลาพัง โดยมคี วามรบั ผิดชอบในงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
5. ชว่ ยลดภาระครู
6. ชว่ ยให้เด็กฝึกฝนไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี
7. ช่วยพัฒนาตามความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
8. ชว่ ยเสรมิ ใหท้ ักษะคงทน ซึ่งลกั ษณะการฝกึ เพ่อื ช่วยใหเ้ กิดผลดงั กล่าวนนั้ ไดแ้ ก่
ฝึกทันทหี ลังจากทเี่ ด็กไดเ้ รยี นรู้ในเรือ่ งนน้ั ๆ ฝึกซ้าหลาย ๆ ครง้ั และเน้นเฉพาะในเร่ืองที่ผิด
9. เป็นเครื่องมือวดั ผลการเรียนหลงั จากจบบทเรียนในแต่ละครง้ั
10. ใช้เป็นแนวทางเพอื่ ทบทวนดว้ ยตนเอง
11. ช่วยให้ครมู องเหน็ จดุ เด่นหรือปัญหาต่าง ๆ ของเด็กได้ชดั เจน
12. ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยแรงงานและเวลาของครู
ถวลั ย์ มาศจรัส และคณะ (2550 : 21) กลา่ วถงึ ประโยชน์ของแบบฝกึ หัด แบบฝึกทักษะ
ดงั น้ี
1. เปน็ สอ่ื การเรยี นรู้ เพื่อพัฒนาการเรียนร้ใู ห้แก่ผู้เรยี น
2. ผู้เรยี นมีสอื่ สาหรบั ฝกึ ทกั ษะด้านการอ่าน การคิด การคิดวิเคราะห์และการเขยี น
3. เปน็ สื่อการเรียนร้สู าหรับการแก้ไขปัญหาในการเรยี นรู้ของผเู้ รียน
4. พัฒนาความรู้ ทกั ษะ และเจตคตดิ า้ นต่าง ๆ ของผเู้ รยี น
สรุปได้ว่า แบบฝึกทักษะมีประโยชน์ต่อการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ในวิชาตา่ ง ๆ เน่ืองจาก
เปน็ ส่วนเพิ่มเติม และเสริมจากหนังสือเรยี น ไม่ว่าจะอยู่ในระดับช้นั ใดเพราะแบบฝกึ ทกั ษะเป็นเสมอื น
แบบฝึกที่ช่วยพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ ช่วยให้ผู้สอนมองเห็นจุดอ่อน จุดบกพร่องของผู้เรียน สามารถ
แก้ไขขอ้ บกพร่องของผเู้ รียนได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว
2. แผนการจดั การเรียนรู้
2.1 ความหมายและความสาคญั ของแผนการจดั การเรียนรู้
นกั การศกึ ษาไดใ้ ห้ความหมายของแผนการจดั การเรียนรู้ หรือแผนการสอน ไว้ดังน้ี
บูรชัย ศิริมหาสาคร (2545 : 1) กล่าวว่า แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง เอกสารท่ี
จัดทาขึ้นเพ่ือแจกแจงรายละเอียดของหลักสูตร ทาให้ครูผู้สอนสามารถนาไปจัดการเรียนการสอน
ให้แก่นักเรียนเป็นรายคาบหรือ รายชั่วโมง และยังได้กล่าวว่า แผนการจัดการเรียนรู้ ตรงกับ
ภาษาองั กฤษว่า "Teaching Plan" หรือ "Lesson Plan" หมายถึง การวางแผนการจัดการเรียนรู้หรือ
การเตรียมการสอนล่วงหน้าก่อนท่ีจะทาการสอน แล้วจดบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้ใครก็
ตามทจ่ี ะทาการสอนในวชิ าน้ัน ๆ สามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการสอนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
เอกรินทร์ ส่ีมหาศาล (2545 : 409) กล่าวว่า แผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan)
เป็นวัสดหุ ลักสูตรท่ีพัฒนามาจากหน่วยการเรียนรู้ (UNIT PLAN) ที่กาหนดไว้ เพื่อให้การจัดการสอน
บรรลุเป้าประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร หน่วยการเรียนรู้จึงเปรียบเสมือนโครงร่าง
หรือพิมพ์เขียวท่ีได้กล่าวถึงประสบการณ์การเรียนรู้ตามหัวข้อการจัดการเรียนรู้ และกระบวนการ
วัดผลที่สอดคล้องสัมพันธ์กัน ส่วนแผนการจัดการเรยี นรู้จะแสดงการจัดการเรียนรู้ตามบทเรียน และ
ประสบการณ์การเรียนรู้เป็นรายวัน หรือรายสัปดาห์ ดังน้ันแผนการจัดการเรียนรู้ จึงเป็นเครื่องมือ
หรือแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ตามกาหนดไว้ในสาระการเรียนรู้ของแต่
ละกลุ่ม
กรมวิชาการ (2546 : 1-2) ได้ให้ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู้ไว้ว่าแผนการ
จดั การเรียนรู้ หมายถึง แผนซึ่งครูเตรียมการจัดการเรียนรู้ให้แก่นกั เรียนโดยวางแผนการจดั การเรยี นรู้
แผนการใช้สื่อการเรียนรู้หรือแหล่งเรียนรู้ แผนการวัดผลประเมินผลโดยการวิเคราะห์
จากคาอธิบายรายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ ซ่ึงยึดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและสาระการเรียนรู้
ที่กาหนด อนั สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรชู้ ่วงชั้น
อาภรณ์ ใจเท่ียง (2546 : 213) กล่าวว่า แผนการจัดการเรียนรู้หรือแผนการสอน
หมายถึง แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้ส่ือการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลท่ีสอดคล้อง
กบั สาระการเรยี นรูแ้ ละจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้หรือผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวังที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
สุวิทย์ มูลคา และคณะ (2549 : 58) ได้ให้ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู้ ไว้ว่า
คือ แผนการเตรียมการสอนหรือกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบและจัดทาไว้
เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ มากาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้
ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้ โดยเริ่มจากการกาหนดวัตถุประสงค์จะให้ผู้เรียนเกิดการ
เปลี่ยนแปลงด้านใด (สติปัญญา/เจตคติ/ทักษะ) จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิธีใด ใช้ส่ือการสอน
หรอื แหล่งการเรยี นรู้ใด และจะประเมินผลอยา่ งไร
สรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้เป็นเอกสารทางวิชาการท่ีผู้สอนได้ดาเนินการจัด
เตรียมการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบและจัดทาไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นเครื่องมือหรือ
แนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ตามท่ีกาหนดไว้ในสาระการเรียนรู้ของแต่ละ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ นาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับนักเรียน เพ่ือให้การจัดการเรียนรู้นั้น
บรรลุเป้าประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนร้ขู องหลกั สตู รไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ
ความสาคัญของแผนการจัดการเรยี นรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ ทาให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงนักการศึกษาได้กล่าวถึงความสาคัญของแผนการจัดการเรียนรู้ ไว้
ดงั นี้
สาลี รักสุทธี (2544 : 43-45) ได้กล่าวถึง ความสาคัญของแผนการจัดการเรียนรู้
ไว้ ดังน้ี
1. แผนการจดั การเรียนรู้ เป็นผลงานทางวชิ าการช้ินสาคัญของครู หมายความว่า
แม้ครูจะไม่มีผลงานทางวิชาการด้านอื่น แต่อย่างน้อยที่สุด ครูจะต้องมีแผนการจัดการเรียนรู้
เป็นของตนเองจึงจะเรียกได้ว่าครูมืออาชีพ ด้วยเหตุผลที่ว่า แผนการจัดการเรียนรู้เป็นที่ยอมรับ
ในฐานะผลงานทางวิชาการช้นิ สาคัญ เม่ือครจู ะส่งผลงานทางวิชาการทกุ ครั้ง
2. แผนการจัดการเรียนรู้ คือเข็มทิศบอกทางครู ถ้าหากครูไม่มีแผนการจัดการ
เรยี นรู้ อาจพานักเรียนเดนิ ทางอย่างไรจ้ ดุ หมาย
3. แผนการจัดการเรียนรู้เหมือนพิมพ์เขียวของครู ครูมีหน้าท่ีออกแบบทางการ
ศึกษาเพื่อสร้างคน ครูต้องสร้างคน (เด็ก) ตามพิมพ์เขียว (แผนการจัดการเรียนรู้) ตามที่ตนเองเป็น
ผู้ออกแบบ
4. แผนการจดั การเรียนรู้ คือแผนท่บี อกเปา้ หมายการเดินทางของครู/ผู้เรยี น
บรู ชัย ศิริมหาสาคร (2545 : 4) ได้กลา่ วถึงความสาคัญของแผนการสอนต่อวชิ าชพี ครู
ดังนี้
1. แผนการสอนเปน็ หลกั ฐานทแ่ี สดงถึงการเป็นครูมืออาชีพ มกี ารเตรียมการลว่ งหนา้
แผนการสอนของครสู ะท้อนใหเ้ หน็ ถึงการใชเ้ ทคนิคการสอน สอ่ื นวัตกรรมและจติ วทิ ยาการ เรยี นรู้
ของเด็ก มาผสมผสานกันหรือประยกุ ตใ์ ช้ให้เหมาะสมกบั สภาพของนักเรยี นทตี่ นเองสอนอยู่
2. แผนการสอนช่วยส่งเสริมให้ครูได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เก่ียวกับหลักสูตรเทคนิค
การสอน ส่ือ นวตั กรรม วธิ กี ารวัดผลและประเมินผล เพือ่ พัฒนาวชิ าชพี ของตนเอง
3. แผนการสอนทาให้ครูผู้สอนและครูท่ีจะปฏิบัติการสอนแทน สามารถปฏิบัตกิ ารสอน
ได้อย่างมั่นใจและมีประสทิ ธิภาพ
4. แผนการสอนเป็นหลักฐานที่แสดงถึงข้อมูล ด้านการเรียนการสอน การวัดผล
และประเมินผลทีจ่ ะนาไปใช้ประโยชน์ในการจดั การเรียนการสอนครั้งตอ่ ไป
5. แผนการสอนเป็นหลักฐานที่แสดงถึงความเช่ียวชาญในวิชาชีพครู ซึ่งสามารถนาไป
เสนอเป็นผลงานทางวิชาการเพ่ือประกอบการพิจารณาความดีความชอบประจาปี เพ่ือขอเลื่อน
ตาแหนง่ หรือระดบั ใหส้ ูงข้นึ และเพอื่ ใช้ประกอบการขอใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพครู
เอกรินทร์ สี่มหาศาล (2545 : 409) กล่าวถึง ความสาคัญของแผนการจัดการเรียนรู้ว่า
การวางแผนจัดการเรยี นรจู้ ะช่วยใหผ้ ู้สอนทราบวา่ ในแตล่ ะสัปดาหห์ รือแต่ละช่ัวโมงผสู้ อนควรจะสอน
รายวิชาใด ขอบข่ายสาระการเรียนรู้ครอบคลุมเรื่องราวอะไรบ้าง รวมท้ังการสารวจสภาพปัญหาต่าง
ๆ ท่ีจะช่วยให้ผู้สอนเกิดความมั่นใจในการจัดการเรียนรู้และสามารถทาการประเมินผลผู้เรียนทาให้
ผูเ้ รียนสามารถพฒั นาตนเองในดา้ นตา่ ง ๆ ไดต้ ามเป้าหมาย
สวุ ิทย์ มูลคา และคณะ (2549 : 59) ได้กล่าวถึง ความสาคัญของแผนการจัดการเรียนรู้
ดงั น้ี
1. ทาให้เกิดการวางแผนวิธีสอนท่ีดี วธิ เี รียนทด่ี ี ท่เี กิดจากการผสมผสานความรู้
และจติ วิทยาการศึกษา
2. ชว่ ยให้ครผู สู้ อนมีค่มู อื การจัดการเรยี นรู้ท่ีทาไว้ลว่ งหน้าดว้ ยตนเอง และทาให้ครู
มคี วามมัน่ ใจในการจัดการเรียนรู้ได้ตามเป้าหมาย
3. ช่วยให้ครูผ้สู อนทราบวา่ การสอนของตนได้เดนิ ไปในทิศทางใด หรือทราบวา่
จะสอนอะไร ดว้ ยวิธีใด สอนทาไม สอนอย่างไร จะใช้สอ่ื และแหลง่ เรยี นรอู้ ะไร จะวัดและประเมิน
อย่างไร
4. สง่ เสรมิ ใหค้ รผู ู้สอนใฝ่ศกึ ษาหาความรู้ ท้ังเร่ืองของหลักสตู ร วิธีการจัดการเรยี นรู้
การจดั หาและใช้สอ่ื แหล่งเรยี นรู้ตลอดจนการวดั และประเมินผล
5. ใช้คูม่ ือสาหรบั ครูท่มี าสอน (จดั การเรยี นรู้) แทนได้
6. แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่นาไปใช้และพฒั นาแลว้ เกิดประโยชน์ต่อวงการศกึ ษา
7. เป็นผลงานทางวิชาการทแ่ี สดงถึงความชานาญและความเช่ยี วชาญขอครผู ู้สอน
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2551 : 288-301) ได้กล่าวถึงการเตรียมการวางแผนการ
สอน ว่าเป็นภารกิจสาคัญของครูผู้สอน ทาให้ทราบล่วงหน้าว่าจะสอนอะไร เพ่ือจุดประสงค์ใด สอน
อยา่ งไร ใชส้ ือ่ อะไรและวัดผลประเมนิ ผลโดยวิธใี ด เปน็ การเตรยี มตัวให้พรอ้ มกอ่ นสอน การที่ผสู้ อนได้
วางแผนการสอนอยา่ งถูกต้องตามหลักการ ย่อมช่วยให้เกิดความมั่นใจในการสอน ทาให้สามารถสอน
ได้ครอบคลุมเน้ือหา สอนอย่างมแี นวทางและมีเป้าหมาย และเป็นการสอนท่ีใหค้ ุณค่าแก่ผู้เรียนดงั นั้น
ผสู้ อนจึงจาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ ลักษณะขั้นตอนการจัดทา
และหลักการวางแผนการสอน ตลอดจนลักษณะของแผนการสอนที่ดีเพื่อส่งผลให้การเรียนการสอน
ดาเนินไปสจู่ ุดหมายปลายทางทีก่ าหนดไวอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
สรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้เป็นเครื่องมือสาคัญของครู เป็นคู่มือการสอน
ท่ีครูผู้สอนจัดทาข้ึนด้วยตนเอง ซึ่งส่งเสริมให้ครูได้ศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับหลักสูตร เทคนิคการจัดการ
เรียนรู้ การเลือกใช้สื่อและวิธีการสอน ตลอดจนการวัดผลและประเมินผล ทาให้เกิดความสะดวกแก่
ครผู ู้สอนและครูผู้มาสอนแทน แผนการจัดการเรียนรูเ้ ปรยี บเหมอื นเขม็ ทิศ ทคี่ อยบอกทิศทางของการ
จัดการเรียนการสอนให้กับครูไปถึงตัวนักเรียน และยังสามารถใช้เป็นหลักฐานแสดงข้อมูลด้านการ
จัดการเรยี นการสอนของครูได้อกี ดว้ ย
2.2 รูปแบบและส่วนประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจดั การเรียนรู้ เปน็ แนวทางในการเตรียมการสอนของครู ถ้าหากครูผูส้ อนมี
ความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับรูปแบบและส่วนประกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้ ก็จะสามารถทาใหก้ าร
จัดการเรยี นรปู้ ระสบผลสาเรจ็ รปู แบบและส่วนประกอบของแผนการจัดการเรียนรมู้ ี ดงั น้ี
รจุ ิย์ ภสู่ าระ (2545 : 160) ได้กลา่ วถึงรูปแบบของแผนการจดั การเรยี นรู้ ดังน้ี
1. แบบเรียงหัวข้อ รูปแบบนี้เขียนเรียงลาดับก่อนหลัง รูปแบบนี้จะสะดวก
ในการเขียนเพราะไม่ต้องตีตาราง แตก่ ็มีส่วนเสยี คอื ยากตอ่ การดูให้สัมพันธก์ นั ในแต่ละหัวข้อ
2. แบบกึง่ ตาราง รูปแบบน้เี ขยี นเป็นชอ่ ง ๆ ตามหัวข้อที่กาหนด แม้วา่ ต้องใช้เวลา
ในการตตี ารางแต่ก็สะดวกในการอา่ น ทาใหเ้ ห็นความสัมพนั ธ์ของแต่ละหัวขอ้ อย่างชดั เจน 3.
