The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wimol Chanalert, 2019-07-25 02:26:40

เนื้อหามีมุม

เนื้อหามีมุม

1
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ
ทเ่ี กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ และเป็นส่ิงที่สามารถนามาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์
ตอ่ การดารงชีวิตของมนุษย์ ในหลาย ๆ ด้าน เช่น นามาประกอบอาหาร
ใชเ้ ปน็ เครื่องนุ่งห่ม ใช้เปน็ ยารกั ษาโร หรอื นามาดดั แปลงเป็นที่อยู่อาศยั

ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ
โดยทวั่ ไปทรัพยากรธรรมชาติ แบง่ ตามลกั ษณะและการนามาใช้

ประโยชนม์ อี ยู่ 3 ประเภท ดังนี้
ทรัพยากรธรรมชาตทิ ีใ่ ช้ไม่หมด หมายถงึ ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีใชแ้ ล้ว
มีระบบท่ผี ลติ ขึ้นมาใหม่หรือข้ึนมาทดแทนอยา่ งรวดเร็ว และเปน็ สง่ิ ที่มี
อยูม่ ากเกนิ ความตอ้ งการหากรู้จกั ใชอ้ ย่างถูกวิธกี จ็ ะไม่มวี ันหมดไป
หรือไมเ่ ส่ือมคุณภาพลง

2
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
ทรพั ยากรธรรมชาติท่ีสามารถสร้างทดแทนขนึ้ ใหมไ่ ด้ หมายถงึ
ทรพั ยากรธรรมชาติที่นาไปใช้แลว้ ธรรมชาติสามารถสร้าง
ทดแทนข้ึนมาเองได้แต่ต้องใช้เวลานาน หากมกี ารดูแลและนามาใชอ้ ย่าง
ถกู วธิ ีทรัพยากรธรรมชาตเิ หล่านนั้ กจ็ ะมีปริมาณทเี่ พียงตอ่ ความต้องการ
ของมนุษย์ และนาไปใชเ้ พ่อื การดารงชีวิตได้อย่างยาวนานโดยไม่
เดือดร้อน

ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติที่มี
อยู่อย่างจากัด หากนามาใช้ให้หมดไปแล้วก็ไม่สามารถสร้างขึ้นมา
ทดแทนได้ หรือบางสงิ่ บางอย่างอาจสร้างทดแทนได้แต่ต้องใช้ระยะเวลา
นาวนานนบั เปน็ พนั ๆ ปหี รอื มากกวา่ น้ัน

3
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
ความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติ

จากความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ จะเห็นได้ว่าส่ิงที่

เรยี กว่า “ทรัพยากรธรรมชาติ” นัน้ คือส่งิ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ ไม่ว่า

จะโดยทางตรงหรือทางอ้อม และเป็นส่ิงที่เกิดข้ึนเอง ดังน้ัน

ทรัพยากรธรรมชาตจิ ึงมีความสาคญั ตอ่ มนษุ ย์ในด้านต่าง ๆ ดังน้ี

1. ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งของปัจจัยที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต
ของมนุษย์ คอื

1.1 เป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัย เป็นแหล่งวัตถุดิบในการก่อสร้างที่อยู่
อาศัย มนุษยน์ าไม้ หนิ ทราย มากอ่ สร้างบา้ นเรอื น สงิ่ ปลูกสร้างตา่ ง ๆ

1.2 เป็นแหลง่ อาหาร ไม่วา่ จะเปน็ พืช สัตว์
1.3 เป็นแหลง่ ทมี่ าเคร่อื งนุ่มห่ม
1.4 เป็นแหล่งท่ีมาของยารักษาโรค วิวัฒนาการจากการเก็บ
ส่วนต่าง ๆ ท้ังของพืช และสัตว์ มารักษาโรคที่รู้จักกันในช่ือของ
“สมุนไพร” ในประเทศไทยมีพืชที่สามารถใช้เป็นสมุนไพรรักษาโรคใน
ท้องถ่นิ มากกวา่ 779 ชนิด

4
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
2. เป็นปัจจัยในการดารงชีวิตที่มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นขาดไม่ได้ ได้แก่
อากาศ น้า
3. เป็นปัจจัยที่สาคัญในการผลิต หรือเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิต
ของอุตสาหกรรม เช่น การผลิตกระดาษต้องใช้เย่ือไม้ น้า น้ามัน
เชื้อเพลิง เปน็ วัตถดุ บิ
4. ความตอ้ งการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ บ่งชี้ถึงความเจริญทางเศรษฐกิจ
และความเจริญของสังคมมนุษย์
5. มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรง เช่น ทรัพยากร
พลงั งาน แร่ อัญมณี ท่ีมีมูลค่าทางเศรษฐกิจ หรือโดยทางอ้อม เช่น เป็น
สถานท่ีท่องเท่ียว พักผ่อนหย่อนใจ นารายได้จากการท่องเที่ยวเข้าสู่
ประเทศ
6. มีความสาคญั ดา้ นวชิ าการ ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์
7. มีความสาคัญต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เนื่องจากทรัพยากร
ธรรมชาติเป็นส่วนหน่ึงของระบบนิเวศทั้งระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศ
ทางน้า เช่น ทรัพยากรธรรมชาติประเภทป่าไม้มีประโยชน์ต่อ
องคป์ ระกอบของผู้ผลิตทตี่ อ้ งสร้างอาหารเลยี้ งสงิ่ มีชีวติ บนโลกใบนี้
8. มคี วามสาคัญตอ่ การหมนุ เวยี น หรือวัฏจกั รของแรธ่ าตุและสารอาหาร
ในระบบนเิ วศ

5
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติตอ่ มนษุ ย์
ทรัพยากรธรรมชาติมีความสาคัญต่อมนุษย์มากมายหลายด้าน
ดงั นี้
1. การดารงชีวติ ทรพั ยากรธรรมชาติ เป็นต้นกาเนิดของปัจจัย 4 ในการ
ดารงชีวิตของมนุษย์ พบว่า มนุษย์จะต้องพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือ
สนองความตอ้ งการทางดา้ นปัจจัยสี่ คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย
และยารกั ษาโรค
2. การตั้งถิ่นฐานและการประกอบอาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติเป็น
ปัจจัยพ้ืนฐานในการต้ังถ่ินฐานและประกอบอาชีพของมนุษย์ เช่น แถบ
ลุม่ แม่น้าหรอื ชายฝัง่ ทะเลที่อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชและสัตว์ จะมีประชาชน
เข้าไปตงั้ ถนิ่ ฐานและประกอบอาชพี ทางการเกษตรกรรมประมง เปน็ ต้น
3. การพฒั นาทางเศรษฐกิจ จาเป็นตอ้ งใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ
4. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การประดิษฐ์เคร่ืองมือ เครื่องใช้
เคร่ืองจกั ร เครอ่ื งผ่อนแรง ต้องอาศัยทรัพยากรธรรมชาติ
5. การรักษาสมดลุ ธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นปัจจัยในการรักษา
สมดลุ ธรรมชาติ

6
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประโยชนข์ องทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ คือส่ิงท่ีเกิดมีข้ึนมาเองตามธรรมชาติ
ไม่ว่าจะเป็นดิน น้า ป่าไม้ ภูเขา ตลอดจนแร่ธาตุต่าง ๆ ที่มีอยู่ใน
พ้ืนดิน ทุกอย่างล้วนแล้วแต่มีประโยชน์ทั้งน้ัน เราควรเรียนรู้ ทาความ
เข้าใจถึงประโยชน์ของทรัพยากรที่มีต่อเรา เพื่อที่จะได้เห็นคุณค่าและ
เกิดความหวงแหนตามมา ซึ่งทรัพยากรแต่ละชนดิ มีประโยชน์ ดังน้ี
1. ดิน ถือเป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีแต่ละท้องถิ่นมีเหมือนกัน แต่จะ
แตกตา่ งกันในด้านคุณภาพ ซึ่งบางท้องถ่ินอาจเป็นดินทราย บางท้องถิ่น
อาจเป็นดนิ เหนยี ว การใชป้ ระโยชน์จึงคานึงถึงความเหมาะสมของดินแต่
ละแห่งด้วย ดินมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของคน สัตว์ และพืช
เพราะเป็นแหล่งเพาะปลูก ซึ่งทาให้เกิดผลผลิตทางอาหารแก่คนและ
สัตว์ เป็นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์บางชนิด เราจึงควรเห็นคุณและ
ประโยชน์ของดนิ

7
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2. น้า น้าก็เช่นเดียวกันแต่ละท้องถิ่นมีเหมือนกัน แต่อาจมีมากน้อย
ต่างกันไป เช่น ภาคอีสานกับภาคใต้จะมีปริมาณน้าท่ีไม่เหมือนกัน และ
คุณภาพของน้าอาจมีความแตกต่างกันด้วย น้ามีความสาคัญต่อการ
ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่างๆ น้าเป็นปัจจัยสาคัญในการทาการเกษตร
และการทาอุตสาหกรรมต่างๆ ใช้เป็นแหล่งพลังงานผลิตกระแสไฟฟ้า
เราควรใช้นา้ อย่างร้คู า่ เหน็ คณุ

