รายงานวจิ ัยในช้นั เรยี น
การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นโดยใช้วิธกี ารสอนแบบ GPAS 5 Steps
เร่ือง การถนอมอาหาร ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5
นางสาวนาฎอนงค์ เพชรสดี า
ตาแหนง่ ครู
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
กลุม่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ
โรงเรียนกาแพงวิทยา อาเภอละงู จงั หวดั สตลู
สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู
ชอ่ื เร่ือง การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นโดยใชว้ ิธกี ารสอนแบบ GPAS5 Steps เรอ่ื ง การถนอม
อาหาร ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ผูว้ ิจยั นางสาวนาฎอนงค์ เพชรสีดา
กลมุ่ สาระฯ การงานอาชพี
ปกี ารศึกษา 2564
บทคดั ย่อ
งานวิจยั ครัง้ น้มี วี ตั ถุประสงค์ 1) เพื่อเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธกิ์ อ่ นและหลังการใช้วิธกี ารสอนแบบ GPAS
5 Steps เรอ่ื ง การถนอมอาหาร ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อวธิ ีการสอน
แบบ GPAS 5 Steps เรือ่ ง การถนอมอาหาร ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5
กล่มุ ตัวอยา่ งท่ีใชใ้ นการวิจัยครงั้ นี้ เป็นนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนกาแพงวิทยา อาเภอละงู
จงั หวัดสตลู ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน 1 หอ้ งเรียน ได้แก่ นักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5/1
จานวน 41 คน โดยสุ่มแบบเจาะจง ใช้เวลาทดลองทงั้ ส้ิน 18 คาบ คาบละ 50 นาที โดยใช้แผนการวิจยั แบบ
One-group Pretest-Posttest Design เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัยประกอบด้วย 1) แผนการสอน เรื่อง การ
ถนอมอาหาร 2) แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นการถนอมอาหาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถติ ิทดสอบคา่ t
แบบไม่อิสระต่อกัน (t-test for Dependent Samples) 3) แบบสอบถามความพึงพอใจทมี่ ตี อ่ การจดั การเรยี นรู้
โดยวธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps แบบมาตราสว่ น ประมาณค่า (Rating scale) 5
ผลการวิจัยพบว่า 1) การประเมินผลการเรียนรู้ก่อนและหลังการใช้วิธีการสอนแบบ GPAS 5 Steps
เรื่อง การถนอมอาหาร ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียน เท่ากับ 3.64
และ 7.15 ตามลาดับ เมื่อทดสอบคะแนนเฉลี่ยด้วยสถิติ t-test พบว่าคะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่รี ะดับ 0.5 2) การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมตี ่อวิธกี ารสอนแบบ GPAS 5
Steps เรอื่ ง การถนอมอาหาร ของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 นักเรยี นมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ
( X = 4.75)
สารบญั
หนา้
บทคดั ย่อ………………………………………………………………………………………………………………………………………. ก
สารบญั ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข
สารบญั ตาราง…………………………………………………………………………………………………….………………………… ค
บทที่ 1 บทนา……………………………………………………………….…………………………………………….………………… 1
1
ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา…………….…………………………………………………………………….. 1
วตั ถุประสงค์ของการวิจัย…………………………………..…………………………………………………………………… 1
สมมติฐานของงานวิจัย………………………………………..……………………………………………….………………… 2
ขอบเขตของการวิจัย……………………………………………..………………………………………………………………. 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง……………….………………………………………………………………………… 3
เอกสารเกี่ยวกับวิธกี ารสอนแบบ GPAS 5 Steps…………………………………………………………………….. 7
แนวคดิ และทฤษฎที ่ีเกยี่ วข้องกับความพงึ พอใจ................................................................................... 10
งานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง………………………………………………………………………………………………………………… 12
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การวิจยั ………………………….………………………………………………………..………………………… 12
รูปแบบการวิจยั …………………………………………………………………………………………………………………….. 12
ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง…………………………………………………………………………………………………….. 12
เครือ่ งมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล…………………………………………………………………………………….. 12
ข้ันตอนการสร้างและพฒั นาเคร่อื งมือ………………………………………………………………………………………. 14
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ……………………………………………………………………………………………………………. 15
การวิเคราะห์ขอ้ มลู ………………………………………………………………………………………………………………… 16
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล………………………………………………………….……………………………………………. 17
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล…………………………………………………………………………………………………………….. 20
บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ……………………..…………………………………………….……………….. 20
สรปุ ผลการวิจยั ……………………………………………………………………………………………………………………… 20
อภิปรายผล…………………………………………………………………………………………………………………………… 21
ขอ้ เสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………………………. 22
บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………………………………………….. 23
ภาคผนวก……………………………………………………………………………….…………………………………………….……… 24
ภาคผนวก ก รายชือ่ ผูเ้ ชยี่ วชาญเป็นผู้ตรวจสอบเครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย............……………………….. 26
ภาคผนวก ข ตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือ.................................……………………………………..…... 28
ภาคผนวก ค แผนจัดการเรยี นร.ู้ .........................................................………………….………..………….. 44
ภาคผนวก ง ขอ้ สอบวดั ผลการเรียนรู้……………………………………………………………………………………. 46
ภาคผนวก จ แบบประเมินความพึงพอใจ………………………………………………………………………………. 49
ภาคผนวก ฉ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ………………………………………………………………………………………
สารบญั ตาราง
ตารางที่ หนา้
1 ผลเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนและหลงั การใช้วิธกี ารสอนแบบ GPAS 5 Steps
เรื่อง การถนอมอาหาร……………………….…………………………………………………………………………….………………..17
2 ผลผลประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้วธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps
เรอ่ื ง การถนอมอาหาร......................................................................................................................................18
1
บทท่ี 1
บทนา
ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ได้ใหแ้ นวคดิ การจดั การศึกษา (Conceptual Design)
โดยยึดหลกั สาคญั ในการจดั การศกึ ษา ประกอบด้วย หลักการจัดการศกึ ษาเพื่อปวงชน (Education for All)
หลกั การจัดการศกึ ษาเพ่ือความเท่าเทียมและท่วั ถงึ (Inclusive Education) หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
(Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม (All for Education) อีกทัง้ ยดึ ตาม
เป้าหมายการพฒั นาท่ยี ่งั ยืน (SustainableDevelopment Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ
(Local Issues) อาทิคุณภาพของคนทุกชว่ งวยั การเปลย่ี นแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหล่ือมลา้
ของการกระจายรายไดแ้ ละวิกฤตด้านส่ิงแวดลอ้ ม โดยนายทุ ธศาสตรช์ าติ (National Strategy) มาเป็นกรอบ
แนวคิด แผนการศกึ ษาแห่งชาตไิ ด้กาหนด วสิ ยั ทศั น์(Vision) ไว้คือ “คนไทยทกุ คนไดร้ ับการศึกษาและเรียนรู้
ตลอดชวี ิตอยา่ งมีคณุ ภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการ
เปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี ๒๑”แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติได้วางเป้าหมายด้านผเู้ รยี น (Learner Aspirations)
โดยมงุ่ พัฒนาผเู้ รียนทุกคนให้มีคณุ ลกั ษณะและทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ (3Rs8Cs)
จากการท่ขี า้ พเจ้าได้จัดการสอนวิชาการงานอาชพี ง32101 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551 ต้ังแต่ปกี ารศึกษา 2562 เห็นได้วา่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของ
ผู้เรียนยงั ไมเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมายที่ต้องการพฒั นา โดยอาจมีสาเหตุมาจากหลายประการเชน่ ตวั นกั เรียนขาด
กระบวนการเรยี นรู้ ครผู สู้ อนขาดการออกแบบการเรียนรู้ ขาดเทคนิควิธกี าร ในการจดั การเรยี นการสอน มงุ่ เน้น
สอนเนอื้ หามากกว่ากระบวนการคดิ จากการศึกษาปัญหาดงั กล่าว ผ้วู จิ ยั จึงไดน้ ากระบวนการจัดการเรยี นรู้
GPAS 5 Steps มาใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนวิชาการงานอาชีพ ง32101 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 เพอ่ื ให้
ผเู้ รียนมีความรแู้ ละทกั ษะท่ีคงทนผ่านการทากจิ กรรมทห่ี ลากหลาย มสี ว่ นร่วมในทุกกระบวนการเรยี นรู้ เกิด
ความกระตือรือร้นท่จี ะใฝ่รู้ สามารถใช้องคค์ วามรู้ผลิตผลงานหรอื สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ การ
ดารงชวี ติ สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 และเพ่ือพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผู้เรียนให้
เป็นไปตามเป้าหมายท่ีตั้งไว้
วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย
1. เพอ่ื เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนและหลังการใช้วธิ กี ารสอนแบบ GPAS 5 Steps
เร่ือง การถนอมอาหาร ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่5
2. เพอื่ ศกึ ษาความพงึ พอใจท่ีมตี อ่ วิธีการสอนแบบ GPAS 5 Steps เรอื่ ง การถนอมอาหาร ของนักเรียน
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5
สมมติฐานของงานวจิ ัย
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 โดยวธิ กี ารสอนแบบ GPAS 5 Steps หลงั
เรยี นสูงกวา่ ก่อนเรยี น
2. นักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 มีความพึงพอใจต่อวธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps อยใู่ นระดับมาก
2
ขอบเขตของการวิจัย
ประชากร
ประชากรท่ใี ช้ในการวิจัยไดแ้ ก่ นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นกาแพงวิทยา อาเภอละงู
จังหวดั สตลู ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน 3 ห้อง รวม 112 คน
กลุม่ ตัวอย่าง
กลมุ่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวจิ ยั ได้แก่ นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5/1 โรงเรยี นกาแพงวทิ ยา อาเภอละงู
จงั หวัดสตลู ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 41 คน
เนอ้ื หาท่ีใช้ในการวจิ ยั
เนื้อหาทใ่ี ชใ้ นการวิจยั คือกลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 หนว่ ยที่ 3 ผลงาน
สร้างสรรค์ เรอื่ ง การถนอมอาหาร ซ่ึงมรี ายละเอยี ด ของเน้อื หาเกีย่ วกบั เร่ือง ความหมายและความสาคญั ของ
การถนอมอาหาร การเนา่ เสียของอาหาร วิธีการถนอมอาหารประเภทต่างๆ
ระยะเวลาทใี่ ช้
ใชร้ ะยะเวลาในการทดลองตามแผนการจดั การเรียนรู้ จานวน 2 แผน แผนการจัดการเรียนรลู้ ะ 9
ชั่วโมง รวม 18 ชั่วโมง โดยทาการทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายในระหวา่ งเดือนมกราคม –
เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
ตัวแปรที่ศกึ ษา
ตวั แปรต้น วธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps
ตวั แปรตาม 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังการใช้วธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps เร่อื ง
การถนอมอาหาร
2. ความพึงพอใจท่ีมีตอ่ วธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Step เรอ่ื ง การถนอม
อาหาร
3
บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง
การดาเนนิ งานวิจัยครั้งนีผ้ วู้ จิ ัยมุง่ เน้น การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นโดยใช้วธิ กี ารสอนแบบ GPAS 5
Steps เรอื่ ง การถนอมอาหาร ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ซึ่งผ้วู ิจยั ได้ศึกษาคน้ คว้าเอกสารและงานวิจัยที่
เก่ยี วขอ้ งโดยนาเสนอรายละเอยี ดตามลาดับดังนี้
1. เอกสารเกีย่ วกบั วธิ กี ารสอนแบบ GPAS 5 Step
2. แนวคิดและทฤษฎที ี่เกยี่ วข้องกับความพึงพอใจ
3. งานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้อง
1. เอกสารเก่ียวกับวธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Step
1.1 ทักษะการคดิ และกระบวนการเรยี นรู้ GPAS 5 Steps
การคิดเปน็ กระบวนการที่เกิดขน้ึ ภายในสมอง เกดิ จากการจดั กระทาข้อมูลหรือสง่ิ เร้าท่ีสมองรับเขา้ มา
การคิดมีลักษณะเปน็ กระบวนการหรอื วิธกี าร การคิดเปน็ เครอ่ื งมือ ทีใ่ ช้ในการสรา้ งความหมายความเข้าใจใน
เนื้อหาสาระตา่ งๆ การคดิ จึงเป็นเร่อื งหรอื งานเฉพาะตนท่บี ุคคล ผู้เรียนรจู้ ะตอ้ งดาเนนิ การเองไม่มีผใู้ ดทาแทนได้
แต่บคุ คลอืน่ รวมทง้ั สภาพแวดลอ้ มและประสบการณต์ า่ งๆ สามารถชว่ ยกระต้นุ ใหบ้ ุคคล เกิดการคิดการเรยี นรู้
การคดิ มีความสาคัญอยา่ งยิ่งเนือ่ งจากการคดิ เป็นปัจจัยภายในท่สี าคญั มีอทิ ธิพลอย่างมากตอ่ การกระทาและการ
แสดงออกท้ังหลายมนุษย์ทกุ คนคิดอยู่ทุกขณะทกุ เวลาในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
การคิดของคนทัว่ ไปแบ่ง
การคิดออกได้เปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คือการคิดอยา่ งไม่มจี ดุ มุ่งหมายหรอื ทศิ ทาง กับการคิดอย่างมี
จดุ มุ่งหมายหรอื ทิศทางครจู าเปน็ ตอ้ งพัฒนาการคดิ อย่างมจี ุดมุง่ หมายหรือทศิ ทางให้เกิดขึ้นในตัว
นกั เรียน (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน,2550,หนา้ 34-35 )
องคป์ ระกอบของความคิด
มีนกั คดิ นักจิตวิทยาและนักวชิ าการจากตา่ งประเทศและในประเทศจานวนมากท่ีได้ศึกษาเกย่ี วกบั
องค์ประกอบของการคิดเรื่องนี้ซงึ่ ทศิ นา แขมมณีละคณะ (2545)ไดร้ วบรวมไวด้ งั นี้
ทศิ นา แขมมณี กล่าววา่ กระบวนทกั ษะการคิดเป็นความสามารถยอ่ ย การคดิ ลักษณะต่าง ๆซึง่ เปน็