แบบตาราง รูปแบบนี้เขยี นเปน็ ช่อง ๆ คล้ายแบบกงึ่ ตารางโดยนาหวั ข้อสาระสาคัญ
มาไวใ้ นตารางด้วย
อาภรณ์ ใจเท่ียง (2546 : 213-216) ได้สรุป องค์ประกอบของแผนการจัดการ
เรยี นรู้ ประกอบดว้ ยหวั ข้อสาคัญ ดงั ตอ่ ไปนี้
สว่ นนา : รายวิชา/กลุ่ม ชั้น ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ หรือช่อื แผนการจัดการเรยี นรู้
จานวนเวลาท่สี อน
1. จุดประสงค์การเรยี นร้/ู ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั
2. สาระการเรียนรู้
3. กระบวนการจัดการเรียนรู้
4. การวดั ผล ประเมินผลการเรียนรู้
5. แหลง่ การเรียนรู้
6. บนั ทึกผลการจดั การเรียนรู้
โดยรปู แบบของแผนการจัดการเรียนรไู้ ม่มีรปู แบบตายตวั ข้นึ อยู่กับหน่วยงานหรอื
สถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ จะกาหนด อย่างไรก็ตามลักษณะส่วนใหญข่ องแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
จะคลา้ ยคลงึ กนั
มนสิช สิทธิสมบูรณ์ (2549 : 3) กล่าวว่า รูปแบบการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
มหี ลากหลายรปู แบบ แต่รปู แบบท่นี ิยมใชก้ นั ในปจั จุบนั มีองค์ประกอบ ดงั น้ี
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
2. ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวงั
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
4. จุดประสงค์นาทาง
5. สาระการเรยี นรู้
6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
7. ส่ือ
8. การวดั และประเมินผล
9. แหล่งเรยี นรู้
10. กิจกรรมเสนอแนะ
11.บนั ทกึ ผลหลังสอน
สรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรมู้ ีรูปแบบและส่วนประกอบท่ีสาคัญคลา้ ยกัน ขนึ้ อยู่กับ
หน่วยงานหรือสถานศึกษาแต่ละแห่งจะกาหนด รูปแบบของแผนการจัดการเรยี นรู้จึงสามารถปรับได้
ตามความเหมาะสมและความจาเป็น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็นเคร่ืองมือ
ในการวิจัย ครั้งน้ี เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดทาเพ่ือเตรียมการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึก
ทักษะเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 จัดทาขึ้น
โดยมีส่วนประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ 1) ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ รายละเอียด
เกี่ยวกับวิชา ชั้น เวลา เรื่องที่สอน 2) ผลการเรียนรู้ 3) สาระสาคัญ 4) จุดประสงค์การเรียนรู้
5) สมรรถนะสาคัญ 6) คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 7) สาระสาคัญ 8) กิจกรรมการเรียนรู้ 9) สอ่ื การ
เรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 10) การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ 11) บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
จุดเด่นของแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดทาคือ การใช้วิธีสอนที่หลากหลายนามาใช้ควบคู่กับแบบฝึก
ทกั ษะ
2.3 ขัน้ ตอนการเขยี นแผนการจดั การเรียนรู้
วัฒนาพร ระงบั ทุกข์ (2543 : 132-136) ได้กล่าวถึงข้นั ตอนการเขียนแผนการ
จัดการเรยี นร้ไู ว้ ดังน้ี
ขน้ั ท่ี 1 การกาหนดจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เป็นการกาหนดส่งิ ที่ตอ้ งการใหผ้ ้เู รียน
มีหรอื บรรลุ ซึ่งมที ั้งความรู้ ทักษะและเจตคติ จุดประสงค์การเรียนรไู้ ดม้ าจากจุดหมายของหลกั สูตร
จุดประสงคข์ องวชิ าและจุดประสงคใ์ นคาอธิบายรายวชิ า การเขยี นจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้จะตอ้ งเขยี น
ให้ครอบคลุม พฤติกรรมทั้ง 3 ดา้ น และเขียนในเชงิ พฤติกรรม จุดประสงคส์ ามารถจาแนกได้
3 ด้าน ดงั นี้
1. พทุ ธพสิ ัย (Cognitive) คือ จุดประสงค์การเรยี นรทู้ ี่เน้นความสามารถทางสมอง
หรอื ความรอบรใู้ นเน้ือหาวิชาหรอื ในทฤษฎี
2. ทกั ษะ (Skill) คือ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรูท้ ี่เนน้ การปฏบิ ัติท่ีตอ้ งลงมือทา
3. จติ พสิ ัย (Affective) คอื จุดประสงค์การเรยี นรู้ทเี่ น้นคุณธรรม เจตคติ หรอื
ความร้สู ึกในจติ ใจ
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ แบง่ เป็น 2 ระดบั คอื
1. จุดประสงค์ปลายทาง คอื จุดประสงค์ท่ีเปน็ เป้าหมายสาคญั ที่มุ่งหวงั ให้เกิด
ขน้ึ กับผเู้ รยี นในการเรยี นแต่ละเรือ่ ง หรือแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้
2. จุดประสงค์นาทาง คอื จุดประสงคท์ วี่ ิเคราะหแ์ ตกออกจากจดุ ประสงค์ปลายทาง
เป็นจุดประสงคย์ ่อย โดยกาหนดพฤติกรรมสาคัญทค่ี าดหวังใหเ้ กิดกบั ผู้เรียน เพ่ือใหเ้ กิดการเรยี นรู้
อยา่ งเป็นข้ันตอนจากจดุ ย่อยไปจนถงึ จดุ ใหญ่ปลายทาง ในการสอนจงึ ควรจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนให้
บรรลุจุดประสงคน์ าทางไปสู่จุดประสงค์ปลายทาง
ข้ันท่ี 2 การกาหนดแนวทางการจดั การเรียนการสอน
การเรยี นการสอนในแผนน้นั มีจุดเนน้ หรือสาระสาคัญอะไรจะตอ้ งสอนเนื้อหาใดจึง
จะครอบคลุมครบถ้วน จะเลอื กใช้เทคนิคหรือวธิ ีสอนใดในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
จึงจะทาใหผ้ ู้เรยี นบรรลจุ ดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ และจะใชส้ ่อื การเรยี นการสอนใดจงึ จะสอดคล้อง
เหมาะสมกบั กจิ กรรมที่กาหนด การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประกอบดว้ ย
1. การเขียนสาระสาคัญ สาระสาคัญหมายถึง ความคดิ รวบยอดเกย่ี วกับเนอื้ หา
หลกั การวิธีการท่ตี ้องการจะใหผ้ เู้ รยี นได้รบั หลงั จากเรียนเร่ืองน้นั ๆ แล้ว ท้ังในด้านความรู้
ความสามารถ เจตคติ สาระสาคญั จะเปน็ ขอ้ ความทีเ่ ขยี นในลกั ษณะสรปุ เนื้อหา เป้าหมายอยา่ งสนั้ ๆ
จะเขียนเป็นความเรียงหรือเป็นข้อ ๆ ก็ได้
2. เน้ือหา คือ รายละเอียดของเรื่องที่ใช้จัดการเรียนการสอนให้บรรลุตาม
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ประกอบด้วย ทฤษฎี หลักการ วิธีการและแนวปฏิบัติ การจะเขียนเน้ือหาสาระใน
การสอนแต่ละจุดประสงค์หรือแต่ละเร่ืองได้ดีน้ันครูผู้สอนจะต้องศึกษาหาความรู้จากเอกสารตารา
เรียน หนังสือ คู่มือครูและแหล่งความรู้ต่าง ๆ นามาพิจารณาใช้ประกอบให้เหมาะกับวัย
และระดับของผู้เรียนทั้งในด้านความยากง่ายและความถูกต้องเหมาะสม การเขียนเนื้อหาสาระ
ในแผนการจดั การเรียนรู้ ครจู ะเขียนเน้ือหาสาระรายละเอยี ด ทัง้ หมดไว้ในแผนการจดั การเรียนรู้ ตาม
หัวข้อท่ีอยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้ก็ได้ แต่หากรายละเอียดของเน้ือหามีมาก ควรเขียนเฉพาะหัวข้อ
เรือ่ งเนอ้ื หานน้ั ๆ ไว้ ส่วนรายละเอียดให้นาไปไว้ในส่วนทา้ ยแผนการจัดการเรียนรู้ หรอื นาส่วนที่เป็น
เน้ือหาสาระของทุกแผนการจัดการเรียนรู้แยกไว้อีกเล่มหนึ่งต่างหากเป็นเอกสารประกอบการสอนก็
ได้
3. กจิ กรรมการเรียนการสอน คอื สภาพการเรียนรู้ทีก่ าหนดข้ึนเพ่ือนาผเู้ รียนไปสู่
เป้าหมายหรือจุดประสงค์การเรียนทีก่ าหนด การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม
สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หา และสภาพแวดลอ้ มการเรียนรดู้ ้านตา่ ง ๆ จงึ เป็นความ
สามารถและทักษะของครูมืออาชีพในการจดั การเรยี นการสอนท่ีมปี ระสิทธิผล กิจกรรมการเรยี นการ
สอนควรมลี กั ษณะดังนี้
1) สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหา
2) ฝกึ กระบวนการที่สาคัญใหก้ บั ผเู้ รยี น
3) เหมาะสมกับธรรมชาติและวยั ของผเู้ รยี น
4) เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและชีวติ จริง
5) เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ
4. สือ่ การเรยี นการสอน หมายถงึ สงิ่ ที่เป็นพาหนะหรือสือ่ ทช่ี ว่ ยให้ผู้เรยี นสามารถ
พฒั นาความรู้ ทักษะ และเจตคติให้บรรลุผลตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนการสอนและตามจุดหมายของ
หลกั สตู รไดด้ ียิ่งข้ึนหรอื เรว็ ยง่ิ ขน้ึ จากการศกึ ษาวิจัย พบวา่ ส่ือประเภทตา่ ง ๆ มีประสิทธิผลช่วยให้
ผูเ้ รยี นสามารถเรยี นร้เู ร่อื งต่าง ๆ ในระดบั ทแี่ ตกต่างกนั
ขัน้ ท่ี 3 การกาหนดวิธีวดั และประเมินผล
การวดั และการประเมิน จดั เป็นกิจกรรมสาคัญท่สี อดแทรกอยู่ในทุกขั้นตอนของ
กระบวนการจัดการเรยี นการสอน เรม่ิ ตั้งแต่ก่อนการเรียนการสอนจะเปน็ การประเมนิ เพ่ือตรวจสอบ
ความรู้พ้ืนฐานของผ้เู รียน ระหวา่ งการเรยี นการสอน จะเป็นการประเมนิ เพื่อปรบั ปรงุ ผลการเรียนและ
เพ่อื ให้ผูเ้ รยี นทราบผลการเรียนของตนเป็นระยะ ๆ และเมื่อสิ้นสดุ การเรยี นการสอน ในแต่ละ
รายวิชา/ภาคเรยี น จะเปน็ การประเมินเพือ่ ตดั สินผลการเรียนเพื่อตรวจสอบใหแ้ นช่ ัดว่าผูเ้ รยี นบรรลุ
จดุ ประสงค์การเรียนที่กาหนดไว้
สวุ ทิ ย์ มลู คา และอรทยั มลู คา (2553 : 108-116) ไดเ้ สนอองค์ประกอบและขนั้ ตอน
การเขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ดงั น้ี
1. ชอื่ แผนการสอน เปน็ ส่วนท่ตี อ้ งเขยี นระบุให้ชดั เจนเก่ียวกบั รายวิชา เรอ่ื ง ชั้น
เวลา (จานวนคาบ) วัน เดือน ปที สี่ อน
2. สาระสาคัญ เปน็ สว่ นทเี่ ขียนบอกความคดิ รวบยอดของเนอ้ื หา หลกั การ วิธีการ
หรอื การสรปุ ประเดน็ ความแก่นของเร่ืองทต่ี ้องการใหเ้ กิดความเขา้ ใจอย่างคงทนตลอดไป อาจเขยี น
เปน็ แบบความเรยี งหรือแบง่ เป็นข้อย่อย ๆ กไ็ ด้
3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นการกาหนดเปา้ หมายสาคญั หรอื พฤติกรรมอยา่ งกว้าง
ๆ ทตี่ อ้ งการเกิดแกผ่ เู้ รยี นในการเรียนแต่ละเรื่องหลงั ผ่านกระบวนการเรียนการสอนในเร่ืองนัน้ ๆ
ครบถ้วนแลว้ มลี ักษณะเปน็ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมซ่งึ สังเกตได้ วัดได้ และตรวจสอบได้ โดย
กาหนดเรื่องและสาระสาคัญของเนอ้ื หาทจ่ี ะสอน ซง่ึ ไดจ้ ากการวิเคราะหห์ ลักสตู รและคาอธิบาย
รายวิชา
4. เนื้อหา เป็นการกาหนดเน้อื หาท่ตี ้องการให้นกั เรยี นรเู้ ฉพาะในการสอนตาม
แผนการสอนแต่ละแผน โดยอาจเขยี นเปน็ เน้ือหาโดยสรปุ หรอื แบง่ เปน็ หัวข้อยอ่ ย ๆ สว่ นเน้อื หาโดย
ละเอียดจะเขียนไว้ในภาคผนวกเพมิ่ เติม
5. กจิ กรรมการเรยี นการสอน เปน็ สว่ นทก่ี าหนดข้ันตอนหรอื กระบวนการในการจดั
กิจกรรมการเรียนการสอนท่ลี ะเอียดและเดน่ ชดั ซ่งึ ต้องใหส้ อดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ โดย
เขยี นกาหนดต้ังแตเ่ รม่ิ สอน เนน้ กจิ กรรมท่ีตอ้ งใหน้ ักเรียนเปน็ ผู้กระทาคือยึดนักเรยี น
เปน็ ศูนย์กลาง
6. ส่ือการเรียนการสอน เปน็ สว่ นท่ีกาหนดรายชื่ออุปกรณ์การเรียนการสอนทัง้ หมด
ทนี่ ามาใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน เพื่อช่วยใหน้ ักเรียนรูต้ รงตามจุดประสงค์
7. การวัดผลและประเมินผล
7.1 การวดั ผลเปน็ การวัดพฤติกรรมท่ีคาดหวงั ท่ีกาหนดไวเ้ ป็นจุดประสงค์ การ
เรยี นรโู้ ดยกาหนดวิธกี าร เครือ่ งมือ และเกณฑ์ไว้อย่างชดั เจน เชน่ การตรวจแบบฝึกหดั
การสงั เกตพฤติกรรม การซกั ถามหรอื การทาแบบทดสอบ เปน็ ต้น
7.2 การประเมินผลเป็นการนาผลทไ่ี ด้จากการวัดมาตัดสินเพ่ือบ่งบอกถึง
แนวทางพฒั นาหรือปรบั ปรุงแก้ไข นักเรยี นควรมีโอกาสประเมินตนเองบ้างตามสภาพจรงิ
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
8.1 เปน็ กจิ กรรมหรอื งานท่ีกาหนด เพอื่ ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นทีเ่ รียนเก่ง
และกจิ กรรมหรืองานท่กี าหนดเพ่ือชว่ ยเป็นพิเศษสาหรับนักเรยี นที่เรยี นอ่อน
8.2 เป็นกจิ กรรมทเ่ี สนอให้นักเรียนที่มีความสนใจในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง
เป็นพเิ ศษ
8.3 เป็นกิจกรรมที่กาหนดเพ่ิมเตมิ เพื่อฝึกทักษะใหน้ กั เรยี นนอกเหนือจาก
กิจกรรมที่กาหนดไว้ในแผนการสอน
9. ความคิดเหน็ ของผบู้ รหิ าร เป็นการบนั ทกึ ความคดิ เห็นหรอื ข้อเสนอแนะ
ของผ้บู ริหารโรงเรยี นหรือผู้ท่ีได้ตรวจแผนการสอน เพื่อเป็นแนวทางในการปรบั ปรุงแก้ไข
ก่อนทจี่ ะนาไปใชไ้ ด้จรงิ
10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
10.1 เปน็ ส่วนที่ครูผสู้ อนบันทกึ ผลการใช้แผนการสอนโดยบันทึก
การผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู้ของนักเรียน บนั ทกึ ความเหมาะสมของเนื้อหาวชิ า กิจกรรม
และเวลาทก่ี าหนดในแผนการสอน
10.2 ปัญหาอปุ สรรค เปน็ ส่วนทีค่ รผู สู้ อนบันทกึ ข้อบกพรอ่ ง สง่ิ ที่ควร
ปรบั ปรุงแก้ไขที่พบระหวา่ งทาการสอน
10.3 ข้อเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข เป็นส่วนทค่ี รผู ู้สอนบันทึกแนวทางแก้ไข
ขอ้ บกพร่อง ปญั หาหรืออุปสรรคทพ่ี บระหว่างทาการสอน และยงั ต้องลงชือ่ กากบั ไว้
สุวทิ ย์ มูลคา และคณะ (2549 : 59) ไดก้ ลา่ วถงึ ลักษณะของแผนการจัดการเรยี นรทู้ ด่ี ี
ต้องมลี ักษณะ ดังน้ี
1. กาหนดจุดประสงค์การเรียนรไู้ ว้ชัดเจน (ในการสอนเร่ืองน้นั ๆ ต้องการใหผ้ ้เู รียนเกดิ
คณุ สมบตั ิอะไร หรือด้านใด)
2. กาหนดกจิ กรรมการเรยี นการสอนไว้ชัดเจน และนาไปสู่ผลการเรียนรูต้ ามจดุ ประสงค์
ได้จรงิ (ระบุบทบาทของครูผู้สอนและผเู้ รยี นไว้อยา่ งชดั เจนวา่ จะตอ้ งทาอะไร จึงจะทาใหก้ ารเรยี นการ