3. อากาศ เป็นสิ่งท่ีมีอยู่ทุกหนทุกแห่ง หากไม่มีอากาศส่ิงมีชีวิตคงอยู่
ไม่ได้ แต่อากาศจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับธรรมชาติด้วย คนเรามีส่วนทาให้
ธรรมชาติเสียสมดุลไป อากาศจึงเปลี่ยนแปลงไป อากาศมีความสาคัญ
ต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต เพราะส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ต้องการอากาศใน
การหายใจ ถ้าขาดอากาศแม้เพียงช่ัวระยะเวลาส้ันๆ ก็จะทาให้ส่ิงมีชีวิต
ตายได้ ดังน้นั เราควรรกั ษาธรรมชาตเิ พ่ือใหอ้ ากาศดมี คี ุณคา่ ต่อเราต่อไป

8
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
4. ป่าไม้ มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตมากมาย เพราะ
เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าต่าง ๆ เป็นแหล่งผลิตอาหาร สมุนไพร
เป็นแหล่งผลิตไม้ ซ่ึงคนนามาใช้ทาสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ นอกจากน้ีป่า
ไม้ยังช่วยสร้างสมดุลให้แก่สภาพแวดล้อม เช่น เป็นแหล่งต้นน้าลาธาร
ทาให้เกิดความชุ่มช้ืนป้องกันการพังทลายของหน้าดิน บรรเทาความ
รุนแรงของลมพายุ เปน็ ตน้

5. สตั วป์ า่ ทุกวันนนี้ ับวันสัตว์ปา่ จะลดจานวนลงและหมดหายไปในที่สุด
ท้ังนี้เพราะฝีมือมนุษย์เรานั้นเอง เราควรอนุรักษ์สัตว์ป่าเอาไว้ ท้ังน้ี
เพราะสัตว์ป่ามีความสาคัญในด้านการรักษาสภาพแวดล้อมให้มีความ
สมดุลดา้ นการศกึ ษาชีวิตและธรรมชาติของสัตว์ ด้านการท่องเที่ยวเพื่อดู
สัตว์ป่าตา่ ง ๆ

9
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรน้า
น้ า เ ป็ น แ ห ล่ ง ก า เ นิ ด ชี วิ ต ข อ ง สั ต ว์ แ ล ะ พื ช ค น เ ร า มี ชี วิ ต อ ยู่
โดยขาดนา้ ได้ไมเ่ กิน 3 วนั และนา้ ยังมีความจาเป็นท้ังในภาคเกษตรกรรม
และอุตสาหกรรมซึง่ มวี ามสาคัญอยา่ งยิ่งในการพัฒนาประเทศ ประโยชน์
ของนา้ ได้แก่
1. น้าเป็นส่งิ จาเป็นท่ีเราใช้สาหรับการดื่มกิน การประกอบอาหาร ชาระ
ร่างกาย ฯลฯ
2. น้ามีความจาเป็นสาหรับการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์แหล่งน้าเป็นที่อยู่
อาศัยของปลาและสตั วน์ ้าอ่นื ๆซ่งึ คนเราใช้เปน็ อาหาร
3. ในการอุตสาหกรรมต้องใช้น้าในขบวนการผลิตใช้ล้างของเสียใช้หล่อ
เคร่อื งจกั รและระบายความรอ้ น
4. การทานาเกลือโดยการระเหยน้าเคม็ จากทะเล
5. น้าเป็นแหล่งพลังงาน พลังงานจากน้าใช้ทาระหัดทาเขื่อนผลิต
กระแสไฟฟา้ ได้
6. แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมทุ รเป็นเสน้ ทางคมนาคมขนสง่ ท่ีสาคัญ
7. ทัศนียภาพของริมฝั่งทะเลและน้าท่ีใสสะอาดเป็นแหล่งท่องเที่ยวของ
มนษุ ย์

10
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ทรัพยากรดิน
ดินมีประโยชน์มากมายมหาศาลต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
คอื
1. ประโยชน์ต่อการเกษตรกรรม เพราะดินเป็นต้นกาเนิดของการ
เกษตรกรรมเปน็ แหล่งผลิตอาหารของมนุษย์ ในดินจะมีอินทรียวัตถุและ
ธาตอุ าหารรวมทั้งนา้ ท่จี าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช อาหารท่ีคนเรา
บรโิ ภคในทุกวนั นี้มาจากการเกษตรกรรมถึง 90%
2. การเล้ียงสัตว์ ดินเป็นแหล่งอาหารสัตว์ทั้งพวกพืชและหญ้าที่ขึ้นอยู่
ตลอดจนเปน็ แหล่งทีอ่ ยอู่ าศัยของสตั ว์บางชนิด เช่น งู แมลง นาก ฯลฯ
3. เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย แผ่นดินเป็นที่ต้ังของเมือง บ้านเรือน ทาให้เกิด
วัฒนธรรมและอารยธรรมของชุมชนตา่ ง ๆ มากมาย
4. เปน็ แหล่งเก็บกักน้า เนื้อดินจะมสี ่วนประกอบสาคัญ ๆ คือ ส่วนท่ีเป็น
ของแข็ง ได้แก่ กรวด ทราย ตะกอน และส่วนท่ีเป็นของเหลว คือ น้าซึ่ง
อยู่ในรูปของความช้ืนในดินซ่ึงถ้ามีอยู่มาก ๆ ก็จะกลายเป็นน้าซึมอยู่คือ
น้าใต้ดิน น้าเหล่าน้ีจะค่อย ๆ ซึมลงที่ต่า เช่น แม่น้าลาคลองทาให้เรามี
นา้ ใช้ได้ตลอดปี

11
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
ทรพั ยากรสตั วป์ ่า
ความสาคัญของสัตว์ป่า ได้แก่ ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ ใน
ส่วนต่าง ๆ ของสัตว์ป่ามาซ้ือขายแลกเปล่ียนกันด้านวิชาการสัตว์ป่า
นามาทดลองดา้ นวิทยาศาสตร์ ค้นคว้า วิจัย นาผลงานมาประยุกต์ใช้กับ
มนุษย์ ด้านการรักษาความงาม ความเพลิดเพลิน คุณค่าทางด้านจิตใจ
โดยสัตว์ป่าทาให้ธรรมชาติ ดูมีชีวิตชีวาข้ึน ตัวอย่างคุณค่าของสัตว์ป่า
มีดงั นี้
1. ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ การค้าสัตว์ป่า หรือซากของสัตว์ป่า
การทอ่ งเทีย่ ว ฯลฯ
2. เป็นอาหาร เช่น หมูป่า เก้ง กวาง ตะกวด แย้ เป็นต้น เครื่องยา
สมุนไพรเช่น นอแรด กะโหลกเลียงผา เขากวางอ่อน เลือดและ
กระเพาะคา่ ง ดขี องหมี ดีงูเห่า
3. เคร่ืองใช้เคร่ืองประดับ เช่น หนังใช้ทากระเป๋า รองเท้า เครื่องนุ่งห่ม
งาช้าง กระดูก เขาสัตว์ใชท้ าดา้ มมดี ด้ามเคร่ืองมอื เปน็ ตน้
4. การนันทนาการและด้านจิตใจ การท่องเท่ียวชมสัตว์ป่าในสวนสัตว์
อทุ ยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธส์ุ ัตว์ปา่ และแหลง่ สตั ว์ปา่ อ่ืน ๆ
5. ด้านวิทยาศาสตร์ การศึกษา และการแพทย์ ด้านการค้นคว้าทดลอง
ตา่ ง ๆ เช่น ทดลองกับหนู กระแต ลิง จากนนั้ จงึ นาไปใชก้ บั คน

12
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
6. เปน็ ตัวควบคุมสิง่ มีชวี ิตอื่น ๆ เช่น ค้างคาวกินแมลง นกฮูก และงูสิงห์
กินหนูต่าง ๆ นกกินตวั หนอนทท่ี าลายพชื เศรษฐกจิ เป็นตน้
7. ความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ เป็นต้นว่าป่าไม้ทาให้
สัตว์ป่ามีที่อยู่อาศัย เป็นอาหารและเป็นท่ีหลบภัย ป่าไม้ทาให้ดินอุดม
สมบูรณ์ ปอ้ งกนั การกดั เซาะของน้า ลม ป่าไม้ช่วยทาให้มีน้าไหลตลอดปี
น้าใสสะอาดปราศจากตะกอน ป่าไม้ช่วยทาให้ฝนตก บรรเทากระแสลม
พายุ ปา่ ไมท้ าใหอ้ ากาศไม่รอ้ นไม่หนาว

13
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
ทรพั ยากรปา่ ไม้
ป่าไมม้ ปี ระโยชนม์ ากมายตอ่ การดารงชีวิตของมนุษย์ทั้งทางตรง
และทางอ้อม ไดแ้ ก่.
ประโยชน์ทางตรง (Direct Benefits)
ไดแ้ ก่ ปัจจยั 4 ประการ
1. จากการนาไม้มาสร้างอาคารบ้านเรือนและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น
เฟอร์นเิ จอร์ กระดาษ ไม้ขดี ไฟ ฟนื เปน็ ต้น
2. ใชเ้ ปน็ อาหารจากสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื และผล
3. ใช้เส้นใย ที่ได้จากเปลือกไม้และเถาวัลย์มาถักทอ เป็นเคร่ืองนุ่งห่ม
เชือกและอนื่ ๆ
4. ใช้ทายารักษาโรคต่าง ๆ
ประโยชนท์ างออ้ ม (Indirect Benefits)
1. ป่าไม้เป็นเป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าลาธารเพราะต้นไม้จานวนมากในป่า
จะทาให้นา้ ฝนทต่ี กลงมาค่อย ๆ ซึมซับลงในดิน กลายเป็นน้าใต้ดินซ่ึงจะ
ไหลซึมมาหล่อเล้ยี งให้แมน่ า้ ลาธารมนี า้ ไหลอยตู่ ลอดปี
2. ป่าไม้ทาให้เกิดความชุ่มชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ ไอน้าซ่ึงเกิด
จากการหายใจของพืช ซ่ึงเกิดขึ้นอยู่มากมายในป่าทาให้อากาศเหนือป่า
มีความชื้นสูงเม่ืออุณหภูมิลดต่าลงไอน้าเหล่านั้นก็จะกล่ันตัวกลายเป็น
เมฆแล้วกลายเป็นฝนตกลงมา ทาให้บริเวณท่ีมีพื้นป่าไม้มีความชุ่มชื้นอยู่
เสมอ ฝนตกตอ้ งตามฤดกู าลและไม่เกดิ ความแห้งแล้ง