องค์ประกอบของกระบวนการคดิ ทีเ่ กดิ ความสลับซับซ้อน ทกั ษะการคิด จดั เปน็ 2 ประเภท คือ
ทักษะการคิดข้ันพืน้ ฐาน แบง่ ออกเป็น 2 ทกั ษะ คือ
- ทกั ษะการสอื่ ความหมาย
- ทักษะการคิดท่เี ป็นแกนหรอื ทักษะการคดิ ทว่ั ไป
ทกั ษะการคิดขั้นสูง
บลูม (Bloom ,1961) ไดจ้ าแนกการรู้ (Cognition) ออกเป็น 5 ขัน้ ไดแ้ ก่ การรู้ข้ันความรู้ การรู้ขั้น
เข้าใจ การรขู้ น้ั วเิ คราะห์ การรู้ขั้นสังเคราะห์ และการรู้ขั้นประเมนิ
เพียเจต์ (Piaget ,1965) ไดอ้ ธิบายพัฒนาการทางสติปัญญาว่าเป็นผลเน่อื งมาจากการปะทะสมั พนั ธ์
ระหว่างบุคคลกบั สิ่งแวดล้อม โดยบุคคลพยายามปรับตัวโดยใช้กระบวนการดูดซึม (Assimi-lation)และ
กระบวนการปรับให้เหมาะ(Accommodation)โดยการพยายามปรับความูร้ ความคดิ เดิมกับส่ิงแวดล้อมใหม่ ซ่ึ
4
ทา ให้บคุ คลอยู่ในภาวะสมดลุ สามารถปรบั ตวั เข้ากับส่งิ แวดล้อมได้ กระบวนการดังกล่าว เป็น
กระบวนการพฒั นาโครงสร้างทางสตปิ ัญญาของบคุคล
บรุนเนอร์ (Bruner ,1965) กลา่ วว่า เดก็ เรมิ่ ต้นเรยี นรู้จากการกระทาต่อไปจึงจะสามารถจนิ ตนาการ
สร้างภาพในใจหรอื ในความคิดขนึ้ ได้ แลว้ จึงข้ันการคิดและเข้าใจในสิง่ ที่เปน็ นามธรรม
ทอแรนซ์ (Torrance,1962) ไดเ้ สนอแนวคดิ เกีย่ วกบั องค์ประกอบของความคดิ สร้างสรรค์ วา่ ประกอบ
ไปดว้ ย ความคล่องแคลว่ ในการคดิ (Fluency) ความยืดหยุ่นในการคิด (Flexibility) และความคดิ รเิ ริม่ ในการคดิ
(Originality) (ทศิ นา แขมมณีและคณะ,2550,หน้า 46-49)
1.2 การพัฒนาการคิดโดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps
กรอบการพัฒนาการคดิ โดยใช้กระบวนการ GPAS เกิดข้ึนจากการท่ีสานักงานคณะกรรมการ การศึก
การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ต้องการหารูปแบบแนวทางในการพฒั นาการคดิ ให้กบั ผ้เู รียน จึงเริ่มต้นดว้ ยการตงั้
คณะทางานข้ึนมาชดุ หนงึ่ โดยมี ดร.โกวทิ ประวาลพฤกษ์ เป็นท่ปี รึกษา ทาการศึกษาค้นคว้าแนวคดิ ทฤษฎี
ท่ีเก่ียวข้องกับการคดิ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ จากนั้นคณะทางานไดส้ งั เคราะหแ์ นวคิดและทฤษฎี
เหลา่ นน้ั ไดก้ รอบพัฒนาการคิด หรอื โครงสร้างทกั ษะกระบวนการคดิ 4 ประการ คือ การรวบรวมและ
เลอื กข้อมูล (Gathering) การจดั กระทาข้อมูล (Processing) การประยุกต์ใช้ความูร้ (Applying) และการกากับ
ตนเอง (Self – regulating) เรียกย่อๆวา่ GPAS โดยนาอักษรภาษาองั กฤษตวั แรกของโครงสร้างทักษะ
กระบวนการคิดนัน้ มาใช้ ดังแผนภาพ
4 Self-Regulating: S การกากบั ตนเอง
3 Applying: A การประยกุ ต์ใช้ความูร้
2 Processing: P การจัดกระทาข้อมูล
1 Gathering: G การรวบรวม คัดเลอื กข้อมลู
แผนภาพโครงสร้างทักษะการคิด GPAS
จากโครงสรา้ งทักษะการคดิ นี้ สามารถนามากาหนดเป็นกระบวนการพฒั นาทักษะการคิด
โดยมีการกากบั ตนเอง (Self-Regulating) เป็นแกนในการพฒั นาทกั ษะดงั แผนภมู ิ
แผนภูมิกระบวนการพฒั นาทักษะการคิด
5
1.3 ความหมายของทักษะการคิดในโครงสร้าง GPAS
ทกั ษะการคิดในโครงสรา้ ง GPAS มีทักษะท่สี อดคลอ้ งกบั การจัดการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 ทิศทาง
การศกึ ษาไทยและหลักสูตรการเรยี นการสอนในทกุ ระดับการศกึ ษา ขอยกมาเปน็ ตัวอยา่ ง ดังน้ี
ทกั ษะการคิดระดับการรวบรวมข้อมูล (Gathering: G) ได้แก่
1. การกาหนดประเดน็ ในการรวบรวมขอ้ มูล (Focusing Skill) หมายถึง การกาหนดขอบเขตการศกึ ษา
และมุ่ง ความสนใจไปในทิศทางตามจดุ ประสงค์ที่ตอ้ งการศึกษาให้ชดั เจน เพ่ือท่ีจะได้คัดเลอื กเฉพาะข้อมลู ท่ี
เกย่ี วขอ้ ง
2. การสังเกตดว้ ยประสาทสัมผสั (Observing) หมายถึง การรบั รู้และรวบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกับสงิ่ ใดสิง่
หนึง่ โดยใช้ประสาทสัมผสั ทงั้ 5 เพอ่ื ให้ได้รายละเอียดเกยี่ วกบั สงิ่ นัน้ ๆ ซง่ึ เป็นข้อมลู เชงิ ประจักษ์ทีไ่ ม่มีการใช้
ประสบการณ์และความคิดเห็นของผูส้ ังเกตในการเสนอข้อมลู ข้อมูลจากการสังเกตมีทั้งข้อมลู ปรมิ าณและข้อมูล
เชงิ คณุ ภาพ
3. การบนั ทึกข้อมลู (Encoding & Recording) หมายถึง กระบวนการประมวลข้อมูลของสมองเมื่อรบั
สิ่งเร้าจากประสาทสัมผสั ท้งั 5 จะได้รบั การบันทึกไวใ้ นความจาระยะสัน้ หากตอ้ งการเก็บข้อมลู ไวใ้ ช้ต่อ ๆ ไป
ข้อมลู น้นั จะตอ้ งเปลย่ี นรปู โดยการเขา้ รหสั (Encoding) เพื่อนาไปเกบ็ ไว้ในความจาระยะยาว ซง่ึ จะสามารถเรียก
ขอ้ มูล มาใชไ้ ดภ้ ายหลงั โดยการถอดรหัส (Decoding)
4. การดึงข้อมลู เดมิ มาใช้และย่อความ (Retrieving & Summarizing) หมายถงึ การนา
ข้อมูลที่มีอยู่นากลับมาใช้ใหม่ และการจับใจความสาคัญของเร่ืองที่ต้องการสรปุ แลว้ เรยี บเรียงให้กระชบั
ครอบคลมุ สาระสาคัญ
ทกั ษะการคิดระดับการจัดกระทาขอ้ มูล (Processing: P)
1. การจาแนก (Discriminating) หมายถึง การแยกแยะส่งิ ต่าง ๆ ตามมติ ิทกี่ าหนด
2. การเปรียบเทียบ (Comparing) หมายถงึ การคน้ หาความเหมือนและหรือความแตกต่าง
ขององค์ประกอบต้ังแต่ 2 องค์ประกอบขน้ึ ไป เพ่ือใชใ้ นการอธิบายเร่อื งใดเร่อื งหนึ่ง ในเกณฑเ์ ดยี วกนั
3. การจดั กล่มุ (Classifying) หมายถงึ การนาสิ่งต่าง ๆ มาแยกเป็นกลุ่มตามเกณฑ์ทไ่ี ดร้ บั การยอมรับ
ทางวชิ าการ หรอื การยอมรบั โดยทัว่ ไป
4. การจัดลาดบั (Sequencing) หมายถงึ การนาข้อมลู หรือเรือ่ งราวทเ่ี กิดขึ้นมาจัดเรียงใหเ้ ป็นลาดับ วา่
อะไรมากอ่ น อะไรมาทีหลัง
5. การสรุปเช่อื มโยง (Connecting) หมายถงึ การบอกความสัมพันธเ์ ก่ียวข้องเชื่อมโยงกันของขอ้ มูล
อย่างมีความหมาย
6. การไตรต่ รองด้วยเหตุผล (Reasoning) หมายถงึ ความสามารถในการบอกท่ีมาของส่ิงใด ๆหรอื
เหตกุ ารณ์ใด ๆหรือ สงิ่ ท่เี ปน็ สาเหตุของพฤติกรรมนัน้ ได้
7. การวจิ ารณ์ (Criticizing) หมายถึง การทา้ ทายและโตแ้ ยง้ ข้อสมมุตฐิ านทีอ่ ยู่เบือ้ งหลัง
เหตุผลทีโ่ ยงความคิดเหลา่ นนั้ เพ่อื เปิดทางสูแ่ นวความคิด อื่น ๆ ท่อี าจเป็นไปได้
8. การตรวจสอบ (Verifying) หมายถงึ การยืนยนั หรือพสิ จู นข์ อ้ มลู ท่สี งั เกต รวบรวม มาตามความ
ถกู ต้องเป็นจริง
ทกั ษะการคิดระดบั การประยุกตใ์ ช้ (Applying: A)
1. การใช้ความร้อู ย่างสร้างสรรค์ (Creative) หมายถงึ การนาความรูท้ ี่เกิดจากความเขา้ ใจไปใชใ้ นการ
สรา้ งสรรค์สิง่ ใหมห่ รอื แก้ปญั หาที่มีอยู่ใหด้ ีขึน้
2. การวิเคราะห์ (Analysis) หมายถงึ ความสามารถในการแยกแยะหลกั การ องคป์ ระกอบสาคัญหรือ
ส่วนยอ่ ย ตลอดจนหาความสัมพันธ์ระหว่างส่วนตา่ งๆท่เี กี่ยวขอ้ ง
6
3. การสงั เคราะห์ (Synthesis) หมายถึง การนาความร้ทู ี่ผ่านการวเิ คราะห์มาผสมผสานสรา้ งสิ่งใหมท่ ี่ที
ลกั ษณะต่างจากเดมิ
4. การตดั สนิ ใจ (Decision Making) หมายถึง การพจิ ารณาเลอื กทางเลอื กตั้งแต่ 2 ทางเลือกข้ึนไป
ทางเลอื กหรอื ตัวเลอื กน้ันอาจเปน็ วตั ถสุ ่งิ ของหรือแนวปฏบิ ัตติ ่าง ๆ เพ่ือใช้ในการแกป้ ญั หาหรอื ดาเนนิ การเพื่อให้
บรรลุตามวัตถปุ ระสงคท์ ่ีต้ังไว้
5. การนาความรไู้ ปปรับใช้ (Transferring) หมายถึง การถ่ายโอนความร้ทู ม่ี ีอยู่ไปปรบั ใช้ในสถานการณ์
อื่น
6. การแก้ปัญหา (Problem Solving) หมายถึง การวิเคราะหส์ ถานการณท์ ่ยี ากเพื่อจุดประสงค์ในการ
แกไ้ ขสถานการณ์หรือขจดั ให้ปญั หาน้ันหมดไป นาไปสู่สภาวะทีดกี ว่าหรือมที างออก
7. การคิดวเิ คราะหว์ ิจารณ์ (Critical Thinking) หมายถงึ ความสามารถในการพจิ ารณา
ประเมนิ และตัดสินส่ิงต่างๆ หรอื เรื่องราวท่ีเกิดขึ้นทม่ี ีขอ้ สงสยั หรอื ข้อโตแ้ ย้ง โดยการพยายามแสวงหาคาตอบ
ทมี่ คี วามสมเหตสุ มผล
8. การคดิ สร้างสรรค์ (Creative Thinking) หมายถึง ความสามารถในการคิดได้อย่างกวา้ งไกลหลาย
ทิศทางอย่างเป็นกระบวนการ โดยใชจ้ ินตนาการที่หลากหลายเพื่อกอ่ ใหเ้ กดิ ความแปลกใหมใ่ นการสร้าง ผลิต
ดัดแปลงงานต่าง ๆ ซึ่งจะต้องเชื่อมโยงระหวา่ งประสบการณเ์ กา่ กับประสบการณใ์ หม่ความคดิ สร้างสรรค์จะ
เกดิ ขึน้ ได้ก็ต่อเม่ือผู้คดิ มีอสริ ะทางความคิด
ทักษะการคดิ ระดับการกากบั ตนเอง (Self-Regulatings: S)
1. การตรวจสอบและควบคุมการคดิ (Meta-Cognition) หมายถงึ การที่บุคคลร้แู ละเข้าใจถึงความคิด
ของตนเอง ไตรต่ รองก่อนกระทาอะไรอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง เป็นการประเมนิ การคดิ ของตนเองและใชค้ วามรู้นนั้ ใน
การควบคมุ หรือปรบั การกระทาของตนเอง ซ่งึ ครอบคลุมถึงการวางแผนการควบคุมกากับการกระทาของตนเอง
การตรวจสอบความก้าวหนา้ และการประเมินผล
2. การสร้างคา่ นิยมการคดิ (Thinking Value) หมายถงึ การคดิ เพื่อประโยชน์ในระดับต่าง ๆไดแ้ ก่ เพ่ือ
ประโยชน์ตน กลุ่มตน เพ่ือสังคมและเพ่ือประโยชน์ของกลุ่มและเพ่อื ประโยชนข์ องประเทศชาติ โลกทกุ
องคป์ ระกอบ
3. การสรา้ งนสิ ยั การคดิ (Thinking Disposition) หมายถึง ลกั ษณะเฉพาะของการกระทาของคนที่มี
สตปิ ัญญา เมอ่ื เผชิญหนา้ กบั ปัญหาการตดั สนิ ใจที่จะแกป้ ัญหา จะไม่กระทาทันทีทันใดกอ่ นทจี่ ะมีขอ้ มลู หลกั ฐาน
ชดั เจนเพียงพอ นิสยั แหง่ การคดิ คอื รู้วา่ จะใช้ปัญญาทาอย่างไรในการหาคาตอบ นสิ ัยแหง่ การ
คดิ ที่ดีควรมี ดังนี้
3.1 นสิ ัยการคดิ ท่ดี ตี ้องกล้าเส่ียงและผจญภัย (กล้าทจ่ี ะคิด)
3.2 นสิ ัยการคดิ ทด่ี ตี ้องคิดแปลก คดิ แยกแยะ ช้ตี ัวปัญหา สารวจไต่สวน
3.3 นสิ ัยการคิดท่ีดีต้องสร้างคาอธิบายและสรา้ งความเขา้
3.4 นสิ ัยการคิดทดี่ ีต้องสร้างแผนงานและมีกลยุทธ์
3.5 นิสัยการคิดท่ีดีต้องเปน็ การใช้ความระมัดระวงั ทางสติปญั ญา ใช้สติปัญญาอยา่ งรอบคอบ
เที่ยงตรง แม่นยาและถูกต้อง
1.4 STEPs ในกระบวนการจัดการเรยี นรู้
STEPs 1 .ข้ันสงั เกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) จากแบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียนขณะรว่ มกจิ กรรม
สามารถตัง้ คาถาม ประเด็น เร่ืองสถานการณ์ที่จะศึกษา ตั้งคาถามใหม่อย่างมีเหตผุ ลและสร้างสรรค์เพ่อื การ
สารวจ และแสดงความคิดเห็น ของตนเองและรับฟังความคดิ เหน็ ของผอู้ ่ืน
STEPs 2 ข้นั คิดวิเคราะห์และสรปุ ความรู้ (Processing) จากแบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน สามารถ
แสวงหาความรู้ ข้อมลู และสารสนเทศจากแหลง่ เรียนรู้อย่างหลากหลาย เช่น หอ้ งสมดุ อินเทอรเ์ น็ตหรือจาก
7
การปฏิบัตทิ ดลอง เลือกอปุ กรณท์ ี่ถูกต้องเหมาะสมในการสารวจตรวจสอบใหไ้ ดข้ ้อมลู ทเ่ี ช่อื ถอื ได้บันทึกข้อมูลใน
เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพและตรวจสอบผลกบั ส่งิ ทีค่ าดการไว้ จากแหลง่ เรยี นรู้
STEPs 3 ขั้นปฏิบตั ิและสรปุ ความรหู้ ลังการปฏบิ ตั ิ ( Applying and Constructing the Knowledge)
จากแบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี น เป็นขัน้ ที่นกั เรยี นมีการบันทกึ ข้อมูลเชิงปริมาณ คุณภาพและตรวจสอบผลกับ
สิง่ ทคี่ าดการณ์ไว้ นาเสนอผลและข้อสรปุ แสดงความคิดเห็นอยา่ งอสิ ระ อธิบายและสรุปสิง่ ทีไ่ ด้เรยี นรู้ บันทึก
และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบตามความเป็นจริงมีการอา้ งอิงข้อมูลด้วยแบบต่างๆสรุป ผลสรา้ งองคค์ วามรู้
ด้วยตนเองได้
STEPs 4 ขนั้ ส่ือสารและนาเสนอ (Applying the Communication Skill) นกั เรยี นสามารถนาเสนอ
ความรดู้ ้วยการใช้ภาษาท่ีถกู ต้อง ชดั เจน จากแบบสังเกตพฤติกรรมนักเรยี น สงั เกต สารวจ และทดลองตาม
ขัน้ ตอนท่ีกาหนด ลงความคิดเหน็ และอภปิ รายสรปุ ผลการสงั เกตสารวจและทดลองอย่างมีเหตผุ ลบันทึกผลการ
สงั เกต สารวจและทดลอง นาเสนอส่ือสารสงิ่ ทเ่ี รียนให้ผู้อืน่ เขา้ ใจได้ สามารถออกแบบและสรา้ งส่งิ ประดิษฐ์อย่าง
ง่าย
STEPs 5 ขน้ั ประเมินเพ่ือเพิ่มคุณคา่ บริการสงั คมและจติ สาธารณะ (Self-Regulating) นักเรยี นนา
ความรู้ไปใชป้ ระโยชนเ์ พอ่ื ส่วนรวม เหน็ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม มจี ิตสาธารณะและบริการสงั คม ดว้ ยการทางาน
เป็นกลุม่ รว่ มกันสรา้ งผลงานที่ไดจ้ ากการแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ จากแบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน
สามารถสืบเสาะ ค้นหาเพ่ืออธิบายเกยี่ วกบั การแยกสารผสม ตรวจสอบ ใชเ้ คร่ืองมือและวิธกี ารตา่ งๆ เพ่ือเพ่ิม
ประสิทธิภาพของการสารวจตรวจสอบ อธิบายส่ิงท่ีคน้ พบข้อมลู หลกั ฐาน และองค์ความร้วู ิทยาศาสตร์อย่างมี
เหตุผล นาเสนอส่งิ ที่เรียนรูไ้ ด้อย่างชดั เจน เทยี่ งตรง มเี หตุผลกับเพ่อื นร่วมงานและตอบคา้ ถามได้
(นภาพร ภาเชือ้ ,2557,หนา้ 50 )
2. แนวคดิ และทฤษฎที ีเ่ กี่ยวขอ้ งกับความพงึ พอใจ
2.1 ความหมายของความพึงพอใจ
กดู๊ (Good, น. 1973) กล่าวว่า ความพงึ พอใจ หมายถึง สภาพ คุณภาพ หรือระดับ ความพงึ พอใจ ซึง่
เป็นผลมาจากความสนใจต่อสิ่งต่างๆ และทัศนคตทิ บี่ คุ คลนั้นมีตอ่ สิ่งนัน้
โวลแมน (Wolman, น. 1973) กลา่ ววา ความพงึ พอใจ หมายถึง ความรสู้ ึกที่ แสดง ถงึ ความสขุ เม่ือ
ไดร้ ับผลสาเรจ็ ตามจุดมงุ่ หมาย และความต้องการหรือแรงจงู ใจ
เคลิร์ก (Quirk, น. 1987) ได้ให้ความหมายความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้ทีม่ ี ความสุขหรอื ความพอใจ
เม่อื ไดร้ ับความสาเร็จ หรอื ได้รับสิ่งทต่ี นต้องการ
วิรฬุ พรรณเทวี (2542, น.111) ไดใ้ ห้ความหมายความพึงพอใจ หมายถึงความร้สู ึก ภายในจิตใจของ
มนษุ ย์ท่ีไมเ่ หมือนกันขน้ึ อยู่กับแตล่ ะบุคคลว่าจะคาดหวังกับสงิ่ หนงึ่ อย่างไร ถ้าคาดหวังหรือมคี วามตั้งใจมากและ
ไดร้ ับการตอบสนองด้วยดีจะมคี วามพึงพอใจมาก แต่ในทางตรงกันข้ามอาจผดิ หวังหรือไมพ่ งึ พอใจเป็นอย่างย่ิง
เมื่อไมไ่ ดร้ ับการตอบสนองตามทีค่ าดหวังไว้ ท้งั นี้ขน้ึ อยู่กับส่ิงท่ีตนตัง้ ใจไวว้ ่ามีมากหรือน้อย
อรรถพร คาคม (2546, น.29) ได้สรปุ ความพึงพอใจไวว้ ่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติหรอื ระดับ
ความพงึ พอใจของบุคคลต่อกิจการรมต่างๆ ซึ่งสะท้อนให้เหน็ ถึงประสิทธภิ าพ ของกิจกรรมนน้ั ๆ โดยเกดิ จาก
พืน้ ฐานของการรบั รู้คา่ นิยมและประสบการณท์ ี่แตล่ ะบุคคลจะได้รบั ระดับของความพงึ พอใจจะเกิดขนึ้ เม่ือ
กิจกรรมนั้นๆ สามารถตอบสนองความต้องการแกบ่ คุ คลน้ันได้
ปรียาพร วงศอ์ นุตรโรจน์ (2544, น.27) ได้กลา่ วไวว้ ่าความพงึ พอใจในงานมผี ลต่อความสาเร็จของงาน
และหนว่ ยงาน เป็นความรูส้ กึ โดยรวมของบุคคลที่มีต่องานในทางบวก เป็นความสุขที่เกิดจากการปฏิบัตงิ าน และ
ไดร้ ับผลตอบแทนทเี่ ป็นความพงึ พอใจ
8
กล่าวโดยสรปุ ความพงึ พอใจ หมายถึง ความร้สู ึกของบคุ คลทม่ี ีตอ่ สง่ิ ใดสิ่งหนึง่ หากได้รับการตอบสนอง
หรอื เกิดความรู้สกึ สมหวัง ความพึงพอใจนั้นจะเพิ่มขน้ึ
2.2 ทฤษฎคี วามพึงพอใจ