สอนบรรลผุ ล)
3. กาหนดสื่ออปุ กรณ์หรือแหลง่ การเรียนรู้ไว้ชดั เจน (จะใช้สอ่ื อปุ กรณห์ รอื แหล่ง
เรียนรูอ้ ะไรชว่ ยบ้าง และจะใช้อย่างไร)
4. กาหนดวิธกี ารวัดและประเมนิ ผลไว้ชัดเจน (จะใช้วิธกี ารและเคร่ืองมือในการวดั และ
ประเมนิ ผลใด เพ่ือบรรลุจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้น้นั )
5. ยดื หย่นุ และปรับเปลีย่ นได้ (ในกรณีทมี่ ีปญั หาเมือ่ มีการนาไปใช้ หรือไมส่ ามารถ
กาหนดการจดั การเรียนรตู้ ามแผนน้ันได้ก็สามารถปรบั เปลี่ยนเปน็ อย่างอืน่ ได้ โดยไมก่ ระทบ
ต่อการเรียนการสอนและผลการเรยี นรู้
6. มีความทนั สมยั ทันต่อเหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวต่าง ๆ และสอดคล้องกบั สภาพ
ทีเ่ ป็นจริงท่ผี ้เู รียนดาเนินอยู่
7. แปลความได้ตรงกนั แผนการจดั การเรียนรู้ท่ีเขยี นข้นึ จะตอ้ งสอื่ ความหมายได้ตรงกนั
เขยี นให้อา่ นเขา้ ใจง่าย กรณีมีการสอนแทนหรือเผยแพร่ ผู้นาไปใช้สามารถเขา้ ใจและใช้ไดต้ รงตาม
วตั ถปุ ระสงค์ของผูเ้ ขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้
8. มกี ารบูรณาการ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ดีจะสะท้อนให้เห็นการบรู ณาการ
แบบองคร์ วมของเน้ือหาสาระความรูแ้ ละวธิ ีจดั การเรียนรเู้ ข้าดว้ ยกัน
9. มกี ารเชื่อมโยงความรู้ไปใชอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นได้นาความรู้
และประสบการณ์เดิมมาเชอื่ มโยงกับความร้แู ละประสบการณใ์ หม่ และนาไปใชใ้ นชีวติ จริง
กบั การเรียนในเรื่องต่อไป
สรุปได้ว่า การจัดทาแผนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพน้ัน ครูผู้สอนจะต้องศึกษาเอกสาร
ที่เก่ียวข้อง เช่น หลักสูตรการศึกษาท้ังหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรของสถานศึกษา เอกสาร
ทีเ่ กีย่ วข้องกับการนาหลักสูตรไปใช้ เอกสารที่เก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เอกสารเก่ียวกับ
การผลติ ส่ือ การวดั ผลและการประเมินผล ศึกษาเอกสารเกย่ี วกบั การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้และ
การทาแบบฝึกหัดรวมถึงการจัดทาแบบทดสอบด้วย จัดทาแผนจัดการเรียนรู้โดยนาเนื้อหาสาระท่ีใช้
ในการจัดการเรียนรู้ไปกาหนดเป็นแผนจัดการเรียนโดยให้สอดคล้องกับจุดประสงค์และผลการเรียนรู้
ที่คาดหวังและกาหนดเน้ือหาสาระให้เหมาะสมกับเวลาและวัยของนักเรียนรวมถึงการสอดคล้องกับ
หน่วยการเรียนรู้ทีโ่ รงเรียนกาหนด จดั ทารายละเอยี ดของแผนการจัดการเรียนรูต้ ามองค์ประกอบของ
แผนจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย สาระสาคัญ ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง จุดประสงค์
การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล กิจกรรม
เสนอแนะ ความคดิ เหน็ ผู้บริหาร บนั ทกึ หลงั สอน ปญั หาอปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ
3. วธิ กี ารสอน
3.1 วธิ ีการสอนแบบโมเดลซิปปา (CIPPA Model)
วธิ ีการสอนแบบโมเดลซิปปา (CIPPA Model) เป็นวิธีหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนท่ี
เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั เปน็ รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ท่ีมุง่ เน้นให้นักเรยี นศึกษาค้นคว้า
รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน และการ
แลกเปลี่ยนความรู้ การได้เคลื่อนไหวทางกาย การเรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ และการนาความรู้ไป
ประยกุ ต์ใช้ มีนักการศึกษาได้กลา่ วถงึ วธิ ีการสอบแบบ CIPPA Model ไวด้ ังนี้
ทิศนา แขมมณี (2554 : 282-284) กล่าวว่า ซิปปา (CIPPA) เป็นหลักการซึ่งสามารถ
นาไปเป็นหลักในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ใหแ้ กผ่ ้เู รียน การจดั กระบวนการเรียนการสอนตาม
หลัก “CIPPA” สามารถใช้วิธีการและกระบวนการท่ีหลากหลาย ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
แบบโมเดลซิปปา มีขน้ั ตอนการจัดกิจกรรมการเรียนร้ดู ังนี้
ขั้นท่ี 1 การทบทวนความรู้เดิม ข้ันนี้เป็นการดึงความรู้เดิมของผู้เรียนในเรื่องท่ีจะเรียน
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเชื่อมโยง ความรู้ใหม่กับความรู้เดิมของตน ซ่ึงผู้สอนอาจใช้
วธิ ีการตา่ ง ๆ ได้อย่างหลากหลาย เช่น ผู้สอนอาจใช้การสนทนาซกั ถามให้ผู้เรียนเล่าประสบการณ์เดิม
หรอื ใหผ้ ูเ้ รียนแสดงโครงความรเู้ ดมิ (Graphic Organizer) ของตน
ขั้นท่ี 2 การแสวงหาความรู้ใหม่ ขั้นนเ้ี ป็นการแสวงหาข้อมูลความรู้ใหม่ของผู้เรียน จาก
แหล่งข้อมูล หรือแหล่งความรู้ต่าง ๆ ซึ่งผู้สอนอาจจัดเตรียมมาให้ผู้เรียนหรือให้คาแนะนาเกี่ยวกับ
แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนไปแสวงหาก็ได้ ในข้ันนี้ผู้สอนควรแนะนาแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้แก่
ผู้เรยี นตลอดทงั้ จัดเตรยี มเอกสารสือ่ ต่าง ๆ
ข้ันท่ี 3 การศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และเช่ือมโยงความรู้ใหม่กับความรู้
เดิม ขัน้ น้ีเปน็ ขน้ั ท่ีผเู้ รียนศึกษาและทาความเข้าใจกับข้อมลู /ความรู้ที่หามาได้ ผูเ้ รยี นสร้างความหมาย
ของข้อมูล/ประสบการณ์ใหม่ ๆ โดยใช้กระบวนต่าง ๆ ด้วยตนเอง เช่น ใช้กระบวนการคิด
กระบวนการกลุ่มในการอภิปราย และสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ๆ ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยการ
เชื่อมโยงกับความรู้เดมิ ในขั้นน้ีผ้สู อนควรใช้กระบวนการต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรม เชน่ กระบวนการ
คดิ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสร้างลักษณะ
นสิ ยั กระบวนการทกั ษะ ทางสงั คม ฯลฯ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นสร้างความรู้ข้นึ มาด้วยตนเอง
ขั้นที่ 4 การแลกเปล่ียนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม ขั้นนี้เป็นข้ันท่ีผู้เรียนอาศัยกลุ่ม
เป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบความรู้ รวมท้ังขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้กวา้ งข้ึน ซงึ่ จะช่วยให้
ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจของตนเองแก่ผู้อน่ื และได้รับประโยชน์จากความรู้ ความเขา้ ใจของ
ผูอ้ ืน่ ไปพร้อม ๆ กัน
ขั้นที่ 5 การสรุปและจัดระเบียบความรู้ ข้ันนี้เป็นข้ันของการสรุปความรู้ท่ีได้รับท้ังหมด
ทั้ งความรู้เดิมและความรู้ให ม่ และจัดสิ่งท่ี เรียน ให้ เป็ น ระบ บ ระเบี ยบ เพื่ อให้ ผู้เรียน
จดจาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย ผู้สอนควรให้ผู้เรียนสรุปประเด็นสาคัญประกอบด้วยมโนทัศน์หลัก และมโน
ทัศน์ย่อยของความรู้ท้ังหมด แล้วนามาเรียบเรียงให้ได้สาระสาคัญครบถ้วน ผู้สอนอาจให้ ผู้เรียนจด
เป็นโครงสร้างความรู้ จะช่วยใหจ้ ดจาขอ้ มูลไดง้ ่าย
ข้ันท่ี 6 การปฏิบัติและ/หรือการแสดงผลงาน ขั้นน้ีจะช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงผล
งานการสรา้ งความรูข้ องตนให้ผอู้ ืน่ รับรู้ เป็นการชว่ ยให้ผ้เู รยี นได้ตอกย้าหรอื ตรวจสอบความเข้าใจของ
ตน และช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความคิดสร้างสรรค์ แต่หากต้องมีการปฏิบัติตามข้อมูลที่ได้ ขั้นนี้จะ
เป็นขั้นปฏิบัติ และมีการแสดงผลงานท่ีได้ปฏิบัติด้วย ในข้ันนี้ผู้เรียนสามารถแสดงผลงานด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ เชน่ การจดั นิทรรศการ การอภิปราย การแสดงบทบาทสมมติ เรียงความ วาดภาพ ฯลฯ และ
อาจจดั ใหม้ ีการประเมนิ ผลงานโดยมีเกณฑ์ท่ีเหมาะสม
ข้ันท่ี 7 การประยุกต์ใช้ความรู้ ขั้นนี้เป็นขั้นของการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการนา
ความรู้ความเข้าใจของตนไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีหลากหลาย เพ่ิมความชานาญ ความเข้าใจ
ความสามารถในการแก้ปัญหาและความจาในเร่ืองนั้น ๆ เป็นการให้โอกาสผู้เรียนใช้ความรู้ให้เป็น
ประโยชน์ เป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ หลังจากประยุกต์ใช้ความรู้ อาจมีการนาเสนอผลงาน
จากการประยุกต์อีกครั้งก็ได้ หรืออาจไม่มีการนาเสนอผลงานในข้ันที่ 6 แต่นาความรู้มารวม แสดงใน
ตอนท้ายหลังข้ันการประยุกต์ใช้ก็ได้ เช่นกัน ข้ันที่ 1-6 เป็นกระบวนการของการสร้างความรู้
(Construction of Knowledge) ข้ันที่ 7 เป็นขั้นตอนท่ีช่วยให้ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ (Application)
จึงทาให้รปู แบบน้มี ีคณุ สมบัติครบตามหลกั CIPPA
ผลท่ีผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนตามรูปแบบ CIPPA ทาให้ผู้เรียนจะเข้าใจในส่ิงท่ีเรียน
สามารถอธิบาย ชี้แจง ตอบคาถามได้ดี นอกจากน้ันยังได้พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์
การคิดสรา้ งสรรค์ การทางานเป็นกลุ่ม การส่ือสาร รวมท้งั เกิดความใฝ่รดู้ ้วย
สรุปได้ว่า วิธีการสอนแบบโมเดลซิปปา (CIPPA Model) เป็นวธิ ีการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียน
เป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง และต้องพ่ึงการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน ๆ บุคคลอ่ืน ๆ และสิ่งแวดล้อม
รอบตวั รวมทงั้ ตอ้ งอาศยั ทักษะกระบวนการตา่ ง ๆ จานวนมาก เปน็ เครื่องมือในการสร้างความรู้ และ
จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี เข้าใจลึกซ้ึงและจะอยู่คงทนมากข้ึน ประกอบด้วยขั้นตอนท่ีสาคัญ
ได้แก่ ข้ันทบทวนความรู้เดิม ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่ ขั้นเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ขั้น
แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม ขั้นสรุปและจัดระเบียบความรู้ ขั้นการแสดงผลงาน ข้ัน
ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้
3.2 วธิ กี ารสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขน้ั (Inquiry Method : 5E)
ความหมายของการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5 ขน้ั
การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ตรงกับภาษาองั กฤษว่า Inquiry Method มีชื่อ
เรียกต่าง ๆ กันไป เช่น การจัดการเรียนแบบสืบสวนสอบสวน การจัดการเรียนแบบสืบเสาะ
การจัดการเรียนแบบสอบสวน วิธีสืบเสาะหาความรู้ หรอื วัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ มีนักการศกึ ษา
ได้ให้ความหมายไว้ ดงั นี้
ชาตรี เกิดธรรม (2546 : 218) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นการฝกึ ฝน
ให้นักเรียนรู้จักการค้นคว้าหาความรู้ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาที่ถูกต้องด้วยตนเองโดยผู้สอน
ต้ังคาถามกระตุ้นให้นักเรียนใช้ความคิด หาวิธีแก้ปัญหาได้เอง และสามารถนาการแก้ปัญหามาใช้
ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวันได้
วิทวัฒน์ ขัตติยะมาน และอมลวรรณ วีระธรรมโม (2550 : 94) กล่าวว่า การสอน
แบบสืบเสาะหาความรู้ หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
ด้วยวิธีการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าหาความรู้โดยผู้สอนตั้งคาถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียน
ใช้กระบวนการทางความคิด หาเหตุผลจนค้นพบความรู้หรือแนวทางในการแก้ปัญหาท่ีถูกต้อง
ด้วยตนเอง สรุปเป็นหลักการ กฎเกณฑ์ หรือวิธีการในการแก้ปัญหาและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
การควบคุมปรับปรุงเปลีย่ นแปลง หรอื สร้างสรรคส์ ิ่งแวดล้อมในสภาพการณ์ตา่ ง ๆไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2551 : 7) กลา่ วว่า การสบื เสาะ หา
ความรู้เป็นรูปแบบการเรียนการสอนทีใ่ ช้ตามทฤษฎีการสรา้ งความรู้ (Constructivism) ซึง่ กลา่ วไวว้ ่า
เป็นกระบวนการที่นักเรียนจะต้องสืบค้น เสาะหา สารวจ ตรวจสอบและค้นคว้าด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ จนทาให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและเกิดการรับรู้ความรู้นั้นอย่างมีความหมาย จึงจะสามารถ
สรา้ งเป็นองค์ความรู้ของนักเรียนเอง และเก็บเป็นข้อมูลไว้ในสมองได้อย่างยาวนาน สามารถนามาใช้
ได้เม่อื มีสถานการณ์ใด ๆ มาเผชิญหนา้
สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา (2553 : 136) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักศึกษา
ค้นคว้าหาความรู้ โดยผู้สอนต้ังคาถามกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการทางความคิด หาเหตุผล ค้นพบ
ความรู้หรือแนวทางในการแก้ไขปัญหาท่ีถูกต้องด้วยตนเอง สรุปเป็นหลักการ กฎเกณฑ์ หรือวิธีการใน
การแก้ปัญหาและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการควบคุม ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือ
สรา้ งสรรค์สงิ่ แวดล้อมในสถานการณต์ า่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งกว้างขวาง