14
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
3. ป่าไม้เป็นแหล่งพักผ่อนและศึกษาความรู้ บริเวณป่าไม้จะมีภูมิ
ประเทศที่สวยงามจากธรรมชาติรวมทั้งสัตว์ป่าจึงเป็นแหล่งพักผ่อน
หย่อนใจได้ดี นอกจากนั้นป่าไม้ยังเป็นท่ีรวมของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์
จานวนมาก จึงเป็นแหลง่ ให้มนุษย์ได้ศกึ ษาหาความรู้
4. ป่าไม้ช่วยบรรเทาความรุนแรงของลมพายุและป้องกันอุทกภัย โดย
ช่วยลดความเร็วของลมพายุที่พัดผ่านได้ตั้งแต่ 11-44 % ตามลักษณะ
ของป่าไมแ้ ต่ละชนดิ จึงช่วยใหบ้ า้ นเมอื งรอดพ้นจากวาตภัยได้ซึ่งเป็นการ
ป้องกันและควบคุมน้าตามแม่น้าไม่ให้สูงข้ึนมารวดเร็วล้นฝ่ังกลายเป็น
อทุ กภัย
5. ป่าไม้ช่วยป้องกันการกัดเซาะและพัดพาหน้าดิน จากน้าฝนและลม
พายโุ ดยลดแรงปะทะลงการหลุดเลือนของดินจึงเกิดข้ึนน้อย และยังเป็น
การช่วยให้แม่น้าลาธารต่าง ๆ ไม่ต้ืนเขินอีกด้วย นอกจากน้ีป่าไม้จะเป็น
เสมือนเครื่องกีดขวางตามธรรมชาติ จึงนับว่ามีประโยชน์ในทาง
ยทุ ธศาสตร์ด้วยเชน่ กนั

15
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ทรพั ยากรอากาศ
1. มกี ๊าซบางชนิดท่ีจาเป็นต่อการมชี วี ิตของมนษุ ย์ สตั ว์และพชื
2. มีอิทธิพลต่อการเกิด ปริมาณ และคุณภาพของทรัพยากรอื่น เช่น
ป่าไม้ และแร่ธาตุ
3. ช่วยปรับอุณหภูมิของโลก ไอน้า และคาร์บอนไดออกไซด์ซ่ึงจะช่วย
ป้องกนั การสูญเสยี ความร้อนจากพน้ื ดนิ
4. ทาใหเ้ กิดลมและฝน
5. มีผลต่อการดารงชีวิต สภาพจิตใจ และร่างกายของมนุษย์ ถ้าสภาพ
อากาศไม่เหมาะสม เช่น แห้งแล้งหรือหนาวเย็นเกินไปคนจะอยู่อาศัย
ดว้ ยความยากลาบาก
6. ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีของดวงอาทิตย์ โดยก๊าซโอโซนใน
บรรยากาศจะกรองหรอื ดดู ซับรงั สีอัลตราไวโอเลต ซ่งึ ทาให้ผิวไหม้เกรียม
เปน็ โรคมะเร็งผิวหนัง และโรค ต้อกระจก
7. ช่วยเผาไหม้ วัตถุที่ตกมาจากฟ้า หรืออุกกาบาต ให้กลายเป็นอนุภาค
เลก็ ๆ จนไม่เปน็ อนั ตรายต่อมนุษย์และทรพั ย์สนิ
8. ทาให้ท้องฟ้ามีสีสวยงาม โดยอนุภาคของส่ิงอื่นท่ีปน อยู่กับก๊าซใน
บรรยากาศจะทาให้แสงหักเห เราจึงมองเห็นท้องฟ้ามีแสงสีท่ีงดงาม
แทนท่ีจะเห็นเป็นสีดามืด นอกจากนี้ ก๊าซโอโซนซ่ึงมีสีน้าเงินยังช่วยให้
มองเหน็ ทอ้ งฟา้ เป็นสีครามหรอื สฟี ้าสดใสอีกดว้ ย

16
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
ปญั หาของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาท่ีผ่านมาได้ระดมใช้ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะ
ท่ีดิน ป่าไม้ แหล่งน้า ทรัพยากรชายฝ่ังทะเล ทรัพยากรธรณี ในอัตราท่ี
สู ง ม า ก แ ล ะ เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง ไ ม่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ จ น มี ผ ล ท า ใ ห้
ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้ เกิดการร่อยหรอ และเส่ือมโทรมลงอย่าง
รวดเร็ว รวมทั้งเร่มิ ส่งผลกระทบตอ่ การดารงชีวิตของประชาชนในชนบท
ทตี่ อ้ งพึ่งพาทรพั ยากรเปน็ หลักในการยังชพี ไดแ้ ก่

ทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่ป่าไม้มีสภาพเส่ือมโทรม และมีแนวโน้มลดลงอย่างมาก

เนื่องมาจากสาเหตุสาคัญหลายประการ ได้แก่ การลักลอบตัดไม้ทาลาย
ป่า การเผาป่า การบุกรุก ทาลายป่า เพื่อต้องการท่ีดินเป็นที่อยู่อาศัย
และทาการเกษตร การทาไร่เล่ือนลอยของชาวเขาในพื้นท่ีต้นน้าลาธาร
และการใช้ท่ีดิน เพ่ือดาเนินโครงการของรัฐบาล เช่น การจัดนิคมสร้าง
ตนเอง การชลประทาน การไฟฟ้าพลังน้า การก่อสร้างทาง กิจการรักษา
ความม่ันคงของชาติ เป็นตน้

17
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
ทรัพยากรดิน
ปัญหาการพังทลายของดินและการสูญเสียหน้าดินโด ย
ธรรมชาติ เช่น การชะล้าง การกัดเซาะของน้าและลม เป็นต้น และท่ี
สาคัญคือ ปัญหาจากการกระทาของมนุษย์ เช่น การทาลายป่า เผาป่า
การเพาะปลกู ผิดวิธี เป็นตน้ ก่อให้เกิดการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของ
ดิน ทาให้ใช้ประโยชน์จากที่ดินได้ลดน้อยลง ความสามารถในการผลิต
ทางดา้ นเกษตรลดน้อยลง และยงั ทาให้เกดิ การทบั ถมของตะกอนดินตาม
แม่น้า ลาคลอง เขื่อน อ่างเก็บน้า เป็นเหตุให้แหล่งน้าดังกล่าวตื้นเขิน
รวมท้ังการท่ีตะกอนดิน อาจจะทับถมอยู่ในแหล่งท่ีอยู่อาศัย และ
ท่ีวางไข่ของสัตว์น้า อีกท้ังยังเป็นตัวก้ันแสงแดด ที่จะส่องลงสู่พื้นน้า
ส่งิ เหลา่ น้ลี ว้ นกอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมชี วี ติ ในนา้ ท้ังส้ิน

18
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
ปะการงั
ปะการังท่ีสวยงามในเมืองไทยหลายแห่ง ต้องเสื่อมโทรมลง
อย่างน่าเสยี ดาย โดยเฉพาะปัญหาการถูกทาลาย โดยฝีมอื มนุษย์ นับเป็น
ปัญหาสาคัญของความเสื่อมโทรมของปะการัง ได้แก่ การระเบิดปลา
เปน็ การทาลายปะการังอย่างรุนแรง ซึ่งเท่ากับเป็นการทาลายท่ีอยู่อาศัย
ของสตั วแ์ ละพชื ในบรเิ วณนนั้ และเปน็ การทาลายการประมงในอนาคต

19
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ทรัพยากรแหล่งน้า

การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้า เพ่ือกิจกรรมต่าง ๆ ยังมีความ
ขัดแย้งกันอยู่ ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของแต่ละกิจกรรม ก่อให้เกิดความ
ยุ่งยากตอ่ การจดั การทรัพยากรน้า และการพัฒนาแหล่งน้า ความขัดแย้ง
ดังกลา่ วมแี นวโน้มวา่ จะสงู ขนึ้ จากปริมาณน้าท่ีเก็บกักได้มีจานวนจากัด
แตค่ วามตอ้ งการใชน้ ้ามีปริมาณเพิม่ ขน้ึ ตลอดเวลา