เชลล่ี (Shelli, 1995, p. 9) ได้ศึกษาแนวคดิ เก่ียวกบั ความพงึ พอใจ สรปุ ได้วา่ เป็นความรู้สึกสองแบบ
ของมนุษย์ คือ ความรู้สึกในทางบวกและความรู้สกึ ในทางลบ ความรูส้ กึ ในทางบวกเป็นความร้สู กึ ทีเ่ ม่ือเกดิ ขึน้
แลว้ ส่งผลให้เกิดความรู้สกึ ที่มีความสขุ และเป็นระบบย้อนกลบั ทส่ี ามารถทาให้เกดิ ความสุขหรอื ความรสู้ กึ
ทางบวกเพ่ิมขึน้ ได้อกี ดังนัน้ จะเห็นได้ว่าความสุขเปน็ ความรู้สึกทีส่ ลับซบั ซอ้ นและความสุขนจ้ี ะมีผลต่อบุคคล
มากกว่าความร้สู กึ ในทางบวกอื่นๆ ซ่ึงความร้สู ึกทางลบ ความรสู้ กึ ทางบวกและความสขุ ทง้ั สามส่วนน้ีมี
ความสัมพนั ธ์ความสัมพันธ์กนั อย่าง สลบั ซับซ้อนและระบบความสมั พนั ธ์ของความรู้สกึ ทั้งสามนี้เรียกว่า ระบบ
ความพงึ พอใจ
มาสโลว์ (Maslow, 1970) ได้เรียงลาดับส่งิ จูงใจหรือความต้องการของมนษุ ย์ไว้ 5 ระดับ
โดยเรยี งลาดับขนั้ ของความต้องการไวต้ ามความสาคัญ ดงั น้ี
1. ความต้องการพนื้ ฐานทางสรรี ะ
2. ความต้องการความปลอดภยั รอดพ้นอันตรายและมั่นคง
3. ความตอ้ งการความรัก ความเมตตา ความอบอนุ่ การมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมต่างๆ
4. ความต้องการเกยี รติยศชื่อเสยี ง การยกย่อง และความเคารพตัวเอง
5. ความตอ้ งการความสาเร็จด้วยตนเอง
สรชยั พิศาลบุตร (2551, น. 98-99) ได้กลา่ วถึง การวดั ระดับความพึงพอใจของ ลกู คา้ หรือผ้ใู ห้บรกิ าร
ว่าสามารถทาได้ 2 วธิ ี คอื
1. วดั ความพงึ พอใจจากการสอบถามความคิดเห็นของลูกค้าหรือผู้ใชบ้ รกิ ารเป็นการวดั ระดบั ความพงึ
พอใจของลูกค้าหรือผใู้ ช้บรกิ าร จากการสอบถามความคดิ เหน็ ของลกู ค้าหรือผู้ใชบ้ ริการโดยตรงทาได้โดยกาหนด
มาตรวัดระดบั ความพึงพอใจที่ลูกค้าหรือผใู้ ช้บรกิ ารท่ีมีต่อคุณภาพของสินคา้ หรอื บริการนัน้ ๆและกาหนดเกณฑ์ช้ี
วัดระดับความพึงพอใจจากผลการวัดระดบั ความพงึ พอใจเฉลยี่ ทล่ี ูกค้าหรือผู้ใชบ้ รกิ ารท่ีมตี อ่ คุณภาพของสนิ ค้า
หรอื บริการนนั้ ๆ
2. วัดจากตัวช้วี ัดคณุ ภาพการใหบ้ รกิ ารที่กาหนดขน้ึ โดยการวดั ระดบั ความพงึ พอใจของลกู ค้าหรือ
ผูใ้ ช้บริการจากเกณฑช์ ี้วัดระดับคณุ ภาพสินค้าหรอื บริการที่กาหนดขึน้ นี้อาจใช้เกณฑ์คุณภาพระดบั ตา่ งๆ ท่ี
กาหนดขน้ึ โดยผูใ้ หบ้ ริการผู้ประเมินผลการให้บริการและมาตรฐานกลางหรือมาตรฐานสากลของการใหบ้ ริการ
น้นั
จากทก่ี ล่าวมา สรุปไดว้ ่า ความพึงพอใจ คือ การทาให้ความรู้สึกของบุคคลทไ่ี ด้รับบริการในสง่ิ ท่ีดเี ป็น ที่
พอใจ ประทบั ใจ ตามทีผ่ ู้รับบริการตง้ั ใจ ไว้หรอื มากกวาทคี่ ิดไว้ การจะทาให้เกิดความรู้สึกพึงพอใจไดห้ น่วย
ให้บรกิ ารต้องวางระบบโครงสรา้ งทด่ี ี สอดคล้อง สัมพนั ธก์ ันทกุ ฝ่าย เช่น ด้านเครอ่ื งมือ เครอื่ งใช้ทท่ี นั สมัย ด้าน
บคุ ลากรทมี่ ีความรูค้ วามสามารถเข้าใจในหมีหนา้ ท่ี และต้องมีใจรักในการให้บริการ ด้านสถานทส่ี ะอาดพื้นท่ี
เหมาะสมกบการใหบ้ ริการ มีความเชอื่ ม่ันและมัน่ ใจเมื่อมารับบริการ ซึง่ สง่ิ เหลา่ นเี้ ป็นองค์ประกอบส่วนหน่ึงจาก
องค์ประกอบอีก หลายๆ ด้านท่ีจะนาไปสู่จดุ สูงสุดในเร่ืองความพึงพอใจ
2.3 องคป์ ระกอบของความพงึ พอใจ
นักวิชาการได้อธิบายถึงองค์ของความพึงพอใจ พอสรุปได้ ดังนี้
Gilmer (1967, น.50) ไดก้ ล่าวถงึ องค์ประกอบท่ีเอื้อต่อความพึงพอใจในการทางานไว้ 10 ประการ ดังน้ี
1. ความมนั คงปลอดภยั ( Security) ไดแ้ ก่ ความมั่นคงของงานและองค์การ
9
2. โอกาสกาวหนา้ ในการทางาน ( Opportunity for advancement) ไดแ้ ก่ การมี โอกาส ได้เล่ือน
ตาแหนง่ ทีส่ ูงขึน้
3. บริษทั และการจัดการ (Company and management) ได้แก่ ความพึงพอใจที่มีต่อสถานท่ที างาน
ชือ่ เสียงของสถาบนั และการดาเนินงานของสถาบัน
4. ค่าจา้ ง (Wages) ได้แก่ จานวนรายได้ประจาและรายได้ทีจ่ ่ายตอบแทนพิเศษทีห่ นว่ ยงานให้แก่
ผู้ปฏิบัติงาน
5. ลักษณะภายในของงาน (Intrinseg aspect of the job) ได้แก่ การได้ทางานท่ีตรงกับความตอ้ งการ
ความรู้ ความสามารถ
6. การนเิ ทศงาน (Supervision) การนิเทศมีความสาคญั ที่จะทาให้ผปู้ ฏิบัตงิ านมีความรู้สกึ พอใจหรือไม่
พอใจต่องานได้ การนิเทศงานที่ไมด่ ีอาจเป็นสาเหตุท่ที าใหเ้ กดิ การยา้ ยงาน
7. ลักษณะทางสงั คมของงาน (Social aspects of the job) ถ้าปฏิบตั ิงานร่วมกบผู้อ่นื ได้อย่างมี
ความสุขกจ็ ะเกดิ ความพึงพอใจในงานน้ัน
8. การตดิ ตอ่ สื่อสาร (Communication) ท้งั ภายใน และภายนอกหน่วยงาน
9. สภาพการทางาน (Working condition) ได้แก่ แสง อากาศ เสียง ช่วั โมงการทางาน
10. ผลประโยชนเ์ กอื้ กลู ตา่ งๆ (Benefits) ไดแ้ ก่ บาเหนจ็ ตอบแทนเมอ่ื ออกจากงาน การบรกิ ารดา้ นการ
รกั ษาพยาบาล สวสั ดกิ าร ทีอ่ ยู่อาศัย วนั หยุด
สามารถ บญุ โยประการ (2550, น.38) ได้กล่าวถึงความพึงพอใจท่จี ะทางานว่า การสร้างอารมณ์ หรือ
ความตอ้ งการในการทางานให้เกดิ ข้นึ นนั้ ต้องอาศัยปัจจยั หลายประการ จึงจะทาใหเ้ กิดความรูส้ ึกพอใจท่จี ะ
ทางานปัจจยั เหล่านั้น ไดแ้ ก่ สภาพงาน (Work)การจ่ายผลตอบแทน (Pay) การสนับสนุนส่งเสริม
(Promotion)การควบคุมดแู ล หรอื การจัดการ (Supervision) ผรู้ ่วมงาน (Co-workers) และสภาวการณ์
ปัจจบุ ัน (Current personal situation)
จากที่กล่าวมาข้างตน้ จะเหน็ วา่ องค์ประกอบที่ทาใหเ้ กดิ ความพงึ พอใจในการทางาน ได้แก่ ความสาเร็จ
ในงาน การไดร้ บั การยอมรบั นับถือ ลกั ษณะของงานที่ปฏบิ ัติ ความกาวหนา้ ในงาน คา่ ตอบแทนและผลประโยชน์
เกอื้ กลู การท่ีบุคคลได้รบั ความม่ันคง ปลอดภยั ปัจจัยเกีย่ วกบั สงิ่ แวดล้อมของงาน ได้แก่ นโยบายและการ
บริหาร สภาพการทางาน และ ความสัมพนั ธก์ บั เพือ่ นร่วมงาน
4.4 การประเมนิ ความพึงพอใจ
ความพึงพอใจเกย่ี วข้องกับความรู้สึกของผู้มารับบริการในมิติตา่ งๆ ของแตล่ ะบคุ คล ดงั น้ันการวัดระดบั
ความพึงพอใจ สามารถกระทาไดห้ ลายวธิ ดี ังนี้
โยธนิ แสวงดี (2551, น.9) กล่าววา มาตรวดั ความพงึ พอใจสามารถกระทาได้หลาย วิธี ไดแ้ ก่
1. การใชแ้ บบสอบถาม โดยผอู้ อกแบบสอบถามจะออกแบบสอบถามเพ่ือต้องการ ทราบความคดิ เห็น
ซ่งึ สามารถทาได้ในลกั ษณะที่กาหนดคาตอบให้เลือกหรือตอบคาถามอิสระ คาถามดังกล่าวอาจถามความพงึ
พอใจในดา้ นต่างๆ เช่น การบริหารและการควบคมุ งาน และ เง่ือนไขต่างๆ เป็นต้น
2. การสัมภาษณ์ ต้องอาศัยเทคนคิ และความชานาญพิเศษของผู้สัมภาษณ์ท่จี ะจูงใจ ให้ผ้ตู อบคาถาม
ตอบตามขอ้ เท็จจริง
3. การสังเกต เป็นการสงั เกตพฤติกรรมทงั้ ก่อนการรบั บริการ ขณะรับบริการและ หลงั การรบั บริการ
การวัดโดยวธิ ีนจ้ี ะต้องกระทาอย่างจริงจังและมแี บบแผนท่ีแนน่ อนจะเห็นได้ว่า การวดั ความพึงพอใจนนั้ สามารถ
กระทาไดห้ ลายวิธี ข้ึนอยู่กบความสะดวก เหมาะสม ตลอดจนจุดมงุ่ หมายของการวัดด้วย จึงจะสง่ ผลใหก้ ารวัด
น้ันมีประสิทธภิ าพและน่าเช่ือถอื ได้
ภณิดา ชัยปญั ญา ( 2541, น. 11 ) ได้กลา่ วไว้ว่า การวัดความพงึ พอใจน้ัน สามารถทาไดห้ ลายวธิ ี
ดงั ต่อไปน้ี
10
1. การใชแ้ บบสอบถาม โดยผอู้ อกแบบสอบถาม ต้องการทราบความคิดเห็นซ่ึง สามารถกระทาไดใ้ น
ลกั ษณะกาหนดคาตอบใหเ้ ลอื ก หรอื ตอบคาถามอสิ ระ คาถามดงั กลา่ ว อาจถามความพอใจในดา้ นตา่ งๆ เพ่ือให้
ผตู้ อบทุกคนมาเปน็ แบบแผนเดยี วกัน มกั ใชใ้ นกรณที ่ีต้องการ ขอ้ มูลกล่มุ ตวั อย่างมากๆ วิธีนีน้ ับเป็นวิธีทีน่ ยิ มใช้
กนั มากที่สุดในการวัดทศั นคติ รปู แบบของ แบบสอบถามจะใชม้ าตรวัดทัศนคติ ซ่ึงท่ีนยิ มใช้ในปัจจุบันวิธีหนึ่ง คอื
มาตราส่วนแบบลเิ คิร์ท ประกอบด้วยข้อความที่แสดงถงึ ทัศนคติของบคุ คลท่ีมตี ่อสิ่งเรา้ อย่างใดอย่างหน่ึงท่ีมี
คาตอบที่แสดงถึงระดบั ความร้สู ึก 5 คาตอบ เช่น มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยท่ีสดุ
2. การสัมภาษณ์ เป็นวิธกี ารที่ผูว้ จิ ัยจะต้องออกไปสอบถามโดยการพูดคุย โดยมี การเตรียมแผนงาน
ล่วงหนา้ เพ่อื ให้ไดข้ ้อมูลท่เี ป็นจริงมากท่ีสดุ
3. การสังเกต เป็นวธิ วี ดั ความพงึ พอใจ โดยการสังเกตพฤติกรรมของบคุ คล เป้าหมายไม่ว่าจะแสงดออก
จากการพูดจา กริยาท่าทาง วิธนี ้ตี ้องอาศยั การกระทาอย่างจริงจงั และสังเกตอย่างมรี ะเบยี บแบบแผน วิธนี ้ีเป็น
วิธกี ารศกึ ษาทีเ่ ก่าแก่ และยังเปน็ ทนี่ ยิ มใช้อยา่ งแพร่หลาย จนถงึ ปัจจุบัน
จากการศึกษาการวดั ความพึงพอใจ สรุปได้ว่าการวดั ความพึงพอใจเป็นการบอก ถึงความชอบของบคุ คล
ทม่ี ีต่อส่ิงหน่ึงสิง่ ใด ซึ่งสามารถวดั ไดห้ ลายวธิ ี การสมั ภาษณ์ การใช้ แบบสอบถามความคิดเหน็ การใชแ้ บบสารวจ
ความรสู้ ึก
3. งานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง
ธญั ดา นันทธรรมโชติ(2557) ไดท้ าการวิจยั เร่ือง การเปรียบเทยี บผลการจัด กระบวนการเรียนรูแ้ บบ
GPAS 5 STEPs ประกอบแบบฝึกทักษะ เร่ือง คาพ้องรูป คาพอ้ งเสยี ง ของ นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปี ที่ 3
ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ GPAS 5 STEPs ประกอบด้วยแบบฝึกทักษะ กลมุ่ สาระการ
เรยี นรู้ภาษาไทยมคี ุณภาพอยู่ในระดับ มากท่สี ดุ โดยมี ค่าเฉล่ียเท่ากบั 4.59 2) ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของ
นักเรยี นทเ่ี รียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทกั ษะเรื่อง คาพ้อง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย คะแนนเฉลย่ี หลงั เรียนสงู
กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิตทิ ี่ระดบั .01และ 3) ประสิทธภิ าพของแบบฝกึ เสริมทกั ษะ เรือ่ ง
คาพ้องรูป คาพ้องเสียง กลุ่ม สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 มปี ระสิทธิภาพเท่ากับ 90.47
/77.20 ซ่งึ สงู กว่า เกณฑ์มาตรฐาน ทก่ี าหนด 75/75
เงนิ ฝร่งั (2556) ไดท้ าการวิจยั เรื่อง การฝกึ ทักษะการเขียนเรียงความโดยใช้กระบวนการ GPAS สาหรบั
นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนจลุ วิทยาคม จังหวัดพะเยา จานวน 30 คน การ วจิ ัยคร้ังนี้มจี ดุ ประสงค์
เพอ่ื ฝึกทักษะการเขยี นเรยี งความโดยใช้กระบวนการ GPAS และแบบประเมินทักษะการเขยี นเรียงความหลังการ
สอน ทาการเลือกกลุม่ ประชากรแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจยั ไดแ้ ก่ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอนโดยใช้
กระบวนการGPAS จานวน 10 แผน แบบทดสอบทกั ษะการเขยี นเรียงความ จานวน 10 ชุด และแบบประเมิน
ทักษะการเขียน เรียงความตามจุดประสงค์การเรยี นรู้จานวน 10 ข้อ วิเคราะห์ข้อมลู โดยการหาค่าร้อยละและ
คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ ผลการวิจยั พบว่า (1) ผลการฝึกทักษะการเขยี นเรียงความโดยใช้กระบวนการGPAS ของ 53
นกั เรียน โดยรวมอยู่ในระดบั ดี(ร้อยละ 80.25) เมือ่ พิจารณาเป็นรายแผนการจัดการเรยี นร้พู บวา่ ผล การฝกึ
ทักษะการเขียนเรยี งความในแผน การจดั การเรียนร้ทู ่ี 1, ท่ี 3 และท่ี 4 อยูใ่ นระดับพอใช้ส่วน แผนการจัดการ
เรียนร้ทู ่ี 2 และ 5-10 ผลการฝกึ อยู่ในระดบั ด(ี 2) ผลการประเมินทักษะการเขียน เรียงความหลงั การสอนโดยใช้
กระบวนการ GPAS ของนักเรียน โดยรวมมที กั ษะการเขียนเรยี งความ อยู่ในระดับดเี มอื่ พิจารณาเปน็ ราย
แผนการจัดการเรียนรู้พบว่า ผลการฝึกทกั ษะการเขียนเรยี งความ โดยใชก้ ระบวนการGPAS ของนักเรียนอยู่ใน
ระดบั ดที งั้ หมด ยกเว้นจุดประสงคข์ อ้ ที่ 2 เกยี่ วกบั ความ ชดั เจนของวตั ถุประสงค์อยใู่ นระดับพอใช้
รจนา ป้อมแดง ( 2557 : บทคัดยอ่ ) ได้ศึกษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นรายวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนา
และวัฒนธรรม เร่อื ง ภมู ิลกั ษณข์ องภูมิภาคต่างๆ ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้
11
5 STEPs ผลการวจิ ัยพบวา่ 1.) แผนการจัดการเรียนรูว้ ิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม เรอื่ งภมู ลิ กั ษณ์
ของภมู ิภาคตา่ งๆ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 มคี ุณภาพอยู่ในระดับดมี าก โดยมีคา่ เฉลีย่ เท่ากบั 4.56 2.) ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนท่ไี ด้รบั การจัดการเรียนรู้ โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs วชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม เรอื่ งภมู ลิ กั ษณ์ของภมู ิภาคต่างๆ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 มีคะแนนเฉล่ยี ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
หลังเรียนสงู กวา่ กอ่ นเรยี น แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ .01 3.) ความพึงพอใจของนักเรียนทเี่ รยี นโดย
ใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs มคี ่าความพงึ พอใจ เท่ากับ 4.45 อยูใ่ นระดบั มาก
เกษรอ์ ุบล ปักสมัย ( 2560 : บทคดั ย่อ ) ได้ศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น วชิ าสงั คมศึกษา (คริสตศา
สตร์) เรือ่ ง พระศาสนจักรสหพันธน์ ักบญุ และชวี ิตนริ ันดรของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6/2 (ภาคภาองั กฤษ)
โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ 5 STEPs ผลการวจิ ยั พบว่า จากท่นี ักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/2 (ภาคภาอังกฤษ)
เรยี นวชิ าสังคมศกึ ษา (ครสิ ตศาสตร์) เรื่องพระศาสนจกั ร สหพนั ธน์ กั บุญ และชีวติ นิรนั ดร โดยใชก้ ระบวนการ
เรียนรู้ 5 STEPs นักเรียนมกี ารพฒั นาโยมีคา่ เฉล่ียก่อนเรยี น 6.77 คา่ เฉลยี่ หลงั เรยี น 12.04 ค่าเฉลย่ี ของการ
พฒั นา 5.27 ค่าเฉล่ียร้อยละ 77.84 ของคะแนนก่อนเรยี น เมอื่ พิจารณาเป็นรายบุคคลพบว่า นักเรียนจานวน 18
คน มคี ะแนนเกนิ ร้อยละ 50 และนกั เรียนจานวน 8 คน ท่ีมีคะแนนตา่ กวา่ ร้อยละ 50
ณัฐศษิ ฏ์ ศรีสมบูรณ์ ( 2560 : บทคัดย่อ ) ได้ศึกษาการจดั การเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น (5 STEPs)
ร่วมกบั บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรอื่ ง กระทงสายไหลประทปี 1000 ดวง จงั หวดั ตาก ผลการวจิ ัยพบว่า
การจัดการเรียนรู้แบบบนั ได 5 ขน้ั เรือ่ ง กระทงสายไหลประทีบ 1000 ดวง จังหวัดตาก ประกอบด้วยแผนการ
จดั การเรยี นรู้ 4 หน่วย ร่วมกบั บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน สาหรับนกั เรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียน
นา้ ดบิ พิทยา ตาบลวงั ประจบ อาเภอเมือง จังหวัดตาก ซึ่งผลกานาไปใช้ มปี ระสทิ ธิภาพ 80.43/87.08 สูงกวา่
เกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ 80/80 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี น หลงั เรยี นสงู กวา่ ก่อนเรยี น อย่างมนี ยั สาคัญทาง