ทิศนา แขมมณี (2554 : 248-249) กล่าวว่า จอยส์ และวีล (Joyce & Weil) เป็น
ผ้พู ฒั นารปู แบบการเรียนการสอนกระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรู้ จากแนวความคิดหลักของ
เธเลน (Thelen) 2 แนวคิด คือ แนวคิดเกี่ยวกับการสืบเสาะแสวงหาความรู้ (Inquiry) และแนวคิด
เกี่ยวกับความรู้ (Knowledge) ซึ่งเธเลนได้อธิบายว่า ส่ิงสาคัญที่สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึก
หรือความต้องการที่จะสืบค้นหรือเสาะแสวงหาความรู้ก็คือตัวปัญหา แต่ปัญหานั้นจะต้องมีลักษณะท่ี
มีความหมายต่อผู้เรียนและท้าทายเพียงพอที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะแสวงหาคาตอบ
นอกจากนน้ั ปญั หาท่ีมีลกั ษณะชวนให้เกดิ ความงุนงงสงสยั (Puzzlement) หรอื ก่อให้เกดิ ความขัดแย้ง
ทางความคดิ จะยิง่ ทาให้ผูเ้ รียนเกิดความต้องการที่จะเสาะแสวงหาความรู้หรือคาตอบมากย่งิ ขน้ึ
สรุปได้ว่า กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการปฏิบัติกิจกรรมของการเรียนการสอน
และมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าหาความรูแ้ ละแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองอยา่ งมีเหตุผล โดยใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยผ้สู อนมหี นา้ ท่ีจัดบรรยากาศการสอนให้เอื้อตอ่ การเรียนรู้
ผเู้ รยี นได้สืบค้นหาความรู้ ความจริง หรอื คาตอบดว้ ยตนเอง ด้วยการสืบหา ศึกษาจากแหลง่ เรียนรู้ ท่ี
หลากหลาย โดยใช้คาถามหรือการตั้งคาถามท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาคาตอบและความจริง
เพ่อื ค้นหาคาตอบของคาถาม
ขั้นตอนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ข้ัน
สาหรับข้ันตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E
ประกอบด้วยขั้นตอน 5 ข้ันตอน ดังนี้ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2551 :
8-10)
1) ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการนาเข้าสู่บทเรียนหรือเร่ืองที่สนใจ
ซ่ึงอาจเกิดขึ้นเองจากความสงสัยหรืออาจเริ่มจากความสนใจของตัวนักเรียนเอง หรือเกิดจากการ
อภิปรายในกลุ่ม เร่ืองที่น่าสนใจอาจมาจากเหตุการณ์ท่ีกาลังเกิดขึ้นอยู่ในช่วงเวลาน้ัน หรือเป็นเรือ่ งท่ี
เชื่อมโยงกับความร้เู ดิมท่ีเพ่ิงเรียนรู้มาแล้ว เป็นตัวกระตนุ้ ให้นักเรียนสร้างคาถาม กาหนดประเด็นท่ีจะ
ศึกษา ในกรณีท่ียังไม่มีประเด็นใดน่าสนใจ ครูอาจให้ศึกษาจากส่ือต่าง ๆ หรือเป็นผู้กระตุ้นด้วยการ
เสนอประเด็นข้ึนมาก่อน แต่ไม่ควรบังคับให้นักเรียนยอมรับประเด็นหรือคาถามที่ครูกาลังสนใจเป็น
เรื่องท่ีจะใช้ศึกษาเม่ือมีคาถามที่น่าสนใจ และนักเรียนส่วนใหญ่ ยอมรับให้เป็นประเด็น
ที่ต้องการศึกษา จึงร่วมกันกาหนดขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของเรื่องที่จะศึกษาให้มีความ
ชดั เจนยิ่งข้ึน อาจรวมทงั้ การรวบรวมความรู้ประสบการณ์เดมิ หรือความรจู้ ากแหล่งต่าง ๆ ทจ่ี ะช่วยให้
นาไปสู่ความเข้าใจเร่ืองหรือประเด็นที่จะศึกษามากข้ึน และมีแนวทางท่ีใช้ในการสารวจตรวจสอบ
อย่างหลากหลาย
2) ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) เม่ือทาความเข้าใจในประเด็นหรือคาถาม
ทส่ี นใจจะศึกษาอย่างถ่องแท้แลว้ ก็มกี ารวางแผนกาหนดแนวทางการสารวจตรวจสอบ ต้ังสมมติฐาน
กาหนดทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ
วิธีการตรวจสอบอาจทาได้หลายวิธี เช่น ทาการทดลอง ทากิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพิวเตอร์
เพ่ือช่วยสร้างสถานการณ์จาลอง (Simulation) การศึกษาหาข้อมูลจากเอกสารอ้างอิงหรือจาก
แหลง่ ข้อมลู ต่าง ๆ เพอ่ื ให้ได้มาซ่ึงขอ้ มลู อย่างเพียงพอทจ่ี ะใช้ในขัน้ ต่อไป
3) ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เมื่อได้ข้อมูลอย่างเพียงพอจากการ
สารวจตรวจสอบแล้ว จึงนาข้อมูล ข้อสนเทศ ท่ีได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนาเสนอผล ที่
ได้ในรูปต่าง ๆ เช่น บรรยายสรุป สร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ หรือวาดรูป สร้างตาราง ฯลฯ
การค้นพบในขั้นนี้อาจเปน็ ไปได้หลายทาง เช่น สนับสนนุ สมมติฐานท่ีต้ังไว้ โตแ้ ย้งกับสมมตฐิ านที่ต้งั ไว้
หรือไม่เก่ียวข้องกับประเด็นที่ได้กาหนดไว้ แต่ผลท่ีได้จะอยู่ในรูปใดก็สามารถสร้างความรู้และช่วยให้
เกิดการเรียนรูไ้ ด้
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนาความรู้ที่สร้างขึ้นไปเช่ือมโยงกับ
ความรู้เดิมหรือแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพ่ิมเติม หรือนาแบบจาลองหรือข้อสรุปท่ีได้ไปใช้อธิบาย
สถานการณ์หรือเหตุการณ์อ่ืน ถ้าใช้อธิบายเร่ืองต่าง ๆ ได้มาก็แสดงว่าข้อจากัดน้อย ซ่ึงก็จะช่วยให้
เช่ือมโยงกบั เร่ืองตา่ ง ๆ และทาใหเ้ กดิ ความรกู้ ว้างขวางขนึ้
5) ข้ันประเมินผล (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง
ๆ ว่านักเรียนมีความรู้อะไรบ้าง อย่างไร และมากน้อยเพียงใด จากข้ันนี้จะนาไปสู่การนาความรู้
ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นเร่ืองอ่นื ๆ
การนาความรู้หรือแบบจาลองไปใช้อธิบายหรือประยุกต์ใช้กับเหตุการณ์หรือเรื่องอื่น ๆ
จะนาไปสู่ข้อโต้แย้งหรือข้อจากัดซึ่งก่อให้เป็นประเด็นหรือคาถาม หรือปัญหาที่จะต้องสารวจ
ตรวจสอบต่อไป ทาให้เกิดเป็นกระบวนการท่ีต่อเน่ืองกันไปเรื่อย ๆ จึงเรียกว่า Inquiry Cycle
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้จึงช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ท้ังเน้ือหาหลักและหลักการ ทฤษฎี
ตลอดจนการลงมือปฏบิ ัติ เพ่ือใหไ้ ด้ความรู้ซึง่ จะเป็นพน้ื ฐานในการเรียนร้ตู ่อไป
วัชรา เล่าเรียนดี (2552 : 103-104) ได้สรุปข้ันตอนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
ไวด้ งั น้ี
ขน้ั ที่ 1 นิยามคาถามและทาความเขา้ ใจให้ชัดเจนกบั คาถาม ประเดน็ หรือปัญหา
ขั้นที่ 2 ตัง้ สมมตฐิ าน
ขั้นที่ 3 เก็บรวบรวมขอ้ มลู และจัดดาเนนิ การเกบ็ ขอ้ มลู
ขน้ั ที่ 4 การประเมนิ ผลข้อมลู การวเิ คราะหแ์ ละตีความหมายข้อมลู
ขน้ั ที่ 5 การสรุปผล
สรุปได้ว่า วิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (Inquiry Method : 5E) เป็นวิธี
สอนท่ีช่วยให้นกั เรยี นคน้ หาความรูด้ ้วยตนเอง เปน็ ผูค้ ิดและปฏิบตั ิ และมีครูเป็นผู้ชแ้ี นะแนวทางให้แก่
นักเรียน ประกอบด้วย ข้ันตอนท่ีสาคัญ ได้แก่ ขั้นกระตุ้นความสนใจ ข้ันสารวจค้นหา
ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป ขั้นขยายความรู้ และขน้ั ประเมินความรู้
บทบาทของครูในการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5 ขน้ั
พมิ พันธ์ เดชะคุปต์ (2544 : 57) ได้กล่าวถึงบทบาทของครูว่า เป็นผู้อานวยความสะดวก
(Facilitator) เพ่ือให้ผู้เรยี นสามารถคน้ หาความรู้ด้วยตนเองได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ดังน้ี
1. เปน็ ผู้กระตุ้น (Catalyst) ใหน้ ักเรยี นคดิ โดยกาหนดปัญหาใหน้ กั เรียนวางแผน
หาคาตอบเอง หรอื กระตุน้ ให้นักเรียนกาหนดปญั หาและวางแผนหาคาตอบเอง
2. เปน็ ผใู้ หก้ ารเสริมแรง (Reinforcer) โดยการใหร้ างวลั หรอื กล่าวชม เพ่ือใหก้ าลงั ใจ
ชว่ ยใหเ้ กิดพฤติกรรมการเรยี นการสอนอยา่ งต่อเนอื่ ง
3. เปน็ ผูใ้ หข้ ้อมูลยอ้ นกลับ (Feedback actor) โดยบอกข้อดี ข้อบกพร่องแกน่ ักเรยี น
4. เปน็ ผู้แนะนาและกากบั (Guide and Director) เปน็ ผูแ้ นะนาเพอ่ื ใหเ้ กิดความคิด
และกากบั ควบคุมไม่ใหอ้ อกนอกล่นู อกทาง
5. เป็นผู้จัดระเบยี บ (Organizer) เปน็ ผจู้ ัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอ้ ม รวมทง้ั อุปกรณ์
สื่อการสอนแก่นักเรียน
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2545 : 38) ได้ระบุบทบาทของครู
ในการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ ไว้ดงั น้ี
1. วางแผนเตรียมการล่วงหน้าเพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจในบทเรียนและเตรียมกจิ กรรม
ทีจ่ ะให้ผเู้ รียนปฏิบตั ิ
2. ในการจัดกิจกรรมต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนคิด มีส่วนรว่ มในกจิ กรรม มีการสร้างแรงจูงใจ
และเสริมแรงอย่างต่อเนือ่ งสมา่ เสมอ
3. ควรเลือกใช้คาถามท่ีมีความยากง่ายให้เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน
ไม่ควรบอกคาตอบในทนั ที แต่ควรแนะนาใหน้ กั เรียนหาคาตอบได้เอง
4. ควรนาวิธีการสอนอื่น ๆ เช่นการสาธิต การใช้คาอธิบายมาใช้เพ่ิมเติมในกิจกรรม สืบ
เสาะหาความรู้
ลดั ดาวลั ย์ กัณหสุวรรณ (2546 : 9-10) กล่าววา่ การจดั การเรยี นรู้แบบสืบเสาะ
หาความรู้ ครมู บี ทบาท ดงั นี้
1. ตอ้ งร้จู ักใชค้ าถาม
2. อดทนทีจ่ ะไม่บอกคาตอบ แตต่ ้องกระต้นุ และเสรมิ พลงั ให้นักเรียนค้นหาคาตอบเอง
3. ตอ้ งให้กาลังใจให้นกั เรยี นมีความพยายาม
4. เข้าใจและรู้ความหมายของพฤตกิ รรมทนี่ ักเรียนแสดงออก
5. มีเทคนิคในการจดั การให้นักเรียนแก้ปญั หา
6. อดทนที่จะฟังคาถามและคาตอบของนักเรียน แม้ว่าคาถาม คาตอบเหล่านั้นอาจไม่
ชัดเจน
7. รู้วิธีบริหารจัดการชั้นเรียน ให้นักเรียนมีอิสระในการคิด การศึกษาค้นคว้าโดยไม่เสีย
ระเบยี บของช้ันเรยี น
8. ร้จู ักนาขอ้ ผิดพลาดมาใช้เป็นโอกาสในการสร้างสรรคแ์ นวคิดในการคน้ ควา้ ทดลองใหม่
สานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2550 : 11) ได้กล่าวถึงบทบาทของครู
ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ข้ัน ดังนี้ สร้างความอยากรู้อยาก
เหน็ ตั้งคาถามกระต้นุ ให้นักเรียนคิด ส่งเสริมให้นักเรียนทางานรว่ มกันในการสารวจตรวจสอบ สังเกต
และฟังการโต้ตอบกันระหว่างนักเรียนกับนักเรียน ซักถามเพ่ือนาไปสู่การสารวจตรวจสอบของ
นักเรียน ให้เวลานักเรียนในการคิดข้อสงสัยตลอดจนปัญหาต่าง ๆ ทาหน้าท่ีให้คาปรึกษาแก่นักเรียน
และส่งเสริมใหน้ ักเรยี นอธบิ ายแนวคิด หรอื ให้คาจากดั ความดว้ ยคาพูดของนกั เรียนเอง
สรุปได้ว่า บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการสืบเสาะ
หาความรู้ 5 ข้ัน ครูจะเป็นผู้สร้างสถานการณ์ หรือปัญหาให้กับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิดความ
สงสยั อยากรู้อยากเหน็ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีสว่ นรว่ มในการทากจิ กรรมด้วยตนเอง จัดหาอุปกรณ์
ในการทากิจกรรมเพ่ืออานวยความสะดวกให้กับนักเรียน และต้ังคาถามต่าง ๆ เพ่ือช่วยให้นักเรียน
สามารถสรปุ ผลจากการทดลองหรอื การทากจิ กรรมได้ดว้ ยตนเอง
บทบาทของนักเรียนในการเรยี นแบบสืบเสาะหาความรู้
บทบาทของนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ ได้มีนักการศึกษา
กลา่ วไว้ดงั น้ี
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2550 : 12) ได้กล่าวถึงบทบาทของ
นักเรียนในการเรียนรู้แบบ 5E ให้ประสบความสาเร็จ ต้องรู้จักถามคาถาม เช่น ทาไมส่ิงนี้จึงเกิดข้ึน
ฉันได้เรียนรู้อะไรบ้างเก่ียวกับสิ่งนี้ แสดงความสนใจ คิดอย่างอิสระแต่อยู่ในขอบเขตของกิจกรรม
ทดสอบการคาดคะเนและสมมติฐาน คาดคะเนและตั้งสมมติฐานใหม่ พยายามหาทางเลือกในการ
แกป้ ญั หาและอภิปรายทางเลือกเหลา่ น้ันกับคนอ่ืน บนั ทึกการสังเกตและใหข้ อ้ คดิ เห็น ลงข้อสรุป
อธบิ ายการแก้ปญั หาหรือคาตอบทีซ่ บั ซ้อน ฟงั คาอธิบายของคนอ่นื อยา่ งคิดวิเคราะห์ ถามคาถาม
เกีย่ วกบั สิ่งทคี่ นอ่นื ได้อธิบาย ฟังและพยายามทาความเขา้ ใจเกย่ี วกับส่งิ ท่ีครูอธบิ าย อา้ งองิ กจิ กรรม
ที่ได้ปฏิบัติมาแล้ว ใช้ข้อมูลท่ีได้จากการบันทึก/สังเกตในการอธิบาย ลงข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผล
จากหลักฐานที่ปรากฏ บันทึกการสังเกตและอธิบาย ตรวจสอบความเข้าใจกับเพ่ือน ๆ ตอบคาถาม
ปลายเปิด โดยใช้การสังเกต หลักฐานและคาอธิบายที่ยอมรับมาแล้ว แสดงออกถึงความรู้ความเข้าใจ
เก่ียวกับความคิดรวบยอดหรือทักษะ ประเมินความก้าวหน้าด้วยตนเอง ถามคาถามเพ่ือให้มีการ
ตรวจสอบตอ่ ไป
สรปุ ได้ว่า การจดั กจิ กรรมการเรียนร้แู บบ 5E มีขอ้ ดี คอื นักเรียนได้มโี อกาสพฒั นา
ความคดิ อย่างเต็มที่ และได้เรียนรูว้ ิธีการค้นหาความรู้ และการแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง นกั เรียนมีสว่ น
ร่วมในกิจกรรมการเรยี นการสอน เกิดแรงจูงใจในการเรียน
ขอ้ ดีและข้อจากดั ของการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้
นักการศกึ ษา กล่าวถงึ ขอ้ ดขี องการจัดการเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ ดังนี้
ภพ เลาหไพบูลย์ (2544 : 156) ได้กล่าวถึงข้อดแี ละข้อจากัดของการสอน
แบบสืบเสาะหาความรู้ ดังน้ี
ข้อดีของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
1. นกั เรยี นมโี อกาสได้ฝึกพฒั นาความคิดอยา่ งเต็มท่ี ไดศ้ ึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง
จึงมคี วามอยากเรยี นร้ตู ลอดเวลา
2. นักเรียนมีโอกาสฝึกความคิด ฝึกการกระทา ทาให้ได้เรียนรู้การจัดการระบบความคิด
และวิธีเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ทาให้ความรู้คงทนและถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ ทาให้สามารถ
จดจาได้นานและนาไปใชใ้ นสถานการณ์ใหมไ่ ด้อกี ด้วย
3. นกั เรียนเปน็ ศูนย์กลางของการเรยี นการสอน
4. นักเรยี นสามารถเรียนรู้มโนมติ และหลักการไดเ้ รว็ ขึ้น รวมทั้งมีความคดิ ริเริ่ม
สรา้ งสรรค์
5. นกั เรียนเป็นผูม้ ีเจตคติที่ดีต่อการเรยี นการสอน
6. ส่งเสริมการค้นควา้ หาความร้แู ละสรา้ งสรรค์ความเป็นประชาธปิ ไตยในตวั นกั เรยี น
ขอ้ จากดั ของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
1. ใชเ้ วลามากในการสอนแต่ละคร้ัง
2. หากสถานการณท์ ี่ครูสร้าง ไม่ทาให้สงสยั แปลกใจ จะทาใหน้ กั เรียนเบ่ือหน่าย
พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์ (2544 : 60) ไดก้ ล่าวถงึ ข้อดแี ละข้อจากัดของการสอน
แบบสบื เสาะหาความรู้ไว้ ดงั นี้
ข้อดีของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
1. เป็นการพัฒนาศักยภาพด้านสติปัญญา คือฉลาดขึ้น เปน็ นักริเริม่ สร้างสรรค์
และนกั จดั ระเบยี บ
2. การค้นพบดว้ ยตนเองทาให้เกดิ แรงจูงใจภายในมากกวา่ การเรยี นแบบทอ่ งจา
3. ฝกึ ใหน้ กั เรียนรจู้ กั วิธกี ารค้นหาความรู้ แกป้ ัญหาด้วยตนเอง
4. ช่วยให้จดจาความรู้ได้นาน และสามารถถา่ ยโยงความรู้ได้
5. นักเรยี นเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน จะทาให้การเรยี นมีความหมาย
เปน็ การเรยี นทมี่ ีชวี ิตชีวา
6. ชว่ ยพัฒนามโนทัศนแ์ ก่ผเู้ รียน
7. พัฒนาให้ผู้เรยี นมเี จตคติทางวิทยาศาสตร์
8. ชว่ ยใหน้ กั เรียนเกิดความเชื่อม่ันว่าจะกระทาการสงิ่ ใด ๆ จะสาเร็จด้วยตนเองสามารถ
คดิ และแกป้ ญั หาด้วยตนเองไมย่ ่อท้อต่ออุปสรรค
9. นกั เรยี นมีเจตคติทด่ี ตี อ่ วิชาวทิ ยาศาสตร์
10. ไดป้ ระสบการณต์ รง ฝกึ ทักษะการแกป้ ัญหาและทักษะการใชเ้ ครือ่ งมือวิทยาศาสตร์
11. สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้
ข้อจากดั ของการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้
1. ใช้เวลาในการสอนแต่ละคร้งั บางครงั้ ไดเ้ น้อื หาไม่ครบตามทก่ี าหนด
2. หากสถานการณ์ท่คี รูสร้างขนึ้ ไม่ชวนสงสยั ไม่ชวนติดตาม จะทาให้นักเรียน
เบ่ือหนา่ ยไม่อยากเรียน
3. นกั เรยี นท่ีมรี ะดบั สติปัญญาที่ต่า หรอื ไมม่ ีการกระตนุ้ มากพอจะไมส่ ามารถเรยี นด้วย
วธิ ีสอนแบบนไ้ี ด้
4. เปน็ การลงทนุ ซ่งึ ไดผ้ ลไม่คุ้มค่ากบั การลงทุน
5. ถา้ นกั เรียนไม่รู้จักหลักการทางานกลุ่มทถ่ี ูกต้อง อาจทาให้นักเรยี นบางคนหลกี เลี่ยง
งาน ซึง่ จะทาให้ไม่เกดิ การเรยี นรู้
6. ครตู ้องใช้เวลาในการวางแผนมาก หากครมู ภี าระมากอาจเกดิ ปญั หาดา้ นอารมณ์
ซึง่ มีผลต่อบรรยากาศในห้องเรยี น
7. ขอ้ จากัดเร่ืองเนื้อหาและสติปญั ญา อาจทาใหน้ ักเรียนไม่สามารถศึกษาดว้ ยวิธสี อน
แบบน้ี
พนั ธ์ ทองชมุ นุม (2547 : 56-57) ได้กล่าวถึงข้อดแี ละข้อจากัดของการสอน
แบบสบื เสาะหาความรู้ไว้ ดังน้ี
ขอ้ ดีของการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้
1. นักเรียนสามารถพฒั นาความคดิ ได้อย่างเตม็ ท่ี รู้จกั ใชเ้ หตุผลมาวิเคราะห์บทเรียน
2. นักเรียนสามารถคิดอย่างมีระบบและมีข้ันตอนในการคิด อันจะส่งผลต่อนักเรียน
ในการพฒั นาตัวเองเพอื่ นาไปประยุกต์ใชก้ บั วชิ าอื่น
3. การเรียนการสอนใหค้ วามสาคญั กับนักเรยี นเปน็ สาคัญ
4. นกั เรยี นสามารถคดิ หรือมมี โนคตติ ามหลักการของวทิ ยาศาสตร์
5. นกั เรียนมีเจตคติทีด่ ีต่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ขอ้ จากดั ของการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้
1. ในการสอนแตล่ ะครงั้ ใช้เวลาคอ่ นขา้ งนาน
2. หากสถานการณ์ที่ครสู รา้ งข้ึน ไม่เร้าใจนักเรยี น อาจจะทาใหน้ กั เรยี นใหค้ วามร่วมมือ
ในกจิ กรรมการสอนน้อยลง มีผลทาให้บรรยากาศการเรยี นไมเ่ รา้ ใจเทา่ ทคี่ วร ดังน้ันครู
ต้องเตรียมสร้างสถานการณ์ที่สามารถทาให้นักเรยี นต้องการมีส่วนรว่ มมากท่สี ุด
3. สาหรับเนอ้ื หาวชิ าที่ซบั ซ้อนและค่อนขา้ งยาก จะทาให้นักเรยี นท่เี รียนรู้ไดช้ ้า
อาจมีปัญหาในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
4. นกั เรยี นทม่ี วี ฒุ ภิ าวะยังไมเ่ ปน็ ผูใ้ หญพ่ อ อาจไม่มแี รงจงู ใจเพียงพอทจี่ ะทาใหน้ ักเรียน
ได้เรียนรูค้ รบตามกระบวนการ ส่งผลใหไ้ มบ่ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ตามท่ีวางไว
สรปุ ได้ว่า ข้อดีของการจดั การเรยี นรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ เป็นการจัดการเรยี นรู้
ท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ ส่งเสริมนักเรียนได้พัฒนาความคิดอยา่ งเป็นระบบโดยการสบื ค้นข้อมูลและ
เสาะแสวงหาด้วยตนเอง เพ่ือสามารถถ่ายโยงการเรยี นรู้ ทาใหเ้ กิดเป็นการจาแบบยงั่ ยืน
ส่วนข้อจากดั ของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ การใชเ้ วลาในการสอนแตล่ ะคร้ัง บางครัง้ ไดเ้ น้ือหา
ไมค่ รบตามท่ีกาหนด หากสถานการณท์ ี่ครสู ร้างขึน้ ไม่ชวนสงสัย ไมช่ วนตดิ ตาม จะทาให้นักเรยี นเบ่อื
หนา่ ยไม่อยากเรยี น
3.3 วิธกี ารสอนแบบอุปนยั (Inductive Method)
ทิศนา แขมมณี (2554 : 340-342) กล่าวว่า วิธีสอนโดยใช้การอุปนัย คือ
กระบวนการสอนท่ีผู้สอนใชใ้ นการช่วยให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการนา
ตัวอย่าง/ข้อมูล/ความคดิ /เหตุการณ์/สถานการณ์/ปรากฏการณ์ ท่ีมหี ลักการ/แนวคิด ท่ตี ้องการสอน
ให้แก่ผู้เรียน มาให้ผู้เรียนศึกษาวิเคราะห์ จนสามารถดึงหลักการ/แนวคิด ที่แฝงอยู่ออกมา เพ่ือ
นาไปใช้ ในสถานการณอ์ น่ื ๆ ต่อไป
องค์ประกอบสาคญั ของวธิ กี ารสอนแบบอุปนัย
1. มีผู้สอนและผู้เรยี น
2. มตี ัวอย่าง/ข้อมลู /สถานการณ์/เหตกุ ารณ์/ปรากฏการณ/์ ความคิดทเี่ ปน็ ลักษณะย่อย ๆ
ของสิ่งทีต่ ้องการใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้
3. มีการวิเคราะหต์ ัวอย่างตา่ ง ๆ เพ่อื หาหลักการที่ร่วมกัน
4. มขี อ้ สรุปท่ีมีลกั ษณะเป็นหลักการ/แนวคิด
5. มผี ลการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น
ขั้นตอนสาคัญในการสอนแบบอปุ นัย
1. ผู้สอน และ/หรือ ผู้เรียน ยกตัวอย่าง/ข้อมูล/สถานการณ์/เหตุการณ์/ปรากฏการณ์/
ความคดิ ทเ่ี ป็นลักษณะยอ่ ยของสิ่งทจ่ี ะเรยี นรู้
2. ผู้เรียนศกึ ษาและวิเคราะห์หาหลักการท่ีแฝงอยูใ่ นตวั อยา่ งนน้ั
3. ผ้เู รยี นสรุปหลกั การ/แนวคิด ทีไ่ ดจ้ ากตัวอยา่ งน้ัน
4. ผูส้ อนประเมินผลการเรียนของผูเ้ รยี น
เทคนิคและข้อเสนอแนะต่าง ๆ ในการใชว้ ิธีสอนโดยการอปุ นัยให้มีประสทิ ธภิ าพ
1. การเตรียมตวั อย่าง ผ้สู อนจาเปน็ ต้องเตรยี มตวั อย่าง/ข้อมลู /สถานการณ์/เหตกุ ารณ์
/ปรากฏการณ์/ความคิด ที่มีหลกั การ/แนวคิด ที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แฝงอยู่ ตัวอย่างที่ให้
ควรประกอบด้วยลักษณะหรือคุณลักษณะหรือคุณสมบัติย่อย ๆ ที่ครอบคลุม หลักการ/แนวคิดน้ัน
เช่น ถ้าต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ว่า สัตว์เล้ือยคลานคืออะไร ตัวอย่างที่ให้ก็ควรครอบคลุม
คุณสมบัติย่อยของสัตว์เล้ือยคลาน หรือต้องการให้ผู้เรียนเข้าใจคาว่า ซ่ือสัตย์สุจริต ตัวอย่างที่ให้
ก็ควรประกอบด้วยคุณสมบัติต่าง ๆ ของความซื่อสัตย์สุจริต จะเห็นได้ว่า วิธีสอนในลักษณะนี้
เปน็ วิธีหลกั ท่ีใชใ้ นการสอนมโนทัศนแ์ ละหลกั การตา่ ง ๆ ซึ่งการท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดมาก ๆ
นัน้ ตวั อยา่ งท่ใี หค้ วรเป็นตวั อยา่ งทนี่ ่าสนใจและทา้ ทายความคดิ ความสามารถของผูเ้ รียน
2. การให้ผเู้ รียนศกึ ษาวิเคราะห์หาหลักการ/แนวคิด จากตวั อยา่ งท่ใี หแ้ ก่ผูเ้ รียน
เป็นตัวอย่างท่ีครอบคลุมลักษณะหรือคุณสมบัติย่อย ๆ ของหลักการ/แนวคิดน้ัน ๆ และมีประเด็น
คาถามท่ีสามารถนาผู้เรียนไปสู่วัตถุประสงค์ที่ต้องการแล้ว ย่อมจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและ
วิเคราะห์ได้ตรงวัตถุประสงค์อย่างรวดเร็ว แต่หากผู้เรียนไม่ประสบความสาเร็จ หรือทาได้
ไม่ถูกต้อง ผู้สอนสามารถใช้คาถามเพิ่มเติม หรอื ให้ข้อมลู เพิ่มเตมิ ได้ แต่ไม่ควรใหใ้ นลกั ษณะท่ีเป็นการ
บอกคาตอบ ผูส้ อนพงึ ระลกึ อยูเ่ สมอว่า วิธีสอนวธิ นี ้ีมุง่ ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นไดค้ ิด ได้ทาความเข้าใจดว้ ยตนเอง
จึงควรใช้วิธีกระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดค้นต่อไป โดยการตั้งประเด็นคาถามเพิ่มเติม และควรให้ผู้เรียนได้
ร่วมกันคิดร่วมกันวิเคราะห์เป็นกลุ่มย่อย เพื่อจะได้แลกเปล่ียนความคิดเห็น กระตุ้นและตรวจสอบ
ความคดิ ของกันและกนั อนั จะนาไปสู่ความคดิ ท่รี อบคอบขึน้ และถกู ต้องมากขน้ึ
3. การใหผ้ ู้เรยี นสรุปและนาขอ้ สรุปไปใช้ ผสู้ อนควรจะเตรยี มตวั อย่างสถานการณ์ใหม่ ๆ
ท่ีหลากหลายมาให้ผู้เรียนใช้ในการฝึกนาความรู้/ข้อสรุปไปใช้ หรือผู้สอนอาจให้ผู้เรียนช่วยกัน
ยกตัวอย่างจากประสบการณ์ก็ได้ การส่งเสริมให้ผู้เรียนนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ นอกจากจะเป็นการ
ช่วยให้ความรู้เกิดประโยชน์ต่อชีวิตอย่างแท้จริงแล้ว ยังสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจท่ีแน่น
ขน้ึ ลึกซง้ึ ข้นึ และยงั เป็นโอกาสให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรูใ้ หม่ ๆ เพิ่มเตมิ ขน้ึ อีกดว้ ย
ขอ้ ดแี ละข้อจากดั
ข้อดี
1. เป็นวิธสี อนทผ่ี เู้ รียนสามารถค้นพบการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง จงึ ทาใหเ้ กดิ ความ
เข้าใจและจดจาไดด้ ี
2. เป็นวธิ สี อนที่ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นไดพ้ ฒั นาทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ อันเปน็ เครื่องมอื สาคัญ
ของการเรยี นรู้
3. เป็นวธิ สี อนทผ่ี เู้ รยี นได้ทั้งเนอ้ื หาความรู้ (ไดแ้ ก่ หลกั การ/แนวคิด) กระบวนการ
(ไดแ้ ก่ กระบวนการคดิ ) ซ่งึ ผูเ้ รียนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการเรยี นรูเ้ รอื่ งอ่นื ๆ ได้
ขอ้ จากดั
1. เป็นวธิ ีสอนท่ีใช้เวลาคอ่ นขา้ งมาก
2. เปน็ วธิ ีสอนท่ีอาศยั ตัวอยา่ งทีด่ ี หากผ้สู อนขาดความเข้าใจในการจัดเตรียมตัวอย่าง ท่ี
ครอบคลุมลกั ษณะสาคัญ ๆ ของหลักการ/แนวคิดทสี่ อน การสอนจะไม่ประสบผลสาเรจ็
3. เปน็ วธิ กี ารสอนที่ผเู้ รยี นจะตอ้ งคิดคน้ หาคาตอบดว้ ยตนเอง หากผูเ้ รยี นขาดทักษะ
พน้ื ฐานในการคิด และการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม อาจไม่เกิดผลทตี่ ้องการ
สรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัย เป็นวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ที่ส่งเสริมให้นักเรียน รู้จักสร้างความคิดรวบยอดด้วยตนเอง โดยอาศัยการสังเกต เปรียบเทียบ
หาเหตุผล เป็นการสอนให้ผู้เรียนสรุปหลักการจากตัวอย่าง มุ่งให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์
สามารถจับหลักการ หรือประเด็นสาคัญได้ด้วยตนเอง ทาให้เกิดการเรียนรู้ หลักการ แนวคิดหรือ
ข้อความรู้ อย่างเข้าใจ ครูผู้สอนต้องเตรียมตัวอย่างต่าง ๆ ท่ีมีหลักการ ท่ีต้องการให้นักเรียนค้นพบ
มากพอท่ีจะให้นักเรียนสังเกตเห็น เพ่ือจะได้นาลักษณะเด่นมาสรุปเป็นความคิด รวบยอด
ซ่ึงมีขั้นตอนการสอนท่ีน่าสนใจ 5 ข้ันตอน คือ 1. ข้ันเตรียมการ 2. ข้ันเสนอตัวอย่าง 3. ข้ัน
เปรียบเทียบ 4. ข้ันสรุปกฎเกณฑ์ 5. ข้ันนาไปใช้ การจัดการเรียนรู้ตามขั้นตอนการสอนแบบอุปนัย
เป็นขั้นตอนท่ีทาให้ผู้เรียนสามารถค้นพบการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ อัน
เป็นเครื่องมือสาคัญของการเรียนรู้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้เรื่อง อ่ืน ๆ
ได้
3.4 วธิ ีการสอนแบบกระบวนการปฏิบตั ิ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550 : 1-8) กล่าวว่า รูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติเป็นการนาแนวคิดทฤษฎีรูปแบบการสอน ช่ือการสืบเสาะหา
ความรู้เป็นกลุ่ม จอห์น ดิวอ้ี (John Dewey : Group Investigation Model) กับรูปแบบการสอน
แบบปฏิบัติการมาประยุกต์เข้าด้วยกันเป็นรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติจริง
เนื่องจากท้ังสองรูปแบบนี้มีลักษณะ จุดมุ่งหมายกระบวนการ และผลท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรียนมีลักษณะท่ี
สอดคล้องกันจากแนวคิดรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่ม และการสอนแบบ
ปฏิบัติการ นามาสังเคราะห์และพัฒนาแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติได้ ต้อง
เชอื่ ว่าความรู้เป็นสิ่งที่เกิดข้ึนไดต้ ลอดเวลา ลกั ษณะการออกแบบการเรียนรู้จะกระตุ้นให้ผู้เรยี นคน้ พบ
เรียนรู้จากประสบการณ์ เรียนรู้สภาพจริง เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ได้
อย่างเต็มท่ี เนน้ ใหผ้ ูเ้ รยี นเรียนรจู้ ากการปฏบิ ัตจิ ริง มอี ิสระในการปฏิบตั ิงาน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติจริงเป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะกลุ่ม