20
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ทรพั ยากรธรณี
การนาทรพั ยากรธรณี ท้ังในรูปแร่ธาตุ พลังงาน มาใช้ประโยชน์
ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการ
ทาเหมืองแรใ่ นพ้ืนที่ต้นน้าลาธาร การทาเหมืองแร่ทั้งบนบกและในทะเล
การนาถ่านหนิ ลกิ ไนตม์ าใช้ และการพัฒนานาปิโตรเลียมขึ้นมาใช้ ท้ังบน
บก และในทะเล ได้ก่อให้เกิดปัญหาน้าเสีย และดินตะกอน ปัญหาเรื่อง
ฝุ่นและอากาศเป็นพิษ และปัญหาดินเสีย

21
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
ปา่ ชายเลน
พ้ืนท่ีป่าชายเลนได้ลดลงอย่างมาก จนเป็นที่น่าวิตก เน่ืองจาก
การบุกรุกทาลาย โดยการเปลี่ยนสภาพพื้นท่ีป่าชายเลนไปทากิจกรรม
ต่างๆ อย่างมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ นามาใช้ทาการเพาะเล้ียง
สัตว์น้าชายฝ่ัง (นากุ้ง) นอกจากนี้ก็ใช้ เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย ท่าเทียบเรือ
ถนน เหมืองแร่ การเกษตร เป็นต้น ทาให้พื้นที่ป่าชายเลนลดลง
ตลอดเวลา จนทาให้เกดิ ผลเสียต่อระบบนิเวศ อนั กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อ
แหล่งท่ีอยู่อาศัย การเพาะพันธ์ุสัตว์น้าชายฝั่ง การกัดเซาะ และการ
พงั ทลายของท่ดี นิ บริเวณชายฝ่ัง และ คณุ ภาพนา้ ชายฝัง่ เปน็ ตน้

22
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
แนวทางการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่อย่างรู้คุณค่า นามาใช้อย่างเกิด
ประโยชน์และรกั ษาไวซ้ ่งึ ความสมดลุ ของระบบนเิ วศควบคู่กันไป
1. การนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ ควรตระหนักอยู่เสมอว่า การใช้
ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ม่ี ากเกินไปจะไมเ่ ปน็ การปลอดภยั ต่อสิ่งแวดลอ้ ม
2. หาแนวทางการนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ด้วยวิธีการใหม่ๆ การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ และพยายามค้นคว้าสิ่งใหม่มา
ใชท้ ดแทน
3. รักษาและใช้ทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ งสมดลุ เช่น ทรัพยากรที่ทดแทน
ได้ควรมีอัตราการผลติ เท่ากบั อัตราการใช้ หรืออัตราการเกิดเท่ากับอัตรา
การตายเปน็ อยา่ งน้อย
4. การนามาใช้ใหม่ เป็นการนาทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วมาใช้ใหม่
เช่น เศษเหล็ก สามารถนากลับมาหลอม แล้วแปรสภาพสาหรับการใช้
ประโยชน์ใหมไ่ ด้
5. การประดิษฐ์ของเทียมขึ้นมาใช้ เพ่ือหลีกเล่ียงหรือลดปริมาณในการ
ใชท้ รัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่
แนวทางการอนรุ กั ษ์ทสี่ าคัญที่สุด ไดแ้ กก่ ารเผยแพร่ความรคู้ วามเข้าใจใน
เร่อื งทรัพยากรธรรมชาติ เพอ่ื ให้เกิดการอนุรักษอ์ ยา่ งย่งั ยนื

23
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
โทษของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสาเหตทุ เี่ กดิ ข้ึน
การเปลยี่ นแปลงตา่ ง ๆ ของสภาพทางธรรมชาติ พ้ืนผิวโลกที่เกิดข้ึน
เองตามธรรมชาติ อาจมีผลต่อเน่ืองถึงการเกิดปัญหามลพิษต่อ
ส่ิงแวดล้อม และทรพั ยากรธรรมชาติ ดังนี้
1. สาเหตจุ ากธรรมชาติ
การเปลย่ี นแปลงต่าง ๆ ของสภาพทางธรรมชาติพ้ืนผิวโลกท่ีเกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติ อาจมีผลต่อเน่ืองถึงการเกิดปัญหามลพิษต่อส่ิงแวดล้อม
และทรัพยากรธรรมชาตไิ ด้ ดังน้ี
1. ไฟปา่ (wildfire) เป็นตวั การในการทาลายทรพั ยากร
ธรรมชาติอย่างมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรัพยากรป่าไม้ ทั้งท่ีเป็น
ต้นไมเ้ ลก็ และใหญ่ สง่ิ มชี ีวิต จุลินทรยี ์ชนิดตา่ ง ๆ รวมท้งั ส่ิงทไี่ มม่ ีชวี ิต
2. น้าท่วม (flood) เป็นภัยที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงเกิดข้ึนได้จากสาเหตุหลายประการ เช่น ฝนตก
หนักน้าในแมน่ า้ ลาคลองถูกหนนุ สงู ขนึ้ เป็นตน้
3. แผ่นดินไหว (earthquake) เป็นภัยธรรมชาติที่เป็นสาเหตุ
ของปัญหาส่งิ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติโดยหากเกิดแผ่นดินไหวท่ี
เกินกว่า 5 ริคเตอร์ข้ึนไปจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อสภาพแวดล้อม
ต่าง ๆ

24
ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
4. ภูเขาไฟระเบิด (volcano) เป็นภัยธรรมชาติท่ีเป็นปัญหาต่อ
ส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างมาก เนื่องจากเม่ือเกิดการ
ระเบิดของภูเขาไฟจะทาให้หินเหลวท่ีมีความร้อนสูงท่ีอยู่ใต้ผิวโลก หาก
เ กิ ด ก า ร ร ะ เ บิ ด ข อ ง ภู เ ข า ไ ฟ ใ ต้ น้ า จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ล่ื น ข น า ด ใ ห ญ่ ใ น
มหาสมุทร สึนามิ (tsnami)

25
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2. สาเหตุจากมนษุ ย์
ปัญหาส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้นโดยส่วน
ใหญ่จะมีมนุษย์เป็นปัจจัยสาคัญที่ก่อให้เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่ถูกวิธี ไม่เหมาะสม หรือไม่มีการควบคุม
สามารถแบง่ เปน็ สาเหตุตา่ ง ๆ ได้ดังนี้
1. การเพ่ิมของประชากร เน่ืองจากประชากรทั่วโลกจะมี
แนวโน้มเพ่ิมสูงมากข้ึนในแต่ละปี ซึ่งการเพ่ิมมากขึ้นของประชากรโลกก็
จะนามาซึ่งความต้องการในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือการดารงชีวิต
จึงทาให้เกดิ ผลต่าง ๆ ตามมาอยา่ งมากมาย
2. การขยายตัวของชุมชนเมือง เป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติต่าง ๆ เนอ่ื งจากการขยายตัวของเมืองอย่าง
รวดเร็วขาดการวางแผนผังการใช้พื้นท่ีล่วงหน้าหรือไม่เป็นไปตามท่ี
กาหนด
3. เทคโนโลยีสมัยใหม่ ท่ีนามาใช้เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การใช้
สารเคมีต่าง ๆ เช่น ยาฆ่าแมลงและปุ๋ย จะส่งผลให้เกิดการตกค้างของ
สารเหล่านี้ในดินและอาจกระจายไปสู่แหล่งน้าหรือระบบนิเวศ ต่าง ๆ
ทาให้ในผลผลิตจากทัง้ พืชและสตั วม์ ีการปนเปือ้ นสารเคมไี ด้
4. การสร้างส่ิงก่อสร้าง การสร้างถนน อ่างเก็บน้า เข่ือน นับว่าเป็น
สาเหตุสาคัญที่ทาให้ป่าเสื่อมโทรมลงและอาจหมดไปได้ สัตว์ป่าต่าง ๆ
จะไร้ทอ่ี ยูอ่ าศัย และอาจสูญพันธุ์ไปในทส่ี ุด

26
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
5. การกีฬา ในด้านการกีฬาส่วนใหญ่เป็นปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรสัตว์
ป่า เชน่ การยงิ นก การตกปลา และการลา่ สตั ว์ เปน็ ต้น ซ่งึ ถา้ หากเป็นไป
เพ่ือการกีฬาอย่างแท้จริง มีการกาหนดกฎเกณฑ์หรือมาตรฐานต่าง ๆ
ที่ชัดเจน
6. ความไม่รู้หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หลาย ๆ คร้ังที่คนเราทาลาย
สง่ิ แวดล้อมเพราะความรูเ้ ทา่ ไม่ถงึ การณไ์ ม่รถู้ ึงสาเหตุและผลกระทบที่จะ
เกิดข้ึน ขาดข้อมูล ความเข้าใจที่ถูกต้อง ทาให้เราเกิดมุมมองและเกิด
ความสมั พันธต์ อ่ สงิ่ แวดล้อมแตกตา่ งกนั เราควรพจิ ารณาให้ดีก่อนว่าการ
กระทาน้ัน จะเป็นการทาลายหรือก่อให้เกิดผลกระทบในด้านลบต่อ
สิ่งแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาตใิ นระยะยาวได้หรือไม่