สถิตทิ ่ีระดบั 0.01 และนักเรียนมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก
ชนกิ านต์ ศรที องสุข ( 2562 : บทคัดย่อ ) ได้ศึกษาการพัฒนาความสมารถในการคิด วิเคราะห์และ
มโนทศั นท์ างภมู ิศาสตร์ทวปี ยุโรป ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ขนั้ รว่ มกบั
อนิ โฟกราฟกิ ผลการวจิ ยั พบวา่ 1.) พฒั นาการความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ เร่อื ง ทวีปยโุ รป ของนกั เรียน
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 มพี ฒั นาการสงู ขึน้ ตามลาดบั คือ ปรับปรุง พอใช้ และดี 2.) มโนทัศน์ ทางภูมิศาสตร์ทวีป
ยโุ รป ของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 หลงั การจัดการเรยี นรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ัน รว่ มกบั อินโฟ
กราฟิกอยใู่ นระดบั ดี 3.) ความคดิ เห็นของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ท่มี ีตอ่ การจัดการ เรยี นรดู้ ้วย
กระบวนการเรยี นรู้ 5 ข้ัน รว่ มกับอนิ โฟกราฟิก อยใู่ นระดับเหน็ ดว้ ยมากทงั้ 3 ดา้ น คือ 1.) ดา้ นกิจกรรม 2.)
ดา้ นบรรยากาศ และ 3.) ดา้ นประโยชน์
ธัญญารัตน์ สุขเกษม ( 2562 : บทคดั ย่อ ) ได้ศึกษาผลการจดั การเรยี นรแู้ บบกระบวนการ เรยี นรู้ 5 ขั้น
(5 STEPs) รว่ มกบั การใชค้ าถามเชงิ วิเคราะห์ เรื่อง วิวฒั นาการท่ีมตี ่อการคิดวเิ คราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ และ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ผลการวิจัยพบวา่ คา่ เฉลีย่ การคิดวิเคราะห์ทาง
วทิ ยาศาสตรข์ องนกั เรยี นหลังเรยี น ( ̅ 7.48, S.D. 2.53) สงู กว่าก่อนเรียน ( ̅ 3.70, S.D. 2.13) อย่างมี
นยั สาคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .05 และคะแนนเฉล่ยี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน หลังเรียน ( ̅ 22.18, S.D.
1.67) สงู กวา่ ก่อนเรยี น ( ̅ 9.25, S.D. 3.43) และหลังเรียนสงู กว่าเกณฑร์ อ้ ยละ 70 อย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ิที่
ระดบั .05
12
บทท่ี 3
วธิ ดี าเนินการวจิ ัย
การวจิ ัยเรอื่ ง การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นโดยใชว้ ธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps เร่อื ง การถนอม
อาหาร ของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ผู้วิจัยได้มีวธิ กี ารดาเนินการวจิ ยั ดงั นี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
2. เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
3. ขนั้ ตอนการสรา้ งและพัฒนาเคร่อื งมือ
4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
5. การวเิ คราะห์ข้อมูล
1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
ประชากร
ประชากรท่ีใช้ในการวจิ ยั ไดแ้ ก่ นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นกาแพงวิทยา อาเภอละงู
จงั หวัดสตลู ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 3 ห้อง รวม 112 คน
กลุ่มตวั อยา่ ง
กลุ่มตัวอยา่ งที่ใชใ้ นการวจิ ัยได้แก่ นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5/1 โรงเรยี นกาแพงวิทยา อาเภอละงู
จงั หวัดสตลู ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 42 คน
2. เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.1 แผนการจัดการเรยี นรู้
2.2 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น การถนอมอาหาร
2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจท่มี ีต่อการจดั การเรียนรู้ โดยวธิ กี ารสอนแบบ GPAS 5 Steps
3. ขั้นตอนการสรา้ งเครอ่ื งมือ
3.1 แผนการจดั การเรียนรู้ เร่อื ง การถนอมอาหาร
1) ขัน้ สร้าง
1. ศึกษาและวเิ คราะหห์ ลักสูตรสถานศกึ ษาตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐานพทุ ธศกั ราช
2551 ของกลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ
2. วิเคราะห์คาอธบิ ายรายวิชาเพื่อประโยชนใ์ นการกาหนดหนว่ ยการเรยี นรู้และรายละเอียดของแตล่ ะ
หัวขอ้ ของแผนการจดั เรยี นรู้
3. วิเคราะหจ์ ดุ ประสงค์รายวิชาและมาตรฐานรายวิชา ผลการเรยี นรู้ เพื่อนามาเขียนเป็นจุดประสงค์การ
เรยี นรู้ โดยใหค้ รอบคลุมพฤติกรรมทง้ั ด้านความรู้ ทักษะ / กระบวนการ เจตคตแิ ละค่านิยม
4. วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ โดยเลือกและขยายสาระทเี่ รียนรูใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั ผเู้ รยี น ชมุ ชน และทอ้ ง
ท้องถนิ่ รวมทงั้ วิทยาการและเทคโนโลยใี หม่ ๆ ท่ีจะเปน็ ประโยชน์ต่อผ้เู รียน
5. เขียนแผนการจดั การเรียนการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการจัดการเรยี นรู้แบบ GPAS 5 Steps
จานวน 2 แผน รวม 18 ช่วั โมง โดยให้สอดคล้อง กับจุดประสงค์การเรยี นรู้และสาระการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การถนอม
อาหาร
6. นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สรา้ งข้นั เสนอต่อผ้เู ชี่ยวชาญจานวน 3 ทา่ น เปน็ ผู้เชี่ยวชาญ ดา้ นการสอน
วิชาการงานอาชพี ดา้ นหลักสูตรและการสอน การวจิ ยั และการวัดผลการประเมนิ ผล ตรวจสอบ
13
ความถกู ตอ้ งเหมาะสม ความสอดคล้อง และความเปน็ ไปได้ระหวา่ งจุดประสงค์การเรยี นรู้ เนอื้ หาสาระ กิจกรรม
การเรยี นรู้และการวดั ผลประเมนิ ผล โดยใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญพิจารณา ตรวจสอบ ใหค้ ะแนน ดังน้ี
ใหค้ ะแนนเป็น +1 เม่ือแน่ใจวา่ องคป์ ระกอบนัน้ เหมาะสมและสอดคล้อง
ใหค้ ะแนนเปน็ 0 เมอ่ื ไมแ่ น่ใจว่าองค์ประกอบนัน้ เหมาะสมและสอดคล้อง
ให้คะแนนเป็น -1 เม่ือแน่ใจวา่ องค์ประกอบนน้ั ไมเ่ หมาะสมและสอดคลอ้ ง
แล้วนาคะแนนทไี่ ด้มาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item – Objective Congruence : IOC) ระหว่าง
องค์ประกอบของแผนการจดั การเรียนรู้ จะต้องได้ค่าดชั นีความสอดคล้องของทุกองค์ประกอบตงั้ แต่ 0.5 ขน้ึ ไป
7. นาแผนการจดั การเรียนรู้ที่ปรบั ปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองใชก้ ับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน
กาแพงวทิ ยา ทีไ่ ม่ใช่กลุม่ ตัวอยา่ ง
9. นาแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ผา่ นการทดลองไปปรบั ปรงุ แก้ไขแลว้ เสนอตอ่ ผเู้ ชี่ยวชาญเพ่ือตรวจสอบ
ความสมบูรณ์ แลว้ นามาปรับปรงุ แกไ้ ขใหเ้ หมาะสมอีกคร้งั
10. นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีแก้ไขปรบั ปรุงแล้วไปใชก้ บั นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษา
2) ขน้ั นาไปใช้
1. นาแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่แกไ้ ขปรบั ปรุงแลว้ ไปใชก้ ับนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5/1
3.2 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนการถนอมอาหาร มีขั้นตอนการสร้างดังน้ี
1) ข้ันสรา้ ง
1. ศกึ ษาหลักสูตรสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงงานอาชีพหรอื หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้น
พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
2. วิเคราะหค์ วามสมั พนั ธ์ระหว่างสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้วี ดั กบั จุดประสงค์การ
เรียนรใู้ นเร่ืองที่ต้องการสรา้ งแบบทดสอบ ดจู ากแผนการจัดการเรยี นรู้
3. สรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิแบบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 15 ข้อ ต้องการจรงิ
จานวน 10 ขอ้ โดยใหค้ รอบคลุมเนอ้ื หาและจุดประสงค์
4. นาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ ส่ี ร้างข้ึนเสนอผูเ้ ช่ยี วชาญ 3 ทา่ น เพอื่ ตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะ
5. ผเู้ ชย่ี วชาญประเมนิ ความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม โดยวิธีของ
โรวเิ นลล่ี (Rovinelli) และ แฮมเบลตัน (R.K. Hambletan) ซึง่ มีเกณฑ์การใหค้ ะแนน ดงั นี้
ให้คะแนน +1 เมอ่ื แน่ใจวา่ ข้อสอบนั้นวดั ตรงตามจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
ใหค้ ะแนน 0 เมอ่ื ไม่แน่ใจวา่ ขอ้ สอบนน้ั วดั ตามจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
ใหค้ ะแนน -1 เมอื่ แน่ใจวา่ ขอ้ สอบน้นั วัดไมต่ รงตามจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
6. นาคะแนนทผี่ เู้ ชีย่ วชาญลงความเหน็ มาหาค่า IOC ของข้อสอบรายข้อ โดยคัดเลือกข้อสอบทีม่ ีค่าดัชนี
ความสอดคล้อง (IOC) ต้งั แต่ 0.50 ขน้ึ ไป ทาการทดสอบหาความเช่อื มัน่
7. จดั พมิ พ์แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเป็นฉบับสมบูรณ์ เพ่ือใช้
จริง
14
3.3 แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อวิธีการสอนแบบ GPAS 5 Steps
สาหรับแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อวิธีการสอนแบบ GPAS 5 Steps รายวชิ าการงานอาชีพ
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5/1 มลี ักษณะเป็นแบบชนิดมาตรประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดับ มีขนั้ ตอนการ
สรา้ ง ดงั น้ี
1) ขน้ั สรา้ ง
1. ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ที่เก่ยี วข้องกับการจดั การเรียนรู้ โดยวธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps
2. สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี นทีม่ ตี ่อการจดั การเรยี นรู้ โดยวิธีการสอนแบบ GPAS 5
Steps เป็นแบบชนดิ มาตรประมาณคา่ 5 ระดบั ของลิเคริ ์ท โดยกาหนดคะแนน 1 คะแนน ดังนี้
1 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั น้อยทสี่ ดุ
2 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอย่ใู นระดบั นอ้ ย
3 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
4 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มาก
5 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากท่สี ดุ
3. นาแบบสอบถามความพึงพอใจทส่ี รา้ งขนึ้ ให้ผเู้ ชี่ยวชาญจานวน 3 คน ประกอบด้วยผเู้ ชีย่ วชาญดา้ น
เทคนิคการสอน ดา้ นภาษา และดา้ นวดั ผลและประเมินผล เพือ่ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ภาษาท่ีใชแ้ ละ
การประเมินทถ่ี ูกต้อง และนามาหาค่าดชั นคี วามสอดคล้องของเครือ่ งมอื (IOC) โดยกาหนดเกณฑก์ ารพิจารณา
ดังนี้
1 หมายถึง แบบสอบถามมีความสอดคล้อง
0 หมายถึง ไม่สามารถสรปุ ได้ว่าแบบถามสอดคล้องหรอื ไม่
-1 หมายถงึ ถา้ พิจารณาเหน็ วา่ แบบสอบถามไม่สอดคล้อง
4. คานวณหาความตรงเชิงเนื้อหา โดยการหา IOC ซึ่งจะต้องได้ค่าความตรงเชงิ เนือ้ หาไม่น้อยกวา่ .50
(พวงรัตน์ ทวีรัตน.์ 2543:117) จงึ จะถือวา่ แบบสอบถามผ่านการ เห็นชอบจากผเู้ ชี่ยวชาญ มีความตรงเชิงเน้ือหา
เหมาะสมสามารถนาไปใช้จริง โดยใช้ดัชนคี วาม สอดคล้องของแบบสอบถามอยู่ระหวา่ ง 0.80 ถงึ 1.00 โดย
ผู้เชยี่ วชาญให้ขอ้ เสนอแนะแก้ไขเนื้อหา บางตอน การใช้ภาษา และขนาดของตัวหนังสอื ท่ีเหมาะสมกับวยั ของ
นกั เรียน
5. นาแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ปี รบั ปรุงแล้วไปสอบถาม นกั เรียน ระดับชนั้ มธั ยมศึกษา
ปที ่ี 5/1 รายวิชาการงานอาชพี จานวน 42 คน แลว้ นามาคานวณหาค่าความเทีย่ งของแบบสอบถาม โดยหาค่า
สมั ประสทิ ธ์ิแอลฟา่ (α . Coefficient) ของ Cronbach (1970) เกณฑ์การหาค่าความเที่ยงท่ีกาหนดไวส้ งู กวา่
.50 (Nunlly. 1978)
6. ไดแ้ บบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มตี ่อการจดั การเรยี นรู้ โดยวิธีการสอนแบบ GPAS 5
Steps รายวิชาการงานอาชพี ทส่ี มบรู ณ์จานวน 1 ฉบบั สาหรับการเก็บขอ้ มูล
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
1. ผู้วจิ ัยอธิบายวตั ถุประสงค์ ความสาคญั และขน้ั ตอนของการสอนซึ่งเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการวจิ ัย และ
แนะนาวิธกี ารศึกษาพรอ้ มทงั้ แจง้ เง่อื นไขในการศึกษาให้กลุ่มตัวอย่างทราบ
2. ทดสอบก่อนเรยี น โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน การถนอมอาหาร รายวิชาการงาน
อาชพี ง32101 ท่ผี วู้ จิ ยั สร้างข้นึ แบบทดสอบปรนัยชนดิ เลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก จานวน 10 ขอ้ กบั นกั เรยี นกลุ่ม
ตัวอยา่ งชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5/1 แล้วเก็บรวบรวมข้อมลู ไว้
15
3. ดาเนินการทดลอง ผวู้ ิจัยเปน็ ผดู้ าเนนิ การสอนนักเรียนด้วยตนเองใชว้ ิธีการสอนแบบ GPAS 5 Steps
เร่ือง การถนอมอาหาร โดยแบง่ แผนการจัดการเรียนร้ทู ง้ั หมดเป็น 2 แผน รวมเวลา 18 ชวั่ โมง
4. หลังจากดาเนินการทดลองสอนเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการ
เรยี น ฉบบั เดียวกบั กอ่ นเรียน เพ่ือนาคะแนนทไ่ี ด้ไปวิเคราะห์ผล แล้วเก็บรวบรวมข้อมูลวเิ คราะหผ์ ล สรปุ ผล
และแปรผลตอ่ ไป
5. ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบความพงึ พอใจตอ่ การจัดการเรียนรู้ โดยวธิ กี ารสอนแบบ GPAS 5 Step
เรือ่ งการถนอมอาหาร เปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (rating scale) เป็น 5 ระดับ จานวน 20 ขอ้ เพื่อนา
คะแนนทไี่ ด้ไปวเิ คราะห์ผล แล้วเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลวิเคราะห์ผล สรุปผลและแปรผลต่อไป
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลผวู้ จิ ยั ดาเนินการดังนี้
1. วิเคราะหผ์ ลการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน รายวิชาการงานอาชีพ เรื่อง การถนอมอาหาร
โดยเปรยี บเทยี บคา่ เฉลยี่ (X) ของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) และ ผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี นโดยเปรยี บเทยี บคา่ ที (t – test)
สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล
1. สถติ พิ ืน้ ฐานดังนี้
1.1 คานวณหาค่าเฉลย่ี (Arithmetic mean) ใช้สตู ร
X = x
N
เมื่อ X แทน คะแนนเฉลี่ย
x แทน ผลรวมของคะแนนดบิ
N แทน จานวนขอ้ มูล
1.2 คานวณหาคา่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตร
S.D = N x2 ( x)2
N (N 1)
เม่ือ S.D แทน ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
x2 แทน ผลรวมท้ังหมดของคะแนนแตล่ ะตวั ยกกาลังสอง
( x ) 2 แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกาลงั สอง
N แทน จานวนข้อมูล
16
1.3 เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ระหวา่ งก่อนเรยี นและหลงั เรียน โดย