ปฏิบัติการท่ีเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ตรงจากการเผชิญสถานการณ์จริงและการแก้ปัญหา เพื่อให้เกิด
การเรียนรู้จากการกระทา ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ฝึกคิด ฝึกลงมือทา ฝึกทักษะกระบวนการต่าง ๆ ฝึก
การแก้ปัญหาด้วยตนเองและฝึกทักษะการเสาะแสวงหาความรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม ผู้เรียนได้เรียนรู้
ท้ังทางทฤษฎีและการปฏิบัติตามแนวประชาธิปไตย การแบ่งกลุ่มทางาน (Grouping Works) ผู้สอน
จะดาเนนิ การร่วมกับผเู้ รียนแบ่งกล่มุ ย่อย มอบใหป้ ฏิบัติกจิ กรรมอย่างใดอยา่ งหน่งึ เช่น ศึกษาค้นคว้า
แก้ปัญหา หรือปฏิบัติกิจกรรม ฯลฯ เน้นการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะตาม
แบบประชาธิปไตย การสอนแบบน้ีต้องดาเนินการอย่างมีหลักเกณฑ์ คือ วางจุดประสงค์ของการ
ทางาน วางหนา้ ท่ีแต่ละคนใหแ้ น่นอน เสนอแนะใหร้ ้วู ่าจะหาความรู้ไดอ้ ยา่ งไร ที่ใด
สรปุ ไดว้ ่า วิธีการสอนแบบกระบวนการปฏบิ ัติ เป็นวธิ ีการสอนทีค่ รูเปิดโอกาสให้
นักเรียนลงมือปฏิบัติหรือทาการทดลองค้นหาความรู้ด้วยตนเอง เสริมสร้างความคิดในการหาเหตุผล
ทาให้เกิดประสบการณ์ตรง หรือเป็นการเรียนรู้จากสภาพจริง ผู้เรียนเป็นผู้กระทาเพ่ือพิสูจน์หรือ
ค้นหาความรู้ด้วยตนเอง มีขั้นตอนสาคัญ ได้แก่ ขั้นสังเกตรับรู้ ข้ันทาตามแบบ ขั้นทาเอง
โดยไมม่ ีแบบ ขั้นฝกึ ทาใหช้ านาญ
4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
4.1 ความหมายของผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
นกั การศึกษาไดใ้ หค้ วามหมายของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ไวด้ ังน้ี
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2548 : 125) ให้ความหมาย ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน หมายถงึ ขนาดของความสาเร็จท่ีไดจ้ ากกระบวนการเรยี นการสอน
ธารินี อยู่เสน (2549 : 31) ให้ความหมาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลท่ี
ผู้เรียนได้รับจากการเรียนการสอน หรือทักษะที่ได้พัฒนาข้ึนมาตามลาดับข้ันในการเรียนรู้ และฝึก
ปฏิบัติในสาขาวิชาต่าง ๆ ซ่ึงมีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหลายด้าน ซ่ึงผู้เรียนมีระดับ
ความสามารถแตกต่างกันออกไป วัดได้จากเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซ่ึงเครื่องมือที่ใช้
โดยมากจะใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
วันวิษา อังคะนา (2553 : 40) ใหค้ วามหมาย ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง
ความสาเร็จหรือความสามารถในการกระทาใด ๆ ที่ต้องอาศัยทักษะความรอบรู้ โดยอาศัยเครื่องมือ
วัดเพ่ือตรวจสอบความสามารถ เชน่ แบบทดสอบเพ่ือวดั ความรคู้ วามจา ความเขา้ ใจและการนา
ความรู้ไปใช้ ซ่งึ ขนึ้ อยู่กบั องค์ประกอบทางสติปัญญาและความสามารถของสมอง
ราชบัณฑิตยสถาน (2555 : 9) ให้ความหมายว่า ผลสัมฤทธ์ิ หมายถึง ผลการ
เรียนรู้ ท่ีวัดหรือเทยี บจากเกณฑ์ทีก่ าหนด โดยใช้แบบทดสอบหรือเคร่อื งมืออ่ืนท่ีเหมาะสมประเมินผล
สมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถทางการเรียนของนักเรียน
ที่ได้รับจากการจัดการเรียนรู้ ซึ่งประเมินได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดังน้ัน
ผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ที่กล่าวถึงใน การ วิจัยคร้ังนี้
จึงหมายถึง ความสามารถทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เร่ืองการแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดกี รสี อง ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนกาแพงวทิ ยา จงั หวัดสตลู
4.2 องค์ประกอบท่ีมอี ิทธิพลต่อผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
ผ ล สั ม ฤท ธ์ิ ท า งกา รเรีย น มีบ ท บ า ท ใน ก ระบ ว น ก าร วัด ผ ล กา รศึ กษ า อ ย่ างม า ก
เพ ร า ะ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า งก า ร เรี ย น เป็ น ดั ช นี ป ร ะ ก าร ห นึ่ งท่ี ส า ม า ร ถ บ อ ก ถึ งคุ ณ ภ า พ ก าร ศึ ก ษ า ได้
ซ่ึงองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีหลายประการ ดังที่นักการศึกษาได้กล่าวไว้
ดังตอ่ ไปนี้
อารีย์ คงสวัสดิ์ (2544 : 13-14) กล่าวว่า องค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลกับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นนัน้ มีหลายประการ ดงั นี้
1. ด้านคุณลักษณะการจัดระบบในโรงเรียน ตัวแปรด้านน้ีจะประกอบด้วยขนาด
ของโรงเรียน อัตราส่วนนักเรียนต่อครู อัตราส่วนนักเรียนต่อห้องซ่ึงตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรยี น
2. ด้านคุณลักษณะของครู ตัวแปรทางด้านคุณลักษณะประกอบด้วยอายุ วุฒิครู
ประสบการณ์ของครู การอบรมของครู จานวนวันลาของครู จานวนคาบท่ีสอนในหนึ่งสัปดาห์
ของครู ความเอาใจใสใ่ นหน้าที่ ซง่ึ ตวั แปรเหลา่ นี้ลว้ นมคี วามสัมพนั ธก์ ับผลสมั ฤทธ์ิทั้งสิน้
3. ด้านคุณลักษณะของนกั เรยี น ประกอบด้วยตวั แปรเกี่ยวกับตวั นักเรียน เช่น เพศ
อายุ สติปัญญา การเรียนพิเศษ การรับการช่วยเหลือเกี่ยวกับการเรียน สมาชิกในครอบครัว ระดับ
การศึกษาของบิดามารคา อาชีพของผู้ปกครอง ความพรอ้ มเรอื่ งอุปกรณ์การเรียนการสอน ฐานะทาง
ครอบครัว การขาดเรยี น การเข้าร่วมกิจกรรมท่ีทางโรงเรยี นจัดขึ้น ตัวแปรเหล่าน้ี ก็
มคี วามสัมพันธ์กับ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
4. ด้านภูมิหลังเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมของนักเรียน การศึกษาเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจ สังคมกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ส่วนใหญ่เป็นการศึกษา
ในต่างประเทศซึ่งประกอบด้วยขนาดของครอบครัว ภาษาท่ีพูดในบ้าน ถ่ินที่ตั้งบ้าน การมีส่ือ
ทางการศึกษาต่าง ๆ ระดับการศึกษาของบิดามารดา เป็นต้น ผลศึกษาค้นคว้าท่ีผ่านมา
พบความสมั พันธ์กบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
ณยศ สงวนสิน (2547 : 39) กล่าวว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นนั้นมีปจั จยั และองค์ประกอบท้ังทางตรง คือ ตัวนักเรียน และทางสังคม ไดแ้ ก่ สภาพของ
สงั คม ครอบครัว ตวั ครแู ละรวมถึงการสอนของครู
สรุปได้ว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมีหลายประการ เช่น
การจัดระบบในโรงเรียน คุณลักษณะของครู นักเรียน บิดามารดาหรือผู้ปกครอง สภาพสังคมและ
เศรษฐกิจรวมทั้งส่ิงแวดล้อม ในส่วนของการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ก็เช่นเดียวกัน ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนคณิตศาสตรจ์ ะบรรลตุ ามเป้าหมายหรือไม่ ก็ขนึ้ อยูก่ ับองค์ประกอบดงั กล่าวดว้ ย
4.3 การวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในท่ีนห้ี มายถงึ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาคณิตศาสตร์
โดยเครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการวดั คือ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาคณิตศาสตร์ นกั การศึกษา
หลายท่านไดใ้ ห้ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นไวด้ ังนี้
บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 53) ให้ความหมายว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึง
แบบทดสอบท่ีใช้ความรู้ความสามารถของบุคคลในด้านวิชาการ ซ่ึงเป็นผลมาจากการเรียนรู้
ใน เน้ือหาสาระและตามจุดประสงคข์ องวิชาหรอื เนอ้ื หาท่สี อบ
สมนกึ ภัททยิ ธนี (2546 : 73) ให้ความหมายว่า แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
หมายถงึ แบบทดสอบทว่ี ัดสมรรถภาพสมองด้านต่าง ๆ ท่นี กั เรยี นได้รบั การเรียนรผู้ า่ นมาแลว้
ศิริพร มาวรรณา (2546 : 36) ให้ความหมายว่า แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
เปน็ แบบทดสอบทใ่ี ช้วัดความรู้ ทักษะ และสมรรถภาพทางสมองด้านต่าง ๆ เป็นการวดั ความสาเรจ็ ใน
เชงิ วิชาการวา่ นักเรยี นรมู้ าแล้วเทา่ ใด
สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้
ความสามารถ ทักษะ/กระบวนการของนักเรียน เพ่ือตรวจสอบว่าผู้เรียนได้พัฒนาความรู้
ความสามารถถงึ มาตรฐานที่ผสู้ อนกาหนดไว้หรือไม่
ประเภทของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์
แบบทดสอบท่ีใช้ทางการศึกษามีแตกต่างกันหลายประเภท แล้วแต่หลักเกณฑ์ท่ีใช้
ในการจาแนก
พิสณุ ฟองศรี (2549 : 138-139) ใช้คาว่า แบบสอบ แทนคาว่าแบบทดสอบ และกล่าว
วา่ แบบสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ แบ่งย่อยได้หลายแบบ ดงั นี้
1. แบบสอบอัตนัย เป็นแบบสอบที่กาหนดให้ผู้ตอบเขียนบรรยายลักษณะเรียบเรียง
ด้วยภาษาของตนเองอย่างอิสระ มีข้อดีคือเหมาะกับการวัดทักษะทางสมองชั้นสูง เช่น ด้านการ
วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และประเมินค่า แตม่ ีขอ้ เสยี ทสี่ าคัญคอื ตรวจใหย้ ตุ ธิ รรมได้ยากมาก
2. แบบสอบถูกผิด เป็นแบบสอบที่จะให้พิจารณาว่า ข้อความท่ีให้มาถูกหรือผิด
และมขี ้อดี คือ สรา้ งไดง้ ่าย แต่มีข้อเสยี ทส่ี าคัญคอื มโี อกาสเดาสูงครึง่ หนึง่ และมักจะวัดความสามารถ
ทางสมองได้เพยี งความจาปจั จุบันแทบไม่มีการใชแ้ บบสอบชนิดน้แี ล้ว
3. แบบสอบเติมคา เป็นแบบสอบท่ีจะให้ประโยคไม่สมบูรณ์มา และให้ผู้สอนเติมคา
ข้อความ หรือประโยคลงไป มีข้อดี คือ สร้างง่าย ผู้ตอบเดายาก ในขณะที่มีข้อเสีย คือ มักจะวัด
ความสามารถทางสมองได้เพียงความจาและตรวจยาก
4. แบบจับคู่ แบบสอบด้วยการให้จับคู่จะประกอบด้วยชุดคาถามท่ีมีตัวเลือกชุดหน่ึง
ร่วมกันให้ผู้ตอบเลือก มีข้อดี คือ สร้างง่าย และเหมาะสาหรับวัดความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ แต่มี
ข้อเสยี คอื มักจะวดั ความสามารถทางสมองไดเ้ พียงความจาเชน่ กัน
5. แบบสอบเลือกตอบ แบบสอบชนิดน้ีจะมีข้อคาถามและคาตอบให้เลือกตอบ โดยมี
ตัวเลือกท่ีถูกเพียงตัวเดียว ที่เหลือเรียกว่าตัวลวง มีข้อดีท่ีสาคัญคือ วัดได้ครอบคลุม ตรวจง่าย และ
ยุติธรรม พัฒนาให้เป็นแบบสอบมาตรฐานได้ ปัจจุบันจึงไดร้ ับความนยิ มมาก แต่มีข้อเสีย คอื สร้างได้
ยาก โดยเฉพาะถ้าจะวัดความสามารถด้านสมองท่ีสูงกว่าความจา ซ่ึงในการวิจัยชั้นเรียนควรใช้แบบ
สอบชนิดนี้เพราะจะมีความยุติธรรม และสะดวกในการเปรียบเทียบผลของนวัตกรรม แต่ตอ้ งสร้างให้
วัดไดส้ ูงกว่าระดับความจาบ้างถา้ วัตถปุ ระสงค์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต้องการคุณลกั ษณะดังกล่าว
สมนึก ภัททิยธนี (2551 : 73-97) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ แบบทดสอบที่ครูสร้างกับแบบทดสอบมาตรฐาน แต่เนื่องจากครูต้อง
ทาหน้าท่ีวัดผลนักเรียน คือ เขียนข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ตนได้สอน ซ่ึงเกี่ยวข้องโดยตรง
กับแบบทดสอบท่ีครูสร้างขึ้น แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ประเภทท่ีครูสร้าง
มหี ลายแบบ แตท่ น่ี ยิ มใชม้ ี 6 แบบ ดงั น้ี
1. ขอ้ สอบแบบอตั นัยหรือความเรยี ง (Subjective or Essay Test) เป็นข้อสอบท่ีมี
เฉพาะคาถามแล้วนกั เรยี นเขียนอย่างเสรี เขียนบรรยายตามความรแู้ ละข้อคดิ เหน็ ของแตล่ ะคน
2. ข้อสอบกาถูก-ผดิ (True-False Test) คือข้อสอบเลือกตอบท่ีมี 2 ตัวเลือก
แต่ ตัวเลือกดงั กล่าวเป็นแบบคงทแ่ี ละมคี วามหมายตรงกันขา้ ม เชน่ ถูก- ผดิ ใช่ -ไม่ใช่ จรงิ -ไม่จรงิ
เหมือนกัน-ต่างกนั เป็นต้น
3. ข้อสอบแบบเตมิ คา (Completion Test) เปน็ ข้อสอบทปี่ ระกอบดว้ ยประโยค
หรอื ขอ้ ความทย่ี ังไมส่ มบรู ณแ์ ล้วให้ผ้ตู อบเติมคาหรือประโยคหรอื ข้อความลงในชอ่ งว่างที่เว้นไว้
เพ่อื ใหม้ ีใจความสมบรู ณ์และถกู ต้อง
4. ข้อสอบแบบตอบสั้นๆ (Short Answer Test) เป็นข้อสอบท่ีคล้ายกับข้อสอบ
แบบเติมคา แต่แตกต่างกันที่ข้อสอบแบบตอบสั้น ๆ เขียนเป็นประโยคคาถามที่สมบูรณ์ แล้วให้
ผู้ตอบเป็นคนเขียนตอบ คาตอบที่ต้องการจะสั้นและกะทัดรัดได้ใจความสมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นการ
บรรยายแบบข้อสอบอตั นยั หรือความเรียง
5. ข้อสอบแบบจับคู่ (Matching Test) เป็นข้อสอบเลือกตอบชนิดหนึ่งโดยมีคา
หรือข้อความแยกออกจากกันเป็น 2 ชุด แล้วให้ผู้ตอบเลือกจับคู่ว่าแต่ละข้อความในชุดหนึ่ง (ตัวยืน)
จะคู่กับคาหรือข้อความใดในอีกชุดหนึ่ง (ตัวเลือก) ซ่ึงมีความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหน่ึงตามท่ีผู้ออก
ข้อสอบกาหนดไว้
6. ขอ้ สอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice Test) คาถามโดยทวั่ ไปจะ
ประกอบด้วย 2 ตอน คอื ตอนนาหรอื คาถาม (Stem) กบั ตอนเลือก (Choice) ในตัวเลอื กน้ี
ประกอบด้วยตวั เลือกท่ีเป็นคาตอบถูกและตวั เลอื กทเ่ี ปน็ ตัวลวง
บุญชม ศรีสะอาด (2556 : 56-57) จาแนกประเภทของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี นไว้ 2 ประเภท ดังน้ี
1. แบบทดสอบอิงเกณฑ์ (Criterion Referenced Test) หมายถึง