27
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
ความหมายของสง่ิ แวดล้อม
สิ่งแวดล้อม คือ ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีอยู่รอบตัวมนุษย์ทั้งที่มีชีวิต
และไม่มีชีวิต รวมทั้งที่เป็นรูปธรรม (สามารถจับต้องและมองเห็นได้)
และนามธรรม (ตัวอย่างเช่นวัฒนธรรมแบบแผน ประเพณี ความเช่ือ)
มีอิทธิพลเก่ียวโยงถึงกัน เป็นปัจจัยในการเกื้อหนุนซ่ึงกันและกัน
ผลกระทบจากปัจจัยหน่ึงจะมีส่วนเสริมสร้างหรือทาลายอีกส่วนหน่ึง
อยา่ งหลีกเลยี่ งมไิ ด้ สง่ิ แวดล้อมเป็นวงจรและวัฏจักรที่เกี่ยวข้องกันไปท้ัง
ระบบ สิ่งแวดล้อมแบง่ ออกเป็นลักษณะกวา้ ง ๆ ได้ 2 ส่วนคือ
สงิ่ แวดล้อมที่เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ เช่น ปา่ ไม้ ภูเขา ดิน น้า อากาศ
ทรพั ยากร
สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างข้ึน เช่น ชุมชนเมือง สิ่งก่อสร้างโบราณสถาน
ศิลปกรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และวัฒนธรรม

28
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
ประเภทของสิ่งแวดลอ้ ม
1. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ( Natural Environment)
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทย่อย คือ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (หรือ
ส่งิ แวดล้อมที่ไม่มีชีวติ ) และสงิ่ แวดล้อมทมี่ ีชีวิต
1.1 ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) หรือ
ส่งิ แวดลอ้ มท่ีไมม่ ชี ีวติ (Abiotic Environment) แบง่ ได้ดังน้ี
- บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถึง อากาศที่ห่อหุ้มโลก
ประกอบด้วย กา๙ชนดิ ต่างๆ เชน่ โอโซน ไนโตรเจน ออกซิเจน อาร์กอน
คารบ์ อนไดออกไซด์ ฝนุ่ ละออง และไอนา้
- อุทกภาค (Hydrosphere) หมายถึง ส่วนท่ีเป็นน้าท้ังหมด
ของพ้ืนผวิ โลก ไดแ้ ก่ มหาสมุทร ทะเล แม่นา้ ฯลฯ
- ธรณีภาค หรือ เปลือกโลก(Lithosphere) หมายถึง ส่วน
ของโลกที่เป็นของแข็งห่อหุ้มอยู่รอบนอกสุด ของโลกประกอบด้วยหิน
และดนิ
1.2 สิ่งแวดล้อมที่มีชีวติ (Biotic Environment) ไดแ้ ก่ พืช สัตว์
และมนษุ ย์

29
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2. สิ่งแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้างขึ้น(Man-Mode Environment)
แบง่ ได้ 2 ประเภท ดังน้ี
- สิ่งแวดล้อมท่ีเป็นรูปธรรม (Concrete Environment) ได้แก่
บ้านเรอื น ถนน สนามบิน เข่ือน โรงงาน วดั
- สิ่งแวดล้อมท่ีเป็นนามธรรม (Abstract Environment) ได้แก่
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา กฎหมายระบบเศรษฐกิจ
การเมอื ง การปกครอง เป็นต้น
มติ ขิ องสง่ิ แวดลอ้ ม

30
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
ความสาคญั ส่งิ แวดล้อม
ความสาคญั ของส่ิงแวดล้อมทีม่ ตี อ่ สิ่งมีชีวิต ไม่ว่าส่ิงแวดล้อมนั้น
จะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต ก็ล้วนก่อให้เกิดประโยชน์และโทษต่อสิ่งมีชีวิตได้
ท้ังสิ้น ดงั น้ี
1. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพหรือส่ิงแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต มีความสาคัญต่อ
ส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมน้ัน เช่น น้าใช้เพื่อการบริโภคและเป็น
ที่อยู่อาศัยของสัตว์น้า อากาศใช้เพ่ือการหายใจของมนุษย์และสัตว์ ดิน
เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของส่ิงมีชีวิตบนบก แสงแดดให้ความร้อนและช่วย
ในการสงั เคราะหแ์ สงของพชื
2. ส่ิงแวดล้อมทางชีวภาพ จะช่วยปรับให้สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ใน
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการดารงชีวิตของมันได้ เช่นช่วยให้ปลา
อาศัยอยู่ในน้าที่ลึกมากๆได้ ช่วยให้ ต้นกระบองเพชรดารงชีวิตอยู่ใน
ทะเลทรายได้
3. ส่ิงมีชีวิตจะเปล่ียนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม เช่น มีการปรับตัวให้
เข้ากบั สภาพแวดล้อมใหม่
4. ส่ิงแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลงไปตามการกระทาของสิ่งมีชีวิตท่ีอยู่ใน
ส่ิงแวดล้อมนั้น เช่น เมื่อสัตว์กินพืชมีจานวนมากเกินไปพืชจะลดจานวน
ลง อาหารและท่ีอยู่อาศัยจะขาดแคลน เกิดการแก่งแย่งกันสูงขึ้นทาให้
สตั ว์บางส่วนตายหรือลดจานวนลงระบบนิเวศก็จะกลับเข้าสู่ภาวะสมดุล
อีกครัง้ หนงึ่

31
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
5. ส่ิงแวดล้อม จะกาหนดรูปแบบความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่
ในสงิ่ แวดล้อม ในแง่ของการถ่ายทอดพลังงานระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้
ยอ่ ยสลาย ในแงข่ องการอยู่ร่วมกนั เกื้อกูลกัน หรือเบียดเบียนกัน มนุษย์
สามารถใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมได้มากมายในลักษณะท่ีแตกต่างไป
จากสิ่งมีชีวิตอ่ืน ๆ เช่น ใช้ประโยชน์จากดินเพื่อการเพาะปลูก ใช้
ประโยชน์จากทุ่งหญ้าเพ่ือการเล้ียงสัตว์ ใช้ประโยชน์จากเหมืองแร่เพ่ือ
การอตุ สาหกรรม

32
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
ปัญหาสิง่ แวดล้อมในปจั จุบนั
สิ่งแวดล้อมมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ในการดารงชีวิต เม่ือ
ประชากรเพ่ิมมากขึ้นก็ส่งผลต่อส่ิงแวดล้อมทาให้สิ่งแวดล้อมเส่ือมโทรม
เพราะในปัจจุบันสิ่งแวดล้อมมีแนวโน้ม ถูกทาลายเพ่ิมมากขึ้น ทั้ง
สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม ท่ีมนุษย์สร้างข้ึนได้เพิ่มมาแทน และจะส่งผล
กระทบโดยตรงต่อการดารงอยแู่ ละคุณภาพชวี ติ ทดี่ ีของมนษุ ย์
ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีที่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม
ในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีเป็นสิ่งท่ีมนุษย์สร้างข้ึนมาเพ่ือตอบสนองความ
สะดวกและอานวยประโยชน์ โดยท่ีมนุษย์ไม่คานึงถึงผลกระทบ
ท่ีจะส่งผลต่อตัวเองท้ังทางตรงและทางอ้อม การสูญเสียความ
หลากหลายทางการภาพ ส่ิงมีชีวิตบนโลก การเปลี่ยนแปลงทาง
ภูมิอากาศโลก เป็นกิจกรรมของมนุษย์ท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลง
ภมู อิ ากาศ ซึง่ จะส่งผลต่อมนษุ ย์และสง่ิ มีชีวติ ในปัจจุบันและอนาคต
สุดท้ายนี้ อยากจะให้ทุกคนได้ช่วยกันอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
โดยการคานึงถึงผลที่จะส่งต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยท่ีสุด การอนุรักษ์
ส่ิงแวดล้อมน้ันทาได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทางตรง เช่น การใช้อย่าง
ประหยัด การน้ากลับมาใช้ซ้าอีก การบาบัดและฟื้นฟู การใช้สิ่งอื่น
ทดแทน การเฝ้าระวังดแู ลปอ้ งกัน และทางอ้อม เช่น การพัฒนาคุณภาพ
ประชาชน การใช้มาตรการทางสังคมและกฎหมาย การส่งเสริม
ใหป้ ระชาชนในท้องถิน่ ได้มสี ่วนร่วมในการอนรุ ักษ์

33
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
แนวทางการป้องกนั แก้ไขปญั หาสิ่งแวดลอ้ ม
ปัญหาส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เป็นปรากฏการณ์
ท่ีก่อให้เกิดความเสียหายต่าง ๆ ตามมาอย่างมากมาย มีผลต่อความ
เป็นอยู่ของมนุษย์และส่ิงมีชีวิตบนโลก ทั้งยังเก่ียวโยงถึงสภาพเศรษฐกิจ
และสังคม นอกจากน้ียังส่งผลให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมที่เป็นผลเสีย
โดยตรงต่อส่ิงมีชีวิต ซ่ึงอาจทาให้เกิดการสูญเสียสิ่งมีชีวิต หรือนาไปสู่
สภาวะท่ีพืชและสตั วบ์ างชนิดสญู พันธไุ์ ปได้
ดังนั้นเราจึงจาเป็นต้องมีการจัดทาแนวทางและวิธีดาเนินการในการ
ป้องกัน ยับย้ัง ชะลอ และขัดขวาง การเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ โดยแนวทางการป้องกันแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม
และทรพั ยากรธรรมชาติ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ขั้นตอน ดงั นี้
1. การปอ้ งกัน
การป้องกัน หมายถึง การป้องกันคุ้มครองทรัพยากรท่ีสามารถเกิดขึ้น
ใหม่ได้เอง เพ่ือให้มีอัตราในการนาทรัพยากรมาใช้อยู่ในระดับที่สามารถ
เกิดข้ึนมาทดแทนได้ทัน ซึ่งจะช่วยให้มีทรัพยากรนั้นไว้ใช้อย่างย่ังยืน
ทั้งยังรวมถึงการป้องกันทรัพยากรที่มีแนวโน้มจะเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วให้
อยู่ในระดับท่ีเหมาะสม ไม่เกิดการลุกลามจนทาให้สภาวะสิ่งแวดล้อม
เสียสมดุลไปการป้องกันน้ีอาจทาได้โดยการใช้มาตรการต่าง ๆ ต้ังแต่
การใช้กฎหมาย การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ และความเข้าใจ
แก่ประชาชนในการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม เพ่ือมีทรัพยากรเกิดข้ึน
หมนุ เวียนสาหรบั ใชง้ านได้อย่างยั่งยืนสืบไป