การทดสอบทแี บบไม่อิสระ (t-test for Dependent Sample) (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538: 87)
สูตร t-test Dependent
df = n − 1
เมอ่ื t แทน การแจกแจงแบบที
D แทน ความแตกต่างของคะแนนหลังเรยี น
n แทน จานวนนักเรียน
2. สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะห์หาคุณภาพเครือ่ งมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
2.1 การหาความเทีย่ วตรง (Validity) ของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อประเมนิ
ความสอดคล้องระหวา่ งข้อสอบกับจดุ ประสงคท์ ี่กาหนดโดยใชส้ ตู รดชั นคี ่าความสอดคลอ้ ง IOC โดยใชส้ ตู ร ดังนี้
IOC = R
N
เม่อื IOC แทน ดชั นคี วามสอดคล้องระหวา่ งขอ้ สอบกบั จดุ ประสงค์
R แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เหน็ ของผู้เชี่ยวชาญ
N แทน จานวนผูเ้ ชีย่ วชาญ
17
บทท่ี 4
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
การวจิ ยั คร้งั น้มี ีวตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เร่อื ง การถนอมอาหาร ของ
นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ก่อนและหลังการใช้วธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps และเพื่อศกึ ษาความพึงพอใจ
ท่มี ีตอ่ วธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps ซง่ึ ผวู้ จิ ยั นาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ดงั ต่อไปน้ี
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน เรอื่ ง การถนอมอาหาร โดยใช้วธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps
ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลงั การจดั การเรียนรู้ มีรายละเอยี ด
ตารางที่ 1 ผลเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนก่อนและหลงั การใช้วิธกี ารสอนแบบ GPAS 5 Steps
เรอ่ื ง การถนอมอาหาร
การทดสอบ n S.D. t df Sig
ก่อนเรียน (Pre-test) 41 5.36 1.04
หลังเรยี น (Post-test) 41 7.94 1.14 23.89 39 0.000
ผลการวิจัย
จากตารางที่ 1 แสดงว่า การทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียนของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5/1
คะแนนเฉลย่ี เทา่ กับ 5.36 คะแนน และ 7.94 คะแนน ตามลาดบั และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและ
หลังเรียนพบวา่ คะแนนหลังเรยี นของนักเรยี น สงู กว่าก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิท่รี ะดบั .05
18
ตารางท่ี 2 ผลประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรยี นรู้ โดยใช้วิธีการสอนแบบ GPAS 5 Steps
เรอื่ ง การถนอมอาหาร สาหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 5/1
0
แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมตี ่อการจัดการเรียนรู้ของครูผ้สู อน
โดยใชว้ ธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps เร่ือง การถนอมอาหาร
ชือ่ ครูผู้สอน นางสาวนาฎอนงค์ เพชรสีดา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี
รายวชิ า การงานอาชพี รหัสวชิ า ง32101 ช้นั ม.5/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
ตาราง ค่าเฉลยี่ และระดับคุณภาพความพงึ พอใจของนกั เรียน
ขอ้ กิจกรรม ระดับการประเมนิ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสุด N ค่าเฉลี่ย SD ระดับ
54321
1 ครแู จง้ ผลการเรยี นรใู้ ห้นักเรยี นทราบอย่างชัดเจน 26 11 3 1 41 4.51 0.74 มากที่สุด
2 ครจู ดั กิจกรรมการเรยี นรสู้ นุกและน่าสนใจ 26 14 1 41 4.61 0.54 มากท่ีสุด
3 เนื้อหาสาระท่ีสอนทันสมัยเสมอ 30 10 1 41 4.71 0.51 มากที่สุด
4 ครใู ช้ส่ือประกอบการเรยี นการสอนที่เหมาะสมและหลากหลาย 31 9 1 41 4.73 0.50 มากท่ีสุด
5 ครใู ช้คาถามกระตุ้นความคิด ซักถามนักเรยี นบ่อย ๆ 29 10 2 41 4.66 0.57 มากที่สุด
6 ครปู ระยุกตส์ าระท่ีสอนเข้ากับเหตกุ ารณป์ ัจจบุ ัน/สภาพแวดล้อม 31 9 1 41 4.73 0.50 มากที่สุด
7 ครสู ่งเสรมิ นักเรยี นได้ฝึกปฏิบัติจรงิ มกี ารจดั การและการแก้ปัญหา 32 8 1 41 4.76 0.48 มากที่สุด
8 ครใู ห้นักเรยี นฝึกกระบวนการคดิ คดิ วิเคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ 34 6 1 41 4.80 0.45 มากที่สุด
9 ครสู ่งเสรมิ ให้นักเรยี นทางานรว่ มกันท้ังเป็นกลุ่มและรายบุคคล 31 9 1 41 4.73 0.50 มากท่ีสุด
10 ครใู ห้นักเรยี นแสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรยี นรตู้ า่ ง ๆ 33 7 1 41 4.78 0.47 มากท่ีสุด
11 ครมู กี ารเสรมิ แรงให้นักเรยี นท่ีรว่ มกิจกรรมการเรยี นการสอน 32 7 2 41 4.73 0.54 มากท่ีสุด
12 ครเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามปัญหา 34 6 1 41 4.80 0.45 มากที่สุด
13 ครคู อยกระตุ้นให้นักเรยี นต่ืนตัวในการเรยี นเสมอ 32 8 1 41 4.76 0.48 มากที่สุด
14 ครสู อดแทรกคณุ ธรรมและคา่ นิยมที่ดีงามในวิชาท่ีสอน 30 10 1 41 4.71 0.51 มากที่สุด
15 ครยู อมรบั ความคดิ เห็นของนักเรยี นที่ต่างไปจากครู 34 7 41 4.83 0.38 มากท่ีสุด
16 นักเรยี นมีส่วนรว่ มในการวัดและประเมินผลการเรยี น 35 6 41 4.85 0.35 มากท่ีสุด
17 ครมู กี ารประเมินผลการเรยี นด้วยวิธีการท่ีหลากหมายและยุติธรรม 33 8 41 4.80 0.40 มากท่ีสุด
18 ครมู คี วามตงั้ ใจในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 33 8 41 4.80 0.40 มากที่สุด
19 บุคลิกภาพ การแตง่ กาย และการพดู จาของครเู หมาะสม 35 6 41 4.85 0.35 มากที่สุด
20 ครเู ข้าสอนและออกช้ันเรยี นตรงตามเวลา 35 6 41 4.85 0.35 มากท่ีสุด
รวม 4.75 0.47
19
จากตารางที่ 2 พบวา่ ความพึงพอใจของนกั เรยี นที่มตี ่อวิธกี ารสอนแบบ GPAS 5 Steps เร่ือง การถนอม
อาหาร สาหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5/1 นักเรียนมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากทส่ี ุด ( X = 4.75)
เมอื่ พจิ ารณารายขอ้ พบว่า ข้อทีม่ ีความพึงพอใจสงู สดุ ( X = 4.85) คือ นักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในการจัดประเมินผล
การเรยี น และรองลงมา ( X = 4.83) คือ ครูยอมรับความคิดเห็นของนักเรยี นทตี่ า่ งไปจากครู และครมู ีการวดั
ประเมินผลการเรยี นดว้ ยวธิ ีท่ีหลายหลายและยตุ ิธรรม เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นได้ซักถามปัญหา ครูให้นักเรียนฝึก
กระบวนการคิด คิดวิเคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ ส่วนข้อทนี่ กั เรยี นพงึ พอใจน้อยท่ีสุด คือครูแจ้งผลการเรยี นรูใ้ หก้ บั
นักเรียนทราบอย่างชัดเจน ( X = 4.51)
20
บทที่ 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลการวจิ ัย
การวิจยั เรื่องการพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นโดยใช้วิธีการสอนแบบ GPAS 5 Steps เรื่อง การ
ถนอมอาหารของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 จุดประสงค์ของการวจิ ัย 1) เพ่อื เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการ
เรยี นกอ่ นและหลงั การใชว้ ธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps เรือ่ ง การถนอมอาหาร ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปี
ท่ี 5 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจท่มี ีต่อวิธีการสอนแบบ GPAS 5 Steps เรอ่ื งการถนอมอาหาร ของนักเรียนชน้ั
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5
กล่มุ ตวั อยา่ งท่ีใช้ในการวิจยั ได้แก่ นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/1 โรงเรยี นกาแพงวิทยา อาเภอละงู
จงั หวดั สตลู ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 41 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 1)แผนการ
จดั การเรียนรู้ เร่อื ง การถนอมอาหาร โดยใชว้ ธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Step จานวน 2 แผน แผนละ 9 ชัว่ โมง
รวมเวลา 18 ชวั่ โมง 2) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนการถนอมอาหารเปน็ แบบปรนัย 4 ตวั เลือก
จานวน 10 ข้อ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจทีม่ ีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยวิธกี ารสอนแบบ GPAS 5 Steps ซง่ึ
เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดบั จานวน 20 ข้อ รูปแบบการวจิ ยั เปน็
การวิจัยเชงิ ทดลอง (Experimental Research) การเก็บรวบรวมข้อมูล มีการทดสอบก่อนเรียนแล้วดาเนนิ การ
สอนโดยการใช้วธิ กี ารสอนแบบ GPAS 5 Steps และทาการทดสอบหลังเรียน ประเมนิ ความพึงพอใจต่อการ
จดั การเรยี นรู้ โดยวธิ กี ารสอนแบบ GPAS 5 Step
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผู้วจิ ยั ได้ดาเนินการวิเคราะหข์ ้อมูล โดยวิเคราะห์เปรยี บเทยี บผลการเรียนร้กู ่อน
เรยี นและหลงั เรยี น การทดสอบค่าทีทีไ่ ม่เป็นอิสระต่อกัน (T- Test Dependent) คา่ เฉล่ีย ( X ) สว่ นเบีย่ งเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation S.D.)
อภิปรายผล
การวิจัย เรอื่ งการพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นโดยใช้วธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps เร่อื ง การ
ถนอมอาหาร ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ปรากฏวา่ มคี ะแนนเฉล่ียก่อนเรียนและหลงั เรียน เท่ากบั 3.64
และ7.15 ตามลาดับ และเมอื่ เปรยี บเทยี บคะแนนก่อนเรยี นและหลังเรียน พบวา่ คะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่า
กอ่ นเรยี นอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิทีร่ ะดับ 0.5 แสดงว่านักเรียนทไ่ี ด้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธกี ารสอนแบบ
GPAS 5 Steps มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน หลงั เรียน สงู กว่ากอ่ นเรยี น ซงึ่ สอดคล้องกับสถาบนั พัฒนาคณุ ภาพ
วชิ าการ (2561,12) ทีกลา่ วว่า กระบวนการจัดการเรยี นูร้ GPAS 5 Steps เปน็ วีธีท่คี รูใช้จัดกระบวนการเรียนรู้
ทเ่ี น้นการเรยี นรทู้ ่ผี ู้เรยี นคิดลงมือทาและสรุปความรู้ดว้ ยตนเอง นกั เรียนมีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ มมุ มอง
หลากหลายจงึ ทาใหผ้ ูเ้ รยี นมีข้อมลู นาไปสู่การปรับโครงสร้างความรู้ ความคิดรวบยอด หรอื หลักการสาคัญท่ี
ศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (Independent Study) จึงเป็นแนวทางที่ตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคลทง้ั ใน
แง่ความสนใจ ประสบการณ์ วธิ ีการเรียนรู้ และการใหค้ ุณคา่ ความรูท้ ี่ผู้เรยี นแต่ละคนสร้างขนึ้ อยา่ งมีความหมาย
เพอื่ นาไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชน และสังคมโลก การเรียนรู้ตามทฤษฎี การสรา้ งความรู้เป็น
กระบวนการ Acting on ไมใ่ ช่ Taking in กลา่ วคือ เป็นกระบวนการทีผ่ ้เู รียน จะต้องจัดกระทากับข้อมลู ไมใ่ ช่
เพียงรบั ข้อมูลเข้ามา และนอกจากกระบวนการเรียนรู้จะเป็นกระบวนการปฏสิ มั พันธ์ภายในสมอง (Internal
Mental Interaction) แล้วยงั เป็น กระบวนการทางสังคมอกี ด้วย การสร้างความรจู้ งึ เป็นกระบวนการทัง้ ดา้ น
สตปิ ัญญาและสงั คมควบคกู่ ันไป การเรียนการสอนต้องเปล่ียนจากInstruction ไปเป็น Construction คอื
เปลย่ี นจาก การใหค้ วามรูไ้ ปเปน็ การใหผ้ ู้เรียนสร้างความรู้ ใชค้ วามรผู้ ลติ ผลงาน และสามารถนาไปใช้ในชวี ติ
จรงิ ได้
21
ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนทมี่ ีตอ่ วธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps เรื่อง การถนอม
อาหาร สาหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/1 นกั เรียนมคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ ( X = 4.75) เม่อื
พิจารณารายข้อพบวา่ ข้อท่มี ีความพึงพอใจสงู สุด ( X = 4.85) คือ นกั เรยี นมีสว่ นร่วมในการจัดประเมนิ ผลการ
เรยี น และรองลงมา ( X = 4.83) คือ ครยู อมรบั ความคดิ เหน็ ของนักเรียนทีต่ า่ งไปจากครู และครูมกี ารวดั
ประเมนิ ผลการเรียนด้วยวธิ ที ่ีหลายหลายและยตุ ิธรรม เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นไดซ้ ักถามปัญหา ครใู หน้ ักเรียนฝึก
กระบวนการคิด คิดวเิ คราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ สว่ นข้อทีน่ กั เรียนพึงพอใจน้อยท่ีสดุ คือครูแจ้งผลการเรียนรใู้ หก้ ับ
นกั เรยี นทราบอย่างชัดเจน ( X = 4.51)
ข้อเสนอแนะ
1. การจดั การเรียนรโู้ ดยใชว้ ิธีการสอน GPAS 5 Step เป็นเคร่ืองมือทางการเรียนที่มงุ่ เน้นในการใช้
ทักษะการคดิ วิเคราะห์ในทุกขั้นตอน ดงั นัน้ ครูผู้สอนควรจะอธบิ ายในแต่ละข้ันตอนให้ผ้เู รียนทราบอย่างชดั เจน
เพ่อื ทีผ่ เู้ รยี นจะได้ปฏบิ ัตใิ นแต่ละขัน้ ตอนของกระบวนการ GPAS 5 Step ได้เปน็ อย่างดี ครตู อ้ งเตรยี มความ
พรอ้ มในดา้ นตา่ ง ๆ เกีย่ วกบั บทเรยี นกอ่ นเพ่ือให้การจดั การเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ ศกึ ษาแผนการ
จัดการเรียนรลู้ ว่ งหน้า เพอ่ื ให้การปฏบิ ัติกิจกรรมของนกั เรียนในแตล่ ะ ข้นั ตอนให้มีความชัดเจน
2. ผู้เรียนสามารถสรปุ ความคิดรวบยอด โดยกระบวนการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ แสดงความคิด
ระหวา่ งเพื่อนนักเรียนด้วยกัน ทาใหผ้ ้เู รยี นเกิดความเข้าใจย่ิงข้นึ ครผู ู้สอนมีบทบาทกระตุ้น ใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ แนวคิด
ดว้ ยการต้งั คาถาม ทาให้ผ้เู รียนเกิดความเข้าใจยงิ่ ขึ้น ซ่ึงผ้เู รียนมีสว่ นรวมใน กิจกรรมการเรียน โดยทราบผลการ
ปฏบิ ตั ิงานของตน ตลอดจนมีการใช้ส่ือ แหลง่ เรยี นรู้ อยา่ งหลากหลาย จึงทาใหผ้ ้เู รยี นเกิดความสนใจในการเรียน
และมคี วามพงึ พอใจในการจัดกิจกรรมโดยใช้ กระบวนการเรียนจัดการเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการ GPAS 5 Step
22
บรรณานุกรม
กรรณิการ์ ภริ มย์รตั น. (2553). การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสาระการเรียนรู้ภูมิศาสตร์ เร่ือง ทวีป
ยุโรปก่อนเรียนและหลงั เรยี นของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ราชภฏั
สวนสนุ นั ทา โดยใชแ้ บบฝกึ เสริมทักษะ. สืบคน้ เม่ือ 23 กรกฏาคม 2562, จาก
http://www.ssruir.ssru. ac.th/bitstream/ssruir/382/1/139.53.pdf
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2560). หลักสตรู แกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช2551.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.