แบบทดสอบท่ีสร้างข้ึนตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มีคะแนนจุดตัดหรือคะแนนเกณฑ์สาหรับใช้
ตัดสินว่าผู้สอบ มีความรู้ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้หรือไม่ การวัดตรงตามจุดประสงค์เป็น
หลักการสาคัญของข้อสอบในแบบวัดประเภทน้ี
2. แบบทดสอบอิงกลุ่ม (Norm Referenced Test) หมายถึง แบบทดสอบท่ีมุ่ง
สร้างเพ่ือวัดให้ครอบคลมุ หลักสตู ร จึงสร้างตามตารางวเิ คราะห์หลักสตู ร ความสามารถในการจาแนก
ผู้สอบตามความเก่งอ่อนได้ดี หลักการสาคัญของข้อสอบประเภทนี้คือ การรายงานผลการสอบ อาศัย
คะแนนมาตรฐานซ่ึงเป็นคะแนนที่สามารถให้ความหมายแสดงถึงสถานภาพความสามารถของบุคคล
นนั้ เมือ่ เปรียบเทยี บกับบุคคลอื่น ๆ ที่ใชเ้ ป็นกลุ่มเปรียบเทยี บ
สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ที่จาแนกตามลักษณะการสร้าง
แบบทดสอบ สามารถจาแนกตามลักษณะของการวัด เป็นแบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ กับแบบ
ทดสอบแบบอิงกลุ่ม ส่วนการจาแนกตามลักษณะการตอบ สามารถจาแนกได้เป็นแบบทดสอบ
ประเภทเขียนตอบ และแบบทดสอบประเภทเลือกตอบ ซึ่งการเลือกใช้แบบทดสอบประเภทใด
ก็ตาม ต้องมั่นใจว่ามีความเหมาะสมในการประเมินผู้เรียนหรือไม่ และต้องครอบคลุมวัตถุประสงค์
ท่ตี ั้งไว้ ในการวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยใช้แบบทดสอบแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก เป็นเครื่องมือใน
การเก็บรวบรวมข้อมลู
ขน้ั ตอนการสรา้ งแบบทดสอบ
บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 59-66) ได้กล่าวถึง การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี น โดยดาเนนิ ตามขนั้ ตอนดงั ต่อไปน้ี
1. วิเคราะห์จุดประสงค์ เน้ือหาวิชา และทาตารางกาหนดลักษณะข้อสอบ
ขั้นตอนแรกสุดจะต้องทาการวิเคราะห์ว่าเนื้อหาหรือหัวข้อที่จะสร้างข้อสอบวัดนั้นมีจุดประส งค์ของ
การสอนหรือจุดประสงค์การเรียนรู้อะไรบ้าง ทาการวิเคราะห์เน้ือหาวิชาว่ามีโครงสร้างอย่างไร จัด
เขียนหัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อยทุกหัวข้อ พิจารณาความเก่ียวโยง ความสัมพันธ์ระหว่างเน้ือหาเหล่านั้น
จากนั้นก็จัดทาตารางกาหนดลักษณะข้อสอบหรือที่เรียกว่าตารางวิเคราะห์หลักสูตร ตารางนี้มี 2 มิติ
คือ ด้านเนื้อหากับด้านสมรรถภาพที่ต้องการวัดและพิจารณาว่าจะออกข้อสอบทั้งหมดกี่ข้อ เขียน
จานวนข้อลงในช่องรวมช่องสุดท้ายจากนั้นพิจารณาว่าหัวข้อเร่ืองใดสาคัญมากน้อย เขียนลาดับ
ความส าคัญ ล งไป แล้ ว กาห นดจ าน วน ข้อที่ จ ะวัดในแต่ล ะช่องขึ้นอยู่กั บ เรื่องนั้น ต้องการให้ เกิ ด
สมรรถภาพด้านใดมากนอ้ ยกวา่ กนั
2. วิธเี ขียนข้อสอบ หลักการเขียนข้อคาถาม ศึกษาวิธีเขียนขอ้ สอบสมรรถภาพต่าง
ๆ ศกึ ษาเทคโนโลยใี นการเขยี นขอ้ สอบเพ่ือนามาใชเ้ ปน็ หลกั ในการเขียนข้อสอบ
3. เขยี นข้อสอบ ลงมอื เขียนขอ้ สอบ ใชต้ ารางกาหนดลักษณะของข้อสอบที่จัดทา
ไว้ในขั้นท่ี 1 เป็นกรอบซึ่งสามารถออกข้อสอบวัดได้ตามกรอบทุกหัวข้อเนื้อหาและทุกสมรรถภาพ
สว่ นรปู แบบและเทคนิคในการเขียนขอ้ สอบยึดตามท่ีศกึ ษาในขัน้ ที่ 2
4. ตรวจทานข้อสอบ นาขอ้ สอบท่ีได้เขียนไวใ้ นขั้นท่ี 3 มาพิจารณาทบทวนอีกครั้ง
หน่ึงโดยพิจารณาถึงความถูกต้องตามหลักวิชา พิจารณาว่าแต่ละข้อวัดในเน้ือหาและสมรรถภาพตาม
ตารางกาหนดลักษณะข้อสอบหรือไม่ ภาษาท่ีใช้เขียนมีความเข้าใจง่ายเหมาะสมดีแล้วหรือไม่ ตัวถูก
ตัวลวง เหมาะสมเข้าหลักเกณฑ์หรือไม่ หลังการพิจารณาทบทวนเองแล้วนาไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้าน
วดั ผล และดา้ นเน้ือหาสาระ พจิ ารณาขอ้ บกพรอ่ งและนาเอาข้อวิจารณ์เหล่าน้นั มาพิจารณาปรับปรุง
แกไ้ ขใหเ้ หมาะสมยง่ิ ขึน้
5. พิมพ์แบบทดสอบฉบับทดลองนาข้อสอบทั้งหมดมาพิมพ์เป็นแบบทดสอบโดย
จัดพิมพ์คาช้ีแจง หรือคาอธิบายวิธีทาแบบทดสอบ ไว้ที่ปกของแบบทดสอบอย่างละเอียด และ
ชัดเจน การจัดพมิ พ์วางรปู แบบใหเ้ หมาะสม
6. ทดลองใช้ วิเคราะห์คุณภาพและปรบั ปรงุ นาแบบทดสอบไปทดลองกับกลุ่มท่ี
คล้ายกับกลุ่มตวั อย่างที่จะสอบจรงิ ซง่ึ ได้เรียนในวชิ าหรอื เน้ือหาที่จะสอบ แล้วนาผลการสอบมาตรวจ
คะแนน ทาการวิเคราะห์หาค่าอานาจจาแนก ค่าความยากของข้อสอบแต่ละข้อโดยใช้วิธีวิเคราะห์
คุณภาพ คัดเลือกเอาข้อที่มีคุณภาพเข้าเกณฑ์ตามจานวนท่ีต้องการ ถ้าข้อท่ีเข้าเกณฑ์จานวนมากกว่า
ท่ีต้องการ ก็ตัดข้อที่มีเน้ือหามากกว่าท่ีต้องการ ซ่ึงเป็นข้อที่มีอานาจจาแนกต่าสุดออกตามลาดับ
นาเอาผลการสอบทคี่ ิดเฉพาะขอ้ สอบท่ีเข้าเกณฑเ์ หลา่ นั้นมาคานวณหาคา่ ความเช่อื มน่ั
7. พิมพ์แบบทดสอบฉบับจริง นาข้อสอบที่มีอานาจจาแนก และระดับความยาก
เข้าเกณฑ์ ตามจานวนท่ีต้องการในข้ันที่ 6 มาพิมพ์เป็นแบบทดสอบฉบับที่จะใช้จริง ซ่ึงจะตอ้ งมชี ้ีแจง
วิธีทาด้วย และในการพิมพ์นอกจากใช้รูปแบบท่ีเหมาะสมแล้ว ควรคานึงถึงความประณีตถูกต้อง ซึ่ง
จะตอ้ งตรวจทานใหด้ ี
ลักษณะของแบบทดสอบทีด่ ี
สริ พิ ร ทิพย์คง (2545 : 195) ได้กลา่ วถงึ ลกั ษณะของแบบทดสอบท่ดี ี ดงั น้ี
1. ความเท่ียงตรง เป็นแบบทดสอบที่สามารถนาไปวัดในส่ิงท่ีเราต้องการวัดได้อย่าง
ถูกตอ้ ง ครบถว้ น ตรงตามจดุ ประสงค์ทต่ี อ้ งการวดั
2. ความเชื่อมั่น แบบทดสอบท่ีมีความเชื่อมั่น คือ สามารถวัดได้คงท่ีไม่ว่าจะวัด
กี่คร้ังก็ตาม เช่น ถ้านาแบบทดสอบไปวัดกับนักเรียนคนเดิมคะแนนจากการสอบท้ังสองครั้ง ควรมี
ความสัมพนั ธ์กนั ดี เมื่อสอบไดค้ ะแนนสูงในคร้ังแรกกค็ วรได้คะแนนสูงในการสอบครัง้ ท่สี อง
3. ความเป็นปรนัย เป็นแบบทดสอบท่ีมีคาถามชัดเจน เฉพาะเจาะจง ความ
ถกู ตอ้ งตามหลักวิชา และเข้าใจตรงกัน เมื่อนักเรียนอ่านคาถามจะเข้าใจตรงกัน ข้อคาถามต้องชัดเจน
อา่ นแลว้ เขา้ ใจตรงกัน
4. การถามลึก หมายถึง ไม่ถามเพียงพฤติกรรมขั้นความรู้ความจา โดยถามตาม
ตาราหรือถามตามท่ีครูสอน แต่พยายามถามพฤตกิ รรมข้นั สงู กวา่ ขัน้ ความรูค้ วามจา ได้แก่ ความเข้าใจ
การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และการประเมินค่า
5. ความยากง่ายพอเหมาะ หมายถึง ข้อสอบท่ีบอกให้ทราบว่าข้อสอบข้อน้ัน มีคน
ตอบถูกมากหรือตอบถูกน้อย ถ้ามีคนตอบถูกมากข้อสอบข้อน้ันก็ง่ายและถ้ามีคนตอบถูกน้อยข้อสอบ
ข้อน้ันก็ยาก ข้อสอบท่ียากเกินความสามารถของนักเรียนจะตอบได้น้ันก็ไม่มีความหมาย เพราะไม่
สามารถจาแนกนักเรียนได้ว่าใครเก่งใครอ่อน ในทางตรงกันข้ามถ้าข้อสอบง่ายเกินไปนักเรียนตอบได้
หมด ก็ไม่สามารถจาแนกได้เช่นกัน ฉะนั้นข้อสอบท่ีดีควรมีความยากง่ายพอเหมาะ ไม่ยากเกินไปไม่
ง่ายเกินไป
6. อานาจจาแนก หมายถึง แบบทดสอบนี้สามารถแยกนักเรียนได้ว่าใครเก่งใครอ่อน
โดยสามารถจาแนกนกั เรยี นออกเปน็ ประเภท ๆ ได้ทกุ ระดับอย่างละเอยี ดตั่งแต่ออ่ นสดุ จนถึงเกง่ สดุ
7. ความยุติธรรม คาถามของแบบทดสอบต้องไม่มีช่องทางช้ีแนะให้นักเรียน
ที่ฉลาดใช้ไหวพริบในการเดาได้ถูกต้องและไม่เปิดโอกาสให้นักเรียนที่เกียจคร้านซ่ึงดูตาราอย่างคร่าว
ๆ ตอบได้ และตอ้ งเปน็ แบบทดสอบท่ีไม่ลาเอยี งต่อกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง
จากแนวคิด และข้ันตอนการสร้างแบบทดสอบที่กล่าวมานั้น ผู้วิจัยได้นามาใช้
ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ ให้สอดคล้องระหว่างเน้ือหา
แ ล ะ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เรี ย น รู้ ต า ม ผ ล ก า ร เรี ย น รู้ ท่ี ก า ห น ด ไว้ ใน ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร งเรี ย น
กาแพงวิทยา จังหวดั สตูล
5. งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง
การวิจัย เร่ืองการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการแยก
ตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้แบบฝึกทักษะ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2
ผวู้ จิ ัยได้ศึกษางานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง ดังนี้
กฤตวิทย์ ทวีสุข (2551 : 78-79) ไดศ้ กึ ษา ผลการใชแ้ บบฝกึ ทักษะวชิ าคณติ ศาสตร์ เร่ือง
เส้นขนาน สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนระโนดวิทยา จังหวัด
สงขลา ผลการศึกษาพบว่า 1) แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนาน สาหรับนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.21/89.17 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ได้กาหนดเอาไว้
2) นักเรียนท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองเส้นขนาน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2
มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรยี นสงู กว่ากอ่ นเรยี นอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั .01
กชมน สากาปัง (2555 : 117) ได้ศึกษาผลการพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
เร่ืองอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการ
แก้ปญั หาแบบต่อเนือ่ งสมั พนั ธ์ โรงเรยี นรัตภมู วิ ทิ ยา อาเภอรตั ภูมิ จังหวัดสงขลา ผลการศึกษาพบว่า
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เร่ืองอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการ
เรียนรู้ด้วยเทคนิคการแก้ปัญหาแบบต่อเนื่องสัมพันธ์ มีประสิทธิภาพ 79.92/78.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์
ที่กาหนดไว้ 75/75 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะ
คณิตศาสตร์ เรื่องอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยการจัดการเรียนรู้ด้วย
เทคนิคการแก้ปัญหาแบบต่อเนื่องสัมพันธ์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ .01 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองอสมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียว โดยการจัดการเรียนรูด้ ้วยเทคนิคการแก้ปญั หาแบบต่อเนอ่ื งสมั พนั ธ์ อยู่ในระดบั มากที่สุด
รวิวรรณ ชูนุ้ย (2556 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัย เร่ืองรายงานผลการใช้แบบฝึกทักษะ
คณิตศาสตร์ เรื่องพาราโบลา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสุไหงโก-ลก อาเภอสุไหงโก-
ลก จังหวัดนราธิวาส ผลการวิจัย พบว่า แบบฝึกทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่อง พาราโบลา
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.94 / 80.20 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทางการเรียน
หลังการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องพาราโบลา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .05
มาลยั นติ ิวิศษิ ฎ์กลุ (2556 : 63-65) ได้ศกึ ษาผลการใชแ้ บบฝึกทักษะวิชาคณติ ศาสตร์
เร่ืองระบบจานวนเต็ม สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ จังหวัดสตูล
ปีการศึกษา 2556 ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองระบบ
จานวนเต็ม สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.79/81.73 ซ่ึงสูงกว่า
เกณฑ์ 80/80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์
ก่อนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ เรื่องระบบจานวนเต็ม หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
นยั สาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .01
ฟารีดา กุลโรจนสิริ (2557 : 100-102) ได้ทาการวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นวชิ าคณิตศาสตร์ เรือ่ งเซต โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ
5E สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสตูลวิทยา จังหวัดสตูล ผลการวิจัยพบว่า แบบฝึก
ทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองเซต มีค่าประสิทธิภาพ เท่ากับ 83.23/81.90 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
วิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองเซต ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีได้รบั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
แบบฝกึ ทักษะประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ 5E หลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรยี นอยา่ งมนี ัยสาคัญ
ทางสถิติท่ีระดับ .05 และความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา
คณิตศาสตร์ เรื่องเซต โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5E มีความ
พงึ พอใจในระดับมากทสี่ ดุ
ภูศิริ ภัทรพงศ์พันธ์ (2558 : 88-89) ได้ทาการวิจัย เรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ของนักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จงั หวดั ยะลา ผลการวิจยั พบว่า คา่ ประสทิ ธิภาพของ
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เร่ืองการวิเคราะห์ขอ้ มูลเบ้ืองต้น มีค่าประสิทธิภาพ เท่ากับ 84.77/83.20
ซึ่งสูงกวา่ เกณฑ์ท่กี าหนด 80/80 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 คะแนน