34
ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
2. การแกไ้ ขและฟน้ื ฟู
การแก้ไข หมายถึง การดาเนินการแก้ไขหรือซ่อมแซม
ท รั พ ย า ก ร ที่ ล ด ล ง ห รื อ เ ส่ื อ ม ส ล า ย ข อ ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ
ทรพั ยากรธรรมชาติ
การฟ้ืนฟู หมายถึง การดาเนินการกับทรัพยากรที่ลดลงหรือ
เสือ่ มโทรมใหส้ ามารถฟ้ืนคืนกลับสู่สภาพเดิมได้โดยการปิดก้ันไม่ให้มีการ
รบกวนระบบส่ิงแวดล้อม เพ่ือให้ระบบส่ิงแวดล้อมมีเวลาในการฟ้ืนตัว
กลับสู่สภาพเดิมสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เช่น การฟ้ืนฟูไร่เลื่อน
ลอย การฟนื้ ฟูพื้นทป่ี า่ ชายเลน เป็นต้น
ดังนนั้ หากกลา่ วโดยรวมแล้ว การแก้ไขและฟ้ืนฟูจะเป็นข้ันตอน
ดาเนินการภายหลงั จากที่เกิดการเสื่อมหรือเสียสภาพของทรัพยากรและ
ส่ิงแวดล้อม เพ่ือเป็นการแก้ไขปรับปรุง ตลอดจนการบาบัดฟื้นฟูสภาพ
ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ให้กลับมาอยู่ในสภาพท่ีดีขึ้น
และเหมาะสมสาหรบั การใช้ประโยชน์ต่อไป

35
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
3. การอนรุ ักษ์
การอนุรักษ์ หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมด้วยความฉลาดและใช้อย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดประโยชน์
ต่อมนุษยม์ ากทีส่ ดุ โดยหลีกเล่ียงให้เกิดผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมนอ้ ยทส่ี ดุ
กระบวนการดาเนินการอนุรักษ์อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ต้อง
ครอบคลุมทั้งปัญหาด้านการทาลายสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
จนเกิดความเส่ือมโทรมรวมถึงปัญหาการก่อมลพิษแก่สิ่งแวดล้อมท่ีจะ
ส่งผลกระทบกลับมาสู่ตัวมนุษย์เองด้วย โดยแนวทางในการอนุรักษ์
ประกอบดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆ ดังน้ี
1. การใช้อย่างย่ังยืน หมายถึง การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ในธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมในปริมาณท่ีเหมาะสมไม่มากเกินไป โดยใช้เทคโนโลยีที่
เหมาะสม และมีของเสียที่เกิดจากการใช้งานน้อยที่สุดหรือไม่มีของเสีย
เกิดข้ึนเลย การใช้อย่างย่ังยืนน้ีจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรและ
ส่ิงแวดล้อมนอ้ ยที่สุด ทาให้ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมสามารถฟ้ืนตัวหรือ
เกดิ ขึ้นมาใหม่ได้ทันกบั ความต้องการใช้งานมนุษย์
2. การเก็บกักทรพั ยากร หมายถึง การรวบรวมและการเก็บกักทรัพยากร
ที่มีแนวโน้มจะเกิดการขาดแคลนในบางช่วงเวลาไว้ เพ่ือให้สามารถ
นามาใช้ในกิจกรรมที่เหมาะสมได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เช่ น
การเก็บกักทรัพยากรน้าที่มีมากในฤดูน้าหลากไว้ เพื่อนามาใช้ในฤดูแล้ง
ที่ขาดแคลนน้า ซ่ึงสามารถทาให้นาน้ามาใช้ประโยชน์ได้มากกว่าการใช้
น้าในฤดูนา้ หลากหรือในชว่ งที่มีน้ามาก

36
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
3. การรักษา หมายถึง การดาเนินการกับทรัพยากรท่ีลดลงหรือเส่ือม
โทรมให้สามารถฟืน้ คนื กลับสู่สภาพเดมิ ได้โดยอาศยั วิธีการทางเทคโนโลยี
ที่มนุษย์สร้างข้ึนเข้ามาช่วยดาเนินการซ่อมแซมส่วนท่ีเสียหาย จนทาให้
ส่ิงแวดล้อมสามารถกับสู่สภาพเดิมได้อีก เช่น การใช้เทคโนโนยีในการ
บาบดั น้าเสียจากโรงงานใหก้ ลบั เปน็ น้าสะอาด เปน็ ต้น
4. การพัฒนา หมายถึง การพัฒนาปรับปรุงส่ิงที่เป็นอยู่ให้ดีขึ้น เป็นการ
เร่งหรือเพิ่มประสิทธิภาพให้ได้ผลผลิตทีดีขึ้น การพัฒนาทรัพยากร
จะต้องมีการนาเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามาใช้ควบคู่กับกระบวนการพัฒนา
ทุกข้ันตอน ทั้งยังรวมถึงการพัฒนาเทคนิควิธีท่ีทาให้ใช้ทรัพยากรใน
ปริมาณนอ้ ยแตไ่ ด้ผลผลิตทีเ่ พม่ิ มากขน้ึ และมปี ระสทิ ธิภาพสงู ขนึ้ ดว้ ย
5. การสงวน หมายถงึ การเก็บสงวนทรัพยากรไว้ไม่ให้มีการนามาใช้งาน
เนื่องจากทรัพยากรนั้นกาลังจะหมดหรือสูญส้ินไป ทรัพยากรบางชนิด
เม่ือสงวนไปในระยะเวลาหน่ึงแล้วอาจจะทาให้เกิดการเพ่ิมขึ้นจน
สามารถนามากใช้ใหม่ได้ ซึ่งเม่ือถึงเวลาดังกล่าวอาจมีการอนุญาตให้นา
ทรพั ยากรมาใช้ได้ โดยมกี ฎเกณฑ์หรอื มาตรการต่าง ๆ ควบคุม เช่น การ
สงวนพนั ธุ์สัตวป์ า่ เป็นตน้

37
ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
6. การแบ่งเขต หมายถึง การจัดแบ่งกลุ่มหรือประเภทของทรัพยากร
เพ่ือให้สามารถดาเนินการอนุรักษ์ได้ผลดีขึ้น การดาเนินการน้ีอาจมีการ
แบง่ พ้ืนทค่ี วบคุมเพ่อื ใหม้ ีสภาวะที่เหมาะสมสาหรับการเปลี่ยนแปลงของ
ทรัพยากร เชน่ การจัดพ้ืนท่ีเป็นป่าอนุรักษ์หรืออุทยานซ่ึงจะทาให้สภาพ
ดิน พืช สัตว์ และป่าไม้มีสภาพท่ีเหมาะสมในการขยายพันธุ์ ดารงพันธ์ุ
และเจริญเติบโต นอกจากนี้การแบ่งเขตยังช่วยให้สามารถกาหนด
มาตรการดาเนินการต่าง ๆ ได้เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่ด้วย พ้ืนท่ีท่ีมีการ
จัดการแบ่งเขตควบคุม ได้แก่ พื้นท่ีเขตต้นน้า เขตวนอุทยาน อุทยาน
แห่งชาติ เขตป่าสงวน เขตหา้ มล่าและเขตรกั ษาพันธสุ์ ตั วป์ า่ เป็นต้น

38
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
ผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ ไดแ้ ก่
1. กิจกรรมทางด้านอุตสาหกรรม โดยไม่มีการคานึงถึงสิ่งแวดล้อม มีการ
นาใชท้ รัพยากรธรรมชาติมากมายและก่อใหเ้ กิดมลพษิ ต่อสง่ิ แวดล้อม
2. กิจกรรมทางการเกษตร เช่น มีการใช้ยาฆ่าแมลง เพื่อเพ่ิมผลผลิต
ส่งผลให้เกิดอันตราย ต่อส่งิ แวดล้อม และสุขภาพอนามัยของมนุษย์
3. กิจกรรมการบริโภคของมนุษย์ ส่งผลให้ มีการใช้ทรัพยากรอย่าง
ฟุ่มเฟือย ขาดการคานึงถือสิ่งแวดล้อมก่อให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อม
ตามมา