เงนิ ฝร่ัง, ต. (2556). การฝึกทักษะการเขยี นเรียงความโดยใช้กระบวนการ GPAS สาหรบั นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษา
ปีท่ี 1 โรงเรยี น(วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาการศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย).
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่, เชียงใหม.่
วาวรินทรพ์ งษพ์ ฒั น.์ (2561). การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นคณิตศาสตรเ์ รื่องความน่าจะเปน็ โดยการ
จัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ในระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 3 โรงเรยี นวดั ศรสี ุทธาราม จังหวดั
สมทุ รสาคร. (วิทยานิพนธป์ ริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ ). มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. กรุงเทพฯ.
ปอ้ มแดง, ร. (2557). การศึกษาผลสมั ฤทธท์าิ งการเรียนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒันธรรม เรอ่ื ง ภมู ลิ กั ษณ์
ของภูมิภาคต่างๆ ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ 5 STEPs. Retrieved
from งานวิจัย วชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรยี นอนุบาลน้องหญิง
23
ภาคผนวก
24
ภาคผนวก ก
รายช่อื ผ้เู ช่ียวชาญเปน็ ผตู้ รวจสอบเครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการวิจัย
25
รายช่ือผ้เู ชี่ยวชาญตรวจสอบเครือ่ งมือวิจยั
1.ครูวัฒนะ สองเมือง
ครชู านาญการพเิ ศษ
ครผู ้สู อนการงานอาชพี โรงเรยี นกาแพงวิทยา อาเภอละงู จังหวัดสตูล
2.ครนู ติ ยา ชานาญคราด
ครูชานาญการ
ครผู ู้สอนการงานอาชพี โรงเรยี นกาแพงวิทยา อาเภอละงู จังหวดั สตูล
3.ครูสุภาพร วะจิดี
ครู
ครผู ู้สอนการงานอาชีพ โรงเรยี นกาแพงวิทยา อาเภอละงู จงั หวดั สตูล
26
ภาคผนวก ข
ตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือ
- การคานวณหาค่าดชั นคี วามสอดคลอ้ ง
27
การคานวณหาคา่ ดัชนีความสอดคลอ้ ง
1
แบบตรวจสอบความเที่ยงตรง (Validity)
ด้านความสอดคล้องระหวา่ งขอ้ สอบ กับ ตวั ชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้
คาชี้แจง แบบสอบถามนส้ี าหรับผเู้ ชย่ี วชาญเป็นผตู้ อบ โปรดเขยี นเครื่องหมาย ลงในชอ่ งระดับความคิดเห็น
ของท่านว่าขอ้ สอบมีความสอดคลอ้ งหรือถกู ต้องเพยี งใด
ให้คะแนน +1 ถา้ แนใ่ จวา่ ขอ้ คาถามวดั ได้ตรงตามตวั ชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้
ให้คะแนน 0 ถา้ ไม่แนใ่ จวา่ ขอ้ คาถามวัดได้ตรงตามตวั ช้ีวดั /ผลการเรียนรู้
ให้คะแนน -1 ถา้ แนใ่ จว่าขอ้ คาถามวัดได้ไม่ตรงตามตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู้
ครูผสู้ อน นางสาวนาฏอนงค์ เพชรสีดา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี .
รายวชิ า การงานอาชพี . รหัสวชิ า ง32101 . ภาคเรียนท่ี 2 . ปีการศึกษา 2564 .
ตัวชีว้ ดั /ผลการ ขอ้ สอบขอ้ ที่ ระดบั ความสอดคล้อง สรุปผล
เรียนรู้
ผเู้ ช่ียวชาญคนท่ี 1 ผเู้ ชี่ยวชาญคนที่ 2 ผเู้ ช่ียวชาญคนท่ี 3
1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 รวม IOC แปลผล
ง1.1 ม.4-6/1 1 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/5 2 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/2 3 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/5 4 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/3 5 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/7 6 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/4 7 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/3 8 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/6 9 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/1 10 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/1 11 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/1 12 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/1 13 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/1 14 3 1 ใชไ้ ด้
ง1.1 ม.4-6/5 15 3 1 ใชไ้ ด้
ผู้เช่ียวชาญลงชือ่
(วนั ที่ประเมนิ ) วนั ท่ี…../…..../…. วนั ท่ี…../…..../…. วนั ที่…../…..../….
เกณฑ์ 1. ขอ้ คาถามท่ีมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50-1.00 มีค่าความเที่ยงตรง แปลผลว่า “ ใชไ้ ด้ ”
2. ขอ้ คาถามที่มีค่า IOC ต่ากว่า 0.50 ต้องปรับปรุง แปลผลว่า “ ใชไ้ มไ่ ด้ ”
28
ภาคผนวก ค
แผนจัดการเรยี นรู้
29
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี รหัสวิชา ง32101 รายวชิ าการงานอาชีพ
ปีการศกึ ษา 2564
ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 9 ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 ผลงานสร้างสรรค์ เรอ่ื ง การถนอมอาหาร
ชอ่ื ผสู้ อน นางสาวนาฎอนงค์ เพชรสีดา
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
เข้าใจการทางานมีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทางาน ทักษะการจดั การ ทกั ษะกระบวน
การแก้ปัญหา ทกั ษะการทางานร่วมกนั และทักษะการแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรมและลักษณะนิสัยในการ
ทางานมจี ิตสานึกในการใชพ้ ลังงานทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ ม เพอ่ื การดารงชีวติ และครอบครัว
ตัวชวี้ ัด
ง 1.1 ม.4-6/2 สรา้ งผลงานอยา่ งมีความคิดสรา้ งสรรค์ และมีทักษะการทางานรว่ มกนั
2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
การถนอมอาหาร เป็นวธิ ีการทช่ี ่วยใหอ้ าหารประเภทต่างๆสามารถเกบ็ ไวไ้ ดย้ าวนานกวา่ ปกตโิ ดยไม่เน่า
เสยี และมสี ภาพใกล้เคยี งกบั ของสด ซ่งึ มีความสาคัญ คอื ช่วยให้อาหารคงสภาพดี เป็นการถนอมอาหารไวใ้ ช้ใน
ยามขาดแคลนหรอื คบั ขัน เป็นการกระจายอาหารไปยงั ท้องถน่ิ ต่าง ๆหรือต่างประเทศ เปน็ การเก็บอาหารไว้
บรโิ ภคนอกฤดูกาล พฒั นาอาหารให้มคี วามหลากหลายและสง่ เสรมิ อาชีพอุตสาหกรรมขนาดย่อมในครัวเรือน
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมายและความสาคัญของการถนอมอาหารได้ (K)
2. บอกสาเหตุของการเน่าเสยี ของอาหารได้ถูกต้อง (K)
3. ทาหนังสือเล่มเล็กเรื่อง การเนา่ เสียของอาหารสดและแนวทางการแกไ้ ข (P)
4. เห็นความสาคัญของการถนอมอาหาร (A)
3. สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายและความสาคัญของการถนอมอาหาร
2. การเนา่ เสยี ของอาหาร
3. วิธีการถนอมอาหาร
4. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ่ ประสงค์
มุ่งมั่นในการทางาน
ตวั ชี้วัดที่ 6.1 ตัง้ ใจและรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั หิ น้าท่กี ารงาน
ตวั ชี้วดั ที่ 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพอื่ ให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย)
30
5. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. หนังสอื เลม่ เลก็ เรื่อง การเน่าเสยี ของอาหารสดและแนวทางการแกไ้ ข
7. กิจกรรมการเรยี นรู้
วธิ ีการสอน/เทคนิค วิธีสอน Gpas 5 Steps
ชว่ั โมงที่ 1-2 ความหมายและความสาคัญของการถนอมอาหาร
ขัน้ นา
ครูอธบิ าย ตัวช้ีวดั ม.4-6/2 สรา้ งผลงานอยา่ งมีความคดิ สรา้ งสรรค์ และมีทักษะการทางานรว่ มกนั
(โดยใช้สื่อพาวเวอร์พอ้ ย) ความหมายของความคิดสร้างรรค์ องค์ประกอบของความคิดสรา้ งสรรค์ ประโยชน์
ของความคิดสรา้ งสรรค์ ทกั ษะการทางานรว่ มกัน ขนั้ ตอนของการทางานร่วมกนั
ขั้นสอน
Step1 ขั้นรวบรวมขอ้ มลู
1. นักเรยี นสังเกตภาพอาหารทเี่ น่าเสยี โดยร่วมกันสนทนา และตอบคาถาม ดังนี้
• นักเรียนเหน็ อะไรในภาพ และลักษณะของอาหารในภาพมีลักษณะอย่างไร
(ตัวอย่างคาตอบ เหน็ เน้อื ปลา มลี กั ษณะเน่าเสีย)
• นักเรยี นคดิ ว่าการเน่าเสยี ของอาหารมสี าเหตุมาจากส่ิงใด
(ตวั อย่างคาตอบ อาจเกิดจากการเกบ็ ไวน้ านหรอื ไม่ได้ดูแลเพ่ือยืดอายุอาหารอย่างถูกวธิ )ี
• นักเรยี นคิดวา่ อาหารเหลา่ น้ีสามารถมีอายกุ ารเกบ็ ได้นานขึ้นหรอื ไม่ ทาได้ด้วยวธิ ีการใด
(ตวั อยา่ งคาตอบ ได้ ดว้ ยวธิ ีการถนอมอาหารอยา่ งง่าย โดยการเก็บไว้ในช่องแช่แข็งของตู้เยน็ )
2. นกั เรียนศึกษาและรวบรวมข้อมลู เกยี่ วกบั ความสาคัญของการถนอมอาหารและการเน่าเสียของ
อาหาร จากแหลง่ การเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย เช่น หนงั สือเรยี น อนิ เทอร์เน็ต และครูอธิบายเพมิ่ เติมจากสอ่ื พาว
เวอร์พอย
Step2 ขนั้ วิเคราะหแ์ ละสรุปความรู้
3. นกั เรียนวิเคราะหภ์ าพอาหารท่ีเคยรับประทานในชวี ติ ประจาวนั และตอบคาถาม ดังนี้
31
• อาหารในภาพคอื อะไร
(ขนมถว้ ยกะทิสด)
• นักเรยี นคดิ วา่ อาหารดงั กลา่ วใชเ้ วลานานเท่าใด จึงจะเน่าเสีย
(ตวั อยา่ งคาตอบ 1 วัน)
• นักเรยี นมีวิธกี ารในการดแู ลรักษาและยดื อายุของอาหารเหล่านี้ได้อยา่ งไรบ้าง
(ตวั อยา่ งคาตอบ แชใ่ นตู้เย็น)
4. นักเรยี นในช้ันเรยี นแบ่งกลุ่มออกเปน็ 2 กลุม่ กล่มุ ที่ 1 ร่วมกนั อภิปรายเพ่ือสรปุ ความคดิ เหน็ ใน
ประเด็น “วธิ ีที่ควรปฏบิ ัติ เนอ่ื งจากทาให้อาหารเน่าเสยี เร็วมากยิ่งขึน้ ” และกล่มุ ท่ี 2 ร่วมกันอภปิ รายเพือ่ สรปุ ความ
คดิ เหน็ ในประเดน็ “ความสาคัญของการถนอมอาหาร”โดยแต่ละกลุ่มรว่ มกันสรปุ ดังตวั อย่าง
(ตัวอยา่ งคาตอบ วิธีท่ีไม่ควรปฏบิ ัตเิ นือ่ งจากทาให้อาหารเน่าเสยี เรว็ ตวั อยา่ งเช่น การซือ้ อาหารมาแล้วไมเ่ ก็บ
เข้าตเู้ ยน็ การนาอาหารประเภทกะทวิ างไว้ในท่รี ้อน ไม่ใชช้ อ้ นกลางในการตักอาหาร ความสาคญั ของการถนอมอาหาร
ตวั อยา่ งเช่น ช่วยยดื อายุของอาหารให้สามารถเก็บรักษาได้นานขึ้น การถนอมอาหารบางรปู แบบช่วยใหเ้ กดิ เป็น
ผลิตภณั ฑ์ใหม่ เช่น ทุเรยี นทอด กลว้ ยกวน มะดนั ดอง)
5. นกั เรียนร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น โดยตอบคาถามกระตนุ้ การคิด ดงั น้ี
• หากนกั เรยี นนาการถนอมอาหารไปปรบั ใช้ จะเกิดผลดีอย่างไร
(ตวั อย่างคาตอบ ชว่ ยยดื อายุของอาหารโดยทาให้อาหารเก็บไวไ้ ดน้ านข้ึน ประหยดั ค่าใช้จา่ ในการ
ซ้อื อาหาร รวมทง้ั สามารถนาอาหารเดินทางไปในทีไ่ กล ๆได้)
ช่ัวโมงที่ 3-4
Step3 ขน้ั ปฏิบตั แิ ละสรปุ ความรู้หลงั การปฏิบตั ิ
6. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มตามความเหมาะสม โดยแต่ละกลุ่มเลือกอาหารมา 1 ชนดิ แล้วเขียนรายละเอียด
ลงไปในหนังสือเล่มเลก็ พรอ้ มตกแตง่ ใหส้ วยงาม
1. อาหารทเ่ี ลือก คืออะไร
2. อาหารทีเ่ ลือกมีอายุการเกบ็ รักษานานเทา่ ใด
3. นักเรียนมวี ิธกี ารเก็บรักษาอาหารชนิดน้ันอยา่ งไร
7. นกั เรยี นร่วมกันสรุปสง่ิ ทีเ่ ข้าใจเป็นความรูร้ ่วมกัน ดังน้ี
การถนอมอาหาร เปน็ วธิ ีการท่ชี ่วยให้ประเภทอาหารต่าง ๆ มอี ายุและสามารถเก็บไวไ้ ด้ยาวนานกว่า
ปกติ โดยไมเ่ น่าเสยี และมีสภาพใกล้เคยี งกับของสด ซ่ึงมีความสาคญั คือ ช่วยให้อาหารคงสภาพดี เป็นการถนอม
อาหารไว้ใช้ในยามขาดแคลนหรือคบั ขัน เป็นการกระจายอาหารไปยงั ท้องถิ่นตา่ ง ๆ หรอื ตา่ งประเทศ เป็นการ
เก็บอาหารไวบ้ ริโภคนอกฤดกู าล พฒั นาอาหารให้มีความหลากหลาย และสง่ เสริมอาชพี อุตสาหกรรมขนาดย่อม
ในครวั เรือน
Step4 ขั้นส่ือสารและนาเสนอ
32
8. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอหนงั สอื เล่มเล็ก เรอื่ ง การเน่าเสยี ของอาหารสดและแนวทาง
การแก้ไข หนา้ ชนั้ เรียน เม่ือผ่านการนาเสนอแล้วใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ถา่ ยภาพหนงั สือเลม่ เล็กและรายละเอยี ด
ในเลม่ เผยแพร่ในเฟซบุ๊ก และชอ่ งทางการเรียนรู้ออนไลน์
Step5 ขั้นประเมินเพอื่ เพิ่มคุณคา่ บริการสงั คมและจติ สาธารณะ
9. นักเรยี นนาความรูเ้ ร่อื ง การถนอมอาหารไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน เพื่อยืดอายขุ องอาหาร
และประหยัดงบประมาณในการซ้อื อาหารไปเผยแพรค่ วามร้สู คู่ รอบครวั และผู้ท่ีร้จู ักได้ โดยใช้หนงั สือเล่มเล็ก เชน่
นาไปจัดวางไวใ้ นห้องสมดุ โรงอาหาร หรอื ศาลาน่ังเล่น เพื่อเผยแพร่ความรูใ้ ห้กับผู้ทสี่ นใจ
10. นกั เรยี นประเมินตนเอง โดยเขยี นแสดงความรสู้ ึกหลังการเรียนและหลังการทากจิ กรรมในประเด็น
ต่อไปน้ี
• ส่ิงท่นี กั เรยี นได้เรยี นร้ใู นวนั นค้ี อื อะไร
• นกั เรียนมสี ว่ นร่วมกิจกรรมในกลมุ่ มากน้อยเพยี งใด
• เพอื่ นนกั เรียนในกลมุ่ มีสว่ นร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพยี งใด
• นกั เรยี นพึงพอใจกบั การเรยี นในวนั นี้หรือไม่ เพยี งใด
• นกั เรียนจะนาความรทู้ ่ีได้นี้ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครัว และสังคมท่ัวไป
ไดอ้ ยา่ งไร
จากนน้ั แลกเปลีย่ นตรวจสอบขน้ั ตอนการทางานทกุ ขนั้ ตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปส่สู ังคม