เฉล่ียหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .01 และความพึงพอใจของนักเรยี น
ทมี่ ตี ่อการจดั การเรียนรู้โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ มีความพงึ พอใจในระดบั มาก
บทที่ 3
วิธดี าเนนิ การ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่อง การแยกตัว
ประกอบของพหุนามดีกรีสอง ก่อนและหลงั เรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี
ที่ 2/3 โรงเรียนกาแพงวิทยา อาเภอละงู จังหวัดสตูล โดยผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัย ดังรายละเอียด
ต่อไปน้ี
1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
2. เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย
3. การสรา้ งเครอื่ งมอื วิจัย
4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถิติที่ใช้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ประจาปีการศึกษา 2564
โรงเรียนกาแพงวทิ ยา อาเภอละงู จงั หวดั สตลู จานวน 162 คน
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ประจาปีการศึกษา
2564 โรงเรียนกาแพงวิทยา อาเภอละงู จังหวัดสตูล จานวน 40 คน ซึ่งได้มาจากวิธีการเลือกแบบ
เจาะจง
2. เครื่องมือทีใ่ ช้ในการวิจยั
เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจัยคร้ังนี้ ประกอบดว้ ย
1. แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เร่ืองการแยกตัวประกอบของพหุ
นามดกี รีสอง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 จานวน 4 แผน ไดแ้ ก่
1.1 การแยกตวั ประกอบโดยใช้สมบัตกิ ารแจกแจง
1.2 การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรสี องตัวแปรเดียว
1.3 การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามทีเ่ ปน็ กาลงั สองสมบรู ณ์
1.4 การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามที่เป็นผลตา่ งกาลงั สอง
2. แบบฝึกทกั ษะ จานวน 4 ชดุ
2.1 แบบฝกึ ทกั ษะ เรื่องการแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง
2.2 แบบฝึกทักษะ เร่ืองการแยกตวั ประกอบของพหุนามดกี รีสองตัวแปรเดียว
2.3 แบบฝึกทกั ษะเรอื่ ง การแยกตัวประกอบของพหุนามทีเ่ ปน็ กาลงั สองสมบูรณ์
2.4 แบบฝกึ ทกั ษะเร่ือง การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามที่เปน็ ผลต่างกาลงั สอง
3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัว
แปรเดียว เป็นแบบทดสอบทใ่ี ช้วดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/3 ซ่ึงใช้
สาหรับทดสอบนักเรียนก่อนและหลงั เรียน โดยใช้แบบฝึกทกั ษะ เป็นแบบทดสอบชนิดเลอื กตอบ มี 4
ตัวเลอื ก จานวน 20 ข้อ จานวน 1 ฉบบั
3. การสรา้ งเครอื่ งมอื ในการวจิ ยั
1. การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้เร่ือง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ช้ัน
มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ผู้วจิ ัยได้ดาเนินการตามข้ันตอน ดังนี้
1.1 ศึกษาหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เร่ือง
การประยุกต์ของสมการเชงิ เส้นตวั แปรเดียว ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2
1.2 วิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
1.3 กาหนดหัวเรื่อง หนว่ ยการเรียนรู้ยอ่ ย เวลาเรยี น
1.4 ดาเนนิ การจัดทาแผนการจัดการเรยี นร้จู านวน 4 แผนสาหรบั การจดั การเรียนรู้
จานวน 9 คาบ
2. การสร้างแบบฝึกทกั ษะ จานวน 4 ชดุ ไดแ้ ก่
2.1 แบบฝกึ ทกั ษะ เรื่องการแยกตัวประกอบโดยใช้สมบตั ิการแจกแจง
2.2 แบบฝึกทักษะ เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว
2.3 แบบฝกึ ทกั ษะเรอ่ื ง การแยกตัวประกอบของพหุนามที่เปน็ กาลังสองสมบรู ณ์
2.4 แบบฝึกทกั ษะเรอ่ื ง การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามทเี่ ป็นผลต่างกาลงั สอง
3. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เร่ือง
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยได้ดาเนินการตามขั้นตอน
ดังนี้
3.1 ศึกษาเนื้อหาเรื่อง การแยกตัวประกอบของพหนุ ามดีกรีสอง จากหลักสูตรการศกึ ษาข้ัน
พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560)
3.2 ศึกษาวเิ คราะห์จดุ ประสงค์ในหลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์
3.3 กาหนดจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ในหลักสูตรกลุ่มสาระการ
เรียนรคู้ ณิตศาสตร์
3.4 สร้างแบบทดสอบตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ซึ่งเป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4
ตวั เลอื ก จานวน 1 ฉบบั จานวน 20 ข้อ
3.5 นาแบบทดสอบที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา จานวน 3 คน ตรวจสอบ
ความถูกต้อง ความเท่ียงตรงตามเนื้อหาและจุดประสงค์ โดยการหาค่า IOC ซึ่งการให้ความคิดเห็น
ของผู้เช่ียวชาญ ไดก้ าหนดเกณฑ์ ดังนี้
1 เมื่อแนใ่ จวา่ ขอ้ สอบนั้นวัดไดต้ รงตามเน้ือหาและจดุ ประสงค์
0 เมอื่ ไม่แน่ใจวา่ ขอ้ สอบน้นั วดั ได้ตรงตามเนอ้ื หาและจดุ ประสงค์
1 เมอื่ แนใ่ จวา่ ขอ้ สอบนัน้ ไมไ่ ด้วัดตรงตามเนอ้ื หาและจุดประสงค์
3.6 ปรบั ปรงุ แกไ้ ขแบบทดสอบตามข้อเสนอแนะของผ้เู ชย่ี วชาญ แลว้ คัดเลือกขอ้ สอบทีม่ ีค่า
IOC ตง้ั แต่ 0.50 ขึ้นไป ได้จานวนข้อสอบที่ผา่ นเกณฑจ์ านวน 20 ข้อ แลว้ นามาพิมพเ์ ปน็ แบบทดสอบ
เพ่ือนาไปใช้ทดสอบกับกล่มุ ตวั อยา่ งต่อไป
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ดาเนินการทดสอบก่อนใช้แบบฝึกทักษะ กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง จานวน 40 คน ด้วย
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่อง การแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดีกรีสอง ท่ผี ู้วิจัยสร้างข้นึ
2. ดาเนินการทดลองกับกลมุ่ ตวั อยา่ ง โดยใช้แบบฝึกทักษะ จานวน 4 ชดุ
- ชดุ ที่ 1 จานวน 1 คาบ
- ชุดที่ 2 จานวน 3 คาบ
- ชดุ ท่ี 3 จานวน 3 คาบ
- ชุดท่ี 4 จานวน 2 คาบ
3. หลังใช้แบบฝึกทักษะ ครบตามท่ีกาหนดผู้วิจัยได้ทดสอบด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนกล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตรเ์ รื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสอง
กบั กลมุ่ ตัวอยา่ งอกี ครั้งหนง่ึ
5. การวเิ คราะห์ข้อมูลและสถิตทิ ี่ใช้
1. กาวิเคราะห์ขอ้ มูล
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เร่ือง การแยกตัว
ประกอบของพหนุ ามดีกรีสอง หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรยี นหลงั การใช้แบบฝึกทกั ษะ
2. สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวจิ ัย
2.1 หาค่าความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหาของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา
คณติ ศาสตร์ โดยใช้ดชั นคี วามสอดคล้องของผูเ้ ชี่ยวชาญ (IOC)
สูตร IOC
เมอ่ื IOC แทน ดัชนีความสอดคลอ้ งระหว่างขอ้ สอบกับจุดประสงค์
แทน ผลรวมคะแนนความคดิ เห็นของผูเ้ ชยี่ วชาญ
N แทน จานวนผ้เู ชี่ยวชาญ
2.2 หาคา่ ร้อยละ (Percentage) จากสตู รต่อไปนี้
สูตร P
เม่ือ p แทน ค่าร้อยละ
ความถท่ี ่ตี อ้ งการแปลง
f แทน จานวนความถีท่ ั้งหมด
N แทน
2.3 หาค่าเฉลี่ยของคะแนน (Mean)
สูตร
เม่อื แทน คะแนนเฉล่ีย
แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด
แทน จานวนคนทง้ั หมด
2.4 หาค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
สตู ร
เมอื่ แทน ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
X แทน คะแนนสอบ
f แทน ความถี่
แทน ผลรวมท้งั หมดของความถี่คณู คะแนนสอบ
N แทน จานวนคนทงั้ หมด
บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
การวิจัยคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่องการแยกตัว
ประกอบของพหุนามดกี รีสองหลงั ใช้แบบฝึกทกั ษะ ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นกาแพง
วิทยา อาเภอละงู จังหวัดสตูล โดยผู้วิจัยได้เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการ
วิจัย รายละเอียดดงั น้ี
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
ก่อนและหลงั เรยี นดว้ ยแบบฝกึ ทักษะ
ตารางที่ 1 แสดงคะแนน ค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนก่อนและหลังเรียนด้วย
แบบฝึกทักษะ
นักเรียนคนที่ คะแนนกอ่ นเรยี น คะแนนหลงั เรียน คะแนนท่ีเพิ่มขึน้
(คะแนนเตม็ 20 คะแนน) (คะแนนเตม็ 20 คะแนน)
19 17 8
28 16 8
35 13 8
47 14 7
54 15 11
64 13 9
74 15 11
85 14 9
97 14 7
10 4 13 9
11 5 14 9
12 6 15 9
13 7 15 8
14 5 14 9
15 4 13 9
16 5 14 9
17 5 15 10
18 4 14 10
19 3 12 9
20 7 17 10
21 8 15 7
ตารางท่ี 2 (ตอ่ ) คะแนนกอ่ นเรยี น คะแนนหลงั เรยี น คะแนนที่เพ่ิมขน้ึ
(คะแนนเต็ม 20 คะแนน) (คะแนนเตม็ 20 คะแนน)
นักเรยี นคนท่ี 10
3 13 10
22 4 14 8
23 5 13 4
24 11 15 9
25 4 13 12
26 2 14 7
27 7 14 9
28 4 13 12
29 2 14 8
30 7 15 11
31 4 15 7
32 8 15 10
33 4 14 10
34 6 16 5
35 8 13 11
36 3 14 7
37 8 15 9
38 5 14 6
39 10 16
40
5.5 14.23 8.7
SD 2.04 1.12
จากตารางท่ี 2 จะเหน็ ได้วา่ ก่อนเรียนดว้ ยแบบฝกึ ทักษะ นักเรยี นทาคะแนนสูงสุดได้ 11
คะแนน คะแนนต่าสุด 2 คะแนน คะแนนเฉล่ีย ( ) 5.5 คะแนน และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD)
2.04 และหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ นักเรียนทาคะแนนสูงสุดได้ 17 คะแนน คะแนนต่าสุด 12
คะแนน คะแนนเฉล่ีย ( ) 14.23 คะแนน และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) 1.12 แสดงให้เห็นว่า
หลังเรียนดว้ ยแบบฝกึ ทักษะ นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นสูงกวา่ กอ่ นเรียน
บทท่ี 5
สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการแยกตัว
ประกอบของพหุนามดีกรีสองหลังใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน
กาแพงวิทยา อาเภอละงู จังหวัดสตลู
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้การวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 ประจาปีการศึกษา
2564 โรงเรียนกาแพงวิทยา อาเภอละงู จังหวัดสตูล จานวน 40 คน ซ่ึงได้มาจากวิธีการเลือกแบบ
เจาะจง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ เรื่องการแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รีสอง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 จานวน 4 แผน
2) แบบฝึกทักษะ จานวน 4 ชุด ได้แก่ แบบฝึกทักษะ เรื่องการแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจก
แจง การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสองตวั แปรเดียว การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
ที่เปน็ กาลงั สองสมบรู ณ์ การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รสี องที่เป็นผลตา่ งกาลงั สอง
3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เร่ืองการ แยกตัว
ประกอบของพหุนามดีกรีสอง ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ซ่ึงใช้สาหรับทดสอบนักเรียนก่อน
และหลังใช้แบบฝึกทักษะ เร่ืองการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เป็นแบบทดสอบชนิด
เลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก จานวน 20 ข้อ จานวน 1 ฉบับ
การวิเคราะห์ข้อมูล ทาได้โดยการวิเคราะห์หาค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean)
และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของคะแนนทไ่ี ด้จากการทดสอบ
สรปุ ผลการวิจัย
ก่อนเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ นักเรียนทาคะแนนได้สูงสุด 11 คะแนน คะแนนต่าสุด 2
คะแนน คะแนนเฉล่ีย (X ) 5.5 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 2.04 และหลัง
เรยี นด้วยแบบฝึกทักษะ นักเรียนทาคะแนนได้สูงสุด 17 คะแนน คะแนนต่าสุด 12 คะแนน คะแนน
เฉลีย่ (X ) 14.23 คะแนน และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (SD) เทา่ กบั 1.12
อภิปรายผล
ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
ก่อนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นกาแพงวทิ ยา อาเภอ
ละงู จังหวดั สตูล พบว่าหลังจากท่นี ักเรียนเรียนดว้ ยแบบฝึกทักษะ นกั เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เร่ืองการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง สูงกว่าก่อนเรียน
ท้ังนี้อาจเป็นเพราะว่าแบบฝึกทักษะ เร่ืองการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง มีความน่าสนใจ
กว่าแบบฝึกหัดในหนงั สอื เรียน เพราะมีสีสันสวยงามท่ีดงึ ดูดความสนใจ และนักเรียนไมต่ ้องลอกโจทย์
ให้เสียเวลา นอกจากน้ีโจทยท์ ใ่ี ช้ยงั มคี วามหลากหลายใหน้ ักเรียนได้ลองฝึก และไดเ้ รยี งลาดบั จากข้อ
งา่ ย ไปข้อท่ียากขึน้ ทาให้นักเรียนได้ลองทาส่ิงที่ง่าย ๆ จนคล่องและสามารถนาไปปรับใช้ในข้อท่ียาก