39
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
สาเหตทุ ่มี นุษย์ทาลายสง่ิ แวดล้อม มหี ลายสาเหตุ ดังน้ี
1. การเพ่มิ ของประชากร การเพ่ิมของประชากรโลก เป็นไปอย่างรวดเร็ว
เนื่องจากความเจริญ ทางด้านการแพทย์ ช่วยลดอัตราการตาย โดยการ
เพ่มิ ประชากรน้ี กอ่ ใหเ้ กิดการบริโภคทรพั ยากรมากขึน้ มขี องเสียมากขึน้
2. พฤติกรรมการบริโภค อันเน่ืองมาจาก ต้องการให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น มี
ความสุขสบาย มากข้ึน มีการนาใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างส้ินเปลือง
มีขยะและของเสียมากขึน้ สง่ ผลกระทบต่อ สิ่งแวดลอ้ มและตัวมนษุ ย์เอง
3. ความโลภของมนุษย์ โดยนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมมา
ใช้ เพ่ือให้ตนเองมีความร่ารวย มีความสะดวกสบาย มีความเห็นแก่ตัว
ขาดสติยั้งคิด ถึงสิ่งแวดล้อม อันจะเป็นผลส่งให้เกิดปัญหา สิ่งแวดล้อม
ทมี่ ากระทบตอ่ มนุษย์เองในทสี่ ุด
4. ความไม่รู้ ส่ิงท่ีทาให้มนุษย์ ขาดการรู้เท่าทัน บนรากฐานแห่งความ
จริง อย่างลึกซ้ึงใน สิ่งแวดล้อม และธรรมชาติ ส่งผลให้มนุษย์ขาดสติใน
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ มีพฤติกรรมการบริโภค อันเป็นการทาลาย
ส่ิงแวดล้อม โดยขาดการคาดการณ์ ผลท่ีจะเกิดตามมา จะส่งผลให้เกิด
ปญั หาสิง่ แวดล้อม และนาไปสูค่ วามเสยี หาย ทง้ั ตนเองและธรรมชาติ

40
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
การดาเนนิ ชีวติ กับสง่ิ แวดล้อม
การใช้ชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมเร่ิมได้ที่ตัวเรา เร่ิมจากการ
เรียนรู้ เข้าใจ และตระหนักจนกลายเป็นการลงมือทา ทาแบบซ้า ๆ
จนกลายเป็นทักษะด้านส่ิงแวดล้อม จากน้ันเราเองจะกลายเป็นแรง
บนั ดาลใจใหก้ บั คนอื่น ๆ เชน่
1. ปลูกผักกินเอง ปัจจุบันผักท่ีวางขายตามท้องตลาดมีการปนเปื้อน
สารเคมีท่ีอันตรายต่อสุขภาพมากมาย หันมาปลูกผักกินเองกันดีกว่า
แม้ว่ามีพื้นที่น้อยก็ไม่เป็นปัญหา สามารถปลูกผักแนวต้ังหรือในกระถาง
กนิ เองได้
2. รู้เลือกบริโภคของกินของใช้ที่ปลอดภัยต่อส่ิงแวดล้อมจากแหล่ง
วัตถุดิบสู่จานอาหารของเรา ผ่านกระบวนการใช้พลังงานและสร้าง
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแทบจะทุกขั้นตอน เราสามารถจะเรียนรู้ส่ิง
เหล่านี้ได้โดยการสังเกตจากการติดฉลากเขียว หรือ ฉลากคาร์บอน
ฟตุ๊ ปร๊ิน ที่ตดิ อยู่ในผลติ ภณั ฑต์ า่ ง ๆ
3. เริ่มลงมือทาจากเร่ืองเล็ก ๆ ท่ีทาได้ไปสู่เรื่องท่ียากและใหญ่ขึ้น เช่น
การปฏิเสธถุงพลาสติกจากร้านสะดวกซื้อเม่ือซ้ือของไม่เยอะ 1-3 ชิ้น
หรือ การเอาชนะความขีเ้ กยี จของตัวเองเพอื่ ไปปดิ ไฟเมอื่ ไม่ไดใ้ ช้ เป็นต้น

41
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
4. เตรียมรับมือกับการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การเตรียม
สุขภาพให้แขง็ แรง, การเลอื กท่ีอยู่อาศัยท่ีไม่เสี่ยงต่อภัยพิบัติและอุทกภัย
หรือแม้กระท่ังการเตรียมเรื่องการอยู่การกินที่เน้นการพ่ึงพาตัวเอง
ทางดา้ นอาหาร
5. ติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเน่ือง จะทา
ให้เรานามาประมวลผลและเตรียมรับมือกับส่ิงท่ีเกิดข้ึนได้เป็นอย่างดี
ต้องมกี ารคัดกรอง วเิ คราะห์ อยา่ เพ่งิ แตกตนื่ กบั ข่าวเรว็ จนเกินไป
6. หาความรู้โดยสัมผัสประสบการณ์ตรงด้านสิ่งแวดล้อม การออกไป
เรียนรู้เพือ่ สมั ผัสประสบการณ์ดา้ นส่งิ แวดล้อมจะทาให้เราได้เข้าใจและมี
ความตระหนกั ถึงความสาคัญของสิ่งแวดลอ้ มมากข้นึ
7. แสดงความคิดเห็น เราสามารถเป็นแรงหนุนได้ หน่ึงพลังเล็ก ๆ
รวมกันแล้วพลังจะใหญ่ข้ึนเร่ือย ๆนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงดีๆท่ีมีต่อ
สิ่งแวดลอ้ มได้
8. สนับสนุนการเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมกับองค์กรเอกชนท่ีทางาน
ด้านส่ิงแวดลอ้ ม เชน่ Greenpeace, มูลนิธสิ ืบ เป็นตน้
9. ชักชวนใครหลายคนมาทาอะไรดี ๆ เพ่ือส่ิงแวดล้อม การชักชวนท่ีดี
ท่ีสุด คือ การทาเป็นตัวอย่างให้เห็น เร่ิมจากเราเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
ให้กับคนอื่น ชวนกนั มาทาความดีเพ่อื สิ่งแวดลอ้ มอย่างต่อเน่อื ง

42
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
อิทธพิ ลของมนุษย์ที่มีต่อส่ิงแวดล้อม
ปจั จัยท่ีมอี ทิ ธพิ ลต่อการต้งั ถ่ินฐาน
กา ร ตั้ ง ถิ่ น ฐ าน เ กิ ด ข้ึ น เ ม่ือ ม นุ ษ ย์ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ
สภาพแวดล้อมรอบ ๆ ตัว จึงเกิดการรวมกลุ่มเพื่อต้ังบ้านเรือนและ
จัดการกับสิ่งรอบตัวให้เหมาะกับการดารงชีพ การตั้งถ่ินฐานของมนุษย์
จะมีลักษณะแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการต้ังถิ่น
ฐานน้นั ๆ ดังนี้
ก. ปจั จยั ทางกายภาพ แบง่ ไดเ้ ป็น
1. โครงสรา้ งและระดับความสูงของพื้นท่ี เมื่อพิจารณาแล้วจะเห็นว่าเขต
ทร่ี าบมคี วามเหมาะสมทจี่ ะตงั้ ถิ่นฐานมากกว่าเขตทีส่ งู หรือภูเขา
2. อากาศ อากาศมีผลโดยตรงต่อมนุษย์เน่ืองจากมีบทบาทสาคัญในการ
กาหนดลักษณะดินและพืช สภาพของดินฟ้าอากาศมีอิทธิพลต่อการต้ัง
ถน่ิ ฐาน มอี ทิ ธิพลตอ่ การสรา้ งบ้านเรอื น ท่อี ยอู่ าศัย และวิถีการดารงชวี ิต
3. น้า ปัจจัยในเร่ืองน้ามีอิทธิพลต่อการตั้งถ่ินฐานมาก น้าท่ีใช้ในการทา
เกษตรกรรมไม่จาเป็นต้องมาจากฝนหรือแหล่งน้าลาธารแต่เพียงอย่าง
เดียว ในบางแห่งท่ีขาดฝน อาจหาแหล่งน้าอ่ืน ๆ มาใช้เพ่ือการเกษตร
เช่น น้าบาดาล

43
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
ข. ปัจจัยทางวฒั นธรรม แบ่งไดเ้ ป็น
1. ภาษา โดยเฉพาะภาษาพูด ถือว่าเป็นตัวแทนของลักษณะวัฒนธรรม
ภาษาเป็นส่ือสาคัญที่สืบทอดวัฒนธรรมด้ังเดิมจากคนรุ่นหน่ึงไปสู่รุ่น
ต่อ ๆ ไป กลมุ่ วฒั นธรรมตา่ ง ๆ มกั มภี าษาของตนเอง
2. ศาสนา ศาสนาเป็นส่วนสาคัญของวัฒนธรรม ความเชื่อถือยึดม่ันและ
การปฏิบัติตามหลักของศาสนาเป็นหลักท่ีกาหนดวิถีชีวิตในท้องถิ่น
สถานท่ีและสิ่งศักดิ์สิทธ์ิทางศาสนาอาจทาให้ท้องถิ่นหน่ึงมีความสาคัญ
มากกวา่ ท้องถิ่น
3. การเมือง อิทธิพลทางการเมืองมีผลต่อพื้นท่ีต้ังถ่ินฐาน โดยเฉพาะ
กฎหมายเก่ียวกับท่ีดินทากิน เช่น กฎหมายปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม
กฎหมายเกีย่ วกับการประกาศเขตอทุ ยานแหง่ ชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
พระราชกาหนดยกเลิกสมั ปทานปา่ ไม้ เปน็ ต้น