เกดิ ประโยชนต์ ่อสงั คมให้มากขึน้ กวา่ เดิมในขั้นตอนใดบา้ ง สาหรับการทางานในครงั้ ต่อไป
ชวั่ โมงท่ี 5-6
Step1 ข้นั รวบรวมข้อมูล
1. นักเรียนสังเกตภาพการถนอมอาหารดว้ ยวิธีการทาอาหารแห้งและวธิ ีการใชค้ วามร้อน
โดยตอบคาถาม ดังนี้
• ภาพท่นี ักเรียนเหน็ คอื ภาพอะไร
(ภาพกุ้งแหง้ และนมกล่อง)
• ภาพทัง้ สองภาพใชว้ ธิ กี ารถนอมอาหารที่แตกต่างกนั อยา่ งไร
(ตวั อย่างคาตอบ กุ้งแห้งใช้วิธกี ารถนอมอาหารโดยการตากแห้ง แต่นมกล่องใชว้ ธิ กี ารถนอมอาหาร
โดยการใชค้ วามรอ้ น)
2. นกั เรยี นศึกษาและรวบรวมข้อมลู เกย่ี วกบั การถนอมอาหารดว้ ยวธิ กี ารทาแห้ง
และการใช้ความรอ้ น จากแหล่งการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย เช่น หนังสอื เรียน อินเทอร์เนต็
Step2 ข้ันวิเคราะหแ์ ละสรุปความรู้
3. นกั เรยี นวิเคราะหภ์ าพเกี่ยวกบั การถนอมอาหารด้วยการทาอาหารแห้ง ดว้ ยการใชว้ ิธีการ
33
ที่แตกต่างกัน 2 วธิ ี ดังนี้
• ภาพทั้งสองมคี วามเหมอื นหรือแตกต่างกันอย่างไร
(ตวั อยา่ งคาตอบ ทงั้ สองภาพเปน็ การถนอมอาหารด้วยวิธกี ารทาอาหารแห้งเหมือนกนั แต่มวี ธิ กี ารที่
แตกตา่ งกัน ภาพที่ 1 เปน็ การตากแหง้ สว่ นภาพที่ 2 เปน็ การอบแห้ง)
• จากตัวอยา่ งนักเรยี นรว่ มกันสรปุ วา่ การถนอมอาหารแบบแห้งมกี ว่ี ธิ ี อะไรบ้าง
(ตวั อย่างคาตอบ การถนอมอาหารดว้ ยวธิ กี ารทาอาหารแห้งมี 2 วิธี คือ
1) การตากแหง้ เป็นการใช้ความร้อนจากแสงอาทติ ย์หรือการผ่งึ ลม ควบคู่ไปกบั การใช้เกลือ
เพือ่ หมักอาหาร โดยเฉพาะอาหารประเภทเนอ้ื สตั ว์
2) การอบแห้ง เปน็ การทาให้อาหารแห้งโดยใช้เครื่องจักร เปน็ การทาให้นา้ ระเหยออกจากอาหาร
โดยอาหารจะมีการเปลี่ยนแปลงน้อยทีส่ ดุ )
จากน้นั วิเคราะหภ์ าพการถนอมอาหารด้วยวธิ ีการใชค้ วามร้อนทง้ั 3 วิธี
• ภาพทงั้ 3 ภาพ คอื อะไร
(นมกล่อง แยม และมะมว่ งกวน)
• นกั เรียนคดิ วา่ ท้ัง 3 ภาพเปน็ การถนอมอาหารดว้ ยวธิ ีการใด
(ตวั อยา่ งคาตอบ เปน็ การถนอมอาหารโดยวิธกี ารใชค้ วามร้อน)
• นกั เรียนคิดวา่ ทัง้ 3 ภาพมีรปู แบบการใช้ความร้อนท่ีแตกต่างกันอย่างไร
(ตัวอย่างคาตอบ ภาพท่ี 1 นมกล่อง ใช้ความรอ้ นในระดบั ต่าหรอื พาสเชอร์ไรซ์
ภาพที่ 2 แยม ใชค้ วามร้อนในระดับทีส่ งู กว่าจุดเดือดหรือการสเตอริไลซ์ ส่วนภาพท่ี 3 ผลไมก้ วน เป็น
การใช้ความร้อนขนาดจดุ เดอื ด)
• จากภาพ นกั เรยี นร่วมกนั สรปุ วา่ การถนอมอาหารดว้ ยวิธกี ารใชค้ วามร้อน มีการใช้อุณหภูมิ
กร่ี ะดบั
(ตวั อย่างคาตอบ 3 ระดบั คือ 1) การใช้ความร้อนขัน้ ต่าหรือการพาสเชอไรซ์ 2) การใชค้ วาม
รอ้ นเหนอื จุดเดือดหรือการสเตอริไลซ์ และ 3) การใช้ความรอ้ นขนาดจดุ เดือด)
4. นักเรียนร่วมกนั วเิ คราะหแ์ ละแสดงความคดิ เหน็ โดยตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ ดังนี้
34
• หากนักเรียนนาการถนอมอาหารด้วยวิธีการทาอาหารแห้งและอาหารอบไปปรับใช้ จะเกิดผลดอี ย่างไร
(ตวั อยา่ งคาตอบ ช่วยให้อาหารมีการเก็บรักษาไดน้ านมากยิ่งขึน้ รวมท้ังสามารถสร้างรายได้เพิ่มใหก้ บั ผ้นู าไป
ประยกุ ตใ์ ช้ไดอ้ ีกด้วยในกรณีท่ีผ้สู นใจตอ้ งการทาเป็นอาชีพเสริม)
Step3 ขั้นปฏิบตั ิและสรปุ ความรู้หลงั การปฏบิ ตั ิ
5. นกั เรยี นแบ่งกล่มุ ตามความเหมาะสม แต่ละกลุ่มสารวจอาหารสดท่ีครอบครวั ซ้ือเปน็ ประจาใน 1
สปั ดาห์ และพิจารณาว่าอาหารสดชนดิ ใดทส่ี ามารถนามาถนอมอาหารด้วยวธิ ีการทาอาหารแหง้ และวธิ กี ารใช้
ความร้อนได้ บันทกึ ลงในสมดุ เรอื่ ง การถนอมอาหารด้วยวิธกี ารทาอาหารแห้งและวธิ ีการใชค้ วามร้อน
จากน้นั ร่วมกนั เลอื กอาหาร 1 ชนดิ อภปิ รายเพมิ่ เตมิ เพ่ือสรุปขอ้ มูลวิธกี ารถนอมอาหารด้วยวธิ กี ารทาอาหารแหง้
และวธิ กี ารใชค้ วามร้อน ลงในกระดาษสาหรบั ทากจิ กรรมพรอ้ มตกแตง่ ใหส้ วยงาม
6. นักเรียนร่วมกนั สรปุ ส่งิ ทเ่ี ข้าใจเป็นความรรู้ ว่ มกัน ดังนี้
การถนอมอาหารด้วยวธิ ีการทาอาหารแหง้ เป็นการถนอมอาหารโดยการกาจัดน้าที่อยใู่ นอาหาร
ให้มากที่สุด เพอื่ ใหจ้ ุลินทรยี ์ในอาหารเตบิ โตช้าลง และการถนอมอาหารดว้ ยวธิ ีการใช้ความรอ้ น เปน็ การใช้
ความร้อนเพอ่ื ทาลายจุลนิ ทรีย์และน้ายอ่ ยหรือเอนไซมใ์ นอาหารใหเ้ ปล่ยี นสภาพ โดยใชอ้ ุณหภมู ทิ ีแ่ ตกตา่ งกนั ไปใน
อาหารแต่ละชนดิ
Step4 ข้ันสอ่ื สารและนาเสนอ
7. นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ นาเสนอแบบสารวจเร่ือง การถนอมอาหารดว้ ยวิธกี ารทาอาหารแหง้ และวิธกี ารใช้
ความร้อน
8. นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายสรปุ เก่ียวกบั วธิ ีการทางานใหเ้ ห็นการคดิ เชิงระบบและวิธกี ารทางาน
ทม่ี ีแบบแผน
Step5 ข้นั ประเมนิ เพือ่ เพ่ิมคุณค่าบรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ
9. นกั เรียนนาความรู้เรื่อง การถนอมอาหารไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั เพอ่ื ยดื อายขุ องอาหาร
และประหยัดงบประมาณในการซื้ออาหาร ไปเผยแพร่ความรสู้ คู่ รอบครวั และผู้ท่ีรู้จกั ได้
10. นักเรียนประเมนิ ตนเอง โดยเขยี นแสดงความรู้สึกหลงั การเรยี นและหลังการทากจิ กรรม ในประเด็น
ต่อไปน้ี
• สง่ิ ท่ีนักเรียนไดเ้ รียนรใู้ นวันน้ีคอื อะไร
• นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ มกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพยี งใด
• เพอ่ื นนกั เรียนในกลุ่มมีส่วนรว่ มกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรยี นพึงพอใจกับการเรียนในวันนห้ี รอื ไม่ เพียงใด
• นักเรียนจะนาความรทู้ ่ไี ด้น้ีไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครวั และสงั คมทวั่ ไป
ได้อย่างไร
จากนัน้ แลกเปล่ยี นตรวจสอบข้ันตอนการทางานทุกข้ันตอนว่าจะเพ่ิมคุณคา่ ไปสูส่ งั คม
เกิดประโยชนต์ ่อสังคมใหม้ ากขึน้ กวา่ เดมิ ในขน้ั ตอนใดบ้าง สาหรบั การทางานในคร้ังตอ่ ไป
ชั่วโมงที่ 7-8
Step1 ขัน้ รวบรวมขอ้ มูล
1. นักเรยี นสังเกตภาพการถนอมอาหารด้วยวิธกี ารทาอาหารแห้ง วธิ กี ารใช้นา้ ตาล และวิธกี ารหมักดอง
และตอบคาถาม ดงั นี้
35
• ภาพท่นี กั เรยี นเห็นคอื ภาพอะไร
(ตัวอย่างคาตอบ ภาพท่ี 1 คือ มะตูมเชอ่ื ม และภาพท่ี 2 คือ นา้ สม้ สายชู)
• ภาพทง้ั สองใช้วธิ ีการถนอมอาหารแห้งทีแ่ ตกตา่ งกันอย่างไร
(ตวั อย่างคาตอบ ภาพท่ี 1 เป็นการถนอมอาหารโดยใช้น้าตาล สว่ นภาพที่ 2 เป็นการถนอมอาหาร
โดยวิธีการหมกั ดอง)
2. นักเรียนศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกบั การถนอมอาหารด้วยวธิ ีการใชน้ ้าตาลและการใชว้ ิธกี ารหมัก
ดอง จากแหล่งการเรยี นรู้ที่หลากหลาย เช่น หนังสือเรยี น อินเทอรเ์ น็ต ครอู ธิบายเพมิ่ เติมจากส่ือพาวเวอร์พอย
จากนัน้ ร่วมกันบอกวธิ ีการถนอมอาหารดว้ ยวธิ กี ารใชน้ า้ ตาลและวิธีการหมกั ดองว่ามีกว่ี ธิ ี
(ตัวอย่างคาตอบ
1. การถนอมอาหารดว้ ยวธิ กี ารใช้น้าตาล ทาได้ 2 วธิ ี ได้แก่ 1) การเชอ่ื ม และ 2) การแช่อิ่ม
2. การถนอมอาหารดว้ ยวิธีการหมักดอง ทาได้ 2 วิธี ไดแ้ ก่ 1) การหมกั ดองโดยใช้จลุ นิ ทรยี ์
และ 2) การหมักดองโดยใชส้ ารเคม)ี
Step2 ข้นั วิเคราะห์และสรปุ ความรู้
3. นกั เรยี นแบง่ กลุ่มตามความเหมาะสม ร่วมกนั อภิปรายว่าในชวี ิตประจาวันเคยพบการถนอมอาหารโดย
วธิ กี ารใช้นา้ ตาลและการหมักดองอะไรบา้ ง โดยร่วมกันระดมความคิดให้ได้มากที่สุดภายในเวลาทกี่ าหนด จากน้นั
ร่วมกันอภิปรายในชั้นเรยี นเป็นแผนภาพความคิดลงบนกระดาน ดังตัวอย่าง
กลว้ ยเชื่อม มะขามแช่อิ่ม ส้มเช่ือมน้าตาล
กระทอ้ นลอยแกว้ การถนอมอาหารโดยใช้นา้ ตาล มะตูมเชื่อมแหง้
มะมว่ งแช่อ่ิม
36
ขา้ วหมาก
น้าส้มสายชู การถนอมอาหารด้วย ไข่เคม็
แหนม การหมักดอง ขิงดอง
มะนาวดองสามรส
4. นักเรียนรว่ มกันวิเคราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ โดยตอบคาถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
• นักเรยี นคดิ วา่ การถนอมอาหารโดยวธิ กี ารใช้น้าตาล หมายถึงอะไร
(ตวั อย่างคาตอบ การใชน้ า้ ตาลที่มคี วามเข้มข้นที่มกี ารออสโมซิสของน้าตาลสงู ทาให้นา้ ตาล
ซึมผา่ นเขา้ ไปในเน้ือผกั หรอื ผลไม้ได้งา่ ย โดยนา้ ตาลมคี ุณสมบัติในการยบั ยั้งการเจริญเติบโต
หรือการขยายพันธ์ขุ องเชื้อจลุ ินทรีย์ได้)
• นกั เรียนคดิ ว่าการถนอมอาหารโดยวิธีการหมักดอง หมายถึงอะไร
(ตัวอย่างคาตอบ การถนอมอาหารโดยการเปล่ียนแปลงทางเคมขี องคาร์โบไฮเดรตในอาหาร
ให้เปน็ สารประกอบอนื่ เชน่ แอลกอฮอล์ คารบ์ อนไดออกไซด์ กรดน้าสม้ กรดแลคติก โดยมจี ุลินทรีย์
เปน็ ตัวการทาใหเ้ กิดปฏกิ ริ ิยา)
Step3 ขั้นปฏิบตั แิ ละสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ
5. นักเรยี นแบ่งกลุ่มเป็น 5 กลมุ่ เพอ่ื จบั สลากหัวข้อ ได้แก่ การเชื่อม การแชอ่ ิ่ม การพาสเชอไรซ์
การสเตอริไลซ์ และการใชค้ วามรอ้ นขนาดจดุ เดือด โดยนกั เรียนหาข้อมูลขั้นตอนการถนอมอาหารตามหัวข้อที่
ไดร้ ับ ทาเป็นแผ่นพบั
6. นักเรียนรว่ มกันสรุปสง่ิ ท่ีเข้าใจเป็นความรู้ร่วมกนั ดังนี้
การถนอมอาหารโดยวธิ ีการใช้นา้ ตาลเหมาะกับอาหารประเภทผักและผลไม้ โดยใช้นา้ ตาลทีม่ ี
ความเขม้ ข้นสูงซมึ ผ่านเข้าไปในเน้อื เยอื่ ของผกั และผลไม้ โดยคณุ สมบัติของน้าตาลจะไปช่วยยับยัง้ การเจริญเติบโตหรือ
ขยายพนั ธข์ุ องจุลินทรีย์ ช่วยยืดอายขุ องผกั และผลไม้ได้สว่ นการถนอมอาหารดว้ ยวิธีการหมกั ดองเป็นการเปล่ียนแปลง
ทางเคมีของคารโ์ บไฮเดรตในอาหารให้กลายเป็นสารประกอบอื่น โดยมจี ลุ ินทรีย์เปน็ ตวั การทาให้เกิดปฏิกิริยา
ช่ัวโมงที่ 9
Step4 ข้ันส่ือสารและนาเสนอ
7. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มนาเสนอแผ่นพับเร่ือง การถนอมอาหารด้วยวธิ กี ารใชน้ ้าตาล
และวิธีการหมักดอง หนา้ ชั้นเรยี น
8. นกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายสรุปเกย่ี วกบั วิธีการทางานใหเ้ ห็นการคิดเชิงระบบและวิธกี ารทางาน
ท่ีมีแบบแผน
Step5 ขนั้ ประเมนิ เพือ่ เพิม่ คุณคา่ บรกิ ารสังคมและจิตสาธารณะ
37
9. นักเรยี นนาความรูเ้ รอ่ื ง การถนอมอาหารไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน เพื่อยืดอายขุ องอาหารและ
ประหยดั งบประมาณในการซ้ืออาหาร ไปเผยแพร่ความรสู้ ู่ครอบครวั และผูท้ ่รี จู้ กั ได้
10. นักเรยี นประเมนิ ตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลงั การเรยี นและหลงั การทากจิ กรรม
ในประเด็นต่อไปน้ี
• สิ่งทีน่ กั เรียนไดเ้ รียนรใู้ นวนั นีค้ ืออะไร
• นักเรยี นมีสว่ นรว่ มกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพอ่ื นนักเรียนในกล่มุ มีส่วนรว่ มกิจกรรมในกลมุ่ มากน้อยเพยี งใด
• นักเรยี นพึงพอใจกับการเรียนในวนั นหี้ รอื ไม่ เพยี งใด
• นกั เรียนจะนาความรทู้ ไี่ ด้นี้ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเอง ครอบครวั และสังคมทวั่ ไป
ได้อยา่ งไร
จากน้นั แลกเปลี่ยนตรวจสอบขน้ั ตอนการทางานทุกขนั้ ตอนว่าจะเพ่ิมคุณค่าไปสสู่ งั คม
เกิดประโยชนต์ อ่ สังคมให้มากขนึ้ กวา่ เดมิ ในข้นั ตอนใดบ้าง สาหรับการทางานในครั้งตอ่ ไป
8. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้
หนงั สอื เรียน การงานอาชพี ม.4-6
ส่อื การสอน พาวเวอรพ์ อย
ใบความรู้ การถนอมและการแปรรปู อาหาร
Ebook http://manual.iadth.com/ebook/be1a8400-bab7-11ea-9864-
1bc79facc38b
9. การวดั ผลและการประเมินผลการเรยี นรู้
การประเมนิ ผล(ด้าน) วิธกี ารวัด เครอื่ งมือการวัด เกณฑก์ ารประเมนิ
(จุดประสงค์การเรยี นรู้) ทดสอบความรู้ความเข้าใจ
1.อธิบายความหมายและ แบบทดสอบเรื่อง ถูกต้อง รอ้ ยละ60
ความสาคญั ของการถนอมอาหาร หนังสือเล่มเล็ก การถนอมจานวน ผ่านเกณฑ์
ได้ (K) 10 ข้อ
2.บอกสาเหตขุ องการเนา่ เสยี ของ
อาหารได้ถูกต้อง (K) แบบประเมิน -เนอื้ หาถกู ตอ้ งผ่าน
3. ทาหนังสือเลม่ เล็กเรื่อง การ
เนา่ เสยี ของอาหารสดและแนว หนงั สอื เล่มเลก็ เกณฑ์มคี ุณภาพ
ทางการแกไ้ ข (P)
ระดบั 2 ขนึ้ ไป
-การนาเสนอถูกต้อง
ผ่านเกณฑ์มีคุณภาพ
ระดับ 2 ขนึ้ ไป
4.เหน็ ความสาคัญของการถนอม การประเมินดา้ นคุณธรรม แบบประเมินดา้ น ถกู ต้อง ร้อยละ 60
อาหาร (A) จริยธรรม และคา่ นิยม คณุ ธรรม ผา่ นเกณฑ์
จรยิ ธรรม และ
คา่ นยิ ม
38
แบบประเมิน
39
แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
(คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค)์
วิชา การงานอาชีพ เร่อื ง การถนอมอาหาร
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564
คาชแี้ จง ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี น จากนัน้ บันทกึ คะแนนให้ตรงกับระดับคะแนนของพฤติกรรม
ลาดบั ชอ่ื – สกุล มุ่งม่ันในการทางาน รวม ระดับคุณภาพ สรปุ ผลการ
มี ิวนัย ประเมนิ
ใ ่ฝเ ีรยนรู้
3 3 3 9 ดี พอใช้ ปรับปรุง ผา่ น ไมผ่ ่าน
จานวนกลมุ่ - - -
- -
ร้อยละ 100 -
ลงช่อื …………………………………….ผปู้ ระเมนิ
นางสาวนาฎอนงค์ เพชรสีดา
............/................./...................
เกณฑ์ระดบั คุณภาพ สรปุ ผลการประเมิน
ชว่ งคะแนน 8-9 : ระดบั คณุ ภาพดี ผ่าน : ระดับคณุ ภาพดีและพอใช้
ชว่ งคะแนน 5-7 : ระดบั คุณภาพพอใช้ ไมผ่ า่ น : ระดบั คณุ ภาพปรบั ปรงุ
ชว่ งคะแนน 0-4 : ระดบั คณุ ภาพปรับปรงุ
40
แบบประเมินช้ินงาน
วชิ า การงานอาชีพ เร่ือง การถนอมอาหาร
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
คาช้ีแจง ให้ ผ้สู อน ตรวจใบงานของนักเรยี น จากนนั้ บันทึกคะแนนให้ตรงกบั ระดับคะแนนที่กาหนด
สรปุ ผลการ
ประเมิน
เวลา ระดับคณุ ภาพ
ความ ูถก ้ตองคาตอบ
ที่ ชือ่ - สกุล รวม
ความสะอาดเป็น
ระเบียบ
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
ผ่าน
ไ ่มผ่าน
122 5 - - -- -
จานวนนักเรียน --
รอ้ ยละ --
ลงชือ่ …………………………………….ผูป้ ระเมิน
นางสาวนาฎอนงค์ เพชรสีดา
............/................./...................
เกณฑก์ ารให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ บางส่วน ให้ 1 คะแนน
เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ
ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
5 ดมี าก
4 ดี
2-3 พอใช้
ตา่ กว่า 1 ปรบั ปรุง
41
แบบประเมนิ กจิ กรรม
การประเมินด้านทกั ษะ/กระบวนการ
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3.2 การถนอมอาหาร
คาชแี้ จง ให้ ผ้สู อน ตรวจผลงานของนักเรียน จากน้นั บันทึกคะแนนให้ตรงกบั ระดับคะแนนท่ีกาหนด
รายการประเมิน พฤตกิ รรมการแสดงออก คะแนน
32 1
1. ทักษะกระบวนการ 1. วเิ คราะหล์ กั ษณะงานและคณุ สมบตั ิของผู้ปฏิบัติงาน
ทางาน 2. ใหค้ วามร่วมมือกับสมาชิกในกลุ่ม
2. ทักษะการแสวงหา 3. ปฏิบัติงานตามลาดับข้ันตอน
ความรู้ 4. ประเมนิ ผลการทางานเป็นระยะ ๆ
1. ค้นหาข้อมลู จากแหล่งขอ้ มูลที่หลากหลายและเชอื่ ถอื ได้
3. ทกั ษะการใช้ 2. รวบรวมข้อมูลและความรู้เป็นหมวดหมู่
อุปกรณแ์ ละ 3. สังเกตสงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัวเพ่ือเลือกใช้ให้เหมาะกับงาน
เคร่ืองมือ 4. สารวจขอ้ มูลและเกบ็ รวบรวมไวเ้ พอื่ ใช้ประโยชน์
1. จัดเตรยี มอุปกรณแ์ ละเครอื่ งมือให้พรอ้ มก่อนการทางาน
4. ทักษะการทางาน 2. ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเครอื่ งมอื ได้ถกู วธิ ีและปลอดภยั
ร่วมกนั
3. ทาความสะอาดอุปกรณ์และเครื่องมือหลงั ใช้งานเสรจ็
1. วางแผนการทางานรว่ มกบั สมาชิกในกลุม่
2. ให้ความร่วมมอื กบั สมาชิกในกลมุ่
3. ทางานตามหน้าท่ีทไี่ ดร้ ับมอบหมาย
4. ชว่ ยเหลอื สมาชกิ ในกลุ่มเพื่อให้งานสาเรจ็
5. แสดงความคิดเห็นและเสนอแนะเกีย่ วกับการทางาน
คะแนนท่ีได้
คะแนนรวม
ระดบั คะแนนเฉลยี่
เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ 1.67–2.33 1.00–1.66 ลงชอื่ …………………………………….ผ้ปู ระเมนิ
นางสาวนาฎอนงค์ เพชรสีดา
ช่วงคะแนนเฉลีย่ 2.34–3.00 2 1
พอใช้ ควรปรับปรงุ ............/................./...................
ระดับคุณภาพ 3
ดีมาก,ดี หมายเหตุ การหาระดบั คุณภาพเฉลี่ย
สรปุ ระดับคณุ ภาพดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (เขยี นเครื่องหมาย / ลงในช่อง หาไดจ้ ากการนาคะแนนท่ีไดใ้ นแต่ละช่อง
มารวมกนั แลว้ หารดว้ ยจานวนขอ้ จากน้นั
นาระดบั คุณภาพเฉลี่ยมาเทียบกบั เกณฑ์
ก)ารตดั สินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน
ดีมาก,ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ
42
การประเมนิ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3
สาหรับนักเรยี นประเมินตนเอง
คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นเขยี นเคร่ืองหมาย / ลงในช่องคะแนนทีต่ รงกบั ความเป็นจริง
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก คะแนน 1
1. เจตคตทิ ี่ดี 32
1. มีความสนใจและเอาใจใส่ในการทางานตามกระบวนการทางาน
ต่อการทางาน 2. ทางานอย่างมคี วามสขุ และเหน็ ประโยชนข์ องการทางาน
3. เหน็ ประโยชน์ของการจดั สวนในบรเิ วณบา้ น
2. มีความประหยัด
1. นาวัสดุทีม่ ีอยู่แล้วมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์
3. มีความรับผดิ ชอบ 2. หาวธิ ีการทางานแบบประหยัดเวลา แรงงาน และคา่ ใชจ้ ่าย
3. ใชพ้ ลังงานและทรัพยากรในการทางานอย่างคุม้ คา่
4. มีความขยนั 1. ทางานตามหน้าท่ที ไี่ ดร้ ับมอบหมาย
และอดทน 2. พยายามทางานให้เสร็จตามกาหนด
3. ส่งงานตรงเวลา
5. มีความคดิ 1. ทางานดว้ ยตนเอง
สร้างสรรค์ 2. หางานทาทกุ คร้ังท่มี เี วลาว่าง
3. ไมท่ ้อถอยต่อการทางาน
1. คิดรเิ รม่ิ สรา้ งงานประดษิ ฐ์ใหม่ ๆ ได้
2. ออกแบบและตกแต่งไดห้ ลายแบบ
3. ปรับเปลย่ี นวิธกี ารสรา้ งชน้ิ งานใหส้ าเรจ็ ไดห้ ลายวิธี
4. ตกแต่งชน้ิ งานไดส้ วยงาม
คะแนนทไ่ี ด้
คะแนนรวม
ระดบั คะแนนเฉลยี่
ลงชอื่ ผู้ประเมิน
เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ
ชว่ งคะแนน 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การหาระดบั คุณภาพเฉล่ีย
เฉลย่ี 3 2 1 หาไดจ้ ากการนาคะแนนที่ไดใ้ นแต่ละช่องมา
ระดับคณุ ภาพ ดีมาก, ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ รวมกนั แลว้ หารดว้ ยจานวนขอ้ จากน้นั นาระดบั
คุณภาพเฉลี่ยมาเทียบกบั เกณฑก์ ารตดั สิน
สรุประดบั คณุ ภาพด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ ม (เขียนเครอ่ื งหมาย / ลงใคนุณชภ่อางพและ)สรุปผลการประเมิน
ดีมาก,ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง
43
สอื่ พาวเวอร์พ้อย
44
ภาคผนวก ง
ขอ้ สอบวดั ผลการเรียนรู้
45
แบบทสอบ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 การถนอมอาหาร
คาชแี้ จง เลือกคาตอบท่ีถกู ต้องที่สุดเพยี งคาตอบเดียว (ขอ้ ละ 1 คะแนน)
1. ขอ้ ใดคือความหมายของการถนอมอาหาร 5. ผลิตภัณฑ์ท่ีทาจากเนอ้ื ผลไม้ผสมสารใหค้ วามหวานสาร
ก. การรับประทานอาหารท่เี ก็บไวน้ านแตม่ ีคณุ ค่าครบ 5 หมู่
ข. การเก็บรกั ษาอาหารด้วยกรรมวธิ ตี ่างๆที่ทาให้อาหารอยู่ใน ทาให้คงรูป มลี ักษณะเหนยี วกว่าการกวนหมายถึงขอ้ ใด
สภาพใกลเ้ คียงกับของสดโดยไม่สญุ เสยี คุณค่าและสามารถเกบ็ ไว้
ได้นานโดยไม่เน่าเสีย ก. การกวน ข. การทาแยม
ค. การนาอาหารท่ีไดจ้ ากพชื และสัตวผ์ ่านกระบวนการที่ทาให้
เกดิ การเปลย่ี นแปลง คุณลกั ษณะของอาหารหรอื อาหารมี ค. การทาเจลล่ี ง. เพคตนิ เจลาติน
ส่วนผสมอ่ืนอาหารน้ันมีรูปร่างรสชาตแิ ปลกใหม่ กลน่ิ สเี ปลีย่ น
ไปเกิดเป็นอาหารชนดิ ใหมแ่ ละเกบ็ รักษาไว้รบั ประทานได้นาน 6. ราดาในถว่ั ลสิ งคอื สารพิษชนิดใด
ง. การรับประทานอาหารท่ีมใี นท้องถน่ิ นนั้ และสว่ นทเี่ หลอื จาก
การรับประทาน ส่งไปจาหนา่ ยในท้องถ่ินอื่นด้วย ก. สารบอแรกซ์ ข. สารแอฟลาทอกซนิ
2. ขอ้ ใดคอื ความหมายของการแปรรปู อาหาร
ก. การรับประทานอาหารทเ่ี ก็บไว้นานแตม่ ีคณุ ค่าครบ 5 หมู่ ค. สารฟอร์มาลนิ ง. สารชาโปเนยี
ข. การเก็บรักษาอาหารดว้ ยกรรมวิธีต่างๆทที่ าให้อาหารอยู่ใน
7. การรมควนั มีกว่ี ธิ ี
ก. 2 วธิ ี ข. 3 วิธี
ค. 4 วิธี ง. 5 วธิ ี
8. การใชค้ วามร้อน ทีอ่ ณุ ภูมิสูงกว่า 100 องศาเซลเซียล
เปน็ การถนอมอาหารท่ีมชี ื่อว่าอะไร
ก. พาสเชอรไ์ รซ์ ข. แยม เจลลี่
สภาพใกล้เคยี งกับของสดโดยไมส่ ญุ เสียคุณค่าและสามารถเกบ็ ไว้ ค. สเตอริไลซ์ ง. ถกู ทุกข้อ
ได้นานโดยไมเ่ น่าเสยี 9. การถนอมอาหารโดยลดอุณหภูมิของอาหารใหต้ า่ กว่า
ค. การนาอาหารทีไ่ ด้จากพืชและสัตว์ผา่ นกระบวนการท่ีทาให้ 10 องศาเซลเซียล สามารถเก็บวติ ามินในอาหารไวไ้ ด้
เกิดการเปลี่ยนแปลง คณุ ลกั ษณะของอาหารหรอื อาหารมี มากกว่าการถนอมอาหารวิธีอ่นื เปน็ การถนอมอาหารดว้ ย
ส่วนผสมอ่นื อาหารนัน้ มรี ูปร่างรสชาติแปลกใหม่ กลิน่ สีเปลยี่ น วธิ ีใด
ไปเกดิ เป็นอาหารชนิดใหมแ่ ละเกบ็ รักษาไวร้ ับประทานได้นาน ก. การใชค้ วามร้อน
ง. การรบั ประทานอาหารท่ีมีในท้องถิน่ นนั้ และสว่ นท่ีเหลอื จาก ข. การใช้ความเย็น
การรบั ประทาน สง่ ไปจาหน่ายในทอ้ งถ่ินอืน่ ดว้ ย ค. การใช้น้าตาล
3. การเชื่อม การแชอ่ ิม่ อาศัยหลักการในขอ้ ใด ง. การรมควัน
ก. การยบั ยั้งการดูดซึมสารอาหารของจลุ นิ ทรีย์ 10. รงั สีที่ได้รบั อนญุ าตจากกระทรวงสาธารณสุขคือรงั สี
ข. การระเหยนา้ ออกจากเนื้ออาหาร ชนิดใด
ค. การใชร้ ังสีถนอมอาหาร ก. รังสีอัลฟา
ง. การเกบ็ รกั ษาอาหารในอุณหภูมติ ่า ข. รงั สบี ีต้า
4. การถนอมอาหารโดยกาจดั นา้ ท่ีอยใู่ นให้มากท่สี ดุ เพ่ือให้ ค. รังสนี วิ ตรอน
จุลินทรยี เ์ จริญเตบิ โตไดช้ ้าลงและปอ้ งกันการเหมน็ หนื ของ ง. รงั สีแกมมา
ไขมันในอาหารเปน็ วธิ กี ารถนอมอาหารแบบใด
ก. การทาอาหารให้แหง้ ข. การรมควนั
ค. การใชค้ วามร้อน ง. การฉายรังสี
46
ภาคผนวก จ
แบบประเมินความพงึ พอใจ