44
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
การปรับตวั ของมนุษย์เขา้ กบั สงิ่ แวดลอ้ ม
ในอนาคตหลายคนต้ังคาถามว่ามนุษยชาติจะมีชีวิตอยู่หรือไม่
ในเมื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในปัจจุบันเลวร้ายยิ่งขึ้นทั้งสภาพ
ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงส่งผลต่อปริมาณอาหารท่ีลดลงท้ังพืชผักและ
เน้ือสัตว์ท่ีเป็นอาหารของมนุษย์จนมีโจทย์ท่ีต้ังขึ้นเพ่ือให้เมืองใหม่
ที่จะสร้างขึ้นต้องวางแผนงานรองรับความมั่นคงทางอาหารเพื่อรองรับ
การเพ่ิมขึ้นของความต้องการอาหารและความต้องการทรัพยากร
พลังงานความต้องการพ้ืนท่ีในการดารงชีวิตของประชากรที่เพิ่มมาก
มหาศาลเป็นโจทย์สาคัญในปัจจุบันและอนาคตจึงจาเป็นต้องกาหนด
ทิศทางการพัฒนาเมืองท่ีชัดเจนสร้างมาตรฐานการรองรับประชากร
อย่างเป็นระบบที่มีความย่ังยืนประเทศไทยจึงเป็นประเทศหน่ึง
ที่มีประชากรเพ่ิมมากขึ้นอย่างรวดเร็วพร้อมกับการเปล่ียนแปลง
สภาพแวดล้อมท่ีเลวร้ายภาวะโลกร้อนที่คุกคามชีวิตมนุษย์มากมาย
มหาศาลคงต้องเตรียมพร้อมที่จะปรับตัวให้อยู่บนโลกใบนี้ ซ่ึงหมายถึง
รุ่นของประชาชนในปัจจุบันและอนาคตอันใกล้นี้เมืองใหญ่ที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคตจึงตอ้ งออกแบบ ดังน้ี

45
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
1. สร้างความพร้อมในการเตรียมอาหารสาหรับอนาคตทั้งเตรียม
การรองรับปัญหาเหล่าน้ีต้องเตรียมความพร้อมในการผลิตอาหารและ
สร้างความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตท่ีต้องคานึงถึงการดารงอยู่ของ
ประชาชนชาวเมอื งท่ีแออัด
2. ต้องสร้างอากาศที่ใสสะอาดโดยเพิ่มพื้นท่ีสีเขียวในเขตเมืองให้
พอเพยี งกับประชากรในเขตเมืองท้ังผสู้ ูงอายุและเด็กเลก็ ให้อยู่ได้
3. ต้องสร้างพ้ืนท่ีให้เพียงพอกับความหนาแน่นประชากรท่ีเพิ่มข้ึนอย่าง
รวดเร็วโดยเฉพาะพ้ืนท่ีใช้สอย นอกจากปัญหาการรองรับความต้องการ
ประชากรของเมืองให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้แล้วต้องคานึงถึงของเสียท่ี
จะเกิดขนึ้ ท้ังขยะน้าเสยี และส่ิงปฏิกลู ทเ่ี พิม่ ขนึ้

46
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จากปัญหาหลายส่วนท่ีเกิดข้ึนจากการเพิ่มประชากรและ
สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปล่ียนแปลงในอนาคตการออกแบบน่าจะมีคาตอบเพ่ือ
การหลีกเล่ียงการเกิดปัญหาในอนาคตในหลายประเทศจึงเป็นการ
ออกแบบเพื่อให้เกิดวงจรแห่งความยั่งยืนและเป็นอาคารท่ีเป็นมิตรต่อ
สง่ิ แวดลอ้ มมากข้ึน
การออกแบบเมืองให้อยู่ในน้าได้ เช่น รูปแบบเกาะลอยได้
โดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์พลังงานลมและมีเครื่องเปลี่ยนน้าทะเล
เปน็ น้าจืด
การออกแบบเมอื งทม่ี ีการระบายอากาศและความร้อนถ่ายเทได้
อย่างรวดเรว็ แนวคดิ เมอื งท่ีลอยอยู่ในทะเลจงึ น่าจะเปน็ คาตอบท่ีน่าสนใจ
เช่นกันย่ิงกระแสความเชื่อน้าท่วมโลกในอนาคตจึงเป็นความเหมาะสม
สาหรบั อนาคต

47
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
ความสมั พนั ธข์ องมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
มนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีความสัมพันธ์
เก่ียวเน่ืองกันอย่างใกล้ชิด ท้ังนี้เพราะทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมเป็นสิ่งที่เอ้ืออานวยประโยชน์ให้มนุษย์ได้รับปัจจัยสี่ซ่ึงได้แก่
อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ยารักษาโรคและที่อยู่อาศัย แต่ขณะเดียวกันการ
กระทาของมนุษย์เองได้ส่งผลกระทบต่อสภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ้ มและเนือ่ งจากความจากัดของทรัพยากรธรรมชาติรวมทั้ง
การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของจานวนประชากรได้มีผลทาให้เกิดการ
แก่งแย่งในการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีมีอยู่ยิ่งไปกว่าน้ัน
มนุษย์ยังได้ใช้ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มอย่างฟุ่มเฟือยและไม่มี
แผนการจัดการโดยมุ่งหวังผลกาไรสูงสุดแต่เพียงอย่างเดียวจึงมีผลทาให้
เ กิด ปั ญ ห า ค ว า มเ ส่ื อม โ ท ร ม แ ล ะ กา ร ขา ด แ คล น ทรั พย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ
รวมท้งั ก่อให้เกดิ ปญั หาสิ่งแวดลอ้ มหรอื การแพร่กระจายของภาวะมลพิษ
จากขบวนการใช้ทรัพยากรธรรมชาตนิ ัน้ ๆ ด้วย

48
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
ประ เทศ ไทย ซึ่งเ ป็นป ระเ ทศก าลัง พัฒน าได้ มีกา รใ ช้
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพื่อการเร่งรัดการพัฒนาเศรษฐกิจ
ของประเทศโดยขาดความระมัดระวังและคานึงถึงการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีเพียงพอมาโดยตลอดจึงมีผล
ทา ใ ห้ปั ญ ห าค ว าม เ สื่ อม โ ทร ม ข อง ท รัพ ย า กร ธ ร ร ม ช าติ แ ล ะ
การแพร่กระจายของปัญหามลพิษได้ทวีความรุนแรงมากข้ึนและมีผล
ตอ่ คุณภาพชีวติ ของประชาชนจนเห็นได้อย่างชัดเจนในปัจจุบัน อาทิเช่น
พ้ืนท่ีป่าไม้ถูกบุกรุกทาลายจนมีสัดส่วนไม่เหมาะสมกับการรักษาสภาพ
ความสมดุลของระบบธรรมชาติหรือระบบนิเวศหรือภาวะน้า เน่าเสีย
ในแม่น้าสายหลักทั้งแม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าแม่กลอง แม่น้าท่าจีน และ
แม่น้าบางปะกง หรือภาวะอากาศเสียในเขตกรุงเทพมหานครปริมณฑล
และเมืองหลักอันเน่ืองมาจากควันพิษรถยนต์ การเกิดปฏิบัติการ เรือน
กระจก ภาวะโลกร้อน เป็นต้น ดังนั้นเพ่ือให้ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญของการพัฒนาประเทศมีสภาพท่ีพร้อม
สนับสนุนการพัฒนาประเทศในอนาคตต่อไปน้ัน การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างถูกต้องและเหมาะสมตาม
หลักวิชาการจึงเป็นวิธีการท่ีจาเป็นที่จะต้องเร่งดาเนินการ ทั้งน้ีเพื่อ
ที่จะสงวนและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมไว้ให้มนุษย์
ได้พ่ึงพาอาศัยอย่างยาวนานต่อไปรวมท้ังยังจะก่อให้เกิดความม่ันคง
แกป่ ระเทศดว้ ย

49
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กรณีศึกษา

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมรอบตัวเรา
ณ นา้ ตกวงั สายทอง ตาบลนา้ ผดุ อาเภอละงู จงั หวดั สตลู

50
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

นา้ ตกวงั สายทอง

เป็นน้าตกชั้นหินปูนขนาดใหญ่เป็นช้ันน้อยช้ันใหญ่ มีความ
สวยงามและมหศั จรรย์น่าหลงใหล ซึง่ เป็นน้าตกหนิ ปูนแหง่ แรกในภาคใต้
ที่เดินแล้วไม่ลื่น เพราะ มีพ้ืนดินเป็นหินปนทราย บริเวณก้อนหิน
จะไม่เกิดตะไคร่น้า จึงสามารถเดินข้ามไปมาได้สะดวกรอบ ๆ น้าตกมี
ต้นไม้ใหญ่น้อย ช่วยให้บรรยากาศร่มร่ืนด้วยทรัพยากรธรรมชาติท่ีมี
ความอุดมสมบูรณ์ที่หาดูได้ยาก เป็นน้าตกหินปูนที่มีแหล่งน้าแต่ละช้ัน
ไหลลดหลั่นผ่านช้ันหินปูนสีเหลืองอร่ามด่ังทอง สามารถลงเล่นน้าได้
อยา่ งสนุกสนามช่นื ใจ มีความสะดวกสบายเนือ่ งจากจุดเท่ียวชมน้าตกอยู่
ใกล้บริเวณถนนจุดจอดรถ ทาให้เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวท่ีลงเล่นน้า
คลายร้อนเปน็ อยา่ งมาก


Click to View FlipBook Version